๗๖
ประเดน็ ผลการประเมนิ
๖) ความรู้ ทกั ษะพื้นฐาน ร้อยละของผ้เู รียนท่ีมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติท่ดี ี
และเจตคติท่ดี ีต่องานอาชพี พร้อมทีจ่ ะศึกษาต่อในระดับชนั้ ทส่ี ูงข้นึ
(ม.1 – ม.6)
จากกราฟขา้ งตน้ รอ้ ยละของผเู้ รยี นทมี่ คี วามรู้ ทกั ษะพ้ืนฐาน และเจตคตทิ ี่ดี พรอ้ มท่ี
จะศึกษาต่อในระดบั ช้ันที่สูงขึน้ เปน็ ดงั นี้
- ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี ๑ เฉลย่ี ร้อยละ 100*
- ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ ๒ เฉลย่ี ร้อยละ 100*
- ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ เฉลยี่ ร้อยละ 100*
- ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ ๔ เฉลยี่ รอ้ ยละ ๑๐๐*
- ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี ๕ เฉลย่ี รอ้ ยละ ๑๐๐*
- ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๖ เฉลยี่ ร้อยละ 100*
* ข้อมูล ณ 9 เมษายน 2564
๗๗
ประเดน็ ผลการประเมิน
๖) ความรู้ ทกั ษะพ้ืนฐาน ร้อยละของผเู้ รยี นท่ีมคี วามรู้ ทกั ษะพ้ืนฐาน และเจตคติที่ดี
และเจตคติท่ดี ตี ่องานอาชีพ พร้อมในการทำงานหรืองานอาชีพ (ม.3 , ม.6)
จากกราฟขา้ งตน้ รอ้ ยละของผเู้ รียนทม่ี ีความรู้ ทกั ษะพ้ืนฐาน และเจตคตทิ ี่ดี พร้อมใน
การทำงานหรอื งานอาชีพ เปน็ ดงั นี้
ระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓
- ศกึ ษาตอ่ ในสายสามญั เฉล่ียรอ้ ยละ 50.42
- ศึกษาต่อในสายอาชพี เฉลี่ยรอ้ ยละ 48.44
- ไมศ่ ึกษาต่อ เฉลีย่ รอ้ ยละ 1.14
ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ ๖
- ศกึ ษาตอ่ ในระดบั ปรญิ ญาตรี เฉล่ียร้อยละ 57.74
- รอผลการประกาศ เฉล่ียรอ้ ยละ 42.26
* ขอ้ มลู 2 มิถุนายน 2564
ความรู้ ทกั ษะพืน้ ฐาน และเจตคติทด่ี ตี ่องานอาชีพ พบวา่ ผเู้ รียนเฉลยี่ รอ้ ยละ 100 มีความพร้อมที่จะ
ศกึ ษาต่อในระดับชน้ั ท่ีสูงข้ึน และผู้เรยี นระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ และระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๖ มีความพรอ้ มใน
การทำงานหรืองานอาชพี เฉล่ียรอ้ ยละ 100
๗๘
1.2 คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ของผู้เรียน
ประเด็น ผลการประเมนิ
๑) คุณลักษณะและค่านิยมท่ี ร้อยละของผเู้ รยี นที่มผี ลการประเมินคุณลกั ษณะและค่านิยมทดี่ ี
ดตี ามทีส่ ถานศกึ ษากำหนด (ม.1 – ม.6)
จากกราฟขา้ งต้น ร้อยละของผู้เรียนทมี่ ผี ลการประเมินคุณลกั ษณะและ
คา่ นิยมที่ดี เปน็ ดังนี้
- รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ เฉลีย่ รอ้ ยละ 99.27
- ซ่อื สตั ย์ สุจริต เฉล่ียรอ้ ยละ 98.27
- มวี ินยั เฉลยี่ รอ้ ยละ 94.32
- ใฝเ่ รียนรู้ เฉลีย่ ร้อยละ 95.56
- อยู่อยา่ งพอเพยี ง เฉลย่ี รอ้ ยละ 95.41
- รกั ความเป็นไทย เฉลีย่ รอ้ ยละ 98.69
- มุง่ มั่นในการทำงาน เฉลี่ยร้อยละ 94.50
- มีจิตสาธารณะ เฉลี่ยร้อยละ 98.56
- ปฏิบัตติ ามกฎระเบียบของโรงเรยี น เฉลย่ี รอ้ ยละ 94.84
การมคี ุณลักษณะและค่านิยมทดี่ ี พบวา่ ผู้เรียนอยู่ในระดบั ดีข้ึนไป มีค่าเฉล่ยี ร้อยละ 96.60
๗๙
ประเดน็ ผลการประเมนิ
๒) ภาคภมู ใิ จในท้องถ่ินและ ร้อยละของผู้เรียนที่มผี ลการประเมนิ ความภูมิใจในท้องถ่นิ และความเป็นไทย
ความเปน็ ไทย (ม.1 – ม.6)
จากกราฟข้างตน้ ร้อยละของผู้เรียนทมี่ ีผลการประเมนิ ความภูมิใจในทอ้ งถิ่น
และความเป็นไทย เปน็ ดังน้ี
ด้านรกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
- ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ เฉลี่ยร้อยละ 99.58
- ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๒ เฉล่ยี ร้อยละ 99.36
- ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ เฉลี่ยร้อยละ 99.02
- ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๔ เฉลี่ยรอ้ ยละ 97.98
- ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๕ เฉลย่ี รอ้ ยละ 100
- ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๖ เฉลี่ยร้อยละ 99.65
ด้านรักความเป็นไทย
- ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ เฉล่ียรอ้ ยละ 99.30
- ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๒ เฉลี่ยรอ้ ยละ 99.36
- ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ เฉลย่ี ร้อยละ 98.46
- ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๔ เฉลย่ี ร้อยละ 96.62
- ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๕ เฉล่ียรอ้ ยละ 100
- ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๖ เฉล่ียร้อยละ 97.21
ประกอบกบั การเขา้ ร่วมโครงการทส่ี ถานศกึ ษาจดั ให้ ดงั นี้
- โครงการสืบสานบญุ ประเพณีก่อตง้ั โรงเรยี น
- โครงการกตญั ญตุ าบูชาครู
- โครงการแหลงใตไ้ หวส้ วย
- โครงการวันสำคญั ทางพระพทุ ธศาสนาและสืบสานประเพณไี ทย
- โครงการวิถพี ุทธ วิถธี รรม นอ้ มจติ นำพทุ ธองค์
- โครงการอบรมคุณธรรม จรยิ ธรรมนกั เรยี นชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี ๑-๖
- โครงการดนตรไี ทยเพอื่ ชุมชน
- โครงการเทิดทูนสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์
ความภาคภูมิใจในท้องถ่ินและความเปน็ ไทย พบวา่ ผูเ้ รยี นมคี ุณลักษณะที่พึงประสงค์ร้อยละ 98.98
๘๐
ประเดน็ ผลการประเมนิ
๓) ยอมรับท่ีจะอยู่ร่วมกนั
ผู้เรียนมีการเขา้ ร่วมโครงการทส่ี ่งเสริมการอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและ
บนความแตกตา่ งและ หลากหลาย ดังน้ี
หลากหลาย
- อบรมคุณธรรมจริยธรรมนักเรียนช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 1 – 6
- ค่ายพกั แรมลูกเสือ – เนตรนารสี ามญั รนุ่ ใหญ่ ชั้น ม.1
- ค่ายพักแรมลูกเสือ – เนตรนารสี ามญั รนุ่ ใหญ่ ชน้ั ม.3
- โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพสภานกั เรยี น
- โครงการส่งเสริมประชาธปิ ไตย
- ผลสมั ฤทธิ์วชิ าหน้าที่พลเมือง ม.1 - ม.6
การยอมรบั ที่จะอยู่รว่ มกันบนความแตกต่างและหลากหลาย พบว่า ผูเ้ รยี นร้อยละ ๙4.48 สามารถอยู่
รว่ มกนั ในสถานศึกษาและชุมชนบนความแตกต่างและหลากหลาย
ประเดน็ ผลการประเมนิ
4) สขุ ภาวะทางรา่ งกาย รอ้ ยละของผเู้ รยี นที่มีผลการประเมนิ สขุ ภาวะทางร่างกายตามเกณฑ์มาตรฐาน
และจติ สังคม (ม.1 – ม.6)
จากกราฟข้างต้น ร้อยละของผเู้ รยี นทมี่ ีผลการประเมินสุขภาวะทางรา่ งกายตามเกณฑ์
มาตรฐาน เปน็ ดงั นี้
- ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ เฉลยี่ ร้อยละ 63.80
- ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๒ เฉลยี่ รอ้ ยละ 62.03
- ระดับช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ ๓ เฉลย่ี ร้อยละ 47.50
- ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๔ เฉลยี่ ร้อยละ 60.65
- ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ ๕ เฉลยี่ รอ้ ยละ 63.47
- ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๖ เฉลี่ยร้อยละ 64.55
๘๑
ประเด็น ผลการประเมิน
4) สุขภาวะทางรา่ งกาย รอ้ ยละของผู้เรยี นท่ีมผี ลการประเมนิ สุขภาวะทางจติ สังคม
และจติ สังคม ตามเกณฑท์ ่ีสถานศึกษากำหนด
(ม.1 – ม.6)
จากกราฟขา้ งต้น ร้อยละของผเู้ รียนทมี่ ีผลการประเมินสขุ ภาวะทางจติ สงั คมตาม
เกณฑ์ทสี่ ถานศึกษากำหนด เปน็ ดงั นี้
- ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ เฉลย่ี รอ้ ยละ ๑๐๐
- ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๒ เฉลยี่ รอ้ ยละ ๑๐๐
- ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ ๓ เฉลย่ี ร้อยละ ๑๐๐
- ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๔ เฉลย่ี ร้อยละ ๑๐๐
- ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๕ เฉลย่ี ร้อยละ ๑๐๐
- ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๖ เฉลยี่ รอ้ ยละ ๑๐๐
สขุ ภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม พบว่า ผ้เู รียนเฉล่ียรอ้ ยละ 60.33 มีสุขภาวะทางร่างกายตามเกณฑ์
มาตรฐาน และผูเ้ รียนเฉลยี่ ร้อยละ ๑๐๐ มสี ุขภาวะทางจติ สังคมตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด
๘๒
ข้อมูล หลกั ฐาน เอกสารเชงิ ประจกั ษ์ทส่ี นบั สนุนผลการประเมินตนเอง
- แบบรายงานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย วิชาคณิตศาสตร์ และวิชาภาษาอังกฤษ ของผู้เรียน
ระดับมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 – 6
- แบบสรุปผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ด้านการอ่าน การเขียนส่ือสาร และด้านการคิด
วิเคราะห์ ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 – 6
- แบบรายงานผลการดำเนินกิจกรรมพัฒนาวิชาชีพแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพครู (PLC) ใน
รายวิชาตา่ ง ๆ ทกุ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้
- แบบสรุปผลการประเมนิ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนดา้ นการคิดวิเคราะห์ ระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 – 6
- แบบรายงานการพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียนรายบุคคล (ปพ.5)
1.วิชาการอา่ นภาษาองั กฤษเชิงวิเคราะห์ ระดบั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6
2. วชิ าการงานอาชีพ 2 ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 4 (จัดการเรียนรู้ในรูปแบบโครงงาน)
3. วิชาการงานอาชีพ 6 ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 (จัดการเรียนรู้ในรูปแบบโครงงาน)
4. วชิ าท่เี กย่ี วขอ้ งกับการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 – 6
5. วิชาเรียนและชุมนมุ ท่ีเก่ยี วข้องกบั กลุ่มสาระการงานอาชีพ ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 – 6
- ผลการประกวดโครงงานวทิ ยศาสตร์
- ผลงานนักเรียนเกยี่ วกบั การเรียนร้แู บบโครงงาน/งานกลุ่ม
- โปสเตอรแ์ ละหนังสือแจ้งผลการประกวดโครงงานวทิ ยาศาสตร์
- ภาพประกอบการประกวด Clip VDO ร้อง เล่น เตน้ เพลง “พหี่ ัวดี”
- ภาพประกอบการประกวด Clip VDO “ของดบี า้ นฉัน”
- ภาพประกอบการประวด โครงการอจั ฉริยะยวุ ชนประกนั ภยั
- ภาพประกอบการออกแบบชิน้ งานดว้ ยคอมพวิ เตอร์ของนกั เรียน
- ภาพประกอบการจดั การเรยี นรู้ด้วยโปรแกรม Google Classroom
- แบบรายงานการใช้บรกิ ารยืม – สง่ คนื หนงั สอื หอ้ งสมุดผ่านระบบสารสนเทศ
- แบบรายงานสถิติการเข้ารบั บริการห้องสมดุ ของผู้เรยี น
- ตารางการเรียนและใชบ้ ริการห้องคอมพวิ เตอรข์ องผเู้ รยี น
- ขอ้ มูลการเขา้ ใชโ้ ปรแกรม EZY School ของผเู้ รียน
- ภาพประกอบการใช้บรกิ ารห้องคอมพิวเตอรใ์ นการสอบ Per O - NET ของผู้เรยี น
- ภาพประกอบการใช้บริการห้องคอมพิวเตอร์ของผู้เรียนในการเลือกชุมนุมและการสืบค้นข้อมูลทาง
Internet หลงั เลกิ เรยี น (15.30 – 17.30 น.)
- ภาพประกอบการจัดการเรยี นรู้ดว้ ยโปรแกรม Google Classroom
- ภาพประกอบการออกแบบชิน้ งานดว้ ยคอมพิวเตอร์ของนักเรยี น
- แบบรายงานผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในรายวิชาพ้ืนฐานทุกวิชาทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ของผู้เรียน
ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 – 6
- รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขนั้ พื้นฐาน (O – NET) ของผู้เรียน ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 6
- แบบสรุปจำนวนของผู้เรยี นท่ีจบการศกึ ษา ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 และ 6
- แบบรายงานขอ้ มูลการศกึ ษาตอ่ ของผู้เรยี น ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 3 และ 6
- ภาพประกอบการแนะแนวการศกึ ษาต่อของผูเ้ รียน ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 และ 6
- แผนการสอนและเอกสารประกอบการสอนรายวชิ ากิจกรรมแนะแนว ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 – 6
๘๓
- ตัวอยา่ งชิน้ งาน ใบงาน ของผูเ้ รียน
- คู่มอื นกั เรยี นและผ้ปู กครองโรงเรียนเทศบาล 5 (วดั หวั ป้อมนอก)
- บนั ทกึ การประชุมกิจกรรมการอบรมจรยิ ธรรมนกั เรยี นประจำสปั ดาห์
- บันทกึ ปฏบิ ัตหิ น้าท่ีเวรสวสั ดกิ ารประจำสปั ดาห์
- บันทกึ อบรมประจำวนั
- สมุดลงรายการของหายได้คนื
- แบบบันทึกสมดุ กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์
- ภาพกิจกรรมตามคณุ ลักษณะและค่านยิ มทด่ี ี รักชาติ ศาสนา กษตั ริย์ ซือ้ สตั ย์ สจุ รติ
- ภาพประกอบโครงการสืบสานบุญประเพณกี อ่ ต้ังโรงเรียน
- ภาพประกอบโครงการกตญั ญุตาบชู าครู
- ภาพประกอบโครงการแหลงใต้ ไหวส้ วย แตง่ กายดว้ ยผ้าไทย
- ภาพประกอบโครงการวนั สำคัญทางพระพทุ ธศาสนาและสืบสนประเพณีไทย
- ภาพประกอบโครงการวิถีพทุ ธ วถิ ีธรรม น้อมจติ ฯ (หิ้วป่นิ โต)
- ภาพประกอบโครงการอบรมคณุ ธรรมจริยธรรมนักเรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1 – 6
- ภาพประกอบโครงการดนตรีไทยเพอื่ ชุมชน
- ภาพประกอบโครงการเทิดทูนสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์
- รายงานผลสัมฤทธ์ิวชิ าหนา้ ทพ่ี ลเมอื ง ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 – 6
- ภาพประกอบโครงการค่ายพักแรมลูกเสอื – เนตรนารีสามญั รุ่นใหญ่ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 – 3
- ภาพประกอบโครงการอบรมพฒั นาศักยภาพสภานักเรยี น
- ภาพประกอบโครงการส่งเสรมิ ประชาธปิ ไตย
- แบบบันทึกภาวะโภชนาการนักเรยี น
- สถิตการเข้ารับบรกิ ารงานอนามัยโรงเรยี น
- คลินิกเพือ่ นใจวยั รุน่
- แบบสำรวจความพึงพอใจผรู้ ับบรกิ ารสุขภาพ
- ขอ้ มูลการทดสอบสมรรถภาพรา่ งกายของนกั เรียน
- แบบประเมนิ สุขภาพจติ อารมณ์ สังคม (SDQ)
โครงการ/กจิ กรรมทีส่ นบั สนนุ ผลการประเมินตนเอง ได้แก่
1. โครงการรกั การอา่ นในสถานศกึ ษา
2. โครงการพัฒนาการใชภ้ าษาส่ปู ระชาคมอาเซียน Speech Contest
3. โครงการพฒั นาการใชภ้ าษาสปู่ ระชาคมอาเซียน English Quiz
4. โครงการการแขง่ ขนั ทกั ษะการใช้คอมพิวเตอร์ (MOS Camp 64)
5. โครงการพัฒนา/ปรบั ปรุงห้องสมดุ ปกี ารศกึ ษา 2563
6. โครงการเสริมความถนดั ทางวิชาชพี และวิชาการของผเู้ รยี น ระดับมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3
7. โครงการสืบสานบุญประเพณกี ่อต้ังโรงเรยี น
8. โครงการกตัญญตุ าบชู าครู
9. โครงการแหลงใต้ ไหวส้ วย แตง่ กายด้วยผา้ ไทย
10. โครงการวนั สำคัญทางพระพุทธศาสนาและสืบสานประเพณไี ทย
11. โครงการวถิ พี ทุ ธ วิถีธรรม นอ้ มจิตฯ (หิ้วปนิ่ โต)
12. โครงการอบรมคุณธรรมจริยธรรมนกั เรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 – 6
๘๔
13. โครงการดนตรไี ทยเพ่ือชุมชน
14. โครงการเทดิ ทูนสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
15. โครงการค่ายพกั แรมลกู เสือ – เนตรนารีสามัญร่นุ ใหญ่ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 – 3
16. โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพสภานักเรียน
17. โครงการส่งเสริมประชาธิปไตย
18. โครงการบริการสุขภาพ
19. โครงการพฒั นาศกั ยภาพ ฯ ดา้ นกฬี า – กรีฑา
20. โครงการรณรงคป์ ้องกนั ยาเสพตดิ ในสถานศกึ ษา
21. โครงการสานสมั พันธ์บา้ นโรงเรียน
22. โครงการสง่ เสริมพัฒนาระบบโภชนาการโดย อย.น้อย
จุดเดน่
สถานศึกษามีการวัดและประเมนิ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในรปู แบบของหน่วยการเรียนรู้ การสอบ
กลางภาคและสอบปลายภาค ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 – 6 ภาคเรียนละ 1 ครงั้ มกี ารประเมนิ สมรรถนะสำคัญของ
ผู้เรียน ด้านการอ่าน การเขียนสื่อสาร และด้านการคิดวิเคราะห์ ระดับมัธยมศึกษาปีท่ี 1 – 6 ภาคเรียนละ 1 ครั้ง
ผู้เรียนได้รับการเรียนรู้จากครูผู้สอนที่มีการดำเนินกิจกรรมพัฒนาวิชาชีพแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพครู
(PLC) ในรายวิชาต่าง ๆ ครบทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ มีการเรียนรู้แบบโครงงาน/งานกลุ่ม และเข้าร่วมการประกวด
โครงงานวทิ ยาศาสตร์ การสง่ เสริมให้มีการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ เพ่ือการศึกษาอย่างท่ัวถงึ ในระดับชั้นมัธยมศกึ ษา
ปีท่ี 1 – 6 ส่งผลการสร้างนวัตกรรมในรูปแบบชิ้นงานต่าง ๆ และ Clip VDO ส่งเข้าประกวดกับหน่วยงานในระดับ
จังหวัดและระดับประเทศ ผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ได้เข้าร่วมการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ัน
พื้นฐาน (O – NET) ครบทุกคน และได้เข้ารว่ มโครงการพัฒนาศักยภาพตนเองนอกเหนือจากการเข้าเรียนในชั้นเรียน
อยา่ งทวั่ ถงึ
จากการจัดการศึกษาตามกระบวนการการศึกษา รวมถึงโครงการ กิจกรรมต่าง ๆ ของสถานศึกษาทำให้
เกิดผลในด้านคุณภาพต่อผู้เรียน ซึ่งเป็นไปตามหลักสูตรสถานศึกษาตามเป้าหมายในทุก ๆ ด้าน อาทิ ผู้เรียนมี
คุณลักษณะและค่านิยมท่ีดี ผู้เรียนเกิดความภาคภูมิใจในตนเอง ภูมิใจในท้องถิ่น ภูมิใจในความเป็นไทย โดยอยู่ใน
พื้นฐานของความแตกต่างของตัวบุคคล ด้วยสุขภาพทางร่างกายและจิตสังคมท่ีดี เหมาะสมกับสภาวะเหตุการณ์
สถานการณใ์ นปจั จุบนั
จุดทีค่ วรพัฒนา
ผลสัมฤทธิ์ด้านการเรียนในรายวิชาภาษาอังกฤษและวิชาคณิตศาสตร์ของผู้เรียน ควรมีการพัฒนาอย่าง
ต่อเน่ือง ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O – NET) ของผู้เรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ควรมี
การพฒั นาอยา่ งต่อเนื่อง ส่งเสริมโครงการพัฒนาศกั ยภาพของผ้เู รยี นให้มีความหลากหลายเพม่ิ ขนึ้
ทั้งนี้สืบเนื่องจากสถานการณ์ของโรคระบาดโควิด – 19 ทำให้การจัดการศึกษาและกระบวนการศึกษา
รวมถึงโครงการ กิจกรรม บางอย่างไม่ได้ดำเนินการ ทำให้ผู้เรียนขาดโอกาสและไม่ได้สานต่อในบางส่ิงบางอย่าง
สถานศึกษารวมถึงคณะผู้บริหาร คุณครูผู้รับผิดชอบในการจัดกระบวนการศึกษา โครงการ กิจกรรมต่าง ๆ ต้องหา
แนวทางทเ่ี หมาะสมเพื่อจัดกระบวนการศึกษา โครงการ กิจกรรม เพือ่ ส่งเสริมให้ผเู้ รยี นอย่างเหมาะสม
๘๕
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ
ระดบั คุณภาพดีเลิศ
วธิ ดี ำเนนิ การ
โรงเรียนได้ดำเนินการวิเคราะห์สภาพปัญหา จากผลการจัดการศึกษาในปีท่ีผ่านมา ศึกษาข้อมูลสารสนเทศ
กำกับติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาตามนโยบายการปฎิรูปการศึกษา จัดประชุมระดมความคิดเห็นจาก
บุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษา ร่วมกันกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ กลยุทธ์ในการจัดการศึกษาของโรงเรียน
เทศบาล 5 (วัดหัวป้อมนอก) เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนภายใต้สถานการณ์โรคระบาดโควิด – 19 มีการปรับเปล่ียน
รูปแบบการประชุมเพื่อปรับแผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา 2563 ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการ
พัฒนา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษา โดยคำนงึ ถึงความปลอดภยั สูงสุดของนักเรยี นและบุคลากร ตามนโยบายของ
ภาครัฐ พร้อมทั้งจัดหาทรัพยากร จัดสรรงบประมาณ มอบหมายงานให้ผู้รับผิดชอบ คำส่ังปฏิบัติงานที่เหมาะสม
ชัดเจน ประกอบปฏิทินปฏิบัติงาน เพื่อดำเนินการพัฒนาตามแผนงานให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดใช้ มีการนิเทศ
กำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานและสรุปผลการดำเนินงานโดยคณะกรรมการกำกับ ติดตาม และ
ประเมินผลการนำแผนพฒั นาการศกึ ษาไปสู่การปฏิบตั ิปีการศึกษาละ 2 ครัง้
ผลการดำเนินการ
ในด้านกระบวนการบริหารและการจดั การมีผลการดำเนินงานจากการประเมิน ดังนี้
๑. สถานศึกษากำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจ สอดคล้องกับสภาพปัญหาความต้องการของ
สถานศึกษา ความต้องการของชมุ ชนท้องถนิ่ และสอดคล้องกบั แนวทางการปฏิรูปตามแผนการศึกษาชาติ
2. สถานศึกษามีแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา 2563 สอดคล้อง
กับการพัฒนาผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมาย มีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญตาม
มาตรฐานตำแหน่ง ภายใต้ข้อจำกัดของสถานการณ์โรคระบาดโควิด – 19 ข้อมูลสารสนเทศมีความถูกต้องครบถ้วน
ทันสมัย ไปประยุกต์ใช้ได้ ดำเนินการอย่างเป็นระบบ มีกิจกรรมจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่กระตุ้นให้
ผ้เู รียนใฝ่เรยี นรู้ตอบสนองวสิ ัยทศั น์ “เป็นสงั คมแห่งการเรียนรทู้ ี่มคี ุณภาพคู่คณุ ธรรม”
3. สถานศึกษามีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา
2563 ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการพัฒนาของชุมชนท้องถ่ิน วัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาชาติ
นโยบายของรัฐบาล และนโยบายของต้นสังกัด โดยผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสีย มีส่วนร่วมในการพัฒนาและร่วมรบั ผิดชอบ ยึด
หลักธรรมาภบิ าลและแนวคิดตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
4. สถานศึกษามีการนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษาตาม
แผนพัฒนาการศกึ ษาท่ีเหมาะสมเป็นระบบและตอ่ เน่ือง เปดิ โอกาสใหผ้ ้เู ก่ยี วข้องมสี ว่ นรว่ มในการจดั การศกึ ษา
5. สถานศึกษามีการระดมทรัพยากรเพ่ือการพิจารณาคุณภาพการศึกษาจากเครือข่ายส่งผลให้
สถานศกึ ษามีสื่อและแหล่งเรยี นรู้ท่ีมคี ณุ ภาพ
ข้อมลู หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ทสี่ นับสนุนผลการประเมนิ ตนเอง
- แผนการพัฒนาการศึกษา พ.ศ. 2561 – พ.ศ. 2565
- แผนการปฏบิ ตั ิการประจำปีการศกึ ษา 2563, ทะเบียนโครงการ, ปฏิทนิ ปฏิบัตงิ าน
- แผนการปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 , ทะเบียนโครงการ, ปฏิทินปฏิบัติงาน
- แผนปฏบิ ัติงานประจำปกี ารศึกษา พ.ศ. 2564 , ทะเบยี นโครงการ, ปฏิทนิ ปฏิบตั งิ าน
- หลกั สตู รสถานศึกษา
- แผนการจัดการเรียนร้/ู กิจกรรมการเรียนรู้
๘๖
- คำสงั่ คณะกรรมการบริหารงาน
- คำสง่ั คณะกรรมการติดตามและประเมินผลการนำแผนพัฒนาการศกึ ษาปีการศึกษา 2563
ไปสกู่ ารปฏิบัติ
- ประกาศการใช้แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีการศกึ ษา 2563
- ประกาศการใช้แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
- นโยบายเทศบาลนครสงขลา
- ผลการจดั การศกึ ษา ประจำปีการศกึ ษา 2563
- ขอ้ มลู สภาพชมุ ชน
- ข้อมลู คดั กรองนักเรียน (SDQ)
- ขอ้ มูลการนิเทศภายใน
- ความพึงพอใจต่อการบรหิ ารงาน
- ทะเบียนการเขา้ รับการอบรมพัฒนาครู
- ข้อมลู การดำเนินการกระบวนการชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ทางวชิ าชีพ (PLC)
- ทะเบยี นแหล่งเรยี นรู้ภายในโรงเรยี นและภายนอกโรงเรยี น
- ขอ้ มูลการใช้อาคารสถานท่ี
- ความพึงพอใจต่อการใช้อาคารสถานท่ขี องผ้ปู กครอง ชุมชน
- ขอ้ มลู จุดติดตัง้ กลอ้ งวงจรปดิ
- ขอ้ มูลจุดตดิ ต้ังเครือข่ายอนิ เตอรเ์ น็ต ผังจดุ เชื่อมโยงระบบ
- ทะเบยี นครุภัณฑ์
- ทะเบยี นสอื่ เทคโนโลยี
- ขอ้ มลู ระบบ MIS SCHOOL
โครงการ/กจิ กรรมท่ีสนบั สนุนผลการประเมนิ ตนเอง ได้แก่
1. โครงการพฒั นาคุณภาพการศึกษาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563
2. โครงการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผเู้ รียน ประจำปีการศึกษา 2563
3. โครงการปรบั ปรงุ หลักสตู รสถานศกึ ษา
4. โครงการนเิ ทศภายในสถานศึกษา
5. โครงการบรหิ ารจดั การสถานศึกษา
6. โครงการบำรุงรักษาซ่อมแซมทรพั ย์สิน
7. โครงการครภุ ณั ฑ์เพ่ือการศึกษา
8. โครงการจดั ซ้ือครภุ ัณฑ์ดนตรีไทย
9. โครงการจัดซ้ือครภุ ัณฑ์ดนตรีวงปีส่ กอ๊ ต
10. โครงการเงนิ อดุ หนุนทัว่ ไปของกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถน่ิ ค่าหนังสือเรียน
11. โครงการเงนิ อุดหนนุ ท่ัวไปของกรมส่งเสรมิ การปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน ค่าอปุ กรณ์การเรยี น
12. โครงการเงินอุดหนุนทว่ั ไปของกรมสง่ เสรมิ การปกครองส่วนท้องถิ่น ค่าปจั จยั พื้นฐาน
13. โครงการเงินอดุ หนุนท่วั ไปของกรมสง่ เสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น ค่าเคร่ืองแบบนักเรยี น
14. โครงการสานสัมพนั ธ์บ้านโรงเรียน
15. โครงการคัดกรองนักเรียน
16. โครงการพฒั นาข้าราชการครู
๘๗
17. โครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการจัดการเรยี นการสอน
18. โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์
19. โครงการปรับปรุงระบบจำหน่ายไฟฟ้า
20. โครงการปรบั ปรุงซอ่ มแซมอาคารเรียน
21. โครงการสถานศึกษาน่าอยู่น่าเรียน
22. โครงการจ้างเหมากำจัดปลวก
23. โครงการต่อเติมหลงั คาทางเชือ่ มอาคารเรยี น
24. โครงการตดิ ต้ังกระจกบานเลื่อนสชี าหอ้ งเรยี นวิทยาศาสตร์
25. โครงการประชาสัมพันธ์โรงเรียน
26. โครงการส่งเสริมและพฒั นาการเรียนคอมพวิ เตอร์
27. โครงการพฒั นาเวบ็ ไซตโ์ รงเรียน
28. โครงการพฒั นาระบบ Wi-Fi โรงเรียน
29. โครงการประชุมเชิงปฏิบัตกิ ารระบบสารสนเทศ
30. โครงการพัฒนาศักยภาพนักเรียน ด้านกฬี า – กรีฑา
31. โครงการพฒั นาศักยภาพนักเรียน ดา้ นห่นุ ยนต์
32. โครงการพฒั นาศักยภาพนักเรยี น ด้านวงดนตรีสากล
33. โครงการแขง่ ขนั ทกั ษะการใช้คอมพวิ เตอร์
34. โครงการพัฒนาศักยภาพนักเรยี น ด้านภาษาอังกฤษ
35. โครงการพฒั นาการใชภ้ าษาสูป่ ระชาคมอาเซยี น
36. โครงการเสริมความถนัดทางวชิ าชีพของนักเรยี นชนั้ ม.3
37. โครงการเสรมิ ความถนัดทางวิชาชพี และวชิ าการของนักเรียนชน้ั ม.ปลาย
จุดเด่น
สถานศึกษามีระบบบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ ภายใต้สถานการณ์โรคระบาดโควิด – 19 โดย
ดำเนนิ งานจากการประชุมที่หลากหลายเพ่ือการบริหารจัดการ ได้แก่ การประชมุ กลุ่มสาระ การประชมุ ภายในสายชั้น
การประชุมหัวหน้างาน โดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วมและให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในการกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ
เป้าหมายท่ีชัดเจนมีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี ที่สอดคล้องกับผลการจัด
การศึกษา สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน ท้องถ่ิน และนโยบายของต้นสังกัด ท่ีมุ่งให้ผู้เรียนมีคุณภาพตาม
มาตรฐานการเรียนรู้ ตามหลักสูตรสถานศึกษา ครูผู้สอนสามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการ
ดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน จัดทำรายงานผลการจัดการศึกษา ใช้
กระบวนการวิจยั ในการรวบรวมข้อมูล เพือ่ ใช้เป็นฐานในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
จดุ ท่ีควรพัฒนา
สนบั สนุนส่งเสริมให้ครู บุคลากร ไดร้ บั การอบรมพฒั นาให้มีความเชย่ี วชาญและความกา้ วหนา้ ทางวิชาชพี
โดยเป็นในลกั ษณะการอบรมออนไลน์ตามสถานการณ์ปจั จุบันและสร้างเครือขา่ ยความร่วมมอื ของผู้มสี ่วนเกย่ี วข้องใน
การจัดการศกึ ษาของโรงเรยี นให้มีความเข้มแข็ง เชน่ สถาบันทางการศกึ ษาท่จี ดั โครงการอบรมพฒั นาครู บุคลากร
๘๘
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ
ระดบั คณุ ภาพดเี ลิศ
วธิ ดี ำเนินการ
สถานศึกษาส่งเสริมและพัฒนาให้ครูจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยมีการดำเนินงาน
ตามโครงการและกิจกรรมที่หลากหลาย เช่น งานวิชาการ มีการประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อประเมิน และปรับปรุง
หลกั สูตรสถานศึกษา เพอ่ื ให้มีความเหมาะสม และสอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรียนรู้ และศักยภาพของผเู้ รียน
สง่ เสรมิ ใหค้ รจู ัดการเรียนรู้เน้นการปฏบิ ัติ Active learning ให้ผเู้ รยี นได้เกิดกระบวนการคดิ ได้ลงมือปฏบิ ตั ิ
จรงิ เพือ่ นำไปสู่การเรียนรูต้ ลอดชวี ติ อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ตามวตั ถปุ ระสงค์ของหลักสตู รสถานศึกษา
ครูศึกษาข้อมูลของผู้เรียนเป็นรายบุคคล ดำเนินการตรวจสอบ และประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ เพื่อนำ
ข้อมูลที่ได้มาส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพต่อไป ครูมีการแลกเปล่ียนเรียนรู้นำผลท่ีได้มาปรับปรุง
กระบวนการจัดการเรียนรู้ มีการวางแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีสามารถนำไปใช้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้จริง ครูใช้สื่อ
เทคโนโลยี และแหล่งการเรียนรู้ เพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพในกระบวนการจัดการเรียนรู้ มีการบริหารช้ันเรียนเชิงบวก
ทำให้เดก็ รักและสนใจท่จี ะเรยี นรู้ และเรยี นรรู้ ่วมกันอย่างมีความสขุ ครูรว่ มแลกเปล่ียนเรียนรู้ และนำขอ้ มูลด้านต่างๆ
มารว่ มปรบั ปรุง แก้ไข และพฒั นาเกย่ี วกับการบริหารการจดั การเรียนรู้
สนับสนุนให้ครูได้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเปิดโอกาสให้ผู้เรียนทุกคนมีส่วนร่วม ได้ลงมือปฏิบัติจริง ศึกษา
ค้นคว้า หาความรไู้ ดด้ ้วยตนเอง จัดกระบวนการเรียนรู้ทเ่ี น้นทกั ษะการคดิ เชน่ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงาน
การเรียนรู้ด้วยกระบวนการกลมุ่ คดิ สรา้ งสรรคผ์ ลงานด้านศิลปะ ดนตรี นาฎศลิ ป์
ครมู ีการมอบหมายหน้าท่ีให้ผู้เรียนจัดป้ายนิเทศ จัดบรรยากาศที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ ทั้งในห้องเรียน และนอก
หอ้ งเรียน ครมู ีการผลิต และใช้นวัตกรรม เทคโนโลยีต่าง ๆ ท่ที นั สมัย รวมท้ังปราชญ์ และภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่น เพ่ือสรา้ ง
การเรียนรู้ ให้เกิดขึน้ กบั ผู้เรียน โดยมีการประเมินคุณภาพ และประสิทธิภาพของส่ือเพ่ือให้มีความเหมาะสมกบั ผเู้ รยี น
รวมทง้ั สง่ เสรมิ ใหค้ รทู กุ คนได้ดำเนินการจัดทำวิจัยในชน้ั เรยี น อยา่ งนอ้ ยปีการศกึ ษาละ 1 เรอ่ื ง
ผลการดำเนินการ
ในดา้ นกระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี น้นผเู้ รียนเป็นสำคญั มผี ลการประเมิน ดงั น้ี
1. ครูผู้สอนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดของหลักสตู รสถานศึกษาทีเ่ น้นให้ผู้เรียน
ได้ เรียนรู้โดยผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง มีแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีสามารถนำไปจัดกิจกรรมได้จริง ผู้เรี ยน
ได้รับ การฝึกทักษะ แสดงออกแสดงความคิดเห็น สรุปองค์ความรู้ นำเสนอผลงานและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตได้และครูผู้สอนรอ้ ยละ 100 มนี วตั กรรมในการจดั การเรยี นร้แู ละมีการเผยแพร่
2. ครูผู้สอนใช้ส่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้ รวมทั้งปราชญ์ท้องถิ่น และภูมิปัญญาท้องถ่ินมา
ใชใ้ นการจัดการเรียนรู้ โดยสร้างโอกาสใหผ้ ูเ้ รียนไดแ้ สวงหาความรู้ด้วยตนเองจากสือ่ ท่หี ลากหลาย
3. ครูผู้สอน ครูท่ีปรึกษามีการบริหารจดั การชั้นเรียนโดยเน้นการการมีปฏิสัมพันธ์เชิงบวก ให้เด็กรกั ครู ครูรัก
เดก็ และเด็กรักเด็ก เด็กรกั ที่จะเรยี นรู้ สามารถเรียนรู้รว่ มกันอยา่ งมีความสุข ท้ังในหอ้ งเรียน สายชัน้ และ โรงเรียน
4. ครูผู้สอนทุกคนมีการวัดผลและประเมินผลผู้เรียนอย่างเป็นระบบมีแนวทางกำหนดขั้นตอนการใช้
เคร่ืองมือและวธิ ีการวดั และประเมินผลท่ีเหมาะสมกับเป้าหมายในการจัดการเรียนรู้ ให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียน และ
นำผลมาพัฒนาผู้เรยี นอย่างตอ่ เน่ือง
5. ครแู ละผู้มสี ว่ นเกยี่ วขอ้ งร่วมกันแลกเปลยี่ นความรู้และประสบการณร์ วมท้ังให้ข้อมูลป้อนกลบั เพื่อ
นำไปใชใ้ นการปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนรู้
๘๙
ขอ้ มูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษท์ ส่ี นับสนุนผลการประเมินตนเอง
- แผนการจัดการเรียนรู้
- กิจกรรมการจัดการเรยี นรู้
- ภาพประกอบการใช้สื่อเทคโนโลยีในการเรยี นการสอนตามกล่มุ สาระการเรยี นรู้
- ภาพสถานทแี่ หลง่ เรียนรู้ต่าง ๆ
- แบบสอบถามความคิดเห็นการใช้ส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรยี นรู้
- เอกสารการขับเคลื่อนกระบวนการชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวชิ าชีพ (PLC)
- ภาพบรรยากาศของห้องเรยี น และห้องพิเศษ
- ป้ายนิเทศ
- กิจกรรมการขบั เคลอื่ นกระบวนการชมุ ชนแห่งการเรียนร้ทู างวิชาชีพ (PLC) ของแตล่ ะกลมุ่ สาระ
- แบบรายงานประจำตวั นักเรยี น ปพ.6
- ภาพกจิ กรรมการขับเคล่อื นกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรูท้ างวิชาชีพ (PLC)
- การประชมุ สมั มนาทางวิชาการ “แลกเปลี่ยนเรียนรแู้ นวปฏิบตั ิที่ดขี องการพัฒนาครดู ว้ ยกระบวนการ PLC”
- แบบรายงานการขบั เคลื่อนกระบวนการชมุ ชนแห่งการเรียนรทู้ างวิชาชีพ (PLC)
- ปฏิทนิ วชิ าการ
- ระบบฐานข้อมลู MIS SCHOOL
โครงการ/กจิ กรรมที่สนบั สนุนผลการประเมนิ ตนเอง ได้แก่
1. โครงการเรยี นรวู้ ัฒนธรรมสากล
2. โครงการกตัญญตุ าบูชาครู
3. โครงการพัฒนา/ปรบั ปรุงห้องสมุด
4. โครงการหนังสือนา่ อา่ น/หนงั สือเลม่ โปรด
5. โครงการรักการอ่านในสถานศึกษา
6. โครงการส่งเสริมทกั ษะการใช้ภาษาไทย
7. โครงการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ด้วยระบบคณุ ธรรม
8. โครงการคา่ ยพักแรมลูกเสือ – เนตรนารี ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 – 3
9. โครงการอบรมคุณธรรม จริยธรรมประจำสัปดาห์
10. โครงการครูในดวงใจ
11. โครงการสานสมั พนั ธบ์ ้านโรงเรยี น
๙๐
จดุ เดน่
ครูมีการพฒั นากระบวนการจัดการเรียนรใู้ ห้มปี ระสิทธภิ าพมากย่งิ ข้ึน โดยมีการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ของผเู้ รียน
เป็นรายบคุ คล มุง่ พัฒนาตามความถนัด ความสนใจของผ้เู รยี น มีการจัดกิจกรรมการเรียนรโู้ ดยเนน้ ใหผ้ ู้เรยี นไดล้ งมอื
ปฏบิ ตั ิจริง เพอ่ื ให้เกิดทักษะและสามารถสรุปองค์ความรูไ้ ด้ด้วยตนเอง รวมท้งั ครูสามารถใช้เทคโนโลยรี ปู แบบต่าง ๆ
ในการพฒั นานวัตกรรม และสือ่ การจดั การเรียนรู้ท่ที นั สมัย เพอ่ื ส่งเสริมการเรียนรู้ให้แก่ผ้เู รียน มีความต้ังใจและ
รว่ มมือกนั ในการพฒั นารปู แบบกระบวนการจดั การเรยี นรู้
จุดทค่ี วรพฒั นา
ครูควรจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทเี่ ปิดโอกาสใหผ้ ้เู รียนทุกคนได้แสดงศักยภาพ และความสามารถอย่าง
หลากหลาย รวมท้ังใหผ้ เู้ รยี นทกุ คนได้เกิดการคิดวเิ คราะห์ คิดสงั เคราะห์ หรือ คิดสร้างสรรค์
ครูควรปรบั ปรุงรูปแบบ และพัฒนากระบวนการวดั และประเมนิ ผลให้มีความหลากหลาย และสะท้อน
ความสามารถทีแ่ ทจ้ รงิ ของผ้เู รียน และให้ข้อมลู ยอ้ นหลงั แกผ่ เู้ รยี นทันที เพ่ือจะไดเ้ กิดการพฒั นาตอ่ ไป
๙๑
สรปุ ผลการประเมนิ ในภาพรวม
ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา บรรลคุ า่ เปา้ หมายตามเกณฑ์ ระดับคุณภาพดีเลศิ
จากผลการดำเนินงาน โครงการและกิจกรรมต่างๆ ส่งผลให้สถานศึกษาจัดการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ประสบผลสำเร็จตามที่ต้ังเป้าหมายไว้ในแต่ละมาตรฐาน จากผลการประเมินสรุปได้ว่าบรรลุค่าเป้าหมายตามเกณฑ์
ระดับคุณภาพดีเลิศ โดยมาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน ผลการจัดการศึกษา บรรลุค่าเป้าหมายตามเกณฑ์ อยู่ใน
ระดับคุณภาพดีเลิศ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ บรรลุค่าเป้าหมายตามเกณฑ์ อยู่ในระดับ
คุณภาพดีเลิศ และมาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ บรรลุค่าเป้าหมายตาม
เกณฑ์ อยู่ในระดับคุณภาพดีเลิศ เช่นเดียวกัน ทั้งนี้ สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่าง
หลากหลายท่ีเป็นไปตามปัญหาและความต้องการพัฒนาตามสภาพของผู้เรียน สอดคล้องกับจุดเน้นของสถานศึกษา
และสภาพของชุมชนท้องถนิ่ จนมผี ลการพฒั นาคุณภาพของผู้เรียนเปน็ ไปตามเกณฑท์ ่ีกำหนด
ด้านคุณภาพผู้เรียน ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน เขียน การส่ือสารทั้งภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และมี
ความสามารถในการคิดคำนวณ ระดับค่อนข้างดีขึ้นไป มีค่าเป้าหมายสูงกว่าท่ีสถานศึกษากำหนด ผู้เรียนมี
ความสามารถในการคิด วเิ คราะห์ คิดอยา่ งมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปล่ียนความคิดเหน็ และแก้ไขปัญหา ระดบั ดี
ข้ึนไป มีค่าเป้าหมายสูงกว่าที่สถานศึกษากำหนด ผู้เรียนมีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม มีการนำไปใช้และ
เผยแพร่ระดับห้องเรียนหรือสถานศึกษา ความสามารถในการสร้างโครงงาน ช้ินงาน ผลผลิต มีการนำไปใช้และ
เผยแพร่ มีค่าเป้าหมายสูงกว่าที่สถานศึกษากำหนด ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ
ส่ือสาร ระดับดีข้ึนไป มีค่าเป้าหมายสูงกว่าที่สถานศึกษากำหนด ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตร
สถานศกึ ษา มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีพร้อมที่จะศึกษาต่อในระดับชนั้ ที่สูงข้ึนและเจตคติที่ดพี รอ้ มในการ
ทำงานหรืองานอาชีพ และมีความประพฤติดา้ นคุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ มและคุณลกั ษณะตามที่สถานศกึ ษากำหนด
ปรากฏอย่างชัดเจน มีความภาคภูมิใจในท้องถ่ินและความเป็นไทย สุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคมผ่านเกณฑ์
มาตรฐาน มคี ่าเป้าหมายสูงกวา่ ท่สี ถานศกึ ษากำหนด
ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ สถานศึกษากำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจ ไว้อย่างชัดเจน
สอดคล้องกับบริบทของ สถานศึกษา ความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น วัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ
นโยบายของรัฐบาล และของต้นสังกัดรวมทั้งทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม สถานศึกษาสามารถบริหารจัดการ
คุณภาพของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบทั้งในส่วนการวางแผน พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา การนำแผนไปปฏิบัติ
เพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษา มีการติดตามตรวจสอบ ประเมินผลและปรับปรุงพัฒนางานอย่างต่อเน่ือง มีการบริหาร
อัตรากำลัง ทรัพยากรทางการศึกษา และระบบดูแลช่วยเหลอื นักเรียน มีระบบการนิเทศภายใน การนำข้อมูลมาใช้ใน
การพฒั นาบคุ ลากรและผูท้ ีเ่ ก่ยี วข้องทกุ ฝ่ายมีสว่ นรว่ มการวางแผน ปรับปรุง และพัฒนา และร่วมรบั ผดิ ชอบต่อผลการ
จัดการศึกษา สถานศึกษาบริหารจัดการเก่ียวกับงานวิชาการ ทั้งด้านการพัฒนาหลักสูตร กิจกรรมเสริมหลักสูตร ที่
เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน เช่ือมโยงวิถีชีวิตจริง และครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย สถานศึกษาส่งเสริม สนับสนุน
พัฒนาครู บุคลากร ให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ และจัดให้มีชุมชน การเรียนรู้ทางวิชาชีพ มาใช้ในการพัฒนางาน
และการเรียนรู้ของผู้เรียน สถานศึกษาจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพทั้งภายใน และภายนอกห้องเรียน และ
สภาพแวดล้อมทางสังคม ที่เอือ้ ต่อการจัดการเรียนรู้ และมีความปลอดภัย สถานศึกษาจัดระบบการจัดหา การพัฒนา
และการบริการ เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือใช้ในการบริหาร จัดการและการจัดการเรียนรู้ ท่ีเหมาะสมกับสภาพของ
สถานศกึ ษา มคี า่ เป้าหมายตามเกณฑ์ทสี่ ถานศกึ ษากำหนด
ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ครูผู้สอนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามมาตรฐาน
การเรียนรู้ ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษาที่เน้นให้ผู้เรียนได้ เรียนรู้โดยผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง มี
๙๒
แผนการจัดการเรียนรู้ที่สามารถนำไปจัดกิจกรรมได้จริง ผู้เรียนได้รับการฝึกทักษะ กล้าแสดงออก มีการแสดงความ
คิดเห็น สรุปองค์ความรู้ นำเสนอผลงานและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้ ครูผู้สอนมีการใช้ส่ือ เทคโนโลยี
สารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ รวมทั้งภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจดั การเรียนรู้ โดยสร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้แสวงหา
ความรู้ด้วยตนเองจากสื่อท่ีหลากหลาย ครูผู้สอนมีการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรู้อย่างเป็น
ระบบ มีข้ันตอนโดยใช้เครื่องมือและวิธีการวัดและประเมินผลที่เหมาะสมกับเป้าหมายในการจัดการเรียนรู้ และให้
ขอ้ มูลย้อนกลับแกผ่ เู้ รยี นเพ่อื นำไปใชพ้ ัฒนาการเรียนรู้ ครผู ูส้ อนมีการบรหิ ารจัดการช้ันเรียน โดยเน้นการมีปฏสิ มั พันธ์
เชงิ บวก ใหเ้ ด็กรักครู ครรู กั เด็ก และเด็กรักเด็ก เด็กรกั ท่ีจะเรียนรู้ สามารถเรียนร้รู ่วมกันอย่างมีความสุข และครแู ละผู้
มีส่วนเกี่ยวข้องร่วมกันแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์รวมทั้งให้ข้อมูลป้อนกลับเพื่อนำไปใช้ในการปรับปรุงและ
พัฒนาการจดั การเรียนรู้ มีค่าเป้าหมายสงู กว่าท่ีสถานศึกษากำหนด
สถานศึกษาดำเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพภายในอย่างเป็นข้ันตอน มีประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผล ทำให้ผลประเมินอยู่ในระดับดีเลิศ โดยสถานศึกษาให้ความสำคัญกับผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายเพ่ือเกิดความ
ร่วมมือในการวางระบบและดำเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาเป็นอย่างดี และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีความ
ม่นั ใจตอ่ ระบบการบริหารและการจัดการของสถานศึกษา
สรุปผลการประเมินมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ
โรงเรยี นเทศบาล ๕ (วดั หวั ปอ้ มนอก)
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพผู้เรียน
ประเดน็ การพจิ ารณา คา่ เป
สถา
ข้อ 1.1 ผลสัมฤทธทิ์ างวชิ าการของผู้เรยี น
1. มคี วามสามารถในการอ่าน เขยี น การสอ่ื สาร และการคดิ คำนวณ (ระดับคอ่ นขา้ งดี ก
ขึ้นไป) (ร
1.1 ความสามารถในการอา่ น การเขยี นภาษาไทย
1.2 ความสามารถในการอา่ น การเขยี นภาษาอังกฤษ
1.3 ความสามารถในการคิดคำนวณ ในรายวิชาคณติ ศาสตร์
2. มีความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยน
ความคิดเหน็ และแกไ้ ขปัญหา (ระดับดีขึน้ ไป)
3. มคี วามสามารถในการสร้างนวตั กรรม
3.1 ความสามารถในการสร้างนวัตกรรม มีการนำไปใชแ้ ละเผยแพรร่ ะดบั หอ้ งเรยี น
หรือสถานศกึ ษา
3.2 ความสามารถในการสร้างโครงงาน ช้ินงาน ผลผลติ มีการนำไปใชแ้ ละเผยแพร่
4. มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร (ระดบั ดขี ้ึนไป)
5. มีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นตามหลักสตู รสถานศึกษา
5.1 ไดร้ ะดบั ผลการเรยี นเฉลย่ี (GPA) ๒.๐๐ ขน้ึ ไป
5.2 ผลการทดสอบระดับชาติขนั้ พ้ืนฐาน O-NET ทีม่ ี T-Score ต้ังแต่ ๓3 ขึ้นไป
ม. 6
6. มีความรู้ ทกั ษะพน้ื ฐาน และเจตคตทิ ดี่ ตี ่องานอาชพี
6.1 มีความรู้ ทักษะพนื้ ฐาน และเจตคติทดี่ ีพรอ้ มที่จะศึกษาตอ่ ในระดับชน้ั ทส่ี งู ข้ึน
1
กษาขนั้ พ้นื ฐานตามประเดน็ พิจารณา ปีการศึกษา 2563
สงั กัดเทศบาลนครสงขลา จังหวัดสงขลา
ป้าหมายที่ ผลลัพธ์ที่ ระดบั ค่าเป้าหมาย คา่ เปา้ หมาย
านศกึ ษา สถานศกึ ษา ตามเกณฑ์
กำหนด ต่ำกวา่ ระดับ เท่ากับระดบั สูงกวา่ ระดบั
ร้อยละ) ทำได้ ทกี่ ำหนด ทกี่ ำหนด ทีก่ ำหนด บรรลุ ไม่
บรรลุ
43 58.55 ✓✓
43 52.42 ✓✓
33 39.71 ✓✓
83 99.34 ✓✓
83 89.74 ✓✓
33 47.69
83 100 ✓✓
✓✓
63 84.20
33 43.67 ✓✓
✓✓
93 100
✓✓
93
ประเด็นการพิจารณา คา่ เป
สถา
6.2 มคี วามรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติทด่ี พี รอ้ มในการทำงานหรอื งานอาชีพ
ขอ้ 1.2 คุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงคข์ องผเู้ รยี น ก
1. การมคี ณุ ลักษณะและคา่ นิยมทด่ี ตี ามทสี่ ถานศกึ ษากำหนด (ระดบั ดีขึน้ ไป) (ร
2. ความภาคภูมใิ จในทอ้ งถน่ิ และความเปน็ ไทย
3. การยอมรับทจ่ี ะอยรู่ ว่ มกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย
4. สขุ ภาวะทางร่างกาย และจิตสงั คม
4.1 สุขภาวะทางร่างกายผา่ นเกณฑ์มาตรฐาน
4.2 สุขภาวะทางจิตสังคม ผา่ นเกณฑ์ทสี่ ถานศกึ ษากำหนด
เกณฑ์การประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ
กำลงั พัฒนา (1) ปานกลาง (2) ด
ค่าเป้าหมายตามประเด็นพจิ ารณาในภาพรวม ค่าเปา้ หมายตามประเดน็ พจิ ารณาในภาพรวม ค่าเปา้ หมายตามประ
บรรลเุ ป้าหมาย ขอ้ 1.1 3 ข้อ บรรลุเป้าหมาย ข้อ 1.1 ท้งั 4 ขอ้ บรรลุเป้าหมา
บรรลเุ ปา้ หมาย ขอ้ 1.2 1 ข้อ บรรลเุ ป้าหมาย ขอ้ 1.2 ทัง้ 2 ข้อ บรรลเุ ปา้ หมา
มีคา่ เป้าหมายไม่ต่ำกวา่ ทเ่ี ปา้ หมายกำหนด มีคา่ เป้าหมายไมต่ ่ำกวา่ ท่เี ปา้ หมายกำหนด มคี ่าเป้าหมายไมต่ ่ำ
สรปุ ผลการประเมิน บรรลุคา่ เป้าหมายตามเกณฑ์ ระดับคณุ ภาพ
2
ป้าหมายท่ี ผลลัพธ์ที่ ระดับคา่ เปา้ หมาย ค่าเป้าหมาย
านศกึ ษา สถานศกึ ษา ตามเกณฑ์
กำหนด ต่ำกวา่ ระดับ เท่ากับระดบั สงู กว่าระดับ
ร้อยละ) ทำได้ ทก่ี ำหนด ทีก่ ำหนด ท่ีกำหนด บรรลุ ไม่
บรรลุ
93 100 ✓
✓
93 96.60 ✓✓
93 98.98 ✓✓
83 94.48 ✓✓
60 60.33 ✓✓
93 100 ✓✓
ดี (3) ดเี ลิศ (4) ยอดเยี่ยม (5)
ะเดน็ พิจารณาในภาพรวม ค่าเปา้ หมายตามประเด็นพจิ ารณาในภาพรวม ค่าเปา้ หมายตามประเด็นพิจารณาในภาพรวม
าย ข้อ 1.1 5 ข้อ บรรลุเปา้ หมาย ขอ้ 1.1 ทง้ั 6 ขอ้ บรรลุเป้าหมาย ข้อ 1.1 ท้ัง 6 ขอ้
าย ข้อ 1.2 3 ข้อ บรรลุเป้าหมาย ข้อ 1.2 ท้ัง 4 ขอ้ บรรลเุ ป้าหมาย ข้อ1.2 ทัง้ 4 ขอ้
ำกว่าท่ีเปา้ หมายกำหนด มคี า่ เปา้ หมายสูงกวา่ ที่เป้าหมายกำหนด มคี ะแนนสูงกวา่ ท่ีเปา้ หมายกำหนด
และเปน็ แบบอยา่ งได้
ดีเลศิ
48
94
สรุปผลการประเมินมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ
โรงเรยี นเทศบาล ๕ (วัดหัวปอ้ มนอก)
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
ประเดน็ การพจิ ารณา ค่าเ
ทส่ี ถ
ก
โดยพจิ ารณาเปน็ รายประเด็นพจิ ารณา มี
1. มีเป้าหมาย วสิ ัยทัศน์ และพนั ธกิจทชี่ ดั เจน ✓
2. มรี ะบบจดั การคณุ ภาพของสถานศกึ ษา ✓
3. ดำเนนิ งานพฒั นาวชิ าการท่ีเนน้ คุณภาพผู้เรยี นรอบดา้ นตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา
และทกุ กลมุ่ เปา้ หมาย ✓
4. พัฒนาครูและบุคลากรให้มคี วามเชย่ี วชาญทางวชิ าชีพ
5. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่ีเออื้ ต่อการจดั การเรียนรอู้ ยา่ งมีคุณภาพ ✓
6. จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบรหิ ารจดั การและการเรยี นรู้ ✓
✓
เกณฑ์การประเมนิ ระดับคุณภาพ
กำลังพฒั นา (1) ปานกลาง (2) ด
ค่าเปา้ หมายตามประเดน็ พจิ ารณาในภาพรวม ค่าเปา้ หมายตามประเดน็ พิจารณาในภาพรวม คา่ เป้าหมายตามประ
เป้าหมาย 3 ข้อ ชดั เจน และส่งผลตอ่ คณุ ภาพ เป้าหมาย 4 ขอ้ ชัดเจนและสง่ ผลต่อคณุ ภาพ เป้าหมาย 5 ขอ้ ชดั
ตาม มฐ. สถานศกึ ษาและมีระดับ ตาม มฐ. สถานศึกษาและมีระดับ ตาม มฐ. สถาน
ตามทีเ่ ป้าหมายกำหนด ตามที่เป้าหมายกำหนด ตามทีเ่ ปา้
สรปุ ผลการประเมนิ บรรลุคา่ เปา้ หมายตามเกณฑ์ ระดบั คุณภาพ
1
กษาขั้นพื้นฐานตามประเดน็ พิจารณา ปีการศกึ ษา 2563
สังกดั เทศบาลนครสงขลา จังหวดั สงขลา
เปา้ หมาย ผลลัพธท์ ่ี ระดบั ค่าเป้าหมาย คา่ เปา้ หมาย
ถานศึกษา สถานศกึ ษา ตามเกณฑ์
กำหนด ตำ่ กว่าระดบั เทา่ กบั ระดบั สงู กวา่ ระดับ
ทำได้ ที่กำหนด ที่กำหนด ที่กำหนด บรรลุ ไม่
ไม่มี บรรลุ
มี ไม่มี
✓✓ ✓✓
✓✓ ✓✓
✓✓ ✓✓
✓✓ ✓✓
✓✓ ✓✓
✓✓ ✓✓
ดี (3) ดีเลิศ (4) ยอดเยีย่ ม (5)
ะเด็นพิจารณาในภาพรวม ค่าเป้าหมายตามประเด็นพิจารณาในภาพรวม ค่าเปา้ หมายตามประเด็นพิจารณาในภาพรวม
ดเจนและส่งผลตอ่ คณุ ภาพ เปา้ หมายทั้ง 6 ขอ้ ชัดเจนและผลต่อคณุ ภาพตาม เปา้ หมายทั้ง 6 ขอ้ ชัดเจนและส่งผลต่อคณุ ภาพ
นศึกษาและมีระดับ
าหมายกำหนด มฐ. สถานศึกษาและมีระดับ ตาม มฐ. สถานศึกษาและมีระดับ
ตามเป้าท่ีเป้าหมายกำหนด สูงกวา่ ที่เปา้ หมายกำหนดและเป็นแบบอยา่ งได้
ดีเลิศ
95
ผลการประเมนิ มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
โรงเรียนเทศบาล ๕ (วดั หวั ปอ้ มนอก)
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทีเ่ น้นผูเ้ รยี นเปน็ สำคญั
ประเด็นการพิจารณา คา่ เป
สถ
ก
โดยพิจารณาเปน็ รายประเดน็ พจิ ารณา
1. จัดการเรยี นรผู้ ่านกระบวนการคดิ และปฏบิ ัตจิ รงิ และสามารถนำไประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตได้
2. ใช้สอ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรูท้ เี่ ออื้ ต่อการเรียนรู้
3. มกี ารบรหิ ารจัดการชน้ั เรยี นเชิงบวก
4. ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรยี นอย่างเปน็ ระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรยี น
5. มีการแลกเปล่ยี นเรียนรแู้ ละใหข้ ้อมูลสะท้อนกลับเพอื่ พฒั นาและปรบั ปรุงการจดั
การเรยี นรู้
เกณฑก์ ารประเมินระดับคณุ ภาพ
กำลงั พฒั นา (1) ปานกลาง (2) ด
คา่ เป้าหมายตามประเดน็ พิจารณาในภาพรวม คา่ เปา้ หมายตามประเด็นพิจารณาในภาพรวม ค่าเปา้ หมายตามประ
เป้าหมาย 3 ขอ้ ชัดเจนและส่งผลตอ่ คณุ ภาพ เปา้ หมาย 4 ขอ้ ชัดเจนและส่งผลตอ่ คณุ ภาพ เป้าหมายทั้ง 5 ข
คุณภาพตาม มฐ. ส
ตาม มฐ. สถานศึกษาและมรี ะดับ ตาม มฐ. สถานศึกษาและมรี ะดับ ตามที่เปา้
ตามทเี่ ปา้ หมายกำหนด ตามทเ่ี ป้าหมายกำหนด
สรุปผลการประเมิน บรรลคุ า่ เปา้ หมายตามเกณฑ์ ระดบั คณุ ภาพ
72
าขัน้ พน้ื ฐานตามประเด็นพิจารณา ปกี ารศกึ ษา 2563
สังกดั เทศบาลนครสงขลา จงั หวัดสงขลา
ป้าหมายที่ ผลลัพธ์ท่ี ระดับค่าเปา้ หมาย คา่ เปา้ หมาย
ถานศกึ ษา สถานศึกษา ตามเกณฑ์
กำหนด ตำ่ กวา่ ระดับ เท่ากับระดบั สูงกว่าระดบั
ทำได้ ทีก่ ำหนด ทกี่ ำหนด ท่กี ำหนด บรรลุ ไม่
บรรลุ
93 100 ✓✓
93 100 ✓✓
93 100 ✓✓
93 100 ✓✓
93 96.5
✓✓
ดี (3) ดีเลศิ (4) ยอดเยี่ยม (5)
ะเดน็ พิจารณาในภาพรวม ค่าเปา้ หมายตามประเดน็ พจิ ารณาในภาพรวม ค่าเปา้ หมายตามประเดน็ พิจารณาในภาพรวม
ขอ้ ชดั เจนและสง่ ผลต่อ เป้าหมายท้ัง 5 ขอ้ ชดั เจนและผลต่อคณุ ภาพ เป้าหมายท้ัง 5 ขอ้ ชัดเจนและส่งผลตอ่ คณุ ภาพ
สถานศึกษาและมรี ะดับ
าหมายกำหนด ตาม มฐ. สถานศกึ ษาและมรี ะดับ ตาม มฐ. สถานศึกษาและมีระดับ
สงู กวา่ ทเ่ี ปา้ หมายกำหนด สงู กว่าทีเ่ ป้าหมายกำหนดและเปน็ แบบอยา่ งได้
ดีเลิศ
96
๙๗
สว นที่ ๓
สรุปผล แนวทางการพฒั นา ความตอ งการและความชว ยเหลือ
ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาถือเปนขอมูลสารสนเทศสำคัญที่สถานศึกษาจะตองนำไปวิเคราะห
สังเคราะหเพื่อสรปุ นำไปสูการเชื่อมโยงหรือสะทอนภาพความสำเรจ็ กับแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
และนำไปใชในการวางแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษา ดังนั้น จากผลการดำเนินงานของสถานศึกษา
สามารถสรุปผลการประเมนิ ในภาพรวมของจุดเดน จุดควรพัฒนาของแตละมาตรฐาน พรอ มทงั้ แนวทางการพัฒนาใน
อนาคตและความตอ งการการชวยเหลอื ได ดงั น้ี
จุดเดน จุดควรพฒั นา
ดานคุณภาพผูเ รยี น ดา นคณุ ภาพผเู รยี น
๑. ผูเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตร 1. ควรสงเสริมและเตรียมความพรอมผูเรียนในการ
สถานศกึ ษาเปน ไปตามเปา หมายทส่ี ถานศกึ ษากำหนด ทดสอบระดับชาตขิ ั้นพืน้ ฐาน (O-NET) เพื่อยกระดบั ผล
๒. ผูเรียนมีความสามารถในใชเทคโนโลยีสารสนเทศ การทดสอบระดับชาติขัน้ พื้นฐาน (O-NET) ใหสงู ขึ้นใน
และการสื่อสารเพื่อการพัฒนาตนเองในดานการเรยี นรู ทุก ๆ ปก ารศกึ ษา
การสือ่ สาร การทำงาน อยางสรางสรรค และมีคุณธรรม ๒. ควรสงเสริมผูเรียนดานทักษะและความสามารถใน
๓. ผูเรียนมีพฤติกรรมเปนผูที่มีคุณธรรม จริยธรรม การสรางโครงงาน ชิน้ งาน หรือผลผลติ ที่มคี ณุ ภาพ
เคารพในกฎกติกา มีคานิยมและจิตสำนึกตามที่
สถานศกึ ษาสามารถเปนแบบอยา งได
๔. ผูเรียนมีการรักษาสุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ
และสงั คม และแสดงออกอยา งเหมาะสม
จุดเดน จุดควรพฒั นา
ดา นกระบวนการบริหารและการจัดการ ดา นกระบวนการบริหารและการจัดการ
๑. สถานศึกษาสามารถบริหารจัดการคุณภาพของ ๑. สงเสริม สนับสนุน พัฒนาครู บุคลากร ใหมีความ
สถานศึกษาอยางเปนระบบ ทั้งในสวนการวางแผน เชี่ยวชาญทางวชิ าชีพอยา งตอ เน่อื ง
พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา การนำแผนไปปฏิบัติ ๒. สงเสรมิ สนับสนุน ใหมีชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ
เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา มีการติดตามตรวจสอบ แกครูที่มีคุณภาพ เพื่อนำมาใชในการพัฒนางานและ
ประเมินผลและปรับปรุงพัฒนางานอยางตอเนื่อง ผูที่ การเรียนรูของผเู รยี น
เกี่ยวของทุกฝายมีสวนรวมการวางแผน ปรับปรุง และ
พัฒนา และรวมรับผดิ ชอบตอผลการจัดการศกึ ษา
๒. สถานศึกษามีการพัฒนา ปรับปรุงหลักสูตร
สถานศึกษาใหมีความทันสมัย สนองตอบตอความ
ตองการของทุกกลุมเปาหมายเชื่อมโยงกับชีวิตจริงและ
เปน แบบอยา งได
๙๘
จดุ เดน จดุ ควรพฒั นา
ดา นกระบวนการเรยี นการสอนท่ีเนนผเู รยี นเปน สำคญั ดานกระบวนการเรยี นการสอนทีเ่ นน ผูเรียนเปน สำคญั
๑. ครมู คี วามตัง้ ใจมงุ มน่ั ในการพัฒนาการจดั การเรยี นรู ๑. ครูควรจัดกจิ กรรมเนนใหผเู รียนไดมีความสามารถใน
โดยมีการวิเคราะหขอมูลผูเรียนเปนรายบุคคล เพ่ือ การคดิ วิเคราะห คดิ สังเคราะหอ ยา งหลากหลาย และใช
จำแนกกลุม ผูเรยี นในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู แหลงเรียนรูในการพฒั นาตนเอง
๒. ครูสงเสริมใหผูเรียนไดลงมือปฏิบัติจริงจนสรุป ๒.ครูควรจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนในระดับชั้นม.๑– ม.๓ ให
ความรูไดดว ยตนเอง สามารถนำเสนอ อภิปรายและแลกเปลี่ยนเรียนรูอยา ง
๓. ครูมีความสามารถในการใชเทคโนโลยีพัฒนา สมเหตุสมผล และมีทักษะในการแกปญหาตาม
นวัตกรรมและใชสื่อการเรียนการสอนที่เอื้อตอการ สถานการณไ ดอ ยา งเหมาะสม
เรียนรู ๓. ครูควรวัดและประเมินผลการเรียนรูของผูเรียนดวย
วิธีที่หลากหลายตามสภาพจริง สอดคลองกับมาตรฐาน
การเรียนรู และธรรมชาติวิชา
๔. ครูควรใหขอมูลยอนกลับแกนักเรียนทันทีเพื่อ
นักเรยี นนำไปใชพัฒนาตนเอง
แนวทางการพฒั นาในอนาคต
๑. ยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผูเรียนใหส งู ขึน้ โดยมกี ารติดตามผลการเรียนของผูเ รยี นอยา ง
ตอเนอ่ื ง เพ่ือนำมาวางแผนพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนใหส ูงขนึ้ และการสง เสรมิ ความรว มมอื ในการจัด
กจิ กรรมดานวชิ าการเพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น
๒. การจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีเนน การพฒั นาผเู รียนเปน รายบุคคลใหชัดเจนขึน้
๓. การสงเสรมิ ใหครจู ดั ทำการวจิ ัยในชั้นเรยี น วิจยั และพัฒนานวตั กรรม เพื่อพัฒนาผูเ รียนใหส ามารถเรยี นรู
ไดเ ต็มศกั ยภาพ
๔. การพัฒนาบคุ ลากรโดยสงเขา รบั การอบรม แลกเปลี่ยนเรยี นรใู นงานท่ไี ดรับมอบหมาย ติดตามผลการ
นำไปใชแ ละผลทเ่ี กิดกับผเู รยี นอยางตอเนอื่ ง
๕. การพัฒนาสถานศึกษาใหเปน สังคมแหง การเรียนรูของชุมชน
๖. การดำเนนิ การพัฒนาสถานศกึ ษา ควรวางยุทธศาสตรและแผนปฏิบตั กิ ารเพื่อการจดั การศึกษาอยางมี
คณุ ภาพ ตรงเปาหมายของชาติ
ความตอ งการและการชว ยเหลือ
1) การพฒั นาครผู ูสอนในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู ทีส่ อดคลอ งกับประเทศไทย ยุค 4.0 และการพัฒนา
ผเู รยี นในศตวรรษท่ี ๒๑
2) อบรมและพัฒนาครูอบรมและพฒั นาครใู นการสรางขอสอบที่สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรตู าม
แนวทางของการประเมนิ O-NET
๙๙
สวนที่ ๔
การปฏิบตั ิท่เี ปนเลิศของสถานศึกษา
โรงเรียนเทศบาล ๕ (วัดหัวปอมนอก) ตองการใหเด็กและเยาวชนเกิดทักษะการเรียนรูตลอดชีวิต
มีทกั ษะในการทำงาน สามารถปรับตวั อยูในสังคมไดอยางมีความสุข มงุ เนน ใหผูเรยี นชว ยเหลือเก้ือกูลกันเพื่อ
มุงไปสูผลสำเร็จของงานรวมกัน โดยไมมใี ครคนใดคนหนึ่งเปนคนเกงอยูเ พียงผูเดียว เปา หมายสูงสุดที่เปน
ผลผลิตของการจัดการศึกษาคือ คณุ ภาพผูเรียนหรือคุณภาพศิษยตองสอดคลองกับกระแสการเปลี่ยนแปลง
ของโลกภายใตบริบทสังคมและวัฒนธรรมไทยจึงจำเปนอยางยิ่งที่จะตองกำหนดเปาหมายการพัฒนาศิษยให
ชัดเจน พรอมที่จะสามารถสงตอไปยังระดับอาชีวศึกษา หรือกาวไปสูระดับอุดมศึกษาเพื่อใหเปนมนุษยที่
สมบูรณท้ังรางกาย จิตใจ สติปญญา ความรูและคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิตตาม
ความมุง หมายของพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติที่กำหนดองคประกอบสำคัญไว 3 ประการ คือ “เกง ดี
งาม” โรงเรียนเทศบาล 5 (วัดหัวปอมนอก) จึงไดจัดการศึกษาภายใตวิสัยทัศน “สังคมแหงการเรียนรูที่มี
คุณภาพคูคุณธรรม” อันจะนำไปสูการสรางเด็กและเยาวชนใหเปนทั้งคนที่มีคุณภาพ คือคนเกง คนที่มี
คณุ ธรรม คอื คนดี และคนทมี่ ีคณุ ลกั ษณค อื คนงาม
วสิ ยั ทัศนก ารพัฒนาสถานศึกษา
สงั คมแหง การเรียนรทู ่มี คี ุณภาพคูคุณธรรม
พนั ธกิจการพฒั นาสถานศกึ ษา
๑. พฒั นาคุณภาพผูเรียน
2. สงเสริมคุณธรรม จรยิ ธรรม และคา นิยมอันพงึ ประสงค
3. พัฒนาคุณภาพครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
4. พัฒนาคุณภาพสถานศกึ ษาใหเปน สังคมแหงการเรยี นรู
จุดมงุ หมายเพ่ือการพฒั นา
๑. ผูเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน
2. ผูเรยี นไดรบั การสงเสริมความสามารถและความถนัดอยางเต็มตามศักยภาพ
3. ผเู รยี นมรี ะเบยี บวนิ ยั ปฏบิ ตั ิตนอยางเหมาะสมตามสถานะของนักเรยี นโรงเรียนเทศบาล ๕ (วัดหัว
ปอมนอก)
4. ผเู รียนมคี ุณธรรม จริยธรรม และคานิยมทพี่ งึ ประสงค สำนกึ ในความเปนชาติไทย ปฏบิ ัติตนตาม
แนวปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง และเปน เยาวชนท่ดี ีของสังคม
5. ครู บุคลากรทางการศกึ ษา เปน มืออาชีพมคี วามกา วหนา ในวชิ าชีพ
6. สถานศึกษาจดั ทำและบรหิ ารหลกั สูตรสถานศึกษาท่เี นนผูเรยี นเปน สำคัญ
7. สถานศึกษาดำเนินการบริหารจดั การศกึ ษาโดยใชสถานศึกษาเปน ฐาน
8. สถานศึกษามกี ารจัดระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
9. สถานศึกษามีอาคารสถานท่ี แหลง เรยี นรู ส่ือเทคโนโลยี สารสนเทศและนวัตกรรมทส่ี ง เสริม
สนับสนนุ ใหเ ปนสังคมแหง การเรยี นรู
๑๐๐
เอกลักษณข องโรงเรียน
เปนโรงเรยี นทีส่ งเสริมและพฒั นาความสามารถของผูเรียนเตม็ ตามศักยภาพ
อัตลักษณของผูเรียน
นกั เรยี นมรี ะเบียบวนิ ัย และแตง กายเหมาะสม
การปฏบิ ตั กิ ิจกรรมท่เี ปน เลิศ Best Practices
โครงการการเสรมิ สรา งสมรรถนะการจดั การเรียนรขู องครเู พ่ือพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาของผูเรยี น
โดยใชกระบวนการ PLC (Professional Learning Community)
วตั ถปุ ระสงค
๑. เพื่อสรางเครือขายชุมชนการเรียนรูว ิชาชีพ PLC (Professional Learning Community) ของครู
โรงเรยี นเทศบาล 5 (วัดหวั ปอ มนอก) สงั กดั เทศบาลนครสงขลา จังหวัดสงขลา
๒. เพอ่ื เสรมิ สรา งและพฒั นาสมรรถนะการจดั การเรยี นรขู องครโู รงเรยี นเทศบาล 5 (วดั หวั ปอมนอก)
สังกดั เทศบาลนครสงขลา จงั หวัดสงขลาโดยใชก ระบวนการ PLC (Professional Learning Community)
3. เพ่อื ใหค รูไดพ ัฒนานวัตกรรมดา นการจดั การเรียนรูเพอ่ื พฒั นาคุณภาพผูเ รยี น
4. เพ่อื ใหผูเรียนไดร บั การพัฒนาตามเปา หมายเต็มตามศักยภาพ
เปา หมายการจดั กิจกรรม
เชิงปริมาณ
1. ครู ผูบริหารการศึกษา ผบู รหิ าร ศกึ ษานิเทศก และอาจารยมหาวิทยาลัย เขารว มโครงการจำนวน 99 คน
2. รอยละ 80 ของครทู ่เี ขารว มมีนวัตกรรมดา นการจดั การเรียนรู
3. รอยละ 70 ของผเู รยี นไดร บั การพฒั นาเกดิ สมรรถนะตามเปา หมายทีก่ ำหนด
เชงิ คณุ ภาพ
1. ครู ผูบริหารการศกึ ษา ผูบริหาร ศึกษานิเทศก และอาจารยมหาวิทยาลัย รวมกลุมสรางเครือขายชมุ ชน
การเรียนรูท างวชิ าชีพ PLC (Professional Learning Community)
2. ครทู เี่ ขารวมมนี วัตกรรมดา นการจดั การเรียนรทู ส่ี ง เสรมิ ใหผ เู รียนเกดิ สมรรถนะมีผลสมั ฤทธิ์ทางการ
เรยี นทีส่ งู ข้นึ
3. ผเู รยี นไดรบั การพฒั นาเกิดสมรรถนะตามเปาหมายทก่ี ำหนดมผี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นทีส่ ูงขนึ้
วิธกี ารดำเนินกิจกรรม
1. การประชมุ ช้แี จงสมาชิกและการจดั ทีม PLC
2. การกำหนดเปาหมายการพฒั นาและเปา หมายนักเรยี น
3. การออกแบบแนวคิดการออกแบบการสอนเพื่อพัฒนานักเรยี น
4. การเปด ชนั้ เรียน/การสงั เกตชนั้ เรียน
5. การสะทอ นคดิ หลังเปด ชน้ั เรยี น
6. สรุปถอดบทเรียนเพือ่ คนหานวตั กรรมการแกปญหา
ระยะเวลาดำเนนิ กจิ กรรม
เร่มิ ตน วันท่ี 4 เดอื น พฤษภาคม ป 2563
สน้ิ สดุ วันที่ 21 เดือน สิงหาคม ป 2563
๑๐๑
ผลการดำเนินกจิ กรรมทเี่ ปนเลิศ
ผลผลติ (Output)
ตอ นกั เรียน / ครผู สู อน / และผูท่เี กี่ยวของ (ผบู ริหารสถานศึกษา เพ่ือนครู ผูปกครอง ชมุ ชน ฯลฯ)
1. ผเู รยี นมีความรู มที กั ษะและเกดิ สมรรถนะตามเปาหมายท่ีกำหนด
2. ครูผูส อนมีทมี PLC (Professional Learning Community) ในการพฒั นาออกแบบการสอนเพ่ือ
พัฒนาผูเรียนใหเปน ไปตามเปา หมายทีก่ ำหนด
3. เกิดนวัตกรรมการจดั การเรียนรูของครู Model Teacher
4. ผูบริหารสถานศึกษาและผูเกี่ยวของใหการสนับสนุนและขับเคลื่อนกระบวนการ PLC
(Professional Learning Community)
ผลลัพธ (Outcome)
ตอ นักเรยี น / ครูผูสอน / และผทู ่ีเกย่ี วขอ ง (ผูบริหารสถานศกึ ษา เพือ่ นครู ผปู กครอง ชมุ ชน ฯลฯ)
1. ผเู รยี นเกดิ สมรรถนะตามเปาหมายท่ีกำหนด
2. ครมู ีนวตั กรรมดา นการสอนสามารถเปน ตน แบบใหเ พือ่ ครูได
3. โรงเรียนมีเครือขายชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ PLC (Professional Learning
Community) ในการแลกเปลย่ี นเรยี นรูที่มคี ณุ ภาพอยา งยั่งยนื
ผลกระทบ (Impact)
ตอ นกั เรยี น / ครผู สู อน / และผูที่เกี่ยวของ (ผูบรหิ ารสถานศกึ ษา เพื่อนครู ผปู กครอง ชุมชน ฯลฯ)
1. ผูเ รยี นไดร ับการสง เสรมิ ใหเ กิดสมรรถนะสำคญั ในศตวรรษที่ 21
2. ครูผูส อนในทีม/เครือขายชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพรวมกันสรางนวัตกรรมการทำงานรวมกัน
อยา งกลั ยาณมิตรในองคก ร
3. การนิเทศติดตามการสอนแบบกัลยาณมิตรจากผูเชี่ยวชาญและเครือขายสถาบันการศึกษาใน
จังหวัดสงขลา
ขอ คน พบ หรือนวตั กรรมทีเ่ กิดขน้ึ จากการดำเนินกจิ กรรม / ปจ จัยความสำเรจ็
ครูสามารถพัฒนาผูเรียนทั้ง 4 ดาน ไดแก การจัดการเรียนรูวิทยาศาสตร คณิตศาสตร การพัฒนา
ทักษะการรูหนังสือ และการใชภาษาอังกฤษในการจัดการเรียนรู ซึ่งธรรมชาติของแตละรายวิชาที่มีความ
แตกตางกนั ไป
แนวคดิ การนำขอคนพบ หรือนวัตกรรมทเ่ี กดิ ขน้ึ ไปขยายผล หรือตอ ยอดพัฒนา
การจัดกิจกรรมแบบชุมชนแหงการเรียนรู PLC(ProfessionalLearningCommunity) ทั้ง 9 เครือขาย (8 กลุม
สาระการเรียนรู และกิจกรรมพัฒนาผูเรียน) เปนการพัฒนาสมรรถนะครู เริ่มจากแผนการจัดการเรียนรู
การจัดกิจกรรมการสอน โดยการกำหนดปญหาที่เกิดขึ้นในขึ้นเรียนและรวมทีมกันสรางนวัตกรรมเพื่อ
แกปญหา เปนการใชคำถาม เทคนิคการสอนการเสริมแรง โดยทีมชวยกันออกแบบนำไปใช และรวม
สังเกตการณสอนทำใหเกิดการเปล่ียนแปลงของผูเรียนในทางที่ดีขึ้น เมื่อนำนวัตกรรมที่คณะครูรวมสรางมา
พฒั นาผูเ รียนสง ผลใหมีพฤติกรรมทางการเรยี นดขี ้ึน
ผลที่เกิดขึ้นจากการบูรณาการการจัดกิจกรรมพัฒนาวิชาชีพแบบชุมชนแหงการเรียนรู กับ
จรรยาบรรณวชิ าชีพ
ครูมีความรูความสามารถ เทคนิคการสอนเพิ่มขึ้น สามารถนำไปประยุกตใชกับรายวิชาที่สอนใหมี
ประสิทธภิ าพมากยงิ่ ข้นึ สงผลใหผ ูเ รยี นไดพ ฒั นาทกั ษะตามศักยภาพไดมากยิง่ ข้ึน
๑๐๒
ปญหา หรืออปุ สรรค และขอเสนอแนะ
ปญหา / อุปสรรค
ควรมกี ารส่อื สาร สรางขอตกลงรว มกันใหชดั เจนกับคณะทำงานทกุ คน ทกุ ฝา ย
ขอ เสนอแนะ
ทกุ เครอื ขายควรถอื ปฏิบัตทิ ก่ี ำหนดและบันทึกขอมลู ในระบบ Trainflix PLC System เปนปจจุบัน
๑๐๓
ภาคผนวก
๑๐๔
คณะที่ปรกึ ษา คณะทำงาน
๑. นายมนติ เพชรสุวรรณ ผูอำนวยการสถานศกึ ษา
รองผูอ ำนวยการสถานศึกษา
๒. นางสุรยี พ ร สงคป ระกอบ รองผอู ำนวยการสถานศึกษา
๓. นางสาวทพิ วรรณ รตั นชูศรี
๔. คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
ผรู บั ผดิ ชอบงานประกนั คุณภาพของโรงเรียน
๑. นางสาวสมฤดี ดกุ หลิม่ ครู อนั ดับ คศ. 3
ครู อันดับ คศ. 3
๒. นางสาวศศธิ ร ลอ งชุม ครู อันดบั คศ. ๓
ครอู ัตราจาง
3. นางสาวสาวบน เดน็ หมดั ครอู ัตราจา ง
4. นางสาวพชิ ามญชุ บุญรังศรี
5. นางสาวชลกิ า อินทฤทธิ์
คณะกรรมการประเมนิ คุณภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา
๑. คณะกรรมการจัดทำมาตรฐานการศกึ ษาโรงเรยี นเทศบาล ๕ (วดั หวั ปอมนอก) เพ่อื รองรบั การประเมนิ
คุณภาพภายในสถานศึกษา ปการศกึ ษา 256๓ ตามคำสัง่ ท่ี 52/2564
ผจู ัดทำเอกสาร รตั นชศู รี รองผูอำนวยการสถานศึกษา
๑. นางสาวทิพวรรณ ชพู รหม ครู อันดับ คศ. ๔
๒. วา ท่รี อ ยเอกมโนทย ปนทองพันธุ ครู อันดับ คศ. ๓
๓. นางสาววรารตั น พงษพราหมณ ครู อนั ดับ คศ. ๓
4. นางพรทพิ ย ศิรสิ มบตั ิ ครู อันดับ คศ. ๓
5. นางสาวนงนชุ เชอ้ื แหลม ครู อันดับ คศ. ๓
6. นายวิวัฒน แกวคำ ครู อนั ดับ คศ. ๓
7. นางพิกุล วิไลรตั น ครู อนั ดับ คศ. 2
8. นายวรี ะพงศ
ดกุ หลมิ่ ครู อนั ดบั คศ. 3
9. นางสาวสมฤดี ลอ งชุม ครู อนั ดบั คศ. 3
10. นางสาวศศิธร เดน็ หมัด ครู อนั ดบั คศ. ๓
11. นางสาวสาวบน บญุ รังศรี ครูอตั ราจาง
12. นางสาวพชิ ามญชุ อนิ ทฤทธ์ิ ครอู ัตราจาง
13. นางสาวชลิกา
๑๐๕
คำสั่งโรงเรียนเทศบาล 5 (วดั หวั ปอมนอก)
ที่ 52/2564
เร่อื ง แตง ตงั้ คณะกรรมการจดั ทำมาตรฐานการศกึ ษาโรงเรยี นเทศบาล ๕ (วดั หวั ปอ มนอก)
เพอ่ื รองรับการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศึกษา ปก ารศึกษา 256๓
………………………………………………
ตามท่ีโรงเรียนเทศบาล 5 (วัดหัวปอมนอก) ไดกำหนดใหงานประกันคุณภาพการศึกษาดำเนินการตาม
นโยบายกรมสง เสรมิ การปกครองทองถ่ิน ซึ่งกำหนดใหสถานศกึ ษาในองคกรปกครองสวนทอ งถ่ินดำเนินการประเมิน
คุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา ตามเกณฑมาตรฐานการศึกษาข้ันพื้นฐาน ที่ยดึ มาตรฐานการศึกษาและตัวบงช้ี
ตามประกาศของกระทรวงมหาดไทยจำนวน 3 มาตรฐาน 21 ประเด็นพิจารณา โดยใชเครื่องมือประเมินคณุ ภาพใน
สถานศึกษา พรอมท้ังจัดทำรายงานการประเมินตนเองไปยังหนวยงานตนสังกัดและหนวยงานท่ีเก่ียวของ เพ่ือให
การดำเนินงานเปนไปดวยความเรียบรอย มีคุณภาพและเกิดประสิทธิภาพ บรรลุวตั ถุประสงคตามท่ีโรงเรียนกำหนด
จึงแตงต้ังคณะกรรมการจัดทำมาตรฐานการศึกษาโรงเรียนเทศบาล ๕ (วัดหัวปอมนอก) เพ่ือรองรับการประเมิน
คณุ ภาพภายในสถานศึกษา ปการศกึ ษา 256๓ ดงั น้ี
๑. คณะกรรมการที่ปรึกษาการจัดทำมาตรฐานการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน
1. นายถนอมศกั ดิ์ แปะเสง ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ประธานกรรมการ
2. ผศ.ดร. พนู สุข อดุ ม รองคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน กรรมการ
๓. รศ. ลำดวน เกษตรสุนทร รองคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน กรรมการ
มีหนาท่ี – ใหคำปรึกษา แกไขปญหาอุปสรรคตาง ๆ เพ่ือใหการดำเนินงานการประเมินมาตรฐานการศึกษาเปนไป
ดวยความเรียบรอยและมปี ระสิทธภิ าพ
2. คณะกรรมการอำนวยการการจัดทำมาตรฐานการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน
1. นายมนติ เพชรสวุ รรณ ผูอำนวยการสถานศกึ ษาโรงเรียน ประธานกรรมการ
2. นางสรุ ยี พร
สงคป ระกอบ รองผอู ำนวยการสถานศกึ ษา กรรมการ
๓. นางพรทพิ ย พงษพราหมณ หัวหนาสายชัน้ ม.1 กรรมการ
4. นางสาวนงนุช ศิริสมบตั ิ หัวหนาสายชั้น ม.2 กรรมการ
5. นายวิวฒั น เชื้อแหลม หัวหนา สายชน้ั ม.3 กรรมการ
6. นางพกิ ุล แกว คำ ครู อนั ดับ คศ.3 หัวหนา มาตรฐานที่ 1 (1.1)
7. นายวีระพงศ วิไลรตั น ครู อันดบั คศ.๒ หัวหนา มาตรฐานที่ 1 (1.๒)
8. นางสาววรารัตน ปน ทองพนั ธุ ครู อันดับ คศ.3 หวั หนามาตรฐานท่ี ๒
9. วา ทรี่ อ ยเอกมโนทย ชูพรหม ครู อนั ดบั คศ.4 หัวหนามาตรฐานท่ี ๓
10. นางสาวทิพวรรณ รตั นชศู รี รองผูอำนวยการสถานศึกษา กรรมการและเลขานกุ าร
11. นางสาวสมฤดี ดุกหลิม่ หัวหนางานประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา กรรมการและผูช ว ยเลขานุการ
๑๐๖
มีหนาท่ี – อำนวยความสะดวก กำกับ ควบคุม ดูแล ใหคำปรกึ ษา แกไขปญหาอุปสรรคตาง ๆ เพื่อใหการดำเนินงาน
การประเมินมาตรฐานการศึกษาเปนไปดว ยความเรียบรอยและมีประสิทธภิ าพ
3. คณะอนกุ รรมการประเมินมาตรฐานการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผูเรียน
1.1 ผลสัมฤทธทิ์ างวชิ าการของผเู รยี น (6 ประเดน็ พิจารณา)
นางสาวทิพวรรณ รัตนชศู รี รองผูอำนวยการสถานศกึ ษา ทปี่ รกึ ษา
1. นางพกิ ลุ แกวคำ ครู อันดับ คศ.3 ประธานกรรมการ
2. นางพนดิ า หัดประสม ครู อันดับ คศ.๓ รองประธานกรรมการ
3. นางสิรพิ รรณ มูลบุญ ครู อนั ดับ คศ.3 กรรมการ
4. นางสาวทองขาร พอใจ ครู อนั ดับ คศ.3 กรรมการ
5. นางฐติ าภา สุวรรณวงศ ครู อนั ดับ คศ.3 กรรมการ
6. นางวนั ดี จลุ นนั โท ครู อนั ดบั คศ.3 กรรมการ
7. นางดวงดาว พฒุ ยอด ครู อันดบั คศ.3 กรรมการ
8. นางสาวธชั กร แกว ประดษิ ฐ ครู อนั ดับ คศ.3 กรรมการ
9. นายนรบดี สวุ รรณโมสิ ศภุ มัสดวุ รกลุ ครู อันดบั คศ.3 กรรมการ
10. นางชญาภา สุวรรณ ครู อนั ดบั คศ.3 กรรมการ
11. นายสุรมย รงุ เรือง ครู อนั ดบั คศ.๒ กรรมการ
12. นางสชุ าดา ณ สงขลา ครู อันดบั คศ.๒ กรรมการ
13. นางสาวรินตณพตั ดาเลง ครู อนั ดบั คศ.2 กรรมการ
14. นางเนตรนภา ฆังคะมโณ ครู อนั ดบั คศ.2 กรรมการ
15. นางสาวปทมา ชมุ อนิ ทร ครู อันดบั คศ.2 กรรมการ
16. นายปวิธ ทีฆโภคานันท ครู อันดบั คศ.๑ กรรมการ
17. นางสาวอนงคน าถ ปราบรตั น ครู อนั ดบั คศ.๑ กรรมการ
18. นายธนโชติพสิทณ จิระศกั ดข์ิ ี ครูอัตราจาง กรรมการ
19. นางสาวพชิ ชาพร ทองพันชงั่ ครอู ตั ราจาง กรรมการ
20. นางสาวศริ ลิ ักษณ แซอ้ึง พนักงานจาง กรรมการ
21. นางสาวชนาธิป มณโี ชติ ครู อนั ดับ คศ.3 กรรมการและเลขานุการ
1.2 คณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงคข องผเู รยี น (4 ประเดน็ พจิ ารณา)
นางสาวทพิ วรรณ รัตนชูศรี รองผูอำนวยการสถานศกึ ษา ทีป่ รกึ ษา
1. นายวรี ะพงศ วไิ ลรตั น ครู อนั ดับ คศ.2 ประธานกรรมการ
2. นายสัมภาศ เจรญิ คง ครู อันดบั คศ.3 รองประธานกรรมการ
3. นางพรทิพย พงษพราหมณ ครู อนั ดบั คศ.3 กรรมการ
4. นายเวียง ไชยสวัสด์ิ ครู อันดับ คศ.3 ๑๐๗
5. นายธธี ัช เอยี ดดี ครู อันดับ คศ.3
6. นางสาวนงคนุช ศิริสมบตั ิ ครู อนั ดบั คศ.๓ กรรมการ
7. นายกฤตภาส วงศว าทยกร ครู อนั ดบั คศ.๓ กรรมการ
8. นางสาวอรวรรณ ศรพี รมทอง ครู อันดับ คศ.๓ กรรมการ
9. นางสวการย ชแู สง ครู อนั ดับ คศ.๓ กรรมการ
10. นายกฤษฎา หนูประเสรฐิ ครู อันดับ คศ.๓ กรรมการ
11. นายวิวัฒน เช้ือแหลม ครู อันดับ คศ.๓ กรรมการ
12. นางสาววรรณา มณี ครู อันดับ คศ.๒ กรรมการ
13. นายสมประสงค บญุ ถนอม ครู อนั ดบั คศ.๑ กรรมการ
14. นางสาววิจติ รา ทฆี โภคานันท ครู อันดับ คศ.๑ กรรมการ
15. นายวฒั นพล จาระโห ครอู ัตราจาง กรรมการ
16. นายโรจนศกั ดิ์ มะศรีภมู ิ ครูอตั ราจา ง กรรมการ
17. นายสชุ าติ เข่ือนคำ ครอู ัตราจาง กรรมการ
18. นายอิสมาแอน เบญ็ หมาน ครูอัตราจา ง กรรมการ
19. นางสาวรณาพร มากจันทร บุคลากร กรรมการ
20. นายยมนา วงศม ณี ครู อันดบั คศ.2 กรรมการ
กรรมการ
กรรมการและเลขานุการ
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
(5 ประเดน็ พจิ ารณา : ยกเวน ประเด็นพิจารณา 2.3)
นางสรุ ียพร สงคป ระกอบ รองผอู ำนวยการสถานศึกษา ทีป่ รกึ ษา
1. นางสาววรารัตน ปนทองพนั ธุ ครู อันดบั คศ.3 ประธานกรรมการ
2. นางพิณญา นวลแกว ครู อนั ดบั คศ.3 รองประธานกรรมการ
3. นางสาวสาวบน เด็นหมัด ครู อนั ดบั คศ.3 กรรมการ
4. นางพรทพิ ย นวลแกว ครู อนั ดับ คศ.3 กรรมการ
5. นายสทิ ธิชยั แกวคำ ครู อนั ดบั คศ.3 กรรมการ
6. นางอาภรณ มณรี ัตน ครู อนั ดบั คศ.3 กรรมการ
7. นางสาวสมฤดี ดุกหลิ่ม
ครู อนั ดับ คศ.3 กรรมการ
8. นางสาวมลฤดี เพ็ชรส ุวรรณ ครู อันดับ คศ.3 กรรมการ
9. นางสาวจนั ทมิ ันตุ เปนสขุ ครู อันดับ คศ.3 กรรมการ
10. นางสาวศศธิ ร ลอ งชุม ครู อนั ดบั คศ.3 กรรมการ
ครู อนั ดับ คศ.๒ กรรมการ
11. นายสญั ญา มะโร
12. นางสาวธดิ ารัตน ขวัญศรสี ทุ ธ์ิ ครู อนั ดับ คศ.2 กรรมการ
13. นายอาทติ ย โชยรัมย ครู อันดับ คศ.2 กรรมการ
๑๐๘
๑4. นายวรี ะพจน กมิ าคม ครู อันดับ คศ.2 กรรมการ
15. นางฝารีดา มะยหี มดู ครู อนั ดบั คศ.2 กรรมการ
16. นางสาวกลุ นิดา จนั ทรคง ครู อนั ดบั คศ.1 กรรมการ
17. นางสาวกานตชนติ ทองเสนห ครู อันดบั คศ.1 กรรมการ
18. นายเนติ สนุ ทราวราวทิ ย ครู อันดับ คศ.1 กรรมการ
19. นางสาวณัฐนชิ วรรณสตู ร ครู อันดับ คศ.1 กรรมการ
20. นายศกั ดา ไชยสุวรรณ ครผู ชู วย กรรมการ
21. นางสาวพิชามญชุ บุญรงั ศรี ครอู ัตราจาง กรรมการ
22. นางสาวชลิกา อินทฤทธ์ิ ครูอัตราจาง กรรมการ
23. นางสาวกานตชนก กานตน ภทั ร ครอู ตั ราจาง
24. นางชมยั ภรณ จามิตร บคุ ลากร กรรมการ
25. นางสาวกมลรัตน ทวีศรี บคุ ลากร กรรมการ
26. นางสาววชั ราภรณ อปู คำ บุคลากร กรรมการ
27. นางสาวจริ ะประภา วงศท อง บุคลากร กรรมการ
๒8. นางสาวฉนั พิดา เลขขำ บุคลากร กรรมการ
29. นางสาวสจั จะ ขุนเปนทพิ ย ครู อนั ดับ คศ.3 กรรมการ
กรรมการและเลขานุการ
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทีเ่ นนผเู รยี นเปนสำคญั
(5 ประเด็นพจิ ารณา และมาตรฐานที่ 2 ประเดน็ พิจารณา 2.3)
นางสาวทิพวรรณ รตั นชูศรี รองผูอำนวยการสถานศึกษา ทปี่ รกึ ษา
1. วาที่รอ ยเอกมโนทย ชูพรหม ครู อนั ดบั คศ.4 ประธานกรรมการ
2. นางสุมณฑา เอมเอก ครู อันดับ คศ.3 รองประธานกรรมการ
3. นายศกั ด์ิดา เอมเอก ครู อนั ดับ คศ.3 กรรมการ
4. นายสุรยิ ันต ดำแปน ครู อันดับ คศ.3 กรรมการ
5. นางสาวกาญจนา เทพรัตน ครู อันดับ คศ.3 กรรมการ
6. นางสาวสรุ พร ลอยวสิ ทุ ธ์ิ ครู อันดับ คศ.3 กรรมการ
7. นางมนัสดา ดำแกว ครู อันดับ คศ.3 กรรมการ
8. นางภาชนิ ี คันธชาติ ครู อนั ดับ คศ.2 กรรมการ
9. นางสาวกวินปท ม สังขศิลปช ยั ครู อันดบั คศ.2 กรรมการ
10. นางสาวณัฐธยาน เพ็ชรนรินทร ครู อนั ดบั คศ.2 กรรมการ
11. นายธรรมรงค จองเจริญผล ครู อันดบั คศ.๒ กรรมการ
12. นางสาวปญาวดี รกั ษาแกว ครู อนั ดับ คศ.๒ กรรมการ
13. นางทพิ วรรณ ลมิ่ แกว ครู อนั ดบั คศ.๒ กรรมการ
14. นายสมศกั ดิ์ ตูสวุ รรณ ครู อนั ดบั คศ.๒ กรรมการ
๑๐๙
15. นายยาหรีน ฮจั ชา ครู อันดบั คศ.๑ กรรมการ
16. นางสาวกรณิ า อนิ ทจันทร ครู อนั ดบั คศ.๑ กรรมการ
17. นายอนรุ ักษ กักกอ
18. นายปยะ ปรงแกว ครูอัตราจา ง กรรมการ
19. นายพชิ ญะ ลยี ะผลมงคล ครอู ัตราจาง กรรมการ
๒0. นางสาวจนั ทิรา สุขทอง ครอู ัตราจาง กรรมการ
๒1. นายสมั พนั ธ หมาดหีม ครอู ตั ราจาง กรรมการ
22. นางสาวภทั รวดี เสียมใหม ครอู ตั ราจา ง กรรมการ
23. นางจริ ารักษ ชนกสุนนั ทพล ครูอัตราจาง กรรมการ
ครู อนั ดับ คศ.3 กรรมการและผูชว ยเลขานุการ
มีหนาท่ี – รวบรวมขอมูลเอกสารหลักฐาน และจัดทำสารสนเทศรายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาเสนอ
ตนสังกดั และหนวยงานท่เี ก่ยี วของ
ท้งั นี้ผูทไี่ ดรบั การแตง ตั้งปฏิบัติหนา ทีอ่ ยางเตม็ ความสามารถ เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสดุ กับองคกร หากมี
ปญหา อปุ สรรค ใหร บี รายงานฝา ยบรหิ ารทราบเพ่ือดำเนนิ การแกไขตอ ไป
สงั่ ณ วันท่ี 12 มีนาคม พ.ศ. 2564
(นายมนิต เพชรสวุ รรณ)
ผอู ำนวยการสถานศึกษาโรงเรยี นเทศบาล 4 (บา นแหลมทราย) ชว ยปฏิบัตริ าชการ
ผอู ำนวยการสถานศึกษาโรงเรียนเทศบาล 5 (วัดหัวปอ มนอก)
๑๑๐
ผลการประเมินคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค (ภาคเรยี นที่ ๑ ปการศกึ ษา ๒๕๖3)
จำนวน จำนวน/รอยละของนกั เรียนตามระดบั คณุ ภาพคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค
ระดบั ชน้ั นักเรียน ดเี ยย่ี ม ดี ผา น ไมผา น
ทัง้ หมด จำนวน รอยละ จำนวน รอยละ จำนวน รอ ยละ จำนวน รอ ยละ
มัธยมศึกษาปท่ี ๑ 359 230 64.07 129 35.93 0 0.00 0 0.00
มธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๒ 311 204 65.59 105 33.76 2 0.64 0 0.00
มธั ยมศึกษาปท่ี ๓ 362 259 71.55 98 27.07 5 1.38 0 0.00
มัธยมศกึ ษาปท ี่ ๔ 152 110 72.37 42 27.63 0 0.00 0 0.00
มธั ยมศึกษาปท ่ี ๕ 136 81 59.56 55 40.44 0 0.00 0 0.00
มัธยมศกึ ษาปท่ี ๖ 143 113 79.02 22 15.38 8 5.59 0 0.00
รวม 1,463 997 451 15 0
รอยละเฉล่ยี 100 68.15 30.83 1.03 0
ผลการประเมินคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค (ภาคเรยี นท่ี ๒ ปการศึกษา ๒๕๖๒3)
จำนวน จำนวน/รอยละของนกั เรียนตามระดบั คณุ ภาพคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค
ระดบั ช้ัน นักเรียน ดีเยยี่ ม ดี ผาน ไมผ า น
ทง้ั หมด จำนวน รอยละ จำนวน รอยละ จำนวน รอยละ จำนวน รอ ยละ
มัธยมศึกษาปท ี่ ๑ 354 273 77.12 77 21.75 1 0.28 3 0.85
มธั ยมศกึ ษาปท่ี ๒ 308 199 64.61 103 33.44 2 0.65 4 1.30
มธั ยมศกึ ษาปที่ ๓ 356 214 60.11 120 33.71 16 4.49 6 1.69
มธั ยมศกึ ษาปท่ี ๔ 148 110 74.32 28 18.92 7 4.73 3 2.03
มธั ยมศกึ ษาปท่ี ๕ 136 108 79.41 26 19.12 2 1.47 0 0.00
มัธยมศกึ ษาปท่ี ๖ 142 129 90.85 10 7.04 3 2.11 0 0.00
รวม 1,444 1,033 364 31 16
รอยละเฉลี่ย 100 71.54 25.21 2.15 1.11
๑๑๑
ผลการประเมินการอา น คิดวเิ คราะห เขยี นสอื่ ความ (ภาคเรยี นท่ี ๑ ปก ารศึกษา ๒๕๖3)
จำนวน จำนวน/รอยละของนกั เรียนตามระดบั คณุ ภาพ การอานคดิ วเิ คราะห และเขียน
ระดบั ช้ัน นกั เรยี น ดเี ยี่ยม ดี ผาน ไมผ าน
ทง้ั หมด จำนวน รอยละ จำนวน รอ ยละ จำนวน รอ ยละ จำนวน รอ ยละ
มธั ยมศกึ ษาปท่ี ๑ 359 235 65.46 124 34.54 0 0.00 0 0.00
มธั ยมศกึ ษาปท่ี ๒ 311 131 42.12 180 57.88 0 0.00 0 0.00
มัธยมศกึ ษาปท ่ี ๓ 362 156 43.09 206 56.91 0 0.00 0 0.00
มัธยมศกึ ษาปท ี่ ๔ 152 109 71.71 43 28.29 0 0.00 0 0.00
มัธยมศึกษาปที่ ๕ 136 94 69.12 42 30.88 0 0.00 0 0.00
มัธยมศึกษาปที่ ๖ 143 63 44.06 80 55.94 0 0.00 0 0.00
รวม 1,463 788 675 0 0
รอยละเฉล่ีย ๑๐๐ 53.86 46.14 0 0
ผลการประเมินการอาน คดิ วเิ คราะห เขียนสื่อความ (ภาคเรียนที่ ๒ ปการศกึ ษา ๒๕๖3)
จำนวน จำนวน/รอ ยละของนกั เรยี นตามระดบั คณุ ภาพ การอานคดิ วิเคราะห และเขยี น
ระดบั ช้ัน นักเรียน ดีเยย่ี ม ดี ผาน ไมผาน
ทัง้ หมด จำนวน รอ ยละ จำนวน รอยละ จำนวน รอยละ จำนวน รอ ยละ
มัธยมศึกษาปท ี่ ๑ 354 51 14.41 296 83.62 4 1.13 3 0.85
มัธยมศึกษาปท ่ี ๒ 308 154 50.00 148 48.05 3 0.97 3 0.97
มัธยมศึกษาปที่ ๓ 356 157 44.10 190 53.37 3 0.84 6 1.69
มัธยมศกึ ษาปที่ ๔ 148 66 44.59 78 52.70 1 0.68 3 2.03
มธั ยมศึกษาปที่ ๕ 136 94 69.12 41 30.15 1 0.74 0 0.00
มัธยมศึกษาปท่ี ๖ 142 76 53.52 62 43.66 4 2.82 0 0.00
รวม 1,444 598 815 16 15
รอยละเฉลยี่ ๑๐๐ 41.41 56.44 1.11 1.04
๑๑๒
ผลการประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผูเรยี น (ภาคเรียนที่ ๑ ปก ารศึกษา ๒๕๖3)
ระดบั ช้นั จำนวน จำนวน/รอยละของนกั เรยี นทีผ่ า นหรอื ไมผา น
นกั เรียน การประเมินกิจกรรมพฒั นาผเู รยี น
ท้ังหมด
ผา น ไมผ าน
จำนวน รอยละ จำนวน รอ ยละ
มธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๑ 359 359 352 98.05 7
มธั ยมศกึ ษาปท่ี ๒
มธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๓ 311 311 307 98.71 4
มธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๔
มธั ยมศึกษาปท่ี ๕ 362 362 358 98.90 4
มัธยมศกึ ษาปท ่ี ๖
152 152 151 99.34 1
136 136 136 100.00 0
143 143 142 99.30 1
รวม 1,463 1,446 17
รอยละเฉลีย่ ๑๐๐ 98.84 1.16
ผลการประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผูเรียน (ภาคเรยี นท่ี ๒ ปการศึกษา ๒๕๖3)
ระดบั ชนั้ จำนวน จำนวน/รอ ยละของนกั เรียนทผ่ี านหรือไมผา น
นกั เรยี น การประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผูเรยี น
ทัง้ หมด
ผา น ไมผ าน
จำนวน รอยละ จำนวน รอยละ
มธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๑ 354 352 99.44 2 0.56
มัธยมศกึ ษาปท่ี ๒
มัธยมศึกษาปที่ ๓ 308 300 97.40 8 2.60
มัธยมศกึ ษาปท ี่ ๔
มธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๕ 356 348 97.75 8 2.25
มัธยมศกึ ษาปท ่ี ๖
148 145 97.97 3 2.03
136 134 98.53 2 1.47
142 142 100.00 0 0.00
รวม 1,444 1,421 23
รอยละเฉลย่ี ๑๐๐ 98.41 1.59
รายละเอยี ดผลการจัดการเรียนรู (ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี
ระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐาน
ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ๘ กลมุ สาระการเรยี นรทู กุ ระดบั ชั้น (ม.๑-ม.๖) ปการศกึ ษา ๒๕๖3
ชนั้ มธั ยมศึกษ
กลมุ สาระการเรยี นร/ู รายวชิ า จำนวน จำน
รายวชิ าพนื้ ฐาน ท่ีเขาสอบ ๔ ๓.๕ ๓
1. ภาษาไทย
2. คณติ ศาสตร 359 2 25 94
3. วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 359 12 15 22
359 14 8 25
3.1 วิทยาการคำนวณ 359 33 66 92
4. สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 359 49 70 78
359 4 14 52
4.1 ประวตั ศิ าสตร 359 20 55 75
5. สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 359 125 84 73
6. ศิลปะ 359 29 20 54
7. การงานอาชพี
8. ภาษาตา งประเทศ 359 53 55 102
3,590 341 412 667
8.1 ภาษาองั กฤษ 100 9.50 11.48 18.58
รวม
รอยละ
113
ยนแสดงรายละเอียดทุกระดบั ) ตามหลักสตู รสถานศกึ ษา
3
ษาปท ี่ ๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ๑ ๐ จำนวน รอ ยละของ
นวนนกั เรียนท่ีมีผลการเรียนรู นกั เรียนที่ได นกั เรยี นท่ี
ระดับดี (๓) ไดระดบั ดี
๒.๕ ๒ ๑.๕ (๓)ขน้ึ ไป
ขึน้ ไป
102 70 41 24 0 121 33.70
42 79 101 86 0 49 13.65
55 80 104 72 0 47 13.09
68 59 30 9 1 191 53.20
58 45 33 25 1 197 54.87
104 128 53 3 0 70 19.50
105 75 23 4 0 150 41.78
46 29 0 0 0 282 78.55
66 34 45 106 5 103 28.69
73 48 26 1 0 210 58.50
719 647 456 330 7 1,420 39.55
20.03 18.02 12.70 9.19 0.19
113
ชัน้ มธั ยมศึกษ
กลุมสาระการเรยี นร/ู รายวชิ า จำนวน จำน
รายวิชาพ้นื ฐาน ทเ่ี ขาสอบ ๔ ๓.๕ ๓
1. ภาษาไทย
2. คณติ ศาสตร 354 43 43 78
3. วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 354 18 17 42
354 8 14 17
3.1 การออกแบบและเทคโนโลยี 354 119 74 66
4. สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 354 120 86 69
354 25 60 87
4.1 ประวตั ศิ าสตร 354 31 86 116
5. สขุ ศึกษาและพลศึกษา 354 150 90 57
6. ศลิ ปะ 250 33 17 32
7. การงานอาชพี
8. ภาษาตา งประเทศ 354 24 25 79
3,436 571 512 643
8.1 ภาษาอังกฤษ 100 16.62 14.90 18.71
รวม
รอยละ
114
ษาปที่ ๑ ภาคเรยี นที่ ๒ จำนวน รอ ยละของ
นวนนักเรยี นท่ีมีผลการเรียนรู นักเรยี นทไ่ี ด นกั เรียนท่ี
๒.๕ ๒ ๑.๕ ๑ ๐ ระดบั ดี (๓) ไดระดบั ดี
ขึ้นไป (๓)ขนึ้ ไป
59 57 45 26 3 164 46.33
63 100 55 45 14 77 21.75
43 74 117 71 10 39 11.02
31 27 15 19 3 259 73.16
37 20 11 7 4 275 77.68
105 64 4 1 8 172 48.59
65 21 17 12 6 233 65.82
33 8 6 7 3 297 83.90
52 30 17 29 40 82 32.80
106 97 18 2 3 128 36.16
594 498 305 219 94 1,726 50.23
17.29 14.49 8.88 6.37 2.74
114
ชน้ั มธั ยมศกึ ษ
กลุมสาระการเรยี นร/ู รายวิชา จำนวน จำน
รายวชิ าพืน้ ฐาน ที่เขาสอบ ๔ ๓.๕ ๓
1. ภาษาไทย
2. คณติ ศาสตร 311 28 62 72
3. วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 311 26 19 47
311 9 13 22
3.1 การออกแบบและเทคโนโลยี 311 58 80 83
4. สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 311 16 38 65
311 46 27 57
4.1 ประวัตศิ าสตร 311 52 75 101
5. สุขศึกษาและพลศึกษา 311 83 94 69
6. ศิลปะ 311 164 29 37
7. การงานอาชีพ
8. ภาษาตา งประเทศ 311 7 16 35
3,110 489 453 588
8.1 ภาษาองั กฤษ 100 15.72 14.57 18.91
รวม
รอยละ
115
ษาปท ี่ ๒ ภาคเรยี นที่ ๑ จำนวน รอยละของ
นวนนกั เรียนท่ีมีผลการเรยี นรู
นักเรียนท่ีได นักเรียนท่ี
๒.๕ ๒ ๑.๕
๑ ๐ ระดบั ดี (๓) ไดระดบั ดี
ข้ึนไป (๓)ขน้ึ ไป
63 31 23 28 311 162 52.09
29.58
47 55 49 63 311 92 14.15
71.06
54 72 72 66 311 44 38.26
41.80
47 19 13 9 311 221 73.31
79.10
89 43 15 39 311 119 73.95
45 44 37 51 311 130
34 13 2 29 311 228
51 7 2 4 311 246
36 31 9 3 311 230
48 58 46 91 311 58 18.65
514 373 268 383 38 1,530 49.20
16.53 11.99 8.62 12.32 1.22
115
กลมุ สาระการเรยี นร/ู รายวชิ า ชน้ั มธั ยมศึกษ
รายวชิ าพนื้ ฐาน จำนวน จำน
1. ภาษาไทย ที่เขาสอบ ๔ ๓.๕ ๓
2. คณติ ศาสตร
3. วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 308 28 36 64
308 16 16 61
3.1 วิทยาการคำนวณ 308 13 10 31
4. สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 308 47 49 67
308 37 59 102
4.1 ประวตั ศิ าสตร 308 44 64 66
5. สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 308 23 98 120
6. ศิลปะ 308 74 72 84
7. การงานอาชพี 308 157 13 20
8. ภาษาตา งประเทศ
308 14 28 32
8.1 ภาษาอังกฤษ 3,080 453 445 647
รวม 100 14.71 14.45 21.01
รอยละ
116
ษาปท ี่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒ จำนวน รอ ยละของ
นวนนักเรยี นท่ีมีผลการเรยี นรู
นักเรยี นท่ีได นกั เรยี นทไ่ี ด
๒.๕ ๒ ๑.๕
๑ ๐ ระดับดี (๓) ระดับดี (๓)
ขึน้ ไป ข้นึ ไป
81 36 27 23 11 128 41.56
85 57 21 38 13 93 30.19
69 91 63 24 7 54 17.53
50 37 35 14 9 163 52.92
55 24 13 9 8 198 64.29
40 39 26 14 13 174 56.49
41 20 1 0 1 241 78.25
37 22 7 5 7 230 74.68
24 24 20 41 7 190 61.69
54 96 57 8 18 74 24.03
536 446 270 176 94 1,545 50.16
17.40 14.48 8.77 5.71 3.05
116
ชั้นมธั ยมศกึ ษ
กลุม สาระการเรยี นร/ู รายวิชา จำนวน จำน
รายวชิ าพื้นฐาน ทเ่ี ขาสอบ ๔ ๓.๕ ๓
1. ภาษาไทย
2. คณติ ศาสตร 362 10 8 45
3. วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 362 43 17 52
362 9 11 32
3.1 การออกแบบและเทคโนโลยี 362 44 88 147
4. สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 362 66 54 60
362 183 44 42
4.1 ประวัตศิ าสตร 362 136 99 47
5. สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา 362 87 99 66
6. ศิลปะ 362 178 61 41
7. การงานอาชีพ
8. ภาษาตา งประเทศ 362 35 24 49
3,620 791 505 581
8.1 ภาษาองั กฤษ 100 21.85 13.95 16.05
รวม
รอยละ