ก
บทสรปุ สำหรับผบู รหิ าร
ผจู ดั ทำ : ผอู ำนวยการสถานศกึ ษา
ชอ่ื โรงเรยี น โรงเรยี นเทศบาล ๕ (วดั หวั ปอ มนอก) สังกัดสำนักการศกึ ษา เทศบาลนครสงขลา
ตัง้ อยทู ี่ถนนริมทางรถไฟ ตำบลบอ ยาง อำเภอเมอื งสงขลา จังหวดั สงขลา รหสั ไปรษณีย ๙๐๐๐๐
ช่ือผูบริหาร นายมนติ เพชรสวุ รรณ ผูอำนวยการสถานศึกษา
ขอมูลบุคลากรและจำนวนนักเรียน บุคลากรรวมทั้งสิ้น 102 คน จำแนกเปนผูบริหารสถานศึกษา จำนวน 3 คน
ครูผูสอน จำนวน 85 คน บุคลากรสนับสนุน จำนวน 14 คน และนักเรียนจำนวน 1,491 คน จำแนกเปนนักเรียน
ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาตอนตนจำนวน 1,054 คน และนักเรียนระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาตอนปลายจำนวน 437 คน
สภาพบรบิ ททว่ั ไป โรงเรียนอยูใ นแหลง ชมุ ชนซง่ึ บรเิ วณใกลเคยี งโดยรอบโรงเรยี น ไดแก วดั หัวปอ มนอก วดั หัวปอ มใน
ตลาดศาลาลุงแสง ชุมชนบานตากแดด ชุมชนหัวปอมนอก โรงเรียนบริหารธุรกิจวิทยา คิวรถบัสประจำทาง/รถตู
ประจำทางสงขลา-ระโนด-นครศรีธรรมราช คริสตจักร ชุมชนวังเขียววังขาว ชุมชนริมทางรถไฟนอก ชุมชนวชิรา
ประเพณี/ศิลปวัฒนธรรมทองถิ่นทเี่ ปนท่รี ูจักโดยทว่ั ไป คือ ประเพณที ำบุญวันสารทเดอื นสบิ
อตั ลักษณของสถานศึกษา “นักเรียนมรี ะเบยี บวินัย และแตง กายเหมาะสม”
เอกลักษณข องสถานศกึ ษา “เปน โรงเรยี นทีส่ งเสรมิ และพัฒนาความสามารถของผเู รียนเต็มตามศกั ยภาพ”
ผลการประเมนิ คุณภาพมาตรฐานเพอ่ื การประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ระดับการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพผเู รยี นมผี ลการประเมินอยใู นระดับดีเลศิ
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการมผี ลการประเมินอยใู นระดบั ดีเลศิ
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี นนผเู รยี นเปน สำคญั มีผลการประเมินอยใู นระดับดีเลศิ
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผูเ รียน
1.1 ดานผลสัมฤทธท์ิ างวชิ าการของผูเรยี น
วธิ ดี ำเนินการ
โรงเรียนนำกระบวนการพัฒนาผูเรียน โดยวิเคราะหผูเรียน สงเสริมกระบวนการชมุ ชนแหงการเรยี นรู
พัฒนาการจัดการเรียนรูที่สงเสริมผูเรียนใหมีความสามารถในการอาน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ
กำหนดเกณฑก ารพัฒนาตามศักยภาพและธรรมชาติการเรียนรูของแตละระดับชั้น เสรมิ ทักษะดานภาษาท้ังภาษาไทย
ภาษาองั กฤษและภาษาจีน สงเสริมทักษะการคิดคำนวณ การคิดวิเคราะห ทักษะการแกปญหา ฝก ทักษะการคิด
เลขเร็ว พัฒนาทักษะการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ปรับปรุงหลักสูตรที่สงเสริมการใชเทคโนโลยี
สารสนเทศ จัดทำแผนการพัฒนาที่เนนทักษะกระบวนการคิด กระบวนการพัฒนาใหมีทักษะในการแสวงหาความรู
ดวยตนเองรกั การอาน รักการเรียนและพัฒนาตนเองอยางตอเน่ือง สงเสริมครูใหมีความสามารถในการนำเทคนิค
การสอนที่หลากหลาย มุงพัฒนาศักยภาพผูเรียน ใชสื่อเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู มีแหลงเรียนรูและแหลง
สบื คน ขอมูล ครรู วมใชเทคนิคการพัฒนา สรางเครอื ขา ยการเรยี นรู
ผลการดำเนินการ
ในดา นผลสมั ฤทธิ์ทางวชิ าการของผูเ รยี นมีผลการประเมนิ ดังน้ี
๑) ผูเรียนเฉลี่ยรอยละ 58.55 มีความสามารถในการอาน การเขียนภาษาไทยระดับคอนขางดีขึ้นไป
ผูเรยี นเฉลี่ยรอยละ 52.42 มีความสามารถในการอาน การเขียนภาษาอังกฤษระดับคอนขางดีขึ้นไป และผูเรียน
เฉล่ยี รอ ยละ 39.71 มีความสามารถในการคิดคำนวณในรายวชิ าคณิตศาสตรร ะดับคอ นขางดีขน้ึ ไป
๒) ผูเรียนเฉล่ยี รอยละ 99.34 มีความสามารถในการคดิ วิเคราะห คิดอยางมีวิจารณญาณอยูใ นระดบั ดี
ขน้ึ ไป
ข
๓) ผูเรียนเฉลี่ยรอยละ 89.74 มีความสามารถในการสรางนวัตกรรม มกี ารนำไปใชและเผยแพรระดับ
หองเรียนหรอื สถานศึกษา และผูเรียนเฉลีย่ รอ ยละ 47.69 มีความสามารถในการสรางโครงงาน ชิน้ งาน ผลผลติ มี
การนำไปใชและเผยแพร
๔) ผูเรียนมีความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเองในดาน
การเรยี นรเู ฉล่ยี รอ ยละ 100 ดา นการส่อื สารเฉลีย่ รอยละ 100 ดา นการทำงานเฉลย่ี รอยละ 100 และดานคุณธรรม
เฉลี่ยรอ ยละ 100
๕) ผูเรียนเฉลี่ยรอยละ 84.20 ไดระดับผลการเรียนเฉลี่ย (GPA) ๒.00 ขึ้นไป และผูเรียนระดับช้ัน
มัธยมศึกษาปที่ ๖ มีคาเฉลี่ยรอยละ 43.67 มีผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET ที่มี T-Score ตั้งแต ๓3
ขึน้ ไป
๖) ผูเรียนเฉลี่ยรอยละ 100 มีความพรอมที่จะศึกษาตอในระดับชั้นที่สูงขึ้น และผูเรียนระดับชั้น
มธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๓ และระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี ๖ มคี วามพรอมในการทำงานหรืองานอาชีพ เฉล่ยี รอ ยละ 100
1.2 ดานคณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงคข องผเู รียน
ในดา นคณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงคของผเู รยี นของผเู รียนมีผลการประเมนิ ดงั น้ี
วิธดี ำเนนิ การ
โรงเรียนดำเนนิ การกำหนดคุณลักษณะท่ีพึงประสงคท ี่ดี จัดกิจกรรมสง เสริมภมู ิคมุ กนั ในการดำเนินชีวิต
คา นิยมคนไทย พฒั นาคุณธรรม จริยธรรมทีเ่ หมาะสมกับผูเรียน โดยสอดคลอ งเหมาะสมกับบรบิ ทของประเทศ จัดเสริม
ประสบการณทม่ี ุงสูการพัฒนาทกั ษะชีวิต เนนการพัฒนาวนิ ยั ความรบั ผดิ ชอบ การมีจิตสาธารณะ แนะนำ ใหแนวทาง
การดูแลตนเอง การดูแลครอบครัว เสริมกิจกรรมพัฒนาทักษะดานอาชีพ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู แนะแนวทางเสริม
อาชพี เสริมความรกู ารดแู ลสุขภาพกาย สุขภาพจิต เพื่อเตรยี มรับการเปลี่ยนแปลง
ผลการดำเนนิ การ
ในดา นผลสัมฤทธิท์ างวชิ าการของผูเรยี นมผี ลการประเมนิ ดังนี้
๑) ผเู รยี นรอยละ 96.60 มคี ุณลักษณะและคานิยมทดี่ ีสามารถเปนแบบอยา งไดอยูในระดับดขี ึ้นไป
๒) ผูเรียนมีผลการประเมินความภาคภูมใิ จในทองถ่นิ และความเปน ไทย เฉลย่ี รอยละ 98.98
๓) ผเู รยี นรอยละ 94.48 สามารถอยรู วมกนั ในสถานศึกษาและชุมชนบนความแตกตางและหลากหลาย
4) ผูเรียนเฉลี่ยรอยละ 60.33 มีสุขภาวะทางรางกายตามเกณฑมาตรฐาน และผูเรียนเฉลี่ยรอยละ
๑๐๐ มีสขุ ภาวะทางจิตสงั คมตามเกณฑท ีส่ ถานศกึ ษากำหนด
จดุ เดน
สถานศกึ ษามีการวัดและประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรยี นในรูปแบบของหนวยการเรยี นรู การสอบ
กลางภาคและสอบปลายภาค ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี 1 – 6 ภาคเรยี นละ 1 ครั้ง มกี ารประเมนิ สมรรถนะสำคัญของ
ผูเรียน ดานการอาน การเขียนส่ือสาร และดานการคิดวิเคราะห ระดับมัธยมศึกษาปที่ 1 – 6 ภาคเรยี นละ 1 ครั้ง
ผูเรียนไดรับการเรียนรูจากครูผูสอนที่มีการดำเนินกิจกรรมพัฒนาวิชาชีพแบบชุมชนแหงการเรยี นรูทางวิชาชีพครู
(PLC) ในรายวิชาตา ง ๆ ครบทุกกลุม สาระการเรยี นรู มกี ารเรียนรูแบบโครงงาน/งานกลุม และเขารวมการประกวด
โครงงานวิทยาศาสตร การสงเสริมใหมีการใชเทคโนโลยี สารสนเทศ เพอ่ื การศกึ ษาอยางท่ัวถึงในระดับชั้นมัธยมศึกษา
ปท ี่ 1 – 6 สงผลการสรางนวัตกรรมในรูปแบบชิ้นงานตาง ๆ และ Clip VDO สงเขาประกวดกับหนวยงานในระดับ
จังหวดั และระดบั ประเทศ ผูเ รยี นระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปท่ี 6 ไดเ ขารวมการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขัน้ พื้นฐาน
(O – NET) ครบทุกคน และไดเขารวมโครงการพัฒนาศักยภาพตนเองนอกเหนือจากการเขาเรียนในชั้นเรียนอยาง
ทวั่ ถึง
ค
จากการจัดการศึกษาตามกระบวนการการศึกษา รวมถึงโครงการ กิจกรรมตาง ๆ ของสถานศึกษาทำให
เกิดผลในดานคุณภาพตอผูเรียน ซึ่งเปนไปตามหลักสูตรสถานศึกษาตามเปาหมายในทุก ๆ ดาน อาทิ ผูเรียนมี
คุณลักษณะและคานิยมที่ดี ผูเรียนเกิดความภาคภูมิใจในตนเอง ภูมิใจในทองถิ่น ภูมิใจในความเปนไทย โดยอยูใน
พื้นฐานของความแตกตางของตัวบุคคล ดวยสุขภาพทางรางกายและจิตสังคมที่ดี เหมาะสมกับสภาวะเหตุการณ
สถานการณใ นปจจุบนั
จุดทค่ี วรพฒั นา
ผลสัมฤทธิ์ดานการเรียนในรายวิชาภาษาอังกฤษและวิชาคณิตศาสตรของผูเรียน ควรมีการพัฒนาอยาง
ตอเนื่อง ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O – NET) ของผูเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 6 ควรมี
การพฒั นาอยางตอเน่อื ง สง เสริมโครงการพฒั นาศักยภาพของผเู รียนใหมคี วามหลากหลายเพม่ิ ข้ึน
ท้งั นสี้ บื เนอื่ งจากสถานการณของโรคระบาดโควดิ – 19 ทำใหการจดั การศกึ ษาและกระบวนการศึกษารวมถึง
โครงการ กจิ กรรม บางอยา งไมไดดำเนินการ ทำใหผ เู รยี นขาดโอกาสและไมไ ดสานตอในบางสิ่งบางอยาง สถานศึกษา
รวมถึงคณะผูบริหาร คุณครูผูรับผิดชอบในการจัดกระบวนการศึกษา โครงการ กิจกรรมตาง ๆ ตองหาแนวทางที่
เหมาะสมเพื่อจัดกระบวนการศกึ ษา โครงการ กจิ กรรม เพอ่ื สงเสริมใหผูเ รียนอยา งเหมาะสม
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
วิธีดำเนินการ
โรงเรียนไดดำเนินการวิเคราะหสภาพปญหา จากผลการจดั การศึกษาในปที่ผา นมา ศึกษาขอมูลสารสนเทศ
กำกับติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาตามนโยบายการปฏิรูปการศึกษา จัดประชุมระดมความคิดเห็นจาก
บคุ ลากรทุกฝายในสถานศึกษา รวมกันกำหนดเปาหมาย วิสัยทศั น พันธกิจ กลยุทธในการจัดการศึกษาของโรงเรียน
เทศบาล 5 (วัดหัวปอ มนอก) เพื่อพัฒนาคณุ ภาพผูเรียนภายใตส ถานการณโรคระบาดโควิด – 19 มีการปรับเปล่ียน
รูปแบบการประชมุ เพื่อปรับแผนปฏิบัติการประจำปการศึกษา 2563 ใหสอดคลองกับสภาพปญหา ความตอ งการ
พฒั นา และนโยบายการปฏริ ปู การศกึ ษา โดยคำนงึ ถงึ ความปลอดภยั สงู สุดของนักเรยี นและบุคลากร ตามนโยบายของ
ภาครัฐ พรอมทั้งจัดหาทรัพยากร จัดสรรงบประมาณ มอบหมายงานใหผูรับผิดชอบ คำสั่งปฏิบัติงานที่เหมาะสม
ชัดเจน ประกอบปฏิทินปฏิบัติงาน เพื่อดำเนินการพัฒนาตามแผนงานใหบรรลุเปาหมายที่กำหนดใช มีการนิเทศ
กำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานและสรุปผลการดำเนินงานโดยคณะกรรมการกำกับ ติดตาม และ
ประเมนิ ผลการนำแผนพัฒนาการศึกษาไปสูก ารปฏิบัตปิ การศึกษาละ 2 ครัง้
ผลการดำเนินการ
ในดา นกระบวนการบรหิ ารและการจดั การมีผลการดำเนินงานจากการประเมนิ ดงั นี้
๑. สถานศึกษากำหนดเปาหมาย วิสัยทัศน และพันธกิจ สอดคลองกับสภาพปญหาความตองการของ
สถานศกึ ษา ความตอ งการของชมุ ชนทอ งถ่นิ และสอดคลองกบั แนวทางการปฏริ ปู ตามแผนการศกึ ษาชาติ
2. สถานศึกษามีแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปการศึกษา 2563 สอดคลองกับ
การพัฒนาผูเรียนทุกกลุมเปาหมาย มีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาใหมีความรู ความเชี่ยวชาญตาม
มาตรฐานตำแหนง ภายใตข อจำกัดของสถานการณโรคระบาดโควิด – 19 ขอ มูลสารสนเทศมีความถูกตอ งครบถวน
ทันสมัย ไปประยุกตใชได ดำเนินการอยางเปน ระบบ มีกิจกรรมจัดสภาพแวดลอ มทางกายภาพและสังคมทีก่ ระตุนให
ผเู รยี นใฝเ รยี นรูตอบสนองวสิ ยั ทศั น “เปนสงั คมแหงการเรียนรทู ่ีมีคุณภาพคคู ณุ ธรรม”
3. สถานศึกษามีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปการศึกษา 2563
ใหสอดคลองกับสภาพปญหา ความตองการพฒั นาของชุมชนทองถิ่น วัตถุประสงคของแผนการศึกษาชาติ นโยบาย
ง
ของรัฐบาล และนโยบายของตนสังกัด โดยผูมีสวนไดสวนเสีย มีสวนรวมในการพัฒนาและรวมรับผิดชอบ ยึดหลัก
ธรรมาภบิ าลและแนวคิดตามกลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
4. สถานศึกษามีการนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษาตาม
แผนพฒั นาการศกึ ษาทเ่ี หมาะสมเปนระบบและตอเนื่อง เปดโอกาสใหผ ูเก่ียวขอ งมีสวนรวมในการจดั การศกึ ษา
5. สถานศึกษามีการระดมทรัพยากรเพื่อการพิจารณาคุณภาพการศึกษาจากเครือขายสงผลให
สถานศึกษามสี ่ือและแหลงเรียนรทู ี่มคี ณุ ภาพ
จุดเดน
สถานศึกษามีระบบบริหารจัดการอยางเปนระบบ ภายใตสถานการณโรคระบาดโควิด – 19 โดย
ดำเนินงานจากการประชุมที่หลากหลายเพ่ือการบรหิ ารจดั การ ไดแ ก การประชุมกลุมสาระ การประชมุ ภายในสายชั้น
การประชุมหัวหนางาน โดยทุกฝายมีสวนรวมและใหความรวมมือเปนอยางดีในการกำหนดวิสัยทัศน พันธกิจ
เปา หมายท่ีชัดเจนมีการปรับแผนพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศึกษา แผนปฏิบัติการประจำป ที่สอดคลองกับผลการจัด
การศึกษา สอดคลองกับความตองการของชุมชน ทองถิ่น และนโยบายของตนสังกัด ที่มุงใหผูเรียนมีคุณภาพตาม
มาตรฐานการเรยี นรู ตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา ครผู สู อนสามารถจดั การเรยี นรูไ ดอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ มกี ารดำเนินการ
นิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนนิ งาน จัดทำรายงานผลการจัดการศกึ ษา ใชกระบวนการวิจัยในการ
รวบรวมขอ มูล เพ่ือใชเ ปน ฐานในการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา
จุดทค่ี วรพฒั นา
สนับสนุนสงเสรมิ ใหครู บคุ ลากร ไดรับการอบรมพฒั นาใหมีความเชย่ี วชาญและความกา วหนา ทางวิชาชพี
โดยเปนในลักษณะการอบรมออนไลนต ามสถานการณปจ จบุ นั และสรา งเครือขา ยความรวมมือของผูมสี ว นเกี่ยวของใน
การจดั การศึกษาของโรงเรียนใหม คี วามเขม แข็ง เชน สถาบันทางการศกึ ษาที่จดั โครงการอบรมพฒั นาครู บุคลากร
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเี่ นน ผูเรยี นเปน สำคัญ
วิธดี ำเนินการ
สถานศึกษาสงเสริมและพัฒนาใหครูจัดกระบวนการเรียนรูท่ีเนนผูเรียนเปนสำคัญ โดยมีการดำเนินงานตาม
โครงการและกิจกรรมท่หี ลากหลาย เชน งานวิชาการ มีการประชุมเชิงปฏบิ ัติการ เพอ่ื ประเมนิ และปรับปรุงหลักสูตร
สถานศกึ ษา เพือ่ ใหมีความเหมาะสม และสอดคลองกบั มาตรฐานการเรยี นรู และศกั ยภาพของผูเรียน
สง เสรมิ ใหครจู ดั การเรยี นรเู นนการปฏบิ ตั ิ Active learning ใหผเู รียนไดเ กดิ กระบวนการคดิ ไดล งมอื ปฏิบัติ
จริง เพ่ือนำไปสูการเรยี นรูตลอดชีวิตอยางมปี ระสิทธภิ าพ ตามวัตถุประสงคข องหลักสูตรสถานศกึ ษา
ครูศึกษาขอมูลของผูเรียนเปนรายบุคคล ดำเนินการตรวจสอบ และประเมินผูเรียนอยางเปนระบบ เพื่อนำ
ขอมูลที่ไดมาสงเสริมและพัฒนาผูเรียนตามศักยภาพตอไป ครูมีการแลกเปลี่ยนเรียนรูนำผลที่ไดมาปรับปรุง
กระบวนการจัดการเรียนรู มีการวางแผนการจัดการเรียนรูที่สามารถนำไปใชจัดกิจกรรมการเรียนรูไดจริง ครูใชสื่อ
เทคโนโลยี และแหลงการเรียนรู เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพในกระบวนการจัดการเรียนรู มีการบริหารชั้นเรียนเชิงบวก
ทำใหเด็กรักและสนใจที่จะเรียนรู และเรียนรูรวมกันอยางมีความสุข ครูรวมแลกเปลี่ยนเรียนรู และนำขอมูลดาน
ตา ง ๆ มารวมปรับปรุง แกไ ข และพัฒนาเกยี่ วกบั การบรหิ ารการจดั การเรียนรู
สนับสนุนใหครูไดจัดกิจกรรมการเรยี นรูที่เปดโอกาสใหผูเรียนทุกคนมีสวนรวม ไดลงมือปฏิบัติจริง ศึกษา
คนควา หาความรูไดดวยตนเอง จดั กระบวนการเรียนรทู เ่ี นนทกั ษะการคิด เชน รปู แบบการจัดการเรียนรดู วยโครงงาน
การเรยี นรดู ว ยกระบวนการกลุม คิดสรางสรรคผ ลงานดา นศลิ ปะ ดนตรี นาฎศลิ ป
จ
ครูมกี ารมอบหมายหนาที่ใหผูเรียนจัดปายนิเทศ จัดบรรยากาศท่ีเอื้อตอ การเรียนรู ท้ังในหองเรียน และนอก
หองเรียน ครมู กี ารผลิต และใชน วตั กรรม เทคโนโลยีตา ง ๆ ทที่ นั สมัย รวมทัง้ ปราชญ และภูมปิ ญ ญาทองถนิ่ เพื่อสราง
การเรียนรู ใหเ กดิ ขน้ึ กับผเู รียน โดยมกี ารประเมนิ คุณภาพ และประสทิ ธภิ าพของส่ือเพ่ือใหม ีความเหมาะสมกับผูเรียน
รวมทง้ั สงเสริมใหครทู ุกคนไดด ำเนนิ การจัดทำวิจัยในช้นั เรยี น อยางนอยปก ารศกึ ษาละ 1 เร่ือง
ผลการดำเนินการ
ในดานกระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี นนผเู รยี นเปนสำคัญมีผลการประเมิน ดงั นี้
1. ครูผสู อนจัดกิจกรรมการเรยี นรูต ามมาตรฐานการเรียนรู ตวั ชว้ี ดั ของหลกั สูตรสถานศึกษาทเี่ นนใหผูเรียน
ได เรียนรูโดยผานกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง มีแผนการจดั การเรียนรูที่สามารถนำไปจัดกิจกรรมไดจริง ผูเ รยี น
ไดรับ การฝกทักษะ แสดงออกแสดงความคิดเห็น สรุปองคความรู นำเสนอผลงานและสามารถนำไปประยุกตใชใน
ชีวติ ไดแ ละครผู ูสอนรอยละ 100 มนี วัตกรรมในการจดั การเรียนรแู ละมกี ารเผยแพร
2. ครูผูสอนใชสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง เรยี นรู รวมทั้งปราชญทองถ่นิ และภูมิปญญาทองถิ่นมา
ใชในการจดั การเรยี นรู โดยสรางโอกาสใหผ เู รยี นไดแสวงหาความรดู ว ยตนเองจากสอ่ื ทห่ี ลากหลาย
3. ครูผูสอน ครูที่ปรึกษามีการบริหารจัดการช้ันเรยี นโดยเนนการการมปี ฏิสมั พันธเ ชิงบวก ใหเด็กรักครู ครูรัก
เดก็ และเดก็ รกั เดก็ เดก็ รกั ท่จี ะเรยี นรู สามารถเรียนรูรว มกนั อยา งมีความสุข ท้ังในหอ งเรยี น สายช้นั และ โรงเรยี น
4. ครูผูสอนทุกคนมีการวัดผลและประเมินผลผูเรียนอยางเปนระบบมีแนวทางกำหนดขั้นตอนการใช
เครอ่ื งมอื และวิธีการวัดและประเมินผลที่เหมาะสมกบั เปาหมายในการจัดการเรียนรู ใหข อมลู ยอ นกลบั แกผูเรียน และ
นำผลมาพฒั นาผูเ รียนอยางตอเน่อื ง
5. ครแู ละผูมีสว นเกีย่ วขอ งรวมกันแลกเปลีย่ นความรูและประสบการณร วมท้งั ใหขอมูลปอ นกลับ เพ่ือ
นำไปใชใ นการปรบั ปรงุ และพัฒนาการจัดการเรยี นรู
จุดเดน
ครมู ีการพฒั นากระบวนการจัดการเรยี นรใู หมปี ระสทิ ธภิ าพมากยง่ิ ข้นึ โดยมีการวเิ คราะหขอ มลู ของผูเ รียน
เปน รายบคุ คล มงุ พฒั นาตามความถนัด ความสนใจของผูเรียน มีการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูโดยเนนใหผูเ รยี นไดลงมอื
ปฏิบตั จิ ริง เพอ่ื ใหเกิดทักษะและสามารถสรปุ องคค วามรไู ดดว ยตนเอง รวมทั้งครูสามารถใชเทคโนโลยรี ูปแบบตาง ๆ
ในการพฒั นานวตั กรรม และสอ่ื การจัดการเรยี นรทู ี่ทนั สมยั เพ่ือสง เสริมการเรยี นรใู หแกผเู รียน มคี วามตง้ั ใจและ
รวมมอื กันในการพัฒนารูปแบบกระบวนการจดั การเรยี นรู
จดุ ท่ีควรพฒั นา
ครคู วรจดั กจิ กรรมการเรียนรูทีเ่ ปดโอกาสใหผูเรียนทุกคนไดแสดงศักยภาพ และความสามารถอยาง
หลากหลาย รวมทั้งใหผ ูเ รียนทกุ คนไดเกิดการคิดวเิ คราะห คิดสังเคราะห หรอื คดิ สรา งสรรค
ครคู วรปรับปรงุ รูปแบบ และพัฒนากระบวนการวัดและประเมนิ ผลใหมีความหลากหลาย และสะทอน
ความสามารถทแี่ ทจ ริงของผเู รียน และใหข อ มูลยอนหลังแกผเู รียนทันที เพื่อจะไดเ กิดการพัฒนาตอ ไป
ฉ
จากผลการดำเนินการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ประจำปการศึกษา 2563 จึงเสนอแนะ
แนวทางในการพฒั นาในปการศึกษา 2564 ดงั นี้
แนวทางในการการพฒั นา
๑. ยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผูเ รียนใหสูงขึ้นโดยมีการติดตามผลการเรียนของผูเรยี นอยาง
ตอเนื่องเพ่ือนำมาวางแผนพัฒนาผลสัมฤทธิท์ างการเรียนใหสูงขนึ้ และการสงเสรมิ ความรว มมือในการจัดกิจกรรมดาน
วิชาการเพื่อพัฒนาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน
๒. การจัดกิจกรรมการเรียนรูที่เนนการพัฒนาผูเรียนเปนรายบุคคลใหชัดเจนขึ้นรวมทั้งควรสงเสริม
ผเู รียนดา นทักษะและความสามารถในการสรา งโครงงาน ชนิ้ งาน หรอื ผลผลติ ทม่ี ีคณุ ภาพ
3. สงเสริมใหผูเรียนไดมีความสามารถในการคิดอยางหลากหลายรวมทัง้ มีทักษะในการแกปญหาตาม
สถานการณไ ดอยา งเหมาะสมและสง เสริมการใชแ หลง เรยี นรมู าใชใ นการพฒั นาตนเอง
๔. การพัฒนาบุคลากรโดยสงเขารับการอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรูใ นงานที่ไดรับมอบหมาย ติดตามผล
การนำไปใชแ ละผลท่ีเกิดกบั ผเู รียนอยา งตอ เนอ่ื ง
๕. การสงเสริมและสนับสนนุ การจดั ทำการวิจัยในชั้นเรียน วิจยั และพัฒนานวัตกรรมเพือ่ พัฒนาผเู รียน
ใหสามารถเรียนรไู ดเ ตม็ ศกั ยภาพ
6. การพฒั นาสถานศกึ ษาใหเปน สงั คมแหงการเรียนรูของชุมชน
7. การดำเนนิ การพัฒนาสถานศึกษาดวยการวางยุทธศาสตรและแผนปฏิบตั ิการเพื่อการจัดการศึกษา
อยางมคี ณุ ภาพและตรงเปา หมายของชาติ
ความตอ งการและการชวยเหลือ
1) การพัฒนาครผู ูส อนใหสามารถจดั กิจกรรมการเรียนรูตามแนวคิด Active Learning ท่ีสรางทกั ษะใน
การดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 และสงเสริมการสรางนวัตกรรมในการเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันระดับ
นานาชาตดิ วยการสรางรายไดจ ากนวตั กรรมเปน หลักหรอื ไทยแลนด 4.0
2) สงเสริมการอบรมและพัฒนาครูในการสรางขอสอบที่สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูตามแนวทาง
การทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติข้นั พ้นื ฐาน (O-NET) และการประเมนิ สมรรถนะสำคัญของผเู รียนดวย PISA
3) สงเสริมและพัฒนาการสรางชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community)
ทงั้ ในระดบั สถานศกึ ษา ในระดับเทศบาลและระดับชาติ
ช
สรุปผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา โรงเรยี นเทศบาล ๕ (วัดหวั ปอ มนอก) ประจำปก ารศกึ ษา 2563
ตามที่โรงเรียนเทศบาล ๕ (วัดหัวปอมนอก) ไดดำเนินการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ประจำป
การศึกษา 2563 ตามระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ประกาศของกระทรวงมหาดไทย โดยจัดทำ
รายงานประจำปเสนอตอหนวยงานตนสังกัด หนวยงานที่เกี่ยวของ และเสนอตอสาธารณชน เพื่อนำไปสูการพฒั นา
คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและเพ่ือรองรบั การประเมินคณุ ภาพภายนอก
บัดนี้การดำเนินการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาเสร็จเรียบรอยแลว จึงขอเสนอผลการประเมิน
คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา แสดงในตาราง สรปุ ผลไดดงั น้ี
ระดับการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
สรุปผลการประเมินภาพรวม
กำลังพัฒนา ปานกลาง ดี ดเี ลิศ ยอดเยยี่ ม
มาตรฐาน/ตวั บง ช้ี ระดับคุณภาพ
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผเู รยี น ดีเลศิ
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ดเี ลิศ
มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเนนผูเ รยี นเปนสำคญั ดเี ลิศ
ซ
คำนำ
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ปการศึกษา 2563
ของโรงเรียนเทศบาล ๕ (วัดหัวปอมนอก) สงั กดั เทศบาลนครสงขลา ฉบับนี้ จัดทำขึ้นเพื่อสรุปผลการประกัน
คุณภาพการศึกษาในสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ปการศึกษา 2563 ของสถานศึกษา
เพอ่ื เปนขอมลู ในการพฒั นาและยกระดับคุณภาพมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาใหส งู ขึ้น
เนือ้ หาสาระของเอกสารประกอบดวย บทสรุปสำหรับผูบ ริหาร ขอมูลพื้นฐานของสถานศกึ ษา ผลการ
ประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา สรุปผล แนวทางการพัฒนา และความตองการการชวยเหลือ การปฏิบตั ิทีเ่ ปน
เลิศของสถานศึกษา ภาคผนวกของท้งั 3 มาตรฐาน
โรงเรียนเทศบาล ๕ (วดั หวั ปอมนอก) ขอขอบคุณผูอำนวยการสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา
ขั้นพื้นฐานของโรงเรียน คณะครู ผูปกครองชุมชน และผูเกี่ยวของทุกภาคสวน ที่รวมพัฒนารวมประเมิน
คุณภาพ และรวมจัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ให
สมบูรณครบถวน และหวังเปนอยางยิ่งวา ขอมูล สารสนเทศ และขอเสนอแนะในรายงานฉบับนี้ จะเปน
ประโยชนในการพัฒนาเพอื่ ยกระดับคณุ ภาพมาตรฐานของสถานศึกษา ใหส งู ขน้ึ ตอ ไป
โรงเรยี นเทศบาล ๕ (วดั หัวปอมนอก)
สารบัญ ฌ
บทสรุปสำหรับผูบ ริหาร หนา
คำนำ ก
สารบัญ ซ
สว นที่ ๑ ขอมลู พ้ืนฐานของสถานศกึ ษา ฌ
สวนท่ี ๒ ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ๑
สว นที่ ๓ สรุปผล แนวทางการพฒั นา ความตองการและความชว ยเหลือ 66
สว นที่ ๔ การปฏบิ ัตทิ เ่ี ปน เลศิ ของสถานศกึ ษา 97
ภาคผนวก 99
103
๑
สว นที่ ๑
ขอ มูลพนื้ ฐาน
๑. ขอมูลทว่ั ไป
โรงเรียนเทศบาล ๕ (วัดหัวปอมนอก) ตั้งอยูที่ถนนริมทางรถไฟ ตำบลบอยาง อำเภอเมืองสงขลา
จงั หวัดสงขลา รหสั ไปรษณยี ๙๐๐๐๐ โทรศพั ท ๐-๗๔๓๒-๑๖๐๑ โทรสาร ๐-๗๔๓๑-๖๖๔๒
e-mail : [email protected] website : http://www.ts5.ac.th facebook : โรงเรียนเทศบาล5
(วัดหัวปอ มนอก) สังกัดสำนักการศึกษา เทศบาลนครสงขลา อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา เปดสอน
ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาตอนตน ถึงระดับชน้ั มัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน ๓๙ หองเรียน โรงเรียนมีเนือ้ ที่ ๖ ไร ๓งาน
ประวตั คิ วามเปน มาโรงเรียน (โดยสังเขป)
โรงเรียนเทศบาล 5 (วัดหัวปอมนอก) ตั้งอยูที่ถนนริมทางรถไฟ ตำบลบอยาง อำเภอเมืองสงขลา
จงั หวดั สงขลา สงั กัดสำนักการศกึ ษา เทศบาลนครสงขลา กรมสงเสรมิ การปกครองทองถิน่ กระทรวงมหาดไทย
ประกาศจัดตั้งโรงเรียนเมื่อวันที่ 23 เดือนธันวาคม พ.ศ. 2546 โดยการริเริ่มและดำเนินการของ
นายนิพนธ บุญญามณี สมาชกิ สภาผูแทนราษฎรจังหวัดสงขลา และนายอุทิศ ชูชวย นายกเทศมนตรีเทศบาล
นครสงขลาขณะนั้น ซ่ึงพระครูปราการถริ วัตรอดีตเจาอาวาสวดั หวั ปอมนอกใหใชประโยชนใ นท่ีดินของวัดหัวปอม
นอก จำนวน 6 ไร 3 งาน โดยมีจุดมุงหมายใหเปนโรงเรียนที่จัดการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาของเทศบาล
นครสงขลา และไดเปดทำการสอนในระดับชั้นมธั ยมศึกษาปท ี่ 1-3 มีนกั เรยี นท้ังหมด ๙๐๐ คน ครู ๕๑ คน และ
นักการภารโรง ๓ คน ดำเนินการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพืน้ ฐานตามพระราชบัญญัติการศึกษา
แหงชาตพิ ทุ ธศกั ราช 254๔ โดยมีระยะเวลาโดยสรุปดงั น้ีคือ
พ.ศ. ๒๕๔๖ ประกาศจดั ตั้งโรงเรียนเทศบาล ๕ (วดั หัวปอมนอก)
พ.ศ. 2547 เปด สอนคร้ังแรกโดยอาศยั สถานที่ของโรงเรียนเทศบาล 1 (ถนนนครนอก) ภายใตก ารบริหารงาน
ของนายนิคม จันพมุ ผูอำนวยการสถานศกึ ษา
พ.ศ. 2548 ไดยา ยนักเรียนระดบั มัธยมศึกษาตอนตนมาเรยี นทโ่ี รงเรียนเทศบาล 5 (วัดหัวปอมนอก)
เมอื่ วนั ที่ 2 มิถุนายน ๒๕๔๘
พ.ศ. 2550 ดำเนินการขยายชั้นเรียนโดยเปดทำการสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 จำนวน 2 แผน
การเรียน คือ แผนการเรียนวทิ ยาศาสตร- คณิตศาสตร และแผนการเรยี นภาษาไทย-สงั คมศกึ ษา- ภาษาองั กฤษ
พ.ศ. 2551 เปดรับนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4 จำนวน 3 แผนการเรียน คือ แผนการเรียน
วทิ ยาศาสตร-คณิตศาสตร แผนการเรียนภาษาไทย-สังคมศึกษา-ภาษาอังกฤษ และแผนการเรียนคณติ ศาสตร-
ภาษาอังกฤษ
พ.ศ. 2553 เปดทำการสอนตั้งแตชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1-6 และเปดโครงการเสริมสรางศักยภาพดา น
วทิ ยาศาสตร- คณิตศาสตรในระดับชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 1 จำนวน 1 หองเรียน
พ.ศ. 2554 เปด โครงการภาษาจีนในระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปท ่ี 1 จำนวน 2 หองเรยี น
พ.ศ. 255๗ เปดรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท ี่ 4 จำนวน ๔ แผนการเรียน คือ แผนการเรียน
วิทยาศาสตร-คณิตศาสตร แผนการเรียนภาษาไทย-สังคมศึกษา-ภาษาอังกฤษ แผนการเรียนคณิตศาสตร-
ภาษาอังกฤษ และแผนการเรียนศลิ ปท วั่ ไปสำหรบั นกั เรยี นที่มีความสามารถพเิ ศษดา นตาง ๆ
๒
ปจจบุ นั ปการศกึ ษา 2562 เปด ทำการสอนตั้งแตชน้ั มธั ยมศึกษาปที่ 1–6 หลักสตู รแกนกลางการศึกษา
ขนั้ พนื้ ฐานพุทธศักราช 2551 เปด รบั นกั เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 จำนวน ๓ แผนการเรียน คือ แผนการเรียน
วิทยาศาสตร-คณิตศาสตร แผนการเรียนศิลปทั่วไป (ภาษาอังกฤษ-ภาษาจีน, ดนตรีสากล) และแผนการเรียน
ภาษาไทย-สังคมศึกษา
2. ขอ มลู ผูบริหาร
๑) ผูอำนวยการสถานศึกษา นายมนติ เพชรสุวรรณ วฒุ ิการศึกษาสูงสดุ การศึกษามหาบณั ฑติ (กศ.ม.)
สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ โทรศัพท 087-2967067 e-mail:[email protected]
ดำรงตำแหนง ทีโ่ รงเรียนนี้ตงั้ แตว ันท่ี ๑ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒563 จนถงึ ปจ จุบัน เปน เวลา 11 เดอื น
๒) รองผูอำนวยการสถานศกึ ษา (ตามมาตรฐานตำแหนง ) จำนวน 2 คน
๒.๑ นางสุรยี พร สงคป ระกอบ วฒุ ิการศกึ ษาสูงสดุ ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ (ศษ.ม.)
สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต โทรศัพท ๐๘๑-๒๗๖๗๙๔๓ e-mail:[email protected]
รบั ผิดชอบฝายบริหาร
๒.๒ นางสาวทิพวรรณ รัตนชูศรี วุฒกิ ารศกึ ษาสูงสุด การศกึ ษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) สาขาการบริหาร
การศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ โทรศัพท 089-9775768 e-mail : [email protected] รับผิดชอบฝาย
วิชาการ
แผนผังบรเิ วณโรงเรยี น
ขอมูลครแู ละบุคลากรสนับสนุนการสอน อายุ(ป) อายุ ตำแหนง/ วทิ ยฐา
๓.๑ ขาราชการคร/ู พนักงานครู ๔6 ราชการ
๔6 ครู อนั ดบั คศ.๔/
ท่ี ชอ่ื – ช่ือสกุล 43 22 ครเู ช่ยี วชาญ
1 วาที่รอ ยเอกมโนทย ชูพรหม ๓9 ครู อนั ดบั คศ.3/
2 นายกฤตภาส วงศว าทยากร ๓6 16 ครูชำนาญการพเิ ศ
3 นายกฤษฎา หนปู ระเสริฐ ๔8 ครู อนั ดบั คศ.3/
4 นางสาวกาญจนา เทพรัตน 44 11 ครูชำนาญการพเิ ศ
5 นางสาวจันทมิ นั ตุ เปนสุข 51 ครู อันดบั คศ.3/
6 นางจริ ารักษ ชนกสุนนั ทพล 42 ๑5 ครชู ำนาญการพิเศ
7 นางสาวชนาธิป มณโี ชติ 43 ครู อนั ดับคศ.3/
8 นางฐิตาภา สุวรรณวงศ 10 ครชู ำนาญการพเิ ศ
9 นางสาวทองขาร พอใจ ครู อนั ดบั คศ.3/
10 นางสาวธัชกร แกวประดิษฐ ๒5 ครูชำนาญการพเิ ศ
ครู อันดบั คศ.3/
๑5 ครชู ำนาญการพิเศ
ครู อนั ดับคศ.3/
๑7 ครูชำนาญการพิเศ
ครู อนั ดบั คศ.๓
๑5 ครชู ำนาญการพเิ ศ
ครู อนั ดบั คศ.3/
16 ครูชำนาญการพเิ ศ
3
านะ วฒุ ิ วิชาเอก สอนกลุม สาระการเรียนรู จำนวนครั้งและชั่วโมง
ที่เขารบั การพฒั นา/ป
/ กศ.ม. หลกั สูตรและการสอน สงั คมศึกษา ศาสนาและ 3 ครงั้ 26 ชั่วโมง
และวัฒนธรรม
/ ศษ.ม. การบริหารการศกึ ษา ศลิ ปะ 3 ครั้ง 26 ชั่วโมง
ศษ
/ รป.ม. รฐั ประศาสนศาสตร สังคมศึกษา ศาสนาและ 2 คร้ัง 18 ชั่วโมง
ศษ และวัฒนธรรม
/ วท.บ. เคมี วิทยาศาสตร 3 ครงั้ 66 ชั่วโมง
ศษ
/ กศ.ม. การบริหารการศกึ ษา ภาษาไทย 4 ครั้ง 41 ชวั่ โมง
ศษ
/ ค.บ. วิทยาศาสตรทั่วไป วิทยาศาสตร ๔ คร้งั 41 ชว่ั โมง
ศษ
/ กศ.บ. ภาษาไทย ภาษาไทย 4 ครง้ั 41 ชว่ั โมง
ศษ
/ กศ.บ. คหกรรมศาสตร การงานอาชีพฯ 3 ครั้ง 26 ช่ัวโมง
ศษ
๓/ ค.บ. คอมพวิ เตอรศึกษา การงานอาชพี ฯ 3 คร้งั ๓3 ชั่วโมง
ศษ
/ ค.บ. ภาษาองั กฤษ ภาษาตางประเทศ ๔ คร้งั 41 ช่ัวโมง
ศษ
3
ท่ี ชือ่ – ชื่อสกลุ อายุ(ป) อายุ ตำแหนง / วทิ ยฐา
11 นายธีธชั เอียดดี 44 ราชการ
ครู อันดับคศ.๓/
12 นายนรบดี สุวรรณโมสิ ศภุ มสั ดวุ รกุล ๓8 14 ครชู ำนาญการพเิ ศ
10 ครู อันดบั คศ.2/
13 นางสาวนงคน ุช ศริ สิ มบัติ ๕7 ๑5
ครชู ำนาญการ
14 นางพนิดา หัดประสม ๔7 ๒3 ครู อันดบั คศ.๓/
24 ครชู ำนาญการพเิ ศ
15 นางพรทิพย นวลแกว ๔9 31
๒7 ครู อนั ดบั คศ.๓/
16 นางพรทพิ ย พงษพ ราหมณ ๕7 ๒3 ครูชำนาญการพเิ ศ
12 ครู อันดับคศ.๓/
17 นางพกิ ลุ แกวคำ 51 ๑5 ครูชำนาญการพเิ ศ
๑4 ครู อนั ดับคศ.๓/
18 นางพณิ ญา นวลแกว ๔6 ครชู ำนาญการพิเศ
ครู อนั ดบั คศ.๓/
19 นางดวงดาว พฒุ ยอด 39 ครชู ำนาญการพิเศ
ครู อนั ดบั คศ.3/
20 นางสาวมลฤดี เพ็ชรส วุ รรณ 40 ครชู ำนาญการพิเศ
ครู อนั ดบั คศ.๓/
21 นางมนัสดา ดำแกว ๓8 ครูชำนาญการพิเศ
ครู อนั ดับคศ.3/
ครชู ำนาญการพิเศ
ครู อันดับคศ.3/
ครชู ำนาญการพิเศ
4
านะ วุฒิ วชิ าเอก สอนกลุมสาระการเรียนรู จำนวนครงั้ และชว่ั โมง
ทเ่ี ขารับการพัฒนา/ป
/ ค.บ. สังคมศึกษา สงั คมศึกษา ศาสนาและ 3 ครั้ง ๓3 ชั่วโมง
ศษ และวัฒนธรรม
/ ศษ.ม. การบริหารการศึกษา สงั คมศึกษา ศาสนาและ 2 ครง้ั 18 ชว่ั โมง
และวัฒนธรรม
/ วท.บ. เทคโนโลยีการเกษตร การงานอาชพี ฯ ๔ ครั้ง 74 ช่ัวโมง
ศษ
/ วท.บ. สถติ ิ คณิตศาสตร 4 ครั้ง 41 ชัว่ โมง
ศษ
/ ค.บ. วิทยาศาสตรท ั่วไป วิทยาศาสตร 3 ครั้ง 26 ชว่ั โมง
ศษ
/ กศ.บ. สังคมศึกษา สังคมศึกษา ศาสนาและ 2 ครั้ง 18 ชัว่ โมง
ศษ และวัฒนธรรม
/ ค.บ. ภาษาองั กฤษ ภาษาตางประเทศ 4 ครง้ั 27 ชว่ั โมง
ศษ
/ ค.บ. ภาษาไทย ภาษาไทย 2 ครง้ั 18 ชวั่ โมง
ศษ
/ ค.บ. บรรณารกั ษศาสตร สังคมศึกษา ศาสนาและ 2 ครง้ั 18 ช่ัวโมง
ศษ และวัฒนธรรม
/ กศ.บ. สังคมศึกษา สงั คมศึกษา ศาสนาและ 3 คร้ัง 26 ชว่ั โมง
ศษ และวัฒนธรรม
/ วท.ม. พฤกษศาสตร วิทยาศาสตร 3 ครั้ง 26 ช่วั โมง
ศษ
4
ท่ี ชื่อ – ชื่อสกลุ อาย(ุ ป) อายุ ตำแหนง / วทิ ยฐา
22 นางสาววรารัตน ปนทองพันธุ 54 ราชการ
23 นางวันดี จุลนนั โท ๓9 ครู อันดับคศ.3/
24 นายเวียง ไชยสวสั ดิ์ ๕8 ๒7 ครชู ำนาญการพเิ ศ
25 นายศักด์ดิ า เอมเอก ๔6 ๑4 ครู อันดับคศ.3/
26 นางสาวศศธิ ร ลองชมุ 40 20 ครชู ำนาญการพเิ ศ
27 นางสวการย ชแู สง ๔6 ๒3 ครู อันดับคศ.๓/
28 นางสาวสมฤดี ดกุ หลม่ิ ๓6 12 ครชู ำนาญการพเิ ศ
29 นายสัมภาศ เจรญิ คง ๕5 14 ครูอนั ดบั คศ.3/
30 นางสาวสจั จะ ขนุ เปน ทิพย ๔3 11 ครูชำนาญการพิเศ
31 นางสาวสาวบน เดน็ หมดั 42 ๒5 ครู อันดบั คศ.3/
32 นายสิทธิชัย แกว คำ ๔8 20 ครชู ำนาญการพิเศ
๑7 ครู อันดับคศ.3/
21 ครูชำนาญการพิเศ
ครู อนั ดบั คศ.3/
ครูชำนาญการพิเศ
ครู อนั ดบั คศ.3/
ครชู ำนาญการพิเศ
ครู อันดับคศ.๓/
ครูชำนาญการพเิ ศ
ครู อนั ดับคศ.๓/
ครชู ำนาญการพเิ ศ
ครู อันดับคศ.๓/
ครูชำนาญการพิเศ
5
านะ วุฒิ วิชาเอก สอนกลมุ สาระการเรยี นรู จำนวนครั้งและชั่วโมง
ทีเ่ ขา รบั การพฒั นา/ป
/ ค.บ. ศลิ ปศกึ ษา ศลิ ปะ 4 ครง้ั 5๐ ชั่วโมง
ศษ
/ ค.บ. ภาษาองั กฤษ ภาษาตา งประเทศ 3 ครง้ั 26 ชว่ั โมง
ศษ
/ กศ.บ. สังคมศึกษา สังคมศึกษา ศาสนาและ 2 ครั้ง 18 ชั่วโมง
ศษ และวัฒนธรรม
/ ค.บ. วิทยาศาสตรท วั่ ไป วทิ ยาศาสตร 5 ครง้ั 52 ชัว่ โมง
ศษ
/ กศ.บ. วทิ ยาศาสตร- ฟสกิ ส วิทยาศาสตร 2 ครั้ง 18 ชั่วโมง
ศษ
/ กศ.ม. การศกึ ษาเพ่ือพัฒนา กิจกรรมพฒั นาผูเรียน ๔ ครง้ั 41 ชั่วโมง
ศษ ทรัพยากรมนษุ ย
/ กศ.ม. การมัธยมศึกษา คณติ ศาสตร 7 คร้งั 138 ชว่ั โมง
ศษ (การสอนคณิตศาสตร)
/ ค.ม. การบรหิ ารการศกึ ษา สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 3 คร้ัง 26 ชวั่ โมง
ศษ
/ ศษ.ม. การบริหารการศกึ ษา คณติ ศาสตร 2 ครัง้ 18 ช่วั โมง
ศษ
/ กศ.ม. การบรหิ ารการศึกษา วทิ ยาศาสตร 10 คร้ัง 134 ชัว่ โมง
ศษ
/ ค.บ. อตุ สาหกรรมศิลป การงานอาชีพฯ 3 คร้งั 33 ชั่วโมง
ศษ
5
ที่ ช่อื – ช่ือสกลุ อายุ(ป) อายุ ตำแหนง / วิทยฐา
33 นางสิรพิ รรณ มลู บญุ ๔3 ราชการ
ครู อนั ดับคศ.๓/
34 นางสุมณฑา เอมเอก ๔9 ๑9 ครูชำนาญการพิเศ
35 นางสาวสรุ พร ลอยวสิ ุทธิ์ ๔5
36 นายสรุ ิยันต ดำแปน 42 ๒5 ครู อันดบั คศ.3/
37 นางสาวอรวรรณ ศรีพรมทอง 50 ๑5 ครชู ำนาญการพเิ ศ
38 นางอาภรณ มณีรัตน ๔3 14 ครู อันดบั คศ.3/
39 นางสาวกวินปท ม สังขศลิ ปชัย 46 15 ครชู ำนาญการพเิ ศ
40 นางสาวณฐั ธยาน เพช็ รนรินทร 38 ๑5 ครู อันดับคศ.๓/
41 นางทิพวรรณ ล่มิ แกว ๓9 9 ครชู ำนาญการพิเศ
42 นางสาวธิดารตั น ขวัญศรสี ุทธิ์ 34 15 ครู อันดบั คศ.3/
43 นายธรรมรงค จองเจริญผล ๓6 10 ครชู ำนาญการพเิ ศ
8 ครู อนั ดบั คศ.3/
10 ครชู ำนาญการพเิ ศ
ครู อันดับ คศ.๒
ครูชำนาญการ
ครู อันดับ คศ.๒
ครชู ำนาญการ
ครู อนั ดับคศ.๒/
ครูชำนาญการ
ครู อนั ดับคศ.๒/
ครชู ำนาญการ
ครู อันดับคศ.๒/
ครูชำนาญการ
6
านะ วฒุ ิ วชิ าเอก สอนกลมุ สาระการเรยี นรู จำนวนครง้ั และชัว่ โมง
ท่ีเขารบั การพัฒนา/ป
/ ค.บ. คณติ ศาสตร คณติ ศาสตร 4 ครัง้ 41 ชว่ั โมง
ศษ
/ ค.บ. วทิ ยาศาสตรทัว่ ไป วทิ ยาศาสตร 3 ครั้ง 26 ชวั่ โมง
3 ครั้ง ๓3 ช่ัวโมง
ศษ 2 คร้ัง 18 ชวั่ โมง
2 คร้ัง 18 ชั่วโมง
/ กศ.ม. การบรหิ ารการศกึ ษา ภาษาไทย 3 ครัง้ 26 ช่วั โมง
2 ครั้ง 18 ชว่ั โมง
ศษ
/ กศ.ม. เทคโนโลยีและส่ือสาร การงานอาชพี ฯ
ศษ การศกึ ษา
/ กศ.บ. สงั คมศึกษา สังคมศึกษา ศาสนาและ
ศษ และวัฒนธรรม
/ กศ.ม. การศกึ ษาเพือ่ พัฒนา ภาษาตางประเทศ
ศษ ทรพั ยากรมนษุ ย
๒/ กศ.ม. ภาษาไทย ภาษาไทย
๒/ คบ. บรรณารักษศาสตร ภาษาไทย 3 ครั้ง 26 ชว่ั โมง
/ ค.บ. ภาษาอังกฤษ ภาษาตา งประเทศ 3 ครั้ง 26 ช่ัวโมง
/ กศ.ม. การบรหิ ารการศึกษา ภาษาไทย 4 ครง้ั 41 ช่ัวโมง
/ ศศ.บ. ดุริยางคศาสตรสากล ศิลปะ 3 ครัง้ 26 ชวั่ โมง
6
ที่ ชือ่ – ช่ือสกลุ อาย(ุ ป) อายุ ตำแหนง / วทิ ยฐา
44 นางสาวเนตรนภา ฆังคะมโณ ๓8 ราชการ
45 นางสาวปทมา ชมุ อินทร ๓6 ครู อนั ดบั คศ.๒/
46 นางสาวปญาวดี รกั ษาแกว ๓6 11 ครชู ำนาญการ
47 นางฝารดี า มะยีหมูด 40 9 ครู อนั ดับคศ.๒/
48 นางภาชนิ ี คันธชาติ ๕3 9 ครชู ำนาญการ
49 นางสาวรนิ ตณ พตั ดาเลง ๓9 9 ครู อนั ดบั คศ.๒/
50 นางสาววรรณา มณี ๔5 ๑5 ครชู ำนาญการ
51 นายวิวัฒน เช้อื แหลม 52 11 ครู อันดับคศ.๒/
52 นายวีระพงศ วิไลรัตน ๕9 8 ครูชำนาญการ
53 นายวีระพจน กิมาคม 38 ๒6 ครู อนั ดบั คศ.๒
54 นายสญั ญา มะโร 45 ๒7 ครูชำนาญการ
7 ครู อันดบั คศ.๒/
11 ครชู ำนาญการ
ครู อันดับคศ.๒/
ครูชำนาญการ
ครู อนั ดบั คศ.๒/
ครชู ำนาญการ
ครู อนั ดับคศ.2/
ครชู ำนาญการ
ครู อนั ดบั คศ.๒
ครชู ำนาญการ
ครู อันดับคศ.๒/
ครชู ำนาญการ
7
านะ วุฒิ วชิ าเอก สอนกลุมสาระการเรียนรู จำนวนคร้งั และช่วั โมง
ทเ่ี ขารับการพฒั นา/ป
/ กศ.บ. ภาษาไทย ภาษาไทย ๔ ครัง้ ๓๒ ช่วั โมง
/ ศษ.บ. เทคโนโลยีการวัดผล การงานอาชีพฯ 2 ครง้ั 18 ชั่วโมง
/ กศ.ม. การวิจัยและประเมนิ การงานอาชีพฯ 2 ครง้ั 18 ชั่วโมง
/ ค.บ. คณิตศาสตร คณิตศาสตร ๔ ครง้ั 41 ชัว่ โมง
๒/ กศ.บ. ภาษาไทย ภาษาไทย 2 ครง้ั 18 ชั่วโมง
/ ค.บ. ภาษาองั กฤษ ภาษาตา งประเทศ 3 ครั้ง 26 ชว่ั โมง
/ ค.บ. สังคมศึกษา สงั คมศึกษา ศาสนาและ 3 ครัง้ 33 ชัว่ โมง
/ ค.บ. นาฏศิลป และวัฒนธรรม 3 คร้ัง 26 ชว่ั โมง
ศลิ ปะ
/ กศ.บ. พลศกึ ษา สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 3 คร้ัง 26 ช่ัวโมง
๒/ วท.ม. การจัดการเทคโนโลยี วทิ ยาศาสตร 6 ครง้ั 98 ชั่วโมง
สารสนเทศ 3 ครง้ั 26 ชัว่ โมง
/ กศ.ม. การบริหารการศกึ ษา การงานอาชีพฯ
7
ที่ ชอ่ื – ช่ือสกุล อาย(ุ ป) อายุ ตำแหนง/ วิทยฐา
๓8 ราชการ
55 นางสุชาดา ณ สงขลา ครู อันดบั คศ.๒/
52 10 ครชู ำนาญการ
56 นายสุรมย รงุ เรือง ครู อันดับคศ.2/
44 22 ครชู ำนาญการ
57 นายอาทติ ย โชยรัมย ครู อันดับคศ.๒/
40 8 ครชู ำนาญการ
58 นางสาวกริ ณา อนิ ทจนั ทร 40 ครู อนั ดับ คศ.1
59 นางสาวกุลนดิ า จนั ทรคง ๓7 8 ครู อันดบั คศ.1
60 นายยาหรีน ฮัจชา 34 8 ครู อนั ดบั คศ.1
61 นายยมนา วงศม ณี 8 ครู อันดับคศ.1
10
62 นายสมศกั ด์ิ ตสู ุวรรณ
63 นางสาวกานตชนติ ทองเสนห ๓8 10 ครู อนั ดบั คศ.1
64 นายเนติ สุนทราวราวิทย
29 2 ครผู ูชว ย
65 นายปวิธ ทฆี โภคานนั ท
66 นางณัฐนิช วรรณสูตร 36 2 ครูผชู ว ย
67 นางสาววิจติ รา ทีฆโภคานันท
68 นายศกั ดา ไชยสุวรรณ 30 2 ครูผชู ว ย
69 นายสมประสงค บญุ ถนอม 30 2 ครผู ูชว ย
70 นางสาวอนงคน าถ ปราบรตั น 34 2 ครผู ูชว ย
25 1 ครผู ูช ว ย
36 2 ครผู ชู วย
29 2 ครูผชู ว ย
8
านะ วุฒิ วชิ าเอก สอนกลุมสาระการเรียนรู จำนวนครัง้ และชวั่ โมง
ที่เขา รับการพฒั นา/ป
/ กศ.ม. การวัดผลการศึกษา คณติ ศาสตร 4 ครง้ั 41 ชั่วโมง
/ ค.บ. คอมพิวเตอรศึกษา การงานอาชีพฯ 2 ครงั้ 18 ชั่วโมง
/ กศ.ม. บรหิ ารการศกึ ษา การงานอาชพี ฯ 3 ครั้ง 26 ชั่วโมง
1 คศ.บ คหกรรมศาสตรศ กึ ษา การงานอาชีพฯ 2 คร้งั 18 ชั่วโมง
2 คร้ัง 18 ชั่วโมง
1 ศศ.บ. ภาษาไทย ภาษาไทย 3 ครั้ง 26 ช่ัวโมง
4 ครั้ง ๔1 ชว่ั โมง
1 กศ.บ. พลศกึ ษา สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา
3 ครง้ั 33 ชว่ั โมง
1 กศ.บ. สังคมศึกษา สังคมศึกษา ศาสนาและ ๔ ครั้ง 41 ชว่ั โมง
2 ครั้ง 18 ชว่ั โมง
และวัฒนธรรม
๔ ครง้ั 46 ชว่ั โมง
1 ค.บ. บรรณารักษศาสตร ภาษาไทย 2 ครั้ง 18 ชว่ั โมง
6 ครง้ั 72 ช่ัวโมง
กศ.บ. วิทยาศาสตร- ชีววิทยา วทิ ยาศาสตร 3 ครั้ง 33 ชั่วโมง
3 ครง้ั 26 ชวั่ โมง
ศศ.ม. พฒั นามนุษยและ สังคมศึกษา ศาสนาและ 2 ครั้ง 18 ช่ัวโมง
สงั คม และวัฒนธรรม
ศศ.บ. ภาษาจนี ภาษาตา งประเทศ
ศศ.บ. ภาษาองั กฤษ ภาษาตา งประเทศ
ศศ.บ. ภาษาจีนเพ่อื การสื่อสาร ภาษาตา งประเทศ
กศ.บ. วทิ ยาศาสตร- ฟสกิ ส วทิ ยาศาสตร
ศป.บ. คีตศลิ ป ศิลปะ
กศ.บ. วิทยาศาสตร- ชวี วิทยา วิทยาศาสตร
8
๓.๒ พนกั งานจา ง (ปฏิบัตหิ นาทีส่ อน) อายุ ประสบการณการสอน
(ป)
ที่ ชอื่ – ชื่อสกลุ
26 2
1 นางสาวจันทริ า สขุ ทอง
2 นางสาวชลกิ า อนิ ทฤทธิ์ 26 2
3 นายธนโชติพสิทธิ์ จิระศกั ดขิ์ ี
4 นายปย ะ ปรงแกว ๓9 8
5 นายพิชญะ ลยี ะผลมงคล 33 8
6 นายพงษพิพัฒน วีระประทุม ๒8 4
30 7
7 นางสาวพชิ ามญชุ บุญรังศรี
8 นางสาวพิชชาพร ทองพนั ชั่ง ๒8 4
9 นางสาวภัทรวดี เสยี มใหม 25 5 เดือน
10 นายโรจนศักด์ิ มะศรภี ูมิ
11 นายวัฒนพล จาระโห 24 6 เดือน
12 นายสัมพนั ธ หมาดหมี
28 2
13 นายสุชาติ เขอ่ื นคำ
14 นายอนรุ กั ษ กักกอ 34 7
31 2
15 นายอิสมาแอน เบญ็ หมาน
33 2
๓3 10
33 2
9
วฒุ ิ วชิ าเอก สอนกลุมสาระการเรียนรู จางดว ยเงนิ
วท.บ. คณิตศาสตร คณิตศาสตร เทศบาลนครสงขลา
วท.บ. คณติ ศาสตร คณติ ศาสตร เทศบาลนครสงขลา
วท.บ. เทคโนโลยีไฟฟา ฯ วทิ ยาศาสตร เทศบาลนครสงขลา
ศศ.บ. พลศึกษา สุขศึกษาและพลศึกษา เทศบาลนครสงขลา
ดศ.บ. ดรุ ยิ างค ศลิ ปะ เทศบาลนครสงขลา
กศ.บ วทิ ยาศาสตร - วทิ ยาศาสตร เทศบาลนครสงขลา
ชวี วทิ ยา คณิตศาสตร เทศบาลนครสงขลา
คบ. คณิตศาสตร ภาษาอังกฤษ โรงเรียนเทศบาล 5
ศษ.บ ภาษาอังกฤษ
ค.บ. คณติ ศาสตร คณิตศาสตร โรงเรยี นเทศบาล 5
กศ.บ. พลศึกษา สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา เทศบาลนครสงขลา
ศศ.บ. ศิลปะการแสดง ศิลปะ เทศบาลนครสงขลา
เทศบาลนครสงขลา
กศ.บ. การวดั และประเมิน คณิตศาสตร
เทศบาลนครสงขลา
ทางการศึกษา –
คคู ณติ ศาสตร
ศป.บ. ดนตรสี ากล ศลิ ปะ
ศศ.บ. นาฎศลิ ปและ ศิลปะ เทศบาลนครสงขลา
การละคร ศิลปะ เทศบาลนครสงขลา
ศศ.บ. ศลิ ปกรรม
9
๓.๓ พนักงานจา ง/ลูกจา ง (สนบั สนุนการสอน)
ท่ี ช่ือ – ชื่อสกุล อายุ ตำแหนง
1 นางสาวกมลรตั น ทวีศรี ๔3 บุคลากรสนบั สนนุ การสอน
2 นางสาวจิระประภา วงศท อง 30 บคุ ลากรสนบั สนนุ การสอน
3 นางสาวฉนั พิดา เลขขำ 30 บุคลากรสนบั สนนุ การสอน
4 นางชมยั ภรณ จามิตร ๓8 บุคลากรสนบั สนุนการสอน
5 นายไชยา พจนสวรรค 50 ลกู จา งโรงเรียน
6 นางทองปาน แกวประดิษฐ ๕5 ลกู จา งประจำ
60 ลูกจา งโรงเรียน
7 นายนฐกร จันพรมรตั น
40 ลูกจางประจำ
8 นายปรีชา ทองบัว 31 บคุ ลากรสนบั สนนุ การสอน
9 นางสาวรณาพร มากจันทร
10 นายวิชิต มิลำเอยี ง ๕6 ลูกจา งประจำ
11 นายวิรชั มะศรภี ูมิ 52 ลกู จา งประจำ
12 นายวิโรจน วงศสวุ รรณ ๕9 ลูกจา งประจำ
13 นางสาววัชราภรณ อปู คำ ๓8 บคุ ลากรสนบั สนนุ การสอน
14 นางสาวศริ ลิ ักษณ แซอึง้ ๓7 ลกู จางโรงเรียน
10
วุฒิ สาขา ปฏิบตั ิหนาท่ี จา งดวยเงนิ
ปวส. การตลาด เจาหนา ทธ่ี ุรการ/การเงนิ กรมสงเสรมิ
การปกครองทอ งถน่ิ
บช.บ. การบญั ชี เจา หนา ทศ่ี นู ยสื่อ กรมสงเสริม
เทคโนโลยสี ารสนเทศ การปกครองทอ งถน่ิ
ทร.บ. เทคโนโลยี- ถา ยเอกสาร/บรกิ าร กรมสงเสรมิ
อตุ สาหกรรม ทั่วไป การปกครองทองถ่ิน
บธ.บ. การจดั การทัว่ ไป เจาหนาท่ธี ุรการ/การเงนิ กรมสงเสรมิ
การปกครองทองถ่ิน
รป.ม รฐั ประศาสน ภารโรง โรงเรยี นเทศบาล ๕
ศาสตร (วดั หวั ปอมนอก)
ม.๓ - ภารโรง เทศบาลนครสงขลา
ม.๓ - ภารโรง โรงเรยี นเทศบาล ๕
(วัดหวั ปอมนอก)
ปวช. ชางยนต ยามรกั ษาการ เทศบาลนครสงขลา
วท.บ. วทิ ยาศาสตร- เจาหนาที่งานอนามยั กรมสง เสรมิ
สขุ ภาพ โรงเรยี น การปกครองทอ งถน่ิ
ป.๔ - ภารโรง เทศบาลนครสงขลา
ม.๓ - พนักงานขับรถ เทศบาลนครสงขลา
ม.๖ - ภารโรง เทศบาลนครสงขลา
บธ.บ. การบรหิ าร เจาหนา ท่ีธุรการ/การเงนิ กรมสง เสรมิ
ทรัพยากรมนษุ ย การปกครองทองถิ่น
กศ.บ. เทคโนโลยี- เจาหนา ที่ศูนยส่ือ โรงเรียนเทศบาล ๕
ทางการศกึ ษา เทคโนโลยีสารสนเทศ (วดั หัวปอมนอก)
10
11
11
๓.๔ สรปุ จำนวนบุคลากร 12
3.4.1 จำนวนบคุ ลากรจำแนกตามประเภท/ตำแหนง และวุฒิการศกึ ษา รวม
จำนวนบุคลากร (คน) -
1
ประเภท/ตำแหนง ตำ่ กวา ปรญิ ญาตรี ปริญญาโท ปรญิ ญาเอก 2
ปรญิ ญาตรี 3
- -
1. ผูบรหิ ารสถานศึกษา - - - - 70
- ๑5
- ผอู ำนวยการ - -1 - -
- 85
- รองผูอ ำนวยการ - -2 - -
- 6
รวม - - 3 - 5
- 3
2. ครผู ูสอน --- - 14
- 102
- ขาราชการ/พนักงานครู - 49 21 -
-
- พนักงานจาง(สอน) - ๑5 - -
-
- อน่ื ๆ (ระบุ) ---
รวม - 64 21
3. บุคลากรสนบั สนุน - - -
- พนกั งานจา งตามภารกจิ - 6 -
- ลกู จา งประจำ 5- -
- ลกู จา งโรงเรียน 21 -
รวม 7 7 -
รวมทั้งสิ้น 7 71 ๒4
13
3.4.2 จำนวนครจู ำแนกตามกลุมสาระการเรียนรู
กลุม สาระการเรยี นรู จำนวน คิดเปน รอยละ จำนวนชว่ั โมงสอนเฉล่ีย
ช่วั โมง/สัปดาห
ภาษาไทย 11 12.94
คณิตศาสตร 11 12.94 ของครูภายในกลมุ สาระฯ
วิทยาศาสตร 15 17.65 14
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 12 14.12 17
สุขศึกษาและพลศึกษา 5 5.88
ศิลปะ 10 11.76 15
การงานอาชีพและเทคโนโลยี 9 10.59 17
ภาษาตางประเทศ 10 11.76 16
กิจกรรมพัฒนาผเู รยี น 2 2.35 20
รวมครผู ูส อนทกุ กลุมสาระการเรียนรู 85 100 19
20
20
18
14
4. ขอมูลนกั เรยี น ณ วนั ท่ี ๑๐ มถิ นุ ายน พ.ศ. 2561
4.1 จำนวนนักเรยี นในโรงเรียนทงั้ ส้ิน 1,683 คน จำแนกตามระดบั ช้ันที่เปด สอน
ระดบั ชน้ั เรยี น จำนวนหอ ง เพศ รวม จำนวนเฉลย่ี
ม.๑ ๙ ชาย หญิง 424 ตอ หอ ง
ม.๒ ๙ 442
ม.๓ ๙ 238 186 390 47
ม.๔ ๔ 233 209 155 4๙
ม.๕ ๔ 182 208 130 ๔๓
ม.๖ 4 63 92 142 ๓๘
รวม ๓9 45 85 1,683 ๓๒
53 89 ๓๕
814 869 ๔๓
จำนวนเดก็ พเิ ศษในโรงเรียน จำนวน - คน
อัตราสวนนกั เรียน : ครรู ะดบั มธั ยมศกึ ษา = 20 : ๑ เปนไปตามเกณฑ ไมเปน ไปตามเกณฑ
ขอ มูลนักเรียน ณ วนั ท่ี ๑๐ มิถนุ ายน พ.ศ. 2562
จำนวนนักเรยี นในโรงเรียนทัง้ สนิ้ 1,561 คน จำแนกตามระดบั ช้ันท่ีเปดสอน
ระดบั ช้ันเรียน จำนวนหอ ง เพศ รวม จำนวนเฉลยี่
ม.๑ ๙ ชาย หญิง 339 ตอ หอ ง
ม.๒ ๙ 404
ม.๓ ๙ 169 170 405 38
ม.๔ ๔ 223 181 142 45
ม.๕ ๔ 207 198 146 45
ม.๖ 4 53 89 125 36
รวม ๓9 59 87 1,561 37
45 80 32
756 805 40
จำนวนเดก็ พเิ ศษในโรงเรียน จำนวน - คน
อตั ราสว นนักเรยี น : ครูระดับมัธยมศึกษา = 18 : 1 เปนไปตามเกณฑ ไมเปน ไปตามเกณฑ
15
ขอมูลนักเรยี น ณ วันท่ี 2๐ กรกฎาคม พ.ศ. 2563
จำนวนนักเรียนในโรงเรยี นทั้งสิน้ 1,491 คน จำแนกตามระดบั ช้นั ทเ่ี ปดสอน
ระดบั ชนั้ เรยี น จำนวนหอง เพศ รวม จำนวนเฉลี่ย
ม.๑ ๙ ชาย หญิง 359 ตอ หอง
ม.๒ ๙ 321
ม.๓ ๙ 183 176 374 40
ม.๔ ๔ 157 164 154 36
ม.๕ ๔ 209 165 139 42
ม.๖ 4 63 91 144 39
รวม ๓9 50 89 1,491 35
58 86 36
720 771 38
จำนวนเดก็ พิเศษในโรงเรียน จำนวน - คน
อัตราสว นนักเรียน : ครรู ะดับมัธยมศกึ ษา = 20 : 1 เปน ไปตามเกณฑ ไมเปน ไปตามเกณฑ
4.2 จำนวนนักเรยี นเปรยี บเทยี บ 3 ปการศกึ ษายอ นหลงั
เปรยี บเทยี บจำนวนนกั เรยี นระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาตอนตน ปการศึกษา 2561 – 2563
16
เปรียบเทียบจำนวนนักเรยี นระดับชน้ั มธั ยมศึกษาตอนปลายปก ารศกึ ษา 2561 – 2563
5. ขอมูลผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นในระดับสถานศกึ ษา
- ระดับการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน
5.1.1 สรุปผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนรวมทุกกลุมสาระการเรยี นรู ระดบั มธั ยมศกึ ษา ภาคเรยี นท
กลมุ สาระการเรียนรู จำนวน ๔ ๓.๕ จำนวนนักเรียนทไี่ ดผลก
นกั เรียน 81 144
1. ภาษาไทย 148 70 ๓ ๒.๕ ๒
2. คณติ ศาสตร 1,463 70 111 309 326 256
3. วิทยาศาสตร 1,463 27 12 157 198 270
1,147 0 9 198 188 208
3.1 วิทยาศาสตรกายภาพ 136 73 111 22 44 14
3.2 วทิ ยาศาสตรช ีวภาพ 10 24 15
3.3 วทิ ยาการคำนวณ 66 114 117 168 122 101
3.4 การออกแบบและ 654
131 162 139 113 113
เทคโนโลยี 808
68 88 203 204 122
4. สังคมศกึ ษา ศาสนาและ 1,032 384 146
วฒั นธรรม 276 322 102 81 57
4.1 ภูมศิ าสตร 431 462 377 173 202 202
4.2 ประวตั ศิ าสตร 1,319 626 193 355 264 136
1,463 303 208 76
5. สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 1,463 161 171 168 150 95
6. ศลิ ปะ 1,463 2,621 2,033
7. การงานอาชพี และเทคโนโลยี 18.24 14.15 283 253 249
8. ภาษาตา งประเทศ 1,463 2,590 2,377 1,914 1
14,371 18.02 16.54 13.32
8.1 ภาษาองั กฤษ
รวม 100
รอ ยละ
1
ที่ ๑ ปก ารศกึ ษา ๒๕๖3
การเรยี นรู รวม ผล S.D. นกั เรียน นกั เรยี นทีไ่ ด
การเรียน ท่ไี ด ร ๓ ข้ึนไป
๑.๕ ๑ ๐
150 183 11 เฉล่ีย จำนวน รอ ยละ
262 345 10
217 150 4 1,460 2.05 0.86 3 534 36.50
98 0
71 0 1,460 1.90 0.98 3 375 25.63
51 25 1
1,146 2.04 0.92 1 379 33.04
104 100 8
136 2.29 0.92 0 61 44.85
66 1.96 0.92 0 19 28.79
652 2.47 0.92 2 352 53.82
808 2.33 0.92 0 370 45.79
92 104 14 1,032 2.32 0.96 0 496 48.06
25 9 1 431 2.62 0.96 0 258 59.86
110 92 9 1,318 2.60 0.96 1 703 53.30
47 51 5 1,456 2.70 0.79 7 953 65.14
19 12 4 1,461 3.06 0.69 2 1,142 78.06
79 143 6 1,460 2.93 1.05 3 987 67.46
156 172 17 1,462 2.22 0.95 1 615 42.04
1,328 1,395 90 14,348
9.24 9.71 0.63 99.84 23 7,244 50.41
0.16
17
18
รอ ยละของนักเรียน 50.41
ผลการเรียนระดบั ๓ ขึ้นไป 48.80
ผา นเกณฑข้ันตำ่ (๑) ถึงคอนขา งดี (๒.๕) 0.79
ไมผา นการประเมิน (๐,ร)
5.1.2 สรปุ ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนรวมทกุ กลุมสาระการเรยี นรู ระดับมธั ยมศกึ ษา ภาค
กลมุ สาระการเรียนรู จำนวน จำนวนนักเรียนทีไ่ ดผ ลกา
1. ภาษาไทย นกั เรยี น ๔ ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑
2. คณติ ศาสตร
3. วทิ ยาศาสตร 1444 126 152 282 282 224 1
3.1 วิทยาศาสตรก ายภาพ 1302 109 68 171 233 265 1
3.2 วิทยาศาสตรช ีวภาพ
3.3 วทิ ยาการคำนวณ 1401 57 60 153 305 359 2
3.4 การออกแบบและ
136 16 18 26 16 22
เทคโนโลยี
4. สังคมศึกษา ศาสนาและ 82 0 0 6 11 24
วฒั นธรรม 444 64 65 113 83 52
4.1 ภมู ิศาสตร
4.2 ประวตั ศิ าสตร 502 129 95 102 70 52
5. สุขศึกษาและพลศึกษา
6. ศิลปะ 1018 293 188 233 138 69
7. การงานอาชีพและเทคโนโลยี
8. ภาษาตา งประเทศ 426 81 105 96 73 33
8.1 ภาษาองั กฤษ 1302 337 233 257 204 148
1444 146 316 422 243 170
รวม 1443 574 350 273 133 48
รอ ยละ 1340 625 180 146 106 75
1444 90 105 194 268 373 2
13728 2647 1935 2474 2165 1914 1
100 19.28 14.10 18.02 15.77 13.94 9
1
คเรียนท่ี 2 ปก ารศกึ ษา ๒๕๖3 ผล นกั เรียนท่ไี ด ๓
ขึน้ ไป
ารเรยี นรู การ S.D. นกั เรียน
เรียน ท่ีได ร
๑.๕ ๑ ๐ รวม เฉลย่ี จำนวน รอยละ
196 144 36 1442
198 216 41 1301 2.11 0.95 2 560 38.78
271 168 28 1401
20 16 2 136 1.89 0.97 1 348 26.73
25 7 9 82
41 17 9 444 1.78 0.94 0 270 19.27
26 22 6 502 2.31 0.94 0 60 44.12
1.51 0.94 0 6 7.32
2.46 0.94 0 242 54.50
2.77 0.94 0 326 64.94
42 35 19 1017 2.85 0.92 1 714 70.14
18 12 8 426 2.72 0.92 0 282 66.20
52 36 33 1300 2.73 0.92 2 827 63.52
85 39 17 1438 2.57 0.80 6 884 61.22
26 23 16 1443 3.21 0.77 0 1197 82.95
50 100 55 1337 2.99 1.15 3 951 70.97
224 150 39 1443 1.95 0.89 1 389 26.94
1274 985 318 13712 16 7056 51.40
9.28 7.18 2.32 99.88 0.12
19
20
รอ ยละของนักเรียน 51.40
ผลการเรียนระดบั ๓ ข้นึ ไป 46.16
ผา นเกณฑข้ันตำ่ (๑) ถึงคอนขา งดี (๒.๕) 2.44
ไมผา นการประเมิน (๐,ร)
21
๖.ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ (O-NET)
๖.1 ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี ๖ ประจำปการศึกษา ๒๕๖3
๖.1.๑ คะแนนเฉลีย่ รอยละจำแนกตามระดบั
ระดบั /รายวิชา ภาษาไทย คณติ ศาสตร วิทยาศาสตร สังคมศกึ ษา ภาษาอังกฤษ
31.68 ๓๗.19 ๒7.06
ระดบั โรงเรียน 47.16 ๒2.98 ๓4.54 ๓๗.23 ๓1.68
28.94 ๓3.54 ๒๔.49
ระดบั จังหวดั ๔7.56 ๒๘.56 31.42 ๓๔.72 ๒๗.86
32.68 ๓๕.93 ๒๙.94
ระดบั สงั กดั (รร. สงั กัด อปท.) 38.79 20.86
ระดบั ภาค ๔2.52 ๒4.61
ระดบั ประเทศ ๔4.36 ๒6.04
คะแนนเฉลยี่ รอยละผลการประเมนิ การทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้นั พ้นื ฐาน (O - NET)
ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๖
22
๖.1.๒ เปรียบเทียบผลการทดสอบระดบั ชาตขิ ้ันพ้นื ฐาน (O - NET) ชั้นมัธยมศึกษาปท ี่ ๖ ระหวางปก ารศึกษา
๒๕๖2 - ๒๕๖3
รายวิชา/ป ปก ารศึกษา ๒๕๖2 ปก ารศึกษา ๒๕๖3 ผลตา งของรอ ยละระหวา ง
การศกึ ษา ปการศกึ ษา
ระดบั ระดับประเทศ ระดบั ระดบั ประเทศ ระดบั ระดับประเทศ
โรงเรยี น โรงเรยี น โรงเรยี น
ภาษาไทย ๔๐.๖๓ ๔๒.๒๑ 47.16 44.36 + 6.53 + 2.15
คณติ ศาสตร ๒๐.๗๘ ๒๕.๔๑ 22.98 26.04 + 2.20 + 0.63
วทิ ยาศาสตร ๒๗.๙๙ ๒๙.๒๐ 31.68 32.68 + 3.69 + 3.48
สงั คมศึกษา ๓๗.๑๗ ๓๕.๗๐ 37.19 35.93 + 0.02 + 0.23
ภาษาอังกฤษ ๒๖.๑๐ ๒๙.๒๐ 27.06 29.94 + 0.96 + 0.74
เปรยี บเทียบผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขน้ั พื้นฐาน (O-NET) ช้ันมธั ยมศึกษาปท ่ี 6
ระดับโรงเรยี นและระดบั ประเทศ ระหวา งปก ารศึกษา ๒๕๖2 - ๒๕๖3
23
6.2 ขอ มูลนกั เรียนดา นอน่ื ๆ
ท่ี รายการ จำนวน (คน) คดิ เปนรอ ยละ*
1 จำนวนนักเรียนมนี ำ้ หนัก สวนสงู และสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ ๗๑๑ ๖๑.๒๘
รวมท้งั รจู ักดูแลตนเองใหมคี วามปลอดภัย ๑,๔๘๕ ๙๙.๖๐
2 จำนวนนักเรยี นทป่ี ลอดจากปญ หาทางเพศ ยาเสพตดิ และสิง่ มอมเมา
- -
เชน สรุ า บหุ ร่ี เคร่อื งดืม่ แอลกอฮอล เกม ฯลฯ ๔๑ ๒.๖๔
3 จำนวนนักเรยี นทีม่ คี วามบกพรอ งทางรางกาย/เรยี นรวม ๘๑ ๕.๔๓
4 จำนวนนักเรียนมภี าวะทพุ โภชนาการ ๘๖ ๕.๗๗
5 จำนวนนักเรยี นปญญาเลิศ ๑๐ ๐.๖๔
6 จำนวนนักเรยี นตองการความชวยเหลือเปน พิเศษ ๓๕ ๒.๓๕
7 จำนวนนักเรียนทีล่ าออกกลางคัน (ปก ารศกึ ษาปจจุบัน) ๔๓ ๒.๘๘
8 จำนวนนักเรยี นท่ีมเี วลาเรยี นไมถ งึ รอ ยละ ๘๐ ๑,๐๒๑ ๙๖.๘๗
9 จำนวนนกั เรยี นทเี่ รียนซ้ำช้นั ๔๒๗ ๙๗.๗๑
10 จำนวนนกั เรยี นท่จี บหลักสตู ร มัธยมศกึ ษาตอนตน
มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
หมายเหตุ : รอ ยละของนักเรียนทง้ั หมด
7. ขอมูลอาคารสถานท่ี 24
ท่ี รายการ จำนวน
๑. อาคารเรียนถาวร ๕ หลงั
๒ หองน้ำ/หองสว ม ๒๔ หอง
๓ สนามกีฬา/อฒั จรรยเ ชียร ๑ สนาม
๔ จำนวนหองเรียนทั้งหมด ๓๙ หอง
๕ หอ งผูบริหาร ๓ หอง
๖. หองพักครู ๕ หอง
๗ หองธรุ การ/ทะเบยี นวดั ผล ๑ หอ ง
๘ หองประชมุ ๓ หอง
๙ หองสมุด ๑ หอ ง
๑๐ หอ งปฏิบัติการคอมพิวเตอร ๕ หอง
๑๑ หองปฏิบัติการทางภาษา(องั กฤษ)/หองพักครชู าวตางชาติ ๑ หอ ง
๑๒ หองปฏบิ ัติการทางภาษา(จนี ) ๒ หอง
๑๓ หอ งปฏบิ ตั ิการวทิ ยาศาสตร ๓ หอง
๑๔ หอ งศนู ยสื่อและเทคโนโลยี ๑ หอง
๑๕ หอ งปฏบิ ตั กิ ารดนตรีสากล(หองปฐมพงศ ไชยภักดี) ๑ หอง
๑๖ หอ งปฏิบัตกิ ารวงโยธวาธิต ๑ หอง
๑๗ หอ งปฏบิ ัตกิ ารดนตรไี ทย ๑ หอง
๑๘ หอ งปฏบิ ัตกิ ารนาฎศลิ ป ๑ หอ ง
๑๙ หอ งปฏบิ ตั ิการทัศนศลิ ป ๑ หอ ง
๒๐ หองปฏบิ ัติการตดั เย็บ ๑ หอ ง
๒๑ หอ งบาติก ๑ หอง
๒๒ หอ งคณติ ศาสตร/ ลูกเสือ ๑ หอง
๒๓ หอ งประกนั คุณภาพการศึกษา ๑ หอง
๒๔ หอ งพยาบาล ๑ หอ ง
๒๕ หอ งแนะแนว ๑ หอง
๒๖ หอ งสงเสริมสมรรถภาพรางกาย ๑ หอ ง
๒๖ หองภาษาไทย/ภูมปิ ญญาทองถ่ิน ๑ หอ ง
๒๗ หอ งปฏบิ ตั กิ ารอาหารและโภชนาการ ๑ หอง
๒๘ หอ งท่ที ำการคณะกรรมการนักเรยี น ๑ หอ ง
๒๙ หอ งศนู ยการเรียนรวู ิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี ๑ หอง
๓๐ หอ งพัสดุ ๑ หอ ง
๓๑ หอ งอาเซียน ๑ หอ ง
๓๒ หอ งตดั ผมสตั ตบรรณบารเ บอร ๑ หอง
๓๓ หองนอนเวร ๑ หอ ง
๓๔ หอ งรักษศ ลิ ป-โนรา ๑ หอ ง
ที่ รายการ 25
๓๕ หอ งปฏบิ ตั ิการทางฟส กิ ส
๓๖ หอ งปฏบิ ัตกิ ารทางเคมี จำนวน
๓๗ หอ งปฏิบัติการทางชวี วิทยา ๑ หอ ง
๓๘ หองประชาสัมพนั ธ ๑ หอง
๓๙ หองเกียรตยิ ศ ๑ หอง
๔๐ หองธนาคารโรงเรียน ๑ หอ ง
๔๑ หองไฟฟา ๑ หอง
๔๒ ปอ มยาม ๑ หอง
๔๓ บา นพกั ภารโรง ๑ หอง
๔๔ รานจำหนายน้ำ(บานสตั ตบรรณ) ๑ หอ ง
๔๕ โรงสแี ดง (หบั โห หน้ิ ) จำลอง ๑ หลัง
๔๖ รานจำหนายอาหาร(โรงอาหาร)/หองเก็บของ ๑ หลัง
๔๗ รา นสวัสดิการ ๑ หลัง
๔๘ สนามเปตอง ๙ หอง
๔๙ ศาลาพักผอ น ๑ หอ ง
๕๐ หลงั คาทางเดิน ๑ สนาม
๕๑ ปายหนาโรงเรียน ๓ หลงั
๕๒ กำแพง ๒ ชว ง
๑ ปาย
รอบโรงเรยี น
8. ขอมูลสภาพชมุ ชนโดยรวม
8.๑ สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะอยูใจกลางเมืองถูกลอมรอบดวยชุมชนแออัด บริเวณ
ทางเขา ออกไมส ะดวก สถานท่ีต้ังอยใู นจดุ ทส่ี งั เกตยาก ไมไ ดอยูตดิ กับถนนสายหลกั ถา ไมใชคนในพ้ืนท่จี ะไมคอย
ทราบเสนทางการเดนิ ทางมาตดิ ตอ ราชการ มปี ระชากรประมาณ ๗๖,๖๘๒ คน บรเิ วณใกลเคยี งโดยรอบโรงเรียน
ไดแก วัดหัวปอมนอก วัดหัวปอมใน ตลาดศาลาลุงแสง ชุมชนบานตากแดด ชุมชนหัวปอมนอก คิวรถบัส
ประจำทาง/รถตูประจำทางสงขลา-ระโนด-นครศรีธรรมราช โรงเรียนบริหารธุรกิจวิทยา คริสตจักร ชุมชน
วังเขียววังขาว ชุมชนริมทางรถไฟนอก ชุมชนวชิราอาชีพหลักของชุมชน คือ รับจาง ประมง คาขายและอื่น ๆ
สวนใหญนับถือศาสนาพุทธ รอยละ ๙๐ และนับถือศาสนาอิสลามและอื่น ๆ ประมาณรอยละ ๑๐ ประเพณี/
ศลิ ปวฒั นธรรมทอ งถ่นิ ท่ีเปน ทีร่ ูจักโดยท่ัวไป คอื ประเพณีทำบุญวันสารทเดือนสิบ/ประเพณใี นวันสำคัญตาง ๆ ทาง
พระพทุ ธศาสนา
8.๒ ผูปกครองสวนใหญ จบการศึกษาระดับ ป.๔ – มศ.๓ อาชีพหลัก คือ รับจาง ประมง คาขายและอื่น ๆ
สวนใหญนับถือศาสนาพุทธและอิสลาม ฐานะทางเศรษฐกิจ/รายไดโดยเฉลี่ยตอครอบครัว ตอปประมาณ
๑๐๐,๐๐๐-๑๕๐,๐๐๐ บาท
8.๓ โอกาสและขอ จำกัดของโรงเรียน
โอกาส
โรงเรียนเทศบาล ๕ (วัดหัวปอมนอก) เปนโรงเรียนกอตัง้ ใหมท ี่พัฒนาตามนโยบายการกระจายการศึกษา
มีการสนบั สนนุ งบประมาณ ของกรมปกครองสวนทองถ่ินเพ่ือการสรา งองคความรูเพื่อชุมชน มีการประชาสัมพันธ
เพื่อการแขงขันกับสถานศึกษาที่มีชือ่ เสียงบรเิ วณใกลเคียง ตั้งอยูบริเวณใกลใจกลางเมืองสงขลาแหลงเศรษฐกิจ
26
สรางรายไดท ่ีหลากหลายมสี ภาพแวดลอมที่ดีสามารถมองเห็นทวิ ทศั นทะเลสองดาน คือ ทะเลอา วไทย ทะเลสาบ
สงขลา สะพานเปรมฯ เกาะยอ เปน ตนสะดวกในการคมนาคม การติดตอ สื่อสารท่ีมขี อมลู เทคโนโลยีสารสนเทศ
ดาน Internet ที่ทันสมัย และเพียงพอตอการเรยี นรู มีแหลงเรียนรูเอื้อตอการจัดกิจกรรมการเรยี นรู เชน แหลง
เรียนรูทางธรรมชาติ โบราณสถาน โบราณวัตถุ ภูมิปญญาทองถิ่นและวัฒนธรรมทีห่ ลากหลาย นอกจากน้ียงั ไดร บั
การสนับสนุนจากองคกรตาง ๆ ทั้งองคกรศาสนา มหาวิทยาลัย คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
คณะกรรมการชมรมผูปกครองเครือขาย มูลนิธิพลเอกเปรม ติณสูลานนท ฯลฯ ในการสงเสริม สนับสนุนและ
พัฒนาผเู รียนใหเกดิ การเรยี นรูอยา งหลากหลายเต็มตามศกั ยภาพ
ขอ จำกดั
โรงเรียนเทศบาล๕ (วัดหัวปอมนอก) ตั้งอยูบนพื้นที่จำกัดไมสามารถขยายและปรับปรุงพื้นที่ไดมากนัก
การเมืองในทองถิ่นเขามามีบทบาทในการบริหารจัดการศึกษา ผูปกครองสวนใหญมีรายไดนอยและไมแนนอน
ประกอบกับสภาพแวดลอมที่พอแมหยาราง แยกกันอยู นักเรียนอยูในความดูแลของตา ยาย ญาติพี่นองจึงมี
ภาวะเสี่ยงตอการใชสื่อเทคโนโลยีในดานลบ ทั้งสื่ออนาจาร เกมส พฤติกรรมเลียนแบบที่ไมเหมาะสม และ
ผปู กครองบางสว นใหญยงั ยดึ ตดิ กับคา นิยมในการเลือกสถาบันการศึกษาตอของบุตร จงึ เลอื กโรงเรียนใกลเคียงท่ีมี
ความพรอมและมีชื่อเสียงเปนที่นิยมของผูปกครองในโรงเรียนระดับจงั หวัดที่มชี ื่อเสียงมาชานาน และการขาด
ความรวมมอื กับโรงเรียนในระดบั มธั ยมศกึ ษาตา งสงั กัดในพนื้ ทเ่ี ดยี วกัน
27
9. โครงสรา งหลกั สตู รสถานศกึ ษา
โรงเรียนเทศบาล ๕ (วัดหัวปอ มนอก)จัดสอนตามหลักสูตรสถานศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ข้นั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ โดยโรงเรียนไดจ ัดสัดสว นสาระการเรียนรูและเวลาเรียน ดังแสดงในตารางดังนี้
9.๑ ระดับมัธยมศกึ ษา
- ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน (หองเรียนปกติ)
กลมุ สาระการเรียนร/ู ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท่ี ๑ เวลาเรียน ช้นั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๓
กจิ กรรม ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ี่ ๒
๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)
กลมุ สาระการเรียนรู ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)
๑. ภาษาไทย ๑6๐ (4.0 นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑6๐ (4.0 นก.)
๒. คณติ ศาสตร ๑6๐ (4.0 นก.)
๓. วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)
๔. สังคมศกึ ษา ฯ ๔๐ (๑ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๔๐ (๑ นก.)
๘๐ (๒ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๘๐ (๒ นก.)
- สงั คมศกึ ษา ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.)
- ประวตั ศิ าสตร 4๐ (1 นก.) ๘๐ (๒ นก.) 4๐ (1 นก.)
๑๒๐ (๓ นก.) 4๐ (1 นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)
๕. สขุ ศึกษา และพลศึกษา 880 (๒2 นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) 880 (๒2 นก.)
๖. ศลิ ปะ 880 (๒2 นก.)
๗. การงานอาชีพ 40 (1 นก.) 40 (1 นก.)
๘. ภาษาตางประเทศ 80 (2 นก.) 40 (1 นก.) 80 (2 นก.)
รวมเวลาเรียน (พ้ืนฐาน) 160 (4 นก.) 80 (2 นก.) 160 (4 นก.)
รายวชิ าเพิ่มเติม 40 (1 นก.) 160 (4 นก.) 40 (1 นก.)
32๐ (8 นก.) 40 (1 นก.) 32๐ (8 นก.)
๑. หนา ทีพ่ ลเมอื ง 32๐ (8 นก.)
๒. คณติ ศาสตร 40 40
๓. เลือกเสรี 40
40 40
4. คอมพิวเตอร 40 40 40
รวมเวลาเรยี น (เพมิ่ เตมิ ) 40
กจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น 15 15
กิจกรรมแนะแนว 135 15 135
กิจกรรมนักเรยี น ๑,335 135 ๑,335
๑,335
1. กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี
2. กจิ กรรมชมุ นมุ
กจิ กรรมเพือ่ สังคม และ
สาธารณะประโยชน
รวมเวลากจิ กรรมพัฒนาผเู รียน
รวมเวลาเรยี นทง้ั หมด
28
- ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน (โครงการเสริมสรางศักยภาพดานวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร)
กลุมสาระการเรียนรู/ ช้ันมัธยมศกึ ษาปท ่ี ๑ เวลาเรียน ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที่ ๓
กจิ กรรม ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท่ี ๒
๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)
กลุมสาระการเรยี นรู ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)
๑. ภาษาไทย ๑6๐ (4.0 นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑6๐ (4.0 นก.)
๒. คณิตศาสตร ๑6๐ (4.0 นก.)
๓. วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)
๔. สงั คมศึกษา ฯ ๔๐ (๑ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๔๐ (๑ นก.)
๘๐ (๒ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๘๐ (๒ นก.)
- สงั คมศึกษา ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.)
4๐ (1 นก.) ๘๐ (๒ นก.) 4๐ (1 นก.)
- ประวัติศาสตร ๑๒๐ (๓ นก.) 4๐ (1 นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)
880 (๒2 นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) 880 (๒2 นก.)
๕. สุขศึกษา และพลศึกษา 880 (๒2 นก.)
40 (1 นก.) 40 1 นก.)
๖. ศลิ ปะ 120 (3 นก.) 40 (1 นก.) 120 (3 นก.)
120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.)
๗. การงานอาชพี 40 (1 นก.) 120 (3 นก.) 40 (1 นก.)
๘. ภาษาตา งประเทศ ๓2๐ (8 นก.) 40 (1 นก.) ๓2๐ (8 นก.)
รวมเวลาเรยี น (พ้นื ฐาน) ๓2๐ (8 นก.)
40 40
รายวชิ าเพม่ิ เติม 40
1. หนา ท่พี ลเมือง 40 40
2. วิทยาศาสตร 40 40 40
3. คณติ ศาสตร 15 40 15
4. คอมพิวเตอร 135 15 135
รวมเวลาเรยี น (เพิม่ เติม) ๑,335 135 ๑,335
กิจกรรมพัฒนาผเู รียน ๑,335
กิจกรรมแนะแนว
กจิ กรรมนักเรยี น
1. กจิ กรรมลูกเสือ เนตรนารี
2. กจิ กรรมชุมนุม
กจิ กรรมเพ่ือสงั คม ฯ
รวมเวลากจิ กรรมพัฒนาผูเรยี น
รวมเวลาเรยี นทง้ั หมด
29
- ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน (โครงการเสริมสรางศกั ยภาพดา นภาษาจนี )
กลมุ สาระการเรยี นร/ู เวลาเรียน
กจิ กรรม ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ี่ ๑ ช้นั มัธยมศกึ ษาปท ี่ ๒ ชนั้ มัธยมศึกษาปท่ี ๓
กลมุ สาระการเรยี นรู ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)
๑. ภาษาไทย ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)
๒. คณติ ศาสตร ๑6๐ (4.0 นก.) ๑6๐ (4.0 นก.) ๑6๐ (4.0 นก.)
๓. วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
๔. สงั คมศกึ ษา ฯ ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)
๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.)
- สงั คมศกึ ษา ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.)
๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.)
- ประวตั ิศาสตร 4๐ (1 นก.) 4๐ (1 นก.) 4๐ (1 นก.)
๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)
๕. สขุ ศกึ ษา และพลศึกษา 880 (๒2 นก.) 880 (๒2 นก.) 880 (๒2 นก.)
๖. ศลิ ปะ 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.)
160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 160 (4 นก.)
๗. การงานอาชีพ ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.)
๘. ภาษาตางประเทศ 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.)
รวมเวลาเรยี น (พน้ื ฐาน) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.)
รายวิชาเพิม่ เติม 400 (10 นก.) 400 (10 นก.) 400 (10 นก.)
๑. หนา ท่ีพลเมอื ง 40 40 40
๒. ภาษาจนี
๓. ภาษาอังกฤษ 40 40 40
๔. คณติ ศาสตร 40 40 40
5. คอมพวิ เตอร 15 15 15
รวมเวลาเรยี น (เพิม่ เตมิ ) 135 135 135
กิจกรรมพฒั นาผเู รยี น ๑,415 ๑,415 ๑,415
กิจกรรมแนะแนว
กจิ กรรมนกั เรยี น
1. กจิ กรรมลกู เสือ เนตรนารี
2. กจิ กรรมชุมนมุ
กจิ กรรมเพ่ือสังคม ฯ
รวมเวลากิจกรรมพัฒนาผเู รียน
รวมเวลาเรียนทงั้ หมด