42
แหล่งเรยี นรู้ท่หี ลากหลาย จนสามารถสรา้ งองคค์ วามรู้ด้วยตนเองและนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ใน
การดารงชีวิตได้ โดยครูเป็นผู้วางแผนร่วมกับผู้เรียน จัดบรรยากาศให้เอ้ือต่อการเรียนรู้
กระตุ้น ท้าทาย ให้กาลังใจ ช่วยแก้ปัญหาและช้ีแนะแนวทาง การแสวงหาความรู้ที่ถูกต้อง
ให้แก่ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ซึ่งวิธีการที่จะก่อให้เกิดประสิทธิภาพน้ัน ครูควรวางแผนในการ
ดาเนินงาน ดงั น้ี
2.1 สารวจความต้องการของผู้เรียน โดยการซักถาม สังเกต สัมภาษณ์
หรอื ทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น เพื่อกระตนุ้ ความสนใจ
2.2 การเตรียมการ ครูต้องมีความเข้าใจเน้ือหาสาระของหลักสูตรและ
จุดประสงค์ของการเรยี นรู้ เพ่อื การวางแผนจดั กระบวนการเรียนรูใ้ หม้ ีความตอ่ เนื่องเชื่อมโยงกัน
และถ้าเป็นไปไดค้ วรเช่ือมโยงและบูรณาการการสอนสาระการเรียนรู้แต่ละวิชาท่ีสัมพันธ์กันเข้า
ด้วยกัน เพื่อจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตจริง และให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จาก
ประสบการณ์จรงิ ให้มากท่ีสุด ท้ังนี้ครูต้องเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม กาหนดกิจกรรมตาม
ความสนใจและถนัด นอกจากน้ีครูต้องเตรียมแหล่งข้อมูลท้ังท่ีเป็นส่ือการเรียน ใบความรู้
ใบงาน และวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ครูต้องสารวจแหล่งเรียนรู้ต่างๆ เช่น ห้องสมุดประชาชน
พิพิธภัณฑ์ อุทยาน วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เป็นต้น เพ่ือจะได้แนะนาให้ผู้เรียนได้ไป
ศึกษาค้นควา้ เพม่ิ เตมิ
2.3 การดาเนนิ การจัดการเรยี นการสอนประกอบด้วย
2.3.1 ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ครูควรใช้การตั้งคาถามเพื่อท้าทายหรือ
กระตนุ้ ให้ผู้เรยี นสงสัยใคร่รู้ ครูควรทาให้ผู้เรียนรู้สึกว่าครูคือเพ่ือนช่วยเหลือเขาได้ทุกเร่ือง ครู
ต้องรู้จักผู้เรียนเป็นรายบุคคลเป็นอย่างดี เพ่ือดึงดูดให้ผู้เรียนเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมการ
เรียนอย่างกระตอื รอื รน้ และเตม็ ใจ
2.3.2 ขั้นจัดการเรียนการสอน ครูเป็นบุคคลสาคัญในการจัดการ
เรียนการสอน โดยส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ ครูต้องจัด
กิจกรรมและสร้างบรรยากาศท่สี ง่ เสรมิ ความสามารถในการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยนาส่ือมาใช้ให้
หลากหลายเหมาะสมกับเน้ือหาและความสนใจของผู้เรียน ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเสนอ
กิจกรรมและลงมือปฏิบัติจริงทุกขั้นตอน ผู้เรียนสามารถสรุปความรู้ด้วยตนเองทั้งให้ผู้เรียนมี
ปฏิสัมพันธ์กับท้ังสมาชิกภายในกลุ่ม และสมาชิกระหว่างกลุ่ม เพ่ือให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิธีการ
แสวงหาความรู้
การเรียนการสอนไมจ่ าเป็นตอ้ งอยใู่ นหอ้ งเรยี นเสมอไป เพราะอาจจะ
ทาให้เกิดความเบ่ือหน่าย ครูควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้สัมผัสส่ิงแวดล้อมภายนอกห้องเรียน
ผูเ้ รียนจะไดร้ สู้ กึ ผ่อนคลาย สนกุ สนานและเรียนรู้ไปพร้อมกนั
43
2.3.3 ข้ันวเิ คราะห์ อภิปรายผลงาน ครูและผู้เรียนร่วมกันอภิปราย
ผลที่เกิดจากการจัดการเรียนการสอน โดยเน้นให้ผู้เรียนค้นพบองค์ความรู้โดยตนเอง ส่วนครู
เป็นผู้สังเกตและเสริมความรู้ให้ครบองคค์ วามรู้
2.4 การประเมินผลสาเร็จของการจัดกระบวนการเรียนรู้ท่ีผู้เรียนสาคัญ
ที่สุดน้ันเป็นการประเมินซึ่งมุ่งเน้นผลท่ีเกิดกับผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยครูต้องศึกษาให้เข้าใจใน
พระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พทุ ธศกั ราช 2542 ในสาระการประเมนิ ผลที่เกี่ยวข้องกับการ
พฒั นาการเรียนของผ้เู รยี นและตรวจสอบว่ากระบวนการเรียนรู้ได้พัฒนาผู้เรียนตามจุดประสงค์
การเรยี นรทู้ กี่ าหนดไว้หรอื ไม่ อีกทัง้ ผลการเรยี นยงั เปน็ ตัวบง่ ช้ปี ระสิทธิภาพการสอนของครูด้วย
การจดั และการประเมนิ ผลการเรียนรู้ทเ่ี น้นผเู้ รียนเป็นสาคัญต้องวัดและประเมินผลให้ครอบคลุม
ทุกด้าน
2.5 การสรุปและการนาไปประยุกต์ใช้ เป็นขั้นของกระบวนการเรียนรู้
รายบคุ คล ผู้เรียนแต่ละคนจะเกิดการมองสง่ิ ตา่ งๆ อยา่ งเช่ือมโยง หยง่ั รู้เกิดการค้นพบตัวเองว่า
มีความสามารถ มีจุดเด่นจุดด้อยทางด้านใด ซ่ึงสิ่งต่างๆ เหล่าน้ีจะเกิดข้ึนกับผู้เรียนหลังจากที่
เขาได้ผ่านการจัดการเรียนการสอนและการแสดงออกตามกระบวนการดังกล่าวข้างต้น ซ่ึง
พิจารณาไดจ้ ากการหาขอ้ สรุปจากบทเรยี น โดยมคี รเู ป็นผ้ชู ้ีแนะเพิ่มเติม การแลกเปล่ียนวิธีการ
เรียนรู้ การแสดงผลงาน การจัดนิทรรศการ การแสดงออกในลักษณะละคร การนาเสนอข้อ
ค้นพบ การปรับตัวเองของผู้เรียน เช่น การปรับปรุงบุคลิกภาพ การเข้ากับคนอ่ืนได้ การ
เข้าใจผู้อื่น การเห็นอกเห็นใจผู้อ่ืนในสถานการณ์ต่างๆ การเคารพสิทธิผู้อื่น ตลอดจนการ
สรา้ งสรรคใ์ หม่ๆ ทจ่ี ะเกิดประโยชน์ต่อสังคม ชุมชน และการดารงชีวติ ประจาวัน
3 ดาเนินการวัดและประเมินผลทีห่ ลากหลาย โดยเน้นการวัดและประเมินผล
ตามสภาพจรงิ มีแนวปฏิบตั ดิ ังน้ี
3.1 กาหนดมาตรฐานการเรียนรู้สาหรับกลุ่มวิชาต่างๆ ในแต่ละช่วงช้ัน
ตามมาตรฐานการเรียนร้ชู ว่ งช้นั
3.2 จดั กิจกรรมการเรียนการสอนตามมาตรฐานการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียน
มผี ลการเรยี นรู้ตามท่คี าดหวงั
3.3 กาหนดแนวทางวิธีปฏิบัติในการประเมินผลของสถานศึกษาให้
ครอบคลุมสง่ิ ตอ่ ไปน้ี
3.3.1 การประเมินผลเพ่ือพัฒนาผู้เรียนท่ีควบคู่ไปกับการเรียนการ
สอน
3.3.2 การประเมินการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มวิชารายปี
เมื่อสน้ิ ปี หรอื มาตรฐานการเรียนรรู้ ายภาค
44
3.3.3 การประเมินผลเพอ่ื ตัดสินผลการเรียน
3.3.4 การจัดกจิ กรรมซ่อมเสรมิ
3.3.5 การทาเอกสารประเมินผล และรายงานผลการเรยี น
4 พฒั นาการเรียนรขู้ องผู้เรียนดว้ ยการทาวิจัย โดยนากิจกรรมและเทคโนโลยี
ทางการศึกษามาใช้ ครูควรดาเนินการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมส่ือเทคโนโลยีเพื่อใช้ในการ
พฒั นาการเรียนรู้ของผเู้ รยี นด้วยการคดิ คน้ วิธีการสอน การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน
4.1 การคิดค้นวิธีการสอน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหม่ๆ
หลากหลาย
4.2 วางแผนพฒั นาหลกั สตู รการเรยี นการสอน
4.3 ผลิตคิดคน้ ส่ือเทคโนโลยี ทนั สมยั เร้าใจ
4.4 ประเมินผลหลักสูตรและการเรยี นการสอน
นอกจากน้ี ครคู วรทาวจิ ัยในช้ันเรียน โดยการประเมนิ ผลการเรียนและสารวจ
ปัญหา คดิ ค้นวธิ ีการแกป้ ญั หา
5 จัดสภาพแวดล้อมและแหล่งการเรียนรู้ให้เอ้ือต่อการเรียนรู้เพ่ือให้ผู้เรียน
สามารถคน้ ควา้ หาความร้ไู ดด้ ว้ ยตนเองทง้ั ใน และนอกสถานที่ มแี นวปฏิบตั ิดังนี้
5.1 จัดสภาพแวดล้อมทเ่ี หมาะสมกบั การเรยี นในสถานศึกษา
5.1.1 ร่วมมือกับสถานศึกษาจัดแหล่งเรียนรู้ ไม่ว่าจะเป็น
สภาพแวดล้อม สื่อการเรยี น หรือบรรยากาศในการเรยี น เพือ่ ใหเ้ อือ้ ต่อการเรียนรู้
5.1.2 วางแผนการจัดกิจกรรมกระตุ้นให้ผู้เรียนคิดวิเคราะห์
แก้ปัญหา ครูช้ีแนะวิธีวางแผนปฏิบัติงาน ลงมือปฏิบัติค้นคว้าจากส่ือและแหล่งเรียนรู้ใน
สถานศึกษา
5.1.3 เชิญบุคลากรจากชุมชน หรือบิดามารดาร่วมจัดกิจกรรมให้
ความรแู้ ละสนับสนุนการศกึ ษาของผ้เู รียน
5.1.4 ติดตามประเมินผล และสรุป เพ่ื อนาผลปรับปรุงให้มี
ประสิทธิภาพ
5.2 จัดแหล่งเรยี นรู้ภายนอกสถานศกึ ษา
5.2.1 สารวจและจัดหาข้อมูลแหล่งการเรียนรู้ในชุมชนเพื่อให้เป็น
แหล่งการเรียนรู้ที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ เช่น ห้องสมุดประชาชน หอศิลป์ สวนสัตว์
สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร์ อทุ ยานวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีในชุมชน ศูนย์การกีฬา
นนั ทนาการ สถาบันศาสนาและองคก์ รวิชาชพี ฯลฯ
45
5.2.2 ประสานความร่วมมือกับองค์กร ภาครัฐ เอกชน ชุมชนและ
ผ้ปู กครอง ศกึ ษาคน้ ควา้ จากแหล่งข้อมลู ในชุมชน และเรียนรู้ภูมิปัญญาไทยเพื่อให้ผู้เรียนได้รับ
ประสบการณต์ รง และนาไปใชใ้ นชวี ิตประจาวนั
6 ปลูกฝังคุณธรรมและคุณลักษณะนิสัยที่พึงประสงค์ เพ่ือให้อยู่ในสังคมได้
อย่างมคี วามสุขท้งั ในชีวติ ประจาวัน และการแสวงหาความรตู้ ลอดชีวติ ครูควรปฏิบตั ิดังน้ี
6.1 เตรียมการสอนท้ังด้านความรู้และทักษะกระบวนการ คือ
เตรียมการสอนในด้านเนื้อหาวิชาที่สอน เตรียมการสอนในด้านทักษะกระบวนการ บูรณาการ
สาระการเรยี นร้สู อดคล้องกบั ความสนใจของผ้เู รียน
6.2 จัดส่ิงแวดล้อมและบรรยากาศท่ีปลุกเร้า จูงใจ และเสริมแรงให้
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยใช้บทเรียนที่สนุกสนาน เป็นการจูงใจและเร้าใจให้ต้องการค้นหา
ความรเู้ พิ่มเติม จดั ช้นั เรียนสง่ เสรมิ การเรียนรู้ จัดส่ิงแวดล้อมทเ่ี อื้อต่อการเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง
6.3 เอาใจใส่ผู้เรียนเป็นรายบุคคล และแสดงความเมตตาต่อผู้เรียนอย่าง
ทว่ั ถงึ เชน่ สรา้ งปฏสิ มั พันธร์ ะหวา่ งครกู ับผ้เู รียน สังเกตปัญหาของผเู้ รียนและหาแนวทางแก้ไข
ปัญหาของผเู้ รยี น ให้ความรัก เมตตา จรงิ ใจ และอ่อนโยนตอ่ ผู้เรียนทกุ คน
6.4 จัดกิจกรรมและสถานการณ์ให้ผู้เรียนได้แสดงออกและคิดอย่าง
สรา้ งสรรคโ์ ดยเปิดโอกาสให้ผู้เรยี นไดแ้ สดงออกอย่างอิสระ จัดกจิ กรรมกระตุ้นการคิดของผู้เรียน
จัดกิจกรรมเพอ่ื ให้ผ้เู รยี นเกิดจินตนาการ จัดกิจกรรมเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงออก จัดการ
เรียนการสอนนอกสถานที่
6.5 ส่งเสริมให้ผู้เรียนฝึกคิด ฝึกทา และฝึกปรับปรุงตนเองทั้งกิจกรรม
เน้นกระบวนการที่หลากหลาย จัดกิจกรรมเน้นการปฏิบัติจริง กระตุ้นให้ผู้เรียนตั้งคาถามและ
หาคาตอบ
6.6 ส่งเสริมกิจกรรมแลกเปล่ียนการเรียนรู้จากกลุ่ม โดยจัดกิจกรรมให้
ผเู้ รียนได้ทางานเป็นทมี ฝึกผู้เรียนให้ถามตอบตรงประเด็น พร้อมท้ังรับฟังข้อมูลย้อนกลับของ
ผเู้ รยี น
6.7 พยายามปลูกฝังลักษณะนิสัยสาคัญๆ ให้เกิดข้ึนในตัวผู้เรียน เช่น
ความตรงต่อเวลา การเป็นคนที่ทาสิ่งใดอย่างจริงจัง ความขยันหม่ันเพียร มานะอดทน การ
ทางานหนัก ความรักงาน นอกจากนี้กิจกรรมการเรียนการสอนทุกอย่างควรท่ีจะได้มุ่งปลูกฝัง
ลกั ษณะนิสยั ต่างๆ ดงั กล่าวแลว้ ดว้ ย
6.8 ฝึกฝนกริ ิยามารยาทและวนิ ยั ใหก้ ับผู้เรียนโดยปฏิบัติตนเป็นแบบอย่าง
ที่ดีให้กับผู้เรียน จัดสถานการณ์จาลองให้ผู้เรียนใช้หลักคุณธรรมในการแก้ปัญหา จัดกิจกรรม
46
ต่างๆ บูรณาการกบั ศาสนา ศิลปะ วฒั นธรรม ดนตรแี ละกฬี า ฝึกวินัย มารยาท และปลูกฝัง
ความเป็นประชาธปิ ไตยใหก้ ับผู้เรียน
6.9 สังเกตและประเมินพัฒนาการของผู้เรียนอย่างต่อเน่ือง ประเมินการ
เรยี นรขู้ องผู้เรียนโดยตลอด ประเมนิ วิธีการทางานของผู้เรยี นควบคกู่ ับผลงาน จัดทาแฟูมบันทึก
ลักษณะนสิ ยั ของผู้เรยี น
7 พฒั นาตนเองใหเ้ หมาะสมกับมาตรฐานวิชาชีพครู มีแนวปฏบิ ตั ดิ ังน้ี
7.1 ครูควรรู้ลึกซ้ึงในศาสตร์สาระที่ตนรับผิดชอบ รู้กว้าง รู้ไกล ควรมี
ความรู้และสามารถเช่ือมโยงถ่ายทอดความรู้แก่คนอื่นๆ ได้ดี มีความสาคัญในการเสริมสร้าง
คณุ คา่ ความสาเรจ็ ในอาชีพตน คุณสมบัติเช่นน้ีสามารถสร้างข้ึนได้จากการอ่าน ดู ฟัง สังเกต
ศึกษา และวเิ คราะห์ ไตรต่ รอง โดยเฉพาะปจั จบุ นั ทเี่ ป็นยุคข้อมลู ข่าวสารแพรห่ ลายมากมาย
7.2 ครูควรศึกษาค้นคว้าหาความรู้เพ่ือพัฒนาตนเอง สร้างผลงานทาง
วิชาการและเผยแพร่ผลงานดังกล่าว รวมท้ังการเข้าร่วมกิจกรรมทางวิชาการต่างๆ เช่น การ
ประชมุ อบรม สัมมนา เป็นตน้
7.3 คิดค้น ผลิต และปรับปรุงส่ือการเรียนการสอน และเปิดโอกาสให้
ผ้เู รียนมีสว่ นรว่ มในการผลติ คดิ คน้ สอ่ื เหลา่ นั้น
7.4 ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างท่ีดี เช่น การแสดงออก การปฏิบัติ การ
แต่งกายสุภาพเรียบร้อยเหมาะสมกับกาลเทศะ ใช้วาจาสุภาพ ประพฤติตนเรียบร้อย เมตตา
กรณุ าศษิ ย์ รับผิดชอบปฏิบัตงิ านอยา่ งแข็งขัน
7.5 ร่วมมือในการทางานกับผู้อ่ืนในสถานศึกษาอย่างสร้างสรรค์ น่ันคือ
ยอมรับฟังความคดิ เห็นผูอ้ น่ื ช่วยเหลอื เพ่อื นร่วมงานด้วยความเต็มใจ และรวมทั้งให้การร่วมมือ
ในการทางานรว่ มกับบุคคลอ่ืนนอกสถานศึกษา เชน่ ยอมรบั ฟังความคดิ เห็นและร่วมปฏิบัติงาน
กับผอู้ นื่ ในชมุ ชน เป็นผู้นาในการวางแผนพัฒนาชุมชนอย่างสร้างสรรค์ โดยคานึงถึงประโยชน์
สว่ นรวม
7.6 ครูควรใจกว้างน้อมรับการเสนอแนะ คาติชม และความคิดเห็น
แตกต่างหลากหลายทั้งจากผู้บริหาร เพื่อนร่วมงาน ผู้ปกครอง และโดยเฉพาะผู้เรียน แล้ว
พจิ ารณาข้อแนะนานั้นๆ อย่างใจเป็นกลาง การจะสร้างหรืออบรมลูกศิษย์ของตนให้มีคุณภาพ
เปน็ กาลังของสังคมต่อไปนั้น จาเป็นต้องดาเนินการตั้งแต่ผู้เรียนในช้ันต้นๆ และทุกช่วงวัยโดย
ผา่ นกระบวนการต่างๆ ท่ีสร้างความคิด และการฝึกฝนปัญญาความรู้ ทั้งความรู้จากตารา ส่ือ
การสอน ความรจู้ ากสง่ิ แวดลอ้ มและสงั คม ผู้ใหญ่ควรใจกว้างเปิดโอกาสให้ผู้เรียนกล้าคิด กล้า
พดู และกลา้ แสดงออกในทางทไี่ ม่เปน็ พิษเปน็ ภยั แกต่ นและคนอื่นๆ
47
7.7 ครูต้องศรัทธาและภูมิใจในอาชีพที่มีเกียรติของตน เพราะถ้าครูมี
ความภมู ิใจในอาชีพของตนก็จะทางานได้อย่างมีความสุข และเต็มศักยภาพ นอกจากนี้ครูควร
พจิ ารณาการปรับปรุงตนเอง และอาชีพใหก้ ้าวหนา้ อยู่เสมอ ยึดมั่นในคุณธรรม ศีลธรรม และ
จรรยาบรรณของอาชีพ ทาตนให้เป็นที่เคารพเล่ือมใสศรัทธาของลูกศิษย์และบุคคลทั่วไป
ความสาเรจ็ ของครใู นการจดั การศกึ ษาคอื ความสาเร็จของชาตแิ ละสงั คมไทยท่ีพึงประสงค์ แม้ครู
จะเป็นเพียงหน่วยงานเล็กๆ แต่ก็เป็นพ้ืนฐานการขับเคลื่อนท้ังระบบท่ีสาคัญ หากพ้ืนฐานดี
การขับเคล่อื นไปขา้ งหนา้ ก็จะกา้ วไปได้อย่างรวดเร็วมากข้ึน
หน้าท่ีตามมาตรฐานกาหนดตาแหน่งข้าราชการครู (สานักงานเลขาธิการคุรุสภา,
2530 อ้างถึงใน สุนีพร รัฐการวิวัฒน์, 2549) ซึ่งคุรุสภาได้วางมาตรฐานกาหนดตาแหน่ง
ขา้ ราชการครูในสว่ นท่เี กีย่ วกบั หนา้ ท่คี วามรับผดิ ชอบไว้ 6 ข้อ ดังน้ี
1 ปฏิบัติเกี่ยวกับการเรียนการสอน การอบรม การปกครองดูแลให้
คาแนะนาและแนะแนวทางต่างๆ
2 ศึกษาวจิ ยั วเิ คราะหข์ อ้ มลู ทเี่ กี่ยวกับการเรียนการสอน
3 ใหบ้ ริการแกส่ ังคมในดา้ นวชิ าการและดา้ นอ่ืนๆ
4 นเิ ทศในสาขาวิชาท่ีรบั ผดิ ชอบ
5 ช่วยงานธุรการและงานบรกิ ารของสถานศึกษา
6 ปฏิบตั หิ นา้ ท่ีอื่นๆ ตามท่ีไดร้ ับมอบหมาย
หนา้ ทีต่ ามจรรยาและวินยั ข้าราชการครู
1 หน้าท่ีตามจรรยาและวนิ ัยข้าราชการในพระราชบัญญัติข้าราชการพลเรือน
พ.ศ. 2518 มาตรา 65 ถึงมาตรา 81 มคี วามสรปุ โดยดังนี้
1.1 มาตรา 65 ต้องรักษาวนิ ัยโดยเครง่ ครดั อยู่เสมอ
1.2 มาตรา 66 ต้องสนับสนุนการปกครองระบอบประชาธิปไตยตาม
รัฐธรรมนญู ดว้ ยความบริสุทธิใ์ จ
1.3 มาตรา 67 ต้องปฏิบัติหน้าท่ีราชการด้วยความซื่อสัตย์ สุจริตและ
เทยี่ งธรรม
1.4 มาตรา 68 ต้องสนับสนุนนโยบายของรัฐบาล ต้ังใจปฏิบัติหน้าที่
ตามกฎหมาย ระเบยี บของทางราชการ และมติคณะรัฐมนตรี
1.5 มาตรา 69 ต้องสนใจและรับทราบเหตุการณ์เคล่ือนไหวอันอาจเป็น
อนั ตรายต่อประเทศชาติและตอ้ งปูองกันภยันตรายซ่งึ จะบังเกดิ แกป่ ระเทศชาติ
1.6 มาตรา 70 ตอ้ งรกั ษาความลับของทางราชการ
48
1.7 มาตรา 71 ต้องปฏิบัติตามคาส่ังของผู้บังคับบัญชาซ่ึงส่ังในหน้าที่
ราชการโดยชอบดว้ ยกฎหมายและระเบยี บของทางราชการ
1.8 มาตรา 72 ต้องปฏิบัติราชการ โดยมิให้เป็นการกระทาการข้าม
บงั คบั บญั ชาเหนอื ตน
1.9 มาตรา 73 ต้องไม่รายงานเท็จตอ่ ผบู้ ังคับบัญชา
1.10 มาตรา 74 ตอ้ งถือและปฏิบัติตามระเบียบและธรรมเนียมของทาง
ราชการ
1.11 มาตรา 75 ต้องอุทิศเวลาของตนให้แก่ทางราชการ จะละท้ิงหรือ
ทอดทงิ้ หน้าทรี่ าชการมิได้
1.12 มาตรา 76 ต้องสุภาพเรียบร้อย รักษาความสามัคคีระหว่าง
ขา้ ราชการและชว่ ยเหลือซ่ึงกันและกนั
1.13 มาตรา 77 ตอ้ งสภุ าพเรียบร้อย ต้อนรับให้ความสะดวกความเป็น
ธรรมและใหส้ งเคราะห์แก่ประชาชนท่มี าติดต่อ ไมด่ หู มิ่น กดข่ขี ่มเหงราษฎร
1.14 มาตรา 78 ต้องไม่กระทาหรือยอมให้ผู้อื่นกระทาการหา
ผลประโยชน์อนั จะทาให้เสียความเทีย่ งธรรมและเสียเกยี รติศกั ด์ิของตาแหนง่ หนา้ ท่ี
1.15 มาตรา 79 ตอ้ งไม่เปน็ กรรมการผู้จัดการ หรือตาแหน่งที่มีลักษณะ
คล้ายคลึงกนั ในหา้ งหุ้นสว่ นหรอื บริษัท
1.16 มาตรา 80 ต้องไมเ่ ป็นกรรมการพรรคการเมืองหรือเจ้าหน้าที่พรรค
การเมือง
1.17 มาตรา 81 ตอ้ งไม่กระทาการอนั ไดช้ ื่อวา่ เปน็ ผู้ประพฤตชิ ่ัว
2 หน้าที่ตามระเบียบคุรุสภา ว่าด้วยจรรยามารยาทและวินัยตามระเบียบ
ประเพณีของครู พ.ศ. 2539
3 หนา้ ทีต่ ามจรรยาครู
หนา้ ทค่ี รตู ามแนวหลักการศกึ ษาซ่งึ ไดจ้ าแนกหน้าท่ขี องครไู ว้ดังต่อไปน้ี คือ
1 หนา้ ทใ่ี นการสอน
2 หน้าทใ่ี นการอบรม
3 หนา้ ทใ่ี นการแนะแนวและช่วยเหลอื
4 หนา้ ท่ีในการปกครอง
5 หน้าทีใ่ นการจูงใจและปลูกฝังเจตคติ ค่านิยมและคุณธรรมตา่ งๆ
49
หน้าท่ีครดู ้านจริยศกึ ษา มดี งั ตอ่ ไปนี้
1 ครูทุกคนต้องพร้อมที่จะสอนจริยศึกษาได้ ต้องมีจริยธรรม อยู่ในตัว
ประพฤติตวั เป็นแบบอยา่ งแก่ศษิ ย์ได้
2 ครตู ้องเคารพความจรงิ มงุ่ แสวงหาความจริง เข้าถึงความจริง แล้วนาไป
สอนใหส้ อดคล้องกบั จรยิ ธรรม
3 ครูต้องทาความเข้าใจศัพท์ และถ้อยคาท่ีใช้ และเก่ียวข้องกับคุณธรรม
จรยิ ธรรม เพอ่ื จะไดน้ าไปใชส้ อนใหถ้ กู ตอ้ งเหมาะสม
4 ครูตอ้ งร้จู ักคิด รูจ้ ักทาตนเป็นมิตรท่ีดี หรือกลั ยาณมิตร
5 ครูตอ้ งสอนจริยศกึ ษาด้วยการปฏิบัติและให้ผู้เรยี นเหน็ ตัวอยา่ ง
6 ครูต้องวดั ผลและประเมนิ ผลการสอนอยู่เสมอ โดยการสังเกตผเู้ รียน
จุฑา บุรีภกั ดี (2547) ไดก้ ล่าวถงึ หน้าทขี่ องครไู วด้ ังน้ี
1 ทาบญั ชีเรยี กชอื่
2 ทาสมดุ ประจาชัน้ และทะเบยี นประวัติผเู้ รียน
3 ทาสมุดรายงานประจาตัวผู้เรยี น
4 ทารายงานผลการเรียน
5 สอนและเตรยี มการสอน
6 ตรวจงานของผู้เรียน
7 ปกครองผเู้ รียน
8 ควบคุมชั้น
9 อบรมและสัง่ สอนผเู้ รียน
10 จดั ห้องเรียนใหม้ ีบรรยากาศสง่ เสรมิ การเรยี น
11 จดั และเกบ็ เอกสารและอุปกรณ์การสอนเขา้ หมวดหมู่
12 รู้และปฏบิ ัตติ ามระเบยี บของโรงเรียน
13 ประสานงานกับครูใหญ่ ครู เพื่อนร่วมงาน คนงาน นักการภารโรง
และผ้เู ชย่ี วชาญอน่ื ๆ
14 แนะแนวผู้เรยี น และผปู้ กครอง
15 สอนซ่อมเสรมิ
16 จดั กจิ กรรมสง่ เสริมการเรยี น
17 ตรวจสุขภาพท่วั ไปและการแต่งกายของผู้เรยี นทกุ เช้า
18 ดแู ลความปลอดภยั และชว่ ยเหลือผ้เู รียนเจ็บปุวย
19 ดูแลความสะอาดเรยี บร้อยของโรงเรียนและห้องเรียน
50
20 ติดต่อกบั ผู้ปกครองและชุมชน
21 รว่ มกจิ กรรมของผู้เรียนและชุมชน
22 เป็นตวั อยา่ งท่ีดีของผูเ้ รียนและชุมชน
จากแนวทางการปฏิบัติดังกล่าวเก่ียวกับหน้าที่และความรับผิดชอบของครู พอจะ
สรุปได้ว่าหน้าท่ีความรับผิดชอบของครู ก็คือหน้าท่ีความรับผิดชอบท่ีมีต่อผู้เรียน ต่อ
สถานศึกษา ต่อเพ่ือนครู ต่อชุมชน ต่อผู้บังคับบัญชา และต่อความม่ันคงของชาติ ซึ่ง
ประกอบดว้ ยสถาบันหลกั คือ สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ โดยเฉพาะหน้าที่หลักคือ
ดา้ นการสอน การอบรมดูแล การให้คาปรึกษาแก่ผู้เรียน การประเมินผลความเจริญก้าวหน้า
ของศษิ ย์ การจัดกิจกรรมเพื่อสง่ เสรมิ ความเจริญงอกงามของศษิ ย์ ตลอดจนการประพฤติปฏิบัติ
ตนใหเ้ ป็นแบบอยา่ งท่ีดแี ก่ผเู้ รยี น ซึ่งบุคคลท่ีจะถึงพร้อมด้วยความเป็นครูจะต้องพยายามรักษา
บทบาทหน้าท่ีและความรับผิดชอบต่างๆ เหล่านี้ด้วยความสานึกด้วยความเต็มใจและประพฤติ
ปฏบิ ตั ิอย่างเครง่ ครัดเพือ่ ให้สมกบั คาวา่ “แม่พมิ พพ์ อ่ พิมพ์ของชาติ” ต่อไป
2.2.3 สมรรถนะและภาระหนา้ ที่ของครูอาชวี ศึกษา
ครูอาชีวศกึ ษามภี าระหนา้ ท่ตี ามสาขาวิชาชีพท่ีตนสังกัด และตามที่สังคมมุ่งหวังใน
อนั ทจ่ี ะถ่ายทอดศิลปะวทิ ยาวชิ าชีพ และทกั ษะเพ่ือการเขา้ สูอ่ าชีพของเยาวชน ครูอาชีวศึกษาท่ี
มีคุณภาพเท่าน้ันที่จะสามารถสร้างช่าง หรือผู้ปฏิบัติงานฝีมือหรือเทคนิคที่มีคุณภาพข้ึนมาได้
และผลผลติ สดุ ท้ายน้ันเป็นประโยชน์ต่อตวั ชา่ งเองและประเทศขาติ
สมรรถนะของครูอาชีวศึกษาน้ันย่อมประกอบด้วยความสามารถสามด้านท่ีผสม
กลมกลนื กนั อย่างเหมาะสม และอาจแตกต่างกันไปในระดับในสาขาวิชาและอาชีพที่รับผิดชอบ
คือ ความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skill) เเละเจตคติ (Attitude) สังคมแต่ละท้องถิ่นแต่ละ
ประเทศ อาจคาดหวังสมรรถนะครูอาชีวศึกษาแตกต่างกันไป บางประเทศอาจมุ่งเน้นให้ครู
อาชีวศึกษาพัฒนาตัวเองเป็นหลักใหญ่อยู่แต่ในเร่ืองของการเรียนการสอน การถ่ายทอดทักษะ
และการสรา้ งสือ่ บางประเทศอาจมงุ่ เนน้ ใหค้ รมู สี มรรถนะด้านอ่นื ๆ เพมิ่ เติม เช่น การแสวงหา
ความร่วมมือจากชุมชน การจัดองค์กรนักศึกษา การส่งนักศึกษารวมท้ังครู - อาจารย์เข้า
ปฏบิ ตั ิงานจริง (On - the - job Training) ในธุรกจิ อุตสาหกรรมทงั้ ภาครฐั และเอกชน
ครชู า่ งในอุดมคตินั้นควรจะเป็นผู้ท่ีมีความรู้ความสามารถในวิชาชีพไม่ย่ิงหย่อนกว่า
วิศวกรผู้ซ่ึงถูกเรียกว่า “นายช่าง” ดังน้ันหลักสูตรการศึกษาของครูช่างในหลายประเทศจึงเป็น
หลักสตู รผลิตวิศวกรอยา่ งเข้มข้น ผนวกเข้ากับความรู้ และทักษะเชิงครู (Pedagogy) แบบเข้ม
การผลิตบุคคลประเภทน้ีวิธีลัดจึงต้องใช้ผู้จบวิชาชีพโดยตรงบวกกับประสบการณ์ แล้วมาเติม
วิชาครูภายหลงั โดยทัว่ ไปในมุมมองของช่างด้วยกันได้ยอมรับว่า ครูช่างน้ันมีความรู้ในวิชาช่าง
แต่ไม่มน่ั ใจในความรู้เชิงครู สถาบันพัฒนาครูอาชีวะทั้งหลายจึงมักเน้นย้าสมรรถนะของครูช่าง
51
ไปทางด้านการจดั การด้านการเรียนการสอนวิชาครูอย่างเข้มข้น ดังเช่นสมรรถนะของครูช่างท่ี
พัฒนาโดยศูนย์อาชีวศึกษามหาวิทยาลัยเเห่งรัฐโอไฮโอ (The Center for VocationaI
Educationl Ohio State University) ได้สรุปสมรรถนะของครูช่างที่พึงประสงค์เอาไว้ 10 ข้อ
ดงั ตอ่ ไปน้ี (ชนะ กสิภาร์, 2530 อ้างถึงใน วีระพันธ์ สิทธพิ งศ,์ 2550)
1 การวางแผนพฒั นาและประเมินผลโครงการ
2 การวางแผนการเรียนการสอน
3 การดาเนนิ การเรียนการสอน
4 การวัดผล
5 การจัดการดา้ นการเรยี นการสอน
6 การแนะเเนว
7 การสร้างความสมั พันธ์อันดใี ห้มขี ึน้ ระหว่างสถานศึกษาและชุมชน
8 การจดั องค์การนกั ศึกษาด้านวิชาชพี
9 การดารงบทบาทในงานพฒั นาวีชาชพี
10 การประสานการจดั การศกึ ษาเเละฝึกอาชพี ร่วมกบั ภาคเอกชน
ซ่ึง ส ม ร ร ถ น ะ ใ น บ า ง ข้ อ จ ะ ส า ม า ร ถ ข ย า ย ค ว า ม เ พ่ื อ แ น ะ น า พ อ เ ป็ น ตั ว อ ย่ า ง ใ น
รายละเอยี ด ไดด้ งั น้ี
1 สมรรถนะทางดา้ นการจัดการเรียนการสอน ครูช่างควรมีสมรรถนะในการ
จัดการด้านการเรียนการสอนในเร่อื ง
1.1 การตรวจหาความตอ้ งการเเละความสนใจของนักศกึ ษา
1.2 การพัฒนาวัตถปุ ระสงค์เชงิ พฤตกิ รรม
1.3 การพฒั นาแผนการสอน
1.4 การเลอื กสอ่ื การเรียนการสอน
1.5 การเตรยี มส่ือการเรียนการสอน
2 สมรรถนะด้านการประเมินผลการเรยี นการสอน ไดเ้ เก่ทักษะในเรื่อง
2.1 การกาหนดเกณฑด์ า้ นการวัดผล
2.2 การประเมินผลด้านความรู้
2.3 การประเมนิ ผลด้านทักษะ
2.4 การตัดเกรด
2.5 การประเมินผลการสอนของครู
52
สภาอาชีวศึกษาแห่งรัฐบาลกลางสหรัฐ (The FederaI Board of VocationaI
Education) (1923 อ้างถึงใน วีระพันธ์ สิทธิพงศ์, 2550) ได้เสนอแนะเอาไว้ในปี 1923 ว่า
ครูอาชวี ศกึ ษาควรมีลักษณะดงั ต่อไปนี้
1 เปน็ ผู้มคี วามเมตตากรณุ าเห็นอกเหน็ ใจนกั ศกึ ษาชาย - หญงิ
2 มคี วามคดิ อ่านท่จี ะจดั การกบั สถานการณย์ งุ่ ยากไดอ้ ย่างหลักแหลม
3 เป็นผู้มองโลกในแง่ดี มีความกระตือรือร้น มีความเช่ือมั่น และมีความ
มั่นคงในการดารงชวี ิตในสังคมท่ซี ับซอ้ นน้ี
4 เปน็ ผ้มู ีนสิ ยั ชา่ งสงั เกตเฉยี บเเหลมและมที ศั นะท่ีกว้างไกล
5 มีกิจนสิ ยั และบุคลกิ ลกั ษณะมาตรฐาน ซึ่งเปน็ ท่ยี อมรับของสังคม
ครอู าชีวศกึ ษาควรจะมสี มรรถนะเพ่ิมเติมทางดา้ น
1 ความเชยี่ วชาญในสาขาวิชาชีพท่สี อน
2 ประสบการณใ์ นการทางานในสาขาอาชพี
3 มคี วามเขา้ ใจในสภาพสงั คมเเละฐานะทางเศรษฐกจิ ของสถานศกึ ษาแหง่ น้ัน
4 มคี วามสามารถในการสอนอนั เปน็ ทักษะในอาชพี ท่ีสาคญั ย่ิง
ศนู ยว์ จิ ัยอาชวี ศึกษาสหรัฐอเมรกิ าไดเ้ สนอแนะว่าครูท่เี ชีย่ วชาญควรมี
1 ความสามารถทจ่ี ะจงู ใจนักศกึ ษา
2 มีความรแู้ ละความเขา้ ใจในจุดมงุ่ หมายของการอาชีวศกึ ษา
3 มีประสบการณ์ในทกั ษะเฉพาะของสาขาวิชาทีส่ อน
4 มีความรู้และความเข้าใจในหลกั การพืน้ ฐานของการเรยี นรู้
5 มีความสามารถท่ีจะอธิบายข้อความร้ดู ้านทฤษฎี
6 มคี วามสามารถทจ่ี ะสาธิตทกั ษะที่จะถ่ายทอด
7 มคี วามร้แู ละความเข้าใจในทฤษฎขี องวิชาสัมพนั ธ์กับสาขาทรี่ บั ผดิ ชอบ
องคก์ ารแรงงานสากล (ILO) (อ้างถึงใน วีระพันธ์ สิทธิพงศ์, 2550) ได้เสนอแนะว่า
ครูอาชีวะและเทคนิคศึกษาในสภาพปัจจุบันจะต้องมีความรู้ความเข้าใจและความตระหนักใน
เร่ือง
1 ต้องมีสมรรถนะในการพัฒนาให้ผู้สาเร็จการศึกษา มีวัฒนธรรม
อุตสาหกรรมอนั ประกอบด้วย
1.1 ความรู้ในอตุ สาหกรรมสมั พันธ์
1.2 ธรรมชาตขิ องเทคโนโลยี
1.3 การจดั การในการทางาน
1.4 การทางานเปน็ ทีม
53
1.5 วธิ กี ารพฒั นาทักษะ
2 ต้องมีความเข้าใจวา่ การพัฒนาคนเขา้ สูอ่ าชพี ประกอบไปด้วยมิติท่ีนามาใช้
ในหน้าที่และมิตินอกเหนือหน้าท่ีคือกิจนิสัยในการทางาน (Work Habit) และจริยธรรมในการ
ทางาน (Work Ethics) ท่ีสาคัญ เช่น ทักษะการจัดการปฎิบัติการ ทักษะส่ิงแวดล้อมของงาน
ทักษะการเรยี นรู้ในสถานท่ที างาน ทักษะการทางานเป็นทมี
3 ต้องมีความเข้าใจว่าจานวนอาชีพและเส้นแบ่งระหว่างอาชีพในอนาคตจะ
ลดลง
4 เข้าใจและสนบั สนุนธรรมชาติของการเรียนรู้ ซ่ึงต้องต่นื ตัวอยูเ่ สมอ
5 สนับสนุนการพัฒนาบุคลากรขององคก์ าร
6 สนับสนุนการพัฒนาการฝึกงานด้วยการทางานจริง (On - the - Job
Training) รว่ มกับองคก์ ารต่างๆ
7 จดั การเรียนการสอน การฝึก ให้เกิดความเสมอภาค เช่น จัดการศึกษา
โดยคานึงถึงคนพกิ ารทุพพลภาพ สตรี แรงงานท่ีไร้การศึกษา แรงงานสูงอายุท่ีไม่ได้รับการฝึก
อาชีพใหม่ เปน็ ตน้
8 ฝึกบคุ ลิกภาพสาหรับไปประกอบอาชพี อสิ ระ และธรุ กจิ ขนาดย่อม รวมทั้ง
ผลิตบุคลากรให้กับธุรกิจเหล่านี้โดยตรงตามที่ได้รับการร้องขอ (ILO/APSDEP, 1981 อ้างถึงใน
วีระพนั ธ์ สิทธพิ งศ,์ 2550)
บทบาทใหมข่ องครูอาชวี ศึกษา ที่ควรจะไดค้ านงึ ถึงไดแ้ ก่
1 การประสานกับระบบการศึกษาอนื่ และการฝกึ อาชพี ระดับตา่ งๆ
2 ร่วมกาหนด และพฒั นามาตรฐานการศึกษา และฝึกอาชีพของประเทศ
3 พัฒนาหลกั สูตรร่วมกบั หนว่ ยงาน เเละองคก์ รท่ีเกี่ยวขอ้ ง
4 ร่วมมือกับสถานประกอบการ จัดการศึกษาเเบบร่วมมือกัน (Cooperative
Education) ในการใหก้ ารฝึกอบรม (Training) เช่น อาชีวศกึ ษาระบบคู่ (Dual System)
5 พิจารณากาหนดการฝึกอบรมแบบสมรรถฐาน (Competency Based
Training) ร่วมกบั สถานประกอบการ
6 พัฒนาวิธีการฝึกให้นักศึกษา เพ่ือให้เกิดกิจนิสัยในการทางาน (Work
Habits) และจรรยาบรรณในอาชีพ (Work Ethics) ที่เหมาะสม
7 แสวงหาความรู้ เพ่ือให้ทันกับเหตุการณ์ และเทคโนโลยีท่ีเปล่ียนแปลงไป
จากแหล่งสารสนเทศตา่ งๆ
8 พัฒนาความเปน็ มอื อาชีพบนพ้นื ฐานของความมีวิญญาณครู และคุณธรรม
54
การพฒั นาครูชา่ ง และครูของช่างควรเนน้ การพฒั นาทางด้านต่างๆ ดังตอ่ ไปน้ี
1 ทกั ษะดา้ นเทคนคิ
2 ทักษะวิชาการศึกษา
3 ความตระหนักด้านอตุ สาหกรรมและเศรษฐกจิ
4 การพัฒนาอาชีพ
สถาบันพฒั นาอาชวี ศกึ ษาแห่งประเทศสหรัฐอเมรกิ าเสนอแนะแนวทางการพัฒนาครู
ชา่ ง เพื่อการเป็นมอื อาชีพเอาไวป้ ระกอบดว้ ยข้อเสนอแนะจานวน 20 ประการ ดังตอ่ ไปนี้
1 เปน็ สมาชกิ สมาคมวชิ าชีพ ซึง่ ถอื วา่ เป็นการลงทุนเพ่อื อนาคต
2 เข้าร่วมเปน็ คณะกรรมการทาหนา้ ทีต่ า่ งๆ เมอ่ื มปี ระสบการณ์เพ่ิมขึ้น แล้ว
จงึ รับทางานท่ีต้องรับผิดชอบมากขึน้
3 พัฒนาเปูาหมายของตนเองสาหรับงานฝึก และการสอนเมื่อเริ่มปี
การศึกษาใหม่
4 ประเมินความก้าวหน้าของตนเอง เมื่อสิ้นปีการศึกษา พิจารณาดูว่า
เปูาหมาย หรอื กิจกรรมใดทไี่ มส่ าคญั เปาู หมายใดทค่ี วรทาต่อไป
5 เขา้ รบั การฝึกอบรมและประชุมทางวชิ าการทเี่ ก่ียวกับอาชีพของตน
6 วางแผนการทางานประจาสปั ดาหซ์ ึง่ รวมท้ังงานทอี่ ยากทา และจาเป็นต้อง
ทาโดยจัดเวลาใหเ้ หมาะสม
7 อ่านวารสารวิชาชีพอย่างสม่าเสมอ
8 ติดตามผลการประชุมสัมมนาในสาขาที่สนใจ รวมทั้งเข้าร่วม
ประชมุ สมั มนาให้มากทส่ี ุดเท่าที่จะทาได้
9 จัดแฟูมเกี่ยวกับทรัพยากรการเรียนการสอน จงคานึงอยู่เสมอว่า วัตถุ
และบุคคลทเ่ี ราพบอาจเปน็ ทรพั ยากรที่เปน็ ประโยชนต์ ่อไปได้
10 เตรยี มแผนอาชีพ 5 ปี ซง่ึ จะชว่ ยจดั ลาดับความสาคญั ในการทางาน
11 พยายามศึกษาหาความรู้ เพือ่ ใหไ้ ดป้ ระกาศนยี บตั รทีส่ ูงขึ้น
12 ทาความรู้จักกับบุคคลต่างๆ เมื่อเข้าประชุมหรือฝึกอบรมทางวิชาการ
บคุ คลเหล่าน้นั จะเป็นแหลง่ ขอ้ มูลตอ่ ไป
13 พยายามถามเพอ่ื เรียนสิ่งใหมๆ่ ทุกๆ วัน
14 จัดสังสรรค์ระหว่างเพื่อนครูช่างด้วยกัน เพื่อเพ่ิมความสามัคคี และถก
ปัญหารว่ มกัน
15 ติดต่อสื่อสารกับผู้แทนของท่านเพื่อแจ้งความก้าวหน้าของสถาบันของ
ท่าน
55
16 ให้ครอบครัวมสี ว่ นรว่ มในกิจกรรม เช่น นาสามี - ภรรยาไปในงานต่างๆ
เพอื่ พาครอบครัวไปพกั ผอ่ นดว้ ยในการประชุมสมั มนาในทต่ี า่ งๆ
17 พยายามเขยี นบทความทางวิชาการ
18 เปน็ คนชา่ งสงั เกต ศึกษาจากประสบการณ์ของคนอื่น เเล้วนาสิ่งท่ีดีงาม
ของบุคคลตัวอยา่ งเหล่านนั้ มาปฏบิ ตั ติ าม
19 ศึกษาวิธกี ารบริหารเวลา พัฒนาระบบการใช้เวลาใหเ้ ปน็ ประโยชน์ให้มาก
ที่สุด
20 รับฟังการติชมเเล้วเรยี นจากขอ้ ผิดพลาดของตนเอง
(ชนะ กสิภาร์, 2530 อ้างถงึ ใน วรี ะพันธ์ สิทธพิ งศ์, 2550)
สรุปไดว้ า่ สมรรถนะของครูอาชีวศึกษาต้องประกอบไปด้วย ความรู้ ทักษะ และ
เจตคติ ซึง่ ตอ้ งมคี วามเชี่ยวชาญในสาขาวิชาที่สอน มีประสบการณ์ในการทางานในสาขาอาชีพ
มีความสามารถมารถในการสอนทางด้านทักษะ มีการพัฒนาหลักสูตรร่วมกับหน่วยงานหรือ
องค์กรท่ีเกี่ยวข้อง จัดการศึกษารว่ มกับสถานประกอบการ โดยมีการกาหนดการฝึกทักษะแบบ
ฐานสมรรถนะ พัฒนาผู้เรียนให้เกิดนิสัยในการทางาน และจรรยาบรรณในวิชาชีพที่เหมาะสม
นอกจากนัน้ ยังตอ้ งแสวงหาความรู้เพือ่ ใหท้ ันกับเหตุการณ์และเทคโนโลยีท่ีเปลีย่ นแปลงอย่เู สมอ
2.3 คณุ ลักษณะทั่วไปของครทู ดี่ ี
2.3.1 คณุ ลักษณะของครทู ี่ดี
ปัจจัยอย่างหน่ึงท่ีทาให้ผู้เรียนประสบความสาเร็จในการเรียนนั้นคือ ด้านตัวครู
เพราะครูมีบทบาทมากต่อกจิ กรรมการเรยี นการสอนในชนั้ เรยี น ในดา้ นหนา้ ที่และคุณสมบัติของ
ครูที่มผี ลตอ่ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของผูเ้ รยี นนนั้ ได้มีผู้ทส่ี นใจได้ทาการศึกษาค้นคว้าไว้มากมาย
เช่น
เฉลียว บุรีภักดี และคณะ (2520 อ้างถึงใน พิมใจ ศิริวัฒน์, 2552) ได้สรุป
ผลการวจิ ยั ลกั ษณะของครทู ่ีดี 8 ดา้ น ดงั น้ี
1 ด้านคุณธรรมและความประพฤติ มีความเท่ียงธรรม ซ่ือสัตย์สุจริต
ตรงต่อเวลา รับผิดชอบในหน้าท่ีการงาน วางตนเหมาะสม และรู้จักประเมินผลและปรับปรุง
ตนเอง
2 ด้านบุคลิกลักษณะ มีความศรัทธาในอาชีพครู ขยันขันแข็ง สุภาพ
อ่อนโยน
56
3 ด้านการเป็นพลเมืองดีในสังคมประชาธิปไตย ยึดม่ันในสถาบันชาติ
ศาสนา และพระมหากษัตรยิ ์ รจู้ กั สิทธแิ ละหนา้ ที่ของตน
4 ด้านการสอน มีความรู้ความเข้าใจในหลักสูตร รู้ถึงจุดมุ่งหมายของการ
จัดการศึกษาแห่งชาติ ใช้ภาษาได้ถกู ตอ้ ง สอนให้ผูเ้ รยี นรู้จักคิด เลือกสอื่ การสอนไดเ้ หมาะสม
5 ด้านมนุษยสัมพันธ์ สามารถปรับตัวเข้ากับบุคคลอื่นได้ดี เข้าใจในความ
แตกต่างของผ้เู รยี น เช่อื ฟังคาส่งั ของผู้บงั คบั บญั ชา และร่วมมือในการจดั กิจกรรมของโรงเรียน
6 ด้านการอบรมและแนะแนว การเป็นตัวอย่างที่ดี มีเหตุผล เข้าใจผู้เรียน
มีระเบียบวนิ ัย สามารถควบคุมผู้เรยี นใหป้ ระพฤติปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บ
7 ดา้ นวิชาการ ค้นคว้าหาความรู้อยู่เสมอนาเอาความคิดและเทคนิควิธีสอน
ใหม่ๆ มาใช้ รวมทัง้ มีความกระตือรอื ร้นในการแก้ปญั หา
8 ดา้ นสขุ ภาพทางกายและจิตใจ ปอู งกนั โรคตดิ ต่อ งดส่ิงเสพติด กล้าเผชิญ
กับความจริง
ธรี ศกั ด์ิ อคั รบวร (2545) ไดส้ รปุ ลกั ษณะท่ีดขี องครูไว้ 3 ด้าน ดังนี้
1 ภมู ิรู้ ลกั ษณะของครูท่ดี ีในด้านนี้ ไดแ้ ก่ คณุ สมบัติส่วนตัว ที่เกี่ยวข้องกับ
ความรู้ ความสามารถทางด้านวิชาการท่ีจะสอน ตลอดจนเป็นผู้ที่มีสติปัญญาดี เฉลียวฉลาด
เช่ือมั่นในตนเอง มีความคิดสร้างสรรค์ รู้จักแสวงหาความรู้ใหม่ๆ เป็นต้น ภูมิรู้ท่ีสาคัญอีก
ประการหน่ึงของครู ไดแ้ ก่ การสอนดีและปกครองดี สามารถอธิบายได้รวบรัดชัดเจน สอน
สนกุ ทาเรอ่ื งที่ยากใหง้ า่ ยได้ ควบคุมชน้ั เรียนให้อยใู่ นระเบียบวนิ ยั เป็นต้น
2 ภูมิธรรม ลักษณะของครูท่ีดีในด้านน้ี ได้แก่ การประพฤติดี เว้นจาก
อบายมุขท้ังปวง กระทาแต่สิ่งท่ีดีที่สุจริต ทั้งกาย วาจา และใจ นอกจากนี้ครูต้องมี
จรรยาบรรณและคุณธรรมสูง ซ่ือสัตย์ เสียสละ มีเมตตากรุณา ยุติธรรม และมานะอดทน
เป็นตน้
3 ภูมิฐาน ลักษณะของครูที่ดีด้านนี้ ได้แก่ บุคลิกภาพดี รูปร่างท่าทางดี
แต่งกายสะอาดเรียบร้อย พูดจาไพเราะนุ่มนวล น้าเสียงชัดเจน มีลักษณะเป็นผู้นา เป็นต้น
นอกจากน้ีครูยังต้องเป็นผู้ท่ีมีมนุษยสัมพันธ์ดี มีอัธยาศัยไมตรีกับบุคคลทุกเพศ ทุกวัย
ทกุ ชนชนั้
ลักษณะครูท่ีดีควรมีความรักและความเมตตาต่อศิษย์ มีความเสียสละหมั่นเพียร
ศึกษา ปรับปรุงวิธีการสอนเพื่อพัฒนาตนเองอยู่เสมอ ต้องมีความเข้าใจและเอาใจใส่ตัวศิษย์
ทุกคน เป็นกาลังใจและช่วยสร้างแรงบันดาลใจให้กับศิษย์ เพื่อให้เขาเป็นคนใฝุเรียนเป็น
แบบอย่างที่ดี มีจรรยาบรรณในวิชาชีพครู มีจิตวิญญาณของความเป็นครู สามารถถ่ายทอด
57
ความร้ไู ด้เปน็ อย่างดี มีวิธีการสอนท่ีหลากหลาย มีวิสัยทัศน์กว้างไกล มีความยุติธรรมยอมรับ
ฟังความคดิ เห็นของผอู้ ื่น รวมถงึ ยอมรบั และเขา้ ใจความแตกต่างของผเู้ รียนแต่ละคนดว้ ย
เฉลิมศักด์ิ นามเชียงใต้ (2544) กล่าวในบทความเรื่อง การรับรองมาตรฐานการ
สอนของครู (การประกันคุณภาพ) ว่า พฤติกรรมการสอนของครูในทุกระดับการศึกษาและทุก
วิชาที่ได้รบั มอบหมายใหร้ บั ผดิ ชอบ จะตอ้ งส่งผลให้ผู้เรียนได้บรรลุสัมฤทธ์ิตามวัตถุประสงค์ของ
หลักสูตรโดยสมบูรณ์ครบถ้วน และได้ให้ความหมายของคุณภาพของครู โดยแบ่งเป็นด้าน
คณุ ลักษณะของครู และดา้ นคุณภาพการสอน ดงั น้ี
1 คุณลักษณะของครู หมายถึง ความรับผิดชอบต่อหน้าท่ี การรักษาวินัย
มคี วามวริ ิยะอตุ สาหะ มจี รยิ ธรรม และความประพฤติ สามารถประเมนิ พฤติกรรมได้ มีตัวช้ีวัด
และสามารถประเมินพฤตกิ รรมได้
2 คุณภาพการสอน หมายถึง ความรู้ ทักษะการสอน เทคนิคการสอน
การใชส้ ่ือเทคนิค การประเมนิ ผล แนวทางปฏิบัตติ า่ งๆ ที่จะส่งผลให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการ
เรยี นตามจดุ มงุ่ หมายของหลักสตู ร
พฤติกรรมการสอนของครูเป็นการปฏิบัติโดยส่วนรวม ซึ่งเกิดขึ้นในกระบวน
การเรียนการสอนในช้นั เรยี น โดยมจี ุดม่งุ หมายทจี่ ะพัฒนาผู้เรียนท้ังในด้านความรู้ เจตคติ และ
ทักษะ ตามจุดมุ่งหมายท่ีกาหนดไว้ พฤติกรรมการสอนของครูน้ันมีความสาคัญมากเพราะมี
ความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการเรียนของผู้เรียนด้วย กองวิจัยทางการศึกษา กรมวิชาการ
(2546) กลา่ วถงึ ความสาคัญของพฤติกรรมการสอนที่ดขี องครวู ่า เปน็ สิ่งที่ช่วยผลักดันพฤติกรรม
การเรียนของผเู้ รียนใหด้ าเนินไปดว้ ยดี แสดงให้เห็นว่า ครมู ีอิทธพิ ลตอ่ พฤติกรรมของผู้เรียนเป็น
อย่างมาก นอกจากนี้ พยุงศักด์ิ สนเทศ (2531 อ้างถึงใน พิมใจ ศิริวัฒน์, 2552) ได้แสดง
ความเห็นว่า พฤติกรรมการสอนของครูที่เหมาะสม เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่ดี และสอดคล้อง
กับความต้องการ ความสนใจของผู้เรียน จะทาให้ผเู้ รียนเกิดความพงึ พอใจ รักใคร่ และศรัทธา
ในตวั ครู ซึ่งจะนาไปสู่ความมปี ระสทิ ธิภาพในการเรียนการสอน
บลมู (Bloom, 1976 อ้างถงึ ใน พมิ ใจ ศิริวฒั น,์ 2552) กล่าวถึงคุณภาพการสอนที่
ดี 15 ประการ ดงั น้ี
1 การให้ผเู้ รียนมีสว่ นร่วมในกิจกรรมอย่างเหมาะสม
2 การใหแ้ รงเสรมิ ท่ีสอดคลอ้ งกบั ผเู้ รยี น
3 การค้นหาขอ้ มูลย้อนกลับ และแกไ้ ขขอ้ บกพรอ่ ง
4 การวางแผน เตรียมการสอน และความพรอ้ มของครู
5 ผเู้ รียนมคี วามเข้าใจจดุ หมาย และขั้นตอนในการทางาน
6 การลาดบั เนอ้ื หาจากงา่ ยไปยาก
58
7 ใช้อปุ กรณ์การสอนอย่างเหมาะสม
8 การเปลีย่ นแปลงกิจกรรม
9 การใชเ้ ทคนิคการสอนทีน่ า่ สนใจ
10 การรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของผเู้ รยี น
11 การควบคุมอารมณข์ องครู
12 ความแมน่ ยาในเนอ้ื หาวชิ า และความรูใ้ นเรอ่ื งที่สอน
13 การให้ค้นคว้าเพมิ่ เติมนอกเหนือจากเรือ่ งท่เี รียนในช้นั เรยี น
14 การเน้นการปฏบิ ตั คิ วบคูก่ ับเนอื้ หาวชิ า
15 ความสามารถในการอธิบายให้ผ้เู รียนเข้าใจ
คุณลกั ษณะทดี่ ขี องครจู ากพระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ความ
ว่า "ผู้ที่เป็นครูจะต้องเป็นหน้าที่อันดับแรก ท่ีจะต้องให้การศึกษา คือ ส่ังสอนและอบรมให้
ไดผ้ ลท่ีแท้จริง ทั้งในด้านวชิ าความรู้ ทง้ั ในด้านจิตใจและความประพฤติ ท้ังต้องคิดว่างานที่แต่
ละคนกาลงั ทาอยนู่ ้ัน คอื ความเป็นความตายของประเทศ เพราะอนุชนท่ีมีความรู้ดีเท่านั้นที่จะ
รักษาบ้านเมืองไว้ได้" ครูตามแบบฉบับ มักจะมิได้เป็นผู้บริบูรณ์ด้วยทรัพย์ ด้วยยศศักดิ์
อานาจและอิทธิพลหนัก หากด้วยบริสุทธ์ิด้วยสมบัติทางคุณธรรม เช่น ความซ่ือสัตย์ สุจริต
ความเมตตาปราณี ความเสยี สละ ซง่ึ เปน็ เหตทุ าใหส้ ามารถผูกพันจิตใจผู้เป็นศิษย์ให้รักใคร่ไว้ใจ
และเคารพเชือ่ ฟังได้แน่นแฟูน และสามารถท่ีจะสั่งสอนถ่ายทอดทั้งวิชาความรู้ ท้ังจิตใจ และ
มารยาทท่ีดีให้แก่ศิษย์ได้พร้อมมูล (กาญจนา เติมประยูร, 2544 อ้างถึงใน บุดดี วุฒิเสลา,
2549)
สาโรช บวั ศรี (2515 อ้างถึงใน บุดดี วุฒิเสลา, 2549) กล่าวไว้ว่า ลักษณะของครู
ท่ดี จี ะต้องมีความรู้ ทกั ษะ เจตคติ หรอื น้าใจอนั ดงี าม ซงึ่ น้าใจอนั ดงี ามประกอบไปด้วย
1 การยกยอ่ งใหเ้ กยี รติ และนับถอื ซ่งึ กันและกนั อย่างจริงใจ
2 การช่วยเหลือแบ่งปนั ร่วมมอื ซ่ึงกันและกนั อย่างจริงใจ
3 การเขา้ ใจท่จี ะใชป้ ัญญาในการรว่ มมอื ชว่ ยเหลือกัน และแก้ปัญหาทง้ั ปวง
4 ไมน่ าความโกรธ ความโลภ และความหลงผิดเข้าปฏบิ ตั ติ ่อกัน
ส. ศิวลักษ์ (อ้างถึงใน บุดดี วุฒิเสลา, 2549) ได้เสนอข้อคิดเห็นว่า ครูที่ดีต้องมี
ลักษณะ ดังน้ี
1 มีความรใู้ นวชิ าท่ตี นสอนเปน็ อยา่ งดี
2 แสวงหาความรใู้ นเรอ่ื งทส่ี อนตลอดเวลา
3 สนับสนุนใหก้ าลังใจศิษย์ ให้เขาสนใจแสวงหาความรูอ้ ยู่เสมอ
4 ชอบวิชาท่ีสอน
59
5 มอี ารมณ์ขนั
6 มีความจาดี
7 มีพลังทางจติ ดี
8 มีความเมตตากรุณา
9 มคี วามรบั ผดิ ชอบและปลกู ฝังให้ผเู้ รียนรับผิดชอบทั้งในและนอกหอ้ งเรียน
อัจฉรา สุขารมณ์ (2527 อา้ งถงึ ใน บดุ ดี วุฒเิ สลา, 2549) ได้กล่าวว่า ลักษณะของ
ครทู ด่ี ี มดี งั น้ี
1 มีความรู้ ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ และสามารถสอนให้เกิด
ความคดิ สร้างสรรค์ รักการศึกษาหาความรู้ ตลอดจนส่งเสริมให้เกิดพฒั นาในทกุ ๆ ดา้ น
2 มีความรู้ด้านการศึกษา จิตวิทยา การวัดผลการศึกษา การแนะแนว
และเทคโนโลยที างการศึกษา
3 มีความรัก เมตตากรุณาต่อผู้เรียน และยอมรับความแตกต่างระหว่าง
บคุ คล
4 มสี ขุ ภาพจิตดี
5 เปน็ ผู้รู้จักตนเอง รู้จกั หน้าท่ี มคี วามรบั ผิดชอบ มรี ะเบียบแบบแผน และ
ปฏิบัติตามหลกั ประเพณี ศลี ธรรมอนั ดี
6 มคี วามเป็นประชาธปิ ไตย
7 ปฏิบตั ติ นเป็นตัวอยา่ งทีด่ ที ้งั ในโรงเรียนและนอกโรงเรียน
8 รักการสอน และมอี ารมณข์ ัน
9 มีความสามารถในการตดั สนิ ใจไดอ้ ย่างถกู ต้องและมีเหตุผล
10 มคี วามยตุ ิธรรม และวางตัวไดอ้ ยา่ งเหมาะสมเสมอต้นเสมอปลาย
คณุ ลกั ษณะของครูตามจรรยาบรรณของครู ซึ่งกาหนดโดยองค์กรวิชาชีพครู หรือ
คุรสุ ภา ไดก้ าหนดไวด้ งั น้ี (สานักงานเลขาธิการคุรสุ ภา, กองวชิ าชีพครู, 2541)
1 ครูต้องรักและเมตตาศิษย์โดยให้ความเอาใจใส่ช่วยเหลือ ส่งเสริมกาลังใจ
ในการศึกษาเล่าเรยี นแก่ศิษย์โดยเสมอหน้า
2 ครูต้องอบรมส่ังสอนศิษย์ ฝึกฝน สร้างเสริมความรู้ ทักษะและนิสัยที่
ถูกต้อง งดงาม ใหเ้ กิดแก่ศษิ ยอ์ ย่างเตม็ ความสามารถ ดว้ ยความบรสิ ุทธ์ิใจ
3 ครตู ้องประพฤตติ นเปน็ แบบอย่างท่ีดีแกศ่ ษิ ย์ ท้งั กาย วาจา และจิตใจ
4 ครูต้องไม่กระทาตนเปน็ ปฏิปกั ษต์ ่อความเจรญิ ทางกาย สติปัญญา จิตใจ
อารมณ์ และสังคมของศิษย์
60
5 ครูต้องไม่แสวงหาผลประโยชน์อันเป็นอามิสสินจ้างจากศิษย์ในการปฏิบัติ
หนา้ ทป่ี กติ ไมใ่ ชศ้ ษิ ยก์ ระทาการใดๆ อนั เปน็ การหาประโยชน์ให้แกต่ นเองโดยมชิ อบ
6 ครูย่อมพัฒนาตนเองทั้งในด้านวิชาชีพครู ด้านบุคลิกภาพ และวิสัยทัศน์
ให้ทนั ต่อการพฒั นาทางวทิ ยาการ เศรษฐกิจ สงั คม และการเมืองอยู่เสมอ
7 ครูย่อมรักและศรัทธาในวิชาชีพครู และเป็นสมาชิกท่ีดีขององค์กรวิชาชีพ
ครู
8 ครพู ึงชว่ ยเหลอื เกอ้ื กูลครู และชุมชนในทางสร้างสรรค์
9 ครูพึงประพฤติปฏิบัติตนเป็นผู้นาในการอนุรักษ์ พัฒนาภูมิปัญญาและ
วัฒนธรรมไทย
ยนต์ ช่มุ จติ (2544) ไดก้ ลา่ วถงึ ลกั ษณะของครดู ีไวด้ งั นี้
1 ผูส้ อนควรมคี วามรู้
1.1 มีความรใู้ นเนอื้ หาวชิ าท่สี อน ร้ถู ึงเหตุผลทมี่ าของความรู้
1.2 รู้ความสาคญั ความสัมพันธข์ องความรูน้ ้ัน
1.3 รจู้ ักผู้เรียน
1.4 มีความรู้ในเร่ืองการบริหารงานต่างๆ โดยเฉพาะทางด้านวิชาการ
การเตรียมการจดั การเรยี นการสอน
2 ครูควรมคี วามรักและความศรัทธา
2.1 ผู้สอนจะต้องมีความรักและศรัทธาในตัวผู้เรียน พร้อมท่ีจะช่วยเหลือ
ผู้เรยี นอยเู่ สมอ
2.2 ผู้สอนจะตอ้ งมีความรักในวิชาทีต่ นสอน
2.3 ผูส้ อนควรมคี วามรกั และความศรัทธาในอาชีพ
3 ผู้สอนควรจะมีความสามารถในปฏิบัติ คุณสมบัติของผู้สอนในประการที่
สามน้ี ผู้สอนควรมีทักษะอย่างเพียงพอในการสอน รู้วิธีเตรียมการสอน การดาเนินการสอน
การใช้ส่ือการสอน เทคนคิ ในการจูงใจ เทคนคิ ในการใหค้ าปรึกษา เป็นต้น
4 มคี วามเทีย่ งธรรม รกั ความยตุ ธิ รรม มองโลกในแงด่ ี
5 ประพฤติตนเป็นตัวอย่างท่ีดีและเป็นแม่พิมพ์ที่ดีสาหรับผู้เรียน ตลอดจน
บคุ คลทัว่ ไป
6 มคี วามซ่อื สัตย์ สุจริต ขยนั ขนั แข็งในการทางาน มวี นิ ยั ในตนเอง
7 มีภาระหน้าที่ความรบั ผดิ ชอบตอ่ ความมน่ั คงและความอยรู่ อดของชาติ
61
คุณลักษณะครูที่ดีเป็นสิ่งท่ีสาคัญในคุณภาพของการศึกษา ทาให้หน่วยงานที่
รบั ผดิ ชอบในเร่ืองคุณภาพของครู มาตรฐานวิชาชีพครูได้กาหนดเกณฑ์มาตรฐานเพ่ือดูแลครูไว้
11 มาตรฐาน คอื (วไิ ล ตง้ั จิตสมคดิ , 2544)
มาตรฐานที่ 1 ปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเก่ียวกับการพัฒนาวิชาชีพครูอยู่
เสมอ
หมายถึง การศกึ ษาค้นควา้ เพอื่ พัฒนาตนเอง การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
และการเข้าร่วมกิจกรรมทางวิชาการที่องค์การหรือหน่วยงานหรือสมาคมจัดข้ึน เช่น การ
ประชุม การอบรม การสมั มนา และการประชุมเชิงปฏบิ ัตกิ าร เป็นต้น ท้ังนี้ต้องมีผลงานหรือ
รายงานปรากฏชัดเจน
มาตรฐานที่ 2 ตัดสินใจปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ โดยคานึงถึงผลท่ีจะเกิดกับ
ผ้เู รยี น
หมายถึง การเลอื กอยา่ งชาญฉลาดด้วยความรักและหวังดีต่อผู้เรียน ดังน้ันใน
การเลือกกิจกรรมการเรียนการสอนและกิจกรรมอื่นๆ ครูจะต้องคานึงถึงผลประโยชน์ท่ีจะเกิด
แกผ่ ู้เรียนเป็นหลัก
มาตรฐานท่ี 3 มงุ่ มัน่ พฒั นาผเู้ รียนใหเ้ ต็มตามศักยภาพ
หมายถึง การใช้ความพยายามอย่างเต็มความสามารถของครู ท่ีจะให้ผู้เรียน
เกดิ การเรยี นรมู้ ากท่สี ดุ ตามความถนัด ความสนใจ ความต้องการ โดยวิเคราะห์วินิจฉัยปัญหา
และความต้องการที่แท้จริงของผู้เรียนปรับเปล่ียนวิธีสอนที่จะให้ได้ผลดีกว่าเดิม รวมทั้งการ
ส่งเสริมพฒั นาการทางด้านต่างๆ ตามศักยภาพของผูเ้ รยี นแต่ละคนอยา่ งเป็นระบบ
มาตรฐานท่ี 4 พัฒนาแผนการสอนให้สามารถปฏิบัตไิ ด้เกิดผลจริง
หมายถึง การเลือกใช้ปรับปรุงหรือสร้างแผนการสอน บันทึกการสอน หรือ
เตรียมการสอนในลักษณะอ่ืนๆ ที่สามารถนาไปจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ให้ผู้เรียนบรรลุ
วตั ถุประสงคข์ องการเรยี นรู้
มาตรฐานที่ 5 การพัฒนาสอ่ื การเรยี นการสอนใหม้ ีประสิทธภิ าพอยูเ่ สมอ
หมายถึง การประดิษฐ์คิดค้นผลิตเลือกใช้ปรับปรุงเครื่องมืออุปกรณ์ เอกสาร
ส่งิ พิมพ์ เทคนคิ วิธีการต่างๆ เพือ่ ใหผ้ ู้เรียนบรรลุจดุ ประสงค์การเรียนรู้
มาตรฐานที่ 6 การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเน้นผลถาวรที่เกิดแก่
ผเู้ รียน
หมายถึง การจัดการเรียนการสอนท่ีมุ่งเน้นให้ผู้เรียนประสบผลสาเร็จในการ
แสวงหาความรูต้ ามสภาพความแตกต่างของบุคคลด้วยการปฏิบัติจริง และสรุปความรู้ท้ังหลาย
62
ได้ด้วยตนเองก่อให้เกิดค่านิยมและนิสัยในการปฏิบัติจนเป็นบุคลิกภาพถาวรติดตัวผู้เรียน
ตลอดไป
มาตรฐานที่ 7 รายงานผลการพัฒนาคณุ ภาพของผูเ้ รยี นได้อยา่ งมีระบบ
หมายถงึ การรายงานผลการพัฒนาผู้เรียน ท่ีเกิดจากการปฏิบัติการเรียนการ
สอนให้ครอบคลุมสาเหตุปจั จยั และการดาเนินงานทีเ่ กีย่ วขอ้ ง โดยครูนาเสนอรายงานการปฏิบัติ
ในรายละเอียดดงั น้ี
1 ปัญหาความตอ้ งการของผู้เรียนท่ีต้องได้รับการพัฒนา และเปูาหมาย
ของการพัฒนาผูเ้ รียน
2 เทคนิควิธีการหรือนวัตกรรมการเรียนการสอนที่นามาใช้เพ่ือการ
พฒั นา
3 ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามวิธีการที่กาหนดที่เกิดกับ
ผ้เู รยี น
4 ข้อเสนอแนะแนวทางใหม่ๆ ในการปรับปรุง และพัฒนาผู้เรียนให้
ไดผ้ ลดียง่ิ ข้ึน
มาตรฐานท่ี 8 ปฏบิ ัติตนเปน็ แบบอยา่ งทดี่ แี กผ่ ู้เรยี น
หมายถึง การแสดงออกทางการประพฤติปฏิบัติในด้านบุคลิกภาพโดยท่ัวไป
การแตง่ กาย กริยาวาจา และจรยิ ธรรมทเี่ หมาะสมกบั ความเป็นครูอย่างสม่าเสมอท่ีทาให้ผู้เรียน
เลื่อมใสศรัทธาและถือเปน็ แบบอย่าง
มาตรฐานท่ี 9 รว่ มมือกับผู้อ่ืนในสถานศกึ ษาอยา่ งสรา้ งสรรค์
หมายถึง ความตระหนักถึงความสาคัญรับฟังความคิดเห็นยอมรับในความรู้
ความสามารถให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ของเพื่อนร่วมงานด้วยความเต็มใจ
เพ่ือให้บรรลุถงึ เปาู หมายของสถานศึกษาและร่วมรับผลจากการกระทานั้น
มาตรฐานท่ี 10 ร่วมมือกบั ผอู้ ่ืนอยา่ งสรา้ งสรรคใ์ นชมุ ชน
หมายถึง ความตระหนักในความสาคัญรับฟังความคิดเห็นยอมรับในความรู้
ความสามารถของบุคคลอื่นในชุมชน และร่วมมือปฏิบัติงานเพื่อพัฒนางานของสถานศึกษาให้
ชุมชนและสถานศกึ ษา มีการยอมรับซงึ่ กันและกันและปฏิบตั ิงานรว่ มกนั ดว้ ยความเตม็ ใจ
มาตรฐานท่ี 11 แสวงหาและใช้ข้อมูลข่าวสารในการพัฒนา
หมายถึง การค้นหาสังเกตจดจาและรวบรวมข่าวสารข้อมูลตามสถานการณ์
ของสังคมทุกด้าน โดยเฉพาะสารสนเทศเกี่ยวกับวิชาชีพครูสามารถวิเคราะห์วิจารณ์อย่างมี
เหตุผล และใช้ข้อมูลประกอบการแก้ปัญหาพัฒนาตนเองพัฒนางานและพัฒนาสังคมได้อย่าง
เหมาะสม
63
สรุปได้ว่า ครูที่ดีควรมีลักษณะ คือ มีความรู้ในเนื้อหาวิชาท่ีสอน มีความรู้และ
เข้าใจในหลักสูตร มีความสามารถทางด้านวิชาการท่ีสอน สนับสนุนให้กาลังใจศิษย์ให้สนใจ
แสวงหาความรอู้ ยเู่ สมอ อบรมสั่งสอนศิษย์ ฝึกฝน สร้างเสริมความรู้ ทักษะและนิสัยที่ถูกต้อง
ให้เกิดแก่ศิษย์อย่างเต็มความสามารถ มีความรัก เมตตากรุณาต่อศิษย์โดยให้ความเอาใจใส่
ช่วยเหลือ ประพฤติปฏิบตั ิตนใหเ้ ปน็ แบบอย่างทดี่ ีแกศ่ ิษย์ ทั้งกาย วาจา และใจ มีบุคลิกภาพ
ที่ดี มีจรรยาบรรณในวิชาชีพครู มีจิตวิญญาณของความเป็นครู มีวิสัยทัศน์กว้างไกล และมี
ความยุตธิ รรม
2.3.2 คณุ ลักษณะของครูท่พี ึงปรารถนา
คุณลักษณะของครูท่ีพึงปรารถนาว่าควรจะถึงพร้อมด้วยคุณสมบัติที่สาคัญและ
จาเป็น 3 ด้านใหญ่ๆ คือ (ไพฑูลย์ สินลารัตน์, 2544 ; มัทนา โชควัฒนากร, 2545 อ้างถึงใน
มณทริ า จารุเพ็ง, 2551)
1 มีความรู้ดี ซึ่งได้แก่ ความรู้ในวิชาการทั่วไป ความรู้ในเน้ือหาวิชาที่จะ
สอน ความรู้ในวชิ าครู และความรใู้ นหน้าท่ีและงานครูทกุ ประการ
2 มีทักษะในการสอน และการปฏิบัติงานครู ซ่ึงจาแนกออกเป็นทักษะที่
สาคัญ และจาเป็นหลายประการ เช่น อธิบายเก่ง สอนสนุก ใช้สื่อหรืออุปกรณ์เสมอ เร้า
พฤติกรรม ตลอดจนช้ีแนะแนวทางในการศึกษาจนนาไปสู่การดาเนินชีวิตที่ถูกต้อง โดยใช้
นวัตกรรมหรือเทคโนโลยที ที่ นั สมัย เป็นตน้
3 มีครุ ุธรรมนยิ ม อนั ได้แก่ คุณธรรมของครู จรยิ ธรรมและคตินิยมในความ
เป็นครู ซึ่งมีรายละเอียด เช่น ภาคภูมิใจท่ีได้เป็นครู มีทัศนคติท่ีดีต่ออาชีพครู รักการสอน
พอใจท่ีได้ทาประโยชน์แก่การดาเนินชีวิตของศิษย์ ช่วยพัฒนาคนและสังคม ตลอดจนมี
จิตวิญญาณแห่งความเป็นครู เปน็ ตน้
ปรีชา นิพนธ์พิทยา (2544) กล่าววา่ คุณลักษณะของครทู ี่สังคมต้องการ มดี งั น้ี
1 รู้จักหน้าที่ มีความรับผิดชอบ และปฏิบัติหน้าท่ีท่ีได้รับมอบหมาย ด้วย
ความบริสุทธิใ์ จ
2 มีความรูด้ ี ปรับตวั ใหท้ นั สมยั อยู่เสมอ ทางานโดยใชป้ ญั ญา
3 มจี รยิ ธรรม มศี ีลธรรม มขี ันติโสรัจจะ และมีหริ โิ อตปั ปะ ประจาตัว
4 ไม่เห็นแก่ตัว เสียสละเพ่ือส่วนรวม มีความสามัคคีและมีความจริงใจต่อ
บุคคลในอาชีพเดียวกนั มชี าตินิยม
5 มที ัศนคติทด่ี ีต่ออาชพี ศรัทธา และภูมใิ จพรอ้ มทั้งหย่ิงในศักด์ิศรีของความ
เป็นครู
64
6 มีวิญญาณครู คือ การมีน้าใจ มีความเมตตากรุณาต่อผู้เรียน มีหน้าท่ี
สอนคนใหม้ ีคุณธรรม
สรุปได้ว่า คุณลักษณะของครูท่ีพึงปรารถนา คือ มีความรู้ดี มีทักษะในการสอน
มีคุณธรรม จรยิ ธรรม รู้จักหน้าท่ี มีความรับผิดชอบ ปฏิบัติหน้าท่ีที่ได้รับมอบหมายด้วยความ
บรสิ ุทธ์ิใจ มที ศั นคติท่ีดีตอ่ อาชพี และมีวิญญาณครู
2.3.3 บุคลิกลกั ษณะของครูทดี่ ี
บุคลิกลักษณะของครู เป็นลักษณะเฉพาะท่ีผู้เป็นครูพึงมี เพ่ือช่วยให้ครูสามารถ
ปฏิบัติการสอนได้เป็นอย่างดี และมีประสิทธิภาพ ครูที่มีบุคลิกภาพดีย่อมช่วยให้ผู้เรียนเกิด
ความสนใจที่จะเรยี น บุคลิกภาพทีก่ ล่าวถงึ นี้ ได้แก่ รูปรา่ งหนา้ ตา การแต่งกาย ท่าทาง การ
พูดจา กริ ิยามารยาท ความเชื่อมั่นของครู ความอดทนและยอมรบั วทิ ยาการใหม่ๆ
บุคลิกลักษณะ ความหมายตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช
2525 หมายถึง ลกั ษณะเฉพาะตัวของแต่ละคน ส่วนบุคลิกภาพ หมายถึง สภาพนิสัยเฉพาะ
คน (ราชบณั ฑติ ยสถาน, 2539)
Gordon (อ้างถึงใน บุดดี วุฒิเสลา, 2549) ได้กล่าวไว้ว่า บุคลิกภาพ เป็นผลรวม
คณุ ลกั ษณะและพฤติกรรมของบคุ คลรวมทุกอย่างทั้งดา้ นสติปัญญาจนถึงความสมั พันธท์ างสงั คม
ยนต์ ชมุ่ จติ (2544) ไดก้ ลา่ ววา่ บุคลกิ ลักษณะหรือจุดเด่นของครูสามารถสังเกตได้
ดังนี้
1 บุคลิกภาพ ได้แก่ ส่วนประกอบต่างๆ ของร่างกายรวมท้ังเสื้อผ้าที่เสริม
แต่งร่างกาย มีความสง่างามน่าศรัทธา แต่งกายเหมาะสมกับวัย ไม่ล้าสมัยจนเกินไป
ระมัดระวังอากัปกริ ยิ าอาการ
2 ท่วงทีวาจา หมายถึง การท่ีแสดงออกทางการพูด เช่น เสียงดังฟังชัด
พูดอย่างมีลาดับก่อนหลัง ไม่กระดากอายหรือสะทกสะท้าน ยกตัวอย่างประกอบการพูดได้
เขา้ ใจงา่ ย เป็นผูพ้ ดู และผฟู้ ังทดี่ ี และใชค้ าถามท่เี หมาะสม
3 จริยวัตร หมายถึง กิริยาท่ีควรประพฤติตามขนบธรรมเนียม เช่น มี
วญิ ญาณของความเปน็ ครู ปฏิบัติตามขนมธรรมเนียมประเพณี กระทาแต่ส่งิ ทเี่ หมาะสมดีงาม รู้
เวลาและสถานท่ี ประพฤติปฏบิ ัติตามกตกิ าของสถานทีน่ น้ั และประพฤติปฏบิ ตั ิเป็นแบบอย่างท่ี
ดแี กค่ นอืน่
4 การแสดงออกทางความคิด เช่น มองบุคคลต่างๆ ในหลายด้าน มอง
การณ์ไกล กล้าแสดงออกทางความคิด ทาในสิ่งที่ดีงาม มีเจตคติท่ีดีต่อบุคคลอ่ืน และมี
ความคดิ ริเริม่ สร้างสรรค์
65
5 ด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม เช่น เสียสละ อดทน พ่ึงตนเอง
มคี วามรบั ผิดชอบสูง ประหยัดอดออม ปฏิบัติตามระเบียบวินัย เอ้ืออารี มีไมตรีจิตต่อคนอ่ืน
และกตญั ญกู ตเวที
สิริชัย ประทีปฉาย (2533 อ้างถึงใน บุดดี วุฒิเสลา, 2549) ได้ให้ความหมายของ
บคุ ลิกภาพไวว้ า่ หมายถงึ ลกั ษณะโดยส่วนรวมของแต่ละบุคคล ซึ่งมีอิทธิพลต่อความรู้สึกของผู้
พบเห็น
สมศักด์ิ คาศรี (2534 อ้างถึงใน บุดดี วุฒิเสลา, 2549) ให้ความหมายของ
บคุ ลิกภาพไว้ว่า บคุ ลกิ ภาพเปน็ ลักษณะประจาตัวทั้งหมดท่ีอยู่ในแต่ละบุคคล อาจจะมีลักษณะ
บางอย่างทีค่ ล้ายคลงึ กับคนอ่นื แต่มีลกั ษณะบางอยา่ งท่เี ปน็ เอกเทศเฉพาะตัว
ลว้ น สายยศ และอังคณา สายยศ (2542 อ้างถึงใน บุดดี วุฒิเสลา, 2549) ได้ให้
ความหมายของบคุ ลกิ ภาพไวว้ ่า เปน็ ลักษณะโดดเดน่ ของบคุ คลใดบุคคลหน่ึง ซึ่งแสดงออกแบบ
นัน้ อย่เู ปน็ ประจากับสถานการณ์เฉพาะอยา่ งจนเกดิ เป็นนิสยั ถาวร
จากการประมวลทัศนะเก่ียวกบั บคุ ลิกลักษณะของครทู ่ดี ี หมายถงึ ลักษณะโดยรวม
ของครูแต่ละบุคคลท่เี ปน็ ลกั ษณะโดดเดน่ ของบคุ คลน้ัน ซึง่ แสดงออกมาอย่เู ป็นประจา อันได้แก่
รูปรา่ ง หน้าตา ท่าทาง การแตง่ กาย ทว่ งที การแสดงออกทางการพดู กริ ยิ าที่ควรปฏิบัติตาม
ขนบธรรมเนียม การแสดงออกทางความคิด มีคุณธรรม จริยธรรม ตลอดจนสติปัญญา และ
ความสามารถ ซง่ึ มีอิทธพิ ลต่อผพู้ บเหน็
2.3.4 ลกั ษณะการสอนทด่ี ี
เนื่องจากครมู เี ทคนคิ วิธีการสอนทนี่ า่ สนใจ จะเป็นการกระตุ้นความสนใจให้ผู้เรียน
เกิดการเรียนรู้ ซ่ึงส่งผลต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียน ในด้านลักษณะการสอนที่ดีน้ัน
นักวิชาการการศกึ ษา ได้กลา่ วไว้ดงั น้ี
อาร์มสตรอง (Armstrong, 1973 อ้างถึงใน พิมใจ ศิริวัฒน์, 2552) ได้เสนอ
บทความเร่อื ง การประเมินการปฏบิ ตั งิ านของครูที่มปี ระสิทธภิ าพไว้ ดงั น้ี
1 มกี ารเตรียมการสอนอย่างมปี ระสิทธิภาพ
2 พัฒนาการสอนของตนเองอยู่เสมอ
3 มีเทคนคิ การสอนทก่ี ระตนุ้ ใหผ้ เู้ รยี นสนใจ
4 นาหลกั จิตวิทยามาประยกุ ตใ์ ชก้ บั การเรยี นการสอน
5 กาหนดจุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรมการเรียนการสอน
6 เข้าใจและนาหลกั การเรยี นรมู้ าใช้ในการเรยี นการสอน
7 เสริมสร้างประชาธปิ ไตยในหอ้ งเรยี น
8 ปรับปรุงกจิ กรรมในห้องเรยี นให้เหมาะสมกบั สภาพสังคม
66
9 ปรับปรงุ ตนเองใหเ้ ข้าได้กับสภาพของกลุ่มผูเ้ รยี น
10 ช่วยเหลอื ผู้เรยี นทมี่ ีปญั หาในการเรียนและปญั หาอ่ืนๆ
11 จัดกิจกรรมและสภาพการเรยี นใหส้ ง่ เสริมลักษณะพฤติกรรมทพ่ี งึ ประสงค์
12 ช่วยเหลือผู้เรียนใหป้ ระสบผลสาเร็จ
13 พัฒนาตนเองดา้ นความรู้และสตปิ ญั ญาอย่เู สมอ
14 มีความรู้และใช้เทคนิคการวัดผลได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อนามา
ปรับปรงุ การเรียนการสอน รวมท้งั มกี ารประเมนิ ผลการสอนของตนเองอย่เู สมอ
15 มีเทคนิควธิ ีสอนพิเศษแกผ่ ู้เรยี นทีเ่ รียนได้เรว็
16 ชว่ ยให้ผูเ้ รยี นสามารถปรบั ตวั เองได้
17 ช่วยคลายความวติ กกังวลในเรอ่ื งการเรียนให้กบั ผ้เู รยี น
18 ติดตอ่ กับผปู้ กครองกรณที ีผ่ เู้ รียนมีปัญหา เพ่ือหาทางแก้ไขร่วมกนั
19 ศกึ ษาถงึ ประวตั ขิ องผ้เู รยี นเป็นรายบคุ คล
20 ใหค้ าปรึกษา แก้ปัญหา รวมทง้ั ช้แี นะผู้เรียนท่ีด้อยทกั ษะในการทางาน
ชาญชัย อาจิณสมาจาร (2528 อ้างถึงใน พิมใจ ศิริวัฒน์, 2552) ได้อธิบายถึง
เกณฑ์การสอนทม่ี ปี ระสิทธผิ ล เพื่อพิจารณาการสอนของครู โดยมีทักษะการเรียนรู้ของผู้เรียน
เปน็ เกณฑ์ ซึง่ ประกอบด้วย
1 การสอนที่แจ่มแจ้ง ครูจะต้องมีการเตรียมการสอนให้พร้อม ในเรื่อง
ความรูแ้ ละความเขา้ ใจในเนอื้ หา ทบทวนกระบวนการเรียนการสอนอยู่เสมอ วางแผนบทเรียน
ให้คาแนะนาผเู้ รียนได้ชัดเจน และใช้โสตทศั นปู กรณ์ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ
2 มีความกระตือรือร้น สร้างสรรค์บรรยากาศในการเรียนการสอนให้สนุก
ซ่งึ จะทาใหผ้ ู้เรยี นไม่เกิดความเบือ่ หนา่ ย
3 เนน้ ในเร่ืองงาน ครูจะตอ้ งทาตวั เหมือนนักธุรกิจ กระฉับกระเฉง ใช้เวลา
วา่ งท่มี อี ยใู่ หไ้ ดป้ ระโยชน์เต็มที่ในการฝึกทักษะใหม่ๆ ในการสอนจะต้องกาหนดจุดมุ่งหมายและ
ให้คาจากัดความท่ีชดั เจน
4 กลยุทธ์การสอน ครูจะใช้กลยุทธ์ในการสอนแบบต่างๆ ตามระดับของ
ผเู้ รยี น
5 มีปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียน โดยเห็นว่าผู้เรียนมีคุณค่าและศักดิ์ศรี ให้โอกาส
ผเู้ รียนประเมินตัวครู เขา้ ใจผู้เรียน และมีความยตุ ธิ รรมเสมอต้นเสมอปลาย
6 ใช้คาถามท่ีน่าสนใจ โดยส่งเสริมให้ผู้เรียนตั้งคาถามและมีส่วนร่วมในการ
คิดแก้ปญั หา
67
ลกั ษณะพฤติกรรมการสอนของครูที่ดีน้ันจะช่วยส่งผลสัมฤทธ์ิทางด้านการเรียนของ
ผู้เรียน โดย โรเซนไซน์ และ เฟอร์สท ได้กล่าวถึงพฤติกรรมของครูที่มีผลต่อการเรียนของ
ผู้เรยี น ไว้ดงั นี้ (ยนต์ ชมุ่ จติ , 2535 อา้ งถงึ ใน พมิ ใจ ศริ ิวัฒน,์ 2552)
1 ความสามารถทาให้เข้าใจได้อย่างรวบรัดชัดเจน และสามารถท่ีจะจัด
ระบบงานได้อย่างดี
2 ความสามารถในการเปลี่ยนแปลงวิธีการให้สอดคล้องกับลักษณะของวัสดุ
อุปกรณ์และเครือ่ งมือในการสอนทีน่ ามาใช้ รวมท้งั การเปลยี่ นแปลงหนังสือตาราให้เหมาะสม
3 ความกระตือรือร้น ลักษณะของการเคล่ือนไหว การเปลี่ยนแปลงระดับ
เสียงเวลาพูด และอ่ืนๆ
4 ความสนใจในภาระหน้าท่ี หรือมีลักษณะเหมือนนักธุรกิจ พฤติกรรมของ
ครูมงุ่ ไปทผ่ี ลสัมฤทธิข์ องผู้เรยี น
5 ใหโ้ อกาสแก่ผู้เรียนเพ่ือการเรียนรู้ พฤติกรรมของครูช่วยในการแนะนาให้
ผู้เรียนใชว้ สั ดอุ ุปกรณต์ า่ งๆ ซึง่ จาเป็นต้องมกี ารทดสอบในภายหลัง
6 ใชค้ วามคิดเหน็ ของผเู้ รยี นรบั รองความคิดเห็นของผูเ้ รยี น หรือมีการชมเชย
ความคดิ ของผ้เู รียน
7 ใช้วิธีการวิพากษ์วิจารณ์หรือแสดงอาการไม่พอใจ การไม่ยอมรับ การให้
คาแนะนา หรอื การแสดงเหตุผลของการใชอ้ านาจ (เก่ยี วขอ้ งกับผลผลติ ของผู้เรียนในทางลบ)
8 ใช้ลักษณะของการเสนอความคิดเห็น รวมท้ังการแสดงพฤติกรรมตามที่
กาหนด และชี้แจงการเปลีย่ นแปลงภายในบทเรยี น
9 ชนิดของคาถามที่ครูใช้เป็นคาถามในระดับต่าหรือระดับสูง จาแนกชนิด
ของคาถามให้เหมาะสมตามสิ่งของ สถานที่ เหตุผล และวธิ ีการ
10 การไตถ่ ามหรอื การตอบสนองตอ่ คาถามของผู้เรยี น ซ่ึงเป็นการส่งเสริมให้
ผเู้ รยี นมคี วามประณีตบรรจง
11 ระดับความยากของการสอน รวมทั้งพฤติกรรมการสอนของครูท่ีให้
คาชแี้ นะ วสั ดุอปุ กรณ์ซึง่ ผู้เรยี นจาเป็นต้องมี และการปฏบิ ัตกิ ารท่ีมีมาตรฐานสูงเป็นสิง่ สาคัญ
เกจ (Gage, 1978 อ้างถึงใน พิมใจ ศิริวัฒน์, 2552) ได้ให้คาแนะนาเกี่ยวกับ
พฤตกิ รรมของครทู ี่มีความสาคัญตอ่ ผเู้ รยี นในการจดั การเรยี นการสอน ไว้ดังน้ี
1 ครูควรมรี ะเบียบกฏเกณฑท์ ่ีทาให้ผเู้ รียนรู้จักรับผิดชอบในหน้าที่ของตนเอง
โดยท่ีไมต่ อ้ งมกี ารตรวจสอบจากครู
2 ครคู วรมกี ารเคลอ่ื นไหวไปรอบๆ หอ้ งเรียนบอ่ ยๆ
68
3 มอบหมายงานที่มีความยากง่ายเหมาะสมกับความสามารถของผู้เรียน โดย
ครไู มต่ ้องให้คาแนะนา
4 ครูควรมกี ารทาตารางกจิ กรรมในแต่ละวนั ให้ผู้เรียนได้ทราบว่าจะทาอะไรท่ี
ไหน
5 ในการคัดเลือกผู้เรียนเพื่อตอบปัญหา ครูควรเรียกช่ือผู้เรียนก่อนการ
ตัง้ คาถาม ซึ่งเป็นวธิ ีการท่มี ัน่ ใจว่าผเู้ รียนทกุ คนได้รบั โอกาสทีจ่ ะตอบคาถามเทา่ กัน
6 ในการตั้งคาถามเพือ่ ถามผู้เรยี นที่มีผลการเรียนต่า ควรต้ังคาถามให้ผู้เรียน
กลุ่มนม้ี ีโอกาสตอบคาถามได้ถกู ต้องเพอื่ เป็นการสรา้ งแรงจูงใจในการเรยี น
7 ในระหว่างการสอนการอ่านในกลุ่ม ครูควรให้ผลปูอนกลับส้ันๆ จานวน
มากท่ีสุด และกาหนดกจิ กรรมทคี่ รูเดนิ ไปพบผ้เู รยี นไดอ้ ยา่ งรวดเรว็
สรุปได้ว่า ลักษณะการสอนท่ีดีของครูน้ัน ครูจะต้องมีการเตรียมการสอนอย่างมี
ประสิทธิภาพ มีการจัดการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการเรียนการสอน เพื่อให้
ผูเ้ รียนบรรลตุ ามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร มีเทคนิคการสอนท่ีกระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจ มีความ
กระตือรือร้นและสร้างบรรยากาศในการเรียนรู้ มีการใช้สื่อการสอนให้เหมาะสมกับผู้เรียน
ชว่ ยเหลอื ผเู้ รยี นทีม่ ปี ัญหา มกี ารวดั ผลประเมนิ ผลท่ีมปี ระสิทธภิ าพ
2.4 คณุ ลักษณะของครู
2.4.1 ด้านบุคลิกภาพ
2.4.1.1 ความหมายของบุคลกิ ภาพ
เนอื่ งจากคาวา่ บุคลิกภาพ ได้มีผู้ให้ความหมายไว้อย่างกว้างขวางและเป็น
ที่เข้าใจกันได้หลายทาง ท้ังนักจิตวิทยา และนักวิชาการ ซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ด้าน
คอื
1) กลุ่มท่ีเน้นความเป็นเอกลักษณ์ของบุคคล (Distinctiveness)
บคุ คลกลุ่มน้ีมองว่า บุคลิกภาพแตกต่างกันออกไปในแต่ละบุคคลไม่ว่าจะเป็นอุปนิสัย ค่านิยม
ทศั นคติ เชน่
แคทเทล (Cattell, 1970 อา้ งถงึ ใน ลัญชนา สุดานิช, 2546) กล่าว
ว่า บุคลิกภาพเป็นส่ิงที่ช่วยในการทานายได้ว่าบุคคลจะทาอะไรในสถานการณ์ที่กาหนดให้
บุคลิกภาพเปน็ เรอ่ื งพฤติกรรมทัง้ หมดของบุคคลทั้งทีเ่ ปดิ เผยและซอ่ นเรน้ อยู่ภายใน
69
มอร์ริส (Morris, 1979 อ้างถึงใน ลัญชนา สุดานิช, 2546) กล่าว
ว่า บุคลิกภาพ หมายถึงรูปแบบของลักษณะต่างๆ (Tarits) ประจาตัวของบุคคลท่ีเก่ียวกับ
พฤติกรรม อารมณ์ แรงจงู ใจ ความคดิ และทศั นคติ
เวอรน์ อน (ทพิ วรรณ เจรญิ ศกั ด,ิ์ 2540 อ้างถึงใน ลัญชนา สุดานิช
, 2546) กล่าวว่า บุคลิกภาพ หมายถึง โครงสร้างสมมุติ (Hypothetical Structure) ภายใต้
พฤติกรรมท่ีเกิดข้ึนบ่อยๆ หลายๆ พฤติกรรม และเป็นแผนคุณลักษณะ (Characteristic
Pattern) ของการกระทาตา่ งๆ ของแตล่ ะบุคคล
เจอร์รี่ (Jerry, 1988 อ้างถึงใน ลัญชนา สุดานิช, 2546) กล่าวว่า
บุคลิกภาพของบคุ คลจะเป็นรูปแบบเฉพาะทั้งด้านความคิด ความรู้สึก พฤติกรรม ซึ่งลักษณะ
ดงั กลา่ วจะจาแนกแต่ละบคุ คลออกจากบุคคลอื่น และบุคลกิ ภาพจะเปน็ ส่งิ ที่คงทนถาวร
นาตยา แก้วมะเริง (2539 อ้างถึงใน ลัญชนา สุดานิช, 2546)
กล่าวว่า บุคลิกภาพ หมายถึง คุณลักษณะรวมๆ ของบุคคลท่ีแสดงออกโดยพฤติกรรมรวมๆ
ของบุคคลนัน้ ทั้งพฤตกิ รรมเปดิ เผยชดั เจนและพฤติกรรมท่ีซ่อนเร้นอยู่ภายใน ซึ่งแต่ละบุคคลมี
ความแตกตา่ งกัน เปน็ แบบแผนพฤติกรรมของแตล่ ะบคุ คล
2) กลุ่มท่ีเน้นการมองบุคลิกภาพในแง่การปรับตัวต่อสิ่งเร้า
ภายนอก กลุ่มน้ีมองว่านอกจากจะเน้นการแสดงออกของบุคคลในเวลาเดียวกันแล้วก็พยายาม
ปรบั ตัวใหเ้ ข้ากับสงั คมภายนอก เช่น
ดรุณจิต อุดรมาตย์ (2532 อ้างถึงใน ลัญชนา สุดานิช, 2546)
กล่าวว่า บุคลิกภาพ หมายถึง ลักษณะของบุคคลในด้านความรู้สึก ความคิดท่ีแสดงออก
ทางการกระทา ทั้งท่ีเปิดเผยและซ่อนเร้นอันเป็นผลเนื่องจากพันธุกรรม การเรียนรู้ และ
สิ่งแวดลอ้ ม
จตพุ ร เพ็งชัย (2533 อา้ งถงึ ใน ลญั ชนา สุดานิช, 2546) กล่าวว่า
บุคลิกภาพ หมายถึง ลกั ษณะทา่ ทางทีม่ องเห็นจากภายนอก รวมทงั้ การใชภ้ าษาพูด การเขียน
และสอื่ ทีแ่ สดงออกภายในจติ ใจ เชน่ การแสดงความคิดเห็น ทัศนคติ เป็นต้น
3) กลุ่มท่ีมองบุคลิกภาพโดยรวม โดยกลุ่มน้ีจะบรรยาย
บคุ ลิกภาพโดยละเอียดเป็นการระบคุ ณุ สมบัตทิ กุ สิ่งทุกอย่างที่มีในบุคคลนั้น
ศรีเรือน แก้วกังวาน (2531 อ้างถึงใน ลัญชนา สุดานิช, 2546)
กลา่ วว่า บุคลกิ ภาพ หมายถึง ลักษณะเฉพาะตัวของบุคคลในด้านต่างๆ ท้ังส่วนภายนอกและ
ส่วนภายใน ส่วนภายนอก คือ ส่วนท่ีมองเห็นชัดเจน เช่น รูปร่าง หน้าตา กิริยามารยาท
การแต่งตวั วิธกี ารพูดจา การนง่ิ การยืน และในส่วนภายใน คือ ส่วนที่มองเห็นได้ยาก แต่
70
อาจทราบได้จากการอนุมาน เช่น สติปัญญา ความถนัด ลักษณะอารมณ์ประจาตัว ความ
ใฝฝุ ันปรารถนา ปรชั ญาชีวิต คา่ นิยม ความสนใจ
วารุณี ธนาวราพิช (2534 อ้างถึงใน ลัญชนา สุดานิช, 2546)
กล่าวว่า บุคลิกภาพ หมายถึง ลักษณะปรากฏภายนอก และลักษณะภายในของบุคคล
นับตั้งแต่รูปร่างหน้าตา กิริยาท่าทาง เจตคติ แรงจูงใจ สติปัญญา ความคิดเห็น
ความสามารถ ปฏิกิริยาตอบสนอง ลักษณะประจาตัวต่างๆ ความรู้สึกท่ีบุคคลนั้นมีต่อตนเอง
ประสบการณ์ และสว่ นทีเ่ หลอื คา้ งจากประสบการณ์
จารัส แจ่มจันทร์ (2539 อ้างถึงใน ลัญชนา สุดานิช, 2546)
กลา่ ววา่ บคุ ลกิ ภาพ หมายถึง ผลรวมของพฤติกรรมต่างๆ ทั้งภายนอกและภายใน ตลอดจน
ทัศนคติ ค่านิยม ซึ่งแสดงให้เห็นคุณลักษณะนิสัยเฉพาะตัวของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ตลอดจน
ลักษณะท่ีบอกถึงสภาพจิตใจ อารมณ์ และความรู้สึกนึกคิดที่แสดงออกทางการกระทาท้ังท่ี
เปดิ เผยและซอ่ นเร้น อันเป็นผลมาจากพันธกุ รรม การเรยี นรู้ และสิง่ แวดล้อมตา่ งๆ
อัลพอร์ต (1967 อ้างถึงใน ธีรศักด์ิ อัครบวร, 2542) ให้
ความหมายบุคลกิ ภาพว่าเป็นระบบการเคล่ือนไหวของอินทรีย์ที่อยู่ภายในจิตใจบุคคลซึ่งจะเป็น
ตัวกาหนดคุณลกั ษณะประจาตัวของบุคคลนัน้ ทง้ั หมด
เคทเทล (1973 อ้างถึงใน ธีรศักดิ์ อัครบวร, 2542) กล่าวว่า
บุคลิกภาพคือสิ่งท่ีจะช่วยให้เราทานายได้ว่าบุคคลจะทาอะไรในสถานการณ์ที่กาหนดให้
บุคลิกภาพเปน็ เรอื่ งของพฤติกรรมทั้งหมดของบุคคลท่ีเปิดเผยและซอ่ นเรน้ อย่ภู ายใน
จากการประมวลความหมายของบุคลิกภาพ สรุปได้ว่า บุคลิกภาพ
หมายถึง คุณลักษณะโดยรวมของบุคคลที่แสดงออกมาที่เป็นรูปแบบเฉพาะท้ังด้านความคิด
ความรู้สกึ พฤติกรรม ทั้งสว่ นท่ีเปิดเผยและซ่อนเร้น
2.4.1.2 ความสาคญั ของบคุ ลกิ ภาพของครู
ธรี ศกั ดิ์ อัครบวร (2542) กล่าวว่าบุคลิกภาพที่สาคัญของครูอาจจาแนกเป็น
4 ด้านดงั นี้ คอื
1 บุคลิกภาพทางกาย บุคลิกภาพทางกายเป็นบุคลิกภาพที่สังเกต
ไดง้ ่ายและเป็นสิง่ ทป่ี รากฏตอ่ บคุ คลทั่วไป เปน็ ความประทับใจครง้ั แรกที่เกดิ กบั ผพู้ บเหน็
2 บุคลิกภาพทางสังคม บุคลิกภาพทางสังคมเป็นบุคลิกภาพที่
แสดงออกใหผ้ ้อู น่ื พบเหน็ ได้เชน่ เดยี วกบั บคุ ลกิ ภาพทางร่างกาย เพยี งแต่บุคลิกภาพทางสังคมน้ัน
อาจมีผลจากบุคลิกภาพภายในของบุคคลน้ันๆ เป็นแรงขับที่สาคัญด้วย โดยเฉพาะค่านิยมทาง
สังคม ทัศนคติ เจตคติตลอดจนคณุ ธรรม
71
3 บุคลิกภาพทางอารมณ์ เป็นบุคลิกภาพภายในท่ีอาจแสดงออกมา
ให้เห็นหรือไม่แสดงก็ได้ อารมณ์บางด้านก็เป็นความลับของบุคคล เช่น อารมณ์โรแมนติก
อารมณ์ทางเพศ เปน็ ต้น
4 บคุ ลิกภาพทางสตปิ ัญญา เป็นเรื่องเกี่ยวกับสมองของแต่ละคนด้วย
เชาวป์ ญั ญา เปน็ เร่ืองของพันธุกรรม ที่ได้รับการถ่ายทอดจากบรรพบุรุษ บุคคลใดจะโง่ หรือ
ฉลาด สติปญั ญาจะดีเพียงใด เฉลียวฉลาดมากน้อยแค่ไหน ย่อมขึ้นอยู่กับมันสมองเป็นสาคัญ
คนที่มีสมองใหญ่กว่าหรือหนักกว่าเม่ือเทียบกับน้าหนักตัว ย่อมมีสติปัญญาดีกว่า ในทาง
วิทยาศาสตร์พบว่าคนท่ีมีสติปัญญาปานกลาง จะมีสมองหนักประมาณ 1,470 กรัม ส่วนคน
ปัญญาอ่อน จะมีสมองหนักประมาณ 300 กรัมเท่าน้ัน อย่างไรก็ตามการศึกษา และ
สง่ิ แวดล้อมกส็ ามารถช่วยพัฒนาเพิ่มประสิทธิภาพของสตปิ ญั ญาไดไ้ ม่นอ้ ย
ธีรศักดิ์ อัครบวร (2542) กล่าวว่าบุคลิกภาพอาจแบ่งได้เป็น 2 พวก คือ
บุคลิกภาพพวกที่ไม่อยู่ในสภาพที่ควบคุมได้ กับบุคลิกภาพที่สามารถควบคุมได้และแก้ไขได้
โดยทว่ั ไปบคุ ลิกภาพทแี่ กไ้ ขปรบั ปรงุ ไดน้ น้ั มกั เปน็ ส่วนที่มนุษย์ใช้ในการสร้างความสัมพันธ์ต่อกัน
ฉะนน้ั หากมีบุคลิกภาพใดท่ีแก้ไขได้ หากยังไม่ดีหรือบกพร่องอยู่ก็ควรปรับปรุงแก้ไข ท้ังนี้การ
แกไ้ ขบคุ ลกิ ภาพนน้ั อาจจะต้องแก้ไขท้ังทางด้านรา่ งกายและจติ ใจควบคกู่ นั ไป
บุคลิกภาพมี 4 ข้ันดงั นี้
1 การวิเคราะห์ตนเอง เป็นขั้นตอนการสารวจตรวจสอบตัวเองว่ามี
ส่วนใดดีหรอื บกพรอ่ ง หรือมอี ะไรบา้ งท่ียงั ไม่เหมาะสมกบั หน้าที่การงานที่ทา วิธีการตรวจสอบ
หรือวิเคราะห์ตนเองที่ได้ผลมากกว่าวิธีอื่นคือการให้บุคคลท่ีใกล้ชิดวิพากษ์วิจารณ์อย่าง
ตรงไปตรงมา และต้องยอมรับคาวิพากษ์วิจารณ์ด้วยความเต็มใจ นอกจากนี้ก็ยังสามารถ
วเิ คราะห์ตัวของตัวเองไดโ้ ดยใชว้ ธิ พี จิ ารณาใคร่ครวญตรวจสอบตนเองอยูเ่ สมอ
2 การปรับปรุงตนเอง เม่ือรู้ข้อบกพร่องแล้วว่าอะไรไม่เหมาะสม
อยา่ งไรกพ็ ยายามเลกิ พฤตกิ รรมนัน้ เสยี บคุ ลกิ ภาพท่ไี มด่ ีบางอย่างเกดิ จากนิสัยที่ไม่ดี บางอย่าง
เกดิ จากการเรยี นร้ทู ่ผี ิด บางอย่างเกิดจากการกดดนั ทางจติ ใจ ฉะนัน้ ตอ้ งหาให้พบว่าสาเหตุอยู่ท่ี
ใดแล้วพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง
3 การฝึกฝนตนเอง การนาเอาสิ่งที่ได้ปรับปรุงตนเองแล้วมากระทา
หรือแสดงออกเป็นประจา เพื่อให้เป็นนิสัยการฝึกตนเองจะสาเร็จได้ต้องอาศัยความต้ังใจเป็น
สาระสาคัญ
4 การประเมนิ ผลตนเอง การสารวจ ตรวจสอบขั้นสุดท้าย หลังจาก
ไดก้ ระทาตามข้ันตอนทไ่ี ด้วางแผนหรือต้ังใจไว้แล้ว การประเมินผลทางบุคลิกภาพควรให้คนอื่น
เปน็ ผปู้ ระเมินด้วยจะทาใหม้ ัน่ ใจมากขน้ึ
72
พรรณทิพย์ ศิริวรรณบุศย์ (2547) ได้กล่าวถึงทฤษฎีพัฒนาการบุคลิกภาพ
ของ อริ ิค อริ ิคสนั (Erik Erikson) อีริคสันเกดิ ท่ปี ระเทศเยอรมัน บดิ า มารดาเป็นชาวเดนมาร์ก
อีรคิ สันไดเ้ ริ่มคน้ ควา้ วิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาการทางบคุ ลิกภาพตั้งแตป่ ี ค.ศ. 1972 โดยท่ีอีริคสัน
ได้รับเอาแนวความคิดทางจิตวิเคราะห์เกี่ยวกับแรงขับทางเพศมาเป็นแรงผลักดัน แรงขับน้ีเป็น
แรงขับที่ต้องการจะมีชีวิตอยู่ แรงขับที่ 2 เป็นแรงขับความก้าวร้าวซึ่งเหมือนกับความคิดของ
ฟรอยด์ เก่ียวกับสัญชาติญาณเก่ียวกับความตาย แรงขับท้ัง 2 อย่างน้ีจะทาหน้าที่เหมือนกับ
แม่เหล็ก ทาให้ชวี ติ มนษุ ยเ์ กดิ ความคับข้องใจอยู่ตลอดเวลา
สรุปได้วา่ การมีบคุ ลิกภาพที่ดี เรียกว่าภูมิฐานหรือสง่างามนั่นเอง ครูต้อง
เป็นผู้ท่ีมีบุคลิกภาพที่เหมาะสม และมีบุคลิกภาพท่ีดี ทั้งน้ีเพราะครูต้องเป็นแบบอย่างที่ดีแก่
ผู้เรียนและชุมชนอีกด้วย ครูเป็นต้นแบบท่ีผู้เรียนจะใช้เป็นแบบอย่าง บุคลิกภาพของครูยังมี
สว่ นชว่ ยให้ประสบความสาเร็จในด้านการดาเนินวิชาชีพครู บุคลิกภาพมีความสาคัญทั้งในด้าน
ส่วนตัว และด้านอาชีพ สาหรับผู้ที่ประกอบวิชาชีพครูนั้นควรมีบุคลิกภาพภายนอกท่ีสง่างาม
เพราะเป็นท่ีน่าเช่ือถือแก่คนท่ีพบเห็น และในขณะเดียวกันอาชีพครูจะต้องเป็น “แม่แบบ”
ให้แกส่ ังคม จึงมีความจาเป็นอยา่ งย่ิงท่ีผเู้ ป็นครจู ะต้องมีบคุ ลกิ ภาพภายในทงี่ ดงามดว้ ย
2.4.1.3 บุคลิกภาพของครู
สถติ ย์ วงศส์ วรรค์ (2544) กลา่ ววา่ บคุ ลิกภาพของครูที่ดีควรมีบุคลิกภาพท่ี
ดดี ว้ ยสามารถเปน็ ตวั อยา่ งแก่ผเู้ รยี นได้ ครทู ีด่ คี วรมีบคุ ลิกภาพ ดังน้ี
1 มีความสมบรู ณ์ทงั้ ทางร่างกายและจิตใจ มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง
มีสุขภาพจิตสมบูรณ์สามารถปรับตัวได้ดี การมีสุขภาพดีจะส่งผลให้เป็นผู้มีอารมณ์แจ่มใส
เบกิ บาน ไม่เปน็ ทีเ่ วทนาแก่ผเู้ รียน
2 แต่งกายดี สะอาด ประณีต เรียบร้อย สวยงาม ไม่ล้าสมัย
จนเกนิ ไป เหมาะสมกบั กาลเทศะ จะช่วยใหม้ ีบคุ ลกิ ดีเป็นท่นี า่ นยิ มยิ่งขึน้
3 กระฉับกระเฉง คล่องแคล่ว ว่องไว ไม่เฉื่อยชา เป็นคนท่ี
กระตอื รือร้น ทางานด้วยความเตม็ ใจ
4 มีกริยาวาจา และมารยาทเรียบร้อย งดงาม สุภาพอ่อนโยน การ
เคลอ่ื นไหวอยูใ่ นลักษณะทเี่ ป็นธรรมชาติ
5 ประพฤติตัวดี มีศีลธรรม เป็นท่ีน่าเคารพนับถือ เป็นตัวอย่างที่ดี
ของศิษย์ อยู่ในกรอบประเพณีที่ดีงาม สร้างสมให้เกิดมีคุณธรรมศีลธรรมขึ้นในตนให้มากท่ีสุด
รู้จักเสียสละ สามารถอบรมแนะแนว และปกครองผู้เรียนให้ดารงตนอยู่ในสังคมได้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ
73
6 พูดจาสุภาพ ชัดเจน ชัดถ้อยชัดคา มีน้าเสียงกังวานแจ่มใส ใช้
ภาษาสภุ าพไม่หยาบคายออกเสยี งควบกลา้ ถูกตอ้ ง มีเสียงดงั มากพอ
7 มีความรู้ความสามารถในวิชาที่ตนสอนอย่างดี สอนดี
ขยันหม่ันเพียร พยายามขวนขวายหาความรู้อยู่สม่าเสมอ มีความรู้ทันเหตุการณ์ และมี
ประสบการณใ์ นเร่อื งต่างๆ มากพอ
8 มีความเช่ือมั่นในตนเองสูง กล้าแสดงความคิดเห็น รับฟังความ
คิดเห็นของผอู้ นื่ กล้ารับผิดชอบในสิ่งท่ีตนเองทา ตัดสินใจเด็ดขาดแน่วแน่ เม่ือออกคาสั่งแล้ว
ต้องจาได้
9 มีความยตุ ธิ รรม ครูต้องไม่อคติลาเอียง ไม่เลือกท่ีรักมักท่ีชัง หวัง
ดตี ่อศิษยท์ ุกคนเท่าเทยี มกนั
10 มีเหตุผล มคี วามรับผิดชอบต่อหนา้ ที่
11 เป็นผู้เสียสละ ใจคอกว้างขวาง เสียสละเวลา กาลังกาย
สตปิ ัญญา ทรพั ยส์ นิ เพ่อื ศิษยบ์ ้าง
12 เป็นผู้มีอารมณ์ขันพอสมควร จะช่วยให้บรรยากาศการเรียน
การสอนมีชีวติ ชวี า ไมต่ ึงเครยี ดจนเกนิ ไป
13 เป็นผู้มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถสังคมกับคนทุกระดับได้ดี มี
ความเปน็ กันเองดี
14 มีเมตตาธรรม คอยให้ความช่วยเหลือคุ้มครองศิษย์ ไม่อาฆาต
ม่งุ รา้ ยต่อศษิ ย์ มแี ต่การใหอ้ ภัย มคี วามเห็นอกเห็นใจผู้เรยี น
15 มีความสามารถทางสตปิ ญั ญาดี
16 เป็นผู้มีความสนใจในอาชีพครูอย่างแท้จริง ติดตามความ
เคลื่อนไหวในวงการศกึ ษา และอาชีพครู มีอดุ มคติในการทางาน
บคุ ลิกภาพของครูทด่ี ี ประกอบด้วยบุคลิกภาพ 4 ด้าน คือ บุคลิกภาพทาง
กาย บุคลิกภาพทางอารมณ์ บุคลิกภาพทางสังคม และบุคลิกภาพทางสติปัญญา ดังต่อไปนี้
(จกั รแก้ว นามเมอื ง, 2555)
1 บคุ ลกิ ภาพทางกาย ประกอบด้วย
1.1 ด้านกายภาพ หมายถึง ครูท่ีมีบุคลิกภาพด้านกายภาพเป็น
ปกติและน่าศรทั ธา น่านบั ถือ จะมีโอกาสประสบความสาเร็จในการอยู่ร่วมกับลูกศิษย์มากกว่า
ครูท่ีมีบุคลิกภาพด้านกายภาพผิดปกติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการผิดปกติในทางที่ไม่ดี ลักษณะ
บคุ ลกิ ภาพทางกาย ไดแ้ ก่
1.1.1 รูปรา่ งหนา้ ตา กิรยิ าอาการลกั ษณะทา่ ทางท่สี ง่างาม
74
1.1.2 การแต่งกายที่เหมาะสม คือ การแต่งกาย (รวมถึง
แต่งหน้าและทรงผมด้วย) ทีส่ ะอาด เรยี บร้อย ดูดี น่านบั ถอื ถูกกาลเทศะ เรียกว่า Neat and
Clean
1.1.3 กริ ยิ ามารยาท คือ มกี ิริยามารยาทท่ีเรียบร้อย สุภาพ
อ่อนโยน นุม่ นวล
1.1.4 สวมใสเสื้อผ้าท่ีเหมาะสมกับรูปร่าง เพศ วัย และ
ผวิ พรรณ
1.1.5 มีสขุ ภาพกายที่แขง็ แรง สมบรู ณ์
1.1.6 ร่างกายสะอาด ผวิ พรรณสดใส ใบหนา้ แจม่ ใส
1.1.7 ยนื นั่ง เดิน ให้เรียบรอ้ ยเหมาะสม
1.2 ด้านวาจา หมายถึง การแสดงออกทางวาจา การพูดด้วย
น้าเสียงท่ีแฝงด้านเมตตา ปรารถนาดี นุ่มนวล การพูดด้วยลีลาท่ีเหมาะสม ไม่ช้าไม่เร็ว
จนเกินไป และรวมไปถึงการไม่พูดน้อยหรือเงียบขรึมจนเกินไป หรือการพูดมากจนน่าราคาญ
ได้แก่
1.2.1 การพดู ด้วยถอ้ ยคาทถี่ ูกตอ้ ง ชดั เจน
1.2.2 การพูดทีเ่ หมาะสมกบั วุฒิภาวะของผ้เู รียน
1.2.3 การพูดทีถ่ กู กาลเทศะ
1.2.4 การพูดทีค่ ลอ่ งแคล่ว ถกู อักขระและคาควบกล้า
1.2.5 การพูดทีไ่ พเราะอ่อนหวาน
1.2.6 พดู เสยี งดงั ฟังชดั
1.2.7 พดู จามสี าระมเี หตุผล
1.3 ด้านการวางตัว ควรมีพฤติกรรมให้เหมาะสมกับฐานะ
ตาแหน่งหน้าท่ี คณุ วุฒิและวัยวฒุ ขิ องตน โดยมกี ารแสดงออกอย่างสุภาพและจริงใจ ซึ่งเป็นส่ิง
สาคัญท่ีสามารถผูกมัดน้าใจของบุคคลท่ีอยู่ใกล้ชิด หรือบุคคลอ่ืนๆ ที่มีส่วนเข้ามารู้จักและ
สัมพันธเ์ ก่ียวข้องดว้ ย
1.4 ด้านอิริยาบถ ควรมีอิริยาบถในขณะสอน ขณะทางาน
ติดต่อสัมพันธ์กับผู้เรียนและผู้อนื่ ให้เหมาะสมเป็นสง่าราศี เป็นท่ีนิยมยกย่องหรือเกรงใจของคน
ท่ัวไปไม่ว่าจะเป็นการน่ัง การยืน การเดิน การไหว้ การทาความเคารพ ควรมีความสารวม
เป็นตน้
75
2 บุคลิกภาพด้านอารมณ์
บุคลิกภาพทางอารมณ์ หมายถงึ การมวี ฒุ ิภาวะทางอารมณ์ที่เหมาะสม
มอี ารมณ์ม่ันคง เสมอต้นเสมอปลาย ซึ่งจะแสดงออกให้เห็นทางสีหน้า แววตา ท่าทาง และ
วาจาใหผ้ เู้ รยี นได้รับรไู้ ด้ ประกอบด้วย
2.1 การควบคุมอารมณ์ได้ดี ท้ังอารมณ์ดีใจ โกรธ เศร้า หรือ
หงุดหงิด
2.2 ความสนใจผู้เรียน หมายถึง มีความกระตือรือร้นท่ีจะรับรู้
หรือถ่ายทอดความรู้ต่างๆ รวมท้ังการแสวงหาประสบการณ์ท่ีกว้างขวางหลากหลาย มีความ
สนใจในตัวผู้เรียน บทเรยี น และวธิ ีสอน มีความเข้าใจและสนใจปัญหาต่างๆ ของผู้เรยี น
2.3 การมีอารมณ์ขัน ไม่เคร่งเครียดจริงจงั จนเกินไป
2.4 มอี ารมณแ์ จม่ ใส เบิกบาน ย้มิ แยม้ และรา่ เรงิ อยู่เสมอ
2.5 มีความรบั ผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
2.6 มีความรบั ผดิ ชอบต่องานสงู
2.7 มีความซอ่ื สตั ย์ จรงิ ใจ
2.8 มีเมตตา กรณุ า มุทิตา อเุ บกขา (พรหมวหิ าร 4)
2.9 ตรงต่อเวลา
2.10 มีทัศนคตแิ ละคา่ นยิ มที่ดงี าม
2.11 มคี วามม่ันใจในตนเองเปน็ ตวั ของตัวเอง
2.12 มคี วามยตุ ิธรรม ไม่ลาเอียง (อคติ)
2.13 มจี ิตใจกว้างขวาง ยอมรับความคิดเหน็ ท่แี ตกต่างกัน
2.14 ขยันหมนั่ เพียร
2.15 เอ้อื เฟ้ือเผ่ือแผแ่ ละเสยี สละ
2.16 หนกั แนน่ อดทนอดกลัน้ และข่มใจตนเองได้
2.17 มีความกล้าแสดงออกที่เหมาะสม กล้าแสดงความคิดเห็น
อย่างมเี หตผุ ล
2.18 มีความสานึกในหน้าที่การงาน
3 บุคลิกภาพดา้ นสงั คม
เป็นบุคลิกภาพท่ีแสดงออกให้ผู้อ่ืนพบเห็นได้ในสังคม การเข้าสู่สังคม
จึงเปน็ บทบาทอยา่ งหนง่ึ ของครู
3.1 มีความเป็นผนู้ า
3.2 ให้ความรว่ มมอื กับผู้อ่นื ชมุ ชน และสงั คม
76
3.3 ความมีระเบียบวินัย สารวมระวังความประพฤติตนอยู่ใน
ระเบียบแบบแผน (ประพฤติตนเปน็ แบบอย่างท่ดี ี)
3.4 สามารถปรับตัวเข้ากับสังคมได้ดี
3.5 มีความออ่ นนอ้ มถอ่ มตน
3.6 มีการวางตวั ทเี่ หมาะสมในสงั คม
3.7 มีความสัมพนั ธก์ ับผู้เรียนและเพื่อนร่วมงานและผู้บังคับบัญชา
ที่ดี
3.8 มคี วามเป็นกันเองกบั ผ้เู รียน
3.9 การมีมนุษยสัมพนั ธ์ท่ีดีต่อทุกๆ คน
4 บุคลกิ ภาพด้านสติปัญญา
บุคลิกภาพด้านสตปิ ญั ญา หมายถึง การใชส้ ติปัญญาในการสอน การ
แกป้ ญั หาต่างๆ ไดด้ แี ละมีประสิทธภิ าพ ประกอบด้วย
4.1 การมีปฏภิ าณไหวพรบิ ท่ดี ี
4.2 ความสามารถในการแก้ไขปัญหาเฉพาะหนา้ ได้เหมาะสม
4.3 มีการตดั สินใจทดี่ ี
4.4 มคี วามคดิ ริเร่ิมสร้างสรรค์
4.5 มคี วามรรู้ อบตัวดี
4.6 มีความจาดี
4.7 เปน็ คนชา่ งสังเกต ละเอยี ดรอบคอบ
4.8 มีความรู้ในรายวชิ าท่สี อนอย่างแท้จรงิ
4.9 มคี วามรดู้ ้านวิจยั คอมพวิ เตอร์ และสื่อเทคโนโลยีตา่ งๆ
4.10 มีความรดู้ ้านเทคนิคการสอน การวดั ผลประเมนิ ผล
4.11 รูข้ ้อมลู ขา่ วสารรอบตวั และเรอื่ งราวในท้องถิน่
4.12 มีความสามารถถ่ายทอดความรู้ เช่น ประยุกต์ใช้เทคนิค
การสอนต่างๆ สามารถอบรมบ่มนิสัยผู้เรียนให้มีศีลธรรม วัฒนธรรม กิจนิสัย สุขนิสัย และ
อุปนสิ ัยทดี่ ี สามารถพฒั นาใหผ้ ู้เรยี นใฝุรู้ใฝเุ รยี นและกา้ วทันเทคโนโลยี สามารถพัฒนาผู้เรียนให้
คดิ กว้าง คดิ ไกล และมวี ิจารณญาณที่จะวเิ คราะห์ขา่ วสารต่างๆ ได้ดี เปน็ ตน้
4.13 รตู้ ามหลกั สัปปุริสธรรม 7 ประการ คือรู้หลักการอยู่ร่วมกัน
รู้หน้าที่ รู้หลักความจริงของธรรมชาติ รู้ความมุ่งหมายของการกระทาอันใด รู้บทบาทภาวะ
หน้าที่ ความสามารถ หรือรู้ว่าตนควรทาอะไร รู้จักประมาณตน รู้ว่าเวลาไหนควรทาอะไร
77
ตรงต่อเวลา รู้จักท้องถิ่น ชุมชน ขนบธรรมเนียมประเพณีและรู้จักความแตกต่างของบุคคล
และยอมรับความคดิ เห็น
4.14 แสวงหาคาแนะนา ให้คาแนะนา และข้อเสนอแนะท่ีดีต่อ
ผู้เรยี น
4.15 ลงมือกระทาจนกว่าจะถกู ต้อง
4.16 ตรวจสอบความก้าวหน้าของตนเองอย่เู สมอ
4.17 หมน่ั ไตร่ตรอง คิดพจิ ารณาตนเองอยู่เสมอ
ยนต์ ชุ่มจติ (2546) กลา่ วว่า บุคลิกภาพของคนเราสามารถจาแนกออกได้
เป็น 2 ประเภท คือ บุคลิกภาพภายนอกและบุคลิกภาพภายใน ดังน้ันเม่ือพิจารณาในส่วนท่ี
เป็นบุคลิกภาพที่ดีจึงสามารถจาแนกประเภทของบุคลิกภาพท่ีดีได้เป็น 2 ประเภทเช่นเดียวกัน
คือ บคุ ลิกภาพภายนอกทดี่ แี ละบคุ ลกิ ภาพภายในทดี่ ีสาหรับบคุ ลิกภาพที่ดีของครูน้ันมีลักษณะท่ี
ควรพจิ ารณาดงั ตอ่ ไปนี้
1 บคุ ลกิ ภาพภายนอกทีด่ ีของครู
1.1 ร่างกายสมสว่ นไม่อ้วนไมผ่ อม
1.2 สุขภาพแขง็ แรง
1.3 รา่ งกายสะอาด
1.4 ผวิ พรรณผ่องใส
1.5 หนา้ ตาย้มิ แยม้ แจ่มใส
1.6 กริ ยิ าอาการสงบเสงี่ยม
1.7 ยนื เดินนงั่ เรียบรอ้ ยเสมอ
1.8 กิรยิ าท่าทางสภุ าพนมุ่ นวล
1.9 ทางานคลอ่ งแคลว่ ว่องไว
1.10 พูดจาชัดถอ้ ยชัดคา
1.11 เสียงดังฟงั ชัด
1.12 พูดจาคล่องแคลว่
1.13 พดู จานุ่มนวล
1.14 องอาจผง่ึ ผาย
1.15 แต่งกายเรียบร้อยเสมอ
2 บุคลกิ ภาพภายในทีด่ ีของครตู ัวอย่าง เชน่
2.1 ความคดิ ริเริ่มสรา้ งสรรค์ดี
2.2 ความรรู้ อบตัว
78
2.3 ปฏภิ าณไหวพรบิ ดี
2.4 ความจาดี
2.5 อารมณด์ ี
2.6 มีอารมณ์ขนั
2.7 กระตือรือร้น
2.8 ซื่อสัตย์จริงใจ
2.9 เมตตากรณุ า
2.10 ตรงต่อเวลา
2.11 กตัญญกู ตเวที
2.12 ชา่ งสังเกต
2.13 มคี วามอดทน
2.14 มัน่ ใจในตนเอง
2.15 ค่านยิ มสูง
ฯลฯ
สรุปได้ว่า บุคลิกภาพของครูเป็นส่ิงสาคัญที่เป็นผลทาให้ครูประสบ
ความสาเร็จในการประกอบอาชีพ ครูจะต้องมีบุคลิกภาพที่ดี เช่น เป็นผู้มีสุขภาพแข็งแรง
อดทน เปน็ ผ้มู รี ะเบียบ วนิ ัย เปน็ ผมู้ ีสติ สามารถควบคุมอารมณ์ได้ เป็นผู้มีกิริยา วาจาสุภาพ
อ่อนโยน เป็นผู้มีอารมณ์ขัน ร่าเริง แจ่มใส เป็นผู้ฝึกฝนค้นคว้า หาความรู้เพ่ิมเติมอยู่เสมอ
เป็นผู้มีความกระตือรือร้น เป็นผู้แต่งกายสุภาพ เหมาะสม เป็นผู้มีกิริยาท่าทางท่ีสุภาพ
ถ่อมตน เปน็ ผูม้ ีความคิดริเรม่ิ สรา้ งสรรค์
2.4.2 ดา้ นมนษุ ยสมั พันธ์
2.4.2.1 ความหมายของมนุษยสมั พันธ์
คาว่ามนุษยสัมพันธ์ (Human Relation) ได้มีผู้ให้ความหมายไว้อย่าง
กว้างขวางท้ังความหมายท่ัวๆ ไป และความหมายท่ีใช้ในองค์การในเชิงบริหารงาน ได้มีผู้ให้
ความหมายของ มนุษยสัมพันธไ์ ว้มากมาย ดังนี้
กฤษณา ศักดิ์ศรี (2540 อ้างถึงใน จันทร์ตรี คาสอน, 2549) ได้ให้
ความหมายของมนษุ ยสมั พันธไ์ วว้ ่า หมายถึง การที่จะศึกษาเร่ืองต่างๆ ที่เกี่ยวกับคน เพ่ือให้รู้
และเข้าใจลักษณะความจาเป็นของชีวิตความต้องการของแต่ละบุคคล ซ่ึงเมื่อได้รับการ
ตอบสนองแล้วจะเกิดความพึงพอใจ และความพึงพอใจจะเป็นแรงผลักดันให้เกิดความเต็มใจท่ี
จะให้ความร่วมมือในการทางานร่วมกัน
79
อัจนา ศรีสุรพล (2535 อ้างถึงใน จันทร์ตรี คาสอน, 2549) ได้ให้
ความหมายของมนษุ ยสัมพันธ์ไวว้ า่ หมายถงึ การท่ีบุคคลแสดงพฤติกรรมต่อบุคคลอ่ืน เพื่อทา
ให้เกิดความสัมพันธ์ท่ีดีต่อกัน โดยมีลักษณะสาคัญกล่าวคือการรู้จักควบคุมตนเอง การไม่
ควบคุมคนอื่นและการไม่ให้ผูอ้ น่ื ควบคุม
อาภรณ์ ภู่วิริยพันธ์ุ (2548 อ้างถึงใน จันทร์ตรี คาสอน, 2549) ได้ให้
ความหมายของมนษุ ยสมั พันธไ์ ว้ว่า หมายถึง การสร้างความเป็นมิตรหรือความสัมพันธ์เชิงบวก
กับบุคคลอื่น จากการเริ่มต้นทักทายการสนับสนุน และช่วยเหลือ การรักษา และพัฒนา
ความสัมพันธร์ ะหวา่ งบคุ คลรวมท้ังการให้เกยี รติบคุ คลอน่ื
สมพร สุทัศนีย์ (2548 อ้างถึงใน จันทร์ตรี คาสอน, 2549) ได้ให้
ความหมายของมนษุ ยสมั พนั ธ์ทใี่ ช้ในองค์การไวว้ า่ หมายถงึ กระบวนการจูงใจเพื่อให้ทุกคนเกิด
ความร่วมมือรว่ มใจในการทางาน ทจ่ี ะนาไปสคู่ วามสาเร็จขององค์การ และความเข้าใจอันดีต่อ
กันระหว่างบคุ คลในองคก์ าร
ประดินันท์ อุปรมัย (2549 อ้างถึงใน จันทร์ตรี คาสอน, 2549) ได้ให้
ความหมายของมนุษยสัมพนั ธใ์ นการทางานไวว้ ่า หมายถงึ ความสัมพันธ์อันดีระหว่างผู้ร่วมงาน
ที่ช่วยกันทางานจนกระท่งั งานบรรลเุ ปูาหมาย แลว้ ก็เกิดความพงึ พอใจด้วยกันทกุ ๆ ฝุาย
วิจิตร วรุตบางกูร (2530 อ้างถึงใน สมหวัง ไชยศรีฮาด, 2547) กล่าวถึง
มนุษยสมั พันธใ์ นเชิงบรหิ ารไว้ว่า เป็นศาสตร์และศิลป์ของการสร้างความสัมพันธ์อันดีกับบุคคล
อื่น เปน็ ผลใหเ้ กดิ การยอมรับนบั ถือเกิดความรว่ มมอื รว่ มใจในการดาเนินงานตามทค่ี าดหวัง
วินิจ เกตุขา (2535 อ้างถึงใน สมหวัง ไชยศรีฮาด, 2547) มนุษยสัมพันธ์
หมายถงึ ความสัมพันธร์ ะหว่างมนษุ ยก์ บั มนุษย์ ทีม่ ุ่งใหเ้ กดิ ความเข้าใจอนั ดีตอ่ กนั อันจะนามาซ่ึง
ความรว่ มมอื ประสานงานกนั ให้ดาเนินงานตา่ งๆ อยา่ งไดผ้ ล และมีประสทิ ธภิ าพ
บุญเลิศ กลิ่นรัตน์ (2536 อ้างถึงใน สมหวัง ไชยศรีฮาด, 2547)
มนุษยสัมพันธ์ หมายถึง ศิลปะในการเข้ากับผู้อื่นได้อย่างราบรื่น โดยมีจุดหมายที่จะให้เกิด
ความร่วมมอื ซงึ่ กันและกันเพ่ือใหด้ าเนินกิจกรรมท้งั ปวงดาเนินไปจนบรรลุเปูาหมายขององค์การ
ท่ตี งั้ ไว้
สมใจ เขยี วสด (2536 อ้างถงึ ใน สมหวัง ไชยศรีฮาด, 2547) มนุษยสัมพันธ์
โดยทว่ั ไปคอื การปฏิสัมพันธก์ นั ระหวา่ งบคุ คลในรปู แบบตา่ งๆ เพอ่ื ให้เกิดความรักความนับถือซึ่ง
กันและกัน
นงลักษณ์ ประเสริฐ (2538 อ้างถึงใน สมหวัง ไชยศรีฮาด, 2547)
มนุษยสัมพันธ์เป็นศิลปะในการอยู่รว่ มกนั อยา่ งเป็นสขุ สามารถสรา้ งสรรค์งานให้บรรลุเปูาหมาย
ได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
80
เรียม ศรีทอง (2540 อ้างถึงใน สมหวัง ไชยศรีฮาด, 2547) มนุษยสัมพันธ์
กับกระบวนการติดต่อเกีย่ วขอ้ งดว้ ยสมั พันธภาพอันดี ต้ังอยูบ่ นพื้นฐานความเขา้ ใจร่วมกันในการ
ยอมรับนับถือนาไปสู่ความพอใจ ความรัก ความร่วมมือ ในการทางานร่วมกันจนบรรลุ
เปาู หมายในงานส่วนบุคคลและในองค์การ
วจิ ิตร อาวะกลุ (2542 อา้ งถึงใน สมหวงั ไชยศรฮี าด, 2547) มนุษยสัมพันธ์
เป็นการตดิ ตอ่ เกีย่ วข้องระหว่างมนุษย์ อันจะเป็นสะพานทอดไปสู่การสร้างมิตรชนะมิตร และ
จูงใจคน รวมท้ังการสร้างและพัฒนาตนเองให้เป็นท่ีรู้จักรักใคร่ชอบพอแก่คนทั่วไป ได้รับการ
สนับสนุนจากบุคคลหลายฝาุ ย เปน็ การสร้างตนให้เปน็ คนดีของสงั คม
ประไพพรรณ ธงอินเนตร (2542 อ้างถึงใน สมหวัง ไชยศรีฮาด, 2547)
มนุษยสัมพันธ์ คือ ทฤษฎีและหลักการต่างๆ ท่ีจะใช้ในการสร้างสัมพันธภาพท่ีดีกับผู้อื่น จะ
เป็นเครอ่ื งมือในการผกู มิตรประสานประโยชน์ และทาใหก้ ารดารงชีวติ และดาเนินงานในสังคมมี
ประสิทธภิ าพ ประสบความสาเรจ็ ไปได้ดว้ ยดี มนษุ ยสัมพันธจ์ ะเปน็ ศาสตรท์ ี่เกี่ยวกบั แนวคิดทาง
จิตวิทยา พฤติกรรมมนุษย์ และแนวคิดเก่ียวกับหลักธรรมในศาสนา ส่ิงเหล่านี้จะทาให้เกิด
ความรู้ ความเข้าใจในมนษุ ย์แลว้ รู้จกั นามาปรบั ใชอ้ ย่างมีศลิ ปะเพอื่ ให้ผกู มิตรกับผู้อ่นื ได้ดี
สมพร สุทศั นีย์ (2542 อา้ งถึงใน สมหวงั ไชยศรีฮาด, 2547) มนุษยสัมพันธ์
หมายถึง การติดต่อเกี่ยวข้องกันระหว่างบุคคล เพ่ือให้เกิดความรักใคร่ชอบพอ ความร่วมมือ
ร่วมใจในการทากจิ กรรมให้บรรลเุ ปูาหมายและดาเนนิ ชวี ิตใหม้ ีความราบรนื่
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2542 (2546 อ้างถึงใน
พระครูปรีชาวชิรธรรม สุวชิโร (โล่ทอง), 2549) ได้ให้ความหมายของมนุษยสัมพันธ์เอาไว้ว่า
มนุษยสมั พนั ธ์ หมายถึง ความสัมพันธ์ในทางสังคมระหว่างมนุษย์ ซ่ึงจะก่อให้เกิดความเข้าใจ
อนั ดตี อ่ กนั
จรูญ ทองถาวร (2531 อ้างถึงใน พระครูปรีชาวชิรธรรม สุวชิโร (โล่ทอง),
2549) ได้ให้ความหมายของมนุษยสัมพันธ์เอาไว้ว่า มนุษยสัมพันธ์ หมายถึง วิชาอันว่าด้วย
ศาสตร์และศิลปะ ในการเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล เพื่อให้เกิดความร่วมมือ
รว่ มใจในการปฏบิ ตั ิงาน และอยรู่ ่วมกนั ด้วยดีและมีความสุข
สถิตย์ กองคา (2540 อ้างถึงใน พระครูปรีชาวชิรธรรม สุวชิโร (โล่ทอง),
2549) ไดใ้ ห้ความหมายของมนุษยสัมพันธ์เอาไว้ว่า มนุษยสัมพันธ์ หมายถึง พฤติกรรมในทาง
ท่ีดีของบุคคลหน่ึงที่แสดงต่อคนอ่ืนๆ เพ่ือให้เกิดความเข้าใจอันดีต่อกัน และคนอ่ืนเกิด
ความรู้สึกท่ีดีตอบสนอง และพร้อมที่จะร่วมมือร่วมปฏิบัติงานด้วยความเต็มใจ เพ่ือให้เป็นไป
ตามเปูาหมาย และวตั ถุประสงคข์ ององคก์ าร
81
วิภาพร มาพบสขุ (2543 อา้ งถึงใน พระครปู รชี าวชิรธรรม สุวชิโร (โล่ทอง),
2549) ได้ให้ความหมายของมนุษยสัมพันธ์เอาไว้ว่า มนุษยสัมพันธ์ หมายถึง ความสัมพันธ์
ผกู พันเก่ียวขอ้ งกันหรือความเกยี่ วพนั ซ่งึ กันและกัน หรอื การตดิ ต่อกนั ของบุคคลผมู้ ีจติ ใจสงู
กล่าวโดยสรุป มนุษยสัมพันธ์ หมายถึง การสร้างความสัมพันธ์อันดีกับ
บคุ คลอนื่ ท่ีมุ่งใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจอันดีต่อกัน อันจะนามาซึ่งความร่วมมือซ่ึงกันและกัน เพ่ือให้
การดาเนนิ กจิ กรรมบรรลเุ ปาู หมายได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
2.4.2.2 คุณลกั ษณะของมนุษยสัมพันธ์
เอกชัย สุนทรโร (2534 อ้างถึงใน สมหวัง ไชยศรีฮาด, 2547) ได้เสนอ
หลกั การสร้างมนษุ ยสมั พันธ์ดงั ต่อไปน้ี
1 ยิ้มแย้มแจม่ ใสอยเู่ สมอ การยม้ิ เป็นการปฏิบัติง่าย ไม่ต้องลงทุนลง
แรงมาก แตไ่ ด้ผลคุม้ ค่า ทกุ คนย่อมไม่พึงพอใจท่ีจะพบปะสนทนากับผู้ท่ีมีใบหน้าบ้ึงตึง ฉะนั้น
หลกั เบื้องต้นของการสรา้ งไมตรี คอื การยิม้ แย้มแจม่ ใสกบั ผู้อ่นื เสมอ
2 ใช้วาจาที่ไพเราะรื่นหู การใช้ถ้อยคาสุภาพเหมาะสมกับกาลเทศะ
ยอ่ มเปน็ ทีพ่ ึงปรารถนาของบคุ คลทั่วไป ข้อควรคานึงสาหรับการใช้วาจา คือ จงหลีกเลี่ยงการ
นินทาว่ารา้ ย การวพิ ากย์วจิ ารณผ์ ูค้ นอื่นในลักษณะไม่หวังดีก่อให้เกิดความเข้าใจผิด และสร้าง
ความหวาดระแวงซง่ึ ไม่เป็นผลดีในแง่ของมนษุ ยสมั พนั ธ์
3 การยกย่องชมเชยผู้อ่ืนด้วยความจริงใจ การยกย่องชมเชยผู้อ่ืนถือ
ว่าเปน็ การให้ทางใจทส่ี าคญั ย่งิ และการให้นั้นจะตอ้ งไมม่ คี วามรษิ ยา มองผู้อื่นในแง่ดี ยินดีเม่ือ
ผูอ้ นื่ ได้ ควรมีใจยินดแี ละสรรเสริญความดขี องผู้อื่นนน้ั ด้วยการสร้างเกียรติคุณให้แกต่ นเอง
4 เปน็ นกั ฟงั ทีด่ ียากกวา่ นกั พดู ท่ดี ี เพราะการสรรหาคาพูดที่ดีไพเราะ
ถูกใจคนสักเพียงใดก็ได้ แต่การฟังน้ันผู้ฟังจาเป็นต้องอดทนฟัง แม้เรื่องไม่ประสงค์จะได้ยิน
การเปน็ นกั ฟงั ท่ดี ถี ือว่าเป็นเสน่หอ์ ยา่ งหนึ่งของการคบหาสมาคมกับผอู้ ื่น
5 ให้ความช่วยเหลือผู้อื่นอย่างจริงใจในโอกาสอันสมควร การให้
ความช่วยเหลือด้วยความเต็มใจเป็นการแสดงออกซึ่งน้าใจอันดีงาม เป็นการสร้างสัมพันธ์อันดี
กบั ผ้อู ื่น และสามารถเอาชนะใจผูอ้ ่นื ไดด้ ว้ ย
ริเรืองรอง รตั นวิไลสกลุ (2538 อา้ งถงึ ใน สมหวัง ไชยศรีฮาด, 2547) กล่าว
ว่าการมีมนุษยสัมพันธ์ในการปฏิบตั งิ านมดี งั นี้
1 ให้ความเคารพต่อตนเอง และผู้อ่ืน การทางานร่วมกันหากเรามี
ความเคารพต่อความรู้ความสามารถของตนแล้ว ผลงานท่ีได้ก็จะออกมาตามที่หวัง ใน
ขณะเดียวกันถ้าเราเคารพในความรู้ความสามารถของผู้รว่ มงานดว้ ย งานก็จะสามารถสัมฤทธ์ิผล
ตามตอ้ งการ
82
2 เป็นผู้ที่มีส่วนร่วมในกลุ่มอย่างแท้จริง ไม่ว่าจะด้วยความคิดเห็น
การปฏบิ ตั ิ หรอื การตดั สนิ ใจก็ตาม จงอย่ากระทาตนเป็นเหลือบท่ีแฝงตัวอยู่กับผู้อ่ืนคอยแต่กัด
กินทาลายมใิ หป้ ระโยชนแ์ ก่ผูท้ ีต่ นอาศัย จงเป็นผู้ให้มากกว่าผู้รับด้วยการให้ความร่วมมือในงาน
ของกลมุ่ อย่างแท้จริง
3 ทาความเข้าใจต่อบทบาทของกันและกัน กล่าวคือไม่ก้าวก่ายสู่รู้ใน
หนา้ ที่การงานของผูอ้ ื่น ต้องสังวรอยเู่ สมอว่าขอบขา่ ยอานาจหน้าที่ของตนมีแค่ไหน ดังคากล่าว
ทว่ี ่าเป็นพยาบาลอย่าทาตวั ใหเ้ ป็นหมอ เป็นเสมยี นทนายความอยา่ เปน็ ทนายความเสียเอง
4 อดทนต่อปฏิกิริยาต่อต้าน ไม่ว่าจากผู้ร่วมงาน หรือหัวหน้างาน
ให้คิดเสยี ว่าคนรักเท่าผนื หนงั คนชังเท่าผืนเสื่อ จงอย่าคิดว่าทุกคนที่เรารู้จักจะรักเห็นดีเห็นชอบ
ไปกับเราดว้ ย
5 เปิดโอกาสให้ผู้ร่วมงานทุกคนได้เป็นส่วนหน่ึงของกลุ่ม กล่าวคือ
จะตอ้ งกระตุน้ ใหผ้ ู้รว่ มงานทกุ คนได้มสี ่วนร่วมในกลุ่ม ไมค่ วรเอาแต่ประโยชน์ส่วนตัวหรือเอาแต่
ใจฝุายเดียว แต่ตอ้ งคานงึ ถงึ ความคิดริเรม่ิ สรา้ งสรรค์ให้เกดิ ในกลุ่มด้วย เพื่อให้เกิดความร่วมมือ
รว่ มใจในการปฏิบตั งิ านเพราะจะนาทางไปสูง่ านท่มี ปี ระสิทธภิ าพ
6 ต้องมีความมั่นใจและเชื่อในความสามารถของตนว่าเหมาะสมกับ
งานน้ันหรือไม่ เพื่อจะได้ไม่เป็นตัวถ่วงหรือไปสร้างความขัดแย้งให้แก่กลุ่ม เพราะความไม่รู้
ไม่เข้าใจเป็นสาเหตุ
7 ใจกว้างและเปิดโอกาสให้มีการโต้ตอบกันแบบส่ือสาร 2 ทาง เพื่อ
ชี้แจงข้อบกพร่องข้อขัดแย้งกันระหว่างทางานร่วมกัน เพ่ือให้เกิดความเข้าใจเหมือนกันและ
ตรงกัน
8 ใช้วิธีการพูดท่ีมีประสิทธิภาพทั้งวาจา และกิริยาท่าทาง ให้ดูแล้ว
ชนื่ ใจ การพดู รัวเร็วเกนิ ไปอาจทาให้คนไม่อยากฟงั การพดู เชอ่ื งชา้ อาจทาให้คนเบ่ือหน่าย การ
พูดจาท่ีใช้ท่าทางหน้าตามากเกินไปก็จะทาให้คู่สนทนาเมื่อยหน้าเม่ือยตัวไปด้วย ฉะน้ันการ
พูดจาจะต้องทิ้งจังหวะ และมีท่าทางประกอบตามความเหมาะสม ควรสนทนาปราศรัยอย่าง
เป็นกันเอง ไมผ่ ูกขาดอยู่คนเดียว หรือฟังอย่างเดียว และที่สาคัญก็คือการเป็นคนช่างเจรจาก็
มิใช่เปน็ หนทางการมมี นุษยสัมพันธ์เสมอไป ถา้ หากการพดู นน้ั ไมไ่ ดม้ าจากความจรงิ ใจ
9 ให้หลักการสื่อสารที่ดี กล่าวคือไม่ควรมีการต่อเติมเสริมแต่งตัด
ทอนหรอื ลาเอยี ง จะตอ้ งมกี ารโต้ตอบทีช่ ัดเจน เพ่อื ให้มกี ารส่งข้อมูลนนั้ ถกู ตอ้ ง
10 ปรบั ตัวใหเ้ ข้าหาผู้อืน่ การที่จะให้คนหลายๆ คนปรับตัวเข้าหาเรา
นั้นยอ่ มเป็นการยาก แต่ถา้ เราปรบั ตัวเข้าหาผู้อืน่ ย่อมง่ายกว่า และยังเป็นผลทาให้เกิดเสน่ห์ต่อ
ตนเองดว้ ย ดงั น้ันการสร้างมนษุ ยสัมพันธค์ วรเรม่ิ ต้นจากความรู้สึกภายใน คือจิตใจจะต้องเป็นผู้
83
มีความรู้สึกที่ดีปรารถนาที่ดีต่อผู้อื่น มีอารมณ์มั่นคงย้ิมแย้มแจ่มใส ยืดหยุ่นตามสถานการณ์
เอาใจเขามาใสใ่ จเรา มีกิรยิ าวาจาสุภาพ ให้เกยี รตยิ กย่องผรู้ ่วมงาน มีความเสมอต้นเสมอปลาย
ขณะเดียวกันก็ฝึกปฏิบัติตนต่อผู้อื่นด้วยกิริยามารยาทท่ีดี มีความจริงใจ ตลอดจนให้ความ
ชว่ ยเหลอื ผูอ้ ่นื ตามโอกาส
กล่าวโดยสรุป คุณลักษณะของมนุษยสัมพันธ์ของครูนั้น ต้องเป็นผู้มี
อารมณ์มั่นคง สุขุม เป็นผู้มีความเป็นกันเอง มีความใกล้ชิดกับผู้เรียน เป็นผู้มีความ
เอื้อเฟ้ือเผ่ือแผ่ เป็นผู้ที่ไม่เย่อหยิ่ง ไม่ถือตัว เป็นผู้มีความสนใจบุคคลอื่นโดยศึกษาความ
ต้องการและความแตกต่างของบุคคลอ่ืน เป็นผู้ท่ีแสดงความช่ืนชมบุคคลอ่ืนด้วยความจริงใจ
เป็นผู้ที่ร่วมงานกับบุคคลอื่นได้ดี และเป็นที่ยอมรับ เป็นผู้ท่ีปรับตัวเข้ากับสังคม ส่ิงแวดล้อม
และบุคคลอ่ืนได้ง่าย เป็นผู้ที่มีความเคารพในสิทธิ ศักดิ์ศรี และหน้าที่ของผู้อ่ืน เป็นผู้มีความ
ยุตธิ รรม ยอมรับฟงั ความคดิ เห็นของผเู้ รยี น
2.4.3 ด้านภาวะความเปน็ ผู้นา
2.4.3.1 ความหมายของภาวะผูน้ า
ภาวะผนู้ าเป็นหัวขอ้ ที่ยอมรับกันทั่วไปวา่ มคี วามนา่ สนใจและมีความท้าทาย
มากหวั ข้อหนงึ่ ของการศกึ ษาดา้ นพฤตกิ รรมองค์กร แตข่ ณะเดียวกันคาว่า “Leadership (ภาวะ
ผู้นาหรอื การเป็นผ้นู า)” ถือไดว้ า่ เปน็ คาที่มีผใู้ ห้นิยามความหมายที่แตกต่างกันออกไปมากคาหน่ึง
ท้ังน้ีจากผลการสารวจนิยามของภาวะผู้นาเท่าท่ีปรากฏในเอกสารต่างๆ เบนนิสและนานัส
(Bennis & Nanus, 1985) พบว่ามีบุคคลต่างๆ ให้ไว้กว่า 350 นิยาม ซึ่งสอดคล้องกับท่ี
สต๊อกดิลล์ (Stogdill, 1974) เคยกล่าวว่าจานวนนิยามของคา Leadership มีมากมายพอๆ กับ
จานวนบุคคลท่ีให้นิยามนั้น สุเทพ พงศ์ศรีวัฒน์ ได้ศึกษารวบรวมผลงานของบุคคลต่างๆ ไว้
ดงั น้ี (สุเทพ พงศ์ศรวี ัฒน์, 2550)
ผู้นา (Leader) กับภาวะผู้นา (Leadership) มีความหมายแตกต่างกัน ได้มี
ผ้ใู หน้ ิยาม “ผนู้ า” ไว้ดังน้ี
ผู้นาคอื บคุ คลท่มี ีลกั ษณะอยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ ใน 5 อยา่ งตอ่ ไปน้ี
1 มีบทบาทหรอื มอี ทิ ธิพลตอ่ คนในหน่วยงานมากกวา่ ผอู้ ืน่
2 มบี ทบาทเหนือบุคคลอื่นๆ
3 มีบทบาทสาคัญที่สดุ ที่ทาให้หนว่ ยงานบรรลุเปาู หมาย
4 ได้รับเลอื กจากผู้อน่ื ให้เปน็ ผนู้ า
5 เป็นหัวหนา้ ของกลุ่ม
ผนู้ า คือบุคคลในกลุ่มซึ่งได้รับมอบหมายหน้าที่ให้ควบคุมหรือประสานงาน
กิจกรรมตา่ งๆ ทเ่ี กี่ยวกับภารกจิ ของกลุม่ (Fieldler, 1967 อา้ งถงึ ใน สุเทพ พงศ์ศรีวัฒน์, 2550)
84
ผู้นาคือบุคคลท่ีถูกเลือกหรือได้รับการแต่งต้ังให้นากลุ่มและมีอิทธิพลต่ อ
กิจกรรมต่างๆ ของกลุ่มเพื่อการบรรลุเปูาหมายของกลุ่มและเพ่ือทาหน้าท่ีหัวหน้าของกลุ่ม
(Dejnozka, 1983 อา้ งถึงใน สุเทพ พงศศ์ รวี ฒั น์, 2550)
สาหรบั “ภาวะผู้นา” นน้ั ได้มผี ูใ้ หน้ ยิ ามไว้ดงั นี้
ภาวะผู้นาคือ พฤติกรรมของบุคคลในการกากับกิจกรรมของกลุ่มไปสู่
เปาู หมายรว่ มกัน (Hemphill & Coons, 1957 อา้ งถงึ ใน สุเทพ พงศ์ศรวี ฒั น์, 2550)
ภาวะผนู้ า คอื การใช้อิทธิพลเพ่ิมที่สูงกว่าและมากกว่ากลไกการทางานปกติ
ที่ใช้กากับงานประจาขององค์การ (Katz & Kahn, 1978 อา้ งถึงใน สุเทพ พงศศ์ รีวฒั น์, 2550)
ภาวะผู้นาเปน็ ความสมั พนั ธ์ระหว่างบุคคลซ่ึงเก่ียวข้องกับการใช้อิทธิพลและ
อานาจ (เสรมิ ศักด์ิ วศิ าลาภรณ์, 2540 อา้ งถึงใน สเุ ทพ พงศศ์ รวี ฒั น์, 2550)
อย่างไรกต็ าม จากการศกึ ษาผลงานของบุคคลต่างๆ ในช่วงก่อน ค.ศ. 1985
ไบรแมน (Bryman, 1996 อ้างถึงใน สุเทพ พงศศ์ รวี ฒั น์, 2550) กล่าวว่าคานิยามภาวะผู้นาของ
บคุ คลต่างๆ สว่ นใหญ่จะสอดคล้องกบั คานยิ ามทส่ี ตอ๊ กดิลล์เคยใหไ้ วไ้ ม่มากก็น้อย ดงั นี้
ภาวะผนู้ าเปน็ กระบวนการของการใชอ้ ทิ ธิพลต่อกิจกรรมต่างๆ ของกลุ่มเพื่อ
การต้ังเปาู หมายและบรรลเุ ปูาหมาย (Stogdill, 1974 อ้างถงึ ใน สเุ ทพ พงศศ์ รีวฒั น์, 2550)
จากนิยามของสต๊อกดิลล์ดังกล่าว ประกอบด้วย 3 ประเด็นสาคัญ ท่ี
เก่ยี วกับอทิ ธิพล (Influence) กลุม่ (Group) และเปาู หมาย (Goal) ไดแ้ ก่
1 เป็นการมองภาวะผู้นา ในฐานะกระบวนการอิทธิพล (Process of
Influence) ทผ่ี ูน้ ามผี ลกระทบต่อบุคคลอ่นื ดว้ ยการเหนี่ยวรัง้ ให้พฤติกรรมของบุคคลเหล่าน้ีไปใน
ทิศทางทีต่ อ้ งการ
2 กระบวนการอิทธิพลดังกล่าว เป็นแนวคิดหลัก ท่ีเกิดข้ึนในบริบท
ของกลุ่ม (Group Context) โดยมีสมาชิกกลุ่มที่ไม่เปล่ียนแปลงเป็นผู้ใต้บังคับบัญชา ซึ่งอยู่ใน
ความรบั ผดิ ชอบของผ้นู า ดังน้ันจึงเน้นความสัมพันธ์ระหว่างผู้นากับกลุ่มที่เป็นผู้ใต้บังคับบัญชา
เป็นหลัก
3 ผู้นาใช้อิทธิพลต่อพฤติกรรมของสมาชิกกลุ่มไปในทิศทางของ
เปูาหมายท่ีต้องการให้กลุ่มบรรลุผล และในแง่ภาวะผู้นาที่มีประสิทธิผลการบรรลุเปูาหมาย
รวมถงึ การบรรลุเปูาหมายของกลมุ่ อกี ด้วย
จากผลการศึกษานิยามภาวะผูน้ าของไบรแมนดังกล่าว คานิยามส่วนใหญ่มา
จากแนวคิดเร่ืองคุณลักษณะ (Traits) พฤติกรรม (Behavior) การใช้อิทธิพล (Influence) และ
รูปแบบของการปฏิสัมพันธ์ (Interaction Patterns) ของผู้นาเป็นหลักสาคัญ ดังน้ันนิยามของ
85
ภาวะผู้นาเหล่าน้ีจึงสอดคล้องกับแนวคิดและทฤษฎีภาวะผู้นาต่างๆ ที่เกิดข้ึนในช่วงก่อนกลาง
ทศวรรษ 1980 ได้เปน็ อย่างดีซึง่ ไดแ้ ก่ แนวคดิ ทฤษฎีภาวะผ้นู าตามยคุ ที่ 1 - 3
อย่างไรก็ตาม กระแสแนวคิดเกยี่ วกบั นิยามของภาวะผู้นานับต้ังแต่ทศวรรษ
1980 ได้เปล่ียนแปลงแตกต่างไปจากเดิมมากพอสมควร เช่น เน้นความสาคัญของบทบาทใน
การสรา้ งความชัดเจนด้านความคิดโดยสเมอซิซและมอร์แกน (Smircich & Morgan, 1982 อ้าง
ถงึ ใน สุเทพ พงศ์ศรีวัฒน์, 2550) ให้นิยามว่า “ผู้นาคือผู้จัดการด้านความหมาย (Leaders as
Manager of Meaning)” ซึ่งคล้ายกับคานิยามของเฟฟเฟอร์ (Pfeffer, 1981 อ้างถึงใน สุเทพ
พงศ์ศรีวัฒน์, 2550) ท่ีระบุว่า ภาวะผู้นาเป็นการกระทาเชิงสัญลักษณ์ (Leadership as
Symbolication) ซึ่งหมายความว่า ผู้นามีหน้าท่ีสร้างความสมเหตุผล (Sense - Making) ใน
นามของบคุ คลอน่ื และเป็นผู้สร้างฉนั ทานมุ ัติใหเ้ กดิ ข้นึ แกค่ นเหลา่ นั้น จากแนวคิดทั้งสอง สรุป
ได้ว่าภาวะผนู า เป็นกระบวนการทผ่ี นู้ าชว่ ยสร้างความชัดเจนแก่ผู้ใต้บังคับบัญชาให้รับรู้ว่าอะไร
คือความสาคัญ ให้ภาพความเป็นจริงขององค์การแก่ผู้อ่ืน ช่วยให้มองเห็นทิศทางและ
จุดมุ่งหมายอยา่ งชดั เจนภายใต้ภาวะการเปล่ยี นแปลงอย่างรวดเร็วของโลก นิยามภาวะผู้นาใหม่
ภายใต้แนวคดิ ดา้ นบรบิ ทสภาวะแวดลอ้ มของโลกที่เปลย่ี นแปลงอย่างรวดเรว็ ได้แก่
ภาวะผู้นา หมายถึง การจุดประกายวิสัยทัศน์ให้ผู้อื่นมองเห็นพร้อมท้ัง
ปลูกฝังเปน็ คา่ นยิ ม และสร้างสภาวะแวดลอ้ มทีเ่ อือ้ อานวยให้สามารถปฏิบัติได้สาเร็จ (Richards
& Engle, 1986 อา้ งถึงใน สุเทพ พงศ์ศรีวัฒน์, 2550)
ภาวะผู้นาเป็นกระบวนการให้จุดมุ่งหมาย (ทิศทางท่ีมีความหมาย) เพ่ือให้
เกดิ การรวมพลังความพยายาม และความเต็มใจท่ีจะใช้ความพยายามน้ันเพ่ือให้บรรลุเปูาหมาย
(Jacobs & Jaques, 1990 อา้ งถงึ ใน สุเทพ พงศศ์ รีวฒั น์, 2550)
ภาวะผู้นา คือความสามารถที่จะก้าวออกมาจากวัฒนธรรมเดิม เพ่ือเพิ่ม
กระบวนการววิ ฒั นาการและการเปลีย่ นแปลงทีท่ าให้มีการปรับตัวไดม้ ากขึน้ (Schein, 1985 อ้าง
ถึงใน สุเทพ พงศ์ศรีวฒั น์, 2550)
ภาวะผู้นาเป็นกระบวนการสร้างความสมเหตุผลในการทางานร่วมกันของ
บุคคลต่างๆ เพ่ือสร้างความเข้าใจและความผูกพันให้เกิดข้ึนกับคนเหล่าน้ี (Drath & Palus,
1994 อ้างถงึ ใน สุเทพ พงศ์ศรีวฒั น์, 2550)
จากความหมายของภาวะผู้นาใหม่ในแนวทัศนะเช่นนี้ เป็นท่ีมาของแนวคิด
ทฤษฎีภาวะผู้นาต่างๆ ในยุคปัจจุบันซึ่งรวมเรียกว่า “แนวคิดภาวะผู้นาใหม่ (The New
Leadership Approach)” ที่เร่ิมต้นต้ังแต่ช่วงกลางทศวรรษ 1980 เป็นต้นมาถึงปัจจุบันเช่น
“ทฤษฎีภาวะผู้นาแบบเปลี่ยนสภาพ (Transfomational Leadership)” (Bass, 1985 ; Tichy
& Devanna, 1986 อ้างถึงใน สุเทพ พงศ์ศรีวัฒน์, 2550) “ทฤษฎีภาวะผู้นาโดยเสน่หา
86
(Charismatic Leadership)” (House, 1976 ; Conger, 1989 อ้างถึงใน สุเทพ พงศ์ศรีวัฒน์,
2550) “ภาวะผู้นาเชิงวิสัยทัศน์ (Visionary Leadership)” (Westley & Mintzberg, 1989)
และท่ีเรียกตรงๆ ว่า “ภาวะผู้นา (Leadership)” (Bennis & Nanus, 1985 ; Kotter, 1990
อา้ งถึงใน สุเทพ พงศศ์ รวี ฒั น์, 2550) เป็นต้น
แบส (Bass, 1990 อ้างถึงใน สุเทพ พงศ์ศรีวัฒน์, 2550) ได้สรุปรวบรวม
ความหมายของภาวะผู้นาตามท่ีมีผู้ให้ไว้และได้จาแนกความหมายของภาวะผู้นาออกเป็น 12
กลุม่ ดังน้ี
1 ภาวะผู้นาในฐานะท่ีเน้นกระบวนการของกลุ่ม (Leadership as a
Focus of Group Processes) ตามแนวคิดนี้กาหนดตาแหน่งของผู้นาเป็นจุดศูนย์กลางหรือจุด
แกนกลางของกิจกรรมกลุ่มนิยามภาวะผู้นาตามแนวน้ีจึงมักสะท้อนผู้นาเป็นจุดรวมของความ
ร่วมมือจากบุคคลต่างๆ ในกลุ่มทีม่ คี วามแตกตา่ งกนั
2 ภาวะผู้นาในฐานะท่ีเป็นบุคลิกภาพและผลของบุคลิกภาพ
(Leadership as a Personality and Its Effects) คานยิ ามต่างๆ ของภาวะผู้นาตามแนวน้ีส่วน
ใหญ่จะใหค้ วามหมายภาวะผู้นาโดยยึดหลักด้านคุณลักษณะปรุงแต่ง (Personality Attributes)
หรือคุณสมบตั ิที่เป็นจุดเด่นของตัวผู้นาเองซ่ึงสามารถทาให้ผู้อ่ืนเต็มใจท่ีจะปฏิบัติภารกิจท่ีได้รับ
มอบหมายใหบ้ รรลผุ ลสาเรจ็
3 ภาวะผูน้ าในฐานะท่ีเปน็ การกระทาหรือพฤติกรรม (Leadership as
an Act or Behavior) เปน็ นิยามทีม่ แี นวคดิ เนน้ พฤติกรรมหรือการกระทาในสว่ นของผู้นาที่มีผล
ให้เกดิ พฤตกิ รรมหรือการกระทาขึ้นในบุคคลอ่ืน รวมทั้งการกระทาของผู้นาร่วมกับผู้อื่นในการ
ดาเนินการไปในทิศทางเดียวกัน คานิยามเหล่านี้เป็นความพยายามที่จะหาคาตอบว่า “ผู้นาทา
อะไร”
4 ภาวะผู้นาในฐานะที่เป็นเครื่องมือในการบรรลุเปูาหมาย
(Leadership as an Instrument of Goal Achievement) ความหมายของภาวะผนู้ าตามแนว
น้ีเช่ือวา่ ภาวะผู้นาเป็นแรงขับเคลอ่ื นสาคัญท่ีช่วยในการจูงใจและการประสานงานขององค์การ
เพื่อให้บรรลุตามเปูาหมายที่กาหนด
5 ภาวะผู้นาในฐานะเป็นผลทีเ่ กิดข้ึนจากการปฏิสัมพันธ์ (Leadership
as an Emerging Effect of Interaction) แนวคิดของความหมายภาวะผู้นาในกลุมน้ีไม่เช่ือว่า
ภาวะผู้นาเป็นเหตุ (Cause) ทาให้เกิดการกระทาของกลุ่ม แต่ภาวะผู้นาเป็นผล (Result) ท่ี
เกดิ ข้นึ จากการปฏิสัมพันธ์ระหวา่ งสมาชิกของกลุม่ มากกวา่ กล่าวโดยสรุปนิยามภาวะผู้นากลุ่มน้ี
เชื่อว่า ภาวะผู้นาเป็นผลหรือส่ิงที่งอกเงยตามมา (Effect or Outgrowth) ที่เกิดข้ึนจากการ
ปฏิสมั พนั ธ์ของบคุ คลตา่ งๆ ในกลุม่ เป็นหลกั
87
6 ภาวะผู้นาในฐานะที่เป็นความแตกต่างของบทบาท (Leadership
as a Differentiated Role) เป็นกลุ่มของนิยามท่ีมีพื้นฐานมาจากทฤษฎีบทบาท (Role
Theory) ซงึ่ มมี มุ มองท่ีวา่ สมาชิกของระบบทางสงั คมจะมีบทบาททแี่ ตกต่างกันตามความจาเป็น
ตอ่ การทาใหร้ ะบบสงั คมเจริญกู ้าวหนา้ ภาวะผนู้ าเป็นส่วนหนึ่งของระบบสงั คมดังกล่าวที่กาหนด
ไว้อยา่ งชัดเจนในแงค่ วามต้องการและบทบาทที่แตกตา่ งกัน ในระบบสังคม (กลุ่ม) สมาชิกแต่ละ
คนจะมบี ทบาทหน้าทค่ี วามรับผดิ ชอบงานท่ีตนได้รับมอบหมาย เพื่อให้บรรลุเปูาหมายของกลุ่ม
ภาวะผู้นาในแนวนี้จึงเป็นบทบาทที่เกิดข้ึนจากการบูรณาการบทบาทของบุคคลอื่น เพื่อสร้าง
ความเจริญกา้ วหนา้ แกร่ ะบบสังคม
7 ภาวะผู้นาในฐานะท่ีมุ่งด้านโครงสร้าง (Leadership as the
Initiation Structure) ทศั นะภาวะผู้นาในแนวน้ี เห็นว่าเป็นกระบวนการในการริเร่ิมและดารง
รักษาโครงสร้างของบทบาทและรูปแบบความสัมพันธ์ของบทบาทต่างๆ มีการระบุหน้าท่ีของ
ภาวะผนู้ าในการทาใหร้ ะบบการตัดสนิ ใจต่างๆ ที่เกย่ี วกับการปฏบิ ัติงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิผล
ตามโครงสรา้ งการบริหารจัดการขององค์การ นอกจากน้ียังมีกลุ่มนิยามภาวะผู้นาที่มีทิศทางซ่ึง
บง่ ชี้ไปในแนวทางทเ่ี กย่ี วกบั เรือ่ งการใชอ้ ิทธพิ ล การใช้อานาจ และการทาใหย้ อมปฏบิ ตั ติ าม
8 ภาวะผู้นาในฐานะเป็นศิลปะท่ีก่อให้เกิดการยินยอมตาม
(Leadership as the Art of Inducing Compliance) เปน็ กล่มุ ของนยิ ามที่มองภาวะผู้นาในแง่
การหล่อหลอมกลุ่มเข้ากบั เจตจานงความต้องการ และความปรารถนาของผู้นา มุมมองของการ
เป็นผูน้ าทก่ี ่อใหเ้ กดิ การยนิ ยอมตามและเปน็ การใช้อิทธิพลในลักษณะทิศทางเดียวคือจากผู้นาถึง
ผู้ตาม โดยไม่สนใจต่อความต้องการของผู้ตาม นิยามภาวะผู้นาจึงมองผู้นาเป็นผู้ควบคุมทาง
สงั คมต่อบคุ คลอนื่ หรอื ภาวะผูน้ าเป็นศลิ ปะทก่ี ่อให้เกดิ การยินยอมที่ผู้อื่นยอมปฏิบัติในส่ิงท่ีผู้นา
ตอ้ งการ
9 ภาวะผู้นาในฐานะท่ีเป็นการใช้อิทธิพล (Leadership as the
Exercise of Influence) คาว่า “อทิ ธิพล (Influence)” ของนิยามกลมุ่ นีม้ คี วามหมายท่ีมิใช่เป็น
การครอบงา (Dominance) การควบคุม (Control) หรือการบีบบังคับให้ต้องทาตาม (Forcing
of Compliance) แตอ่ ยา่ งใด แต่มีความหมายกวา้ งที่เปน็ การใช้ความพยายามด้วยวาทการและ
กระบวนการสือ่ สารใหเ้ กิดการเห็นคล้อยตาม หรือเป็นกิจกรรมด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
ทสี่ ามารถกอ่ ให้เกิดความร่วมมือในการไปสู่เปูาหมาย เมื่อคนเหล่าน้ันเห็นพ้องด้วยหรือมีความ
ตอ้ งการเช่นนัน้ ดว้ ยเช่นกัน
10 ภาวะผู้นาในฐานะท่ีเป็นรูปแบบของการจูงใจ (Leadership as a
From of Persuasion) นิยามภาวะผู้นาตามแนวน้ี สะท้อนถึงการจูงใจผู้อ่ืนด้วยวิธีการใช้เหตุ
ให้ผลอย่างหนักแน่น เพื่อให้เกิดการเห็นดีเห็นงามตามตน ดังตัวอย่างท่ีอดีตประธานาธิบดี
88
ไอเซนเฮาวข์ องสหรัฐใหน้ ยิ ามของภาวะผนู้ าว่า “ภาวะผูน้ า คอื ความสามารถในการตัดสินใจว่า
ต้องทาอะไรและการทาให้ผู้อื่นต้องการที่จะทาตามการตัดสินใจนั้น” (Pierce & Newstrom,
2000 อา้ งถึงใน สุเทพ พงศ์ศรีวัฒน์, 2550)
11 ภาวะผู้นาในฐานะความสัมพันธ์ของอานาจ (Leadership as
Power Relationship) เป็นการนิยามภาวะผู้นาที่มาจากบทบาทการใช้อานาจโดยเฟรนช์และ
ราเวน (French & Raven, 1959) ได้ให้นิยามภาวะผู้นาจากแง่มุมของความสัมพันธ์ของอานาจ
แบบต่างๆ ที่เกิดข้ึนระหว่างสมาชิกของกลุ่ม เช่น ความสัมพันธ์ของอานาจระหว่างบุคคล
(Interpersonal Power) เปน็ ผลที่เกดิ จากอานาจตา่ งๆ ได้แกอ่ านาจจากการอ้างอิง (Referece)
อานาจจากความเช่ียวชาญ (Expert) อานาจจากการให้รางวัล (Reward) อานาจจากการบังคับ
(Coercive) เเละอานาจตามกฏหมาย (Legal Authority) เปน็ ตน้
12 ภาวะผู้นาในฐานะเป็นการผสมผสานขององค์ประกอบต่างๆ
(Leadership as a Combination of Elements) นิยามของภาวะผู้นาตามแนวนี้เกิดขึ้นจาก
การผสมผสานนิยามต่างๆ ของภาวะผู้นาเกิดเป็นนิยามภาวะผู้นาข้ึนใหม่ท่ีให้ความหมายท่ี
กว้างขวางครอบคลุมหลายด้านได้มากข้ึน ตัวอย่างเช่น ภาวะผู้นา คือ การใช้อิทธิพลที่มิใช่
บังคับข่มข่เู พื่อประสานสมาชิกให้รวมตัวเป็นกลุ่มในการปฏิบัติภารกิจให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
ของกลมุ่ (Jago, 1982 อ้างถึงใน สเุ ทพ พงศศ์ รวี ฒั น์, 2550) หรือการผสมผสานระหว่างอานาจ
กับบุคลิกภาพ ซ่ึงเป็นนิยามหรือความหมายของผู้นาแบบเปล่ียนสภาพ (Transformational
Leader) ว่าเป็นผู้ท่ีมีทักษะเป็นศูนย์กลางของการเปลี่ยนแปลงท่ีทรงความรู้มีอานาจและมีพลัง
ผู้นาเช่นน้ีเป็นผู้นาท่ีมีความกล้าหาญเอาใจใส่ต่อผู้อื่นยึดม่ันและขับเคล่ือนด้วยค่านิยม และมี
ความสามารถปฏิบัติภารกิจในสถานการณ์ที่ขาดความชัดเจนและมีความสลับซับซ้อนได้ผลดี
(Tichy & Devanna, 1986 อ้างถึงใน สุเทพ พงศศ์ รีวัฒน์, 2550)
แบส (Bass, 1997 อ้างถึงใน สุนทร โคตรบรรเทา, 2551) ให้คานิยามว่า
“ภาวะผ้นู า คอื กระบวนการในการมอี ทิ ธพิ ลต่อกิจกรรมกลมุ่ เหนอื ความคาดหวัง”
เบนนิส และนานัส (Bennis and Nanus, 1985 อ้างถึงใน สุนทร
โคตรบรรเทา, 2551) ให้คานิยามว่า “ภาวะผู้นา คือ การมีอิทธิพลต่อการนาในทิศทาง
เสน้ ทางการกระทา และความคดิ ”
คลาร์ค และเคมพ์เบลล์ (Clark and Campbell, 1998 อ้างถึงใน สุนทร
โคตรบรรเทา, 2551) ใหค้ านยิ ามวา่ “ภาวะผู้นา คอื อิทธิพลทมี่ ีผลผลิต”
บลอค (Block, 1993 อ้างถงึ ใน สุนทร โคตรบรรเทา, 2551) ให้คานิยามว่า
“ภาวะผู้นา คือ การชักชวนผู้อื่นให้ละท้ิงความสนใจของตนเองให้หันมายอมรับเปูาหมายของ
กลุม่ ”
89
โฮแกน และคณะ (Hogan and others, 1994 อ้างถึงใน สุนทร โคตร-
บรรเทา, 2551) ให้คานิยามว่า “ภาวะผู้นา คือ การชักชวนบุคคลอ่ืนให้ปล่อยวางความสนใจ
ส่วนตัว และใหป้ ฏบิ ตั ติ ามเปาู หมายส่วนรวมทีจ่ าเปน็ สาหรับสวัสดิภาพของกลมุ่ ”
กล่าวโดยสรุป ผู้นา คือบุคคลที่ได้รับมอบหมาย ซึ่งอาจโดยการเลือกต้ัง
หรอื แตง่ ต้งั และเป็นทย่ี อมรบั ของสมาชกิ ให้มีอิทธิพลและบทบาทเหนือกลุ่มสามารถท่ีจะจูงใจชัก
นา หรือช้ีนาใหส้ มาชกิ ของกลุ่มรวมพลงั เพือ่ ปฏบิ ัตภิ ารกจิ ต่างๆ ของกลมุ่ ใหส้ าเร็จ สาหรับภาวะ
ผู้นา คอื พฤตกิ รรมของบุคคลในการใชอ้ ิทธิพลต่อกจิ กรรมตา่ งๆ ของกลมุ่ ใหบ้ รรลุเปาู หมาย
2.4.3.2 ลกั ษณะของภาวะผนู้ า
เฮอร์เซย์และแบลนชาร์ด (Hersey and BIanchard อ้างถึงใน สุเทพ
พงศ์ศรีวัฒน์, 2550) ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับภาวะผู้นาของบุคคลว่า ผู้นาแต่ละคนจะแสดง
พฤติกรรมการนาต่อผู้ตามโดยการผสมผสานของพฤติกรรม 2 ด้านเข้าด้วยกัน ก่อให้เกิดแบบ
ของผู้นา (Leadership Styles) แบบต่างๆ ขึ้นพฤติกรรมทั้งสองด้านดังกล่าวได้แก่พฤติกรรมที่
ผนู้ ามุ่งเนน้ ในเรื่องตอ่ ไปน้ี
1 พฤติกรรมทมี่ งุ่ งาน (Task Behavior)
เป็นพฤติกรรมที่ผู้นาแสดงออกต่อผู้ตามในแง่การควบคุมกากับ การ
กาหนดบทบาทหน้าที่ของผู้ตาม การชี้แจงให้ผู้ตามทราบเก่ียวกับการทางานว่ามีกิจกรรม
อะไรบ้างที่ต้องทา ทาเมื่อไร ทาที่ไหน ทากับใคร และทาอย่างไร ตลอดจนการเข้าไป
ดาเนินการจัดรปู แบบโครงสร้างองคก์ าร การกาหนดช่องทางและวธิ กี ารสือ่ สารในการปฏิบัติงาน
เป็นต้น
2 พฤติกรรมท่ีมงุ่ ความสมั พนั ธ์ (Relationship Behavior)
เป็นพฤติกรรมท่ีผู้นาแสดงออกต่อผู้ตามในแง่ท่ีเกี่ยวกับการสร้าง
สัมพันธภาพท่ีดีต่อบุคคลหรือระหว่างบุคคลต่างๆ ในองค์กร โดยเปิดให้มีช่องทางในการ
ติดต่อสื่อสารท่ีง่ายและสะดวก พยายามสร้างบรรยากาศของความเป็นกันเอง การให้การ
สนับสนุนอานวยความสะดวกต่างๆ ตลอดจนให้ความช่วยเหลือเก้ือกูลต่อกันระหว่างบุคคล
เปน็ ต้น
ผู้นาแตล่ ะคนยอ่ มแสดงพฤตกิ รรมการบรหิ ารโดยการผสมผสานพฤติกรรมทั้ง
สองด้าน กลา่ วในสดั ส่วนท่แี ตกตา่ งกันไปชง่ึ กอ่ ให้เกิดแบบหรือสไตล์พื้นฐานของผู้นา 4 แบบข้ึน
ดังน้ี
1 ผนู้ าแบบผูบ้ อกให้ทา (Telling)
ผู้นาแบบน้ีใช้พฤติกรรมการบริหารโดยเน้นการใช้อานาจการสั่งการ
และการตัดสินใจให้ผู้ตามต้องปฏิบัติตาม ดังนั้นการสื่อสารภายในองค์กรจึงมีลักษณะเป็นการ
90
สื่อสารแบบทางเดียวจากผู้นาสู่ผู้ตาม (One - Way Communication, Top - Down)
นอกจากน้ี ผู้นายังใชม้ าตรการควบคุมติดตามและนิเทศการปฏิบัติงานต่อผู้ตามอย่างใกล้ชิดอีก
ด้วย พฤติกรรมผู้นาแบบน้ีจึงเป็นลักษณะมุ่งงานสูง (High Task) แต่มุ่งความสัมพันธ์ต่า (Low
Relationship)
2 ผู้นาแบบผู้ขายความคิดให้ทา (Selling)
ผู้ น า แ บ บ นี้ ใ ช้ พ ฤ ติ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ห า ร ท่ี มุ่ ง เ น้ น ก า ร ก า กั บ สั่ ง ก า ร
เช่นเดียวกับแบบแรก ขณะเดียวกันก็เปิดช่องทางให้ผู้ตามได้มีโอกาสซักถามหรือเสนอความ
คิดเห็นในเรื่องต่างๆ ได้ การส่ือสารภายในองค์กรจึงมีลักษณะแบบสองทาง (Two - Ways
Communication) ผู้นาจะเป็นผใู้ ห้คาปรึกษาแนะนาและทาหน้าที่เสมือนพี่เล้ียง (Coach) ให้แก่
ผ้ตู ามโดยใกล้ชิดตลอดเวลา กล่าวได้ว่า พฤติกรรมผู้นาแบบนี้มีลักษณะมุ่งงานสูง (High Task)
และขณะเดยี วกนั กม็ ่งุ เนน้ ความสัมพนั ธ์สูงอกี ด้วย (High Relationship)
3 ผู้นาแบบผู้ตามมีส่วนร่วม (Participating)
เป็นผู้นาท่ีคอยให้ความช่วยเหลือ อานวยความสะดวก ตลอดจนให้
การส่งเสริมสนับสนุนด้านต่างๆ ในการปฏิบัติงานของผู้ตาม ผู้นาจะเข้าไปมีสวนร่วมในการ
ตัดสินใจในฐานะสมาชิกคนหนึง่ โดยไม่เขา้ ไปควบคุม กากบั หรือสง่ั การโดยผู้นาเอง จึงกล่าวได้
ว่า ผู้นามีพฤติกรรมท่ีแสดงออกด้านมุ่งความสัมพันธ์สูง (High Relationship) แต่มุ่งงานต่า
(Low Task)
4 ผนู้ าแบบผกู้ ระจายงาน (Delegating)
เป็นผู้นาที่แสดงพฤติกรรมลักษณะท่ีให้ความเช่ือถือไว้วางใจในฝีมือ
ความรู้ความสามารถตลอดจนความรับผิดชอบของผู้ตาม ดังนั้น ผู้นาจึงมักกระจายอานาจและ
ความรับผิดชอบรวมทั้งการตัดสินใจในงานน้ันแก่ผู้ตาม เปิดโอกาสให้ผู้ตามมีความเป็นตัวของ
ตวั เอง และมีอสิ ระในการกาหนดข้นั ตอน วิธีการทางานตลอดจนการควบคุมดูแลตนเองในการ
ปฏิบัติงานอย่างเต็มท่ี ผู้นาแบบน้ีจึงแสดงพฤติกรรมและใช้เวลาในการบริหารโดยมุ่งงานต่า
(Low Task) และขณะเดียวกันกม็ งุ่ ความสัมพันธ์ต่า (Low Relationship)
อยา่ งไรกต็ ามจากผลการวจิ ัยเพ่ือหาแบบหรือสไตล์ผู้นาท่ีมีประสิทธิผลนั้นยัง
ไมอ่ าจสรปุ ได้วา่ แบบผู้นาแบบหน่ึงแบบใดเป็นแบบที่เหมาะสมหรือดีท่ีสุด ท้ังน้ีเพราะว่าภายใต้
บร รยากาศของการ บริ หารใน แต่ละ กร ณีแบบผู้น าแบบ หนึ่งแบบใดในสี่แบบดังกล่าวอาจจะ
ก่อให้เกิดผลสาเร็จและมีประสิทธิผลก็ได้ทั้งนี้ก็ข้ึนอยู่กับองค์ประกอบที่สาคัญอีก 2 ประการท่ี
จะต้องพจิ ารณาในการเลอื กใชแ้ บบผู้นา องคป์ ระกอบดังกลา่ ว ไดแ้ ก่
1 ลกั ษณะของผ้ตู าม (Followers)
91
2 สถานการณ์ (Situation) ซึ่งประกอบด้วยลักษณะของงานที่ทา
ลักษณะของหน่วยงานปฏิบัติ รวมทั้งสภาวะแวดล้อมอ่ืนๆ ท้ังภายในและภายนอกองค์การอีก
ดว้ ย
กลา่ วโดยสรปุ ลกั ษณะของภาวะผู้นาของครูเป็นลักษณะเฉพาะตัวท่ีส่งเสริม
ให้ครูประสบความสาเร็จในการสอน เช่น เป็นผู้มีความรับผิดชอบ เป็นผู้มีความเป็น
ประชาธิปไตย เป็นผู้มีความสามารถในการตัดสินใจ แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ เป็นผู้ยอมรบั ในเหตุผล เป็นผมู้ วี ิสยั ทัศน์กวา้ งไกล ทันสมัย ทนั เหตุการณ์ เป็นผู้
มีความเสยี สละ เป็นผู้ดารงตนเรียบง่าย ประหยัด เหมาะสมกับอาชีพครู เป็นผู้ที่ตรงต่อเวลา
ประพฤตติ นสม่าเสมอ เป็นผู้เห็นผู้เรียนมีความสาคัญ โดยพิจารณาคุณค่าของผู้เรียนแต่ละคน
ดว้ ยเหตผุ ล เป็นผู้บาเพญ็ ตนเพ่ือประโยชน์ส่วนรวมมากกวา่ สว่ นตน
2.4.4 ด้านวชิ าการและการเรียนการสอน
2.4.4.1 ความหมายของการเรียน การสอน
มนุษย์มีการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมของตนเองอยู่เสมอ ซ่ึงไปในทางที่พึง
ประสงคห์ รอื ไม่น้ัน มอี ิทธิพลมาจากบุคคลคนน้ันได้รับสถานการณ์ต่างๆ ท้ังที่เขาเป็นผู้พยายาม
ไขวค่ ว้าด้วยตนเอง หรอื อาจเกดิ จากสถานการณน์ ัน้ ๆ มากระทบด้วยตัวของเขาเอง ซ่ึงเป็นการ
กระทาจากภายนอกแล้วส่งผลให้เกิดการเรียนรู้ ทาให้มีความรู้ ความสามารถ และทักษะ
เพิ่มขึ้น ซึ่งความหมายของการเรียนมีคาศัพท์ทางการศึกษาในภาษาอังกฤษ ( English
Vocabulary to Educational Field) ที่วิทยากร เชียงกูล, 2546 อ้างถึงใน สันติ บุญภิรมย์,
2552 ได้ใหค้ วามหมายดงั นี้
1 Education
ในอดีตคาว่า Education ในภาษาอังกฤษมีรากศัพท์มาจากภาษา
ลาตินคือคาว่า Educare ในความหมายว่า ทาให้เจริญงอกงาม ดังน้ันการศึกษา หมายถึง
การศกึ ษาท่เี ปน็ กระบวนการ ซ่ึงจดั ให้มนษุ ย์ไดร้ ับการสอน ทาให้เขาไดร้ บั เชื่อ ความรู้ อารมณ์
และค่านิยม ซ่ึงเป็นส่วนหน่ึงของวัฒนธรรม การศึกษาต่างจากการฝึกอบรม (Training) และ
การสอนโดยการกาหนดเง่ือนไข (Conditioning) ในแง่ท่ีว่า 2 อย่างหลัง อาจจะใช้กับสัตว์ได้
ดังนั้นการศึกษาจึงต้องตระหนักและมีความเคารพในสิทธิของผู้ที่กาลังได้รับการศึกษา ซ่ึง
หมายถงึ ประการแรก การศกึ ษาจะตอ้ งเกี่ยวข้องกับเหตุผู้รับ คือผู้รับจะต้องได้รับการอธิบาย
ให้เห็นว่ามีเหตุผลอะไรท่ีเขาควรเชื่อ หรือรู้สึกอย่างน้ัน ไม่ใช่การมอมเมาโน้มน้าวให้ผู้รับเชื่อ
โดยไม่ผ่านการคิด ซึ่งจะกลายเป็นความปลูกฝังลัทธิความคิด (Indoctrination) ประการท่ีสอง
ผู้สอนจะต้องมีการเคารพความเป็นตัวเอง (Autonomy) ของผู้รับ คือถือว่าเขาเป็นมนุษย์ที่มี