92
ความรับผดิ ชอบในการกระทาและการตัดสินใจของเขาเอง และต้องสนับสนุนให้เขามองตัวเอง
เชน่ นั้น
2 Learn
คาว่า Learn หมายถึงการเรียนรู้ การแสวงหาเพื่อให้ได้มาซ่ึงข้อมูล
ความรู้ ความเขา้ ใจ
3 Learning Process
คาว่า Learning Process หมายถึง กระบวนการเรียนรู้ ความรู้
ความคิด และทักษะต่างๆ ท่ีเกิดขึ้นในระหว่างการเรียนรู้ ด้วยการฟัง โต้ตอบ อ่าน คิด
วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ ฝึกฝน ค้นคว้า วิจัย ฯลฯ ซึ่งเป็นส่ิงท่ีมีความหมายกว้างขวางซับซ้อน
มากกวา่ การมองการศกึ ษาในแงม่ งุ่ ผลลพั ธเ์ หมอื นกับมองความรู้เป็นของสาเร็จรูปเป็นแท่งๆ ซึ่ง
เปน็ การมองทผ่ี ดิ พลาด
4 Study
คาที่เก่ียวข้องกับการเรียนรู้ท่ีได้กล่าวมาแล้วข้างต้นประกอบด้วย
Education, Learn และ Learning Process ต่างก็มีความหมายเกี่ยวกับการเรียนรู้ในมุมมองที่
แตกต่างกันส่วนคาว่า Study หมายถึงการเรียนเช่นเดียวกัน แต่มีรายละเอียดในความหมาย
ตา่ งกันซ่ึง Study คือ การศกึ ษาทีเ่ ป็นการใช้สมองความคิดใครค่ รวญวเิ คราะห์โดยใช้จิตใจอย่าง
สงู ในการใหไ้ ดม้ าซง่ึ ความรู้
การสอน (Teaching) เป็นบทบาทหลักท่ีมีความสาคัญย่ิงของครู - อาจารย์
เพ่ือให้ผู้เรียน ได้มีความรู้ความสามารถและทักษะในด้านต่างๆ พร้อมทั้งคุณลักษณะอื่นๆ ที่
สังคมพงึ ประสงค์ ซงึ่ กลา่ วโดยทว่ั ไปกค็ อื เม่อื ครู คณาจารย์ทาการสอนแล้วให้ผู้เรียน นักศึกษา
มคี วามรูค้ ู่คณุ ธรรม ซึ่งนกั การศกึ ษาไดใ้ ห้คานยิ ามของการสอนไวใ้ นทัศนะต่างๆ กนั ดังน้ี
บุญชม ศรีสะอาด (2546 อ้างถึงใน สันติ บุญภิรมย์, 2552) กล่าวว่าการ
สอนมีความหมายหลายอย่าง เชน่ การสอน หมายถึง
1 การถา่ ยทอดความรู้
2 การฝึกให้ผู้เรยี นคิดแกป้ ัญหาต่างๆ
3 การจดั สง่ิ แวดล้อมและกิจกรรมเพอ่ื ใหผ้ ูเ้ รียนเกิดการเรียนรู้
4 การจดั ประสบการณ์ให้ผู้เรียนเกดิ การเรียนรู้
5 การสร้างหรอื จดั สถานการณ์เพอื่ ให้ผเู้ รยี นเกดิ การเรียนรู้
6 การแนะแนวทางแก่ผูเ้ รยี นเพอื่ ใหศ้ ึกษาหาความรู้
ปรยี าพร วงศอ์ นตุ รโรจน์ (2544 อา้ งถงึ ใน สันติ บุญภิรมย์, 2552) กล่าวว่า
การสอนมคี าท่ใี ชอ้ ยู่ 2 คาไดแ้ ก่
93
1 การสอน (Teaching) หมายถึง การถ่ายทอดความรู้จากครูไปสู่
ผู้เรียน
2 การเรียนการสอน (Instruction) มีความหมายกว้างกว่าการสอน
ซ่ึงหมายความรวมถึงกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการสอนด้วย เช่น การใช้ส่ือการสอน การจัด
กจิ กรรมระหว่างสอน การทดสอบ เป็นตน้
ยนี ดี. แกรมบ์ส และแม็กคลูรแอล. มอร์ริส (Jean D. Grambs & Mc clure
L Morris, 1964 อ้างถงึ ใน สนั ติ บญุ ภิรมย์, 2552) ไดใ้ ห้ความหมายเกี่ยวกับการสอนไว้ว่า การ
สอน คือ การกาหนดคณุ ลกั ษณะของวิชาชพี ทเ่ี ป็นความสามารถทางสมองในระดับสูง และการ
เตรียมตวั ท่ดี ีของครู เพ่อื ให้เกิดทักษะการเรียนรู้ทั้ง 3 ระดับ ได้แก่การศึกษาท่ัวไป การศึกษา
เฉพาะทาง และการศกึ ษาวิชาชีพ
วรัทยา ธรรมกิตตภิ พ (2548) ได้สรุปการเรียนการสอน หมายถึง ขั้นตอน
ขอ้ เสนอแนะในการดาเนนิ การจัดการเรยี นการสอนให้สัมพันธ์กับเนอื้ หา เพ่อื ให้เกิดกระบวนการ
เรียนรู้ หรือเกิดประสิทธิผลแก่ผู้เรียน หรือบรรลุวัตถุประสงค์ในการเรียนการสอนอย่างมี
ประสิทธภิ าพ
อาภรณ์ ใจเที่ยง (2546) ให้ความหมายการเรียนการสอน หมายถึง การ
ปฏบิ ตั ิตา่ งๆ ท่เี ก่ยี วกบั การเรียนการสอน และการกระทาทุกสิ่งทุกอยา่ งทจี่ ดั ขนึ้ จากความร่วมมือ
ระหว่างผ้สู อน และผู้เรียน เพ่ือให้การสอนดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ และการเรียนรู้ของ
ผู้เรยี นบรรลสุ ูจ่ ุดประสงค์การสอนท่ีกาหนดไว้
ชาติชาย พิทักษ์ธนาคม (2544) การเรียนการสอน หมายถึง การปฏิบัติ
ต่างๆ ทเ่ี กี่ยวกบั การเรยี นการสอน เพ่ือใหก้ ารสอนดาเนนิ ไปอย่างมีประสิทธิภาพและการเรียนรู้
ของผเู้ รียนบรรลจุ ดุ ประสงคก์ ารสอนท่กี าหนดไว้
ไสว ฟกั ขาว, (2544 อา้ งถึงใน วรทั ยา ธรรมกิตติภพ, 2548) ให้ความหมาย
การเรยี นการสอน หมายถึง กระบวนการที่มีการวางแผนเพื่อจัดสภาพการณ์ให้เกิดปฏิสัมพันธ์
ระหวา่ งผู้สอนกับผูเ้ รยี นในการส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนในด้านต่างๆ ตามเปูาหมายที่วางไว้
ซง่ึ ในระหว่างการปฏิสมั พันธน์ ัน้ ผสู้ อนกจ็ ะได้เรยี นรจู้ ากผเู้ รียนดว้ ย
อรทัย มูลคา และสุวิทย์ มูลคา (2544 อ้างถึงใน วรัทยา ธรรมกิตติภพ,
2548) ได้ให้ความหมายการเรียนการสอน หมายถึง การจัดกิจกรรมประสบการณ์หรือ
สถานการณ์ใดๆ ท่ีมีความหมายกับผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ และปฏิสัมพันธ์กับส่ิงเหล่าน้ีด้วย
ตนเอง โดยการสังเกต วิเคราะห์ ปฏิบัติ สรุป เพ่ือสร้างนิยามความหมาย และผลิตองค์
ความรูด้ ว้ ยตนเอง ทาให้เกิดการเรียนรทู้ กุ ด้านอยา่ งสมดุล
94
กรมวิชาการ (2541) ให้ความหมายการเรียนการสอน หมายถึง ข้ันตอนที่
ครนู ากจิ กรรมต่างๆ ที่กาหนดไวใ้ นแผนการเรียนรู้มาสู่การปฏิบัติจริง โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
เพื่อใหผ้ ู้เรยี นเกิดการเรียนรู้และมคี ุณลักษณะตามเปาู หมายท่ีตอ้ งการ
จากที่กล่าวมาข้างต้น พอสรุปได้ว่า การเรียนการสอนนั้น หมายถึง
กระบวนการทีม่ กี ารวางแผนในการจัดกิจกรรมร่วมกันระหว่างครูและผู้เรียนเพ่ือให้ผู้เรียนบรรลุ
จุดประสงค์การสอนที่ได้กาหนดไว้ในเเผนการเรียนรู้ให้เหมาะสม สอดคล้องกับเน้ือหา และ
สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ในด้านตา่ งๆ โดยเนน้ ผ้เู รียนเปน็ สาคญั
2.4.4.2 ระบบการเรยี นการสอน
การกระทากิจกรรมหนึ่งกิจกรรมใดหากผู้กระทามีความประสงค์ท่ีจะทาให้
งานน้ันมีประสิทธิภาพ และเพ่ิมประสิทธิภาพข้ึนได้นับเป็นที่น่ายินดีโดยวิธีการทางานที่มีการ
เพิ่มประสิทธิภาพมีหลายวิธี ซ่ึงมีอยู่วิธีหนึ่งที่กระทาได้โดยไม่ซับซ้อนก็คือวิธีการเชิงระบบ
(System Approach) การเรียนการสอนก็เป็นการทางานหรือเป็นกิจกรรม และผู้กระทาก็มี
ความตอ้ งการในการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการเรียนการสอนด้วยแลว้ ด้วยเหตุน้ีนักบริหารการศึกษา
โดยเฉพาะผู้บริหารสถานศึกษาจึงได้พยายามนาวิธีการเชิงระบบเข้ามาประยุกต์ใช้ในการเรียน
การสอน ซึง่ เรียกวา่ ระบบการเรียนการสอน (Learnlng Teaching System) ในระบบการเรียน
การสอนน้นั มีองค์ประกอบซึ่งประกอบด้วยส่วนท่ีเป็นตัวปูอนกระบวนการ ส่วนท่ีเป็นผลผลิต
และข้อมูลปูอนกลับ กจิ กรรมการเรยี นการสอนก็ต้องใช้สภาพแวดลอ้ มมาเก่ยี วขอ้ งด้วย
ระบบการเรียนการสอน เป็นกิจกรรมหน่ึงในการทางานด้านการศึกษาที่มี
ส่งิ แวดลอ้ มภายนอกระบบเขา้ มามีอิทธิพลต่อการทางานในระบบ ซึ่งสิ่งแวดล้อมดังกล่าวระบบ
การเรียนการสอนไม่สามารถควบคุมได้ แต่ผู้บริหารสถานศึกษาที่ชาญฉลาดจะต้องมี
ความสามารถในการจัดการกับสิ่งแวดล้อมต่างๆ ให้เอ้ืออานวยประโยชน์ต่อการเรียนการสอน
เพราะระบบการเรียนการสอนเป็นระบบเปดิ และมกี ารทางานในลักษณะของพลวัต
ระบบการเรียนการสอนเป็นการกาหนดลักษณะของการเรียนการสอน
ดังนั้นระบบการเรยี นการสอนจึงมีหลากหลายลักษณะด้วยกัน ซ่ึงสามารถนาเสนอเป็นตัวอย่าง
ได้ดังนี้
นิตยา สุวรรณศรี (2545) ได้กล่าวไว้ว่า ส่ิงสาคัญที่ครูต้องศึกษาทาความ
เข้าใจเพ่ือเป็นพ้ืนฐานในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนนั้นประกอบไปด้วย การวางแผน
การสอน องค์ประกอบของการเรียนการสอน การเลือกเทคนิควิธีการสอน เพ่ือนาไปสู่การ
กาหนดกจิ กรรมการเรยี นการสอนอย่างมีประสทิ ธภิ าพ
การวางแผนการเรียนการสอน ครูจะต้องหาคาตอบว่า สอนทาไม สอน
อะไร สอนอย่างไรและผลการสอนเป็นอยา่ งไร ซึ่งแสดงเป็นแผนภูมทิ ี่ 2 ดงั นี้
95
สอนทาไม จดุ ประสงค์
สอนอะไร เน้อื หาสาระ
สอนอยา่ งไร เทคนิค วธิ กี ารสอน
ผลการสอนเปน็ อยา่ งไร การประเมนิ ผล
(ทีม่ า : นิตยา สวุ รรณศร,ี 2545)
ภาพประกอบท่ี 1 แสดงการวางแผนการเรยี นการสอน
จะเห็นได้อย่างชัดเจนว่าในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนน้ัน ผู้สอน
จะตอ้ งมีการวางแผนการสอนลว่ งหนา้ โดยประการแรก การกาหนดจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ซึ่งควร
ควบคุมท้ังด้านพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัย ประการที่สอง การเลือกเน้ือหาสาระท่ี
เหมาะสม ประการที่สาม การเลอื กใช้เทคนิค วธิ ีการสอนท่ีมีอยู่อย่างหลากหลายที่ผู้สอนต้องมี
ความรู้ความเข้าใจ และประการสุดท้ายต้องมีการประเมินผล เพ่ือให้ทราบว่า ผู้เรียนเกิดการ
เรียนรู้ตามจุดประสงค์หรือไม่ ควรปรับปรุงแก้ไขจุดใดบ้าง ซึ่งจะทาให้ทราบถึงประสิทธิภาพ
ของการเรยี นการสอน และเป็นแนวทางในการวางแผนการจัดการเรยี นการสอนตอ่ ไปอีกดว้ ย
ดังนั้นกิจกรรมการเรียนการสอนจึงเป็นการนากลยุทธ์การเรียนท้ังมวลมา
เลือกใช้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์ โดยให้ผู้เรียนมีความสนใจ เรียนรู้ได้อย่างมีความสุข
และเกิดการเรียนรู้ ผู้สอนจึงควรให้ความสนใจติดตามการเรียนรู้ของผู้เรียน ท้ังนี้การสร้าง
รูปแบบกิจกรรมการเรียนการสอนนั้น ผู้สอนสามารถสร้างขึ้นเองได้ในพื้นฐานของหลักการและ
ทฤษฎีในการจัดการเรียนการสอน ซึ่งกิจกรรมการเรียนการสอนถือเป็นหลักสาคัญของการ
จัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับผู้เรียน เนื่องจากเป็นพฤติกรรมทั้งของผู้สอนและผู้เรียน ที่
ผูส้ อนได้วางแผนมาก่อนเป็นอย่างดี โดยมีผลสบื เนื่องถึงผลสัมฤทธิ์ของผู้เรยี นด้วย
1 ระบบการเรยี นการสอนของไทเลอร์
ไทเลอร์ (Tyler, 1950 อ้างถึงใน ทิศนา แขมมณี, 2550) ได้กาหนด
องค์ประกอบของระบบการเรียนการสอนท่ีเรียกว่าไทเลอร์ลูพ (Tyler Loop) ไว้ 3 ส่วนคือ (ก)
จุดมุ่งหมายของการเรียนการสอน (ข) กิจกรรมการเรียนการสอนและ (ค) การประเมินผลการ
เรียนการสอน ข้อมูลจากการประเมินผลจะสามารถใช้เป็นข้อมูลปูอนกลับไปสู่กิจกรรม และ
จดุ มุ่งหมายของการเรียนการสอน เพ่ือการปรับปรงุ ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบ
96
2 ระบบการเรยี นการสอนของเกลเซอร์
เกลเซอร์ (Glaser อ้างถึงใน ทศิ นา แขมมณี, 2550) มีความคล้ายคลึง
กับระบบของไทเลอร์มาก แต่มีองค์ประกอบมากกว่าคือ (ก) จุดประสงค์ของการสอน (ข) การ
ประเมินสถานะของผู้เรียนก่อนสอน (ค) การจัดกระบวนการเรียนการสอน (ง) การประเมินผล
การเรยี นการสอน (จ) ข้อมลู ปอู นกลับ
3 ระบบการจดั การเรยี นการสอนโดย สงดั อุทรานนั ท์
สงัด อุทรานันท์ (2527 อ้างถึงใน สันติ บุญภิรมย์, 2552) ได้
เสนอแนะองคป์ ระกอบท่สี าคญั ๆ ในการจดั การเรียนการสอนไว้ 10 ประการ คือ
3.1 ลกั ษณะของผ้เู รยี น
3.2 จดุ มงุ่ หมายของการสอน
3.3 เน้ือหาสาระทีจ่ ะสอน
3.4 การเตรยี มความพรอ้ ม
3.5 การดาเนินการสอน
3.6 การสรา้ งเสริมทักษะ
3.7 กิจกรรมสนับสนุน
3.8 การควบคมุ และตรวจสอบ
3.9 สัมฤทธิผลของการสอน
3.10 การปรบั ปรงุ แกไ้ ข
4 ระบบการออกแบบการเรยี นการสอนโดย ทศิ นา แขมมณี
ทิศนา แขมมณี (2550) ได้เสนอการออกแบบการเรียนการสอนเพื่อใช้
ในการวางแผนการสอน ซง่ึ ระบบน้เี ป็นระบบยอ่ ยระบบหน่ึงของระบบการจัดการเรียนการสอน
97
1 ขน้ั การคิดออกแบบการเรียนการสอน
พจิ ารณา เงอ่ื นไขและข้อจากัดตา่ งๆ
หลกั สตู ร ปญั หาความตอ้ งการของผเู้ รียน (Conditions in Teaching
กาหนดเน้อื หา วตั ถปุ ระสงค์ and Learning)
และมโนทศั น์ (Objective) - ด้านผู้เรยี น
(Content and Concept) - ดา้ นผสู้ อน
- ด้านโรงเรยี นและผู้บรหิ าร
ยทุ ธศาสตร์/ยุทธวิธใี นการสอน - ด้านสถานท่ี
(Instructional Strategy) - ดา้ นสือ่ วสั ดุ
- ดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม
กจิ กรรมการเรยี นการสอนและสอื่ - ด้านงบประมาณ
(Instructional Activites and Media) - ดา้ นชมุ ชน
- ด้านผ้ปู กครอง
การวดั และประเมนิ ผลการเรียนการสอน - ด้านนโยบายของรฐั
(Instructional Measurement and Evaluation)
ฯลฯ
2 ขั้นการเขียนแผนการสอน
วัตถปุ ระสงค์ เนื้อหาสาระ มโนทัศน์ กิจกรรม สือ่ การวัดและ
บนั ทึกผล
ทีม่ า : ทศิ นา แขมมณี. 2550 ประเมนิ ผล
การสอภานพประกอบท่ี 2 แสดงระบบออกแบบการเรียนการสอน โดยทิศนา แขมมณี
ระบบการเรียนการสอนท่ีได้นาเสนอเป็นตัวอย่าง เจ้าของระบบได้
กาหนดให้มีองค์ประกอบของระบบหรือระบบย่อยในระบบใหญ่ ซึ่งมีรายละเอียดแตกต่างกัน
แตล่ ักษณะเชงิ ระบบมคี วามครบถว้ นทง้ั ปัจจยั นาเข้า กระบวนการและผลผลิต
แผนการเรียนรู้
แผนการเรียนรู้ คือการนาหลักสูตรในส่วนของคาธิบายรายวิชามา
จดั ทารายละเอียดเพอื่ ใช้ในการเรยี นการสอน แผนการเรียนรู้ควรประกอบดว้ ยหวั ข้อต่างๆ ดังน้ี
(ทิศนา แขมมณี, 2550)
98
1 สว่ นประกอบตอนต้นหรือส่วนหัวของแผนการเรียนรู้ ได้แก่
ชอ่ื วชิ า รหัสวิชา กลมุ่ สาระ ระดบั ชั้น เวลาทีใ่ ช้สอนตอ่ สัปดาห์ ภาคเรียน ช่ือผู้สอน และช่ือ
สถานศกึ ษา
2 ส่วนประกอบตอนกลางของแผนการเรียนรู้ ได้แก่
คาอธิบายรายวิชา มาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระสาคญั สาระการ
เรยี นรู้ (หวั ข้อเนือ้ หาหลักและหัวข้อรอง) หากใช้ในระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานในส่วนนี้ควรจะมี
เน้ือหาสาระโดยสงั เขป การเรยี นการสอน (ระบุรายช่ัวโมง) สื่อและแหล่งการเรียนรู้ การวัดผล
ประเมินผล กจิ กรรมเสนอแนะ และโครงงานผเู้ รยี น บนั ทกึ การสอน และการวจิ ยั ในช้ันเรยี น
3 ส่วนประกอบตอนท้ายของแผนการเรียนรู้ ได้แก่ หนังสือ
อ้างองิ หรอื บรรณานกุ รมสาหรับใหผ้ ูท้ สี่ นใจได้คน้ ควา้ เพ่ิมเตมิ ต่อไป
การจัดประมวลการสอน (Syllabus) หลักสูตรได้กาหนดรายวิชาไว้ จึงเป็น
หน้าท่ีของสถานศึกษาที่จะตอ้ งดาเนินการโดยความร่วมมือจากฝุายวิชาการและครู - อาจารย์ใน
การจัดทาประมวลการสอนเป็นรายวิชา ซึ่งในบางสถานศึกษาจะเรียกประมวลการสอนว่า
โครงการสอน
การจัดทาประมวลการสอนหรือโครงการสอนน้ี จะวางเป็นภาคการศึกษา
โดยเฉพาะวิชาท่ีมหี นว่ ยกิต และสามารถเรยี นจบในแต่ละภาคการศึกษา ด้วยเหตุน้ปี ระมวลการ
สอนจึงเรมิ่ จากการวางแผนระยะยาวเป็นภาคการศึกษา แล้วจึงเป็นการวางแผนระยะสั้น เช่น
รายสัปดาห์ เป็นต้น สถานศึกษาสามารถท่ีจะจัดตามความเหมาะสม แต่เม่ือรวมแล้วก็จะได้
ครบตามทีห่ ลกั สตู รกาหนด (ปรียาพร วงศ์อนตุ รโรจน์, 2553)
1 ความจาเป็นทีต่ อ้ งมีการจดั ทาประมวลการสอนมดี งั น้ี
1.1 เพื่อช่วยให้การสอนได้มีขั้นตอนดาเนินการและสามารถนาไป
ปฏิบตั ิได้
1.2 ชว่ ยใหผ้ สู้ อนไมล่ ืมและไม่สอนซา้
1.3 ไดม้ กี ารวางแผนลว่ งหน้าเก่ียวกับกิจกรรม และอุปกรณ์ต่างๆ
ท่จี าเป็นในการสอน
1.4 ไดม้ กี ารจัดลาดบั ประสบการณอ์ ย่างครบถว้ นและมรี ะเบยี บ
2 สง่ิ ทคี่ วรคานึงถงึ ในการจดั ทาประมวลการสอน
2.1 การแบ่งเน้ือหา ควรคานึงถึงความเหมาะสม เช่น การสอน
ในวิชาเกษตรต้องคานงึ ถึงฤดกู ารเกษตร การเพาะปลูก เปน็ ต้น
2.2 ควรจะสารวจจานวนวันในแต่ละสัปดาห์ตามที่สอน เพราะจะ
ทราบวา่ มีวนั หยุด หรอื กิจกรรมอน่ื ท่ีทาให้การสอนขาดหายไป
99
2.3 การหาแหล่งท่ีจะทาให้ผู้เรียนได้เพิ่มพูนความรู้ทางวิชาการ
เชน่ สถานทด่ี งู าน ฝกึ งานใหน้ กั ศกึ ษา
2.4 การเชิญวิทยากรพิเศษล่วงหนา้
2.5 เคร่อื งมือโสตทศั นอปุ กรณ์ ตลอดจนวัสดุฝึก เครื่องจักรต่างๆ
ทีจ่ าเป็นตอ่ การเรยี นการสอน
2.6 วิธีการและเครอ่ื งมือในการวัดผลและประเมนิ ผลการเรียน
3 รายละเอยี ดของประมวลการสอนมดี ังน้ี
3.1 รหัสวิชา ชื่อวิชา จานวนหน่วยกิต จานวนช่ัวโมงท่ีเรียนทั้ง
ทฤษฎีและปฏบิ ัติ
3.2 รายวิชาโดยสงั เขปตามหลักสูตร
3.3 ความม่งุ หมายท่วั ไปของรายวิชา
3.4 ความมงุ่ หมายเฉพาะในแตล่ ะหวั ข้อ
3.5 เน้อื หาของประมวลการสอน ซึ่งจะประกอบด้วยความรู้ และ
ความสัมพันธ์กับความรู้อื่นๆ ที่ผู้เรียนต้องเรียนรู้ ทักษะและการปฏิบัติท่ีจาเป็นในรายวิชาน้ัน
รวมท้งั เจตคตแิ ละคณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์
3.6 กระบวนการสอนไดแ้ ก่ วธิ สี อนกิจกรรมในการเรียนการสอนท่ี
จะให้เกดิ ความรู้ ทักษะปฏิบัติและเจตคติ
3.7 อปุ กรณ์การสอนรวมทัง้ ตาราและหนงั สอื คน้ คว้าทีจ่ าเปน็
3.8 การทดสอบเเละการวดั ผลการเรยี น
3.9 หนังสอื อ่านประกอบและหนังสอื ท่ีจะเปน็ เอกสารอา้ งองิ
3.10 แหล่งทีจ่ ะหาความรู้ เช่น หอ้ งสมุด พพิ ิธภัณฑ์
การจัดแผนการเรียน สถานศึกษาต้องจัดแผนการเรียนให้สอดคล้องกับ
หลกั สูตร เพอ่ื ใหผ้ ู้เรยี นมีโอกาสเลือกเรยี นได้ตามความถนดั ตามความสนใจ และความสามารถ
แผนการเรียนเป็นการกาหนดรายวิชาให้เรียนมีวิชาบังคับวิชาเลือก และวิชาเลือกเสรี อย่างมี
จดุ มุ่งหมาย เป็นหนา้ ทขี่ องฝุายวชิ าการทีจ่ ะตอ้ งศกึ ษาโครงสร้างของหลักสตู ร รายวิชาต่างๆ ใน
หลักสตู รใหเ้ ข้าใจโดยละเอยี ด (ปรยี าพร วงศอ์ นุตรโรจน์, 2553)
1 การจดั แผนการเรียนควรอาศยั ข้อมลู ต่อไปน้ี
1.1 มีการสารวจสภาพท้องถิ่นอุตสาหกรรมและความต้องการของ
ผปู้ กครอง
1.2 มกี ารสารวจความต้องการของผู้เรียน
1.3 มีการสารวจความตอ้ งการของสถานประกอบการอุตสาหกรรม
100
1.4 มีการสารวจความพร้อมของสถานศึกษาในด้านต่างๆ เช่น
วัสดุอุปกรณ์เคร่ืองจักร เคร่ืองมือ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ แปลงสาธิต โรงประลอง
เป็นตน้
1.5 มีการนาผลการสรุปมาสรุปวิเคราะห์ เพื่อนาไปสู่การจัด
แผนการเรยี นของผเู้ รยี น นกั ศกึ ษา
1.6 แผนการเรยี นท่ีเปดิ สอนจากการประชุมพิจารณา ปรับเปล่ียน
แผนการเรียนได้เหมาะสมกับความตอ้ งการของผูเ้ รยี น
การจัดแผนการเรียนนี้ สถานศึกษาแต่ละแห่งจะจัดแตกต่างกันไปตาม
สภาพความพร้อมในด้านอาคารสถานที่ วัสดุอุปกรณ์ ตลอดจนครู - อาจารย์ สถานศึกษา
ขนาดใหญ่จะสามารถจดั แผนการเรยี นไดม้ ากกว่าสถานศึกษาขนาดเล็ก
ตารางสอน
ตารางสอนเป็นลกั ษณะของตารางทผ่ี ้สู อนใช้สาหรับสอนผู้เรียนในแต่ละวัน
โดยจัดทาไว้เป็นรายสัปดาห์ในระยะเวลา 1 ภาคเรียน หรือ 1 ปีการศึกษา ดังนั้นในการจัด
ตารางสอนให้สามารถปฏิบัติการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลต่อผู้เรียนเป็น
สาคญั ข้อควรคานึงถงึ มดี งั นี้ (ทิศนา แขมมณี, 2550)
1 กาหนดเวลาเรียนไวใ้ นตารางสอนทัง้ วนั และสปั ดาห์
2 จัดแบ่งรายวิชาตามโครงสร้างของหลักสูตร เช่น เป็นรายกลุ่ม
สาระวชิ าเอก วชิ าโท วชิ าบังคบั วิชาเลือก และวชิ าเลือกเสรี ทั้งนีค้ วรพิจารณาไปพร้อมๆ กัน
วา่ วชิ าใดเปน็ วชิ าท่ีเรยี นเฉพาะทฤษฎอี ย่างเดยี ว และวิชาใดมที งั้ ทฤษฎีและปฏบิ ตั ิ
3 จัดเวลาเรยี นในแตล่ ะวชิ าใหค้ รบถ้วนตามที่กาหนดไว้ในหลักสูตรต่อ
หนงึ่ สปั ดาห์
4 กาหนดให้รายวิชาหลักได้เรียนในภาคเชา้
5 หากในวิชาใดมีภาคปฏิบัติร่วมอยู่ด้วยควรจัดเวลาเรียนต่อจาก
ภาคทฤษฎี จะได้มคี วามสอดคล้องกนั
6 หากมีการเรียนในวิชาโท วิชาเลือก หรือวิชาเลือกเสรี ควร
กาหนดไวใ้ นวนั หน่ึงวนั ใดอยา่ งชัดเจนให้ผู้เรียนสามารถเลอื กเรียนได้ตามความสนใจ
7 เปิดโอกาสให้แก่ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากการเรียนการ
สอนในห้องเรยี น โดยการไปใชห้ อ้ งสมุดหรอื แหลง่ เรียนร้อู น่ื ๆ ให้เป็นประโยชน์
การจดั ตารางสอน ตารางสอนเป็นการกาหนดวิชา และเวลาที่จะเรียนโดย
ละเอยี ดประจาวนั ตลอดสัปดาห์ (ปรยี าพร วงศ์อนตุ รโรจน,์ 2553)
101
1 ส่งิ ท่คี วรคานงึ ถงึ ในการจดั ตารางสอน
1.1 เค้าโครงของหลักสูตร การแเบ่งหมวดวิชา วิชาบังคับ วิชา
เลือก วิชาเลือกเสรี แต่ละวิชาต้องใช้ห้องเรียนและอุปกรณ์เครื่องมือเคร่ืองจักรในลักษณะ
ใดบ้าง
1.2 จานวนผูเ้ รียน ที่จะลงทะเบียนในวิชาแต่ละวิชา และจัดเป็นกี่
ห้อง กก่ี ล่มุ
1.3 ระยะเวลาหรือคาบชั่วโมงในการสอนแบ่งเป็นกี่คาบ คาบละก่ี
นาที ในหนึ่งวันจะจดั ได้กี่คาบ
1.4 จานวนห้องเรียนและขนาดของห้องเรียน รวมทั้งลักษณะ
ห้องเรยี นทใ่ี ช้
1.5 จานวนครู - อาจารย์ที่จะรับผิดชอบในแตล่ ะวิชา
1.6 วทิ ยากรพเิ ศษและความสะดวกในการเชิญมาสอน
1.7 ภาระงานสอนของครแู ต่ละคน
2 ประโยชน์จากการนาข้อมูลมาใชใ้ นการจดั ตารางสอน
2.1 ครู - อาจารย์สามารถสอนวิชาที่ตนเองถนัด โดยการถามความ
สมคั รใจและความตอ้ งการทจี่ ะสอนของครู - อาจารย์
2.2 ภาระของงานสอนของครู - อาจารย์ไม่เหลื่อมล้ากัน หากครู -
อาจารย์มหี น้าที่ในดา้ นอ่ืน กจ็ ะได้มอบหมายงานสอนให้ลดลง
2.3 ผู้เรยี นไดเ้ ลอื กวิชาท่ตี นเองถนัด และเหมาะสม
2.4 วทิ ยากรพิเศษไดม้ าสอนตามเวลาทตี่ อ้ งการ
2.5 ส่ือการสอนสามารถนามาใช้ได้อยา่ งเหมาะสมและทวั่ ถงึ
2.6 ห้องเรียนไดร้ ับการหมนุ เวยี นในการใชใ้ ห้เกดิ ประโยชนส์ งู สดุ
3 หลกั ในการจดั ตารางสอน มีดงั น้ี
3.1 จัดให้ครบตามโครงสร้างของหลักสูตร เพื่อให้ผู้เรียนได้
ลงทะเบยี นเรียน และเรยี นได้ตามหลกั สตู ร
3.2 มีการพิจารณาในการจัดตารางสอนตามธรรมชาติของแต่ละ
รายวชิ า เพอ่ื เออื้ อานวยตอ่ การเรียนของผ้เู รียน ไม่ใหเ้ กิดความเครียดหรือเหนื่อยเกินไป และ
ไมค่ วรเป็น 2 รายวิชาหน่ึงวนั
3.3 จัดให้มีเวลาที่ผู้เรยี นสามารถศกึ ษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง
3.4 จัดวิชาที่เป็นทฤษฎีและมีการคานวณไว้ในภาคเช้ามากกว่า
ภาคบ่าย
102
3.5 ควรพิจารณาถึงครู - อาจารย์ เช่น ความสะดวกท่ีจะสอน
การมเี วลาวา่ งตรงกัน เพ่ือการประชุมหารอื ในภาควชิ าหรือแผนกวชิ า
4 ความสัมพนั ธ์ระหว่างตารางสอนกับการบรหิ ารงานของสถานศกึ ษา
4.1 การบริหารงานด้านครู - อาจารย์ การจัดตารางสอน มี
ความสัมพันธก์ บั ภาระงานของครู - อาจารย์ โดยท่ัวไปควรจะได้พิจารณาถึงภาระงานของครู -
อาจารย์
4.1.1 เวลาที่ครู - อาจารย์ใช้ในการทางานอื่นนอกเหนือจากงาน
สอน การมีงานดา้ นบริหารหรืองานพเิ ศษอืน่
4.1.2 เวลาที่ครู - อาจารย์ต้องใช้ในการเตรียมการสอน ครู -
อาจารย์ใหม่ตอ้ งใช้เวลาเตรยี มการสอนมาก หรือครู - อาจารย์ท่ีสอนหลายวชิ าที่แตกต่างกันต้อง
ใช้เวลาในการเตรยี มการสอน
4.1.3 ธรรมชาติของวิชาที่สอน เช่น วิชาทฤษฎี หรือวิชา
ปฏิบตั ิ การศึกษาคน้ ควา้ ด้วยตนเอง หรอื การฝกึ งาน
4.1.4 ภาระงานอ่ืนของครู – อาจารย์ เช่น การต้องไปศึกษา
ตอ่ หรอื ฝกึ อบรมในบางเวลา
4.2 การจัดอาคารสถานท่ีเรียน ตารางสอนมีส่วนในการกาหนด
ห้องเรยี นลักษณะตา่ งๆ ในอาคาร เพ่ือใช้ในการเรียนการสอน การใช้อาคารเรียนควรคานึงถึง
ความสามารถ และความเหมาะสมจานวนผู้เรียน ลักษณะวิชาและพยายามใช้ห้องเรียนให้เกิด
ประโยชน์สูงสดุ
4.3 การจัดอุปกรณ์ เครื่องมือ และส่ือการสอน ตารางสอน จะ
เป็นตัวกาหนดว่าใครจะเปน็ ผ้ใู ช้ ใช้เม่ือใด และใช้อย่างใด
4.4 การจัดอานวยความสะดวกให้ผู้เรียน และครู - อาจารย์
ตารางสอนจะกาหนดเวลาพักในแต่ละคาบชั่วโมง เวลาอาหารกลางวัน ตลอดจนการจัด
กิจกรรมอืน่ ๆ
4.5 ผู้บริหารสถานศึกษา สามารถท่ีจะนาตารางสอนมาเป็น
ตัวกาหนดแผนการปฏิบัติงานในสถานศึกษา เช่น เวลาว่างของผู้เรียน เวลาว่างของครู -
อาจารย์ ภาระงานสอนของครู - อาจารย์ การจัดประชุมครูรวมท้ังการจัดกิจกรรมอื่นๆ ใน
สถานศกึ ษา
103
การจัดช้นั เรยี น
การจัดช้ันเรียน คือ การจัดให้ผู้เรียนได้เรียนเป็นห้องเรียนในแต่ละ
ระดับช้นั เปน็ การแยกผู้เรียนเกง่ และผเู้ รียนอ่อนออกจากกนั ทั้งน้กี ารจดั ช้นั เรยี นควรมีหลักการ
จดั ชน้ั เรียน ดังนี้ (ทศิ นา แขมมณ,ี 2550)
1 ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มีจานวน 12 ปี หรือจานวน 12 ช้ัน
ในแต่ละช้ันมีจานวนผูเ้ รยี นครบตามเกณฑ์ที่กาหนดในชัน้ นน้ั ก็มีเพียงห้องเดียว หากในแต่ละช้ัน
มีจานวนผูเ้ รียนเกินกว่าเกณฑ์ที่กาหนดก็จะต้องจัดเพ่ิมอีก 1 ห้อง หรือหลายห้องเรียน ดังน้ัน
การจัดห้องเรียนในแต่ละชั้นควรใช้เกณฑ์ในการคัดเลือกผู้เรียนโดยวิธีการสอบหรือวัดผลแบบ
ตา่ งๆ ตามความเหมาะสม ทาให้การสอนมีประโยชน์ต่อผู้เรียนเน่ืองด้วยสามารถใช้รูปแบบการ
สอนไดห้ ลากหลาย
2 ระดับอุดมศึกษา จัดช้ันเรียนเป็นวิชาเอกตามที่กาหนดตามปีที่เข้า
ศกึ ษา จากปีท่เี ริ่มตน้ เขา้ เรยี นเปน็ ปีท่ี 1 จดั เรยี งไปตามลาดับจนถึงปีสุดท้าย ส่วนในแต่ละปีจะ
มีกี่ห้องเรียนนั้นเป็นไปตามจานวนห้องเรียนท่ีสถานศึกษานั้นๆ รับได้ ท้ังน้ีเนื่องด้วยผู้เรียน
จะต้องผ่านการสอบคัดเลือกแล้วถึงจะเข้าเรียนได้ สาหรับการจัดห้องเรียนเป็นไปตามระดับ
คะแนนที่สอบผ่าน หากมีหลายห้องเรียนก็แบ่งเป็นตอนของคะแนนส่วนรายวิชาอ่ืนๆ ตาม
หลกั สตู รจดั ตามกลมุ่ สนใจตามเกณฑข์ น้ั ตา่ ของจานวนผู้เรียนที่สามารถจัดให้มีการเรียนการสอน
ได้
การจัดชัน้ เรียน การจดั ชั้นเรียนในระดับการศึกษาชั้นต้นจะแบ่งกลุ่มผู้เรียน
ไดด้ ังน้ี (ปรยี าพร วงศอ์ นตุ รโรจน,์ 2553)
1 การจัดกลุ่มตามความรู้ความสามารถของผู้เรียน โดยพิจารณาจาก
ผลการเรียนของผู้เรียน โดยจัดเป็นกลุ่มผู้เรียนท่ีมีคะแนนสูง การดูผลการเรียนของผู้เรียนจะ
พจิ ารณาจากแตล่ ะวชิ า หรือคะแนนเฉลยี่ รวมทกุ วชิ า
2 การจัดแบ่งตามรายชื่อ จัดโดยการคละกันไปตามบัญชีรายช่ือ
บางครัง้ ก็เปน็ การเรยี งตามลาดับตวั อักษรของชอื่ ผู้เรียน โดยไม่คานึงถึงความสามารถพิเศษของ
ผูเ้ รยี น
3 จัดตามวิชาท่ีเป็นไปตามความสามารถพิเศษท่ีผู้เรียนลงทะเบียน
เรียน เชน่ ผเู้ รยี นประเภทกฬี า ผเู้ รยี นประเภทดนตรี ผู้เรียนเกษตรกรรม ผู้เรียนอุตสาหกรรม
ศลิ ป์ เปน็ ตน้
4 จดั แบบผสมผสาน กล่าวคือ บทเรียนกลุ่มเดียวกันบางครั้งก็เรียน
วชิ าเดยี วกัน แตถ่ ้าเปน็ วชิ าเลอื กกจ็ ะไปเรียนรวมกับผ้ทู ่เี รยี นวชิ าเลือกนั้นๆ
104
ก าร จัดชั้ น เรี ยน ส าหรั บนัก ศึก ษาใน ร ะ ดับอ า ชีว ศึก ษา ร ว มท้ั ง
ระดับอุดมศึกษาจะจดั ดงั น้ี
1 จัดตามท่ีนักศึกษาลงทะเบยี นเรยี นในรายวิชานน้ั
2 หากมีจานวนที่ลงทะเบียนมากก็อาจแยกเป็นกลุ่มย่อยโดยเฉพาะ
วิชาที่มภี าคปฏบิ ตั หิ รอื ฝกึ งานในโรงประลอง
การจดั ผสู้ อนเข้าสอน
การจัดผู้สอนเข้าสอนเป็นบทบาทหน้าท่ีของฝุายวิชาการ หรือผู้บริหาร
ร่วมกันพิจารณาความเหมาะสม ท้ังนี้ควรมีหลักการจัดผู้สอนเข้าสอน ดังนี้ (ทิศนา แขมมณี,
2550)
1 สารวจผู้สอนก่อนเปิดภาคเรียน โดยกาหนดข้อมูลที่ต้องการ
นาไปใช้จดั ผ้สู อนได้อย่างเหมาะสม
2 จัดผูส้ อนในรายวิชาท่ีถนัดก่อน ควรกาหนดเป็นวิชาหลัก วิชารอง
และวิชาเสรมิ
3 เฉลย่ี ภาระงานใหเ้ ท่ากนั
4 เว้นระยะคาบสอนให้ผู้สอนไดพ้ ักผอ่ นและเตรียมตัว
5 หากมีการสอนประจาชั้น ในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานผู้สอนควร
ตามผเู้ รียนไปสอนในชน้ั สูงข้ึน
การจัดครู - อาจารย์เข้าสอน การจัดครู - อาจารย์เข้าสอนเป็นงานของฝุาย
วิชาการ การพิจารณาความเหมาะสมและถูกต้องจงึ เปน็ สง่ิ จาเป็น การดาเนินงานของการจัดครู
- อาจารย์เขา้ สอนมดี ังนี้ (ปรียาพร วงศ์อนตุ รโรจน,์ 2553)
1 การสารวจความพร้อมของบุคลากรด้านครู - อาจารย์ ก่อนเปิด
หลกั สูตรใหม่ หรอื เปดิ แผนการสอนเพมิ่
2 สารวจภาระงานของครู - อาจารย์
3 สารวจคุณสมบัติของครู - อาจารย์ เช่น วุฒิการศึกษา
ประสบการณ์ ความชานาญในด้านการสอนของแตล่ ะวิชา
4 จัดตามความพร้อมของครู เช่น ความถนัด และความต้องการใน
การสอน ได้แก่
4.1 จัดตามวุฒิการศกึ ษา
4.2 จดั ตามความสนใจและความถนัด
4.3 จดั ตามความเชยี่ วชาญและประสบการณ์
105
5 การแก้ไขปญั หาการขาดครู - อาจารย์
5.1 ใหค้ รู - อาจารย์ได้ไปฝึกอบรมในบางรายวิชาท่ีขาดแคลนครู -
อาจารย์ท่จี ะสอน
5.2 จัดบุคลากรฝุายอื่นให้ช่วยสอน เช่น บุคลากรฝุายสนับสนุน
การสอน
5.3 จัดรวมกลุ่มผู้เรยี น
5.4 จัดหาวิทยากรภายนอกมาช่วยสอน
6 จัดครู - อาจารย์เขา้ สอนแทนเม่ือครู - อาจารย์ไมม่ าสอน
ส่ิงท่ีควรคานึงถึงในการจัดครู - อาจารย์เข้าสอน ควรจะได้คานึงถึง
ภาระงานของครู - อาจารย์ โดยท่วั ไปสถานศึกษาน้ันจะมอบหมายงานอื่นให้อาจารย์รับผิดชอบ
เช่น งานธุรการ งานเป็นกรรมการเฉพาะกิจ และงานอื่นๆ ตามท่ีผู้บริหารสถานศึกษาจะ
มอบหมายให้ ผู้บริหารจงึ จาเปน็ ต้องพจิ ารณาจดั แบง่ งานให้สมดลุ กันโดยมขี ้อพจิ ารณา ดงั นี้
6.1 เวลาที่ครูต้องเสียไปในการเตรียมการสอน โดยเฉพาะถ้าเป็น
งานสอนในวชิ ายังไมเ่ คยสอนมากอ่ น
6.2 ลกั ษณะของวชิ าทส่ี อน หมายถึง วิชาท่ีเป็นทฤษฎี แบบเป็น
ภาคปฏบิ ัติ การใชเ้ วลาในการตรวจงานตรวจแบบรา่ งหรอื โครงงาน
6.3 ลักษณะของผู้เรียนที่เรียน หากเป็นผู้เรียนที่อ่อน มีพ้ืนฐาน
การเรยี นที่แตกตา่ งกนั กจ็ ะต้องใช้เวลาเพิ่มหรอื สอนซ่อมเสริม
6.4 งาน และกิจกรรมอื่นพิเศษนอกเหนือการสอน เช่น การจัด
นิทรรศการ การจดั ทาโครงการอน่ื ๆ เปน็ ต้น
6.5 ความชานาญ และประสบการณ์การสอนของครู - อาจารย์
ครู - อาจารย์ที่มีความรู้และมีประสบการณ์การสอนมากจะเตรียมการสอนน้อย และมีความ
มั่นใจในการสอน
การจัดผสู้ อนเขา้ สอนแทน
การจัดผู้สอนเข้าสอนแทน เป็นการกระทาเมื่อผู้สอนไม่สามารถมาทาการ
สอนได้ เน่ืองด้วยเหตุผลต่างๆ ท้ังเหตุผลส่วนตัว และเหตุผลของทางราชการ โดยทั่วไปมี
หลักการปฏบิ ตั ิ ดังนี้ (ทศิ นา แขมมณี, 2550)
1 การจัดผู้สอนเข้าสอนแทนภายในกลุ่มงานกลุ่มสาระเดียวกัน เป็น
การกระทาได้โดยง่ายเน่อื งด้วยผสู้ อนมีความรู้ความสามารถไม่แตกต่างกัน และสามารถเข้าสอน
แทนกันได้เป็นอย่างดี
106
2 การจัดผู้สอนเข้าสอนแทนต่างกลุ่มงาน หรือกลุ่มสาระ ผู้ทา
หนา้ ทจี่ ัดผู้สอนเข้าสอนแทนจะต้องพิจารณาข้อมูลของผู้สอนในเรื่องของความรู้ความสนใจและ
ความถนัด
3 การจัดผู้สอนเข้าสอนแทนภายในสถานศึกษาเดียวกัน ควร
ดาเนนิ การตามขอ้ 2 โดยพิจารณาให้ละเอยี ดมากข้ึนโดยยึดผเู้ รยี นเป็นสาคัญ
4 การจัดผู้สอนเข้าสอนแทนระหว่างสถานศึกษา จัดเป็นโครงการ
รว่ มกัน กาหนดวนั เวลาทเี่ หมาะสม โดยคานงึ ถึงการเดนิ ทางของผู้สอน
5 การจัดผ้สู อนเข้าสอนแทนโดยการจ้างบุคคลภายนอก ในลักษณะ
ของการจ้างเป็นรายชั่วโมงหรือรายคาบ ทั้งน้ีจะต้องจัดให้สอดคล้องกับเวลาท่ีผู้สอนจริงไม่อยู่
หรืออยู่แต่ไม่สามารถเขา้ สอนตามปกตไิ ด้
การสอนซอ่ มเสรมิ
การสอนซ่อมเสริม เป็นผลมาจากการสอนตามปกติแล้วพบว่าผู้เรียนบาง
คนหรือบางกลุ่มมีปัญหาบางประการที่ไม่สามารถเรียนได้ทันกับผู้เรียนคนอื่นๆ ในเวลาปกติ
ปญั หาดังกล่าวผู้สอนควรใหค้ วามสนใจเปน็ พิเศษ ถือว่าเปน็ การช่วยเหลือผู้เรียนตง้ั แต่ตน้ ดังนั้น
การสอนซ่อมเสริมควรมีหลักการดังต่อไปน้ี (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2523 อ้างถึงใน
สันติ บญุ ภริ มย,์ 2552)
1 ความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล
ความแตกตา่ งที่สง่ ผลให้ผลการเรยี นของผู้เรยี นแตกต่างกันอาจกล่าวได้
2 ลักษณะ ดังนี้
1.1 ความแตกต่างที่มีมาตั้งแต่กาเนิด ซึ่งประกอบด้วยความ
แตกต่างด้านรา่ งกาย สติปัญญา และความสามารถทางภาษา ความแตกต่างแต่ละด้านที่ส่งผล
ต่อการเรียนของผู้เรยี น ไดแ้ ก่
1.1.1 ความแตกต่างด้านร่างกาย คือ ผู้เรียนที่มีรูปร่าง
ต่างกัน การเจริญเติบโตต่างกัน และมีความสามารถในการประสานงานของอวัยวะต่างๆ
แตกต่างกัน ความแตกต่างดงั กลา่ วทาใหค้ วามสามารถในการเรียนแตกต่างกัน เช่น ผู้เรียนที่มี
การประสานงานของกล้ามเนอ้ื ได้ดอี าจเรยี นวชิ าทางศลิ ปะได้ดีกว่าผู้เรยี นคนอื่นๆ เปน็ ต้น
1.1.2 ความแตกต่างด้านสติปัญญา คือ ผู้เรียนท่ีมี
ความสามารถในการจดจาต่ากจ็ ะส่งผลตอ่ ความสามารถในการเรยี นต่าลงด้วย
1.1.3 ความแตกต่างด้านภาษาต่อความผิดปกติของอวัยวะ
ภายในร่างกาย ซึ่งจะเป็นอุปสรรคในการฝึกฝนภาษา
107
1.2 ความแตกต่างทเ่ี กดิ ขึน้ ภายหลัง เช่น ความแตกต่างท่ีเกิดขึ้น
หลังจากการคลอดออกจากครรภ์มารดา และการเจริญวัย ความแตกต่างประเภทนี้มีลักษณะ
หลายๆ ดา้ น ไดแ้ ก่
1.2.1 ความสนใจ คือ เป็นความสามารถท่ีเกิดจากการ
ไดร้ ับผลสาเรจ็ ในดา้ นนัน้ ๆ หรือจากความตอ้ งการพ้นื ฐาน
1.2.2 ประสบการณ์ผู้เรียนท่ีผ่านการพบเห็นเหตุการณ์มา
ต่างกนั ส่งผลตอ่ การทากิจกรรมต่างกัน
1.2.3 การปรับตัวผู้เรียนท่ีได้รับการอบรมส่ังสอน การสร้าง
ความสมั พนั ธแ์ ละฝกึ ฝนต่างกนั ส่งผลตอ่ การปรับตวั แตกตา่ งกัน
1.2.4 เจตคติซ่ึงได้รับอิทธิพลมาจากครอบครัวกลุ่มเพ่ือน
และสง่ิ แวดล้อมในชุมชน
1.2.5 ความสาเร็จทางการเรียน มีส่วนประกอบหลาย
ประการ เช่น คุณภาพการสอนของครู แรงผลักดันจากทางบ้าน ความทะเยอทะยานของ
ผู้เรยี น เป็นตน้
การสอนซ่อมเสริมกับความแตกต่างระหว่างบุคคลมีความสัมพันธ์กัน
อย่างใกล้ชิด หากผู้สอนที่ทาการสอนซ่อมเสริมให้ผู้เรียนท่ีมีปัญหาการเรียนได้มีความรู้ความ
เขา้ ใจเกี่ยวกบั ความแตกตา่ งแลว้ จะทาให้มีกาลังใจในการสอนซ่อมเสริมได้ดี เพราะว่าเป็นการ
ช่วยเหลือผูเ้ รยี นท่มี ีปัญหาการเรียน ซง่ึ เป็นปญั หาพนื้ ฐานของชีวิตหากเขาได้รับการแก้ไขปัญหา
เบื้องต้นให้ผ่านพ้นไปด้วยดีแล้ว ทาให้การดาเนินชีวิตในด้านอื่นๆ ก็จะไม่พบกับปัญหาหรือ
อาจจะพบแตก่ ็มีความเบาบางลงไปได้
2 ผู้เรียนเรยี นช้า
ผู้เรียนท่ีพบว่ามีปัญหาทางการเรียนหรืออาจเรียกว่าผู้เรียนเรียนช้า
โดยทั่วไปมสี าเหตมุ าจาก
2.1 ความบกพร่องทางร่างกาย เช่น สายตาไม่ดี หูฟังไม่ชัด
อวยั วะในปากบกพรอ่ ง ทาใหอ้ อกเสียงไดไ้ ม่ดี เปน็ ต้น
2.2 ความบกพรอ่ งทางสตปิ ญั ญา ซง่ึ ส่งผลต่อความสามารถในการ
อ่านไม่ดี ไมส่ ามารถจับใจความได้ และมีปญั หาเร่ืองการสังเกต
2.3 ความบกพรอ่ งทางอารมณ์ ความบกพรอ่ งด้านน้ีส่วนใหญ่มีผล
มาจากการอบรมเลี้ยงดู และความสัมพันธ์ในครอบครัว ทาให้ผู้เรียนไม่มีความม่ันใจ และมี
เจตคตติ ่อการเรยี นทีไ่ มด่ ี
108
2.4 ความบกพร่องในวิธีการเรียน พบว่าความบกพร่องเช่นน้ีมา
จากผู้เรยี นไม่มคี วามสามารถในการจดั การเก่ียวกับการเรียน เชน่ ไม่มนี สิ ัยใฝุรู้ และการไม่รู้จัก
แบ่งเวลา เปน็ ตน้
มีสาเหตุหลายประการที่ทาให้ผู้เรียนเรียนรู้ช้า ดังน้ันผู้สอนควร
แก้ปญั หาไปทีละสาเหตุ จะทาให้ผู้สอนมีกาลังใจในการปฏิบัติงาน หากเกินความสามารถของ
ผูส้ อนแล้วก็ควรจะปรึกษาหารือกับฝุายต่างๆ ในสถานศึกษา หรือกับหน่วยงานอื่นๆ ภายนอก
สถานศึกษา โดยทาเป็นโครงการขอความร่วมมือช่วยเหลือร่วมกัน อย่างไรก็ตามผู้สอนที่ดีคือ
ผสู้ อนท่ีสามารถชว่ ยให้ผู้เรียนท่ีมีปัญหาได้แก้ไขปัญหาของเขาให้หมดไป เป็นการทาหน้าที่ของ
ครูไดด้ ที ส่ี ดุ
การสอนซ่อมเสริมเป็นการสอนเพิ่มเติมให้แก่ผู้เรียนท่ีมีปัญหาในการเรียน
หรอื ผ้เู รยี นที่มีความบกพร่องในดา้ นต่างๆ ส่วนผู้เรียนท่ีไม่มีปัญหาในการเรียนก็สามารถกระทา
ได้เช่นเดียวกัน หรืออาจเรียกว่าผู้เรียนกลุ่มที่มีความสามารถพิเศษ แต่เรียกว่า “การสอน
พเิ ศษ” มีหลกั การในการสอนซอ่ มเสรมิ ดังน้ี
1 ใหผ้ ู้เรียนฝกึ ฝนในภาคปฏบิ ตั ิมากๆ
2 จดั กจิ กรรมและแบบฝกึ หัดให้น่าสนใจ ที่ทาให้เกิดความสนุกสนาน
และไม่ซ้าซาก โดยเน้นการสอนแบบรายบุคคลให้มากท่สี ุด
3 จัดสถานท่ีพิเศษให้ผู้เรียน หรืออาจจัดแบ่งเป็นกลุ่มในห้องเรียน
ปกตกิ ไ็ ด้ แตไ่ ม่ควรให้ผู้เรียนเกิดความรสู้ กึ มปี มดอ้ ย
4 ถา้ ผู้เรียนมีข้อบกพร่องหลายด้าน ก็ควรแก้ไขข้อบกพร่องเหล่าน้ัน
ทีละดา้ น ไมค่ วรแก้ไขพร้อมๆ กัน เพราะผู้เรียนจะเกิดความสบั สน และควรแกไ้ ขในสิ่งท่ีผู้เรียน
บกพรอ่ งมากท่ีสุดเสียกอ่ น
5 ควรให้กาลังใจผู้เรียนอย่างสม่าเสมอ และใช้วิธีการเสริมพลังหรือ
การใหแ้ รงเสริมเมอ่ื ผู้เรยี นฝกึ ฝนกา้ วหนา้ หรือสาเรจ็ ตามเปาู หมาย
6 การตั้งจดุ ประสงค์ ควรทาในระดับที่ต่ากว่าธรรมดา เพื่อให้ผู้เรียน
สามารถบรรลุได้ และเกิดความภาคภูมใิ จ
7 ใช้วธิ กี ารเร้าใจให้ผูเ้ รยี นอยากทา เช่น การใช้วิธีการค้นพบ ซ่ึงครู
เป็นผูแ้ นะแนวทางเพื่อใหผ้ เู้ รยี นคน้ พบด้วยตนเอง
8 ส่ือการสอนจาเป็นมากสาหรับการสอนซ่อมเสริม ควรหาสื่อการ
สอนทแ่ี ปลก หรอื พิเศษกว่าธรรมดา
109
9 ควรมีการติดตามผลความก้าวหน้าของผู้เรียน หลังจากเข้ารับการ
สอนซ่อมเสรมิ แลว้ ทุกระยะ และควรรายงานผลให้ผู้เรียนทราบด้วย เพื่อจะได้มีกาลังใจเม่ือเห็น
ผลงานของตนเอง
อย่างไรก็ตามหากผู้สอนสามารถแก้ไขปัญหาของผู้เรียนให้สาเร็จลุล่วงไปได้
ด้วยดี ถือได้ว่าเป็นความสามารถของผู้สอนท่ีช่วยยกวิญญาณของผู้เรียนให้พ้นจากสภาพด้าน
เลวร้ายของผ้เู รียนเอง แต่ผู้สอนก็ไมค่ วรจะละเลยผู้เรียนเก่งและผู้เรียนท่ีมีความสามารถในการ
เรยี นระดับธรรมดา ซงึ่ ผู้เรียนทั้งสองกลุ่มหลังก็ควรจะได้รับการดูแลเอาใจใส่เช่นเดียวกัน โดย
ทาการชี้แนะหรือสอนพิเศษให้เขาได้พัฒนาศักยภาพของตนเองมากข้ึน เพ่ือนาไปสู่ความเป็น
อัจฉรยิ ะในความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล
การสอนซ่อมเสริม การ สอนซ่อมเสริมเป็นการสอ นกรณีพิเศษ
นอกเหนือไปจากการสอนตามแบบแผนปกติ เพอื่ แกไ้ ขบกพร่องของผูเ้ รียน (ปรียาพร วงศ์อนุตร
โรจน,์ 2553)
1 การสอนซ่อมเสรมิ มี 4 ลกั ษณะ คือ
1.1 การสอนซ่อมเสริมก่อนการเรียนการสอน เป็นการสอนปรับ
พ้ืนฐานความรู้ของผู้เรียนก่อนจะเข้าสู่หลักสูตร มักจะนามาใช้เมื่อได้รับผู้เรียนใหม่จาก
สถานศึกษาแตกตา่ งกัน ทาใหพ้ ื้นความร้เู ดมิ แตกต่างกนั ไป จงึ จาเป็นต้องสอนซ่อมเสริม มักจะ
เป็นการเรียนในหมวดวชิ าบงั คับที่ตอ้ งเรียนร่วมกัน
1.2 สอนซอ่ มเสรมิ ขณะทที่ าการสอน เป็นการพบข้อบกพร่องของ
ผู้เรยี นทไ่ี มเ่ ข้าใจบทเรยี นบางตอน จึงทาการสอนซ่อมเสรมิ เพือ่ จะไดต้ ิดตามการเรียนตอ่ ไปได้ทัน
และเข้าใจเนื้อหาวชิ าที่สอน
1.3 สอนซ่อมเสริมรายวิชา เพื่อสอบเเก้ตัวเมื่อมีการวัดผลในวิชา
แล้วปรากฏว่าไม่ผ่านเกณฑ์ท่ีกาหนด มีจุดประสงค์บางจุดประสงค์ที่ไม่ผ่านจึงจาเป็นต้องสอน
ซ่อมเสรมิ เพือ่ จะได้สอบแก้ตัวใหม่
1.4 สอนซ่อมเสริมสาหรับผู้เรียนท่ีฉลาดหรือเรียนเร็ว ผู้เรียนบาง
คนมสี ติปญั ญาสูงควรสอนซอ่ มเสรมิ เพือ่ จะได้ไมเ่ กดิ ความเบื่อหน่ายในการเรยี น
2 วธิ กี ารจดั สอนซอ่ มเสริมในสถานศกึ ษาทาไดด้ ังน้ี
2.1 เมื่อครู - อาจารย์พบข้อบกพร่อง จากการสังเกตพฤติกรรม
การแสดงออกของผเู้ รยี นทงั้ ในหอ้ งเรียนหรอื นอกหอ้ งเรียนสามารถสอนซ่อมเสริมได้
2.2 เม่ือครูพบข้อบกพร่องจากการวิเคราะห์ผลการประเมินที่
ปรากฏในการวัดผลควรจะได้สอนซ่อมเสริมได้ในจุดท่ีผู้เรียนอ่อน เพื่อช่วยในการเรียนรู้ของ
ผ้เู รยี นให้บรรลจุ ุดมงุ่ หมายทีก่ าหนดไว้
110
การเลือกตาราเรยี น
ตาราเรียน (Text Book) เป็นเอกสารหลัก ท่ีสถานศึกษาใช้สาหรับการจัด
ประสบการณก์ ารเรยี นรใู้ หแ้ ก่ผเู้ รยี น ดังน้ันการให้ผเู้ รียนไดร้ ับประสบการณ์ครบถ้วนในส่วนของ
เนอ้ื หาสาระในรายวชิ าเรียน ท้ังน้กี ารเลือกตาราเรยี นจงึ มีความจาเป็นมากในระบบการเรียนการ
สอน สาหรบั การเลอื กตาราเรยี นควรคานงึ ถงึ เร่ืองต่อไปน้ี (ทิศนา แขมมณ,ี 2550)
1 แนวคดิ ทวั่ ไปเกี่ยวกบั การเลือกตาราเรยี น
เน่อื งดว้ ยในระบบของการเรียนการสอน ผู้สอนต้องจัดเน้ือหาสาระให้
ผเู้ รยี นไดเ้ รียนรคู้ รบถว้ นตามหลักสูตร และมีความทันสมัยของเน้ือหานั้นๆ ดังน้ันตาราเรียนจึง
เป็นสื่อการสอนหลักที่มีความสาคัญอย่างยิ่งที่ผู้สอนจัดให้มีขึ้นในการสอนทุกคร้ัง การใช้ตารา
เรียนหนังสอื เรยี นหรือแบบเรียนทางสถานศึกษาจะใช้ตาราเรียนของกระทรวงศึกษาธิการ หรือ
หนงั สือท่กี ระทรวงศกึ ษาธิการรับรองแลว้ จึงนามาใช้ประกอบทางเรยี นการสอน
อย่างไรก็ตามสถานศึกษามิควรใช้ตาราเรียนเพียงเล่มเดียว เพราะว่า
จะทาให้ผู้เรียนมีความรู้คับแคบ จึงควรมีตาราเรียนหลายๆ เล่มในวิชาเดียว และหลากหลาย
ผู้แต่ง สถานศึกษาควรจัดสรรงบประมาณส่วนหนึ่งมาใช้สาหรับการจัดซื้อตาราเรียน หรือ
อาจจะใช้วิธีการทอดผ้าปุาตาราเรียนก็ได้ หรืออาจจะใช้วิธีการจัดโครงการห้องสมุดเคล่ือนท่ี
รว่ มกับสถานศกึ ษาอน่ื ๆ
สาหรับตาราเรียนในระดับอุดมศึกษา ทางสานักงานคณะกรรมการ
การอุดมศึกษาได้มีนโยบายให้หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดให้คณาจารย์ในสังกัดได้แต่ง
ตาราเรียนต่างๆ ซ่ึงสามารถนามาใช้เป็นผลงานทางวิชาการในการขอกาหนดตาแหน่งทาง
วชิ าการในระดับต่างๆ ซึ่งเปน็ ความเจริญกา้ วหนา้ ในหน้าทีก่ ารงานทางราชการของผสู้ อนด้วย
2 การเลอื กหนงั สือประกอบการเรียนการสอน
หนังสืออ่านประกอบในวิชาต่างๆ รวมท้ังตาราเรียนมีความจาเป็นต่อ
สถานศกึ ษาเป็นอย่างยิง่ จงึ ขอเสนอหลกั เกณฑ์ในการเลือกตาราเรียนหรือหนังสืออ่านประกอบ
ไว้ ดังน้ี
2.1 หนังสือน้ันมีความเหมาะสมกับจุดมุ่งหมายของสถานศึกษา
เป็นสว่ นรวมและสอดคล้องกบั จดุ ประสงค์ของรายวิชานัน้ โดยเฉพาะหรือไม่
2.2 ความแน่นอนถูกต้องของเน้ือหาในหนังสือ ในเรื่องนี้บางคร้ัง
เปน็ เรอ่ื งยากที่จะพิจารณา ดังนั้นส่วนใหญ่พิจารณาจากผู้เขียนว่าเป็นผู้ทรงความรู้ในสาขาวิชา
นั้นเพียงไร และหนังสือท่ีพิมพ์นั้นพิมพ์ออกมานานแล้วหรือไม่ เป็นเกณฑ์อย่างหน่ึงในการ
พจิ ารณา
111
2.3 ลักษณะการอธิบายเน้ือหาวิชาสูงเกินไปสาหรับผู้เรียนหรือไม่
การใช้คาศพั ทแ์ ละถ้อยคาต่างๆ ชดั เจนเพยี งไร มีตัวอยา่ งรปู หรอื แผนผังประกอบหรอื ไม่
2.4 การจัดเรียงเนื้อหาวิชามีความเหมาะสมแก่ผู้เรียนหรือไม่ ทา
ให้ผ้เู รยี นมองเหน็ ความสมั พันธ์ระหวา่ งเน้ือหาได้ง่ายเพียงไร
2.5 ผู้สอนใช้ประโยชน์จากหนังสือน้ันในการสอนได้มากน้อย
เพียงไร มีแบบฝึกหัดเพียงพอ มีการสรุปให้ผู้เรียนเข้าใจเรื่องท่ีอ่านดีขึ้น เห็นเน้ือหาส่วนรวม
ดีขน้ึ เปน็ ต้น
2.6 มีเครื่องช่วยในการค้นคว้าสาหรับผู้เรียน เช่น อภิธานศัพท์
ย่อเร่ือง คาอธิบายเพ่ิมเติมในที่ท่ีควรอธิบาย การจัดย่อหน้า การจัดหัวเร่ือง การมี
ภาพประกอบ เป็นต้น
2.7 ลักษณะภายนอกของหนังสือ เช่น คุณภาพการพิมพ์
คุณภาพกระดาษ การเย็บ การเข้าเล่ม ปกหนังสือ ตลอดจนความน่าจับต้องของหนังสือด้วย
เปน็ ต้น
การเลอื กหาตาราเรยี น โดยปกตจิ ะกระทาโดยกรรมการท่ีเก่ียวข้องกับ
วิชาท่จี ะสอนนั้นโดยตรง เช่น ตาราเรยี นภาษาอังกฤษควรจะให้คณะครูท่ีสอนภาษาอังกฤษเป็น
ผเู้ ลอื ก สงิ่ ท่ีผ้บู ริหารจะชว่ ยกค็ อื พยายามสร้างเกณฑท์ างวชิ าการสาหรับเลือกขึ้นเป็นแนวทางใน
การพิจารณา เพ่ือใช้ในสถานศึกษาน้ัน และผู้บริหารจะต้องไม่เห็นแก่เงินส่วนลดที่สานักพิมพ์
หรอื ร้านค้าจะมอบให้แก่โรงเรียนหรอื แก่บุคคลใดๆ ใหม้ ีความสาคญั เหนอื คุณคา่ ทางวิชาการของ
หนังสอื นนั้ ๆ เป็นอนั ขาด
การเลือกตาราเรียน ตาราเรียนหรือแบบเรียนเป็นอุปกรณ์การสอนท่ี
สาคัญ โดยทว่ั ไปสถานศึกษาจะใชต้ าราเรียนทีก่ ระทรวงศกึ ษาธกิ ารกาหนดให้ใช้ นอกเหนือจาก
นั้นเรียกว่าหนังสืออ่านประกอบ สถานศึกษาจะใช้ก็ได้ไม่ใช้ก็ได้ กระทรวงศึกษาธิการไม่ได้
บังคบั การศึกษาในบางระดับ เช่น ระดับอาชีวศึกษา และระดับอุดมศึกษา ตาราเรียนหรือ
แบบเรียนครู - อาจารย์สามารถจัดทาขึ้นเองได้โดยการเขียนตาราวิชาการตามเน้ือหาของ
หลกั สูตรรายวชิ า (ปรียาพร วงศ์อนตุ รโรจน์, 2553)
ตาราเรียนเป็นเครื่องประหยัดเวลาในการสอนของครู - อาจารย์
เน้ือหาบางอย่างครู - อาจารย์อาจกาหนดให้ผู้เรียนไปค้นคว้าจากห้องสมุดตามหนังสือท่ี
กาหนดให้อ่านเพ่ิมเติมและนามาอภิปราย หรือจัดทาเป็นรายงานเพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ที่
กว้างขวาง ตาราเรยี นเปน็ หลักในการกาหนดเนอ้ื หาตามหลกั สูตรรายวิชาทีเ่ รยี น ด้วยเหตุน้ีครู -
อาจารย์มแี นวโน้มท่ีจะใช้ตาราเรียนหรือแบบเรียนเล่มใดเล่มหนึ่งหรือเล่มที่ตนเองเขียนใช้เพียง
เล่มเดียว ซ่ึงจะทาให้ผู้เรียนต้องใช้ตาราเล่มเดียวกันก็จะเกิดความรู้ที่แคบ ด้วยเหตุนี้ครู -
112
อาจารย์ควรจะได้ส่งเสรมิ ผู้เรียนให้ได้ใช้ห้องสมุดเป็นแหล่งค้นคว้าหาความรู้เพ่ิมเติม ซ่ึงควรจะ
ได้รับการสนับสนุนจากฝุายบริหารของสถานศึกษาโดยสามารถจะทาได้ดังนี้ (ปรียาพร วงศ์-
อนตุ รโรจน์, 2553)
1 จดั ตาราเรยี น และแบบเรียนอนื่ ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับวิชาต่างๆ มาไว้ใน
ห้องสมุด
2 ให้ครู - อาจารย์ได้จัดทาโครงการสอนหรือแผนการสอน โดยการ
กาหนดหนังสอื อา่ นประกอบให้กบั ผู้เรียน
เกณฑก์ ารเลอื กตาราเรยี นมีดงั นี้
1 ตาราเรียนเหมาะสม และตรงกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตรรายวิชา
น้นั
2 เนอ้ื หาวิชาในตาราเรยี น เรียนได้ถูกต้องโดยพิจารณาจากผู้เขียนว่า
เป็นผูท้ รงคุณวฒุ ใิ นวิชานั้นๆ
3 ลักษณะการอธิบายเน้ือหาวิชาพอเหมาะกับวัยและความรู้ของ
ผเู้ รยี น
4 ความเหมาะสมของเนือ้ หาวชิ า
5 ตารามีบทสรุปแบบฝึกหัดท้ายบทเพ่ือช่วยในการฝึกความรู้และ
ทกั ษะ
6 มีหนังสอื อ้างองิ บรรณานุกรม อภธิ านศัพท์ ตลอดจน คาอธิบาย
ตารางภาพมาประกอบ
7 คุณภาพของการจัดพิมพ์ เช่น กระดาษ การเข้าเล่ม การตรวจ
คาผดิ
การวัดผลการทดสอบและการประเมินผลการศกึ ษา
การวัดผลการทดสอบและการประเมินผลการศึกษา เป็นขั้นตอนหนึ่งใน
ระบบการจัดการเรียนการสอน หรืออาจกล่าวได้ว่า เป็นข้ันสาคญั ทช่ี ี้ให้เห็นว่าการจัดการศึกษา
ให้แก่บุคคลในแต่ละคนประสบความสาเร็จหรือไม่ ดังนั้นควรมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับ
ความหมายของคาต่างๆ เกี่ยวกับการวัดผล การทดสอบ และการประเมินผลการศึกษา ดังน้ี
(ทศิ นา แขมมณี, 2550)
1 การวัดผลและการวัดผลทางการศึกษา
การวัดผล (Measurement) หมายถึง กระบวนการหาปริมาณ หรือ
จานวนของส่ิงตา่ งๆ โดยใช้เครื่องมอื อย่างใดอย่างหน่ึงมาวัดผล ซึ่งผลของการวัดจะออกมาเป็น
ตัวเลขหรอื สญั ลกั ษณห์ รอื ข้อมูลเชน่ นายแดงสูง 180 ซม. เคร่ืองมือคือท่ีวัดส่วนสูง หรือนายดา
113
สอบได้ 25 คะแนน เครื่องมือคือแบบทดสอบ ส่วนการวัดผลทางการศึกษา (EducatlonaI
Measurement) หมายถึง กระบวนการหาปริมาณและคุณภาพของการเรียนรู้ ความสามารถ
เก่ียวกบั พฤติกรรมทพี่ ึงประสงค์อันสืบเนื่องจากการเรียนการสอนโดยใช้เคร่ืองมือทางการศึกษา
อย่างใดอยา่ งหนง่ึ มาวดั ผลออกมาเปน็ คะแนน
2 การทดสอบและการทดสอบทางการศึกษา
การทดสอบ (Testing) หมายถึง กิจกรรมหน่ึงของการวัดผล เช่น
การทดสอบการทางานของเคร่ืองกล ซ่ึงท่ีจริงแล้วคือการวัดผลน่ันเอง ส่วนการทดสอบทาง
การศึกษา (Education Testing) หมายถึง กระบวนการวัดผลอย่างหน่ึงที่กระทาอย่างมีระบบ
เพ่ือใช้ในการเปรียบเทียบความสามารถของบุคคล โดยใช้ข้อสอบ หรือคาถามไปกระตุ้นให้
สมองแสดงพฤตกิ รรมอย่างใดอยา่ งหนึง่ ออกมา
3 การประเมินผลและการประเมินผลทางการศกึ ษา
การประเมินผล (Evaluation) หมายถึง การตัดสินหรือวินิจฉัยส่ิง
ต่างๆ ทไ่ี ด้จากการวัดผล โดยอาศัยเกณฑ์การพิจารณาอย่างใดอย่างหน่ึง ส่วนการประเมินผล
ทางการศึกษา (Educational Evaluation) หมายถึง การตัดสินหรือวินิจฉัยสิ่งต่างๆ ท่ีได้จาก
การวัดผลการศึกษา โดยอาศยั เกณฑ์การพจิ ารณาอยา่ งหน่ึงอย่างใด
จะเหน็ ได้ว่าการวัดผลการทดสอบ และการประเมินผลการศึกษา เป็นการ
ดาเนินการเกี่ยวกับส่ิงท่ีเป็นนามธรรม ในส่วนของพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน เม่ือผ่าน
กระบวนการเรยี นการสอนในรูปแบบหรอื ลกั ษณะตา่ งๆ ไปแล้ว ผูเ้ รยี นคนนั้นสามารถแสดงออก
ซง่ึ พฤตกิ รรมต่างๆ ไดใ้ นระดับใด
พฤตกิ รรมการเรียนรู้ที่ใช้ในการวัดและประเมินผล ซ่ึงจาแนกโดยบลูมและ
คณะ (BIoom & Others) มีดงั น้ี
1 วัดพฤติกรรมการเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) เป็น
การวัดพฤตกิ รรมด้านสมอง เช่น ความรู้ ความจา เปน็ ต้น
2 วัดพฤตกิ รรมการเรียนรู้ด้านจิตพิสัย (Affective Domain) เป็นการ
วัดพฤติกรรมด้านจิตใจ เช่น ความเข้าใจ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และการประเมินค่า
เป็นต้น
3 วัดพฤติกรรมการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain)
เปน็ การวดั พฤติกรรมด้านการปฏบิ ตั ิ เช่น การนาไปใช้ ได้แก่ความสามารถในการใช้กล้ามเน้ือ
และประสาทสมั ผสั ส่วนอนื่ ๆ ของร่างกาย เปน็ ตน้
อย่างไรกต็ ามกิจกรรมในระบบการเรียนการสอนในส่วนท่ีเกี่ยวกับการวัดผล
การทดสอบและการประเมนิ ผลการศกึ ษา เป็นการดาเนนิ งานที่มีความสัมพันธ์ต่อเน่ืองกัน การ
114
วัดผลเปน็ ความตอ้ งการวดั ความสามารถทางพฤติกรรมด้านต่างๆ ของผู้เรียน จึงทาการทดสอบ
โดยใช้เครือ่ งมอื ประเภทตา่ งๆ ตามความเหมาะสมแก่ความต้องการให้ได้มาซ่ึงผลของพฤติกรรม
ได้มาเป็นคะแนนหรืออาจจะเปน็ สัญลักษณ์อย่างอืน่ แตโ่ ดยทว่ั ไปใช้คะแนนเป็นเกณฑ์มาตรฐาน
เมื่อได้ผลการวัดจากเครื่องมือทดสอบเป็นคะแนนแล้ว นาไปทาการประเมินผลการเรียน โดย
การเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนดไว้ หรืออาจเทียบกับความสามารถของกลุ่มผู้เรียนดังได้
กล่าววา่ การประเมินผลแบบอิงเกณฑ์ หรือว่าอิงกลุ่ม ซ่ึงประเมินผลโดยการตัดสินออกมาเป็น
เกณฑ์การประเมนิ ผลเชน่ A, B+, B, C+, C, D+, D และ E เปน็ ตน้
การประเมินผลความก้าวหนา้ ของผู้เรียน
เมื่อผู้สอนกาหนดตัวชี้วัดและจุดประสงค์การเรียนรู้ได้แล้ว ดังน้ันเพื่อเป็น
แนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยมุ่งหวังว่าผู้เรียนจะเกิดการเรียนรู้และมี
ความสามารถตามทก่ี าหนดไว้ในจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ จึงเป็นบทบาทหน้าที่ของการประเมินผล
การเรียนการสอน ในการตรวจสอบและตัดสินว่าผู้เรยี นเกิดการเรียนรู้และมีความสามารถตามท่ี
ต้องการหรือไม่ มีความก้าวหน้าในการเรียนรู้มากน้อยเพียงใด ผู้สอนจะสามารถกลับไป
พิจารณาความเหมาะสมของเนือ้ หา จดุ ประสงคแ์ ละการเรียนการสอน เพ่ือดาเนินการปรับปรุง
ให้มปี ระสิทธภิ าพต่อไป (ทิศนา แขมมณี, 2550)
การจดั ระบบการเรียนการสอนเป็นการกาหนดให้ทราบว่า ในการเรียนการ
สอนมีงานหรือกิจกรรมใดท่ีจะต้องกระทาให้ครอบคลุม งานในด้านการเรียนการสอนโดย
ประกอบด้วยความรู้ ความเข้าใจเบ้ืองต้นเก่ียวกับระบบความหมายของการเรียนการสอน
แนวคิดเกีย่ วกบั การนาระบบไปประยุกต์ใช้ในงานการเรียนการสอน และระบบการเรยี นการสอน
สาหรับในส่วนของระบบการเรียนการสอนจะประกอบด้วยเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้โดย
เริ่มต้นต้ังแต่หลักสูตร แผนการสอน ตารางสอน การจัดชั้นเรียน การจัดผู้สอนเข้าสอนแทน
การสอนซ่อมเสริม การเลือกตาราเรยี น ตลอดจนการวัดผล การทดสอบ และการประเมินผล
การศกึ ษา ดงั นัน้ ในสว่ นของผ้รู ับผิดชอบในการจัดการศึกษา นอกเหนือจากความรู้ความเข้าใจ
ในศาสตร์เฉพาะทางด้านการบริหารการศึกษา ในส่วนที่เก่ียวกับการบริหารสถานศึกษา และ
การบรหิ ารงานวิชาการ โดยเฉพาะด้านการเรียนการสอน จะตอ้ งมีความรู้ความเข้าใจในศาสตร์
ทางการบริหาร และพร้อมที่จะนาไปประยุกต์ใช้กับงานเฉพาะด้าน เช่น การบริหารงาน
วชิ าการ เป็นตน้ (ทศิ นา แขมมณ,ี 2550)
คู่มอื ครูในงานวิชาการ
ค่มู ือครใู นงานวิชาการเปน็ เครื่องมือช่วยครู - อาจารย์ท่ีจะได้เป็นแนวทางใน
การปฏิบัติงานด้านวิชาการในสถานศึกษา เป็นการพัฒนาคุณภาพงานวิชาการเพื่อทาให้การ
115
จัดการเรยี นการสอนในสถานศึกษามีคณุ ภาพและประสิทธภิ าพเพ่ิมขึน้ เปน็ ไปตามจดุ มงุ่ หมายของ
หลกั สตู ร
คูม่ ือครใู นงานวิชาการ ฝาุ ยบรหิ ารหรอื ฝุายนเิ ทศภายในสถานศึกษาสามารถ
จัดทาได้โดยการรวบรวมเอกสารต่างๆ ทางวิชาการที่ครูต้องรู้ และได้คาแนะนาในการจัดการ
เรียนการสอน
เนื้อหาท่ีควรบรรจุไว้ในคู่มือครูในงานวิชาการมีดังนี้ (ปรียาพร วงศ์อนุตร-
โรจน,์ 2553)
1 หลักสูตรที่ครูใช้สอนอยู่ในด้านหลักสูตร โครงสร้าง จุดมุ่งหมาย
ของหลักสูตร
2 ระเบียบการประเมินผลการเรยี นตามหลักสตู ร
3 การใชเ้ งินในหมวดเงนิ บารงุ การศกึ ษาเพอื่ งานวิชาการ
4 การสอนซอ่ มเสริมกับผ้เู รยี น
5 การเขยี นโครงการและปฏทิ ินการปฏบิ ตั ิงาน
6 ลกั ษณะการจัดการนเิ ทศการสอนภายในสถานศึกษา
7 การเลอื กและการใช้ส่ือการสอน
8 การเสนอแบบเรยี นตาราหนงั สือเพอ่ื จดั ซือ้ ในหอ้ งสมดุ
9 การจัดทาโครงการสอน แผนการสอน หรอื ประมวลการสอน
การจัดทาคู่มอื ผ้เู รยี น
การจัดทาคู่มือผู้เรียน คู่มือผู้เรียนเป็นเอกสารท่ีสถานศึกษาจัดทาเพื่อแจก
ผ้เู รียน โดยเฉพาะผู้เรียนใหม่ในวันลงทะเบียน เพ่ือเป็นแนวทางให้ผู้เรียนได้เข้าใจถึงหลักสูตร
การจัดการเรยี นการสอน การปฏบิ ตั ติ นไดถ้ ูกระเบยี บของสถานศึกษา ในเร่ืองต่างๆ ที่เก่ียวข้อง
กับผ้เู รยี น โดยท่ัวไปสถานศกึ ษาจะจดั พมิ พ์ขน้ึ เปน็ รายปี (ปรียาพร วงศอ์ นตุ รโรจน,์ 2553)
คมู่ ือผู้เรยี นจะมีรายละเอยี ดดังน้ี
1 แนะนาสถานศึกษา ประวัติความเป็นมา คณาจารย์ ตลอดจน
บคุ ลากรท่เี กีย่ วข้องกับผ้เู รยี น
2 หลักเกณฑ์ หลักการ โครงสรา้ งรายละเอียดวชิ า
3 ปฎทิ นิ การศกึ ษา
4 ระเบียบการลงทะเบยี นเรยี น การลดวิชา การเพิ่มวิชา
5 ระเบียบการวดั ผลประเมนิ ผลการศกึ ษา
6 ระเบียบปฏิบตั ิเกีย่ วกบั การสอบ
116
7 ระเบียบเกี่ยวกับวินัย และการปฏิบัติตน รวมท้ังระเบียบการแต่ง
กายและระเบยี บอนื่ ๆ ท่ีผูเ้ รียนต้องถือปฏบิ ตั ิ
การจัดห้องศูนยค์ วบคุมการเรยี นการสอนทางวชิ าการ
การจัดห้องศูนย์ควบคุมการเรียนการสอนทางวิชาการ ห้องท่ีจัดข้ึนไม่ใช่
ห้องเรียนของผู้เรียนแต่เป็นห้องท่ีเป็นศูนย์กลางเกี่ยวกับข่าวสารและสารสนเทศของงานด้าน
วิชาการในสถานศึกษาโดยเฉพาะสถานศึกษาท่ีมีผู้เรียนไม่ได้เรียนประจาห้อง วันหน่ึงอาจเรียน
หลายวิชาและยา้ ยหอ้ งเรยี น การจัดหอ้ งศนู ยค์ วบคุมการเรียนการสอนจะเป็นศนู ยก์ ลางที่อานวย
ความสะดวกในด้านการเรยี นการสอนสามารถติดตามทางด้านวิชาการได้ (ปรียาพร วงศ์อนุตร-
โรจน,์ 2553)
การจดั ห้องเรียนควรประกอบด้วย
1 ตารางการใช้หอ้ งเรียนหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร
2 ตารางสอนรวมของครู - อาจารย์
3 ตารางสอนของกลุ่มวิชาของนักศึกษาแยกตามกลุ่มแผนก และ
คณะวชิ าตา่ งๆ
4 แผนการเรียนของหลักสูตรระดบั ต่างๆ ครบทกุ ภาคเรยี น
5 แสดงผลสถติ ิความกา้ วหน้าทางด้านการรบั สมัครผเู้ รียน
6 แสดงจานวนครู - อาจารย์ที่ประจาและศึกษาตอ่
7 มีตัวอย่างอุปกรณ์การสอนที่ต้องใช้ประจา เช่น ใบงาน ใบช่วย-
สอน ใบความรู้ หนงั สือเรยี น คู่มือครู คมู่ อื ผเู้ รียน ตลอดจนรายช่อื ผูเ้ รียนในแตล่ ะชนั้ ปี
แนวทางปฏิบัติงานเพอ่ื ปรบั ปรงุ การจดั การเรียนการสอน
การปรบั ปรุงการเรียนการสอน เป็นสิ่งที่สถานศึกษาต้องให้ความสาคัญเป็น
พิเศษ เพราะการเรียนการสอนเป็นหัวใจสาคัญของงานด้านวิชาการ ในการปรับปรุงการเรียน
การสอนนั้นนอกจากจะปรับปรุงในส่วนท่ีเป็นเคร่ืองช่วยในการเรียนการสอน อาทิ
โสตทัศนูปกรณ์ แบบเรียน หลักสูตร และสิ่งที่สาคัญย่ิงก็คือปรับปรุงพัฒนาครูให้ก้าวทัน
วิทยาการเทคโนโลยีใหมๆ่ อยเู่ สมอ เพ่ือพัฒนาการเรยี นการสอนใหเ้ กิดประสทิ ธภิ าพสูงสุด และ
สอดคล้องกบั ความตอ้ งการความก้าวหน้าของสังคม เก่ียวกับการเพิ่มพูนประสิทธิภาพของครู -
อาจารย์นั้น
ผบู้ รหิ ารสถานศึกษาสามารถดาเนินการได้ดังนี้
1 ปฐมนิเทศครู - อาจารย์ใหม่
2 ประชมุ หารอื หรอื ชีแ้ จงเกีย่ วกบั การเรยี นการสอน
117
3 ส่งเข้ารับการอบรมในหลักสูตรระยะส้ัน เพ่ือเพ่ิมพูนความรู้ท้ังใน
ดา้ นเน้อื หาวิชาเเละการใช้เทคโนโลยกี บั การเรยี นการสอน
4 สง่ เสรมิ ใหศ้ กึ ษาต่อในระดบั สูงขน้ึ ไป
5 สง่ เขา้ ไปศกึ ษาในสถาบันต่างๆ เฉพาะแขนงวชิ า
6 จัดประชมุ สัมมนาในแต่ละหมวดวิชา
7 ใหก้ ารนิเทศภายในสถานศกึ ษา
8 เชิญวิทยากรมาให้ความร้ใู นหวั ข้อต่างๆ ที่น่าสนใจ
9 ใหไ้ ปฝึกอบรมด้านฝกึ งานโดยการปฏบิ ัตจิ ริง
10 ให้ไปดูงานในสถานศึกษาที่มีชื่อเสียงเพื่อนาความรู้และ
ประสบการณ์มาเปน็ แนวทางในการปรบั ปรงุ แก้ไขการเรียนการสอนหรอื งานท่ปี ฏบิ ตั อิ ยู่
แนวทางปฏบิ ัติงานเพอ่ื ส่งเสรมิ การจดั การเรยี นการสอนของสถานศกึ ษา
สถานศึกษาแต่ละแห่งสามารถท่ีจะปรับปรุงสถานศึกษาของตนเองได้โดย
ถือแนวปฏบิ ตั ิของกระทรวงศกึ ษาธิการ ดงั นี้
1 การจัดโครงการอาหารกลางวันเป็นนโยบายของ
กระทรวงศึกษาธิการ ทีจ่ ะชว่ ยเหลอื ผเู้ รยี นทย่ี ากจนให้ได้รบั ประทานอาหารในราคาถกู
2 การจัดการศึกษาเพ่ืออาชีพ มีการประสานงานกับสถาน-
ประกอบการในท้องถน่ิ เพ่อื ประโยชน์ทางการศึกษาวิชาชีพและส่งิ อืน่ ๆ ท่เี ก่ยี วขอ้ ง
3 การกวดขันด้านคุณภาพทางการเรียนการสอน โดยเฉพาะวิชา
ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เพราะวิชาหลักทั้งสามวิชาดังกล่าวมีความจาเป็นและมี
ความสาคัญมากในการจะให้ผู้เรียนได้มีความรใู้ นภาษาของตนอย่างแทจ้ ริง
4 การดาเนินการอบรมส่งเสริม และกวดขันผู้เรียนในด้านความ
ประพฤติ ระเบยี บวนิ ยั ความรับผิดชอบในค่านิยมพื้นฐานทั้ง 5 ประการ ตลอดจนหลักการตาม
ระบอบประชาธปิ ไตย
5 มีการส่งเสริมการเรียนการสอนในวิชาลูกเสือและเนตรนารี วิชา
สามัญ ให้ไดผ้ ลตามความมงุ่ หมายของหลกั สตู ร
6 การจัดกิจกรรมด้านพลศึกษานับเป็นกิจกรรมท่ีมีประโยชน์อย่าง
มากของมนุษย์ เพราะรา่ งกายของคนเรานน้ั ควรจะได้การฝกึ หดั และออกกาลงั กายให้แข็งแรงอยู่
เสมอ
7 มีการส่งเสริม สนับสนุนใหป้ ลกู ตน้ ไม้ตามสถานท่ีเห็นสมควรให้มาก
ขนึ้ เช่น บริเวณภายในสถานศึกษา บริเวณวัด บริเวณโบราณสถานศึกษา หรือสถานท่ีสาคัญ
ทางประวตั ศิ าสตร์
118
8 ให้มีการปรับปรุง ส่งเสริมสมรรถภาพประสิทธิภาพ และเข้มงวด
ความประพฤติของครู - อาจารย์ โดยกาชับให้ปฏิบัติตนตามนโยบาย 4 ประการของรัฐบาล
ได้แก่ การประหยัด การนยิ มของไทย วินยั ของชาติ และความสะอาดของบา้ นเมอื ง
9 ให้มีการจัดกิจกรรมทานุบารุงส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรมร่วมกับ
ชุมชน และส่งเสริมดนตรเี ปน็ พิเศษ
10 ใหม้ ีการจัดการศกึ ษาเพ่ือการประหยัด โดยคานงึ ถงึ การใชว้ ัสดุ
11 ให้มีการจัดการศึกษาเพ่ือฝึกฝนทักษะวิชาชีพอย่างแท้จริงโดย
พยายามปรบั ปรงุ คณุ ภาพของครู - อาจารย์ใหม้ ีความรทู้ กั ษะใหเ้ หมาะสมกบั อาชพี
12 ควรจดั ให้มีการวิจัย และพัฒนาในเร่ืองอาคารสถานท่ี เคร่ืองมือ
เครอื่ งใช้ และอุปกรณ์การศึกษา บุคลากร และเทคนิคการบริหาร รวมท้ังกระบวนการเรียน
การสอน
13 จดั ใหม้ กี ารพัฒนาบคุ ลากรในเร่อื งของวิญญาณครู ภูมิรู้ ภูมิธรรม
ภูมิฐาน สถานศกึ ษาจะตอ้ งมีโครงการเพ่อื การพัฒนาบคุ ลากรอย่างสม่าเสมอ
14 การพฒั นากลมุ่ คุณภาพหรอื จัดคิวซีในสถานศึกษา
15 การจัดอาชีวศึกษาครบวงจร กรมอาชีวศึกษาได้ตั้งเปูาหมาย
สาหรับนกั ศกึ ษาทจี่ บการศกึ ษาจากสถานศกึ ษาไปแลว้ จะตอ้ งมงี านทาตามสายงานและมีรายได้
ดี
จากทกี่ ล่าวมา สรุปได้ว่า จุดมุ่งหมายหลักของสถานศึกษาอยู่ท่ีการจัดการ
เรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพ งานการจัดการเรียนรู้มีหลายงานได้แก่ การจัดทาประมวลการสอน
การจดั ทาแผนการเรียน การจัดตารางสอน การจัดชน้ั เรยี น การจดั ครู - อาจารย์เข้าสอน การ
สอนซ่อมเสรมิ การเลือกตาราเรยี น การจดั ทาคูม่ ือครูด้านวิชาการ การจัดทาคู่มือผู้เรียน และ
การจัดหอ้ งศูนยค์ วบคุมการเรียนการสอน การพัฒนาครู - อาจารย์ การปรับปรุงการเรียนการ
สอน ซ่ึงครูต้องศึกษารวบรวมข้อมูลของผู้เรียนเป็นรายบุคคลเพื่อการพัฒนาความสามารถของ
ผเู้ รยี น คน้ หาศักยภาพของผู้เรียนเพื่อให้การส่งเสริมสนับสนุน สร้างแรงจูงใจให้ผู้เรียนมีความ
ต้องการในการเรียนรู้ วางแผนการเรียนร่วมกับผู้เรียนเพ่ือพัฒนาความต้องการของผู้เรียน
แนะนาชว่ ยเหลือผู้เรียนในเร่ืองการเรียนอย่างสม่าเสมอ สรรหาและสนับสนุนส่ือ อุปกรณ์การ
เรียน เพื่อให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้ กระตุ้นให้ผู้เรียนสามารถสร้างความรู้ได้ด้วยตนเอง
กระตุน้ ให้ผ้เู รยี นมคี วามต้ังใจ มีกาลังใจในการศกึ ษาเลา่ เรียน สง่ เสรมิ ให้ผ้เู รียนมีส่วนร่วมในการ
ประเมินผลการเรียน เก็บรวบรวมข้อมูล เพ่ือนาไปปรับปรุงแก้ไขในการจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนในคร้ังต่อไป สถานศกึ ษาควรวางแนวปฏิบัติงานเพอ่ื สง่ เสรมิ การจดั การเรียนการสอนใน
สถานศกึ ษาของตนเองโดยการพจิ ารณาจากนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
119
2.4.5 ด้านคุณธรรม จริยธรรม
2.4.5.1 ความหมายของคณุ ธรรม จริยธรรม
ราชบัณฑติ ยสถาน อธิบายวา่ คณุ คือ ความดที ่ีประจาอยู่ในสิ่งนั้นๆ ส่วน
คุณธรรมหมายถึง สภาพคุณงามความดี (ราชบัณฑิตยสถาน, 2546 อ้างถึงใน ยนต์ ชุ่มจิต,
2553) ซึ่งสอดคลอ้ งกบั ในหนงั สือ Dictionary of Education ท่ีอธิบายว่า คุณธรรม คือ ความ
ดีงามของลักษณะนิสัย หรือพฤติกรรมท่ีได้กระทาจนเคยชิน หรือคุณธรรม คือ คุณภาพท่ี
บุคคลได้กระทาตามความคิด และมาตรฐานของสังคมซึ่งเกี่ยวข้องกับความประพฤติ และ
ศีลธรรม
สาหรบั พระธรรมโกศาจารย์หรือพุทธทาสภิกขุ (2529 อ้างถึงใน ยนต์ ชุ่มจิต
, 2553) ซง่ึ เป็นพระภิกษสุ งฆ์ที่ทงั้ สังคมไทยและสงั คมโลกใหค้ วามเคารพและเป็นพระภิกษุสงฆ์ที่
มีความรูค้ วามเช่ียวชาญในพระธรรมวินัยอย่างยิ่งได้อธิบายให้เข้าใจคาว่า “คุณธรรม” โดยแยก
อธิบายความหมายของคาวา่ “คุณ” และ “ธรรม” ไว้ว่า คาว่า “คุณ” นั้นหมายถึง ค่าท่ีมีอยู่ใน
แต่ละสงิ่ ซ่ึงเปน็ ท่ตี ้งั แห่งความยึดถือเป็นไปได้ทั้งทางดีและทางร้ายคือ ทาให้จิตใจยินดีก็เรียกว่า
“คณุ ” ทาให้จิตใจยนิ รา้ ย ก็เรยี กวา่ “คณุ ” ซงึ่ เป็นไปตามธรรมชาตขิ องมัน ผทู้ ี่มีจิตหลุดพ้นแล้ว
ด้วยประการทงั้ ปวงจะอยูเ่ หนอื ความหมายของคานี้
ส่วนความหมายของคาว่า “ธรรม” น้ัน พระธรรมโกศาจารย์หรือพุทธทาส
ภิกขุได้อธิบายความหมายไว้ 4 ประการด้วยกนั คอื
ธรรมะ คือ ธรรมชาติ เรามีหนา้ ทตี่ อ้ งเกีย่ วขอ้ ง
ธรรมะ คอื กฎของธรรมชาติ เรามหี นา้ ท่ตี อ้ งเรยี นรู้
ธรรมะ คือ หน้าที่ตามกฎของธรรมชาติ เรามหี น้าทตี่ อ้ งปฎิบัติ
ธรรมะ คือ ผลจากการปฏิบัติหน้าที่น้ัน เรามีหน้าท่ีจะต้องมีหรือใช้
มันอยา่ งถูกต้อง
นอกจากนี้ พระพรหมคุณาภรณ์ สมัยเมื่อยังดารงสมณศักด์ิเป็นพระธรรม
ปิฎก (ป.อ. ปยตุ โต) ซงึ่ เปน็ พระภกิ ษอุ ีกรูปหนึ่งที่สังคมทั่วไปให้ความเคาพยกย่องและยอมรับใน
ความรู้ความสามารถ ได้อธิบายความหมายของคาว่า “คุณธรรรม” ไว้อย่างย่อๆ ในหนังสือ
พจนานกุ รม พุทธศาสน์ฉบับประมวลศัพท์ว่าคุณธรรมคือ ธรรมท่ีเป็นคุณความดีงาม สภาพท่ี
เกื้อกูล (พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยตุ โต), 2538 อา้ งถงึ ใน ยนต์ ชุม่ จิต, 2553)
คาว่า “คุณธรรม” น้ัน มาจากคาสองคาคือ จากคาว่า “คุณ” คาหนึ่งและ
“ธรรมะ” อีกคาหน่ึงคาว่า “คุณ” โดยทั่วไปหมายถึง ส่ิงท่ีดีที่มีประโยชน์ ซึ่งรวมกับคาว่า
“ธรรมะ” เป็นคาวา่ “คุณธรรม” จึงพออนุมานได้ว่า หมายถึง คุณสมบัติทเี่ ป็นความดีงามความ
ถูกต้อง ซึ่งมีอยู่ภายในจิตใจของบุคคล ทาให้บุคคลน้ันพร้อมที่จะกระทาสิ่งต่างๆ อันจะเป็น
120
ประโยชน์ต่อตนเองโดยไม่เบียดเบียนผู้อื่น หรือทาประโยชน์ให้ผู้อ่ืนโดยไม่เบียดเบียนตนเอง
หรอื กระทาส่ิงทเ่ี ป็นประโยชน์ทั้งต่อตนเองและผู้อื่น หรอื อาจจะกล่าวโดยสรุป ได้ว่า “คุณธรรม
หมายถึงธรรมชาติของความดี ลักษณะของความดีคือสภาพของความดีท่ีมีอยู่ในตัวบุคคลใด
บุคคลหน่ึง” ส่วนคาว่า “จริยธรรม” น้ันเป็นคาท่ีมักใช้ควบคู่กับคาว่า “คุณธรรม” เสมอ จน
บางครั้งอาจคิดว่าเป็นคาคาเดียวกัน ซึ่งความจริงแล้วความหมายของคาท้ังสองน้ีแตกต่างกัน
คุณธรรมเป็นเรื่องที่เก่ียวข้องกับคุณงามความดีภายในจิตใจ ส่วนจริยธรรมเป็นผลที่เกิดจาก
คณุ ธรรม จริยธรรมจะเกิดขึน้ ไดต้ อ้ งอาศัยคณุ ธรรมเป็นปจั จยั ให้กระทา กล่าวคือ บุคคลใดเป็น
ผู้มีคุณธรรมสูง จริยธรรมก็จะดี คนใดมีคุณธรรมต่าหรือคุณธรรมด้านใดด้านหน่ึงขาดหายไป
จริยธรรมของบุคคลน้นั ก็จะเป็นไปในทางที่ไมพ่ ึงประสงค์
สาหรับความหมายของจริยธรรมนั้นมีผู้พยายามอธิบายความหมายไว้ใน
ลักษณะทีค่ ล้ายคลงึ กันมากมาย ดงั เชน่
พระธรรมโกศาจารย์หรอื พุทธทาสภิกขุ อธิบายว่า จริยธรรมเป็นความรู้อัน
ถูกตอ้ งเกย่ี วกับศีลธรรม จะเรียกว่าจริยศาสตร์ก็ได้ จริยธรรมก็ได้ ท่ีพวกฝร่ังเขาใช้กันอยู่เคย
พบว่าศีลธรรมเขาเรียกว่า ศีลธรรม คือ Morality ที่น้ีจริยธรรม หรือจริยศาสตร์ ท่ีเขาใช้คา
ว่า Philosophy of Morality เป็นสติปัญญาที่ถูกต้องทางศีลธรรม ศีลธรรมเป็นตัวศีลธรรม
จรยิ ธรรมเป็นตัวปรัชญาของศีลธรรม จรยิ ธรรมคอื ปรมตั ถธรรมของศลี ธรรมคอื เหตุที่แสดงให้รู้
ว่าทาไมเราตอ้ งมีศีลธรรม (พุทธทาสภิกขุ, 2529 อ้างถึงใน ยนต์ ชุ่มจิต, 2553) นอกจากนี้พระ
ธรรมโกศาจารย์หรือพุทธทาสภิกขุ ยังได้อธิบายเพ่ิมเติมอีกว่า จริยธรรมเป็นส่ิงที่พึงประพฤติ
จะต้องปฏิบัติ ส่วนศีลธรรมคือสิ่งที่ปฏิบัติอยู่หรือปฏิบัติแล้ว จริยธรรมหรือ Ethics อยู่ในรูป
ของปรัชญา คือต้องคิด ต้องนึก ส่วนเรื่องศีลธรรมหรือ Morality นี้ ต้องทาจริงๆ ศีลธรรม
เพง่ เลง็ ไปทกี่ ารปฏิบัติมากกวา่ หลกั วิชา ส่วน Ethics เพ่งไปท่ีหลักวชิ ามากกวา่ ทจ่ี ะเปน็ ตัวปฏบิ ัติ
เก่ยี วกบั เร่อื งจรยิ ธรรมน้ี พระพรหมคณุ าภรณ์สมัยเมือ่ ยังดารงสมณศักด์ิเป็น
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตโต) (2541 อ้างถึงใน ยนต์ ชุ่มจิต, 2553) ได้อธิบายที่มาและ
ความหมายของจริยธรรมไว้อย่างชัดเจนควรค่าแก่การศึกษาอย่างย่ิงว่าจริยธรรมในความหมาย
ของพุทธศาสนากับความหมายท่ีเราใช้ซึ่งมาจากบัญญัติของตะวันตกไม่เหมือนกัน จริยธรรมท่ี
เราใชก้ ันอย่ใู นปัจจบุ ันเป็นคาศพั ท์ใหม่ที่เพ่งิ บญั ญตั ขิ ้ึนมาสัก 30 กว่าปีนี้ โดยบัญญัติให้ตรงกับคา
วา่ “Ethics” ก่อนนัน้ เราไมม่ คี านี้เราใช้คาวา่ “ศลี ธรรม” และเวลานี้ คาว่า “ศีลธรรม” ก็ค่อยๆ
เลือนหายไป
อย่างไรก็ตามพอเอาเข้าจริง จริยธรรมก็มิได้มีความหมายพิเศษอะไร ก็คือ
เรือ่ งศีลธรรมน้ันเองเปน็ แต่วา่ ได้มีผู้พยายามใหค้ วามหมายว่าทาไมจึงเรียก “จริยธรรม” ไม่เรียก
“ศีลธรรม” เช่นบอกว่าศีลธรรมเป็นหลักความประพฤติดีงามที่อิงคาสอนของศาสนา ส่วน
121
จริยธรรมเป็นหลักความประพฤติปฏิบัติความดีงามเป็นกลางๆ ไม่อิงศาสนาไหนแม้แต่ใน
ตะวนั ตกเอง ถ้าเอาศัพท์มาเรยี งกัน เวลาพูดถงึ ศลี ธรรมก็จะตรงกับคาฝร่ังว่า “Morality” ส่วน
“Ethics” กเ็ ป็นจรยิ ธรรม กลายเป็นคาคู่ ฝร่ังมี Morality และ Moral กับ Ethics และ Ethic
ส่วนไทยเรากม็ ศี ลี ธรรมและจริยธรรม เมอื งไทยเราได้หันมานิยมใช้คาว่าจริยธรรมก็เพราะมีการ
มองหรือเพ่งเล็งว่าการส่ังสอนความประพฤติดีงามในสังคมไทยเป็นเร่ืองเกี่ยวกับศาสนา
โดยเฉพาะพทุ ธศาสนา ตอ่ มากม็ คี วามคดิ ในเชิงต้องการให้เปน็ การสอนจริยธรรมแบบกลางๆ ไม่
ตอ้ งอิงคาสอนศาสนานีก้ ็เป็นทีม่ าของแนวโนม้ ทห่ี ันมาใชค้ าว่าจรยิ ธรรมในสงั คมไทย
นอกจากการพูดถึงคาว่าจริยธรรมแล้ว ก็มีการพูดถึงจริยธรรมสากล คือ
จริยธรรมท่ีเป็นกลางๆ ซ่ึงนอกจากจะไม่อิงศาสนาไหนแล้วก็ไม่จาเพาะเจาะจงสายความคิด
อทิ ธิพลของสงั คมใดเป็นหลัก ความประพฤตกิ ลางๆ แสดงถึงความดที ่ีทกุ สงั คมยอมรับ
นอกจากน้ีพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตโต) ยงั ได้อธบิ ายอกี ว่าถ้าเราค้นหา
กันจรงิ ๆ ปรากฏวา่ จริยธรรมก็คือ ตัวจรยิ ะ คาวา่ “จรยิ ะ” แทๆ้ โดยไม่มี “ธรรมะ” มาต่อท้าย
นี่เป็นคาเก่า มีอยู่เป็นธรรมดาในพระพุทธศาสนาแต่อาจมีคาอื่นมานาหน้าเช่นธรรมจริยา
แทนท่ีจะเป็น จริยะก็เป็นจริยา หรืออีกตัวหน่ึงท่ีใช้กันมากก็คือ “พรหมจริยะ” แปลว่า จริยะ
อันประเสริฐ จริยะเป็นคากลางๆ แปลว่าการดาเนินชีวิต มาจากคาว่า จร (จะระ) แปลว่า
เทยี่ วไป ค่อยเดนิ ไป หรอื เดินทาง แลว้ ทาตามหลักไวยากรณ์ให้เปลี่ยนจากตัวกริยาเป็นคานาม
ก็เติม อิ กับ ยะ เข้าไป (จร + อิ + ณย) จร ก็เป็นจริยะก็คือเดินทาง หมายถึง การเดินทาง
ของชีวิต คือการดาเนินชีวิต เพราะฉะนั้นจริยะก็คือการดาเนินชีวิต ซ่ึงใช้ในความหมายท่ี
เทียบเคียงกับการเดินทางภายนอก จริยะนี้ยังเป็นกลางๆ ดีหรือร้ายก็ไม่รู้ เพราะฉน้ันท่านก็
เติมคาว่า “พรหม” ท่ีแปลว่า “ประเสริฐ” เข้าไป เป็นพรหมจริยะ แปลว่า การเดินชีวิตที่
ประเสริฐ ซึ่งเราแผลงมาเป็น “พรหมจรรย์” แล้วก็มาสับสนกับความหมายที่เราใช้กันอยู์ใน
ภาษาไทย ทางท่ดี ีควรเรียกตามศพั ท์บาลเี ดิมเสียเป็น “พรหมจริยะ” (พรหมแปลว่าประเสริฐ +
จรยิ ะแปลว่าการดาเนนิ ชวี ติ ) คอื การดาเนนิ ชวี ิตทป่ี ระเสริฐ
ความหมายของจริยธรรมตามแนวความคิดของพระธรรมโกศาจารย์ (พุทธ-
ทาสภกิ ขุ) และพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตโต) ดังไดก้ ล่าวข้างต้น เม่ือพิจารณาแล้วสามารถ
ลงความเห็นได้ว่ามีความสอดคล้องกับความหมายของจริยธรรมตามที่พจนานุกรมฉบับ
บัณฑิตยสถานพุทธศักราช 2542 อธิบายได้ไว้ว่า จริย คือความประพฤติกิริยาที่ควรประพฤติ
ส่วนจริยธรรม คือธรรมที่เป็นข้อประพฤติปฏิบัติศีลธรรม กฎศีลธรรม (ราชบัณฑิตยสถาน,
2546)
กล่าวโดยสรุปความหมายของจริยธรรมตามที่ราชบัณฑิตยสถานกาหนด
และตามท่ผี ทู้ รงคุณวุฒิทางด้านศาสนาและปรัชญาได้อธิบายไว้จึงพออนุมานได้ว่า “จริยธรรม”
122
คอื หลกั ความประพฤตปิ ฏิบัติทีถ่ ูกต้องดงี ามมีคณุ ค่าควรแกก่ ารนาไปดาเนินชวี ิต ถือหลักในการ
ดาเนินชวี ติ อย่างประเสรฐิ
2.4.5.2 หลกั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม สาหรบั ครู
ในทางจริยศาสตร์ (Ethics) หรือจริยปัญญา เป็นศาสตร์ที่ศึกษาเก่ียวกับ
พฤติกรรมของมนุษย์ในด้านคุณค่าท่ีเป็นมาตรฐานความประพฤติของมนุษย์ด้วยคาว่า
“ดี ถูกตอ้ ง” ซงึ่ หากมนษุ ย์ปฏิบัติตามทสี่ งั คมกาหนดว่า “ดี ถูกต้อง” แล้วก็ทาให้เกิดความสุข
ไม่สร้างทุกขแ์ ก่ผูอ้ นื่
สาหรับผู้ประกอบอาชีพครู จริยศาสตร์สาหรับครูควรเป็นท้ังคุณธรรมและ
จริยธรรมเก่ยี วกบั ความประพฤตทิ เ่ี หมาะสม เพื่อให้บรรลุอุดมการณ์ของครู นอกจากน้ีเราเห็น
ได้ว่าปัจจุบันการศึกษาเป็นปัจจัยสาคัญท่ีจะช่วยพัฒนาคุณภาพของคนให้เห็นเป็นทรัพยากร
บุคคลท่ีมีขีดความจากัดความสามารถสูง และครูเองก็นับว่าเป็นกลไกสาคัญของการพัฒนา
คุณภาพคนดังกล่าว ครูมิได้มีความหมายต่อผู้เรียนเพียงเฉพาะการเรียนการสอนเท่านั้น แต่
บุคลิก และพฤติกรรมของครูจะต้องเป็นต้นแบบที่ฝังลึกลงไปในจิตสานึกของผู้เรียนและสะสม
ตลอดไป (อารุง จนั ทวานชิ , 2540 อา้ งถึงใน สุนพี ร รฐั การววิ ัฒน์, 2549)
ผกา สัตยธรรม (2544) ได้กล่าวว่าคุณธรรมของครูเป็นส่ิงท่ีจาเป็นและ
สาคัญอย่างยิง่ สาหรบั ครแู ละผู้เก่ียวขอ้ ง ดงั น้ี
1 คุณธรรมของครูทาให้ครูเป็นผู้เป็นคนดี เพราะมีคุณสมบัติท่ีดีจาก
การปฏิบัติตามคณุ ธรรมต่างๆ เหล่านนั้ ผู้ท่มี คี ณุ ธรรมประจาใจย่อมเปน็ ที่เคารพบชู าของผูอ้ นื่
2 ผู้เปน็ ครสู ามารถนาเอาคุณธรรมต่างๆ ท่ีประพฤติปฏิบัติอยู่ไปอบรม
ส่ังสอน และเป็นตัวอย่างท่ีมคี ณุ ธรรมแก่ศิษย์
3 คุณธรรมของครูทาให้เกิดศรัทธา เล่ือมใส จากใจของผู้เก่ียวข้อง
ก่อให้เกิดความม่นั คงในอาชีพครู
4 เป็นที่แน่ใจว่าประชาชนของชาติจะเป็นคนดีได้ตามที่ครูได้ให้การ
อบรมสั่งสอน แนะแนวและแนะนาใหป้ ฏิบตั ิคณุ ธรรมตามความเหมาะสม
5 คณุ ธรรมของครมู ผี ลต่อสภาพความเป็นอยู่ของบุคคลในสังคม จาก
การเปน็ พลเมอื งดีมคี ุณธรรมก็จะเป็นผลใหส้ ังคมมีความสงบสขุ เพราะทุกคนมีกิจกรรมควบคู่ไป
กับความรู้ ทาให้ไม่เบยี ดเบียนฆ่าฟนั กัน
6 ในสังคมท่ีมีคนดีมีคุณธรรมควบคู่กับความรู้ การพัฒนา
ประเทศชาติก็จะเจริญและก้าวหน้าข้ึนกว่าเดิม ไม่มีปัญหาการกอบโกยคอยหาแต่ประโยชน์
ส่วนตวั แต่จะเหน็ แกส่ ว่ นรวมเปน็ ส่วนใหญ่และทาประโยชนใ์ หแ้ กป่ ระเทศชาติอย่างแท้จรงิ
123
7 ทาให้ครูสามารถประกอบอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะได้
นาเอาคณุ ธรรมทางด้านการสอนมาใช้ ทาให้การเรียนการสอนพัฒนาข้ึนกว่าครูที่ไม่มีคุณธรรม
ทางด้านการสอน เพราะไมร่ ้วู ่าจะสอนให้ดีให้เกิดความเข้าใจได้อย่างไร สอนอย่างใดทาให้เกิด
ปัญญาแก่ศษิ ย์ ทาให้เกดิ พัฒนาในตัวผู้เรียน
8 การสอนให้เกิดคุณธรรมในตัวผู้เรียน ให้ผู้เรียนรู้ถึงคุณของสถาบัน
ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ย่อมก่อให้เกิดความมั่นคงในสถาบันต่างๆ ของชาติ และทาให้
ชาติมัน่ คง
9 การถ่ายทอดวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีของชาติ จะ
เกิดข้ึนได้เพราะครูมีคุณธรรมในการอบรมสั่งสอนให้ศิษย์ได้รับความรู้เกี่ยวกับความสาคัญของ
วฒั นธรรมของชาติ เพือ่ ใหเ้ กดิ การสบื ทอดทางวฒั นธรรม
สรุปได้ว่า คุณธรรมของครู คือลักษณะที่ดีท่ีมีอยู่ในตัวครู เพราะครูต้องมี
ท้งั ความรคู้ วามสามารถ เปน็ ครดู ีครูเก่งสมควรแกก่ ารเคารพยกยอ่ ง รวมทั้งเป็นผู้นาที่ดีในสังคม
ด้วย ครูจึงต้องมีความรู้คู่คุณธรรมเป็นเบื้องต้นท้ังน้ีจะต้องมีความสามารถในการสอน เพ่ือนา
คณุ ธรรมตา่ งๆ ไปอบรมส่ังสอนผู้เรยี นใหเ้ ป็นคนดี เก่งฉลาด มีคุณธรรมและมีความสุข เพราะ
ในปัจจบุ นั น้เี ยาวชนจะเป็นคนเก่งอยา่ งเดยี วไม่ไดแ้ ลว้ ตอ้ งเป็นคนเกง่ และเป็นคนดดี ้วย คุณธรรม
จึงมีความสาคัญอย่างสูงที่ผู้เป็นครูต้องมีอยู่ในตัว และคุณธรรมของครูมีความสาคัญแก่ผู้เรียน
มาก ถ้าครูไมด่ กี ส็ อนผู้เรียนไม่ไดผ้ ล หรือเป็นตวั อยา่ งที่ทาให้เยาวชนของชาติขาดคุณธรรมและ
ประพฤติตนไม่ดีตามไปด้วย ถ้าครูดีมีศีลธรรมคุณธรรมย่อมก่อให้เกิดความเจริญรุ่งเรืองแก่
ผเู้ รยี นสังคมและประเทศชาติ
2.4.5.3 หลกั คุณธรรมสาหรบั ครู
คุณธรรมสาหรับครูถือได้ว่าเป็นสิ่งสาคัญยิ่งสาหรับผู้มีอาชีพครู ในทาง
พระพทุ ธศาสนายกย่องครูวา่ เป็นปูชนยี บุคคล เป็นผู้กระทาหน้าทีเ่ ชน่ เดยี วกบั พระพุทธเจ้า เป็น
ผู้นาโลก เป็นผู้นาวิญญาณหรือยกระดับวิญญาณของมนุษย์ให้สูงข้ึน เป็นกัลยาณมิตร เป็น
แบบอย่างของศิษย์ เป็นพ่อแม่คนที่สองของศิษย์ (พระธรรมปิฎก, 2540 อ้างถึงใน สุนีพร
รฐั การววิ ัฒน์, 2549) ดงั น้นั ในท่ีนี้จะกล่าวถึงหลกั ธรรมท่คี รคู วรประพฤติและปฏบิ ัติ ดังนี้คอื
1 พรหมวิหาร 4 ซ่ึงหมายถึงคุณธรรมประจาใจของผู้ประเสริฐ หรือ
ผูม้ จี ิตใจอนั ยิ่งใหญก่ ว้างขวางประดุจพระพรหม 4 อยา่ ง คอื
1.1 เมตตา (ความรัก) คือ ความปรารถนาดีมีไมตรี ต้องการ
ชว่ ยเหลือใหท้ กุ คนประสบประโยชนแ์ ละความสขุ
1.2 กรุณา (ความสงสาร) คือ อยากช่วยเหลือคนอื่นให้พ้นจาก
ความทุกข์ ใฝใุ จที่จะปลดเปลอ้ื งความทุกขย์ ากเดือดร้อนของคนและสตั วท์ ง้ั ปวง
124
1.3 มุทิตา (ความเบิกบานพลอยยินดี) คือ เม่ือเห็นผู้อื่นอยู่ดีมี
ความสุขก็มีใจแช่มช่ืนเบิกบาน เมื่อเห็นเขาประสบความสาเร็จงอกงามยิ่งขึ้นไปก็พลอยยินดี
บันเทิงใจด้วย
1.4 อุเบกขา (ความมีใจเป็นกลาง) คือ มองตามเป็นจริง โดยวาง
จติ เรยี บสมา่ เสมอ มั่งคง เที่ยงตรงดุจตราชั่งมองเห็นการที่บุคคลจะได้รับผลดีหรือชั่ว สมควร
แกเ่ หตผุ ลทีต่ นประกอบ พรอ้ มทจี่ ะวนิ ิจฉยั วางตน และปฏบิ ัติไปตามความเที่ยงธรรม
2 สังคหวัตถุ 4 คอื การปฏบิ ตั ธิ รรมการสังเคราะห์ หรือธรรมเครื่อง
ยดึ เหนยี่ วใจคนและประสานหมชู่ นให้สามคั คี ซึ่งมดี งั น้ี คือ
2.1 ทาน (ให้ปัน) คือ เอื้อเฟ้ือเผ่ือแผ่ เสียสละแบ่งปันช่วยเหลือ
สงเคราะหด์ ว้ ยปจั จัยสี่ ทุนหรือทรพั ยส์ ิ่งของ ตลอดจนใหค้ วามรูค้ วามเขา้ ใจและศลิ ปวิทยา
2.2 ปิยวาจา (พูดอย่างรักกัน) คือ กล่าวคาสุภาพ ไพเราะน่าฟัง
หรือแสดงความเห็นอกเห็นใจกัน ให้กาลังใจ รู้จักพูดให้เกิดความเข้าใจดี สมานสามัคคี เกิด
ไมตรี ทาใหร้ กั ใคร่นับถอื และช่วยเหลือเก้อื กูลกัน
2.3 อัตถจรยิ า (ทาประโยชนใ์ หแ้ กเ่ ขา) คือ ช่วยเหลือด้วยแรงกาย
และขวนขวายช่วยเหลือกิจกรรมต่างๆ บาเพ็ญสาธารณประโยชน์ รวมทั้งช่วยแก้ปัญหา และ
ชว่ ยปรับปรงุ สง่ เสริมในดา้ นจรยิ ธรรม
2.4 สมานัตตา (เอาตัวเองเข้าสมาน) คือ ทาตัวให้เข้ากับเขาได้
วางตนเสมอต้นเสมอปลาย ให้ความเสมอภาค ปฏิบัติสม่าเสมอต่อคนทั้งหลาย ไม่เอาเปรียบ
และเสมอในทุกข์สุข คือ รว่ มสขุ รว่ มทกุ ข์ ร่วมแก้ไขปัญหาเพอ่ื เกดิ ประโยชน์สุขร่วมกนั
3 อคติ 4
อคติ คือ ความลาเอียง หรือประพฤติที่คลาดเคลื่อนจากธรรม ผู้
เป็นครู - อาจารย์ควรปราศจากอคติ 4 ประการ ดังนี้
3.1 ฉันทาคติ (ลาเอียงเพราะความรัก) คือ การช่วยเหลือหรือ
เขา้ ขา้ งคนทต่ี นรัก ทาให้เสยี ความเทย่ี งธรรม
3.2 โทสาคติ (ลาเอียงเพราะความชัง) คือ การกล่ันแกล้งให้โทษ
คนท่เี ราเกลยี ดชัง
3.3 โมหาคติ (ลาเอียงเพราะความหวงหรือเขลา) คือ การ
ช่วยเหลือคนที่เราหวงรักหรอื ใหโ้ ทษคนท่เี ราเกลียดชังอย่างขาดสติ ทาให้เสยี ความยตุ ธิ รรม
3.4 ภยาคติ (ลาเอียงเพราะความกลัว) คือ อานาจวาสนา ฐานะ
ของบุคคลทเี่ หนอื กว่า โดยทาการช่วยเหลือเพราะกลวั ส่ิงดงั กลา่ ว ทาให้เสยี ความยตุ ิธรรม
125
4 อิทธิบาท 4 คือ ธรรมให้ถึงความสาเร็จ หรือเป็นหลักธรรมท่ีจะ
ทาให้เป็นผปู้ ฏบิ ตั ิไปสคู่ วามสาเร็จ
4.1 ฉันทะ (มใี จรัก) คือ ความพอใจที่จะทาส่ิงน้ัน และทาด้วยใจ
รัก เปน็ ครูต้องมีใจรักในการสอน การอบรม ซ่งึ ย่อมจะทาให้ศิษยม์ ีความเจริญทางสติปญั ญา
4.2 วริ ิยะ (ความพากเพียร) คอื ความขยันหมั่นเพียรในงานอาชีพ
ของตนกระทาสิ่งนั้นดว้ ยความพยายาม เขม้ แข็ง อดทน ไม่ทอดทง้ิ
4.3 จิตตะ (เอาจิตฝักใฝุ) คือ ต้ังจิตรับรู้ในสิ่งที่ตนกระทา ไม่
ปลอ่ ยใจใหฟ้ ูงุ ซ่านกระทาสิง่ น้ันด้วยความคดิ และคดิ เรื่องน้ันบ่อยๆ เสมอๆ
4.4 วิมังสา (ใช้ปัญญาสอบสวน) คือ หม่ันใช้ปัญญาพิจารณา
ไตรต่ รองใคร่ครวญ ตรวจตราหาเหตุผล หาสาเหตุ ข้อดีข้อเสียของการกระทานั้นๆ และรู้จัก
ทดลอง วางแผนวดั ผล คดิ ค้นวิธกี ารแก้ไขปรับปรุงการเรยี นการสอน
5 ฆราวาสธรรม 4 คือ ธรรมสาหรับการครองชีวิตของคฤหัสถ์ หรือ
สาหรบั ผคู้ รองเรือนของบคุ คลทว่ั ๆ ไป 4 ประการ คือ
5.1 สัจจะ (ความจริง) คอื การดารงมั่นในสัจจะ ซ่ือตรง ซื่อสัตย์
จริงใจ พูดจริงทาจริง จะทาอะไรเปน็ ท่เี ชื่อถอื ไวใ้ จได้
5.2 ทมะ (ฝึกตน) คือ การบังคับควบคุมตนเองได้ รู้จักปรับตัว
เองและแก้ไขปรับปรุงตนเองใหก้ า้ วหนา้ ดีงามยิ่งขึน้
5.3 ขันติ (อดทน) คือ การมีความมุ่งม่ันในการทาหน้าที่การงาน
ด้วยความขยัน หมัน่ เพยี ร เขม้ แขง็ อดทน ไมห่ ว่ันไหว มนั่ ใจในจุดหมายไมท่ อ้ ถอย
5.4 จาคะ (เสียสละ) คือ การมีน้าใจเอ้ือเฟื้อเผ่ือแผ่ ชอบ
ชว่ ยเหลือเก้ือกูลบาเพ็ญประโยชน์ สละโลกได้ ร่วมงานกับคนอื่นได้ ไม่ใจแคบเห็นแก่ตัวหรือ
เอาแต่ใจตนเอง
6 อบายมุข 6 คือ ทางแห่งความเสื่อม หรือทางแห่งความหายนะ
มี 6 ประการ ซ่ึงเป็นครูพึงหลีกเลยี่ งทุกประการ ได้แก่
6.1 เที่ยวกลางคืน
6.2 ดูการละเล่น ทาให้การงานเส่ือมเสีย เสียเวลา และจิตใจ
หมกมุ่นมวั หมอง
6.3 เล่นการพนัน
6.4 ตดิ สุราและของมึนเมา
6.5 คบคนช่ัวเปน็ มิตร ซ่งึ อาจนาความเส่ือมเสียมาถึงตนเองได้
6.6 เกยี จครา้ นในการทางาน
126
7 โลกธรรม 8 คือ ธรรมที่ยึดเหน่ียวบุคคลมิให้ตกเป็นทาสของโลก
และชวี ติ เพราะมสี ติ มีธรรมะ รูจ้ กั พจิ ารณา ร้จู กั วางใจต่อความจริงต่างๆ อันมีประจาอยู่กับ
โลกและชีวิต ซึ่งมีอยู่ 8 ประการ คอื
อฏิ ฐารมณ์ (ช่ืนชม) อนฏิ ฐารมณ์ (ข่มข่นื )
7.1 ได้ลาภ 7.2 เสื่อมลาภ
7.3 ได้ยศ 7.4 เส่ือมยศ
7.5 สรรเสรญิ 7.6 นินทา
7.7 สขุ 7.8 ทกุ ข์
8 หิริ - โอตัปปะ เป็นธรรมที่ผู้เป็นครูควรยึดถือเป็นหลักประจาใจ
ซง่ึ จะทาใหส้ ังคมมคี วามสขุ และโลกมคี วามสุข เพราะ
หริ ิ แปลวา่ ความละอายตอ่ บาป
โอตปั ปะ แปลวา่ ความเกรงกลวั ตอ่ บาป
ดังน้ันถ้ามนุษย์รู้จักมีความละอายและเกรงกลัวต่อบาปแล้ว ย่อมจะ
ทาใหบ้ คุ คลเวน้ จากการกระทาชัว่ แมไ้ ม่มีใครรู้เหน็
9 สัปปุริสธรรม แปลว่า ธรรมของสัปปุริสชน คือ คนดี หรือคนที่
แท้จริง คนท่สี มบูรณห์ รอื มนุษย์โดยสมบรู ณ์ ซง่ึ มีอยู่ 7 ประการ
9.1 ธัมมัญญุตา (รู้หลักและเหตุผล) คือ รู้หลักการและกฏเกณฑ์
ของสงิ่ ท้ังหลายที่ตนเข้าไปเก่ียวขอ้ งในการดาเนินชีวิต รู้เท่าทันกฎธรรมดา หรือหลักความเป็น
จรงิ ของธรรมชาติ เพ่อื ปฏิบตั ิตอ่ โลกและชวี ิตอย่างถกู ตอ้ ง
9.2 อัตถัญญุตา (รู้ความมุ่งหมายและรู้จักผล) คือ รู้ความหมาย
และความมงุ่ หมายของหลักการท่ีตนเองปฏิบัติ เข้าใจวัตถุประสงค์ของกิจกรรมที่ตนกระทา รู้
ความหมายของคติธรรมดาและประโยชน์ทเ่ี ป็นสาระของชวี ิต
9.3 อตั ตญั ญุตา (ร้จู ักตน) คือ รู้ตามเป็นจริง ความสามารถ รู้จัก
แกไ้ ขปรบั ปรงุ สง่ เสรมิ ตน ทาการให้สอดคล้องถกู จุดตรงทางท่จี ะให้เจรญิ งอกงามบงั เกิดผลดี
9.4 มัตตัญญุตา (รู้จักประมาณ) คือ รู้จักพอดี เช่น รู้จัก
ประมาณในการบรโิ ภค รจู้ กั ประมาณในการใช้จา่ ยทรพั ย์ และรู้จักความพอเหมาะพอดี
9.5 กาลัญญุตา (รู้จักกาล) คือ รู้จักกาลเวลาท่ีเหมาะสม เช่น
รู้จักว่าเวลาไหนควรทาอะไร และทาให้ตรงเวลา ให้เป็นเวลา ให้ทันเวลา ให้พอเวลา ให้
เหมาะแกเ่ วลา ให้ถูกเวลา เป็นต้น
9.6 ปริสัญญุตา (รู้จักชุมชน) คือ รู้จักถิ่น รู้จักที่ชุมชน และรู้จัก
กาลอนั ควรประพฤติปฏบิ ัติในถิ่นชุมชน ต่อชุมชนน้นั ๆ
127
9.7 บุคลัญญุตา (รู้จักบุคคล) คือ รู้จักเข้าใจความหมายแตกต่าง
ระหว่างบคุ คลโดยอาศยั ความสามารถ และคณุ ธรรม เปน็ ต้น
จากหลักธรรมดังกล่าวมาจะเห็นได้ว่า บุคคลท่ีจะเรียกตนเองว่า “ครู” นั้น
จาเปน็ อยา่ งย่งิ ที่จะตอ้ งมคี ุณธรรม ตอ้ งรวู้ ่าอะไรเป็นส่ิงท่ีดีหรือไม่ดี เหมาะสมหรือไม่เหมาะสม
โดยน้อมนาเอาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาเป็นเคร่ืองเหน่ียวร้ังจิตใจเพื่อให้การประพฤติ
ปฏิบัติตนของครูเป็นไปอย่างน่ายกย่อง โดยเฉพาะคุณธรรมนับได้ว่ามีความสาคัญต่อผู้เป็นครู
อย่างยิ่ง คือ
1 ครูในฐานะเป็นคนดีคนหน่ึงของสังคม จาเป็นต้องมีคุณธรรมเย่ียง
คนดีทั่วไป ดังน้นั คนดโี ดยท่วั ไปในสงั คมเขาประพฤตเิ ช่นใด ครูจะกระทาเชน่ นน้ั
2 ครูในฐานะท่ีอยใู่ นอาชพี และวงการที่ได้รับการยกย่องนับถือจากคน
ไทยและสังคมไทยมาแต่โบราณกาลจาเป็นต้องรักษาภาพดังกล่าวเอาไว้ด้วยการยึดถือปฏิบัติ
และดารงตน เช่น ครูดีของไทยต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน น้ันคือการที่ต้องดารงตนให้
เพียบพร้อมอยู่ด้วยความดมี ีคณุ ธรรมอยู่ตลอดเวลา
3 ครูในฐานะผู้สอนคน สร้างคนให้เป็นคนดี และพัฒนาสังคมให้
เจริญก้าวหน้า ครูจึงมีพันธกิจท่ีจะต้องกระทาตัวเองให้ดีให้มีความเป็นมนุษย์ให้น่ายกย่อง
เสียก่อนจึงจะไปสอนคนสมดังคากลา่ วท่วี ่า “จะสอนสง่ิ ใดแก่ใครก็ตอ้ งสรา้ งสงิ่ นั้นให้มีข้ึนมาในตัว
เราเสยี ก่อน” หาไม่แลว้ กจ็ ะเขา้ ทานองแม่ปูสอนลูกปู หรือครูเป็นแบบที่บิดเบ้ียวเสียเอง เช่นนี้
แล้วจะไปสอนศษิ ยใ์ หเ้ ปน็ คนดมี คี ุณธรรมไดอ้ ยา่ งไร
2.4.5.4 คุณลักษณะทีด่ ขี องครดู ้านคุณธรรม จรยิ ธรรม
ประจง ประสานฉ่า (2541 อ้างถงึ ใน สุนีพร รัฐการวิวัฒน์, 2549) กล่าวว่า
ภารกิจหรอื ภาระหนา้ ทีข่ องครู คือ การพัฒนาเยาวชนในทกุ ๆ ด้าน และในทางพุทธศาสนาเอง
ก็ได้ยกย่องครูเป็นปูชนียบุคคล เป็นผู้นาโลก เป็นผู้นาทางวิญญาณ หรือยกระดับปัญญาของ
มนุษยใ์ หส้ ูงขึน้ เป็นกัลยาณมิตร เป็นแบบอย่างของศิษย์ ฉะน้ันครูจึงควรมีลักษณะดังต่อไปน้ี
คอื
1 เปน็ ผูม้ คี ณุ ธรรม
2 เปน็ ผมู้ วี ญิ ญาณครู
3 เปน็ ผมู้ ีจริยธรรมครู
ประจง ประสานฉ่า (2541 อ้างถึงใน สุนีพร รัฐการวิวัฒน์, 2549) ได้ให้
คุณลักษณะของครทู ด่ี ดี า้ นคุณธรรม วา่ ประกอบดว้ ย
1 ปโิ ย หมายถงึ กระทาตวั ให้เปน็ ท่รี ักแกศ่ ษิ ย์และบคุ คลทว่ั ไป
128
2 ครุ หมายถึง การเป็นบุคคลที่มีความหนักแน่น ท่ีมีจิตใจม่ันคง
ประกอบด้วยความรู้และนา่ เคารพ
3 วัตถา หมายถึง การเป็นผู้มีความมานะในการตักเตือนส่ังสอนโดย
ไม่กลัววา่ ใครจะเกลียดหรอื โกรธ มีความเฉลียวฉลาดในการใช้คาพดู
4 วจนกขโม หมายถึง ความเป็นผู้มีความอดทนต่อถ้อยคา โดยมี
เจตนาดเี ปน็ ท่ตี งั้
5 คมภีร กถกตตา หมายถึง การรู้จักสอนจากง่ายไปหายาก หรือมี
ความลึกซ้งึ ขึน้ โดยลาดับ
6 โนฏ ฐาเนนโยชาย หมายถึง การรู้จักแนะนาในทางท่ีถูกท่ีควรไม่
แนะนาใหอ้ อกนอกลู่นอกทาง
พระมหาอดิสร ถิรสีโล (2540 อ้างถึงใน สุนีพร รัฐการวิวัฒน์, 2549)
กล่าวถึงคณุ ลกั ษณะทีด่ ขี องครูดา้ นคุณธรรมวา่ ควรประกอบดว้ ย
1 เป็นผู้มีความพอดี ไม่ขาด ไม่เกิน ความพอดี คือ ปฏิบัติอยู่
ในทางสายกลาง ไมม่ ากไม่นอ้ ย
2 เปน็ ผูก้ ระทาด้วยเจตนาดี ด้วยความบริสุทธ์ิใจและทาไปเพื่อสิ่งท่ีดี
งาม ไมใ่ ช่ทาดว้ ยการถูกบังคับ หรอื ด้วยผลประโยชนใ์ ด
3 เป็นผู้มีเหตุผล พอใจจะได้ปฏิบัติต่อผู้อื่น และเห็นประโยชน์ของ
ผู้อื่นเป็นทต่ี ้ัง
4 เป็นผู้มุ่งสันติสุข หรือความสงบ ไม่ใช่มุ่งความสมบูรณ์พูนสุขเป็น
ทต่ี งั้
5 เป็นผู้มีความพอ รู้จักเสียสละเพื่อเห็นแก่ส่วนรวมและปฏิบัติตาม
ขอ้ ผูกพันและหน้าทด่ี ว้ ยความเหมาะสมเปน็ ทต่ี ัง้
6 เป็นผมู้ นี ิสยั อันดีงามในการทาหน้าที่ รับผิดชอบต่อหน้าที่ และทา
หนา้ ทอ่ี ย่างดีทส่ี ดุ
7 เป็นผ้ทู ่สี ามารถควบคุมแรงกระตุ้นและความอยากต่างๆ เอาไว้ด้วย
เหตผุ ล
8 เป็นผู้ปฏิบัติตนตามกฏหรือมาตรฐานทางจริยธรรมได้เหมาะสมแก่
กาลเทศะอยเู่ สมอ
การปฏิบัติตนในด้านคุณธรรม จริยธรรมตามคุณธรรมพ้ืนฐาน 4 ประการ
ในพระราชดารสั ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นสิ่งท่ีครู – อาจารย์ ควรยึดถือเป็นแนว
ปฏบิ ตั สิ าหรับตนเองทั้งในสถานศึกษาเพื่อเป็นแบบอย่างแก่ศิษย์ และนอกสถานศึกษาเพ่ือเป็น
129
แบบอยา่ งกับประชาชนโดยทัว่ ไป (พระมหาอดิสร ถิรสโี ล, 2540 อา้ งถงึ ใน สุนีพร รัฐการวิวัฒน์
, 2549) ประกอบดว้ ย
1 การรักษาความสัตย์ ความจริงต่อตนเอง ท่ีจะประพฤติปฏิบัติแต่
ส่ิงทเี่ ป็นประโยชน์ เป็นธรรม พฤตกิ รรมด้านคณุ ธรรม ได้แก่
1.1 ความมสี ัจจะในการพูดและการกระทา
1.2 ความซื่อสัตยส์ ุจรติ ในการปฏบิ ตั ิงาน
1.3 ความจริงในการพูดและการปฏบิ ตั ิงาน
1.4 การประพฤติตนอยใู่ นความดีและมีประโยชน์
1.5 ปฏิบัตติ นด้วยความมคี ุณธรรม
2 การรู้จักขม่ ใจตวั เอง ฝกึ ใจตนเองใหป้ ระพฤติปฏิบัติอยู่ในความสัตย์
ความดนี นั้ พฤตกิ รรมดา้ นคุณธรรม ไดแ้ ก่
2.1 การรจู้ ักควบคมุ อารมณ์ ร้จู ักควบคมุ จิตใจ
2.2 การฝึกฝนตนเอง ความขยนั หมั่นเพยี ร
2.3 การปรบั ตัว ฝึกหดั ดัดนิสัยแกไ้ ขข้อบกพรอ่ งปรับปรุงตนเองให้
เจริญกา้ วหน้า
2.4 การรู้จักสรา้ ง ระวังรกั ษาบุคลิกภาพของตนเองอยเู่ สมอ
2.5 ไมเ่ อาแตใ่ จตนเอง ไม่คิดเอาแตไ่ ด้
3 การอดทน อดกลัน้ อดออม ที่จะไม่ประพฤติล่วงความสัตย์สุจริต
ไม่ว่าจะดว้ ยเหตุผลประการใด พฤติกรรมด้านคณุ ธรรม ไดแ้ ก่
3.1 มคี วามอดทนในการปฏิบัตงิ าน
3.2 มคี วามขยันหม่นั เพียร อุทศิ เวลาใหแ้ ก่งาน
3.3 ต้ังใจปฏิบัตหิ น้าทีข่ องตนใหเ้ กดิ ผลดดี ว้ ยความเอาใจใส่
3.4 ไม่ละทง้ิ หนา้ ทก่ี ารงาน เขม้ แข็ง ทนทาน ไม่หว่นั ไหว
3.5 มคี วามม่นั ใจในการปฏบิ ตั งิ าน มีจุดมงุ่ หมายในการปฏิบตั งิ าน
4 การรู้จักระวางความชั่ว ความทุจริต และรู้จักสละประโยชน์ส่วน
น้อยของตนเพือ่ ประโยชน์ส่วนใหญข่ องบ้านเมือง พฤตกิ รรมด้านคณุ ธรรม ได้แก่
4.1 มคี วามเสียสละตนเองในการปฏิบัติงาน เห็นความสาคัญของ
งานและส่วนรวมมากกว่าส่วนตวั
4.2 มีใจกว้าง พร้อมที่จะรับฟังความคิดเห็นของเพ่ือนร่วมงาน
และหน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้อง
130
4.3 การให้ความร่วมมือช่วยเหลือ และให้บริการแก่หน่วยงานที่
เก่ียวข้อง
4.4 เหน็ ประโยชนข์ องผอู้ ื่น และสว่ นรวมมากกวา่ ส่วนตน
4.5 พร้อมรับฟังความทุกข์ ความคิดเห็น ความต้องการ ของ
ผู้ร่วมงานและหน่วยงานที่เก่ยี วขอ้ ง
สุขุม คาภูอ่อน (2539 อ้างถึงใน สุนีพร รัฐการวิวัฒน์, 2549) ได้กล่าวถึง
คณุ ธรรม จริยธรรมของครไู วเ้ ป็นกาหนดแนวทางในการประพฤติปฏิบัตทิ ีน่ ่าสนใจ ดังน้ี
คุณธรรมสาหรบั ครู ประกอบดว้ ย
1 มคี วามรู้เพยี งพอและถกู ตอ้ งในระดบั ทส่ี อน
2 รับฟังความคิดเหน็ และเคารพในเหตผุ ลของผู้อนื่
3 พจิ ารณาคุณค่าของผ้เู รียนแต่ละคนอยา่ งมเี หตผุ ล
4 ตดั สนิ ใจลงโทษผ้เู รยี นอย่างมเี หตผุ ล
5 ยืดหยุน่ ตอ่ ปัญหาตา่ งๆ และหาทางแก้ไขดว้ ยสันติวธิ ี
6 มีความคิดริเร่ิม
7 นาวธิ ีการใหมๆ่ มาใชป้ รบั ปรุงการทางานของตน
8 มีความยตุ ิธรรมไม่ลาเอียง
9 มีอารมณ์มั่นคงและสามารถควบคุมอารมณ์ของตนเองได้
ตลอดเวลา
10 ไมค่ ดิ แสวงหาผลประโยชนท์ างวตั ถุเกนิ ความจาเปน็
11 ซอื่ สตั ย์สจุ รติ และจริงใจ
12 ภูมิใจในความสาเรจ็ ของตน
13 ใหเ้ กียรติแก่เพ่ือนร่วมงานและบุคคลทั่วไป
14 ไม่ดูหม่ินศาสนาอืน่
15 มีความเมตตาและสนใจผ้เู รียนเปน็ รายบุคคล
16 รกั ษาความลบั ของผเู้ รยี น
17 เอ้ือเฟ้ือเผอ่ื แผช่ ว่ ยเหลือผเู้ รียนตามเหน็ สมควร
18 เสียสละเพ่ือประโยชนข์ องสงั คม
19 ไม่อาฆาตพยาบาทผู้เรยี น
20 ใหค้ วามไวว้ างใจแกเ่ พอื่ นร่วมงาน
131
จริยธรรมสาหรับครู ประกอบดว้ ย
1 ประพฤติตนดีสม่าเสมอ
2 ดารงชีวติ และปฏิบตั ติ นเปน็ ตวั อยา่ งท่ีดีของชุมชน
3 ประพฤติตนเป็นแบบอย่างท่ีดีของสังคมในด้านศีลธรรม
วฒั นธรรม กิจนิสัย สขุ นสิ ยั และอปุ นสิ ยั
4 นาผู้เรียนใหพ้ น้ จากทางเสอื่ ม
5 ไมท่ าโทษผเู้ รียนจนเกินกวา่ เหตุ
6 เปน็ คนตรงต่อเวลา
7 สรา้ งความกา้ วหนา้ ในอาชพี ตามความสามารถของตน
8 เว้นการกระทาผิดเรอื่ งช้สู าว
9 รกั ษาชอื่ เสยี งและคา่ นิยมของโรงเรียนและคณะครู
10 ทางานเปน็ หมู่คณะได้ดี
11 ให้ความช่วยเหลอื แกเ่ พอ่ื นรว่ มอาชพี เดยี วกนั
12 รับผดิ ชอบต่อหน้าท่ีที่ไดร้ ับมอบหมาย
13 รับผิดชอบตอ่ การกระทาของตนเอง
14 มีอารมณ์ขนั แต่ไม่ตลกเหลวไหล
15 แต่งกายเรยี บรอ้ ยเสมอ
16 มรี ะเบยี บวินยั
17 มกี ิริยาวาจาสุภาพอ่อนโยน ยม้ิ ง่าย
18 แสดงกริ ยิ าวาจาสุภาพ ใช้ภาษาสภุ าพและถกู ตอ้ ง
19 วางตนเหมาะสมเขา้ กับชมุ ชนทุกชน้ั
20 ปฏบิ ัติตนไดเ้ หมาะสมกบั โอกาสและสถานท่ี
21 สร้างความสัมพันธ์และความสามัคคีอันดีระหว่างครูและ
ผู้ปกครอง
22 แนะนาให้ผเู้ รยี นใช้เวลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์
23 สง่ เสริมให้ผเู้ รียนมคี วามเมตตากรณุ า อดทน ซื่อสัตย์ และ
สภุ าพ ออ่ นโยน
24 ไม่ให้ผู้เรียนทาในส่ิงท่ีเกินความสามารถและเกินความ
ศรทั ธา
25 ปฏิบตั กิ ับผู้เรยี นไดเ้ หมาะสมกบั เพศและวัย
26 ทาหน้าท่กี ารงานดว้ ยความรวดเรว็ และถูกตอ้ ง
132
27 รจู้ กั วพิ ากษ์วจิ ารณเ์ พื่อปรับปรงุ การศึกษา และการงานด้วย
ถ้อยคาทส่ี ุภาพไมใ่ หผ้ อู้ ่นื เสยี กาลงั ใจ
28 สร้างช่ือเสยี งและเกียรตคิ ุณใหก้ บั ตนเอง เพ่ือนร่วมงานและ
สถาบนั
29 หลีกเล่ยี งสง่ิ ท่ีกอ่ ใหเ้ กดิ ความแตกรา้ วในหมคู่ ณะ
30 ใช้กลวิธีสอนที่ทาให้ผู้เรียนเกิดความรู้จริง ประกอบด้วย
คุณธรรมซงึ่ สามารถนาไปใช้ในชีวติ ประจาวันอยา่ งมคี วามสขุ
จากการศึกษาความหมาย และหลักคุณธรรม จริยธรรม ของครู จาก
นกั วิชาการและปราชญ์ผู้รู้ ผู้เช่ียวชาญต่างๆ จะเห็นได้ว่า คุณธรรม จริยธรรมของครู เป็นส่ิง
สาคัญท่ีครูจะต้องยดึ ถือปฏบิ ัตทิ ้งั ในฐานะที่เปน็ แบบอย่างของผเู้ รียน และในฐานะท่ีสังคมให้การ
ยกยอ่ งว่าเป็น “ปูชนียบุคคล” เชน่ เป็นผู้มีความรัก เมตตาต่อศิษย์ เป็นผู้ท่ีมีความตั้งใจอบรม
สั่งสอนผู้เรียนด้วยความบริสุทธ์ิใจ เป็นผู้ท่ีประพฤติตนเป็นแบบอย่างท่ีดีแก่ผู้เรียนทั้งทางกาย
วาจา และจติ ใจ เป็นผู้ที่ส่งเสริมพัฒนาการทางกายสติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และสังคมของ
ผู้เรียน เป็นผู้ที่ไม่แสวงหาประโยชน์อันเป็นอามิสสินจ้างจากผู้เรียน เป็นผู้ท่ีพัฒนาตนในด้าน
วิชาชีพ บุคลิกภาพ และวิสัยทัศน์ ให้ทันต่อการพัฒนาการทางวิชาการ เป็นผู้ท่ีช่วยเหลือ
เกอื้ กลู บุคคลอืน่ ในทางสรา้ งสรรค์ เป็นผู้ท่ีมีความประพฤติในการเป็นผู้นาในการอนุรักษ์พัฒนา
ภูมิปัญญา และวัฒนธรรมไทย เป็นผู้ท่ีมีความรัก และศรัทธาในวิชาชีพครู เป็นผู้ท่ีมีความ
สามคั คใี ห้เกดิ ข้ึนในหมูค่ ณะ ใหเ้ ปน็ ครูมอื อาชพี ในการพฒั นาผู้เรียนใหเ้ ป็นมนษุ ย์ทสี่ มบรู ณต์ ่อไป
2.5 เอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง
กฤษฎาพร อาษาราช. (2555 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาเร่ือง คุณลักษณะของครูมือ
อาชพี ของโรงเรยี นในสังกดั สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาชลบุรี เขต 1 กลุ่มตัวอย่าง
ที่ใช้ในการวิจัยคร้ังนี้ได้แก่ครูในสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1
จานวน 296 คน ผลการวิจัย พบว่า 1) คณุ ลักษณะของครูมืออาชีพของโรงเรียนสานักงานเขต
พ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 โดยรวมอยู่ในระดับมาก และเม่ือพิจารณารายด้าน
คณุ ลกั ษณะของครูมืออาชีพด้านการมีจิตวิญญาณของความเป็นครู อยู่ในระดับมากที่สุด ส่วน
ข้ออื่นๆ อยู่ในระดับมาก โดยเรียงลาดับจากมากไปน้อย คือ การจัดการเรียนแบบบูรณาการ
การมีจิตวิทยาในการดูแลช่วยเหลือพัฒนาผู้เรียนตามธรรมชาติและศักยภาพ การพัฒนา
นวัตกรรม ส่ือ เทคนิควิธีการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นสื่อ ICT และการมีทักษะการใช้
ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร ตามลาดับ 2) คุณลักษณะของครูมืออาชีพของโรงเรียนในสังกัด
133
สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 จาแนกตามวุฒิการศึกษา โดยรวมและ
รายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) คุณลักษณะของครูมืออาชีพของ
โรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 จาแนกตาม
ประสบการณ์ในการทางาน โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ
.05
กันดิศ ชลสินธ์ุ. (2545 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาเร่ือง การวิเคราะห์องค์ประกอบ
คณุ ลักษณะและความเป็นครู ของครกู ลุม่ กรุงธนใต้สังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ใน
การศกึ ษาครั้งน้ีเป็นครูกลุ่มกรุงธนใต้สังกัดกรุงเทพมหานครปีการศึกษา 2544 จานวน 512 คน
ผลการศึกษาค้นคว้าสรุปได้ดังน้ี 1) การวิเคราะห์องค์ประกอบคุณลักษณะความเป็นครูของครู
กลุ่มกรุงธนใต้สังกัดกรุงเทพมหานคร โดยทาการสกัดองค์ประกอบด้วยวิธีการวิเคราะห์
สว่ นประกอบสาคญั (Principal Component Analysis) และทาการวิเคราะห์หมุนแกนแบบมุม
ฉาก (Orthogonal Rotation) โดยวิธีแวริแมกซ์ (Varimax Method) ได้จานวนเจ็ด
องคป์ ระกอบซ่ึงตง้ั ชอ่ื ดังนี้ (1) ความเมตตากรุณา (2) คณุ ธรรมและจรยิ ธรรม (3) ความมั่นคงทาง
อารมณ์ (4) ความรู้ความสามารถ (5) บุคลิกภาพ (6) ความรับผิดชอบ และ (7) มนุษย์สัมพันธ์
2) คุณลักษณะความเป็นครูท้ังองค์ประกอบของเพศชายและเพศหญิงแตกต่างกันอย่างไม่มี
นยั สาคัญทางสถิติ ส่วนคุณลักษณะความเป็นครูเจ็ดด้านของกลุ่มตัวอย่างโดยเฉล่ียแต่ละด้านมี
ความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญท่ีระดับ .01 เกือบทั้งหมด ยกเว้นด้านความเมตตากรุณากับ
ด้านคุณธรรม จริยธรรม และด้านความรับผิดชอบด้านคุณธรรมและจริยธรรมกับด้านความ
รบั ผดิ ชอบและด้านบคุ ลกิ ภาพกับดา้ นมนษุ ย์สัมพันธแ์ ตกตา่ งกันอยา่ งไมม่ นี ัยสาคญั ทางสถิติ
ธญั ญาภรณ์ สมบูรณ์. (2548 : บทคัดยอ่ ) ได้ศึกษาเร่อื ง คุณลักษณะของครูที่ดีตาม
ความคดิ เห็นของผ้เู รียนโรงเรียนเอกชนระดับประถมศกึ ษา เขตพ้ืนท่ีการศึกษากรุงเทพมหานคร
เขต 3 กลุม่ ตวั อย่างทใี่ ช้ในการศึกษาในคร้ังนี้มี 2 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 คือผู้เรียนชั้นประถมปีที่ 5 - 6
ในโรงเรียนเอกชนระดบั ประถมศึกษาเขตพ้ืนที่การศึกษากรุงเทพมหานครเขต 3 จานวน 36 คน
โรงเรยี นจานวนผเู้ รยี น 354 คน กล่มุ ที่ 2 คือผปู้ กครองผเู้ รียนโรงเรยี นละ 1 คน จานวน 36 คน
ผลการศึกษาพบว่า 1) ผู้เรียนให้ความสาคัญเกี่ยวกับคุณลักษณะของครูที่ดีด้านคุณธรรม
จรยิ ธรรมมากที่สุด รองลงมาได้แก่ด้านวิชาชีพและด้านบุคลิกภาพตามลาดับ ในด้านคุณธรรม
จริยธรรมผู้เรียนให้ความสาคัญเร่ืองความรับผิดชอบต่อหน้าที่การสอนปฏิบัติหน้าท่ีด้วยความ
ซอื่ สัตย์สจุ รติ และตงั้ ใจสอนผู้เรียนด้านวชิ าชพี ผู้เรยี นให้ความสาคัญเร่ืองมีความสามารถอธิบาย
บทเรียนให้ผู้เรียนเข้าใจได้ง่าย วางตนเป็นแบบอย่างท่ีดีและผู้เรียนสามารถสอบถามข้อสงสัย
เกย่ี วกับการเรียนได้ตลอดเวลา และด้านบุคลกิ ภาพผู้เรยี นใหค้ วามสาคัญเร่อื งบุคลิกการแต่งกาย
ดสี ะอาดเรียบร้อยเหมาะสมกาลเทศะ ใช้ภาษาไทยได้อย่างถูกต้องและมีหน้าตาย้ิมแย้มแจ่มใส
134
2) ผลการเปรียบเทยี บความคดิ เห็นระหวา่ งผเู้ รียนหญงิ กับผู้เรียนชายเก่ียวกับคุณลักษณะของครู
ท่ีดีพบวา่ ดา้ นบุคลิกภาพด้านวิชาชีพครูและด้านคณุ ธรรม จริยธรรมท้ังผู้เรียนเพศหญิงและเพศ
ชายชั้นประถมปีที่ 5 กบั ผเู้ รียนช้ันประถมปีท่ี 6 โรงเรยี นขนาดใหญ่กบั ขนาดกลางและขนาดเล็ก
ส่วนใหญ่อาชีพผู้ปกครองที่แตกต่างโดยรวมให้ความสาคัญไม่แตกต่างกันท่ีระดับนัยสาคัญ .05
และผลการสัมภาษณ์คุณลักษณะของครูที่ดีตามความคิดเห็นของผู้ปกครองพบว่า คุณลักษณะ
ของครูที่ดีในความคิดเห็นของผู้ปกครองผู้เรียน ได้แก่ มีความรู้ในวิชาท่ีสอน มีเทคนิควิธีการ
ถา่ ยทอดความร้ทู ีด่ ี มศี ลี ธรรมความประพฤติดี และมีจรรยาบรรณของความเปน็ ครู
นฤมล บุลนิม. (2544 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาเร่ือง การศึกษาคุณลักษณะและ
กระบวนการถ่ายทอดของครูไทยในอดีตและปัจจุบัน ผลการวิจัยพบว่า คุณลักษณะและ
กระบวนการถ่ายทอดของครูไทยมีข้อสรุปดังน้ี ครูไทยมีคุณลักษณะสาคัญ 27 ประการและมี
กระบวนการถ่ายทอดท่ีมีลักษณะสาคัญ 15 ประการ ครูไทยท้ังในอดีตและปัจจุบันสั่งสมความ
เปน็ ครมู าตัง้ แต่วยั ผู้เรยี น ได้ถูกหลอ่ หลอมจากครอบครัวสังคมและสิ่งแวดล้อมจนมีภูมิแห่งครูที่
เป็นพ้ืนฐานไปสู่การเป็นครูดี ภูมิแห่งครูนั้นได้แก่ 1) การนาวิชาหนังสือกับวิชาชีวิตมาสอน
รวมกันได้ เป็นการสอนวชิ าการและสอนมนษุ ย์ 2) ครแู ตล่ ะคนนานสิ ัยท่ีดีของตวั มาใส่ตัวผู้เรียน
3) ผู้เรียนหนึ่งคนได้รับการหล่อหลอมบุคลิกภาพจากครูหลายคน 4) ครูดีต้องเก่งและมีปัญญา
5) ครดู ยี อมรบั การเรยี นรรู้ ่วมกนั 6) ครูคอื ผู้ให้สง่ิ ท่ดี ๆี 7) ครูดตี อ้ งสอนให้คนคิดดังๆ ได้ 8) ครู
สมัยก่อนมีแล้วค่อยสอนแต่สมัยน้ีไม่มีก็ต้องสอน 9) ครูต้องมองในสายตาผู้เรียนและปฏิบัติใน
สายตาของผู้เรียน 10) ครูดีต้องเมตตาและเข้าใจผู้อ่ืน 11) ครูดีต้องเป็นแบบอย่างท่ีดี และมี
ความสามารถทาใหค้ นอนื่ เป็นคนดไี ด้ 12) ครูสมัยกอ่ นไม่ไดเ้ รียนวชิ าครมู ากเพราะถกู หล่อหลอม
ขึ้นมาเอง 13) ครูดีไม่ใช้วิธีการถ่ายทอดแต่เพียงอย่างเดียวแต่ใช้วิธีการอย่างอ่ืนอีก 14) ครูที่
เยี่ยมยอดคือครูท่ีปฏิบัติได้แล้วปฏิบัติจนเป็นนิสัยเป็นบุคลิกภาพแล้วจึงมาถ่ายทอด 15) ครูดี
ตอ้ งมคี วามรู้ ร้หู ลักการความคิดรวบยอดและรวู้ ิธีการเขา้ ถงึ
นิคม ผดาวัลย.์ (2549 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาเรื่อง การศึกษาคุณลักษณะของครูยุค
ปฏิรูปการศึกษาในสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาสุรินทร์ กลุ่ม
ตัวอย่างได้แก่ ผู้บริหาร จานวน 265 คน ครู จานวน 370 คน ประธานนักเรียน จานวน
265 คน ผลการวิจยั พบวา่ ผ้บู ริหาร ครู และประธานนักเรียน มีความคิดเห็นต่อคุณลักษณะ
ของครูโดยรวมทั้ง 5 ด้าน อยู่ในระดับมาก ( = 4.28, S.D. = 0.54) แต่เมื่อพิจารณาเป็นราย
ด้าน พบวา่ ความคิดเหน็ คณุ ลักษณะของครู อยู่ในระดับมากทุกด้าน ด้านท่ีมีค่าเฉลี่ยจากมาก
ไปหาน้อย 3 อันดับ ได้แก่ ด้านคุณธรรม จริยธรรม ( = 4.41, S.D. = 0.59) ด้านมนุษย-
สัมพันธ์ ( = 4.34, S.D. = 0.61) และด้านบุคลิกภาพ ( = 4.32, S.D. = 0.53) เมื่อ
เปรียบเทยี บความคดิ เหน็ ของ ผบู้ ริหาร ครู และประธานนักเรียน พบว่า แตกต่างกันอย่างมี
135
นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ในด้านบุคลิกภาพ ด้านการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และ
ด้านการพัฒนาตนเอง แต่เม่ือพิจารณาเป็นรายคู่ พบว่า ความคิดเห็นของผู้บริหาร กับ ครู
แตกต่างกันอยา่ งมนี ยั สาคญั ทางสถติ ิท่ีระดับ .05 ในด้านการพัฒนาตนเอง และด้านการสอนท่ี
เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ความคิดเห็นของ ครู กับ ประธานนักเรียน แตกต่างกันอย่างมี
นยั สาคญั ทางสถติ ทิ ่ีระดับ .05 ในทกุ ด้าน และความคิดเหน็ ของผู้บรหิ าร กับ ประธานนักเรียน
แตกต่างกนั อยา่ งมนี ยั สาคญั ทางสถิติท่รี ะดับ .05 ในดา้ นการพฒั นาตนเอง
บุดดี วุฒิเสลา. (2549 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาเรื่อง ปัจจัยคุณลักษณะของครูวิชา
คณิตศาสตร์ตามทศั นะของผู้เรยี นทีม่ อี ิทธิพลต่อผลสัมฤทธ์วิ ิชาคณิตศาสตร์ของผู้เรียนช่วงช้ันท่ี 3
โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี กลุ่มตัวอย่างท่ีเป็นผู้เรียนระหว่างช่วงชั้นปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2549
โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี จานวน 350 คน ผลการวิจัยพบว่า 1) การเตรียมการสอนและการ
วดั ผลความสามารถในการสอน ความรบั ผิดชอบในการสอน ความสัมพันธ์ระหว่างครูกับผู้เรียน
และเน้ือหาวิชามีความสัมพันธ์ทางบวกกับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ี
ระดับ .05 2) ความรบั ผดิ ชอบในการสอนและเน้ือหาวิชาสามารถใช้เป็นตัวพยากรณ์ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรยี นของผู้เรียนระดับช่วงช้ันที่ 3 และสามารถสร้างสมการพยากรณ์ผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนในรปู คะแนนดบิ และรปู ของคะแนนมาตรฐานได้ดังนี้ สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ (Y)
Y = -.089 + .089 X5 + .046X3 สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน (Z) Zy = .287Zx5 +
.133Zx3
ปรีชา ทดแทน. (2553 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาเร่ือง คุณลักษณะของครูที่
พึงประสงค์/การรับรู้ของผู้เรียนช้ันประกาศนียบัตรวิชาชีพ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ผู้เรียนชั้น
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ โรงเรียนจอมเทียนบริหารธุรกิจ จานวน 121 คน ผลการวิจัยพบว่า
ระดับคุณลกั ษณะของครทู พี่ งึ ประสงค์ ตามการรบั รูข้ องผ้เู รยี น เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า
อย่ใู นระดบั มาก เรยี งลาดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยได้ดังน้ี ด้านบุคลิกลักษณะ ( = 4.11)
ด้านการเป็นพลเมืองดี ( = 4.08) ด้านคุณธรรมและความประพฤติ ( = 4.02) ด้านสุขภาพ
กายและจิต ( = 3.98) ด้านมนษุ ยสัมพันธ์ ( = 3.94) ด้านการอบรมและการปกครอง ( =
3.91) ด้านการสอน ( = 3.64) และด้านวชิ าการ ( = 3.45) ตามลาดบั
พิมใจ ศิริวัฒน์. (2552 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาเร่ือง สภาพและคุณลักษณะของครู
ภาษาอังกฤษในระดบั การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาตาก เขต 2 กลุ่ม
ตวั อยา่ ง คอื ผู้เรียนช่วงชั้นท่ี 2 และช่วงชั้นท่ี 3 จานวน 1,105 คน และครูภาษาอังกฤษใน
ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาตาก เขต 2 จานวน 135 คน
ผลการวิจัยพบว่า 1) คุณลักษณะของครูภาษาอังกฤษในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัด
สานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาตาก เขต 2 สรุปความคิดเห็นของผู้เรียนที่มีต่อคุณลักษณะของครู
136
ภาษาอังกฤษจาแนกตามรายด้าน 5 ด้าน คือ ด้านวิธีสอนอยู่ในระดับมาก ( = 3.89) ด้าน
ความรคู้ วามสามารถของครูอยู่ในระดับมาก ( = 4.09) ด้านบุคลิกภาพอยู่ในระดับมาก ( =
4.13) ด้านสื่อการเรียนการสอนอยู่ในระดับมาก ( = 3.94) ด้านการวัดผลประเมินผลอยู่ใน
ระดับมาก ( = 4.08) 2) สภาพท่ีเกิดขึ้นในปัจจุบันของครูภาษาอังกฤษในระดับการศึกษา
ขัน้ พน้ื ฐาน สังกัดสานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาตาก เขต 2 มีพื้นท่ีเป็นท่ีราบสูงทาให้มีชาวไทย
ภเู ขาหลายเผา่ ทาใหม้ ภี าษาถิน่ หลากหลาย นอกจากน้ีครูท่ีสอนภาษาอังกฤษส่วนหน่ึงไม่ได้จบ
วิชาเอกภาษาอังกฤษ และไม่ได้รับการอบรมเก่ียวกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ภาษาอังกฤษ และมีจานวนชั่วโมงสอนที่มากเกินไป ทาให้การดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนไม่มีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ผลสัมฤทธ์ิในการเรียนไม่ดีด้วย 3) การเปรียบเทียบความ
คิดเห็นด้านคุณลักษณะของครูภาษาอังกฤษระหว่างผู้เรียนช่วงชั้นที่ 2 และ 3 ในระดับ
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาตาก เขต 2 จาแนกตามรายด้าน 5
ด้าน พบว่า ด้านวิธีการสอนแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ด้านความรู้
ความสามารถของครูไมแ่ ตกตา่ งกนั ด้านบคุ ลกิ ภาพมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
ที่ระดบั .05 ดา้ นสือ่ การเรียนการสอนไมม่ คี วามแตกต่างกัน และด้านการวัดผลประเมินผลไม่มี
ความแตกต่างกัน
วไิ ลพร สยุ อย. (2545 : บทคัดยอ่ ) ได้ศึกษา เปรียบเทียบคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์
ของครูสังคมศกึ ษาตามทศั นะของผูป้ กครองผเู้ รยี น ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในสังกัดสานักงาน
การประถมศกึ ษาแหง่ ชาตแิ ละสังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ : กรณีศึกษาอาเภอ
ท่าล่ี จังหวัดเลย ในด้านความรู้ ดา้ นทักษะการสอน และด้านลักษณะนิสัย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้
ประกอบด้วยผู้ปกครองผู้เรียนท่ีเรียนอยู่ในช้ันระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จานวน 156 คน
ผลการวิจัยพบว่า คุณลักษณะด้านความรู้ของครูสังคมศึกษา ผู้ปกครองมีความคาดหวังว่า
จะตอ้ งเปน็ บุคคลท่มี ีความรู้อย่างกวา้ งขวางในเร่ืองข่าวสารเหตุการณ์ปัจจุบัน และต้องมีความรู้
ในสาขาวิชาสังคมศึกษาเป็นอย่างดี และต้องรู้คุณค่าของภูมิปัญญาท้องถ่ินเป็นอย่างดี ทางด้าน
คุณลักษณะด้านการสอน ผู้ปกครองต้องการให้ครูเป็นบุคคลท่ีมีความสามารถในการพัฒนา
ผู้เรียน โดยหาวิธีการสอนท่ีหลากหลายมาใช้กับผู้เรียน และควรคานึงถึงความแตกต่างของ
ผู้เรียน ควรเป็นผู้ที่สอนเน้ือหาในวิชาได้เข้าใจ และควรมีการเตรียมการสอนทุกครั้ง ด้าน
คณุ ลักษณะนสิ ัยของครสู งั คม ผู้ปกครองส่วนใหญ่เห็นด้วยในระดับมากท่ีสุดและมากตามลาดับ
ดังน้ี หน้าตายิ้มแย้มแจ่มใส เป็นมิตรกับทุกคน รักงานสอนสังคมศึก ษา และรักสถาบันท่ี
ตนเองสอนอยู่
สาโรช เล่ียมสกุล. (2547 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาเร่ือง คุณลักษณะของครูพลศึกษา
ตามแนวปฎิรูปการศึกษาในทรรศนะของผู้บริหารและครูพลศึกษา โรงเรียนเขตพ้ืนที่ กลุ่ม
137
ตัวอย่างเปน็ ผู้บริหารโรงเรียนและครูพลศึกษาจานวน 302 คน เป็นผู้บริหาร จานวน 236 คน
เป็นครูพลศึกษา 66 คน ผลการวิจัยพบว่า 1) คุณลักษณะทางด้านวิชาการและการสอน โดย
ภาพรวมของผู้บริหารและครูพลศึกษา โรงเรียนในเขตพ้ืนท่ีการศึกษาพิษณุโลก พบว่า อยู่ใน
ระดับมาก โดยคิดเป็น ร้อยละ 66.73 และ 58.45 ตามลาดับ ด้านที่แตกต่างกันคือ การ
วางแผนการสอน การจัดทาเอกสารการสอน สื่อการเรียนการสอน การสอนแบบบูรณาการ
ของผู้บริหาร อยู่ในระดบั มากท่ีสุดโดยคิดเป็นร้อยละ 26.30, 23.70, 22.00, 37.70 ส่วนของครู
พลศึกษา อยู่ในระดับปานกลาง โดยคิดเป็นร้อยละ 27.30, 37.90, 24.20, 33.30
2) คณุ ลักษณะทางด้านคุณธรรมและความประพฤติ โดยภาพรวมของผู้บริหารและครูพลศึกษา
โรงเรียนในเขตพื้นที่การศกึ ษาพิษณโุ ลก พบว่า อยู่ในระดบั มาก โดยคดิ เปน็ ร้อยละ 63.77 และ
52.27 3) คณุ ลักษณะทางด้านบุคลกิ ภาพ โดยภาพรวมของผู้บริหารและครพู ลศกึ ษาโรงเรียนใน
เขตพ้ืนที่การศึกษาพิษณุโลก พบว่า อยู่ในระดับมาก โดยคิดเป็นร้อยละ 64.98 และ 57.95
4) คุณลักษณะทางด้านมนษุ ยสมั พนั ธ์ โดยภาพรวมของผูบ้ ริหารและครูพลศึกษาโรงเรียนในเขต
พ้ืนท่ีการศึกษาพิษณุโลก พบว่า อยู่ในระดับมาก โดยคิดเป็นร้อยละ 64.65 และ 58.02
5) คณุ ลกั ษณะทางดา้ นบริการทางวิชาการแก่สังคม โดยภาพรวมของผู้บริหารและครูพลศึกษา
โรงเรียนเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาพษิ ณุโลก พบว่า อยู่ในระดับมาก โดยคิดเป็นร้อยละ 65.29 และ
58.03 ด้านท่แี ตกต่างกนั คอื การแนะนาแหล่งค้นคว้า การจัดสอนซ่อมเสริม เผยแพร่ข่าวสาร
ทางพลศึกษา ของผู้บริหาร อยู่ในระดับมากท่ีสุด โดยคิดเป็นร้อยละ 20.30, 22.00, 29.20
ของครพู ลศกึ ษา อย่ใู นระดับปานกลาง โดยคดิ เป็นร้อยละ 25.80, 40.90, 28.80
สุวัฒน์ งามยิ่ง. (2547 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาเรื่อง คุณลักษณะครูท่ีดีของครู -
อาจารย์วิทยาลัยสารพัดช่างสังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 1 และภาคกลาง 5 กลุ่ม
ตวั อย่างไดแ้ ก่ ครู - อาจารย์วิทยาลัยสารพัดช่างสังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 1 และ
ภาคกลาง 5 จานวน 109 คน ผลการศึกษาค้นคว้าพบว่า 1) ครู - อาจารย์วิทยาลัยสารพัดช่าง
สงั กัดสถาบันการอาชวี ศึกษาภาคกลาง 1 และภาคกลาง 5 มีคุณลักษณะครูท่ีดีอยู่ในระดับมาก
เม่ือพิจารณาเป็นรายด้านได้แก่ ด้านความรู้ ด้านการสอน ด้านคุณธรรมและจรรยาบรรณ
และดา้ นการพัฒนาพบว่ามีคุณลักษณะครูท่ีดีอยู่ในระดับมากทุกด้าน 2) ครู - อาจารย์วิทยาลัย
สารพัดช่างสังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 1 และภาคกลาง 5 ที่มีวุฒิการศึกษาและ
ประสบการณ์การสอนต่างกัน พบว่ามีคุณลักษณะครูที่ดีไม่แตกต่างกัน 3) ครู - อาจารย์
วิทยาลัยสารพัดช่างสังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 1 และภาคกลาง 5 ที่มีบุคลิกภาพ
แตกต่างกนั คือบคุ ลกิ ภาพแบบ A และบุคลิกภาพแบบ B พบว่ามีคุณลักษณะครูท่ีดีแตกต่างกัน
อยา่ งมนี ัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยพบว่า ครูที่มีบุคลิกภาพแบบ A มีคุณลักษณะครูท่ีดี
มากกวา่ ครูทีม่ ีบุคลิกภาพแบบ B 4) การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางอารมณ์กับ
138
คณุ ลักษณะครทู ่ดี ีของครู - อาจารยว์ ิทยาลัยสารพัดชา่ งสงั กัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 1
และภาคกลาง 5 พบว่ามคี วามสัมพันธท์ างบวกกับคุณลักษณะครูท่ดี อี ยา่ งมีนยั สาคญั ที่ระดับ .01
โสภิต แสนทวสี ุข. (2552 : บทคดั ยอ่ ) ได้ศึกษาเรื่อง องค์ประกอบคุณลักษณะของ
ครคู ณุ ภาพตามทัศนะของผ้ปู กครองผู้เรียนโรงเรียนพูลเจริญวิทยาคม ประชากรที่ใช้ในการวิจัย
เป็นผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนพูลเจริญวิทยาคม สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
สมุทรปราการเขต 2 ผู้วิจัยทาการสุ่มเชิงช่วงชั้น (Stratified Random Sampling) ได้กลุ่ม
ตัวอย่าง จานวน 350 คน ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับความคิดเห็นตามตัวบ่งชี้โดยภาพรวม
มีค่าเฉล่ียอยู่ในระดับมาก ( = 4.04, SD = .824) 2) องค์ประกอบท่ีเป็นองค์ประกอบ
คณุ ลักษณะของครูคุณภาพตามทัศนะของผู้ปกครองผู้เรียน โรงเรียนพูลเจริญวิทยาคม พบว่า
ประกอบด้วย 7 องค์ประกอบได้เเก่ (1) มีจรรยาบรรณและบคุ ลกิ ภาพความเป็นครู อธิบายความ
แปรปรวนคิคเป็นร้อยละ 38.354 (2) มีความสามารถในการค้นคว้า วิจัย อธิบายความ
แปรปรวนคิดเป็นร้อยละ 5.296 (3) มีความสามารถในการประเมินคุณภาพนักเรียน อธิบาย
ความแปรปรวนคิดเป็นร้อยละ 4.229 (4) มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้เเละ
ประสบการณ์เเก่นักเรียน อธิบายความแปรปรวนคิดเป็นร้อยละ 3.464 (5) มีความรู้
ความสามารถในวิชาชีพครู อธิบายความแปรปรวนคิคเป็นร้อยละ 3.302 (6) มีความมุ่งม่ัน
พฒั นาตนเองและชว่ ยเหลือสังคม อธบิ ายความแปรปรวนคิดเป็นร้อยละ 2.888 (7) มีความรู้เชิง
เนื้อหาวชิ าการและประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโลยี อธบิ ายความแปรปรวนคคิ เป็นร้อยละ 2.652
องอาจ พิจิตร์. (2546 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาเรื่อง คุณลักษณะของครูพลศึกษาท่ี
เป็นจริงและที่พึงประสงค์ตามความคิดเห็นของผู้บริหารโรงเรียนในโรงเรียนเขตพื้นที่การศึกษา
ปราจนี บุรี ปีการศึกษา 2546 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า คือ ผู้บริหารโรงเรียนใน
เขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาปราจีนบุรี ประกอบด้วยผู้บริหารโรงเรียน โรงเรียนระดับประถมศึกษา 114
คน โรงเรียนระดับมัธยมศึกษา 26 คน และโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา 19 คน รวม
ทัง้ สน้ิ 159 คน ผลการศึกษาพบว่า ผู้บริหารสถานศึกษาระดับโรงเรียนประถมศึกษา มีความ
คิดเห็นเกยี่ วกับคุณลกั ษณะทีเ่ ป็นจริงของครูพลศึกษา ด้านวิชาการ ด้านการสอน ด้านการวัด
การประเมินผล และด้านการปลูกฝังคุณธรรมและจริยธรรม อยู่ในระดับ สูง ปานกลาง สูง
และสูง ตามลาดับ คิดเป็นร้อยละ 34.64, 42.54, 39.18 และ 44.93 และมีความคิดเห็น
เก่ยี วกับคณุ ลกั ษณะท่พี งึ ประสงคข์ องครพู ลศึกษา ด้านวิชาการ ด้านการสอน ด้านการวัดการ
ประเมนิ ผล และด้านการปลกู ฝังคุณธรรมและจรยิ ธรรม อยใู่ นระดับสูงมากทุกด้าน คิดเป็นร้อย
ละ 47.45, 43.78, 48.44 และ 47.57 ตามลาดับ 2) ผู้บริหารสถานศึกษาระดับโรงเรียน
มธั ยมศึกษา มีความคิดเห็นเก่ียวกับคุณลักษณะท่ีเป็นจริงของครูพลศึกษา ด้านวิชาการ ด้าน
การสอน ดา้ นการวัดการประเมินผล และด้านการปลูกฝังคุณธรรมและจริยธรรม อยู่ในระดับ
139
สูง ปานกลาง ปานกลาง และสูง ตามลาดับ คิดเป็นร้อยละ 36.90, 46.80, 41.00 และ
49.10 และมคี วามคิดเหน็ เกยี่ วกับคุณลักษณะท่พี ึงประสงค์ของครูพลศึกษา ด้านวิชาการ ด้าน
การสอน ด้านการวัดการประเมินผล และด้านการปลูกฝังคุณธรรมและจริยธรรม อยู่ใน
ระดับสูงมากทุกด้าน คิดเป็นร้อยละ 50.00, 49.40, 53.80 และ 59.20 ตามลาดับ 3)
ผู้บริหารสถานศึกษาระดับโรงเรียนขยายโอกาส มีความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณลักษณะท่ีเป็นจริง
ของครูพลศึกษาด้านวิชาการ ด้านการสอน ด้านการวัดการประเมินผล และด้านการปลูกฝัง
คุณธรรมและจริยธรรม อยใู่ นระดบั สงู ปานกลาง ปานกลาง และสูง ตามลาดับ คิดเป็นร้อย
ละ 36.30, 46.80, 41.00 และ 49.10 และมีความคิดเห็นเก่ียวกับคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์
ของครพู ลศึกษา ดา้ นวิชาการ ดา้ นการสอน ด้านการวัดการประเมินผล และด้านการปลูกฝัง
คุณธรรมและจรยิ ธรรม อยู่ในระดับสูงมาก ยกเว้นด้านการปลูกฝังคุณธรรมและจริยธรรม อยู่
ในระดับสูง คิดเปน็ ร้อยละ 50.00, 49.40, 53.80 และ 59.20 ตามลาดบั
อัญชลี สมใจ. (2549 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาเรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง
คุณลักษณะของครูกับพฤติกรรมการสอนของครูในโรงเรียนสังกัดสานักงานเขตบางกะปิ
กรุงเทพมหานคร จากกลุ่มตัวอย่าง 240 คน ผลการวิจัยพบว่า 1) คุณลักษณะของครูและ
พฤติกรรมการสอนของครดู า้ นบุคลกิ ลกั ษณะของครูด้านความสัมพันธ์ระหว่างครูกับผู้เรียน ด้าน
ความสัมพนั ธร์ ะหว่างครูกบั เพ่ือนร่วมงาน และผบู้ ริหาร และด้านแรงจูงใจในการปฏิบัติงานอยู่
ในระดับมาก ส่วนด้านเจตคติท่มี ตี ่ออาชีพครูอยู่ในระดับมากทสี่ ดุ 2) คุณลกั ษณะของครูทุกด้าน
คือ ด้านบุคลิกลักษณะของครู ด้านเจตคติท่ีมีต่ออาชีพครู ด้านความสัมพันธ์ระหว่างครูกับ
ผู้เรียน ด้านความสัมพันธ์ระหว่างครูกับเพื่อนร่วมงานและผู้บริหาร และด้านแรงจูงใจในการ
ปฏบิ ัติงานมคี วามสัมพันธท์ างบวกกบั พฤติกรรมการสอนของครูอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ
.05 3) คณุ ลักษณะของครูที่สามารถพยากรณ์พฤติกรรมการสอนของครู เมื่อใช้พฤติกรรมการ
สอนของครเู ปน็ ตัวแปรเกณฑ์ 5 ตวั มีนยั สาคญั ทางสถิติท่รี ะดับ .05 ในการพยากรณ์พฤติกรรม
การสอนของครเู รียงลาดบั ดังน้ี ด้านแรงจูงใจในการปฏิบตั งิ าน (x5) ด้านความสัมพนั ธ์ระหว่างครู
กบั ผเู้ รียน (x3) ด้านเจตคตทิ ่ีมตี อ่ อาชพี ครู (x2) ด้านความสมั พนั ธร์ ะหว่างครูกบั เพ่ือนร่วมงานและ
ผูบ้ ริหาร (x1) และด้านบุคลกิ ลกั ษณะของครู (x4)
อุไรวรรณ จันทรสวัสดิ์. (2552 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาเรื่อง คุณลักษณะของครูท่ีดี
ตามความคิดเห็นของผู้เรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาพาณิชยกรรมโรงเรียนมิตรพล
พณิชยการเขตคลองสานกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้เป็นผู้เรียนระดับประกาศนียบัตร
วิชาชีพ (ปวช.) ปีการศึกษา 2551 จานวน 324 คน ผลการวิจัยพบว่าความคิดเห็นของผู้เรียน
เกย่ี วกับคณุ ลักษณะของครูที่ดีโดยคุณลักษณะของครูท่ีตรงกับความคิดเห็นของผู้เรียนมากท่ีสุด
คือ ดา้ นการใหบ้ ริการด้วยความจริงใจและเสมอภาคโดยไม่เรยี กรบั หรอื ยอมรับผลประโยชน์จาก
140
การใช้ตาแหน่งหน้าที่โดยมิชอบ โดยเฉพาะเร่ืองที่ครูทาหน้าท่ีการสอนอย่างเต็มความสามารถ
รองลงมาคือดา้ นการประพฤตติ นเป็นแบบอย่างทีด่ ที งั้ ทางกาย วาจา ใจ ด้านการไม่กระทาตน
เปน็ ปฏปิ ักษต์ ่อความเจรญิ ทางกาย สติปญั ญา จิตใจอารมณ์ และสงั คมของศิษย์ ด้านความรัก
ความเมตตาเอาใจใส่ชว่ ยเหลือให้กาลงั ใจ และดา้ นการสง่ เสริมให้เกิดการเรียนรู้ทักษะและนิสัยท่ี
ถูกต้องดีงาม เปรียบเทียบความคดิ เห็นของผ้เู รียนเก่ียวกับคุณลักษณะของครูที่ดีพบว่า จาแนก
ตามเพศและระดับชั้นความคิดเห็นของผู้เรียนเก่ียวกับคุณลักษณะของครูท่ีดีแตกต่างกันในทุก
ด้านอยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถติ ิท่ีระดบั .05 ในส่วนของความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะเพ่ิมเติมของ
ผู้เรียนเกี่ยวกับคุณลักษณะของครูท่ีดีพบว่า ผู้เรียนเสนอแนะให้ครูให้ความรักและเอาใจใส่
ผเู้ รียนอย่างท่วั ถงึ และเทา่ เทยี มกันมคี วามสุภาพออ่ นโยนเป็นแบบอย่างที่ดีกับศิษย์และให้ความ
เปน็ กนั เองกบั ลูกศิษยโ์ ดยเสมอภาคตามลาดบั
บทท่ี 3
วิธดี าเนนิ การวจิ ัย
ในการวจิ ยั ครงั้ น้ี ผวู้ จิ ัยได้ดาเนนิ การตามข้ันตอนต่างๆ ดังน้ี
3.1 ประชากรและกล่มุ ตัวอยา่ ง
3.2 เคร่ืองมือทใี่ ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมลู
3.3 การสรา้ งเครื่องมอื
3.4 การเก็บรวบรวมขอ้ มลู
3.5 การวเิ คราะหข์ อ้ มลู
3.6 สถติ ิท่ใี ช้ในการวเิ คราะหข์ อ้ มูล
3.1 ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง
3.1.1 ประชากร
ประชากรท่ีใช้ในการวิจัยครั้งน้ี ได้แก่ ผู้เรียนในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย
จงั หวัดเลย ในปกี ารศกึ ษา 2556 โดยแยกเป็น นกั เรยี นระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ จานวน
521 คน และนกั ศกึ ษาระดับประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ช้นั สงู จานวน 144 คน รวมเป็น 665 คน
3.1.2 กลมุ่ ตัวอยา่ ง
กล่มุ ตัวอยา่ งทใี่ ช้ในการวจิ ัยคร้งั น้ี ผวู้ ิจยั ได้สุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ ได้แก่
ผูเ้ รยี นในวทิ ยาลยั การอาชพี ดา่ นซ้าย จงั หวัดเลย ในปีการศึกษา 2556 โดยแยกเป็น นักเรียน
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ จานวน 190 คน และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ชน้ั สงู จานวน 52 คน รวมเป็น 242 คน
3.2 เครอ่ื งมือท่ีใชใ้ นการรวบรวมขอ้ มูล
เครอื่ งมือทใี่ ช้ในการรวบรวมข้อมลู ในครั้งน้ี เป็น แบบสอบถาม (Questionnaires)
1 ชุด มี 2 ตอน มีลกั ษณะดังน้ี
ตอนท่ี 1 สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม มีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบ
รายการ (Checklist) ไดแ้ ก่ ระดับการศึกษา และสาขาวิชา เป็นต้น