คณุ ลักษณะของครผู ูส้ อนตามความคาดหวังของผู้เรยี น
วิทยาลยั การอาชีพดา่ นซา้ ย จังหวัดเลย
มณู ดีตรษุ
ตาแหนง่ รองผู้อานวยการ
วทิ ยฐานะชานาญการพเิ ศษ
วิทยาลยั การอาชีพดา่ นซ้าย
สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
กิตติกรรมประกาศ
ผูว้ จิ ัยขอกราบขอบพระคุณ ว่าท่ีร้อยเอกอเนก แสนมหาชัย ผู้อานวยการวิทยาลัยการ
อาชพี ด่านซ้าย จังหวัดเลย ท่ีได้กรุณาให้คาแนะนาปรึกษาตลอดจนแนวทางในการศึกษาวิจัยจน
เสร็จเรียบร้อยสมบูรณ์ ตลอดจนอานวยความสะดวก ให้การสนับสนุนในการจัดทาวิจัยในครั้งนี้
และขอขอบคณุ ผู้เชยี่ วชาญท่ไี ดก้ รณุ าตอบแบบสอบถาม เพื่อหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่าง
ข้อคาถามกับวัตถปุ ระสงคก์ ารวัดตามนยิ ามศพั ท์
ขอขอบคุณบุคลากรวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้ายทุกท่าน ท่ีคอยให้กาลังใจและให้ความ
ช่วยเหลือผู้วจิ ัยดว้ ยดเี สมอมา และขอขอบคุณผทู้ ี่อยู่เบือ้ งหลังทกุ ทา่ นทีไ่ มไ่ ดก้ ลา่ วถึง ณ ท่ีนี้
ท้ายน้ีผู้วิจัยขอกราบระลึกถึงพระคุณบิดา มารดา ญาติพี่น้องทุกท่าน ตลอดจนคณะครู-
อาจารย์ทกุ ทา่ นทอี่ บรม สงั่ สอน จนสามารถสาเรจ็ การศึกษาตามเป้าหมายท่ีได้ตั้งใจไว้ ส่งผลให้
สามารถนาความรทู้ ง้ั มวลมาดาเนนิ การจัดทางานวจิ ัยฉบับน้ี
มณู ดีตรุษ
มณู ดีตรษุ : คุณลักษณะของครูผู้สอนตามความคาดหวังของผเู้ รียน วทิ ยาลยั การอาชพี
ดา่ นซา้ ย จงั หวดั เลย
บทคัดยอ่
การวิจัยครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์ 1) เพ่ือศึกษาคุณลักษณะของครูในปัจจุบัน ในวิทยาลัย
การอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย 2) เพื่อศึกษาคุณลักษณะของครูตามความคาดหวังของผู้เรียน
ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย 3) เพื่อเปรียบเทียบคุณลักษณะของครูในปัจจุบัน
จาแนกตามระดับการศึกษาของผู้เรียน ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย 4) เพื่อ
เปรียบเทียบคุณลักษณะของครูตามความคาดหวังของผู้เรียนจาแนกตามระดับการศึกษาของ
ผู้เรียน ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย 5) เพื่อเปรียบเทียบคุณลักษณะของครูใน
ปัจจุบันและคุณลักษณะของครูตามความคาดหวังของผู้เรียนในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย
จังหวัดเลย
กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัยคร้ังน้ี ผู้วิจัยได้สุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งช้ันภูมิ ได้แก่
ผู้เรยี นในวทิ ยาลัยการอาชพี ด่านซ้าย จังหวัดเลย ในปีการศึกษา 2556 โดยแยกเป็น นักเรียน
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ จานวน 190 คน และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ชั้นสูง จานวน 52 คน รวมเป็น 242 คน เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามเพ่ือวัด
คุณลกั ษณะของครตู ามความคาดหวงั ของผู้เรียน วิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย เป็น
แบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) มี 5 ระดับ สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่า
รอ้ ยละ คา่ เฉลี่ย คา่ ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน และคา่ สถิตทิ ดสอบแบบเอฟ (f - test)
ผลการวิจยั สรปุ ได้ดังนี้
1. คุณลักษณะของครูในปัจจุบันตามความคิดเห็นของผู้เรียน ในวิทยาลัยการ
อาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย พบว่าคุณลักษณะของครูในปัจจุบัน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก
( = 4.44, S.D. = 0.51) และเม่ือพิจารณาเป็นรายการพบว่าอยู่ในระดับมากที่สุด จานวน 1
รายการ และอยู่ในระดับมาก จานวน 4 รายการ รายการท่ีมีค่าเฉล่ียสูงสุดคือด้านคุณธรรม
จริยธรรม อยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.51, S.D. = 0.50) รองลงมาคือด้านวิชาการและ
การเรียนการสอน อยู่ในระดับมาก ( = 4.50, S.D. = 0.50) และที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุดคือด้าน
บคุ ลกิ ภาพ อยู่ในระดบั มาก ( = 4.37, S.D. = 0.58)
2 คุณลักษณะของครูตามความคาดหวังของผู้เรียน ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย
จงั หวัดเลย พบว่าคุณลักษณะของครูตามความคาดหวงั ของผู้เรยี น โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก
ง
ทส่ี ุด ( = 4.75, S.D. = 0.35) และเมื่อพิจารณาเปน็ รายการพบว่าอย่ใู นระดับมากท่สี ุด จานวน
5 รายการ รายการท่ีมคี ่าเฉล่ยี สูงสุดคือด้านวิชาการและการเรียนการสอน อยู่ในระดับมากท่ีสุด
( = 4.78, S.D. = 0.36) รองลงมาคือด้านคุณธรรมและจริยธรรม อยู่ในระดับมากที่สุด ( =
4.77, S.D. = 0.39) และท่ีมีค่าเฉลี่ยต่าสุดคือด้านบุคลิกภาพ อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( = 4.70,
S.D. = 0.45)
3 เปรยี บเทียบคุณลกั ษณะของครใู นปัจจุบันจาแนกตามระดับการศึกษาของผู้เรียน
ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย พบว่าคุณลักษณะของครูในปัจจุบัน ตามระดับ
การศกึ ษาของผเู้ รียน ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญ
ทางสถิติท่ีระดับ .01 พบว่า นักเรียนในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพมีความคิดเห็นต่อ
คุณลักษณะของครูปัจจุบันสูงกว่าความคิดเห็นของนักศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ชนั้ สูง
4 เปรียบเทียบคุณลักษณะของครูตามความคาดหวังของผู้เรียนจาแนกตามระดับ
การศึกษาของผ้เู รียน ในวิทยาลยั การอาชีพดา่ นซ้าย จังหวัดเลย พบว่าคุณลักษณะของครูตาม
ความคาดหวังของผู้เรียน ตามระดับการศึกษาของผู้เรียน ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย
จังหวัดเลย แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 พบว่า นักเรียนในระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพมีความคิดเห็นต่อคุณลักษณะของครูตามความคาดหวังสูงกว่าความ
คิดเห็นของนักศึกษาในระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ชน้ั สงู
5 เปรียบเทียบคุณลักษณะของครูในปัจจุบันและคุณลักษณะของครูตามความ
คาดหวังของผู้เรียนในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย พบว่าคุณลักษณะของครูใน
ปจั จบุ ันและตามความคาดหวงั ของผเู้ รียน ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย แตกต่าง
กันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 พบว่า คุณลักษณะของครูตามความคาดหวังของ
ผูเ้ รียนสูงกว่าคณุ ลกั ษณะของครใู นปจั จุบนั
สารบัญ หน้า
ก
กิตตกิ รรมประกาศ ค
บทคัดย่อ จ
สารบญั ช
สารบัญตาราง ฌ
สารบัญภาพประกอบ 1
บทที่ 1 บทนา 1
3
1.1 ความเป็นมาและความสาคญั ของการวิจัย 4
1.2 วตั ถปุ ระสงคข์ องการวิจยั 4
1.3 สมมตฐิ านของการวิจัย 5
1.4 ขอบเขตของการวจิ ัย 5
1.5 ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะไดร้ ับ 7
1.6 นยิ ามศพั ท์เฉพาะ 7
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ที่เกย่ี วขอ้ ง 26
2.1 ความรู้เบอ้ื งต้นเกีย่ วกบั ความเป็นครู 55
2.2 บทบาทหน้าที่และความรับผดิ ชอบของครูผสู้ อน 68
2.3 คุณลกั ษณะทว่ั ไปของครทู ่ดี ี
2.4 คณุ ลกั ษณะของครูผ้สู อน 132
2.5 เอกสารและงานวิจัยทเ่ี กยี่ วขอ้ ง 141
บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย 141
3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง 141
3.2 เคร่อื งมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมลู 143
3.3 การสรา้ งเครื่องมือ 144
3.4 การเก็บรวบรวมขอ้ มูล 145
3.5 การวิเคราะหข์ อ้ มลู 145
3.6 สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล 147
บทท่ี 4 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู 147
4.1 สญั ญลกั ษณ์ของสถิตทิ ่ีใช้ในการวเิ คราะหข์ ้อมลู 148
4.2 สถานภาพผู้ตอบแบบสอบถาม 149
4.3 คุณลักษณะของครูในปจั จบุ ัน 155
4.4 คุณลกั ษณะของครูตามความคาดหวังของผู้เรยี น
ฉ 161
4.5 เปรียบเทียบคณุ ลักษณะของครูในปัจจุบันจาแนกตามระดับ 162
การศกึ ษาของผู้เรยี น
163
4.6 เปรียบเทยี บคุณลักษณะของครูผู้สอนตามความคาดหวังจาแนกตาม
ระดบั การศกึ ษาของผ้เู รยี น 165
165
4.7 เปรยี บเทยี บคุณลักษณะของครใู นปัจจุบันและตามความคาดหวัง 166
ของผู้เรียน 166
168
บทท่ี 5 สรปุ ผลการวจิ ัย อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ 171
5.1 วัตถปุ ระสงค์ของการวิจัย 175
5.2 สมมตฐิ านของการวจิ ัย 177
5.3 วิธดี าเนนิ การวจิ ัย 183
5.4 สรปุ ผลการวจิ ยั 185
5.5 อภิปรายผลการวิจยั 193
5.6 ขอ้ เสนอแนะ 200
บรรณานุกรม 204
ภาคผนวก
206
ภาคผนวก ก แบบสอบถามเพอ่ื การวิจัย
ภาคผนวก ข แบบสอบถามเพื่อการวิจยั (สาหรบั ผ้เู ชยี่ วชาญ
ภาคผนวก ค ผลการหาค่าดัชนีความสอดคลอ้ งระหวา่ งขอ้ คาถามกับ
วัตถปุ ระสงค์การวัดตามนิยามศัพท์ (IOC
ภาคผนวก ง การหาค่าความเที่ยงโดยใช้สตู รสัมประสิทธ์ิแอลฟาของครอนบาค
(Alpha Coefficient Cronbach)
ภาคผนวก ญ ประวัติผู้วจิ ัย
สารบญั ตาราง หน้า
148
ตารางท่ี 149
1 สถานภาพผูต้ อบแบบสอบถาม 150
2 คุณลกั ษณะของครผู ู้สอนในปัจจบุ ัน โดยภาพรวม 151
3 ความคดิ เหน็ ต่อคุณลักษณะของครผู ู้สอนในปัจจบุ ัน ดา้ นบุคลกิ ภาพ 152
4 ความคิดเหน็ ต่อคุณลักษณะของครูผู้สอนในปจั จุบัน ด้านมนุษยสัมพันธ์ 153
5 ความคดิ เหน็ ต่อคุณลกั ษณะของครผู ู้สอนในปจั จุบัน ดา้ นภาวะความเป็นผูน้ า
6 ความคดิ เห็นตอ่ คณุ ลักษณะของครผู ู้สอนในปัจจุบัน ดา้ นวิชาการและการเรยี น 154
การสอน 155
7 ความคดิ เหน็ ตอ่ คุณลกั ษณะของครผู ู้สอนในปจั จบุ ัน ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม 156
8 คุณลกั ษณะของครูผู้สอนตามความคาดหวงั ของผูเ้ รียน โดยภาพรวม
9 ความคดิ เหน็ ตอ่ คุณลักษณะของครูผู้สอนตามความคาดหวงั ของผเู้ รยี น 157
ดา้ นบุคลิกภาพ
10 ความคิดเห็นต่อคณุ ลกั ษณะของครูผู้สอนตามความคาดหวงั ของผ้เู รียน 158
ด้านมนษุ ยสมั พันธ์
11 ความคิดเห็นตอ่ คณุ ลกั ษณะของครผู ู้สอนตามความคาดหวงั ของผ้เู รียน 159
ด้านภาวะความเปน็ ผูน้ า
12 ความคดิ เห็นต่อคุณลักษณะของครูผู้สอนตามความคาดหวังของผเู้ รียน 160
ด้านวชิ าการและการเรียนการสอน
13 ความคดิ เหน็ ต่อคุณลักษณะของครผู ู้สอนตามความคาดหวงั ของผเู้ รียน 161
ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม
14 ผลการเปรยี บเทยี บคุณลกั ษณะของครูผูส้ อนในปัจจุบัน ตามระดับการศกึ ษา 162
ของผเู้ รียน ในวทิ ยาลยั การอาชีพด่านซ้าย จังหวดั เลย โดยภาพรวม
และรายดา้ น 163
15 ผลการเปรียบเทยี บคณุ ลกั ษณะของครูผู้สอนตามความคาดหวังของผเู้ รยี น
ตามระดบั การศกึ ษาของผู้เรียน ในวิทยาลยั การอาชีพดา่ นซ้าย จงั หวดั เลย
โดยภาพรวมและรายดา้ น
16 ผลการเปรียบเทยี บคุณลกั ษณะของครูผูส้ อน ในปจั จุบนั และตามความคาดหวงั
ของผู้เรยี น ในวิทยาลยั การอาชพี ดา่ นซ้าย จังหวัดเลย โดยภาพรวม
และรายดา้ น
ซ
สารบัญภาพประกอบ
ภาพประกอบท่ี แสดงการวางแผนการเรยี นการสอน หน้า
1 แสดงระบบออกแบบการเรียนการสอน โดยทิศนา แขมมณี 95
2 แสดงขัน้ ตอนการสร้างเคร่อื งมือ 97
3 144
บทท่ี 1
บทนา
1.1 ความเป็นมาและความสาคญั ของการวจิ ยั
ปัจจัยท่ีสาคัญในการพัฒนาประเทศน้ัน คือ บุคลากรท่ีมีคุณภาพ มีความรู้
ความสามารถ นับตั้งแต่นักเทคโนโลยีระดับสูง วิศวกร ลงไปถึงช่างเทคนิคและช่างฝีมือ ซ่ึงเป็น
แรงงานในระดบั กลาง อันหมายถงึ บคุ ลากรเหล่าน้ีต้องมคี วามรู้ ทักษะ ความชานาญ และเจตคติใน
ระดบั ที่เหมาะสม และสงิ่ ทีจ่ ะช่วยพฒั นาบคุ ลากรเหลา่ นี้ ก็คือ การศึกษา โดยเฉพาะการศึกษา
ทางด้านวิชาชีพ เพื่อเป็นการเตรียมและพัฒนาความพร้อมของบุคลากรที่จะช่วยกันพัฒนา
ประเทศให้เจริญก้าวหนา้ ในขณะท่ปี ระชากรไทยมีจานวนผู้ใหญว่ ัยแรงงานและเป็นคนส่วนใหญ่
ของประเทศถึงร้อยละ 35 ของจานวนประชากรทั้งหมด ผลสารวจการศึกษาของ ผู้เข้าสู่
ตลาดแรงงานในปี 2556 โดยกองวิจัยตลาดแรงงาน พบว่า ประชากรท่ีสาเร็จการศึกษา
ระดับอุดมศึกษาร้อยละ 60.15 อีกร้อยละ 16.75 เป็นแรงงานท่ีสาเร็จการศึกษาระดับประถม
มัธยมต้น มัธยมปลาย ซง่ึ ขาดความรูท้ กั ษะอาชพี ทีเ่ สริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของ
ประเทศ ข้อมลู เหล่านีส้ ะท้อนใหเ้ หน็ ความสาคัญของการจัดการอาชีวศึกษาท่ีเป็นความต้องการ
กาลังคนของประเทศ
เจตนารมณ์ในการจัดการศกึ ษาทุกระดบั มีจุดมุ่งหมายอยา่ งเดียวกันคอื ต้องการให้
ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถ ทักษะ และเจตคติที่ดี โดยมีหลักสูตรในแต่ละระดับเป็น
ตัวกาหนด และบคุ คลสาคญั ทที่ าใหผ้ เู้ รียนไดบ้ รรลุจุดมุ่งหมายของหลักสูตรก็คือ ครู เพราะครู
มีหน้าท่แี ละความรับผดิ ชอบในการจัดประสบการณด์ า้ นตา่ งๆ ให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาในทางท่ีดี
ทกุ ๆ ดา้ น ซึ่งถือได้ว่าครูเป็นทรัพยากรที่สาคัญทจ่ี ะดาเนินกิจกรรมการเรียนรู้ให้บรรลุเป้าหมาย
ทางการศกึ ษา ครูจึงมอี ทิ ธิพลตอ่ ผูเ้ รยี นเปน็ อยา่ งมาก การกระทาหรือพฤติกรรมท่ีครูแสดงออก
จะชว่ ยเสริมสรา้ งพฤตกิ รรมท่ีพงึ ประสงค์แก่ผู้เรียน ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความสนใจในการเรียนรู้
เป็นการปลูกฝังทัศนคติที่ดี ซึ่งจะส่งผลให้กิจกรรมการเรียนรู้มีประสิทธิภาพ แต่การที่ครูจะ
สามารถปฏิบัติหน้าท่ีนี้ได้ ครูจะต้องมีคุณลักษณะหลายๆ ด้านภายในตัวครู นับต้ังแต่ในด้าน
ความรู้ทางวิชาการ ความสามารถ ทักษะ ทัศนคติ อุปนิสัย รูปร่าง ภาวะความเป็นผู้นา
ลักษณะทา่ ทาง ความมมี นุษยสมั พนั ธ์ รวมท้ังพฤติกรรมทัง้ หมดที่ครูแสดงออกมา
2
ในการพัฒนาการศึกษาน้ันจะขาดครูไม่ได้ ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบการศึกษาในระบบ
การศกึ ษานอกระบบ และไม่ว่าจะมเี ทคโนโลยที นั สมยั เพียงใดก็ตาม ครูก็ยังมีความสาคัญ และ
จาเป็นอย่างยง่ิ สาหรับการเรียนรู้ เพราะว่ายังต้องการครูท่ีเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้เรียนในเร่ือง
คุณธรรม จริยธรรม บุคลิกภาพ ครูที่สามารถยกระดับสติปัญญาหรือวิญญาณของมนุษย์ให้
สูงข้ึนได้ ทั้งนี้เน่ืองจากครูจะต้องเป็นผู้กระตุ้น รับผิดชอบ วินิจฉัยผู้เรียน วางแผนจัด
กระบวนการเรยี นรู้ เป็นนักจัดการเรียนรู้ เป็นผู้เอ้ืออานวยความสะดวกในการเรียนรู้ รวมทั้ง
การประเมินผลเพื่อการพัฒนา ฉะนั้น ถ้าจะทาให้การพัฒนาการศึกษาประสบความสาเร็จได้
ครูจึงจาเป็นต้องมีความรู้ ความสามารถในเนื้อหาวิชาท่ีสอนเป็นอย่างดี มีบุคลิกภาพดี มี
เทคนิควิธีการสอนท่ีดี มีภาวะความเป็นผู้นา มีมนุษยสัมพันธ์ เพราะคุณสมบัติเหล่าน้ี
นอกจากจะชว่ ยให้ครูสามารถดาเนินการเรียนรู้ไปไดโ้ ดยตลอดแล้ว คุณสมบัติท่ีดีเหล่านี้ยังมีส่วน
ในการสร้างทัศนคติที่ดีของผู้เรียนต่อครู และต่อบทเรียนท่ีเรียนจากครูด้วย ทัศนคติท่ีดีของ
ผู้เรียนนั้นจะมผี ลเปน็ แรงจูงใจให้อยากแสวงหาความรู้ ซงึ่ สง่ ผลไปถงึ การเรยี นท่ีดีมีประสิทธิภาพ
ได้ และท่สี าคญั ก็คอื ครูไมเ่ พียงแตแ่ ค่สอนในชั้นเรยี นเท่านั้น แตต่ ้องเพ่ิมการดูแลนอกช้ันเรียน
ด้วย ครูควรที่จะเขา้ มาดูแลเอาใจใส่ให้ทิศทางแก่ผู้เรียนครบถ้วน ทุกด้าน ท้ังในเร่ืองการเรียน
การดาเนินชวี ิตสว่ นตวั และครูตอ้ งเปน็ แบบอยา่ งท่ดี ี จึงกล่าวได้ว่างานรับผิดชอบที่ย่ิงใหญ่ของ
ครูอยู่ที่ตัวผู้เรียน และการเรียนรู้ ผู้เรียนอาจจะจาเน้ือหาวิชาหรือกระบวนการที่ครูผู้สอนจัด
กจิ กรรมการเรียนรู้ไมไ่ ด้ แต่สง่ิ ท่ีผู้เรียนจาได้ก็คอื ครู และความเปน็ ครูนั่นเอง
งานวิจัยในประเทศไทยหลายๆ ผลงาน ได้ค้นพบความสอดคล้องกันว่า
คุณลักษณะของครูท่ีสาคัญจะต้องประกอบไปด้วย ด้านบุคลิกภาพ ด้านมนุษยสัมพันธ์ ด้าน
ภาวะความเป็นผนู้ า ด้านวชิ าการและการเรยี นการสอน และด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานหน่ึง
ทส่ี ง่ เสริมและสนับสนนุ ในการศกึ ษาดา้ นวิชาชพี ให้สอดคล้องกับความต้องการทางด้านเศรษฐกิจ
และสังคมของประเทศ และนโยบายของรัฐบาล อันจะต้องผลิตและพัฒนากาลังคนทางด้าน
วิชาชีพ ทุกระดับให้มีคุณภาพเพื่อการพัฒนาประเทศ โดยมุ่งปรับปรุงหลักสูตรการเรียนรู้
พัฒนาครูให้มีคุณภาพในอันที่จะจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้มีคุณภาพ เพื่อให้ผู้สาเร็จการศึกษา
สามารถประกอบอาชพี และตอบสนองตอ่ ตลาดแรงงานได้
วิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย สังกัดสานักงานคณะกรรมการ
การอาชีวศึกษา เร่ิมก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2536 และดาเนินการให้มีกิจกรรมการเรียนรู้ในปี
การศึกษา 2538 เป็นสถานศึกษาท่ีจัดต้ังขึ้นเพ่ือสนองนโยบายของรัฐบาล ที่ขยายโอกาสทาง
การศกึ ษาทางด้านวิชาชีพสชู่ ุมชน รวมท้ังสามารถสนองความต้องการกาลังคนในตลาดแรงงาน
มุ่งพัฒนาคุณภาพผู้เรียนเพ่ือให้สามารถเป็นกาลังในการพัฒนาสังคมและประเทศชาติ ได้
3
ดาเนนิ การจดั การเรยี นรู้หลักสูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพ (ปวช.) ในสาขาวิชาชา่ งยนต์ สาขาวิชา
ชา่ งเช่อื มโลหะ สาขาวิชาชา่ งไฟฟา้ กาลงั สาขาวชิ าช่างอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาช่างกลโรงงาน
สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ และสาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ และจัดการ
เรียนรู้หลกั สูตรประกาศนียบัตรวชิ าชีพชน้ั สงู (ปวส.) ในสาขาวชิ าเครือ่ งกล สาขาวิชาไฟฟ้ากาลัง
สาขาวิชาอเิ ลก็ ทรอนิกส์ สาขาวิชาการบัญชี และสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ นอกจากนั้นยัง
จดั การเรียนรู้ในหลกั สูตรวิชาชพี ระยะส้ัน
จากข้อมูลและปัญหาที่ผู้วิจัยได้นาเสนอมาทั้งหมด สรุปได้ว่า กระบวนการเรียนรู้
จะมีประสิทธิภาพและประสบผลสาเร็จนั้น ข้ึนอยู่กับองค์ประกอบหลายประการ แต่
องค์ประกอบท่ีสาคัญคือ ครู โดยเฉพาะคุณลักษณะของครูน้ัน เป็นปัจจัยท่ีส่งผลต่อคุณภาพ
ของผู้เรียนด้วย ผู้วิจัยในฐานะรับผิดชอบฝ่ายวิชาการท่ีดูแลด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ใน
วิทยาลยั การอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย จึงมีความสนใจที่จะศึกษาเกี่ยวกับคุณลักษณะของครู
ตามความคาดหวังของผู้เรียน ในวิทยาลัยการอาชีพดา่ นซ้าย จงั หวัดเลย เพ่อื ใช้เป็นแนวทางใน
การพฒั นาครู อนั จะเป็นประโยชนต์ ่อกระบวนการจัดการเรยี นรู้ให้มีประสทิ ธภิ าพมากย่ิงขึ้น ซ่ึง
จะสง่ ผลไปยังคณุ ภาพของผู้เรียนทเ่ี ป็นเปา้ หมายท่สี าคญั ของการจัดการศกึ ษา
1.2 วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจัย
1.2.1 เพื่อศึกษาคุณลักษณะของครูในปัจจุบัน ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย
จงั หวัดเลย
1.2.2 เพื่อศึกษาคุณลักษณะของครูตามความคาดหวังของผู้เรียน ในวิทยาลัย
การอาชีพด่านซา้ ย จังหวัดเลย
1.2.3 เพื่อเปรียบเทียบคุณลักษณะของครูในปัจจุบันจาแนกตามระดับการศึกษา
ของผู้เรียน ในวทิ ยาลัยการอาชีพดา่ นซ้าย จังหวดั เลย
1.2.4 เพ่ือเปรียบเทียบคุณลักษณะของครูตามความคาดหวังของผู้เรียนจาแนกตาม
ระดับการศกึ ษาของผ้เู รียน ในวทิ ยาลัยการอาชพี ดา่ นซา้ ย จงั หวดั เลย
1.2.5 เพ่ือเปรียบเทียบคุณลักษณะของครูในปัจจุบันและคุณลักษณะของครูตาม
ความคาดหวังของผเู้ รยี น ในวทิ ยาลยั การอาชีพดา่ นซา้ ย จังหวัดเลย
4
1.3 สมมติฐานของการวิจัย
1.3.1 ผ้เู รียนในวทิ ยาลัยการอาชีพดา่ นซา้ ย จังหวัดเลย ท่มี ีระดบั การศึกษาต่างกัน
มคี วามคดิ เห็นต่อคุณลักษณะของครูในปจั จุบนั แตกต่างกนั
1.3.2 ผเู้ รยี นในวทิ ยาลยั การอาชพี ดา่ นซา้ ย จังหวัดเลย ท่มี ีระดับการศึกษาต่างกัน
มคี วามคดิ เห็นตอ่ คุณลกั ษณะของครูตามความคาดหวัง แตกตา่ งกนั
1.3.3 ผู้เรียนในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย มีความคิดเห็นต่อ
คุณลักษณะของครูในปจั จบุ ัน และคุณลกั ษณะของครูตามความคาดหวงั แตกต่างกนั
1.4 ขอบเขตของการวจิ ัย
1.4.1 ขอบเขตดา้ นประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง
ประชากรทีใ่ ชใ้ นการวจิ ยั ครง้ั นี้ ได้แก่ ผู้เรียนในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย
จังหวดั เลย ในปกี ารศึกษา 2556 โดยแยกเป็น นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ จานวน
521 คน และนกั ศึกษาระดับประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชั้นสงู จานวน 144 คน รวมเป็น 665 คน
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งน้ี ผู้วิจัยได้สุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งช้ันภูมิ
ได้แก่ ผู้เรียนในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย ในปีการศึกษา 2556 โดยแยกเป็น
นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ จานวน 190 คน และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร
วชิ าชีพชน้ั สงู จานวน 52 คน รวมเป็น 242 คน
1.4.2 ขอบเขตดา้ นเนื้อหา
การวิจัยคร้ังน้ี ผู้วิจัยได้ศึกษาคุณลักษณะของครูตามความคาดหวังของ
ผูเ้ รียน ในวทิ ยาลยั การอาชีพด่านซา้ ย จงั หวัดเลย 5 ดา้ น คอื
1.4.2.1 ด้านบุคลิกภาพ
1.4.2.2 ดา้ นมนุษยสัมพนั ธ์
1.4.2.3 ด้านภาวะความเปน็ ผ้นู า
1.4.2.4 ด้านวชิ าการและการเรยี นรู้
1.4.2.5 ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม
5
1.5 ประโยชน์ทีค่ าดวา่ จะไดร้ บั
1.5.1 ทาให้ทราบถงึ คุณลักษณะของครูตามท่ีผู้เรียนคาดหวงั
1.5.2 ข้อมูลที่ได้เป็นแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาคุณลักษณะของครู ใน
วิทยาลยั การอาชพี ดา่ นซา้ ย จังหวัดเลย
1.5.3 ข้อมูลที่ได้ใช้เป็นข้อเสนอแนะสถาบันท่ีเก่ียวข้องในการผลิตครู หรือ
ฝึกอบรม เพอ่ื ใหส้ ามารถผลิตครทู ม่ี ีคุณภาพ
1.6 นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ
1.6.1 คุณลักษณะของครู หมายถึง ลักษณะคุณสมบัติ และพฤติกรรมการ
แสดงออกของครูในดา้ นบคุ ลกิ ภาพ ด้านมนุษยสัมพันธ์ ด้านภาวะความเป็นผู้นา ด้านวิชาการ
และการเรยี นรู้ และดา้ นคุณธรรม จริยธรรม
1.6.2 ความคาดหวัง หมายถึง ความคิด ความรู้สึก ความมุ่งหวัง ของผู้เรียน ใน
วทิ ยาลัยการอาชีพดา่ นซา้ ย จงั หวัดเลย
1.6.3 ผู้เรียน หมายถึง นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ และนักศึกษา
ระดบั ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชน้ั สูง ในวิทยาลยั การอาชพี ดา่ นซา้ ย จงั หวดั เลย
1.6.4 นักเรียน หมายถึง ผู้เรียนท่ีกาลังศึกษาอยู่ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ในวทิ ยาลยั การอาชีพดา่ นซ้าย จงั หวัดเลย
1.6.5 นักศึกษา หมายถงึ ผ้เู รียนท่ีกาลังศึกษาอยู่ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ชั้นสูง ในวทิ ยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย
1.6.6 ครู หมายถึง ครทู ี่ทาหนา้ ทสี่ อนในระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชีพ และระดับ
ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพชนั้ สงู ในวิทยาลัยการอาชพี ด่านซา้ ย จงั หวดั เลย
บทที่ 2
เอกสารและงานวจิ ยั ท่เี กย่ี วขอ้ ง
ในการวิจัยคร้ังนี้ ผู้วิจัยได้ศึกษาและวิเคราะห์เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง
ครอบคลุมในเน้ือหาสาระท่ีสาคัญเก่ียวกับคุณลกั ษณะทีด่ ีของครู ทง้ั ในหลกั การ ทฤษฎี ดงั นี้
2.1 ความรู้เบื้องตน้ เกย่ี วกบั ความเป็นครู
2.2 บทบาทหนา้ ทแ่ี ละความรบั ผดิ ชอบของครู
2.3 คณุ ลักษณะทว่ั ไปของครทู ด่ี ี
2.4 คณุ ลกั ษณะของครู
2.4.1 ด้านบุคลิกภาพ
2.4.2 ดา้ นมนษุ ยสมั พันธ์
2.4.3 ดา้ นภาวะความเปน็ ผู้นา
2.4.4 ดา้ นวชิ าการและการเรยี นการสอน
2.4.5 ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม
2.5 เอกสารและงานวิจยั ที่เกย่ี วขอ้ ง
2.1 ความรู้เบอ้ื งต้นเกี่ยวกบั ความเป็นครู
2.1.1 ความรู้เก่ยี วกับความเปน็ ครู
ภารกิจที่สาคัญย่ิงของผู้ประกอบวิชาชีพครู คือ การจัดการเรียนรู้ การจัดการ
เรียนรู้เปน็ กระบวนการเฉพาะตวั และมีความซบั ซ้อน โดยปกติการจดั การเรยี นรู้เป็นกระบวนการ
ที่ผสมผสานระหว่าง “ศาสตร์และศิลป์” คือต้องอาศัยองค์ประกอบอย่างน้อย 2 ประการ คือ
ประการแรกคือองค์ประกอบทางจิตวิสัย (Subjective Factors) เป็นองค์ประกอบทางด้าน
ความสามารถและบุคลกิ ภาพส่วนตัว ส่วนองค์ประกอบที่สองคือองค์ประกอบทางด้านวัตถุวิสัย
(Objective Data) เป็นองค์ประกอบทางด้านความรู้ในหลักวิชาที่ได้ศึกษาเล่าเรียนจาก
สถาบันการศึกษา หรือจากผู้ทรงคุณวุฒิต่างๆ กล่าวโดยสรุปก็คือ ไม่ว่าจะเป็นครูสอนวิชาใด
หรอื ในระดบั ใดสิ่งสาคัญที่ผู้ประกอบวิชาชีพครูจาเป็นต้องมีอย่างย่ิง คือความรู้ในหลักวิชาท่ีจะ
จัดการเรยี นรู้และความสามารถในการจัดการเรยี นรู้
จะเห็นได้จากผู้เป็นครูบางคนท่ีเข้าทาการจัดการเรียนรู้ใหม่ๆ ซึ่งยังขาดท้ังความรู้
และประสบการณ์ ครูเหล่าน้ันได้ใช้วิธีการบางอย่างท่ีไม่เป็นไปตามหลักวิชาการ แต่ก็สามารถ
ทาให้ผู้เรียนทุกคนในชั้นสามารถอ่านออกเขียนได้ น่ีแสดงให้เห็นว่าครูได้นาศิลปะหรือ
8
ความสามารถและบุคลิกภาพเฉพาะตัวมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ ขณะเดียวกันครูท่ีมีความรู้ใน
หลักวิชาการอย่างเพียงพอก็จะนาเอาหลักวิชาการมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ เพ่ือให้เกิด
ประสิทธิภาพยิ่งข้ึนนั่นคือครูได้นาเอาท้ังหลักวิชาการหรือความรู้ท่ีได้ศึกษาเล่าเรียนและ
คณุ สมบตั ิเฉพาะตัวของครูเองมาใช้ในการจัดการเรียนรู้นน่ั เอง
การเป็นครูนนั้ มใิ ชเ่ พียงแตม่ คี วามร้ใู นหลกั วชิ าการก็สามารถเป็นครูทด่ี ไี ด้ แต่จะต้อง
อาศัยแรงจูงใจในดา้ นอ่ืนๆ มาประกอบอกี มากมายเชน่ ความมีศรทั ธาในวิชาชีพ มีวิญญาณความ
เป็นครูหรือความรักในการจัดการเรียนรู้ ความเต็มใจท่ีจะรับใช้บริการ (Service Mind) และ
ความรักความเมตตาต่อผู้เรียน เปน็ ต้น
ทุกคนเกิดมาต้องมีครู และทุกคนต้องเป็นครู ครูคนแรกของทุกคน คือ บิดา
มารดา ในกรณีท่ีบุคคลใดเกิดมาแล้วไม่ได้อยู่กับบิดามารดาถือว่าผู้อุปการะเล้ียงดูอย่างใกล้ชิด
น้นั เป็นครคู นแรกของตน สว่ นท่กี ล่าววา่ ทกุ คนต้องเป็นครูนั้น เพราะทุกคนสามารถสอนตนเอง
ไดท้ ุกขณะที่มีสติสมั ปชัญญะ เชน่ การเตือนตัวเองให้มีความระมัดระวังขณะเดินทาง เตือนให้
ตัวเองรู้จักประหยัดในการใช้จ่ายเงิน หรือการให้คาแนะนาบุคคลอื่นในการกระทาบางสิ่ง
บางอย่าง เปน็ ต้น
2.1.2 ความหมายของคาวา่ ครู
นักวิชาการ นักการศึกษา พระภิกษุสงฆ์ ท่ีทรงคุณวุฒิรวมทั้งหน่วยราชการต่างๆ
ได้ให้ความหมายของคาว่า “ครู” ไว้อย่างหลากหลาย ดงั เช่น
พจนานกุ รมฉบับราชบัณฑติ ยสถาน พทุ ธศกั ราช 2546 อธบิ ายคาว่า ครูนั้นมาจาก
รากศัพท์ในภาษาบาลีว่า “คุรุ - ครุ” หรือจากภาษาสันสกฤตว่า “คุรุ” ในความหมายที่เป็น
คานามแปลว่า “ผู้สั่งสอนศิษย์หรือถ่ายทอดความรู้ให้แก่ศิษย์” ส่วนในความหมายท่ีเป็นคา
วิเศษณ์ในภาษาบาลีแปลว่าหนัก สูง ส่วนในภาษาสันสกฤตแปลว่าใหญ่หรือหนัก
(ราชบัณฑติ ยสถาน, 2546)
พระธรรมโกศาจารย์หรือพุทธทาสภิกขุ ได้อรรถาธิบายความหมายของ “ครู” ใน
สมยั โบราณคาวา่ “ครู” เปน็ คาทส่ี ูงมาก “ครูเปน็ ผู้เปิดประตูทางวิญญาณ” และนาวิญญาณไปสู่
คุณธรรมชั้นสงู เปน็ เรอ่ื งทางจิตใจ โดยเฉพาะครูเป็นผู้ควรเคารพ หรือมีความหนักท่ีเป็นหนี้อยู่
เหนือศรี ษะ เป็นเจา้ หนอ้ี ย่เู หนอื ศรี ษะของคนทุกคน (พุทธทาสภิกขุ, 2529 อ้างถึงใน ยนต์ ชุ่ม-
จติ , 2553) จากความหมายนจ้ี ึงพอสรุปไดว้ ่า คาวา่ ครูน้ันคือ “ผู้เปิดประตูทางวิญญาณของศิษย์
เพอ่ื นาไปสคู่ ุณธรรมช้นั สงู ” คาวา่ วิญญาณในท่ีนหี้ มายถึงความรู้สึกนกึ คิดนั่นเอง
ในหนังสือ Dictionary of Education ของกู๊ด (Good, 1973 อ้างถึงใน ยนต์ ชุ่ม-
จิต, 2553) ได้ให้ความหมายของครไู ว้หลายนัยด้วยกนั ดังนี้
9
1 ครู คือ บุคคลที่ทางราชการจ้างไว้เพื่อทาหน้าที่ให้คาแนะนาหรือ
อานวยการในการจดั ประสบการณก์ ารเรียนสาหรบั ผเู้ รยี นหรอื นกั ศกึ ษาในสถาบันการศึกษาไม่ว่า
จะเปน็ ของรัฐหรือเอกชน
2 ครู คอื บคุ คลทม่ี ปี ระสบการณ์หรือมกี ารศึกษามากหรือดีเป็นพิเศษ หรือ
มที ัง้ ประสบการณ์และการศึกษาเป็นพิเศษในสาขาวิชาใดวิชาหนึ่งท่ีสามารถช่วยทาให้บุคคลอ่ืนๆ
เกิดความเจรญิ งอกงามและพฒั นากา้ วหนา้ ได้
3 ครู คือ บุคคลท่ีสาเร็จหลักสูตรวิชาชีพจากสถาบันฝึกหัดครู และการ
ฝึกอบรมน้นั ได้รับการรบั รองอยา่ งเป็นทางการ โดยการมอบประกาศนียบัตรทางการสอนให้แก่
บุคคลนั้น
4 ครู คอื บุคคลที่อบรมสง่ั สอนอบรมคนอ่ืนๆ
เปลื้อง ณ นคร (2516 อ้างถึงใน ยนต์ ชุ่มจิต, 2553) ให้ความหมายของคาว่าครู
ไว้ดงั น้ี
1 ผ้มู คี วามหนกั แนน่
2 ผู้ควรเคารพแกศ่ ิษย์
3 ผสู้ ั่งสอน
สอดคล้องกับความเห็นของมานิต มานิตเจริญ (2519 อ้างถึงใน ยนต์ ชุ่มจิต,
2553) ทีใ่ หค้ วามหมายของคาว่าครู ไวด้ ังน้ี
1 ผู้สงั่ สอนศษิ ย์
2 ผู้ถ่ายทอดความร้ใู ห้แกศ่ ษิ ย์
3 เครื่องเตือนใจ เช่น ผดิ เป็นครู
พันเอก ปิ่น มุทุกันต์ (2524 อ้างถึงใน ยนต์ ชุ่มจิต, 2553) ให้ความหมายของคา
วา่ ครไู ว้ในหนงั สอื “มงคลชวี ติ ” ว่า คาว่า “ครุ” หรือ “ครู” น้ี ซึ่งแผลงไปเป็น “คารวะ” แต่
เดิมแปลว่า หนัก ก็จริง แต่ความหมายไม่ค่อยสู้ดีนัก ถ้าจะแปลให้ตรงความหมายจะต้อง
แปลว่า “ตระหนัก” เพราะคาว่า “หนัก” เฉยๆ มันชวนให้โยนท้ิง ส่วนคาว่า “ตระหนัก”
หมายถึงการเอาใจจดจ่อหรอื ใส่ใจชวนใหเ้ ดินเข้าหาชวนให้รับไว้ ความตระหนักเป็นความหมาย
ของ “คารวะ” นัน้ หมายถงึ ตระหนกั ในความดอี นั มีอยู่ในตวั คนอื่น และในส่ิงอ่ืน คุณความดีที่มี
อยู่ในตัวคนใดหรือในส่ิงใดก็ตามถ้าเราไปใส่ใจสนใจปลงใจในคนนั้นเรียกว่าตระหนักในความดี
ความตระหนกั ในความดีนแี่ หละที่เปน็ เน้ือแทข้ องคารวธรรมหรอื ความเคารพ
ตามมาตรา 4 ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และแก้ไข
เพม่ิ เตมิ (ฉบับท่ี 2) พุทธศักราช 2545 นยิ ามความหมายของคาว่าครูไว้ว่า “ครู” หมายความว่า
10
บุคลากรวิชาชีพซึ่งทาหน้าท่ีหลักทางด้านการจัดการเรียนรู้ และส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน
ด้วยวิธีการตา่ งๆ ในสถานศกึ ษาท้ังของรัฐและเอกชน
ตามกฎหมายน้ีครูมีองค์ประกอบที่สาคัญคือ (1) ทาหน้าท่ีหลักทางด้านการจัดการ
เรยี นรู้และสง่ เสรมิ การเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวธิ ีการต่างๆ (2) ทาการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษา
ท้ังของรฐั และเอกชน (3) เปน็ บคุ ลากรวิชาชีพ
ทวิช เปล่งวิทยา (2522 อ้างถึงใน สุทัศน์ สุวรรณโน, 2549) กล่าวว่า จากนิรุกติ
ของคาว่า ครุ ุ หรอื ครู เกดิ จากรากศัพท์สองคา คือ คุ แปลวา่ มืด รุ แปลว่าสว่าง จึงสรุปได้
ว่าครเู ป็นผไู้ ขความสว่างไปทาลายความมืด หรือผู้ทาลายความมืดเพ่ือนาไปสู่ความสว่าง หรือผู้
ประหารความโง่แลว้ นาไปสคู่ วามฉลาด
พุทธทาสภิกขุ (อ้างถึงใน บุดดี วุฒิเสลา, 2549) กล่าวว่า ครู คือ ผู้นาทาง
วิญญาณ หรือเป็นมัคคุเทศก์ทางวิญญาณ หมายถึง เป็นแสงสว่างทางแก่วิญญาณของมวล
มนุษย์ในโลก ให้รู้จักเดินทางไปสู่จุดหมายปลายทางท่ีพึงปรารถนา ครูเป็นผู้ท่ียกสถานะทาง
วญิ ญาณของผ้เู รียนให้สูงข้ึน เป็นผู้เปิดประตูวิญญาณให้เกิดแสงสว่างด้วยวิธีที่สามารถเอาชนะ
กิเลสหรอื รอดพน้ จากความทุกข์ ครูจึงเป็นปชู นียบคุ คลทโ่ี ลกตอ้ งบูชา ดว้ ยเหตุน้ี ครูจึงต้องเป็น
ผเู้ สยี สละ ตอ้ งอทุ ิศตนท่จี ะปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีในฐานะเป็นปูชนียบุคคล โดยได้กาหนดลักษณะหน้าท่ี
ของครูไว้ 3 ประการ คือ
1 ครสู อนหนังสือ เปน็ ผสู้ อนให้คนรู้หนังสือ สามารถอ่านและเขียนได้ และ
สามารถนาไปแสวงหาความรเู้ พ่มิ เตมิ เปน็ ผู้เปิดหูเปดิ ตาใหค้ นรอดพน้ จากความมืด
2 ครูสอนอาชีพ เป็นผู้สอนให้คนมีอาชีพทาตามความสามารถ และความ
ถนัด เพ่ือให้รอดพน้ จากความทุกข์และความอดอยาก มนุษย์ทุกคนต้องการปัจจัยสี่ในการดารง
ชีพ ได้แก่ อาหาร เคร่ืองนุ่งห่ม ท่ีอยู่อาศัยและยารักษาโรค การที่จะได้สิ่งเหล่านี้มาทุกคน
ตอ้ งทางาน ต้องมีอาชีพ และอาชีพต้องเรียนรู้จากครู ซ่ึงครูในท่ีนี้มิได้หมายถึงครูในโรงเรียน
เสมอไป ทกุ ส่งิ ทุกอยา่ งทท่ี าใหเ้ กิดการเรยี นรู้ไดถ้ อื วา่ เป็นครู
3 ครูผู้นาทางจิตใจหรือวิญญาณ ครูประเภทน้ีสอนให้คนมีความถูกต้องทาง
จิตใจ กล่าวคือ สอนให้สามารถเอาชนะกิเลสหรือความทุกข์ได้ การสอนของครูประเภทน้ี
เปน็ ไปตามความประสงค์ของพระพุทธเจา้ โดยสอนตามความเปน็ จริงท่ีเกิดข้ึนของชีวิต สอนให้
มนุษย์ไปส่จู ดุ หมายเดียวกนั คอื ความรอดพ้นจากความเป็นทุกข์
ปัจจุบันคาว่า “ครู” กับ “อาจารย์” มักจะใช้ปะปน หรือควบคู่กันเสมอ จน
บางครั้งดูเหมอื นจะมีความหมายเป็นคาคาเดียวกัน แต่ตามความเป็นจริงแล้วรากศัพท์เดิมของ
คาทัง้ สองนีแ้ ตกต่างกัน และเมือ่ พิจารณาความหมายด้งั เดมิ ของคาทง้ั สองแล้วยิ่งมีความแตกต่าง
11
กันมากขึ้น นอกจากนี้ในทางกฎหมายกย็ งั ได้กาหนดความหมายของครูและอาจารย์ในลักษณะท่ี
แตกตา่ งกนั ด้วย
อยา่ งไรก็ตามนกั การศกึ ษานักวิชาการหนว่ ยงานทางการศึกษา รวมท้ังผู้ทรงคุณวุฒิ
ในดา้ นต่างๆ ได้อธบิ ายความหมายของคาว่า “อาจารย”์ ไวอ้ ย่างหลากหลาย ดงั เช่น
รากศัพท์เดิมของคาว่า “อาจารย์” มาจากภาษาบาลีว่า “อาจารย์” และภาษา
สันสกฤตว่า “อาจารย์” พระธรรมโกศาจารย์หรือพุทธทาสภิกขุ (2529 อ้างถึงใน ยนต์ ชุ่มจิต,
2553) อธิบายว่าความหมายดั้งเดิมของอาจารย์หมายถึง ผู้ฝึกมารยาทหรือควบคุมให้อยู่ใน
ระเบยี บวนิ ยั เปน็ ผู้รกั ษาระเบียบกฎเกณฑ์ตา่ งๆ อาจารยเ์ ป็นผวู้ างเปน็ ผู้ดูแลให้อยใู่ นระเบียบ
ส่วนใน Webster's Third New InternationaI Dictionary (Gove' 1965 อ้างถึง
ใน ยนต์ ชุ่มจิต, 2553) และในหนังสือ Dictionary of Education (Good' 1973 อ้างถึงใน
ยนต์ ชุม่ จติ , 2553) ให้ความหมายของคาวา่ “อาจารย์” (Instructor) ไว้ตรงกันคือเป็นผู้สอนใน
วิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัยที่มีตาแหน่งต่ากว่าระดับศาสตราจารย์ และเป็นผู้สอนท่ีต้อง
รับผิดชอบต่อการสอนนักศึกษาให้เกิดความก้าวหน้าตามจุดประสงค์เฉพา ะของการศึกษาท่ี
กาหนดไว้
ปจั จุบันคาว่า “อาจารย์” หมายถงึ ฐานะชั้นสงู หรอื ชน้ั หน่ึงของผู้ท่ีเป็นครู (พุทธทาส-
ภกิ ข,ุ 2529 อ้างถงึ ใน ยนต์ ชุ่มจติ , 2553)
นอกจากนี้ กวี อิศริวรรณ (2529 อ้างถึงใน ยนต์ ชุ่มจิต, 2553) อธิบาย
ความหมายและที่มาของคาว่า “อาจารย์” สรุปความได้ว่าชาวอินเดียเรียกหัวหน้านักบวชใน
ศาสนาพราหมณ์ว่า “นาจาระ” คาว่า “อาจารย์” หมายถงึ ผู้ท่ีสามารถจัดทาคาสอนให้ผู้ประสงค์
จะบรรพชาหรือสามารถทอ่ งจาพระสตู รพระคาถาหรือสามารถจัดพธิ ีกรรมในพระอุโบสถ์ได้ ส่วน
ในญ่ปี นุ จะเรียกพระสงฆ์ระดับพระเถระผใู้ หญว่ ่า “อาจารย์”
จากความหมายของคาว่าครู ตามทัศนะของบุคคลต่างๆ ท่ีกล่าวมา สรุปได้ว่า ครู
คือ ผู้ที่มีหน้าท่ีส่ังสอนศิษย์ ถ่ายทอดความรู้ให้กับศิษย์เพ่ือให้เกิดความรอบรู้ในทุกๆ ด้าน
ส่งเสรมิ การเรยี นรู้ของศิษยด์ ้วยวธิ กี ารตา่ งๆ จะตอ้ งเปน็ ผูส้ อนหนงั สือ สอนอาชีพ และเป็นผู้นา
ทางจิตใจหรอื วิญญาณในสงั คม เปน็ ผเู้ ปิดประตูทางวิญญาณของศิษย์เพื่อนาไปสู่คุณธรรมชั้นสูง
ครูต้องเปน็ ผู้ทม่ี ีความหนักแน่น มีศีลธรรม จริยธรรม ตามที่พึงปรารถนาของสังคม ต้องเป็นผู้
เสียสละ ต้องอทุ ศิ ตนที่จะปฏิบตั หิ น้าทใี่ นฐานะเป็นปูชนียบคุ คล
2.1.3 ความสาคัญของความเปน็ ครู
ยนต์ ชุ่มจิต, 2553 ได้กล่าวว่าทุกคนเกิดมาต้องมีครูและทุกคนเกิดมาต้องเป็นครู
ด้วยเหตุน้ีทุกคนจึงไม่สามารถที่จะปฏิเสธถึงความสาคัญของครูได้ ท้ังนี้เพราะความเป็นครูน้ัน
ยอ่ มเปน็ ได้ท้ังบุคคลทม่ี ิได้ประกอบวชิ าชพี ครู และบุคคลทป่ี ระกอบวชิ าชพี ครูโดยตรง อย่างไรก็
12
ดีถา้ พิจารณาเฉพาะงานอาชีพด้วยกันแล้วอาชีพทุกอาชีพย่อมมีความสาคัญต่อบุคคลและสังคม
ด้วยกนั ท้ังส้ิน ยากท่ีจะกล่าวอ้างว่าอาชีพใดมีความสาคัญกว่ากัน แต่ถ้าเรามาพิจารณาเฉพาะ
วชิ าชพี ครใู ห้ลกึ ซง้ึ และกวา้ งขวางแล้วจะเหน็ ว่าผู้ท่ีประกอบวิชาชีพครูเป็นงานอาชีพน้ัน ต้องรับ
ภาระหน้าที่ต่อสังคมและชาติบ้านเมืองอย่างใหญ่หลวง หากผู้เป็นครูปฏิบัติภาระที่ตนเองต้อง
รบั ผดิ ชอบบกพรอ่ งผลกระทบก็จะตกไปถงึ ความเสอื่ มของสังคมและชาติบ้านเมือง ดังน้ันเพ่ือให้
ผู้ท่กี าลงั ปฏิบตั ิหน้าทค่ี วามเปน็ ครไู ดต้ ระหนกั ถงึ ความสาคัญของครู จึงขออัญเชิญพระราโชวาท
ของสมเดจ็ พระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกมุ ารในพธิ ีพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้สาเร็จ
การศึกษาจากวิทยาลัยครู ณ อาคารใหม่สวนอัมพร วันพุธท่ี 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2523 มา
กลา่ วในท่ีนด้ี งั ปรากฏข้อความตอนหน่ึงวา่
“หน้าทีข่ องครูน้ันเป็นหน้าท่ีที่มีความสาคัญย่ิง เพราะเป็นการปลูกฝังความรู้
ความคิดและจิตใจแก่เยาวชน เพ่ือท่ีจะให้เติบโตขึ้นเป็นพลเมืองดีและมีประสิทธิภาพของ
ประเทศชาติในกาลข้างหน้า ผู้เป็นครูจึงจัดได้ว่าเป็นผู้มีบทบาทอย่างสาคัญในการสร้างสรรค์
บนั ดาลอนาคตของชาติบ้านเมอื ง”
และอีกตอนหน่ึงซ่ึงเป็นพระราโชวาทของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม
ราชกมุ ารี ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้สาเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยครู ณ อาคารใหม่
สวนอมั พร วันพธุ ท่ี 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2526 ความตอนหนึ่งวา่
“อาชีพครูถือว่าสาคัญย่ิง เพราะครูมีบทบาทสาคัญในการพัฒนาประเทศให้
เจรญิ มั่นคง และกอ่ นทจ่ี ะพัฒนาบา้ นเมอื งให้เจริญไดน้ ้ันจะต้องพัฒนาคน ซึ่งได้แก่เยาวชนของ
ชาติเสยี ก่อน เพื่อให้เยาวชนเติบโตเป็นผู้ใหญ่ท่ีมีคุณค่าสมบูรณ์ทุกด้านจึงสามารถช่วยกันสร้าง
ความเจริญใหแ้ กช่ าติต่อไปได้” และอีกตอนหนึ่งเม่ือคราวเสด็จพระราชดาเนินเป็นองค์ประธาน
เปิดงานวันครูโลกประจาปี 2547 เมื่อวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2547 ณ หอประชุมคุรุสภา โดย
ทรงมพี ระราชดารัสความตอนหนง่ึ วา่ "ความพยายามที่จะพฒั นาคุณภาพการศึกษาโดยยึดผู้เรียน
เปน็ สาคญั มกี ารปฏิรูปการศึกษาดา้ นตา่ งๆ ทั่วโลก แต่การท่ีจะให้เปูาหมายทั้งเชิงปริมาณและ
คุณภาพดังกลา่ วสาเร็จไปได้ย่อมต้องอาศัย “ครู” เป็นปัจจัยสาคัญ แม้ในปัจจุบันเทคโนโลยีจะ
กา้ วหนา้ ข้อมลู ข่าวสารไร้พรมแดน แต่ก็ไม่สามารถทดแทนครูได้ เพราะการศึกษาไม่ใช่เพียง
การรับรู้ข้อมูลข่าวสารเท่านั้น แต่ส่ิงสาคัญ คือ การฝึกคิด การบ่มนิสัยให้แต่ละคนสามารถ
พ่ึงพาตนเองและมีน้าใจเอ้ือเฟื้อเผื่อแผ่ต่อผู้อื่น ซ่ึงส่วนน้ีต้องใช้คนสอนเท่าน้ัน ดังน้ันครูต้อง
พัฒนาตนเองให้รู้ทันโลก จึงจะสามารถบ่มนิสัยคนในยุคใหม่ได้ (สมเด็จพระเทพฯ ทรงย้า
เทคโนโลยีสมัยใหมท่ ดแทนครูไมไ่ ด้, 2547 อา้ งถึงใน ยนต์ ช่มุ จิต, 2553)
พระราโชวาทของทั้งสองพระองค์ซ่ึงได้อัญเชิญมากล่าวข้างต้น ทาให้พอสรุปความ
ได้ว่า ผู้ท่ีเป็นครูนั้นมีความสาคัญมาก เพราะครูเป็นผู้ปลูกฝังความรู้ความคิดและจิตใจและ
13
พัฒนาเยาวชนให้มีความเจริญในทุกๆ ด้าน ย่ิงเทคโนโลยีสมัยใหม่มีความเจริญก้าวหน้ามาก
เพยี งใด ก็ยอ่ มตอ้ งการครูท่ีมคี วามรูแ้ ละความสามารถมากขนึ้ เพยี งนั้น ทงั้ น้เี พื่อให้ครูเป็นบุคคล
ทีร่ ูเ้ ท่าทนั คน และเท่าทันโลกดา้ นตา่ งๆ สามารถนาความรูค้ วามสามารถในตนมาพัฒนาเยาวชน
ใหเ้ กดิ ความเจริญงอกงามเพือ่ เป็นกาลังสาคัญของชาติบ้านเมอื งตอ่ ไป
จากพระราโชวาทของทง้ั สองพระองคต์ ามที่ได้อัญเชิญมาน้ี เป็นเครื่องยืนยันให้เห็น
ถึงความสาคัญของบุคคลท่ีเป็นครูที่มีต่อความเจริญของบุคคลและชาติบ้านเมืองเป็นอย่างยิ่ง
ทั้งนเี้ พราะ “ชาตบิ า้ นเมอื งจะมคี วามเจรญิ มัน่ คงอยไู่ ด้กเ็ พราะประชาชนในชาติไดร้ ับการพัฒนา
อย่างถูกวิธี การพัฒนาคนจะดาเนินไปอย่างถูกต้องก็เพราะมีระบบการศึกษาที่ดี และระบบ
การศกึ ษาจะดาเนินไปอย่างมปี ระสทิ ธิภาพกเ็ พราะมีครทู ีม่ คี ณุ ภาพ” ถา้ หากสถาบันการศึกษาทุก
ระดับไดค้ รูที่มคี ณุ ภาพแล้ว ย่อมเป็นท่เี ชือ่ ไดว้ า่ การพัฒนาประเทศในทุกๆ ด้าน จะต้องประสบ
ความสาเร็จภายในเวลาอันสั้น ในทางตรงข้ามถึงแม้ว่าเราจะมีหลักสูตรที่ดี มีอาคารเรียนท่ี
ทนั สมัย มีวัสดุอุปกรณท์ างการศึกษาอยา่ งพรอ้ มเพรียง รวมทั้งได้รับความร่วมมือจากชุมชนใน
การจัดการศึกษาเป็นอย่างดี แต่ทว่าในสถาบันการศึกษาแต่ละแห่งมีแต่ครูท่ีไร้คุณภาพแล้ว
รับรองได้ว่าการพัฒนาการศึกษาและการพัฒนาประเทศในหลายๆ ด้าน จะต้องเป็นไปอย่าง
ล่าชา้ และยากยงิ่
เนื่องจากครูมีความสาคัญต่อการพัฒนาคนและการพัฒนาชาติบ้านเมืองอย่างยิ่ง
ดงั น้นั จงึ มีผู้ตัง้ สมญานามใหค้ รูในลกั ษณะตา่ งๆ มากมาย ดังเชน่
1 ครคู ือนกั ปฏวิ ัติในสนามรบทางการศึกษา หมายความวา่ ครูเป็นผู้ปรับปรุง
เปลีย่ นแปลงการศึกษาของชาตบิ ้านเมืองให้เจริญรุ่งเรืองขึ้น ท้ังน้ีเพราะคาว่า “ปฏิวัติ” แปลว่า
การเปลี่ยนแปลงระบบ นัน่ คือ เปล่ยี นแปลงจากระบบทไี่ มด่ ีใหเ้ ปน็ ระบบที่ดกี วา่ เดิม
ภารกิจทค่ี รพู งึ กระทาหรอื จาเปน็ ต้องกระทาในฐานะท่ีได้รับสมญานามเป็นนัก
ปฏิวัตใิ นสนามรบทางการศึกษา เชน่
1.1 ร่วมกับคณะครู กรรมการสถานศึกษา ผู้ทรงคุณวุฒิอื่นๆ เพื่อ
ช่วยกันกาหนดปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์สาหรับการพัฒนาการศึกษาใน
โรงเรยี นทต่ี นปฏิบตั ิหน้าท่กี ารงาน
1.2 ร่วมกับคณะครูในโรงเรียน เพ่ือช่วยกันกาหนดนโยบาย
วตั ถปุ ระสงค์ เปูาหมาย และกลยทุ ธส์ าหรับการดาเนินงานเพอ่ื พัฒนาการศกึ ษาของโรงเรยี น
1.3 ร่วมกบั คณะครู คณะกรรมการสถานศึกษา และผู้ทรงคุณวุฒิอื่นๆ
เพ่อื พัฒนาหลักสูตรสถานศกึ ษาใหส้ นองความตอ้ งการของท้องถิน่
1.4 ร่วมกับคณะครู และผู้ทรงคุณวุฒิอื่นๆ เพื่อปรับปรุงวิธีการสอน
ให้ทนั สมัยเหมาะสมกบั ลักษณะวชิ า ลักษณะผเู้ รียน และสภาพสิ่งแวดล้อม
14
1.5 ร่วมคิด ร่วมจัดทาสื่อการสอนให้ทันสมัย ประหยัด และเกิด
ประโยชนส์ ูงสดุ
2 ครูคือผู้ใช้อาวุธลับของชาติ หมายความว่า ครูเป็นผู้คอยอบรมสั่งสอน
ผูเ้ รยี นซ่งึ เปรยี บเสมอื นอาวุธลับของชาติใหเ้ ปน็ ไปตามทสี่ งั คมกาหนด
ภารกจิ ท่คี รูพึงกระทาหรอื จาเปน็ ตอ้ งกระทาในฐานะท่ีได้รับสมญานามเป็นผู้ใช้
อาวุธลบั ของชาติ เชน่
2.1 ปลูกฝังให้ศิษยจ์ งรกั ภกั ดีตอ่ ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์
2.2 ปลูกฝังใหศ้ ษิ ยย์ ึดม่นั ในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษตั ิยท์ รงเปน็ ประมขุ
2.3 ปลูกฝงั ให้ศิษย์มีความซ่ือสัตย์กตัญญูต่อผู้มีพระคุณ ชาติบ้านเมือง
และส่งิ แวดลอ้ มตามธรรมชาติ
2.4 ปลูกฝังให้ศิษย์เข้าใจสิทธิและหน้าท่ี และปฏิบัติตามสิทธิและ
หน้าทีข่ องตนอยา่ งเครง่ ครัด
2.5 ปลกู ฝงั ให้ศษิ ยเ์ คารพในสทิ ธิ และหนา้ ทีข่ องบคุ คลอนื่
2.6 ปลกู ฝังใหศ้ ษิ ย์บาเพญ็ ตนเปน็ พลเมืองดชี ่วยเหลือสงั คม
2.7 ปลูกฝังให้ศิษย์ เคารพในกฎ ระเบียบ กติกา ของสังคม และ
ปฏิบตั ิตามกฎระเบยี บของบา้ นเมืองอย่างเคร่งครัด
2.8 ปลูกฝังใหศ้ ิษย์มีนา้ ใจนักกฬี า ร้แู พร้ ู้ชนะ ร้อู ภัย
2.9 ปลูกฝังให้ศิษย์รู้จักและประโยชน์ส่วนน้อยของตน เพี่อประโยชน์
สว่ นใหญข่ องสังคม
ฯลฯ
3 ครูคือทหารเอกของชาติ หมายความว่า ครูเป็นบุคคลที่มีความเก่งกล้า มี
ความสามารถเปน็ ผู้นาของสังคม ของชาติบ้านเมอื งในทุกๆ ด้าน
ภารกิจท่ีครูพึงกระทาหรือจาเป็นต้องกระทาในฐานะท่ีได้รับสมญานามเป็น
ทหารเอกของชาติ เช่น
3.1 เป็นผู้นาในด้านระเบียบพิธีทางศาสนาของตน และวัฒนธรรมใน
ชุมชน ท้องถนิ่
3.2 เป็นผู้เผยแผห่ ลักธรรมคาสอนท่ีถูกต้องตามหลักคาสอนทางศาสนา
แกช่ ุมชน
3.3 เป็นผู้นาความเจริญงอกงามทางวฒั นธรรมทด่ี งี ามมาสู่ชุมชน
15
3.4 เป็นผู้นาทางความคิดแก่ชุมชน เพ่ือพัฒนาอาชีพ การอนามัย
และการดารงชวี ติ ประจาวัน
3.5 เป็นผู้ให้คาปรึกษาหารือแก่ชุมชนในการปกครองดูแลความสงบสุข
ของชุมชน
3.6 เปน็ ผนู้ าทางการเมอื ง การปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข
3.7 เปน็ ผู้เผยแพรข่ า่ วสารขอ้ มลู ต่างๆ ในชุมชน
3.8 เป็นผู้ประสานความเขา้ ใจอันดรี ะหวา่ งชมุ ชนและนักปกครอง
ฯลฯ
4 ครูคอื แม่พมิ พ์ของชาติ หมายความวา่ ครเู ปน็ ตน้ แบบ หรือเป็นแบบอย่าง
แก่เยาวชนและบคุ คลทัว่ ไปทั้งดา้ นความรู้ และพฤติกรรมตา่ งๆ
ภารกิจท่ีครูพึงกระทาหรือจาเป็นต้องกระทาในฐานะที่ได้รับสมญานามเป็น
แมพ่ มิ พ์ของชาติ เชน่
4.1 เป็นแบบอย่างแก่ศิษย์ และบุคคลท่ัวไป ในการปฏิบัติตาม
มารยาทไทยอยา่ งถูกตอ้ ง และสวยงาม เชน่ การไหว้พระ การไหวบ้ ุคคลต่างๆ การกราบพระ
การประเคนของพระ การรับของและการสง่ ของ เปน็ ต้น
4.2 เป็นแบบอย่างแก่ศิษย์ และบุคคลทั่วไป ในด้านการปฏิบัติตน
เหมาะสมกบั วัฒนธรรมไทย
4.3 เปน็ แบบอย่างแก่ศิษย์ และบุคคลท่ัวไป ในด้านการปฏิบัติถูกต้อง
เหมาะสมตามกฎระเบียบของสงั คม
4.4 เป็นแบบอย่างแก่ศิษย์ และบุคคลท่ัวไป ในการนาเอาหลักธรรม
คาสอนในศาสนาท่ีตนนับถือมาปฏิบตั ใิ นชวี ติ ประจาวนั
4.5 เป็นแบบอย่างแก่ศิษย์ และบุคคลท่ัวไป ในด้านความซื่อสัตย์
สจุ ริตต่องานวชิ าชพี และงานอื่นๆ
4.6 เป็นแบบอย่างแก่ศิษย์ และบุคคลทั่วไป ในด้านการประหยัด
อดออม
4.7 เป็นแบบอย่างแก่ศิษย์ และบุคคลทั่วไป ในด้านการพัฒนาตนเอง
ด้วยการหมั่นศึกษาหาความรู้เพ่ิม และสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการเพ่ือประโยชน์ต่อมวล
มนษุ ยชาติ
4.8 เป็นแบบอย่างแก่ศิษย์ และบุคคลทั่วไป ในด้านการแต่งกายได้
เหมาะสมกบั เพศ ผิวพรรณ และวยั
16
4.9 เป็นแบบอยา่ งแก่ศษิ ย์ และบคุ คลทว่ั ไป ในด้านสุขภาพอนามยั
4.10 เป็นแบบอย่างแก่ศิษย์ และบุคคลท่ัวไป ในด้านการบาเพ็ญตน
เปน็ พลเมืองดี
4.11 เป็นแบบอยา่ งแก่ศษิ ย์ และบุคคลทั่วไป ในด้านการใช้ภาษาไทย
ไดถ้ กู ต้องเหมาะสมชัดเจน
4.12 เป็นแบบอย่างแก่ศิษย์ และบุคคลท่ัวไป ในด้านความจงรักภักดี
ต่อชาติ ศาสนา และพระมหากษัตรยิ ์
4.13 เป็นแบบอย่างแกศ่ ิษย์ และบุคคลทว่ั ไป ในด้านการยึดมั่นต่อการ
ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข
4.14 เปน็ แบบอย่างแก่ศิษย์ และบุคคลท่ัวไป ในด้านการเป็นบุคคลท่ี
มีชีวติ ในครอบครัวอยา่ งผาสุก
ฯลฯ
5 ครูคือกระจกเงาของศิษย์ หมายความว่าครูเป็นผู้คอยช้ีแนะ แนะนา
ตกั เตอื นศิษยใ์ หต้ ้งั อยู่ในความดี ไม่กระทาสงิ่ ท่จี ะนาความเดอื ดรอ้ นมาส่ตู นเองและ/หรือผอู้ ื่น
ภารกิจท่ีครูพึงกระทาหรือจาเป็นต้องกระทาในฐานะที่ได้รับสมญานามเป็น
กระจกเงาของศิษย์ เชน่
5.1 อบรมตักเตือนศิษย์ ท่ีแต่งกายไม่ถูกต้องตามระเบียบแบบแผน
ของสถานศกึ ษา หรอื แต่งกายไม่เหมาะสมกับวัยและวฒั นธรรมอันดงี ามของชาติ
5.2 อบรมตักเตือนศิษย์ ที่ประพฤติปฏิบัติตนไม่เหมาะสมต่างๆ เช่น
มพี ฤตกิ รรมทางช้สู าว เทีย่ วกลางคืน ดืม่ เครื่องดม่ื ที่มแี อลกอฮอล์ เลน่ การพนนั เปน็ ตน้
5.3 อบรมตกั เตอื นศษิ ย์ มิใหค้ บเพื่อนซง่ึ มีพฤติกรรมทางเสือ่ มเสยี
5.4 อบรมตักเตือนศิษย์ ท่ีมีพฤติกรรมก้าวร้าวต่อเพ่ือน ต่อครู -
อาจารย์ หรอื บพุ การี
5.5 อบรมตักเตอื นศษิ ย์ ทม่ี นี สิ ัยลักขโมยใหเ้ ลิกพฤติกรรมน้ันเสยี
5.6 อบรมตักเตอื นศิษย์ ท่มี นี ิสยั ไม่ตรงเวลาใหต้ รงตอ่ เวลา
5.7 อบรมตักเตือนศิษย์ ท่ีมีนิสัยเกียจคร้านในการทางานให้มีความ
มานะอดทน ขยันหมนั่ เพียร
5.8 อบรมตักเตือนศิษย์ มิให้เลียนแบบแผนพฤติกรรมท่ีไม่ดีงามจาก
ดารา หรือจากบุคคลสาคญั ทางสงั คมหรือนกั การเมอื ง
5.9 อบรมตักเตือนศิษย์ มิให้ปฏิบัติตามค่านิยมท่ีไม่ดีงามบางอย่าง
เช่น การสูบบหุ ร่ี ดื่มเหล้า เจา้ ชู้ หรือทาตนเปน็ นักเลงอันธพาล เปน็ ต้น
17
ฯลฯ
6 ครูคือดวงประทีปส่องทาง หมายความว่า ครูเป็นผู้ให้ความรู้ ให้ปัญญา
แก่เยาวชน เพื่อให้มีความรู้ความสามารถ รู้ผิดรู้ถูก รู้ดีรู้ช่ัว รู้ประโยชน์มิใช่ประโยชน์ รู้คุณ
รู้โทษ คนท่ีมีปัญญาย่อมมองเห็นทุกส่ิงทุกอย่างเหมือนมีดวงประทีปช่วยส่องทางให้กับตน
ตลอดเวลา
ภารกิจท่ีครูพึงกระทาหรือจาเป็นต้องกระทาในฐานะที่ได้รับสมญานามเป็น
ดวงประทีปส่องทาง เชน่
6.1 ให้ความรู้อย่างถูกต้องตามหลักวิชา เช่น อ่านเขียนพูดถูกต้อง
ตามพจนานกุ รมฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน
6.2 สอนให้ศิษย์รู้จักคิดพิจารณาสิ่งต่างๆ โดยใคร่ครวญให้รอบคอบ
อย่ารีบด่วนสรุปหรือเชื่อตามท่ีได้ยินได้ฟงั มา
6.3 สอนให้ศษิ ย์ละเว้นการกระทาที่เป็นความชั่วทั้งปวง คือ ทางกาย
ทางวาจา หรอื ทางใจ
6.4 แนะนาศิษย์ให้ประพฤติปฏิบัติแต่สิ่งที่ดีงามท้ังทางกาย วาจา
และใจ
6.5 แนะนาให้ศิษย์สารวจตนเองว่ามีความถนัดในงานด้านใด หรือรัก
ทจี่ ะศกึ ษาเลา่ เรียนวิชาใด
6.6 แนะแนวการศึกษา และอาชีพ ทั้งท่ีตรงกับความถนัดของศิษย์
และความตอ้ งการของสงั คม
6.7 ให้ความรู้ท่ีทันสมัยแก่ศิษย์เพื่อให้ศิษย์เป็นบุคคลทันโลกทัน
เหตกุ ารณ์
6.8 แนะนาส่งิ วิทยาการตา่ งๆ ใหแ้ ก่ศษิ ย์
6.9 แนะนาส่งิ ที่เปน็ บญุ เปน็ กุศลต่างๆ ใหแ้ ก่ศิษย์
ฯลฯ
7 ครูคือผู้สร้างโลก หมายความว่า ครูเป็นผู้พัฒนาคนให้มีความรู้
ความสามารถเพ่อื ให้เขาเหลา่ นัน้ ไปพัฒนาสังคมประเทศชาติ และในที่สุดพัฒนาโลกที่เขาอาศัย
อยู่
ภารกิจที่ครูพึงกระทาหรือจาเป็นต้องกระทาในฐานะที่ได้รับสมญานามเป็น
ผสู้ รา้ งโลก เช่น
7.1 สอนให้ศิษย์เป็นนักคิด นักพูด นักปฏิบัติ ในสิ่งท่ีเป็นประโยชน์
และเกิดประโยชนแ์ กผ่ อู้ ่ืน
18
7.2 สอนให้ศิษย์ฝึกจิตใจให้เข้มแข็งอดทน มุ่งศึกษาหาความรู้พัฒนา
ตนเอง ใหเ้ ปน็ บุคคลทีม่ ีคุณค่าตอ่ สงั คม
7.3 สอนให้ศิษย์ขยันหมั่นเพียรในการทางาน เพ่ือสร้างฐานะของ
ตนเองให้มนั่ คง
7.4 สอนให้ศษิ ยส์ รา้ งครอบครัวให้มนั่ คง และอบอนุ่
7.5 สอนให้ศิษย์ใช้ความรู้ความสามารถให้เป็นประโยชน์ตน และ
ประโยชน์ตอ่ ผ้อู ่ืนอยา่ งเตม็ ความสามารถ
7.6 สอนให้ศิษยม์ คี วามสมัครสมานสามัคคีกลมเกลียวต่อหมู่คณะ ร่วม
คิดร่วมทา เพือ่ สรา้ งสรรค์สังคมให้เจริญก้าวหนา้ และม่ันคง
7.7 สอนให้ศิษย์พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง เพ่ือใช้ศักยภาพท่ีมีอย่าง
เตม็ ความสามารถ
ฯลฯ
8 ครูคือผู้กุมความเป็นความตายของชาติไว้ในมือ หมายความว่า ชาติจะ
เจรญิ กา้ วหน้า ล้าหลังหรอื ลม่ สลายกเ็ พราะครู
ภารกิจที่ครูพึงกระทาหรือจาเป็นต้องกระทาในฐานะที่ได้รับสมญานามเป็น
ผู้กมุ ความเปน็ ความตายของชาตไิ วใ้ นมือ เช่น
8.1 ไม่สอนวชิ าใดๆ ที่ไมถ่ ูกต้องตามหลักวิชาให้แก่ศิษย์
8.2 ไม่แนะนาสง่ิ ท่ผี ดิ จากทานองคลองธรรมแกศ่ ษิ ย์
8.3 ไมย่ ยุ งสง่ เสรมิ ใหศ้ ิษยส์ รา้ งความแตกร้าวในสงั คม
8.4 ไม่แสดงความคิดเห็นที่เป็นมิจฉาทิฏฐิให้ศิษย์ และบุคคลทั่วไป
รับฟังท้งั เปน็ การสว่ นตวั และในทส่ี าธารณะ
8.5 ไม่สอนศิษยเ์ พียงเพือ่ ใหพ้ ้นภาระหน้าที่ประจาวัน
8.6 ไมเ่ ป็นผกู้ อ่ ความแตกรา้ วทางความคิดใหแ้ ก่คนในชาติ
8.7 ไมอ่ าศยั ชอ่ื เสียงหรอื บารมีของตนเพ่ือสร้างความสบั สนใหก้ บั สังคม
ฯลฯ
9 ครูคือปูชนียบุคคล หมายความว่า ครูเป็นบุคคลที่ควรเคาพบูชาของศิษย์
และบคุ คลท่วั ไปในสงั คม
ภารกิจท่ีครูพึงกระทาหรือจาเป็นต้องกระทาในฐานะที่ได้รับสมญานามเป็น
ปชู นยี บคุ คล เชน่
19
9.1 ลดละเลิกพฤติกรรม ท่ีเป็นความช่ัวทางกายทั้งปวง เช่น 1) ไม่
เบียดเบยี นชีวิตผู้อ่ืน 2) ไม่ลกั ขโมยของผู้อื่น 3) ไม่ประพฤตผิ ดิ ประเวณี 4) ไม่เสพสิ่งเสพติดมึน
เมาตา่ งๆ และ 5) ไมค่ ้าขายสง่ิ ท่ีผิดกฎหมายเปน็ ต้น
9.2 ฝึกฝนตนเองให้เป็นบุคคลที่มีวจีสุจริต และวาจาสุภาษิต เช่น 1)
ไม่พดู เท็จ 2) ไมพ่ ูดสอ่ เสียด 3) ไม่พดู คาหยาบ และ 4) ไม่พดู เพ้อเจ้อเหลวไหล เปน็ ต้น
9.3 ฝึกใจตนเองใหส้ ามารถลดละเลิกส่งิ ท่เี ป็นความชั่วทางใจท้ังปวง ให้
เป็นบคุ คลท่ีมีมโนสจุ ริต คอื ไม่โลภ ไม่โกรธ และไม่หลงงมงาย
9.4 พฒั นาตนเองอย่างตอ่ เนอ่ื งท้ังทางกาย (ภาวิตกาโย) ศีล (ภาวิตศิโล)
จิต (ภาวิตจิตโต) และปัญญา (ภาวิตปัญโญ) ทาให้ศิษย์และบุคคลท่ัวไปพบเห็นแล้วเกิดความ
เจริญใจ (ภาวนีโย)
9.5 พยายามส่ังสมวิชาความรู้ท้ังทางโลกและทางธรรมให้มากท่ีสุดให้
เหมอื นเปน็ บคุ คลที่เป็น “คลังแห่งความรู้”
ฯลฯ
10 ครูคือวิศวกรสังคม หมายความว่า ครูเป็นนักสร้าง นักออกแบบ นัก
แก้ไข นกั ปรับปรุง นักเปล่ียนแปลง และนกั พัฒนาคนใหเ้ ป็นไปตามทศิ ทางทีส่ ังคมตอ้ งการ
การที่ครูได้รับการยกย่องให้เป็นวิศวกรสังคมก็เพราะครูมีบทบาทต่อสังคม
เช่นเดียวกับงานท่ีวิศวกรในฐานะที่เป็นนักวิทยาศาสตร์ประยุกต์ได้กระทา กล่าวคือครูเป็นนัก
สร้าง นกั ออกแบบ นักแก้ไข นกั ปรับปรงุ และนักพัฒนาคน
สรุปได้ว่า ผู้ที่เป็นครูน้ันมีความสาคัญมาก เพราะครูเป็นผู้ปลูกฝังความรู้ความคิด
และจิตใจและพัฒนาผู้เรียนให้มีความเจริญในทุกๆ ด้าน ย่ิงเทคโนโลยีสมัยใหม่มีความ
เจรญิ ก้าวหน้ามากเพียงใด ก็ยอ่ มตอ้ งการครูท่ีมีความรู้และความสามารถมากข้ึนเพียงนั้น ท้ังน้ี
เพือ่ ใหค้ รูเปน็ บคุ คลท่รี ู้เท่าทันคน และเทา่ ทนั โลกด้านต่างๆ สามารถนาความรู้ความสามารถใน
ตนมาพัฒนาผ้เู รยี นใหเ้ กดิ ความเจริญงอกงามเพ่ือเป็นกาลังสาคัญของชาติบ้านเมืองต่อไป และ
ครมู คี วามสาคญั ต่อสังคมมาก ดังน้ันสังคมจึงยกย่องครูโดยให้สมญานามต่างๆ เช่น ครูคือนัก
ปฏิวัติในสนามรบทางการศึกษา ครูคือผู้ใช้อาวุธลับของชาติ ครูคือแม่พิมพ์ของชาติ ครูคือ
กระจกเงาของศษิ ย์ ครคู อื ดวงประทปี สอ่ งทาง ครคู อื ผู้สร้างโลก ครูคอื ผู้กุมความเป็นความตาย
ของชาติไว้ในมือ ครคู อื ปชู นยี บุคคล และครูคือวศิ วกรสงั คม เป็นต้น
นอกจากนี้ครูยังมีความสาคัญต่อการพัฒนาในด้านอ่ืนๆ อีกมากมาย เช่น พัฒนา
สังคม พัฒนาการเมืองการปกครอง พฒั นาเศรษฐกิจ และส่งเสรมิ ความมน่ั คงทางศาสนา และ
วฒั นธรรม เป็นตน้
20
2.1.4 ครูกับการสอน
การสอนเป็นหน้าที่หลักของครู ไม่ว่าจะเป็นครูที่สอนในระดับการศึกษาใด หรือ
ประเภทวิชาใด ไม่ว่าสังคมจะเปลี่ยนไปเน่ืองจากมีเคร่ืองมือข่าวสารข้อมูล ส่ิงอานวยความ
สะดวก และส่ือการสอนเข้ามามีบทบาทเพ่ือช่วยการสอนของครู แต่ความสาคัญและความ
จาเป็นของครกู ย็ ังมอี ยู่
ความสาคญั ของครู อยู่ท่กี ารทาหนา้ ทใี่ นดา้ นการให้ความรู้แกผ่ ู้เรียน และมีบทบาท
อนื่ โดยประพฤตปิ ฏิบัตเิ ป็นตวั อยา่ งทีด่ แี ก่ผ้เู รียน มคี ุณธรรม จริยธรรม มีมานะบากบั่น มัธยัสถ์
อดออม ไมเ่ หน็ แกค่ วามเจรญิ กา้ วหนา้ ทางวตั ถมุ ากเกินไป
การเปน็ ครทู ่ีดีหรือครูตามอุดมการณ์ จะต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ดี มีคุณธรรม และมี
ความสามารถในการปฏิบัติได้ ความรู้ทางวิชาการของครูต้องเป็นความรู้ท่ีรู้จริงทันกับ
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี โดยท่ีครูจะต้องศึกษา และทาความเข้าใจในวิชาการให้ถ่องแท้
ก่อนลงมือสอน หรือลงมือปฏิบัติ การตรียมการสอนจึงเป็นส่ิงจาเป็นสาหรับครู รวมท้ังการ
เข้าใจปัจจัยในการเรียนของผู้เรียนเพ่ือจะได้เกิดความสัมพันธ์ท่ีดีระหว่างครูและผู้เรียน (คณะ
วิศวกรรมศาสตร์รูปแบบการพัฒนาครูช่างอุตสาหกรรมของประเทศไทยกรุงเทพฯ : วิทยาลัย
เทคโนโลยแี ละอาชีวศกึ ษา, 2531 อา้ งถงึ ใน ปรียาพร วงศ์อนตุ รโรจน,์ 2553)
การสอนมคี าทใ่ี ชอ้ ยู่ 2 คา ได้แก่ (ปรยี าพร วงศ์อนตุ รโรจน์, 2553)
1 การสอน (Teaching) มคี วามหมายถงึ การถา่ ยทอดความรูจ้ ากครไู ปสู่ผู้เรยี น
2 การเรียนการสอน (Instruction) มีความหมายกว้างกว่าการสอน หมายถึง
การจัดกิจกรรมที่เก่ียวข้องกับการสอนด้วย เช่น การใช้ส่ือการสอน การจัดกิจกรรมระหว่าง
สอน การทดสอบ เปน็ ตน้
การเรียนการสอนจึงเป็นคาท่ีครอบคลุมกิจกรรมในการเรียนรู้ และมักจะใช้ควบคู่
กันไปเม่อื ครูต้องการใหผ้ ู้เรยี นเกิดการเรียนรู้
อยา่ งไรกต็ ามการสอนในสถานศึกษามิได้หมายถึงการสอนในด้านทฤษฎีเน้ือหาวิชา
เท่าน้ัน แต่รวมถึงทักษะ คุณภาพท่ีต้องการ รวมท้ังความสามารถในการจัดการ ครูจึง
จาเป็นต้องใหค้ วามช่วยเหลือแนะแนวแกผ่ เู้ รยี นในด้านต่างๆ รวมท้ังการให้กาลังใจ ให้ความรัก
และความเอาใจใสด่ ว้ ย
2.1.4.1 องคป์ ระกอบของการสอน
การสอนประกอบด้วยเนื้อหาวิชา ทักษะกระบวนการ และการประเมินผล
ซ่ึงมีองค์ประกอบย่อยได้เเก่ การเตรียมการสอน วัตถุประสงค์ของวิชา เอกสารประกอบ
การสอน ความสามารถในการสอน การจัดกิจกรรมการสอน การใช้สื่อการสอน และการ
21
ประเมนิ ผลการสอน การสอนจะดาเนินไปด้วยดี โดยคานึงถึงการจัดการเรียนการสอนอย่างมี
ระบบ ดงั นี้
1) ตัวปูอน (Input) คือ ผู้เรียน ผู้สอน เน้ือหาวิชา สื่อการสอน
สิ่งอานวยความสะดวก เป็นต้น
2) กระบวนการ (Process) หมายถึง กระบวนการจัดการสอน
เป็นการวางแผนและการเตรยี มการสอน การจดั กจิ กรรมการสอน และการประเมินผลการสอน
3) ผลผลิต (Product) เป็นผลสมบูรณ์ของผู้เรียนจากการวัดผล
และประเมินผล การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปทางที่ปรารถนาของผู้เรียน เป็นไปตามความ
คาดหวงั ของหลกั สตู ร เป็นตน้
2.1.4.2 จุดมงุ่ หมายของการสอน
การสอนเป็นการให้บุคคลได้รับความรู้ได้ใช้ประโยชน์จากโอกาสที่ได้มี
ความสัมพันธ์กันระหว่างผู้สอนและผู้เรียน คือ ครูและผู้เรียน จุดมุ่งหมายของการสอนมี 7
ประการ คือ
1) เพอ่ื เป็นแหลง่ ของขอ้ มูลใหก้ บั ผเู้ รยี น
2) ชี้ให้เห็นถึงประสบการณ์ที่ได้รับ เพ่ือให้ผู้ที่เข้ารับการศึกษาได้
มีโอกาสรับประสบการณน์ นั้
3) เพ่ือให้บุคคลท่ีอยู่ในวัยเดียวกัน หรือต่างวัยกัน ได้มีโอกาสที่
จะแลกเปลย่ี นประสบการณ์ และความรู้
4) เพ่ือให้บุคคลท่ีอยู่ในวัยเดียวกัน หรือต่างวัยกัน ได้มีโอกาสท่ี
จะเรียนร่วมกนั
5) เพอ่ื ใหบ้ ุคคลแตล่ ะคน หรอื กลมุ่ ไดใ้ ชเ้ วลา วัสดุอุปกรณ์ อย่าง
มปี ระสทิ ธิภาพ
6) เพื่อช่วยให้บุคคลแต่ละคน หรือแต่ละกลุ่ม ได้ตีความหมาย
และประเมนิ ผลรว่ มกัน
7) เพ่ือช่วยให้บุคคลแต่ละคน หรือแต่ละกลุ่ม ได้เข้าใจถึงคุณค่า
ทกั ษะจากประสบการณ์ที่ไดร้ ับ
2.1.4.3 ขนั้ ตอนของการสอน
การจดั การสอนแบง่ เป็น 3 ขั้นตอน คือ
1) ข้ันเตรียมการสอน การเตรียมการสอนเป็นการวางแผนการ
สอนกอ่ นการเขา้ สอน สง่ิ ที่ควรพิจารณามดี งั นี้
22
(1.1) การเตรียมการสอน ต้องเข้าใจจุดมุ่งหมายในรายวิชา
เพอื่ ครูจะไดท้ ราบว่ากาลงั จะสอนอะไร รวมท้งั เปน็ แนวทางในการเลอื ก และกาหนดเนื้อหาวิชา
และการจัดกิจกรรมเนือ้ หาให้ตอ่ เนือ่ งกันได้
(1.2) ควรพิจารณาพื้นฐานของผู้เรียนว่ามีพ้ืนความรู้เดิม
เป็นอย่างไร อาจใช้วิธีการสอบถามหรือทดสอบก่อนการสอน เพื่อจะได้เตรียมเน้ือหาให้
เหมาะสมกบั ผู้เรียน
(1.3) การกาหนดเน้ือหา ซึ่งเป็นการเตรียมเนื้อหา ให้ตรง
กับจุดมุ่งหมาย มีความกว้างขวาง สมบูรณถ์ ูกตอ้ งเหมาะสมกบั ลักษณะงาน
(1.4) การกาหนดเวลาให้เหมาะสมกับเน้ือหา และกิจกรรม
การสอน ซ่ึงการปฏิบัติจะใช้เวลาในการฝึกอย่างไร ใช้ระยะเวลาส้ันหรือยาวจะต่อเน่ืองกัน
อยา่ งไร
(1.5) การกาหนดวัสดุฝึก และอุปกรณ์การสอน โดยการ
เลอื กใหเ้ หมาะสมกบั เน้ือหาวิชา และการฝกึ ในวิชาน้ัน
2) ข้ันการดาเนินการ เป็นการดาเนินการระหว่างการจัดการ
สอน เปน็ กระบวนการตอ่ เนือ่ งกนั ขอ้ ควรพจิ ารณา มีดงั น้ี
(2.1) ช่ัวโมงแรกเป็นช่ัวโมงสาคัญ เพราะถ้าเริ่มต้นด้วยดีก็
จะเป็นโอกาสดีในชั่วโมงถัดไป ช่ัวโมงแรกเป็นการแนะนาตัวเอง ทาความรู้จักกับผู้เรียน
แนะนารายวิชา แจ้งรายละเอียดของรายวิชา พร้อมทั้งการอธิบายถึงวิชาที่เรียน วิธีการเรียน
การจัดกิจกรรม การวัดผล โดยเปิดโอกาสใหผ้ เู้ รียนมสี ่วนในการให้ข้อคดิ และเสนอแนะ
(2.2) ชั่วโมงต่อๆ ไป การเร่ิมสอนในแต่ละช่ัวโมงควร
ทบทวนการสอนท่ีผ่านมา เพื่อจะได้เป็นการฟื้นความจา และความต่อเนื่องของบทเรียนอย่าง
เหมาะสม เปดิ โอกาสให้ซักถามระหวา่ งชั่วโมง รวมท้ังการสรุปบทเรียน และการทดสอบความ
เขา้ ใจในส่ิงทเี่ รียน
3) ขั้นการประเมินผล เป็นขั้นสุดท้ายของการจัดการสอน ว่า
ได้ผลตามจุดมงุ่ หมายหรอื ไม่ ครูจะประเมินผลการเรียนการสอนที่เสร็จสิ้นลงไปแล้ว ว่าเป็นไป
ตามจดุ มุ่งหมายที่ต้ังไว้หรือไม่ โดยกาหนดการผ่านเกณฑ์หรือมาตรฐานทีก่ าหนดไว้
2.1.4.4 การวางแผนการสอน
การวางแผนการสอนสามารถใช้วิธีการแก้ปัญหาแบบวิทยาศาสตร์มา
ประยกุ ต์ใชใ้ นการวางแผนการสอน ดังน้ี
1) กาหนดวัตถุประสงค์ของการสอนให้มีความชัดเจน สามารถ
ปฏิบตั ิได้ และวดั ผลได้
23
2) กาหนดเนือ้ หาและประสบการณ์ และจัดลาดับประสบการณ์
ที่จะสอน
3) เลอื กวธิ ีสอนและสอ่ื การสอนทีเ่ หมาะสม
4) ดาเนินการสอนดว้ ยกจิ กรรมการสอน
5) วัดผลประเมินผล เพ่ือจะได้นาไปพิจารณาปรับปรุงการสอน
ใหไ้ ด้ผลดียง่ิ ข้นึ
2.1.4.5 วิธีสอน
วธิ ีสอนมีหลายวธิ ี แต่ละวธิ จี ะมีลักษณะแตกต่างกันไปตามบทบาทกิจกรรม
และลกั ษณะของกลุม่ ผู้เรยี น มที ัง้ ข้อดแี ละข้อจากัด วิธีสอนที่จะกล่าวนี้จะจาแนกตามวิธีสอนที่
นิยมใชใ้ นด้านอาชวี ศึกษาเป็น 6 วธิ คี อื (ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์, 2553)
1) การสอนแบบบรรยาย เป็นการสอนท่ีครูผู้สอนมีบทบาทมาก
ที่สุด โดยครูผู้สอนเป็นผู้บอกอธิบายเล่าถึงเนื้อหาวิชาต่างๆ ให้ผู้เรียนฟัง ผู้เรียนจะฟัง จด
บนั ทึกท่ไี ดฟ้ งั จากการบรรยาย การสอนทางด้านทฤษฎีที่มุ่งเน้นเน้ือหาวิชา โดยทั่วไปจะใช้การ
สอนแบบบรรยาย การสอนแบบน้ียังเป็นวิธีการสอนหลักในปัจจุบัน ซ่ึงจากงานวิจัยพบว่าการ
สอนแบบบรรยายเปน็ การสอนหลักประมาณร้อยละ 95 ของการสอนทฤษฎี
2) การสอนทักษะปฏิบัติ การสอนทักษะปฏิบัติเป็นการเน้นการ
สอนที่ให้มีการฝึกฝนและปฏิบัติจริงอาจเป็นการปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ โรงประลอง หรือโรง
ฝกึ งานกไ็ ด้ การสอนทางด้านวิชาชีพ เช่น การสอนท่ีเริ่มจากการเรียนรู้ของจริง เม่ือต้องการ
เรยี นวชิ าชีพในโรงเรียน จงึ จาเป็นตอ้ งหันมาใช้โรงประลอง และหอ้ งปฏิบัติการแทน
3) การสอนแบบอภิปราย การสอนแบบน้ีจะเน้นบทบาทที่
ผู้เรียนให้มโี อกาสได้แสดงความคดิ การสอนแบบอภปิ รายนิยมสอนเป็นกลุ่มย่อย เพ่ือจะได้เปิด
โอกาสให้ผู้เรียนได้พูดจา และมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นได้ทั่วถึง การแสดงความ
คิดเห็นนี้ไม่ใช่การตอบคาถาม จึงไม่จาเป็นต้องผิดหรือถูก จึงมักจะเป็นข้อสรุปที่เป็นการ
วางแผนแนวทางตอ่ ไป เปน็ การแสดงถงึ กระบวนการคดิ การใหเ้ หตุผล ประโยชน์ของการสอน
แบบอภิปราย จึงมเี นอื้ หาและกระบวนการควบค่กู ันไป
4) การสอนแบบสัมมนา เป็นการสอนที่ผู้เรียนต้องศึกษา
ค้นคว้าให้ลึกซึ้ง แล้วนาเสนอเพ่ืออภิปรายโดยมุ่งท่ีผู้เรียนได้เรียนรู้เน้ือหาวิชาจากการศึกษา
ค้นคว้าด้วยตนเอง อาจทั้งจากเอกสาร งานวิจัย การทดลอง แล้วนามาอภิปรายเพ่ือให้เกิด
ความคิด และพัฒนาทักษะไปพร้อมๆ กัน ผู้เรียนมีโอกาสที่จะได้แสดงออกของความคิดอย่าง
อิสระ มีสทิ ธิในการแสดงออกเท่าเทียมกันท้ังครูและผู้เรียน ในขอบเขตของเนื้อหาวิชาที่เตรียม
ไวล้ ว่ งหน้า
24
5) การสอนแบบให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง เป็นการสอน
รายบุคคล โดยการเน้นกิจกรรมและดาเนินงานที่ผู้สอนได้เตรียมไว้สาหรับผู้เรียน เป็นอิสระ
ทางด้านการเรียนของผู้เรียน เพราะผู้เรียนอาจเป็นผู้กาหนดการศึกษาด้วยตนเอง ภายใต้การ
แนะนาของอาจารยท์ ีป่ รึกษาได้
6) การสอนโดยใช้สื่อการสอน หมายถึงการใช้อุปกรณ์การสอน
ต่างๆ เช่น ภาพ สไลด์ วิดีทัศน์ ภาพยนตร์ เป็นตน้ อปุ กรณก์ ารสอนแต่ละชนิดจะมีลักษณะ
ของการใชแ้ ตกตา่ งกันไป มที งั้ ขอ้ ดีและข้อจากดั ของแต่ละชนิด
สรุปได้วา่ การสอนเป็นภาระและหน้าท่หี ลกั ของครูไม่ว่าจะเป็นการสอนใน
ระดบั ใด นอกจากนี้ครูเองยังเป็นปูชนียบุคคล ที่มีจรรยามารยาท และวินัยกากับอยู่ด้วย ใน
ด้านการสอนน้ันเป็นปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับผู้เรียน จึงมักเรียกรวมกันว่าการเรียน รู้
จุดมุ่งหมายของการสอนนอกจากเป็นการให้วิชาความรู้และยังเป็นการฝึกประสบการณ์ให้กับ
ผู้เรียนด้วย เป็นการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ความรู้ ข้ันตอนในการสอนมี 3 ข้ันตอน คือ
ข้ันเตรียมการสอน ระหว่างสอน และประเมินผลทฤษฎีการสอน จะช่วยให้ครูมีความเข้าใจ
เกี่ยวกับการสอนได้ดีข้ึน การวางแผนการเรียนรู้เป็นการเตรียมการล่วงหน้าเพื่อให้ครูได้
กาหนดการสอนได้อยา่ งเหมาะสม วิธสี อนมีหลายวธิ แี ตล่ ะวิธจี ะมีขอ้ ดแี ละขอ้ จากัด การเลือกวิธี
สอนครูควรใช้หลายๆ วิธีผสมผสานกันโดยมีหลักในการเลือกโดยคานึงถึงวัตถุประสงค์ของวิชา
เนอ้ื หาวชิ าความถนัดของครู ความเหมาะสมกับผู้เรียน ตลอดจนเวลา จานวนผู้เรียน และสื่อ
การสอน
2.1.5 เจตคติของครทู ี่มตี อ่ ผเู้ รียน
เจตคติ คือ จิตลักษณะหนึ่งของบุคคลท่ีเป็นความโน้มเอียง หรือความรู้สึกท่ีจะ
ตอบสนองไปในทางที่ชอบหรือไม่ชอบต่อส่ิงใดสิ่งหน่ึงโดยเฉพาะ หรืออาจกล่าวได้ว่าเป็น
ความคิดเหน็ ของบคุ คลที่มตี ่อสิ่งตา่ งๆ โดยมอี ารมณ์เปน็ สว่ นประกอบ ทงั้ ความพร้อมท่ีจะแสดง
พฤติกรรมเฉพาะอยา่ งต่อบุคคล สิ่งของหรือสภาพการณ์ที่เก่ียวข้อง เจตคติของบุคคลต่อสิ่งใด
สิง่ หน่ึงประกอบดว้ ยองค์ประกอบ 3 องค์ประกอบ คือ (ประภาเพ็ญ สุวรรณ, 2526 อ้างถึงใน
บุดดี วุฒเิ สลา, 2549)
1 ความรู้เชิงประมาณค่า หมายถึง การท่ีบุคคลรับรู้เก่ียวกับวัตถุ สิ่งของ
หรือเหตุการณ์ต่างๆ รวมทั้งความเช่ือของบุคคลต่อสิ่งเหล่าน้ันว่าดีหรือเลว มีประโยชน์หรือมี
โทษมากน้อยเพียงใด
2 ความรู้สึกทางอารมณ์ หมายถึง ความรู้สึกของบุคคลในลักษณะชอบ ไม่
ชอบ พอใจหรอื ไมพ่ อใจต่อสิ่งนนั้
25
3 การม่งุ กระทาหรอื ความพร้อมกระทา หมายถึง ความโน้มเอียงหรือความ
พร้อมทบี่ ุคคลจะแสดงพฤตกิ รรมใหส้ อดคลอ้ งกับความรู้สกึ ของตนเอง
นงลักษณ์ สุกนวล (2543 อ้างถึงใน บุดดี วุฒิเสลา, 2549) ให้ความหมายของ
เจตคติของครูต่อผู้เรียนว่าเป็นความรู้สึก ท่าที ความคิดเห็น ความนิยมชมชอบของครูที่มีต่อ
ผู้เรียน เมื่อครูได้พบเห็นผู้เรียนทั้งขณะท่ีอยู่ในโรงเรียน ห้องเรียน และภายนอกโรงเรียน
ความรสู้ ึกท่ีมตี ่อผู้เรียนสามารถแสดงออกมาได้ 2 ลักษณะ คือ
1 ลกั ษณะทางบวก เป็นลักษณะที่แสดงความพอใจ เห็นด้วย นิยมชมชอบ
ส่งเสริมและสนบั สนนุ พฤตกิ รรมท่ีผ้เู รยี นแสดงออก
2 ลกั ษณะทางลบ เป็นลักษณะท่ีแสดงออกถึงความเบื่อหน่าย ไม่พอใจ ไม่
สนใจ ไมเ่ หน็ ดว้ ย ไม่ส่งเสริมและไมส่ นับสนนุ ตอ่ การแสดงออกของพฤติกรรมต่างๆ ของผู้เรียน
ท่คี รูไดพ้ บเหน็
ทัศนะเกี่ยวกับครูท่ีมีเจตคติที่ดีต่อผู้เรียน จากการศึกษาของ นงลักษณ์ สุกนวล
(2543 อ้างถงึ ใน บุดดี วฒุ ิเสลา, 2549) ประกอบด้วยคณุ ลกั ษณะ ดงั นี้
1 รักและมีความปรารถนาดีต่อผู้เรียนอย่างแท้จรงิ
2 พรอ้ มทจ่ี ะให้ความช่วยเหลอื ผเู้ รยี นทกุ คน
3 มุ่งส่งเสริมพัฒนาการของผู้เรียน สนใจพฤติกรรมของผู้เรียนในเวลาเรียน
และนอกหอ้ งเรยี น
4 ส่งเสริมความรว่ มมือ ประสานงาน ความสามัคคีในการทากิจกรรมรว่ มกัน
5 มจี ดุ มุ่งหมายทีจ่ ะทาให้ผเู้ รียนมีระเบยี บวนิ ัยเป็นพลเมอื งดี
สรุปได้ว่า เจตคตขิ องครูต่อผเู้ รยี นเป็นตัวแปรหนง่ึ ในองค์ประกอบการจัดการเรียนรู้
ท่ีส่งผลต่อประสิทธิภาพการสอน ครูที่มีเจตคติที่ดีต่อผู้เรียนจะมีความเป็นมิตรต่อผู้เรียน มี
ความปรารถนาดี ให้ความช่วยเหลือ มุ่งที่จะส่งเสริมพัฒนาการของผู้เรียนให้มีคุณลักษณะ
อนั พงึ ประสงค์ของสงั คม
2.1.6 เจตคตทิ ่ีมตี ่ออาชพี ครู
บดุ ดี วุฒเิ สลา, 2549 กล่าวว่า การมเี จตคติที่ดีต่ออาชีพครู แม้จะไม่มีผลโดยตรง
ตอ่ การเกดิ การเรียนร้ขู องผู้เรียนท่ีมองเห็นได้อย่างชัดแจ้ง แต่เป็นส่วนสาคัญที่มีอิทธิพลต่อการ
ปฏิบัติงานของครู และการปฏิบัติงานอาชีพของครู ซ่ึงผลกระทบสาคัญไปถึงการจัดและ
ดาเนินการเรียนการสอนของครูเพื่อให้ผู้เรียนมีประสบการณ์ หรือเกิดการเรียนรู้ตาม
วัตถุประสงค์ของหลักสูตรหรือวัตถุประสงค์ของการสอนที่ครูวางไว้ กล่าวคือ คุณลักษณะท่ีดี
ของครู และเจตคติท่ีดีของครูต่อวิชาชีพจะช่วยให้ครูสอนผู้เรียนด้วยความตั้งใจ มีการเตรียม
การสอนล่วงหน้า อดทนต่อความไม่รู้หรือความวุ่นวายที่ผู้เรียนก่อขึ้นตามประสาผู้เรียน ดูแล
26
เอาใจใส่ตอ่ ผ้เู รยี น รกั และหวังดีต่อผเู้ รยี น มุ่งม่ันทางานด้านการสอน และอบรมผู้เรียนเพ่ือให้
ผู้เรียนมีพัฒนาการท้ัง 4 ด้าน เจริญงอกงามเต็มตามศักยภาพมากกว่าเพ่ือหวังค่าตอบแทนใน
การทางานเพียงอย่างเดียว และลักษณะดังกล่าวของครูน้ีเองจะสร้างความอบอุ่นใจ ความ
เชื่อมน่ั ในตนเอง และกาลงั ใจในการเรียนให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนจนสามารถพัฒนาตนให้เจริญงอก
งามตามเปูาหมายของการจัดการศึกษาใหก้ บั ผูเ้ รียนได้ในทส่ี ดุ
ในทางตรงกันข้าม ถ้าครูมีเจตคติท่ีไม่ดีต่ออาชีพ การปฏิบัติตนของครูและการ
ปฏิบัติต่ออาชีพครู ก็จะไม่ได้ผลตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร ครูก็จะไม่เอาใจใส่ผู้เรียน ไม่มี
ความปรารถนาดีต่อผ้เู รยี น การปฏิบัติงานก็ทาไปตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายเท่านั้น ไม่ได้ทา
ดว้ ยใจรักในอาชีพ การเรียนการสอนก็จะไม่ประสบความสาเร็จ ผเู้ รยี นกเ็ รยี นอย่างไม่มคี วามสุข
ผู้สอนก็สอนอย่างไม่ต้ังใจ ความก้าวหน้าในอาชีพก็จะไม่เกิดขึ้น ดังน้ันการมีเจตคติที่ดีต่อ
อาชีพครู จึงเปน็ องคป์ ระกอบทีม่ คี วามสมั พนั ธก์ ับพฤตกิ รรมการสอนของครู
สรุปได้ว่า ครูท่ีมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพครูจะส่งผลต่อพฤติกรรมการสอนของครู การ
จัดการเรียนการสอนท่ีมุ่งให้ผู้เรียนได้มีการพัฒนาตรงตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ผู้เรียนมี
ประสบการณ์และเกดิ องคค์ วามรู้ตามท่ตี อ้ งการ
2.2 บทบาทหน้าทแ่ี ละความรบั ผดิ ชอบของครู
2.2.1 บทบาทของครู
จากเอกสารวิจัยของ ดร.จรวย ธรณินทร์ (2542 อ้างถึงใน ประภา ธานีรัตน์,
2552) ไดก้ ลา่ วว่า ปัญหาและสาเหตุที่เป็นจุดอ่อนของการศึกษาไทยน้ัน มาจากการศึกษาของ
ประเทศไทยปรับตัวได้เชื่องช้า และเปล่ียนแปลงไม่ทันกระแสโลกาภิวัตน์ จึงก่อให้เกิดปัญหา
การอพยพย้ายถ่ิน ช่องว่างระหว่างรายได้ของคนจนและคนรวยห่างกันมากข้ึน การกระจาย
ความเจรญิ ของคนในเมอื งและชนบทไมเ่ ท่าเทยี มกนั ขาดแรงงานฝีมอื ระดับสงู การว่างงานของ
ผู้สาเร็จการศึกษามีมาก การใช้แรงงานผู้เรียน แหล่งท่องเท่ียวถูกทาลาย และวัฒนธรรมใน
ท้องถิ่นท่ีดีบางอย่างถูกลืมหายไป โดยทุกอย่างท่ีกล่าวมามีสาเหตุหลักมาจากปัญหาการศึกษา
ไทยท่ีมีความผิดพลาดในการจัดการศึกษาที่เน้นปริมาณมากกว่าคุณภาพ เน้นวิชาการมากกว่า
คณุ ธรรม การเรยี นการสอนท่เี น้นเนื้อหาสาระ เพื่อให้ผู้เรียนนาไปท่องจา ผู้เรียนจึงคิดไม่เป็น
ทาไม่เป็น ครูขาดการพัฒนาตนเอง สภาพการเรียนการสอนดังกล่าวจึงควรได้รับการแก้ไข
เพราะไมช่ ่วยให้เกิดผลดีแก่ใครเลย จากปัญหาดังกล่าวจึงได้มีการปรับปรุงการศึกษาไทย โดย
นาพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 มาใช้ นับได้ว่าการปฏิรูปการศึกษา
เป็นหัวใจสาคัญของพระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแห่งชาตฉิ บบั น้ี และการปฏิรูปการศึกษาจะสาเร็จ
27
ไดต้ อ้ งได้รบั ความร่วมมือรว่ มใจจากบุคคลหลายฝุาย และบุคคลที่สาคัญที่สุดคือ “ครู” บทบาท
ของครูท่ีมีต่อการปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติจะพบว่า ครูจะต้องมี
ความรับผิดชอบมากข้ึน ท้ังภาระงานประจาท่ีต้องช่วยกันขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาให้
ประสบผลสาเร็จ ต้องแกป้ ญั หาท่ซี บั ซ้อนและละเอียดอ่อนของผ้เู รยี น ผูท้ ่ปี ระกอบอาชีพครูต้อง
ปรบั ตัว รวมท้ังพฒั นาตนเองในด้านการสอนเพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถ และรักการ
เรียนรู้ สามารถนาผลการเรียนรู้มาปฏิบตั ไิ ด้ในชีวิตจริง
กรมวชิ าการ โดยคณะอนุกรรมการการปฏิรูปการเรียนรู้ (อ้างอิงมาจากรายงานผล
การดาเนินงาน 2 ปี กับการปฏิรูปการเรียนรู้ของกระทรวงศึกษาธิการ, 2545) ได้กล่าวถึง
บทบาทของครู ดงั นี้
1 ปรับเปลี่ยนแนวคิดเพื่อเอ้ือต่อการปฏิรูปการเรียนรู้ เป็นตัวอย่างในการ
พฒั นาวนิ ัยในตนเอง
2 พัฒนาตนเองอยเู่ สมอ ให้มีความรู้และความสามารถในการปลูกฝังค่านิยม
ทด่ี ี และจรยิ ธรรมให้ผเู้ รียน ใหค้ วามรกั ความเมตตาต่อผเู้ รยี น
3 ออกแบบการจัดการเรียนรู้ และการวดั ผลประเมินผลตามสภาพจรงิ
4 ทาวิจัยในชั้นเรยี นควบคู่กับการจดั การเรียนการสอน นาผลมาพัฒนา
5 จัดสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการกาหนดบทบาท
ของผเู้ รียน
6 ช่วยให้ผู้เรียนยอมรับและพัฒนาตนเอง มีความเข้าใจตนเอง ยอมรับ
ความร้สู ึกของตนเอง มีความเชื่อม่ันในตนเองวา่ เปน็ คนมีคณุ ค่า
7 ให้คาปรึกษาในด้านการเรียน การวางแผนชีวิต และแนวทางการพัฒนา
ตนเองสอู่ าชีพ ช่วยให้ผู้เรียนตง้ั จุดมงุ่ หมายในชวี ิตตามสภาพความเปน็ จรงิ ทเี่ ป็นไปได้
8 ชว่ ยให้ผเู้ รียนมวี ฒุ ิภาวะรจู้ กั ขอ้ ดี ข้อเสียของตนเอง
9 กระตนุ้ ใหผ้ เู้ รียนกล้าเผชญิ ปัญหาและสถานการณต์ ่างๆ
10 ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจลีลาการเรียนรู้ของตนเอง เข้าใจกระบวนการเรียนรู้
และรู้วิธีการพัฒนาตนเองให้เป็นผู้ใฝุรูอ้ ยเู่ สมอ
11 ชว่ ยใหผ้ เู้ รียนร้จู ักประเมนิ ผลการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง ประเมินตนเอง และ
ทบทวนการปฏิบตั เิ พื่อปรับปรงุ ให้ดียิง่ ขน้ึ อยเู่ สมอ
12 เปน็ กลั ยาณมิตรกับผู้เรียน เพอื่ นครู และบุคลากรในโรงเรียน
ยนต์ ชุ่มจติ (2541 อ้างถึงใน สุนีพร รัฐการวิวัฒน์, 2549) ได้กล่าวถึงบทบาทของ
ครูไว้วา่ บทบาทและฐานะของครูในปัจจุบันพบว่า ครูคือผู้พัฒนาของคนและสังคมรวมท้ังต้อง
28
เปน็ ผู้นาสงั คมในดา้ นคณุ ธรรม วัฒนธรรม การปรับตน และการสร้างสรรค์ ดังน้ันบทบาทและ
หน้าท่ีของครูจงึ ต้องดาเนนิ ไปด้วยกนั ซ่ึงสามารถจาแนกบทบาทและหนา้ ทีข่ องครไู ด้ ดงั ตอ่ ไปนี้
1 บทบาทของครูตามแนวปฏริ ูปการศึกษา ซึ่งคณะกรรมการการวางพื้นฐาน
เพือ่ ปฏริ ปู การศกึ ษา ไดก้ าหนดบทบาทครทู ี่พงึ ประสงค์ ไวด้ ังน้ี
1.1 บทบาทเฉพาะตัว
1.1.1 เปน็ ผู้ที่รกั การอา่ น คน้ ควา้ ปรับปรุงตนเองให้ทันสมัย มั่นใจ
และศรัทธาในอาชพี ครู
1.1.2 เป็นผู้มีความเป็นตัวของตัวเอง กล้าแสดงออกเพื่อเผยแพร่
ความคดิ ความรู้ ต่อสาธารณะและเพอื่ พัฒนาวิชาชีพของตน
1.1.3 เปน็ ผปู้ ระพฤติหรอื วางตนอยู่ในกรอบศีลธรรมจรรยาที่ยอมรับ
ในชุมชน
1.1.4 เป็นผู้ประกอบอาชีพพอควรแก่อัตภาพ มานะบากบั่น
มัธยสั ถ์ ไมเ่ หน็ แก่ความเจริญทางวตั ถเุ กนิ กวา่ คณุ ธรรมและจริยธรรม
1.2 บทบาทต่อผ้เู รียน
1.2.1 เป็นผู้ช่วยและแนะนาให้ผู้เรียนมีหลัก รู้จักวิธีศึกษาค้นคว้า
และเลอื กทางของตนเองอย่างอิสระ
1.2.2 เป็นผ้ฝู ึกผู้เรียนใหส้ ามารถทางานเปน็ กลุ่ม รู้จักวิพากษ์วิจารณ์
รับฟงั ความคดิ เห็นของผ้อู ่ืน และมวี ินัยในตนเอง
1.2.3 เปน็ ผู้สนใจศึกษาธรรมชาติของศิษย์ ให้ความรักเอาใจใส่ศิษย์
ขจดั ช่องว่างระหวา่ งครูกบั ศษิ ย์
1.2.4 เป็นผู้ศึกษาความสนใจ ความถนัดความสามารถของผู้เรียน
และหาทางส่งเสริมแนะนาในการเลือกอาชพี ให้ผ้เู รียนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
1.2.5 เป็นผู้ส่งเสริมให้ผู้เรียนเป็นผู้ฝักใฝุในคุณธรรม จริยธรรม
เห็นคณุ คา่ ของเอกลักษณ์และวัฒนธรรมของชาติ
1.3 บทบาทต่อสงั คม
1.3.1 เปน็ ผใู้ หค้ วามรคู้ วามสนใจการเกษตรและมีสว่ นร่วมในกิจกรรม
การเกษตร
1.3.2 เป็นผู้รักความยุติธรรมและกล้าต่อสู้เพ่ือความเป็นธรรมของ
สงั คมดว้ ยสตปิ ัญญาตามกระบวนการที่เหมาะสม
1.3.3 เป็นผู้มีส่วนในกิจกรรมด้านต่างๆ ของท้องถ่ิน เพื่อสร้าง
ความสมั พนั ธอ์ ันดรี ะหวา่ งโรงเรยี นกบั ชุมชน
29
1.3.4 เปน็ ผู้ส่งเสรมิ การดารงชีวิตตามวิถปี ระชาธปิ ไตยแก่ชุมชน โดย
ประพฤติตนเป็นแบบอย่างและชักนาผู้อน่ื ให้ปฏบิ ตั ิตามโอกาสทเ่ี หมาะสม
บทบาทของครูตาม Teachers Model เสนอว่า ถ้าพิจารณาบทบาทของครู
จากคาวา่ ครูในภาษาอังกฤษ คือ “Teachers” จาแนกได้ดงั น้ี
T – Teaching คือ บทบาทของครู ผู้ถ่ายทอดความรู้แก่
ศิษย์
E – Ethics คือ บทบาทของผู้ส่งเสริมจริยธรรม ผู้มี
คุณธรรม จรยิ ธรรม
A – Academic คอื บทบาทของผู้มีหลักวิชา ถ่ายทอดวิชา
และนกั วิชาการ
C – Cultural Heritage คือ บทบาทผสู้ บื ทอดมรดกทางวฒั นธรรม
H – Human Relation คือ บทบาทของผู้สร้างมนุษยสัมพันธ์ใน
ชุมชน ผู้มีสัมพันธ์อนั ดีกับศิษยแ์ ละคนท่ัวไป
E – Evaluation คือ บทบาทของผูว้ ดั ผลประเมนิ ผล
R – Research คือ บทบาทของผู้ที่ค้นคว้าวิจัย และนา
ผลการวจิ ัยไปใชป้ ระโยชน์
S – Service คือ บทบาทของผู้ท่ีให้การบริการแก่ศิษย์
และชุมชน
2 บทบาทของครูตามแนวคดิ ปรัชญาลทั ธติ ่างๆ ซึ่งกลา่ ววา่ กลุ่มลัทธิปรัชญา
ตา่ งๆ ไดใ้ ห้ทศั นคติเก่ียวกบั บทบาทของครู ไวด้ ังนี้
2.1 ฝุายจิตนิยม ถือว่า “ครูคือแม่พิมพ์” (Paradigmatic Self) ยกให้ครู
ผู้อาวุโสและวุฒิภาวะสูงเหนือผู้เรียน ต้องเป็นแบบอย่างในด้านที่ดีท้ังด้านวุฒิปัญญา และ
บุคลกิ ภาพ ครูเปน็ สอ่ื กลางระหวา่ งผูเ้ รียนกับจิตสูงสุด (Absolute Mind)
2.2 ฝุายสัจนยิ ม หรือวัตถุนิยม ถือว่า “ครูคือผู้สาธิต” (Demonstrator)
กาหนดให้ครูสามารถแสดงให้เห็นถึงความจริงของโลกประการหน่ึง นักโฆษณาหรือมัคคุเทศก์
ครูจงึ เป็นสอื่ กลางระหวา่ งผเู้ รียนกับธรรมชาติ
2.3 ฝุายโทมนัสนิยม ถือว่า “ครูคือผู้รักษาวินัยทางความคิด” (Mental
Disciplinarian) กาหนดใหค้ รูเป็นเสมอื นนายทางปญั ญา หรอื ผอู้ านวยการฝึกฝนทางปัญญาและ
ความคิด เป็นพิธีกรทางปัญญาหรือผู้พัฒนาอานาจทางความคิด ในการนี้ครูต้องเป็นผู้มี
ความสามารถในการใหเ้ หตผุ ล มีเจตจานงอนั แนว่ แน่ และมคี วามจาดี
30
2.4 ฝุายประสบการณ์นิยม ถือว่า “ครูเป็นเสมือนผู้อานวยการ
โครงการวิจัย” กาหนดให้ครูเป็นเพียงมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนของผู้เรียน ครูไม่ใช่
ตวั กลางหรือไม่ใชผ่ ้นู าสารแต่อยูใ่ นฐานะผดู้ แู ลให้แตล่ ะคนดาเนินงานไปสเู่ ปาู หมายเป็นสาคัญ
2.5 ฝุายอัตถิภาวการณ์นิยม ถือว่า “ครูคือผู้คอยกระตุ้นหรือย่ัวยุ” ถือ
เป็นผู้ปลุกให้ผู้เรียนต่ืนข้ึนมาเพื่อเห็นตัวเอง ปูอนคาถามให้คิด เพื่อให้ผู้เรียนต่ืนตัวและเกิด
ความสานึกข้นึ มาโดยไมล่ ้อมตัวเองไว้ในกรอบของสงั คม
3 บทบาทของครูตามหลักทางวิชาการ ซ่ึงกล่าวว่ามีนักวิชาการหลายท่านท่ี
ไดเ้ สนอความเหน็ เก่ยี วกับบทบาทของครู ไว้ดังนี้
3.1 แฮวิกเฮอร์สท์และเลวิน (R.J. Havighurst and D.U. Levine อ้างถึง
ใน สนุ ีพร รฐั การวิวัฒน,์ 2549) ไดก้ ลา่ วถงึ บทบาทของครูไว้ 2 ด้าน คอื
3.1.1 บทบาทของครูในชมุ ชน มีหลายบทบาท เช่น
3.1.1.1 ผู้นาการเปลยี่ นแปลงและนักปฏริ ูปสังคม
3.1.1.2 ผู้รเิ ริม่ และบุกเบิกทางความคิด
3.1.1.3 ผ้ผู ดุงรักษาวัฒนธรรม
3.1.1.4 ผู้ควรแก่การยกย่อง
3.1.1.5 ผู้ให้บริการแก่สาธารณะ
3.1.2 บทบาทของครใู นโรงเรยี น มหี ลายบทบาท เชน่
3.1.2.1 ผอู้ บรมเล้ียงดูหรือสร้างสังคมประกติ
3.1.2.2 ผเู้ ปน็ ตวั กลางหรือผกู้ อ่ ให้เกิดการเรยี นรู้
3.1.2.3 ผ้รู ักษาวนิ ยั
3.1.2.4 ผู้เป็นเสมือนพอ่ แม่
3.1.2.5 ผตู้ ดั สินหรือผ้รู กั ษากตกิ า
3.2 จอหน์ สัน (E.A. Johnson อ้างถึงใน สุนีพร รัฐการวิวัฒน์, 2549) ได้
เสนอบทบาทของครไู ว้ 7 ประการ คอื
3.2.1 ผนู้ าของผ้เู รยี น
3.2.2 ที่ปรกึ ษาของผเู้ รียน
3.2.3 ผ้ชู านาญในการสอน
3.2.4 มิตรของผ้เู รียน
3.2.5 ผู้กาหนดจุดประสงค์
3.2.6 ผู้วดั ผลประเมนิ ผล
3.2.7 ผู้กระตุ้นให้ผเู้ รียนปรับตัวเข้ากับสังคม
31
3.3 บาร์ (Bar) ไดพ้ จิ ารณาในการวัดผลและพยากรณ์ประสิทธิภาพของครู
ผา่ นบทบาทหน้าท่ี 4 ดา้ น คือ (จริ ะศกั ดิ์ สงวนชพี , 2547)
3.3.1 ครูในฐานะผูอ้ านวยการสอน
3.3.2 ครใู นฐานะเพ่ือนและผ้ใู หค้ าปรกึ ษาแก่ผ้เู รียน
3.3.3 ครใู นฐานะสมาชิกคนหนงึ่ ของชมุ ชนโรงเรียน
3.3.4 ครใู นฐานะสมาชกิ สมาคมวชิ าชีพ
3.4 ทองคณู หงส์พนั ธ์ุ (2539 อา้ งถึงใน สุนีพร รัฐการวิวัฒน์, 2549) ได้
เสนอบทบาทของครใู นแนวจติ วิทยาสงั คมไว้ 5 ประการ คือ
3.4.1 บทบาทของครตู อ่ ผูเ้ รียน คือ การสอน อบรม ประพฤติเป็น
แบบอยา่ ง ดแู ลสุขภาพ และแนะแนวให้คาปรกึ ษา
3.4.2 บทบาทของครูต่อเพ่ือนครู คือ รักษาความลับ ช่วยเหลือ
การงาน ให้คาแนะนา และรกั ษาผลประโยชน์
3.4.3 บทบาทต่อผู้บังคับบัญชา คือ ให้ความเคารพ ปฏิบัติตาม
คาสั่งและสนบั สนุนโยบาย
3.4.4 บทบาทต่อโรงเรยี น คอื ช่วยพัฒนาโรงเรียน ช่วยงานธุรการ
และกิจกรรม ช่วยสรา้ งและรักษาชือ่ เสียง
3.4.5 บทบาทต่อชุมชน คือสร้างความสัมพันธ์อันดี ให้บริการทาง
วิชาการ ให้ความช่วยเหลือแกช่ มุ ชน
3.5 บญุ เลิศ อนุวาร (2538 อ้างถึงใน สุนีพร รัฐการวิวัฒน์, 2549) เสนอ
ว่า ภารกิจของครมู ี 12 ประการ ดังนี้
3.5.1 สอน
3.5.2 แนะแนว
3.5.3 วัดผล
3.5.4 วิจยั
3.5.5 ศกึ ษาหาความร้เู พ่มิ เตมิ
3.5.6 ทากิจกรรมพเิ ศษ
3.5.7 ฝึกผ้เู รยี นใหม้ ีวนิ ัยในตนเอง
3.5.8 ทาส่อื การสอน
3.5.9 ทาอปุ กรณก์ ารสอน
3.5.10 ช่วยสอนครูอน่ื ๆ
3.5.11 ทาตัวเป็นดุจพ่อแม่ผเู้ รยี น
32
3.5.12 ทางานบริหารหรอื ธุรการ
สรุปได้ว่า บทบาทหลักของครูคือด้านการจัดการเรียนการสอนให้กับผู้เรียนเพื่อให้
ผเู้ รยี นมคี วามรู้ความสามารถ ตรงตามวัตถุประสงคข์ องหลักสูตร มีการวางแผนการจัดกิจกรรม
ต่างๆ เพื่อก่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ ให้คาปรึกษาในด้านการเรียน การวางแผนชีวิต
นอกจากน้นั ครูยงั ต้องมกี ารพฒั นาตนเอง มีการศกึ ษาค้นคว้าวิจัยอยู่เสมอ ต้องเป็นแบบอย่างที่
ดีในดา้ นตา่ งๆ แกผ่ เู้ รยี น และยังตอ้ งมบี ทบาททงั้ ครใู นโรงเรยี นและสังคมอีกดว้ ย
2.2.2 หนา้ ทแ่ี ละความรับผดิ ชอบของครู
หน้าที่และความรับผิดชอบของครูตามคาภาษาอังกฤษ “TEACHERS” ซ่ึงแปลว่า
“ครู” น้ีสามารถจาแนกความหมายซึ่งแสดงให้เห็นถึงหน้าที่และความรับผิดชอบของครูตาม
ตัวอักษรแตล่ ะตวั ไดด้ งั ตอ่ ไปน้ี (ยนต์ ชมุ่ จติ , 2553)
1 T (Teaching) คือการสอน หมายความว่าครูมีหน้าท่ีและความรับผิดชอบ
ตอ่ การสอนศิษย์ เพ่อื ให้ศษิ ยม์ ีความรคู้ วามสามารถในวิชาการทงั้ หลายท้ังปวง ซึ่งถือว่าเป็นงาน
หลกั ของผู้เปน็ ครูทุกคน หากครคู นใดไม่ชอบการสอนก็ไม่สมควรมายึดงานวิชาชีพครู หากเป็น
ครูโดยไร้จติ วิญญาณของความเป็นครูอยา่ งแทจ้ ริงแลว้ ผลเสยี ทจี่ ะเกิดกับผเู้ รยี นน้นั ย่อมมีมากกว่า
ผลดที ่ีผูเ้ รยี นจะไดร้ ับ ดงั นนั้ ครทู กุ คนจงึ ควรตระหนักในด้านการสอนเป็นอันดับแรก โดยถือว่า
หวั ใจของความเป็นครคู ือการอบรมสง่ั สอนศิษย์ใหเ้ ปน็ คนดีมีความรู้ในวิทยาการท้ังปวง อย่างไร
ก็ตามการที่ครูคนใดจะทาหน้าที่ในด้านการสอนได้สมบูรณ์มากน้อยเพียงใดน้ันจะต้องอาศัย
องค์ประกอบอน่ื ๆ อีกหลายประการท่ีสาคัญคอื การมีวิธีการสอนทดี่ เี หมาะสมกบั ลักษณะวิชาและ
พนื้ ฐานของผู้เรียน
2 E (Ethics) คือจรยิ ธรรม หมายความว่าครตู ้องมีหนา้ ที่และความรับผิดชอบ
ต่อการอบรมปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมให้กับผู้เรียน ซ่ึงถือว่าเป็นหน้าท่ีหลักอีกประการหน่ึง
ของความเป็นครู นอกจากครู - อาจารย์จะต้องอบรมส่งเสริมผู้เรียนให้เป็นผู้มีคุณธรรม
จริยธรรมแล้ว ตัวครู - อาจารย์ทุกคนก็จะต้องประพฤติปฏิบัติตนให้เป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม
อันดีงามเหมาะสมด้วย เพราะพฤติกรรมอันเหมาะสมท่ีครู - อาจารย์ได้แสดงออกจะเป็น
เคร่ืองมืออันสาคัญสาหรับการปลูกฝังศรัทธาให้แก่ศิษย์ เพื่อศิษย์จะได้นาเอาไปเป็นแบบอย่าง
สาหรบั การประพฤติปฏบิ ตั ติ อ่ ไป
3 A (Academic) คือวิชาการ หมายความว่าครูต้องมีหน้าที่และความ
รับผิดชอบต่อวชิ าการ ท้ังของตนเองและของผู้เรียน ซึ่งความจริงแล้วงานของครูต้องเกี่ยวข้อง
กับวิชาการอยู่ตลอดเวลา เพราะวิชาชีพครูต้องใช้ความรู้เป็นเคร่ืองมือในการประกอบวิชาชีพ
ด้วยเหตุนี้ครู - อาจารย์ทุกคนจะต้องหม่ันศึกษาหาความรู้ เพ่ือพัฒนาตนเองอยู่เสมอ หากไม่
33
เป็นเช่นน้ันจะทาให้ความรู้ต่างๆ ท่ีครู - อาจารย์มีอยู่ล้าสมัย ไม่ทันกับความเปล่ียนแปลงของ
สงั คมโลกยุคโลกาภิวตั น์ หรอื โลกไรพ้ รมแดนในปจั จบุ ัน
4 C (Cultural Heritage) คือการสืบทอดวัฒนธรรม หมายความว่าครู -
อาจารย์ต้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อการสืบทอดวัฒนธรรม ซึ่งถือว่าเป็นหน้าท่ีโดยตรง
ของผูเ้ ป็นครูอกี ประการหนง่ึ เพราะการสอนศลิ ปวทิ ยาการทกุ สิ่งทกุ อยา่ งใหก้ บั ศิษย์นั้น ยอ่ มถือ
ไดว้ ่าเป็นการสบื ทอดมรดกทางวฒั นธรรมจากคนร่นุ หนง่ึ ไปส่คู นอกี รนุ่ หนึง่ สาหรับวิธกี ารทคี่ รูพึง
กระทา เช่น
4.1 ตัวครูเองเป็นผู้ประพฤติปฏิบัติ ตามขนบธรรมเนียมประเพณี และ
วัฒนธรรมอันดีงามของชาติให้ถูกต้องเหมาะสม กล่าวคือ ครู - อาจารย์จะต้องพยายามศึกษา
หาความรูใ้ นเรอ่ื งทเ่ี กี่ยวกับมรดกทางวัฒนธรรม รวมทั้งขนบธรรมเนียมประเพณีต่างๆ ให้เกิด
ความเข้าใจอยา่ งถ่องแทเ้ สยี ก่อน แล้วประพฤติปฏิบตั ิตนใหถ้ กู ตอ้ งเหมาะสม เพือ่ เปน็ แบบอย่าง
แกศ่ ษิ ยแ์ ละบคุ คลทั่วไป เช่น การแต่งกายให้เหมาะสม การแสดงความเคารพ กิริยามารยาท
แบบไทยๆ และการจดั งานพธิ ตี ่างๆ ทถี่ กู ตอ้ งเหมาะสม เป็นตน้
4.2 การอบรมสั่งสอนศิษย์ ให้เป็นผู้เข้าใจในวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม
ประเพณีอนั ดงี ามของชาตอิ ย่างถกู ต้อง และในเวลาเดียวกันก็กระตุ้นปลุกเร้าจิตสานึกให้ผู้เรียน
รักและหวงแหนในมรดกทางวัฒนธรรมของตน เต็มใจท่ีจะปฏิบัติตามวัฒนธรรมอันดีงามของ
ชาติ
5 H (Human Relationship) คือการมีมนุษยสัมพันธ์ หมายความว่า ครู
จะตอ้ งมีหน้าท่แี ละความรับผิดชอบในการสร้างมนุษยสัมพันธ์กับบุคคลต่างๆ ที่ครูต้องเกี่ยวข้อง
สัมพันธ์ด้วย เพราะการมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีจะก่อให้เกิดประโยชน์ทั้งต่อตนเองและต่อหมู่คณะ
โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งประโยชนต์ ่อโรงเรยี น
ครจู าเป็นตอ้ งสร้างมนุษยสมั พันธ์กบั บคุ คลตา่ งๆ ดงั ตอ่ ไปน้ี
5.1 การสร้างมนุษยสัมพันธ์ระหว่างครูกับผู้เรียนสามารถกระทาได้
ดงั ต่อไปนี้
5.1.1 สอนศิษย์ให้เกิดความรู้ ความสามารถในวิชาการต่างๆ อย่าง
เตม็ กาลังความสามารถ เพื่อใหศ้ ษิ ย์มีความรอู้ ยา่ งแท้จรงิ
5.1.2 สอนศิษย์ด้วยการทาบรรยากาศการเรียนการสอนให้
สนุกสนาน แตไ่ ดส้ าระ
5.1.3 อบรมดูแลความประพฤติของศิษย์ให้อยู่ในระเบียบวินัย หรือ
กรอบคุณธรรม ไม่ปล่อยให้ศิษย์ประพฤตินอกกรอบระเบียบวินัย หรือกระทาสิ่งท่ีผิดๆ ด้วย
ประการท้ังปวง
34
5.1.4 ดแู ลทุกขส์ ุขของศิษยแ์ ละพยายามหาทางชว่ ยเหลอื
5.1.5 ให้คาปรกึ ษาหารอื และชว่ ยแก้ปญั หาให้แกศ่ ิษย์
5.2 การสร้างมนุษยสัมพันธ์ ระหว่างครูกับเพ่ือนครู ซึ่งครูสามารถ
กระทาได้ดงั ตอ่ ไปน้ี
5.2.1 ร่วมมือกันอบรมส่ังสอนศิษย์ให้เป็นพลเมืองดีของสังคม และ
ของชาติบ้านเมอื ง
5.2.2 ช่วยเหลือเกื้อกูลกันในทางวิชาการ เช่น แนะนาการสอน
แนะนาเอกสารตาราหรอื แหลง่ วิทยาการต่างๆ
5.2.3 ช่วยเหลอื งานสว่ นตัวซึ่งกันและกันเท่าที่โอกาสจะอานวย
5.2.4 ทาหน้าทีแ่ ทนกนั เม่ือคราวจาเปน็
5.2.5 ให้กาลังใจในการทางานซึ่งกันและกัน ซึ่งสามารถจะ
แสดงออกในรปู ของวาจาหรอื การกระทากไ็ ด้
5.2.6 กระทาตนให้เป็นผู้ท่ีมีความสุภาพอ่อนน้อมต่อกัน ใช้กิริยา
วาจาที่สุภาพตอ่ กัน ไม่แสดงตนในทานองยกตนขม่ ผู้อนื่
5.3 การสร้างมนุษยสัมพันธ์ระหว่างครูกับผู้ปกครอง/ชุมชน สามารถ
กระทาไดด้ ังตอ่ ไปน้ี
5.3.1 แจ้งผลการเรียน หรือความเจริญก้าวหน้าของศิษย์ให้
ผ้ปู กครองทราบเปน็ ระยะๆ
5.3.2 ติดต่อกับผู้ปกครอง เพื่อร่วมกันแก้ปัญหาของศิษย์ในกรณีท่ี
ศิษยม์ ีปญั หาทางการเรยี น ความประพฤติ สุขภาพ หรอื อ่นื ๆ
5.3.3 หาโอกาสเย่ียมเยียนผู้ปกครองผู้เรียน เพื่อสร้างความคุ้นเคย
เชน่ เม่ือได้ขา่ วการเจบ็ ปุวยหรอื สมาชกิ ในครอบครัวถึงแกก่ รรม เปน็ ตน้
5.3.4 เชิญผู้ปกครองร่วมกิจกรรมต่างๆ ของโรงเรียน เช่น การ
แขง่ ขันกฬี าประจาปี งานแจกประกาศนยี บตั รผ้เู รยี น หรอื งานชุมนมุ ศิษย์เกา่ เป็นต้น
5.3.5 เม่ือได้รับเชิญให้ไปร่วมงานของผู้ปกครองผู้เรียน ต้องหา
โอกาสไปให้ได้ เช่น งานบรรพชาอุปสมบท งานทาบุญขึ้นบ้านใหม่ หรืองานมงคลสมรส
เปน็ ตน้
5.3.6 ครูควรร่วมมือกับชุมชนจัดกิจกรรม เพ่ือฝึกอาชีพ หรือ
ส่งเสริมความรู้ใหผ้ ู้ปกครองและประชาชนในท้องถิ่นบ้าง จะทาให้ชุมชนเห็นความสาคัญของครู
มากข้ึน
35
5.3.7 เมื่อชุมชนร่วมมือกันจัดงานต่างๆ เช่น งานประจาปีของวัด
หรอื งานเทศกาลต่างๆ ครคู วรใหค้ วามรว่ มมอื อย่างสมา่ เสมอ
5.3.8 ทางโรงเรียนควรได้มีการแจ้งข่าวสาร ข้อมูลต่างๆ ที่เป็น
ประโยชน์ต่อผู้ปกครองโดยให้ผู้ปกครองได้ทราบเป็นระยะๆ ซ่ึงอาจจะส่งข่าวสารทางผู้เรียน
การติดประกาศตามทีอ่ ่านหนังสอื ประจาหม่บู ้าน หรอื การออกเสียงตามสายประจาวันในหมู่บ้าน
ใกล้เคียงโรงเรยี น เป็นตน้ การเยีย่ มเยียนบา้ นของผูป้ กครองเป็นวิธีท่ีให้ผลมากที่สุดต่อการขจัด
ปญั หาของผเู้ รียนทีเ่ กิดขึ้นภายในโรงเรียน การเยี่ยมเยียนผู้ปกครองเป็นวิธีท่ีดีที่สุดในการสร้าง
ความเข้าใจอันดีระหว่างครูและผู้ปกครองถึงวิธีการทางานของผู้เรียน เมื่ออยู่ท่ีบ้านและท่ี
โรงเรยี น
เมื่อครู - อาจารย์ไปเยย่ี มเยยี นผู้ปกครองท่ีบ้านควรพยายามรวบรวมข้อมูล
ต่างๆ ให้มากที่สุด วิธีการรวบรวมข้อมูลของครู - อาจารย์อาจจะต้ังคาถามเพื่อสัมภาษณ์
ผู้ปกครอง เชน่
1 ทา่ นคิดวา่ ผู้เรยี นของท่านชอบโรงเรยี นหรือไม่
2 มีกจิ กรรมอะไรบา้ งที่ผ้เู รยี นของท่านให้ความสนใจ
3 เม่ืออยู่ที่บ้านผู้เรียนของท่านชอบทาอะไร (คาถามนี้สาคัญเพราะ
ทาใหค้ รูและผปู้ กครองได้ทราบและสามารถจดั กิจกรรมรว่ มกันได้)
4 ผเู้ รียนของท่านชอบวิชาอะไรมากที่สุด (คาถามน้ีจาเป็นเพราะครู
จะไดต้ รวจสอบดูว่าเมอื่ ผู้เรยี นไปเรียนในชัน้ อ่นื จะปฏบิ ตั ิเชน่ นหี้ รอื ไม่ เพราะอะไร)
5 ท่านมีความวิตกหรือกังวลห่วงใยผู้เรียนของท่านในเร่ืองใดท่ี
โรงเรยี นจะสามารถชว่ ยได้
6 E (Evaluation) คือการประเมินผล หมายความว่าครูจะต้องมีหน้าท่ีและ
ความรับผิดชอบต่อการประเมินผลการเรียนของศิษย์ งานของครูในด้านน้ีถือว่ามีความสาคัญ
มากอีกประการหน่งึ ทัง้ น้ีเพราะการประเมนิ ผลการเรียนการสอนเป็นการวดั ความเจรญิ ก้าวหน้า
ของศษิ ยใ์ นด้านต่างๆ หลังจากมีการเรียนการสอนไปแล้ว ถ้าหากครูไม่ทาการประเมินผลการ
เรยี นของศิษย์ ย่อมไมส่ ามารถทีจ่ ะทราบได้ว่าศิษย์ของตนมีความรู้หรือความเจริญงอกงามมาก
น้อยเพียงใด ดังนั้นครูจึงควรระลึกอยู่เสมอว่า ณ ที่ใดมีการสอนที่น่ันจะต้องมีการสอบ การ
สอบทีม่ คี ุณค่าน้ันจะต้องเปน็ การสอบเพื่อพฒั นาต่อไป ไม่ใชเ่ ป็นการสอบเพ่ือการตัดสินได้ตกแต่
เพียงสถานเดยี วเทา่ นั้น สาหรับการประเมนิ ผลการเรียนการสอนผู้เรียนนั้น ครูสามารถเลือกใช้
ได้หลายวิธีในแต่ละวชิ าท่สี อน และอาจเลอื กใช้หลายๆ วธิ ใี นการประเมนิ แตล่ ะคร้ัง หรืออาจจะ
เลือกใช้เพยี งวธิ เี ดยี วในการประเมินผลคราวนัน้ ๆ ก็ได้ วิธีการวัดผลประเมินผลการเรยี นการสอน
ผู้เรียนที่ครูสามารถกระทาได้มีหลายวิธดี ังตอ่ ไปนี้
36
6.1 การสังเกต หมายถึง การสังเกตพฤติกรรมของผเู้ รียนขณะกาลังเรียน
หรอื กาลงั ทางาน การร่วมกจิ กรรมกล่มุ ความต้งั ใจฟังขณะที่ครูกาลงั อธิบายหน้าช้ัน เป็นต้น
6.2 การสัมภาษณ์ หมายถึง การสัมภาษณ์ผู้เรียนเพื่อต้องการท่ีจะทราบ
ความเจริญก้าวหน้าทางด้านการเรียนของผู้เรียน ซ่ึงอาจจะเป็นการสัมภาษณ์ในเน้ือหาวิชาที่
สอน วิธีการทางาน หรือวิธีการเรียนของผเู้ รียน เป็นตน้
6.3 การทดสอบ หมายถึง การทดสอบความรู้ในเนื้อหาวิชาที่เรียน ซึ่ง
อาจจะเป็นการทดสอบความรู้ทางทฤษฎี หรือการทดสอบภาคปฏิบัติก็ได้ ถ้าจะให้ได้ผลดี
จะต้องทาการทดสอบท้ังดา้ นความรแู้ ละภาคปฏบิ ัตคิ วบคกู่ ันด้วย
6.4 การจัดอันดับคุณภาพ หมายถึง การนาผลงานของผู้เรียนในกลุ่ม
มาเปรยี บเทยี บกันในดา้ นคณุ ภาพแลว้ ประเมินคณุ ภาพของผู้เรียนแต่ละคนว่าคนใดควรอยู่ระดับ
ใด
6.5 การใช้แบบสอบถามและแบบสารวจ เป็นวิธีการประเมินผลอีกแบบ
หนง่ึ เพอ่ื สารวจตรวจสอบคณุ ภาพการเรียนการสอนทั้งของผู้เรยี นและของครู
6.6 การบนั ทกึ ย่อและระเบียนสะสม เป็นวิธีการท่ีครูจดบันทึกพฤติกรรม
ความเจรญิ ก้าวหนา้ ของผเู้ รยี นแตล่ ะคนไว้เปน็ ลายลกั ษณ์อักษร
6.7 การศกึ ษาเป็นรายบุคคล เปน็ วธิ กี ารที่นิยมใช้กับผู้เรียนท่ีมีปัญหาเป็น
รายกรณี ปัญหาในที่นีม้ ีความหมายครอบคลุมท้งั ผเู้ รียนทเี่ รียนเกง่ และเรียนอ่อน รวมท้ังผู้เรียน
ที่มปี ญั หาดา้ นพฤติกรรมอื่นๆ ด้วย
6.8 การใช้วิธีสังคมมิติ เป็นวิธีที่นิยมใช้เพ่ือให้สมาชิกในกลุ่มเดียวกัน
ประเมินคุณภาพของสมาชิกในกลุ่มเดียวกัน เพ่ือตรวจสอบดูว่าสมาชิกคนใดได้รับความนิยม
สูงสดุ ในด้านใดด้านหนง่ึ หรือหลายๆ ดา้ นก็ได้
6.9 การใหป้ ฏบิ ัติ และนาไปใช้ เป็นวิธีการที่ครู - อาจารย์ ต้องการที่จะ
ทราบพัฒนาการทางด้านทักษะหรือการปฏบิ ัติงานของผเู้ รียนจากทไ่ี ด้แนะนาวิธกี ารปฏบิ ัตใิ ห้แลว้
นอกจากครจู ะเลอื กใช้วธิ ีการประเมินผลการเรียนของผู้เรียนทั้ง 9 วิธีดังกล่าว
แล้วในการประเมินผลการเรียนทุกๆ วิชา ครูจะต้องพยายามประเมินความเจริญก้าวหน้าของ
ผเู้ รยี นให้ครบวิสยั ทง้ั 3 ด้าน คือ
1 ด้านประชานพิสัยหรือพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) คือการวัดทาง
ความรคู้ วามจา ความเข้าใจ การนาไปใช้ การวิเคราะห์ การสงั เคราะห์ และการประเมินผล
2 ด้านวิภาววิสัยหรือจิตพิสัย (Affective Domain) คือการวัดด้าน
ความรู้สึก คา่ นยิ ม คณุ ธรรม จริยธรรม ของผเู้ รยี นในด้านต่างๆ เช่น การตรงต่อเวลา ความ
มรี ะเบียบ วนิ ัย ความเอื้อเฟือ้ เผอ่ื แผ่ และความขยนั ขนั แข็งในการทางาน เปน็ ต้น
37
3 ด้านจลนวสิ ยั หรือทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) คือการวัดด้าน
การปฏิบัติงานเพ่ือต้องการทราบว่าผู้เรียนทางานเป็นหรือไม่หลังจากที่ได้ศึกษาทฤษฎีไปแล้ว
การวัดด้านจลนวิสยั หรือด้านทักษะน้ี ครูจะนามาใช้ได้มากหรือน้อยนั้นข้ึนอยู่กับลักษณะวิชาที่
สอน วชิ าใดเน้นการปฏบิ ตั ิงานก็จาเป็นตอ้ งเน้นการวดั ด้านจลนวิสัยหรือดา้ นทักษะให้มาก ส่วน
วชิ าใดที่เนน้ ความเจรญิ งอกงามทางด้านสตปิ ญั ญาการวดั ทางด้านนก้ี จ็ ะลดน้อยลง อย่างไรก็ตาม
การเรยี นการสอนทกุ ๆ วิชาควรจะมีการวัดในดา้ นจลนวิสัยหรอื ทักษะวสิ ยั นดี้ ้วยตามสมควร
7 R (Research) คอื การวจิ ยั หนา้ ท่แี ละความรบั ผิดชอบของครู หมายความว่า
ครูต้องพยายามหาความรู้ความจริงเพื่อแก้ปัญหาการเรียนการสอนและแก้ปัญหาที่เกี่ยวกับตัว
ผู้เรยี น การรับผดิ ชอบของครูที่เก่ียวกับการวิจัยน้ี อาจจะเป็นการพยายามหาความรู้ความจริง
ด้วยวิธีการง่ายๆ ไปจนถึงการใช้กระบวนการท่ียุ่งยากซับซ้อน การท่ีครูต้องมีหน้าที่และความ
รบั ผิดชอบในด้านน้ี กเ็ พราะในการสอนวิชาการต่างๆ กับผู้เรียนระดับต่างๆ น้ัน ครูจะต้องพบ
กับปญั หานานปั การ เช่น ปญั หาผู้เรยี นไม่ทาการบ้าน ปัญหาผู้เรียนหนีโรงเรียน ปัญหาชู้สาว
ในโรงเรยี น ปญั หายาเสพติด และปัญหาการลักขโมยในโรงเรียน เป็นต้น ปัญหาต่างๆ เหล่านี้
เป็นปัญหาท่ีครู - อาจารย์ทุกระดับชั้นต้องช่วยกันแก้ไข หากสามารถแก้ไขได้ก็จะทาให้การ
ดาเนินการเรยี นการสอนเป็นไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
การท่ีครู - อาจารย์จะสามารถแก้ไขปัญหาต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สิ่ง
สาคัญท่ีครูต้องทราบ คือ สาเหตุแห่งปัญหานั้นๆ วิธีการท่ีครู - อาจารย์จะทราบสาเหตุของ
ปัญหาได้อย่างถูกต้องก็คือ การค้นคว้าวิจัย ดังน้ันครู - อาจารย์ทุกคนจึงควรพยายามศึกษา
วิธกี ารวิจัยใหม้ คี วามรู้ความชานาญ ดงั นี้
7.1 ขั้นตอนการวจิ ยั มีดงั นี้
7.1.1 การต้งั ปัญหา
7.1.2 การต้ังสมมติฐาน
7.1.3 การรวบรวมขอ้ มลู
7.1.4 การวิเคราะหข์ อ้ มูล
7.1.5 การสรปุ ผล
7.2 ขั้นตอนการดาเนนิ งานวิจัยควรดาเนนิ ตามลาดับข้นั ดงั นี้
7.2.1 การเลือกปญั หาสาหรับการวจิ ยั
7.2.2 การศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ยั ทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง
7.2.3 การจากดั ขอบเขตและการให้คาจากัดความของปญั หา
7.2.4 การตัง้ สมมตฐิ าน
7.2.5 การกาหนดประชากรและกล่มุ ตวั อย่าง
38
7.2.6 การสรา้ งเคร่อื งมอื สาหรับการวิจัย
7.2.7 การรวบรวมขอ้ มลู
7.2.8 การวิเคราะห์และแปลความหมายของขอ้ มูล
7.2.9 การสรุปอภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ
7.2.10 การรายงานผลการวจิ ยั
อย่างไรก็ดีขั้นการดาเนินงานที่กล่าวน้ี บางครั้งก็ไม่จาเป็นต้องดาเนิน
ตามลาดับทก่ี ลา่ ว อาจจะหยิบยกงานในข้ันใดข้ันหน่ึงมาทาก่อนก็สามารถกระทาได้
8 S (Service) คือการบริการ หมายความว่า ครูต้องมีหน้าท่ีและความ
รับผิดชอบต่อการบริการศิษย์และผู้ปกครอง แต่บางคร้ังก็จาเป็นต้องให้บริการแก่ประชาชนใน
ท้องถิ่นด้วย แต่โดยธรรมชาติแล้ว งานบริการหลักของครูคือการบริการให้ความรู้ เพื่อสร้าง
ความเจริญงอกงามให้แก่ผู้เรียน เช่นเดียวกับวิชาชีพแพทย์ให้บริการดูแลรักษาสุขภาพของ
ประชาชนท่ัวไป สาหรับครูนั้นนอกจากใหบ้ ริการแก่ผู้เรยี นแลว้ บางครงั้ ครยู งั ต้องให้บริการด้าน
คาปรกึ ษาหารอื ในด้านสขุ ภาพอนามัยแก่ชุมชน รวมทงั้ ชว่ ยแก้ปญั หาใหแ้ ก่ชมุ ชนรอบๆ โรงเรียน
อีกดว้ ย
หน้าท่ีและความรับผิดชอบของครู - อาจารย์ตามทัศนะของบุคคลทั่วไปเฉพาะ
ประเด็นสาคัญๆ มีดงั ตอ่ ไปน้ี
หน้าท่ีและความรบั ผิดชอบของครู มดี งั น้ี (ยนต์ ชุ่มจิต, 2535)
1 สอนศลิ ปะวทิ ยาการตา่ งๆ ให้แกศ่ ษิ ย์
หน้าท่ีและความรับผิดชอบของครูในข้อนี้ ถือได้ว่าเป็นท่ีเข้าใจของบุคคล
ท่ัวไป และถอื วา่ เปน็ หนา้ ทีแ่ ละความรบั ผิดชอบของครูโดยตรง กล่าวคือบุคคลใดก็ตามท่ีเข้ามา
ประกอบวิชาชีพครูจะต้องมีหน้าท่ีส่ังสอนศิลปวิทยาการให้แก่ศิษย์เป็นประการสาคัญ หากมิได้
ทาหน้าที่ดังกล่าวแล้ว ความเป็นครูก็ย่อมไม่บังเกิดข้ึนกับตนเอง การอบรมส่ังสอนศิษย์น้ัน
นอกจากจะส่งั สอนวชิ าความรแู้ ลว้ จะต้องแนะนาวธิ ีการคดิ แกป้ ญั หา หรือสอนให้ศิษย์เป็นคนคิด
เป็นด้วย
2 ฝกึ อบรมคณุ ธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่ดีงามให้ศษิ ย์
การฝึกอบรมคณุ ธรรม จริยธรรมและคา่ นิยมทีด่ ีงามให้แก่ศิษย์ เป็นหน้าท่ีและ
ความรบั ผิดชอบของครูทุกคนต้องกระทาควบคกู่ บั การสอนศลิ ปวทิ ยาการตา่ งๆ ครู - อาจารย์ทุก
คนต้องถือว่าเป็นหน้าที่และความรับผิดชอบของตนโดยตรงจะละท้ิงหรื อปล่อยปละละเลยมิได้
หากครู - อาจารย์ม่งุ สอนแต่ความรโู้ ดยมิไดฝ้ ึกอบรมคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่ดีงามให้แก่
ศษิ ย์ เท่ากับสอนใหศ้ ิษย์มีแต่ความรู้แต่ขาดคุณธรรม บุคคลท่ีมีแต่ความรู้แต่ขาดคุณธรรมย่อม
ไมเ่ ป็นท่ปี รารถนาของสงั คม ในทางตรงกนั ข้ามกลบั จะเป็นอันตรายต่อสังคมมากกว่า หากครู -
39
อาจารย์คนใดปล่อยให้ศิษย์ของตนมีสภาพเช่นน้ัน ก็เท่ากับว่าครู - อาจารย์ผู้น้ันมีส่วนร่วมใน
การทาลายสงั คมดว้ ย
3 การปกครองดแู ลความทกุ ขส์ ุขของศิษย์
ผู้เรียนเมื่ออยู่ท่ีบ้านย่อมได้รับการดูแลเอาใจใส่ความทุกข์สุขจากมารดา บิดา
หรือผ้ปู กครอง เมอ่ื มาอยู่ท่ีโรงเรียนจึงเป็นหน้าท่ีของครู - อาจารย์ทุกคนที่จะต้องดูแลเอาใจใส่
ในความทุกขส์ ขุ ของศษิ ยใ์ หท้ ่ัวถงึ เช่นเดียวกับที่ศษิ ยอ์ ย่ทู ี่บ้าน
วิธกี ารดูแลทุกข์สขุ ของศิษยเ์ ม่อื อยู่ทโ่ี รงเรียน ซงึ่ ครู - อาจารย์สามารถจะทาได้
มีวิธีการ ดงั ต่อไปนี้
3.1 ดูแลห้ามปรามตักเตือนหรือลงโทษผู้เรียนที่มีนิสัยก้าวร้าวต่อเพื่อน
เพอ่ื มิใหท้ าความเดือดร้อนราคาญแกเ่ พ่อื นผเู้ รียนด้วยกัน
3.2 ดูแลเร่ืองอาหารการกิน น้าด่ืม น้าใช้ ห้องน้า สาหรับผู้เรียนให้
สะอาดถูกสขุ อนามยั อยูเ่ สมอ
3.3 ยามเมื่อผู้เรียนปุวยไข้หรือได้รับอุบัติเหตุ ครู - อาจารย์ต้องมี
พยาบาลรักษา ซงึ่ ถา้ หากอาการเจบ็ ปวุ ยของผู้เรยี นมีมากต้องรีบแจ้งผู้ปกครองโดยด่วน
3.4 ช่วยเหลือผู้เรียนที่ขาดแคลนเส้ือผ้าเคร่ืองนุ่งห่ม หรือไม่มีอาหาร
กลางวันรับประทาน ตลอดจนผเู้ รียนทข่ี ดั สนในอุปกรณก์ ารเรยี น เป็นต้น
3.5 จัดกิจกรรมนันทนาการเพื่อให้ผู้เรียนได้พักผ่อนหย่อนใจ หรือ
เสริมสร้างสติปญั ญาตามความเหมาะสม
3.6 สอดส่องดูแลห้ามปรามตักเตือนหรือลงโทษผู้เรียน ท่ีมีนิสัยชอบ
ลักขโมยของเพ่อื น
อนึ่งการดูแลทุกข์สุขของผู้เรียนจะบังเกิดผลอย่างสมบูรณ์จะต้องอาศัยการ
ประสานสมั พันธ์ท่ดี รี ะหว่างบ้านกบั โรงเรยี น หรอื ระหว่างครูกับผ้ปู กครอง
4 การประเมนิ ผลความเจริญก้าวหน้าของศิษย์
การประเมินผลความเจริญก้าวหน้าของศิษย์ ถือว่าเป็นหน้าที่และความ
รบั ผิดชอบทส่ี าคัญของครู - อาจารย์อกี ประการหน่ึง ทั้งนี้เพราะถ้าหากปราศจากการประเมินผล
แล้ว ครู - อาจารย์ก็จะไม่สามารถทราบได้ว่า ศิษย์ของตนมีความเจริญก้าวหน้าหรือมีการ
พัฒนาข้ึนกว่าเดิมหรือไม่เพียงใด ดังน้ันจึงถือว่าการประเมินผลความเจริญก้าวหน้าของศิษย์
เป็นหน้าท่ีและความรบั ผดิ ชอบของครู - อาจารย์ทกุ คน ซง่ึ จะตอ้ งกระทาเป็นระยะๆ ตลอดเวลา
ทม่ี ีการเรียนการสอน
40
5 แนะแนวการศึกษาและอาชีพแก่ผู้เรยี น
เ นื่ อ ง จ า ก ผู้ เ รี ย น แ ต่ ล ะ ค น มี ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง กั น ท้ั ง ท า ง ด้ า น ส ติ ปั ญ ญ า
ความสามารถ ความถนัด และบุคลิกภาพ เมื่อเป็นเช่นนี้หากครู - อาจารย์ช่วยให้ผู้เรียนได้
ศึกษาเล่าเรียนวิชาการ หรือวิชาชพี ที่ตรงกบั ความสามารถ หรอื ความถนัดของผู้เรียนแล้ว ก็จะ
ช่วยทาให้ผู้เรียนเกิดความเจริญงอกงามอย่างเต็มที่ และประสบความสาเร็จในชีวิตค่อนข้างสูง
หน้าทขี่ องครู - อาจารย์ในดา้ นนี้ คอื การแนะแนวทางการศกึ ษาและอาชีพแก่ผเู้ รียนให้เหมาะสม
กบั ระดบั สตปิ ัญญา ความสามารถ ความถนัด และบุคลิกภาพของตนเอง
6 จัดกจิ กรรมเพื่อสง่ เสริมความเจรญิ งอกงามของศิษย์
กจิ กรรมท่ีทางโรงเรียนจัดให้แก่ผู้เรียนสามารถจาแนกออกได้เป็น 2 ประเภท
ใหญๆ่ คอื กิจกรรมการเรยี นการสอนตามหลักสูตร และกิจกรรมเสริมหลักสูตร กิจกรรมการ
เรยี นการสอนตามหลกั สูตรเป็นกิจกรรมท่ีครู - อาจารย์จดั ใหผ้ เู้ รยี นไดเ้ รียนรู้ในวิชาการต่างๆ ซึ่ง
อาจจะจัดในห้องเรียนหรือนอกห้องเรียนก็ได้ ส่วนกิจกรรมเสริมหลักสูตร เป็นกิจกรรมที่ไม่
เกี่ยวข้องกับการเรียนตามหลักสูตรในวิชาใดวิชาหน่ึงโดยเฉพาะ แต่เป็นกิจกรรมท่ีมีส่วน
สนับสนุนความเจริญงอกงามของผู้เรียนในหลายๆ ด้าน เช่น กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี
ยุวกาชาด รกั ษาดินแดน การแขง่ ขนั กฬี าภายใน และการอยคู่ ่ายพักแรม เปน็ ตน้
กิจกรรมต่างๆ ดังกล่าวจะดาเนินไปด้วยความเรียบร้อย และบังเกิดผลดีแก่
ผู้เรียนอย่างเต็มท่ี ก็ต่อเมื่อได้รับความร่วมมืออย่างจริงจังระหว่างเพ่ือนครู - อาจารย์ด้วยกัน
ดงั นน้ั ครู - อาจารย์ทุกคนในโรงเรยี นจะต้องถือว่าเป็นหน้าท่ี และความรับผิดชอบร่วมกัน เพ่ือ
ความเจริญงอกงามของศษิ ย์
7 ปฏิบตั ิงานในหน้าท่ีได้รบั มอบหมายใหส้ าเรจ็ เรียบร้อยและมคี ุณภาพ
งานในหนา้ ท่ีหมายถึง งานที่ครู - อาจารย์ต้องกระทาเป็นประจาควบคู่กับงาน
สอน เช่น งานตรวจสมุดแบบฝึกหัดของผู้เรียน ทาบัญชีเรียกช่ือ สมุดประจาชั้น สมุด
ประจาตวั ผเู้ รียน และระเบียนผู้เรียน เป็นตน้ ส่วนงานท่ีไดร้ ับมอบหมาย หมายถงึ งานใดๆ ก็
ได้ท่ีผู้บริหารมอบหมายให้กระทา เมื่อได้รับมอบหมายแล้วต้องถือว่าเป็นหน้าท่ี และความ
รับผิดชอบซึ่งต้องกระทางานน้นั ให้สาเร็จอย่างมีคุณภาพทกุ คร้งั
8 ดูแลสอดส่องปูองกันภัยพิบัติมิให้บงั เกดิ แกท่ รพั ย์สินของโรงเรยี น
ทรัพย์สินของโรงเรียน คือ ทรัพย์สินของทางราชการ หรือของส่วนรวมซึ่ง
ได้มาจากภาษีอากรของประชาชนท้ังประเทศ ครู - อาจารย์ท่ีทาการสอนอยู่ในโรงเรียนใดก็
เปรยี บเสมอื นเจ้าของโรงเรียนน้ัน ดังน้ันจึงเป็นหน้าท่ีและความรับผิดชอบของครู - อาจารย์ใน
โรงเรียนน้ันๆ ทุกคน ท่ีจะต้องช่วยกันรักษาทรัพย์สินทุกอย่างของโรงเรียนให้อยู่เป็นปกติ
เช่นเดียวกับทรัพยส์ นิ ของตนเอง
41
9 สร้างสมรรถภาพทางวชิ าการให้แก่ตนเองอยา่ งสม่าเสมอ
หน้าท่ีของครู - อาจารย์ในด้านน้ี ถือว่าเป็นหน้าท่ีและความรับผิดชอบต่อ
ตนเองด้วย กล่าวคือ ครู - อาจารย์ทุกคนต้องราลึกอยู่เสมอว่า วิชาชีพครูเป็นงานท่ีต้องใช้
ความรู้เป็นเครื่องมือสาหรับสอนคน หากเคร่ืองมือเก่าหรือล้าสมัยและไร้คุณภาพ ผลผลิตคือ
ความเจริญงอกงามของศิษย์ก็ด้อยคุณภาพด้วย ดังน้ันแม้ว่าครู - อาจารย์ทุกคนจะศึกษาเล่า
เรียนจนสาเร็จปริญญาจากสถาบันอุดมศึกษาใดๆ ก็ตาม ก็หาเป็นการเพียงพอไม่ แต่จะต้อง
ศึกษาค้นคว้าพัฒนาตนเองอยู่เสมอ เพราะความรู้ที่ได้จากการศึกษาเล่าเรียนนั้น บางสิ่ง
บางอยา่ งอาจจะนามาใช้ในสถานการณจ์ ริงไม่ได้ เพราะล้าสมัยหรือไม่ทันกับความเปลี่ยนแปลง
ทางเทคโนโลยี และความเปล่ยี นแปลงของสงั คมท่ีเกิดขน้ึ ตลอดเวลา
10 รักษาวนิ ยั และประพฤติตนใหเ้ ป็นแบบอยา่ งที่ดแี ก่ศิษยแ์ ละบคุ คลทัว่ ไป
หน้าที่และความรับผิดชอบของครู - อาจารย์ในด้านนี้ ถึงแม้ว่าจะไม่เก่ียวข้อง
กับการเรียนการสอนโดยตรง แตก่ ม็ ีผลตอ่ การส่งั สอนอบรมศิษย์ในทางอ้อม ท้ังน้ีเพราะถ้าหาก
ครู - อาจารย์คนใดเป็นผู้มีพฤติกรรมหรือความประพฤติเสื่อมเสีย ไม่เป็นที่ศรัทธาเลื่อมใสของ
ศษิ ยแ์ ละประชาชนทวั่ ไปแล้ว การจะส่งั สอนอบรมส่ิงใดๆ แก่ศิษย์ ก็เกือบจะไร้ประโยชน์ ศิษย์
ขาดความเช่ือถือไม่เคารพยาเกรง นอกจากนี้การทีค่ รปู ระพฤติไม่เหมาะสมด้วยพฤติกรรมใดๆ ก็
ตามยอ่ มทาใหช้ ่ือเสยี งเกียรตคิ ณุ ของตนและสถาบนั วชิ าชพี ครูต้องพลอยเสื่อมเสียไปด้วย ดังนั้น
การรักษาวินัยและประพฤติตนให้เป็นแบบอย่างที่ดีแก่ศิษย์และประชาชนท่ัวไป จึงเป็นหน้าท่ี
และความรบั ผดิ ชอบของครู - อาจารย์ทุกคนตอ้ งตระหนกั อยเู่ สมอ
ปราณี บุญชุ่ม (2546) ได้กล่าวถึงบทบาทของครูท่ีมีต่อการปฏิรูปการศึกษาตาม
พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พุทธศกั ราช 2542 ว่า ครมู หี น้าทต่ี ้องทาหลายอยา่ ง ดังนี้
1 พัฒนาหลักสูตรเพ่ือใช้ในโรงเรียนให้สอดคล้องกับท้องถ่ิน ครูจาเป็นต้อง
ศกึ ษาหลกั สูตร กรอบความคดิ ของหลักสูตร คู่มือกลุ่มวิชาชีพท่ีครูรับผิดชอบ และจัดกิจกรรม
พัฒนาผู้เรียน รวมท้ังศึกษาคู่มือการบริหารการจัดการหลักสูตร คู่มือครู คู่มือสื่อการเรียน
คู่มือการวัดและการประเมินผล ตลอดจนสภาพปัญหาปัจจุบัน และท่ีสาคัญครูจะต้องจัดทา
แผนการสอนรายวิชาที่ครูรับผิดชอบ หรือบูรณาการให้เป็นชุดการเรียน ให้ผู้เรียนได้ร่วมสร้าง
งานอย่างมีประสทิ ธภิ าพ พรอ้ มทั้งจดั ทาสอ่ื อปุ กรณ์ และวธิ ปี ระเมนิ ผลที่เหมาะสม
2 จดั กระบวนการเรยี นรใู้ ห้สอดคลอ้ งกับหลักสูตร และเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
ครตู ้องจดั กระบวนการเรยี นร้ทู ่ีสง่ เสริมใหผ้ ูเ้ รียนได้พัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพให้
ผเู้ รียนมีทกั ษะในการแสวงหาความรู้จากแหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลาย ในการจัดกระบวนการ
เรยี นรใู้ ห้คานงึ ถงึ ประโยชน์สูงสุดของผู้เรียน โดยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้มาก
ที่สุด ได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ได้คิดเอง ปฏิบัติเอง และมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลหรือ