The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Saobon Denmud, 2022-05-05 05:28:32

SAR 2563

SAR 2563

117

ษาปที่ ๓ ภาคเรียนท่ี ๑ จำนวน รอ ยละของ

นวนนักเรยี นท่ีมีผลการเรยี นรู นักเรียนทีไ่ ด นกั เรยี นท่ี

๒.๕ ๒ ๑.๕ ๑ ๐ ระดับดี (๓) ไดร ะดบั ดี
ขน้ึ ไป (๓)ขนึ้ ไป

63 64 58 107 6 63 17.40
43 70 51 83 3 112 30.94
48 74 90 92 6 52 14.36
63 18 0 1 1 279 77.07
57 35 44 40 6 180 49.72
39 18 13 19 4 269 74.31
26 24 15 12 2 282 77.90
59 29 12 7 3 252 69.61
31 18 10 23 0 280 77.35

51 87 51 60 5 108 29.83
480 437 344 444 36 1,877 51.85
13.26 12.07 9.50 12.27 0.99

117

กลุม สาระการเรียนร/ู รายวิชา ช้ันมธั ยมศึกษา

รายวชิ าพืน้ ฐาน จำนวน จำน
1. ภาษาไทย ท่เี ขาสอบ ๔ ๓.๕ ๓
2. คณติ ศาสตร
3. วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 356 30 39 53
356 22 10 31
3.1 วทิ ยาการคำนวณ 356 28 18 41
4. สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 356 3 15 58
356 136 43 62
4.1 ประวัตศิ าสตร 356 136 46 62
5. สุขศึกษาและพลศึกษา 356 59 63 84
6. ศลิ ปะ 356 106 66 84
7. การงานอาชพี 356 183 58 36
8. ภาษาตา งประเทศ
356 26 21 39
8.1 ภาษาอังกฤษ 3,560 729 379 550
รวม 100 20.48 10.65 15.45
รอยละ

118

าปท ี่ ๓ ภาคเรยี นที่ ๒ จำนวน รอยละของ
นวนนกั เรียนท่ีมีผลการเรยี นรู
นกั เรียนทีไ่ ด นักเรียนทีไ่ ด
๒.๕ ๒ ๑.๕
๑ ๐ ระดบั ดี (๓) ระดับดี (๓)
ข้นึ ไป ขึน้ ไป

55 50 66 57 6 122 34.27

50 67 95 76 5 63 17.70

69 90 53 52 5 87 24.44

117 100 37 19 7 76 21.35

46 25 18 19 7 241 67.70

42 32 16 18 4 244 68.54

61 50 24 8 5 206 57.87

56 16 13 11 4 256 71.91

17 17 12 28 5 277 77.81

34 100 73 57 6 86 24.16
547 547 407 345 54 1,658 46.57
15.37 15.37 11.43 9.69 1.52

118

ชัน้ มธั ยมศึกษ

กลุมสาระการเรียนรู/ รายวิชา จำนวน จำน

รายวชิ าพืน้ ฐาน ทเ่ี ขาสอบ ๔ ๓.๕ ๓
1. ภาษาไทย
2. คณติ ศาสตร 152 0 10 37
3. วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 152 24 5 11

3.1 วิทยาศาสตรชวี ภาพ 66 0 9 10
3.2 วิทยาการคำนวณ 152 16 26 47
4. สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
4.1 ภมู ิศาสตร 152 9 39 58
4.2 ประวตั ศิ าสตร 152 67 41 15
5. สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา 152 10 38 65
6. ศิลปะ 152 14 48 62
7. การงานอาชพี 152 109 21 8
8. ภาษาตา งประเทศ
8.1 ภาษาองั กฤษ 152 21 21 25
รวม 1,434 270 258 338
รอยละ 100 18.83 17.99 23.57

119

ษาปท ี่ ๔ ภาคเรียนที่ ๑ จำนวน รอ ยละของ

นวนนกั เรยี นทีม่ ีผลการเรียนรู นักเรียนทไี่ ด นกั เรียนที่

๒.๕ ๒ ๑.๕ ๑ ๐ ระดับดี (๓) ไดระดับดี
ข้ึนไป (๓)ขนึ้ ไป

48 30 10 17 0 47 30.92
29 26 25 31 1 40 26.32

24 15 7 1 0 19 28.79
27 18 8 9 0 89 58.55

33 11 2 0 0 106 69.74
10 9 5 5 0 123 80.92
27 9 2 1 0 113 74.34
26 1 0 1 0 124 81.58
6 5 2 1 0 138 90.79

32 32 15 6 0 67 44.08
262 156 76 72 1 866 60.39
18.27 10.88 5.30 5.02 0.07

119

กลมุ สาระการเรียนร/ู รายวิชา จำนวน ชนั้ มธั ยมศึกษา
ท่เี ขาสอบ จำน
รายวชิ าพืน้ ฐาน
1. ภาษาไทย 148 ๔ ๓.๕ ๓
2. คณติ ศาสตร 148
3. วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 3 10 34
82 28 18 24
3.1 วทิ ยาศาสตรช ีวภาพ 148
3.2 การออกแบบและเทคโนโลยี 006
4. สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 148 10 21 36
4.1 ภูมิศาสตร 148
4.2 ประวัตศิ าสตร 148 7 41 43
5. สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 148 39 49 29
6. ศลิ ปะ 148 23 42 54
7. การงานอาชพี 45 59 34
8. ภาษาตา งประเทศ 148 69 38 32
8.1 ภาษาองั กฤษ 1,414
100 3 8 20
รวม 227 286 312
รอยละ 16.05 20.23 22.07

120

าปท ่ี ๔ ภาคเรียนที่ ๒ จำนวน รอยละของ
นวนนกั เรียนที่มีผลการเรยี นรู
นักเรียนท่ไี ด นกั เรยี นที่ได
๒.๕ ๒ ๑.๕
๑ ๐ ระดับดี (๓) ระดับดี (๓)
ข้ึนไป ข้ึนไป

24 20 18 23 16 47 31.67

26 17 12 18 5 70 47.30

11 24 25 7 9 6 7.32

39 25 11 3 3 67 45.27

34 11 8 1 3 91 61.49
11 9 5 3 3 117 79.05
17 8 1 0 3 119 80.41
7 0 0 0 3 138 93.24
4 2 0 0 2 139 93.92

43 35 25 11 3 31 20.95
825 58.35
216 151 105 66 50
15.28 10.68 7.43 4.67 3.54

120

ช้นั มธั ยมศกึ ษ

กลุมสาระการเรยี นร/ู รายวชิ า จำนวน จำน

รายวชิ าพ้นื ฐาน ที่เขาสอบ ๔ ๓.๕ ๓
1. ภาษาไทย
2. คณติ ศาสตร 136 33 24 24
3. วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 136 29 10 18

3.1 วทิ ยาศาสตรกายภาพ 136 27 12 22
3.2 การออกแบบและเทคโนโลยี 136 47 26 24
4. สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
4.1 ภูมิศาสตร 136 25 21 21
4.2 ประวัตศิ าสตร 136 84 20 7
5. สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา 136 39 29 32
6. ศลิ ปะ 136 21 42 32
7. การงานอาชีพ 136 66 38 14
8. ภาษาตา งประเทศ
8.1 ภาษาองั กฤษ 136 22 16 24
1,360 393 238 218
รวม 100 28.90 17.50 16.03
รอ ยละ

121

ษาปที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ จำนวน รอ ยละของ

นวนนักเรียนทม่ี ีผลการเรยี นรู นักเรยี นทไี่ ด นกั เรยี นท่ี

๒.๕ ๒ ๑.๕ ๑ ๐ ระดับดี (๓) ไดระดับดี
ขึน้ ไป (๓)ขน้ึ ไป

20 18 9 8 0 81 59.56
27 26 18 8 0 57 41.91

44 14 9 8 0 61 44.85
18 20 1 0 0 97 71.32

23 29 14 3 0 67 49.26
111 81.62
4 3 2 15 1 100 73.53
95 69.85
25 8 300 118 86.76

25 11 5 0 0

4 2 750

24 21 17 12 0 62 45.59
214 152 85 59 1 849 62.43
15.74 11.18 6.25 4.34 0.07

121

กลมุ สาระการเรยี นรู/รายวิชา จำนวน ช้ันมธั ยมศึกษา
ท่ีเขาสอบ จำน
รายวิชาพน้ื ฐาน
1. ภาษาไทย 136 ๔ ๓.๕ ๓
2. คณติ ศาสตร 136
3. วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 6 9 30
136 25 7 13
3.1 วิทยาศาสตรกายภาพ 136
3.2 วทิ ยาการคำนวณ 16 18 26
4. สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 136 17 16 46
4.1 ภูมิศาสตร 136
4.2 ประวัตศิ าสตร 136 18 26 38
5. สุขศึกษาและพลศกึ ษา 136 93 14 13
6. ศิลปะ 136 10 17 36
7. การงานอาชีพ 136 0 0
8. ภาษาตา งประเทศ 136 61 37 25
8.1 ภาษาอังกฤษ 1,360
100 19 16 16
รวม
รอยละ 401 160 243
29.49 11.76 17.87

122

าปท ี่ ๕ ภาคเรยี นท่ี ๒ จำนวน รอยละของ
นวนนักเรียนที่มีผลการเรียนรู
นกั เรยี นทไ่ี ด นักเรียนทีไ่ ด
๒.๕ ๒ ๑.๕
๑ ๐ ระดบั ดี (๓) ระดบั ดี (๓)
ข้นึ ไป ขนึ้ ไป

44 32 9 6 0 45 33.09
9 24 15 39 4 45 33.09

16 22 20 16 2 60 44.12
33 15 6 3 0 79 58.09

25 13 7 4 5 82 60.29
6 4 1 0 5 120 88.24
28 11 19 13 2 63 46.32
0 0 0 0 0 136 100.00
9 2 1 0 1 123 90.44

20 25 11 20 9 51 37.50
804 59.12
190 148 89 101 28
13.97 10.88 6.54 7.43 2.06

122

กลมุ สาระการเรยี นรู/รายวชิ า จำนวน ช้นั มธั ยมศกึ ษ
ท่ีเขาสอบ จำน
รายวชิ าพนื้ ฐาน
1. ภาษาไทย 143 ๔ ๓.๕ ๓
2. คณติ ศาสตร 143
3. วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 115 8 15 37
143 14 4 7
3.1 วทิ ยาการคำนวณ 32 5
4. สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 143 24 19 29
143
4.1 ภูมศิ าสตร 143 34 28 23
5. สุขศึกษาและพลศกึ ษา 143 19 27 35
6. ศลิ ปะ 132 10 1
7. การงานอาชีพ 143 80 24 14
8. ภาษาตา งประเทศ 1,259
100 23 39 48
8.1 ภาษาอังกฤษ
รวม 337 168 199
26.77 13.34 15.81
รอ ยละ

123

ษาปท ี่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑ จำนวน รอ ยละของ

นวนนักเรียนท่ีมีผลการเรยี นรู นักเรียนท่ีได นักเรียนที่

๒.๕ ๒ ๑.๕ ๑ ๐ ระดบั ดี (๓) ไดร ะดบั ดี
ข้ึนไป (๓)ขนึ้ ไป

30 43 9 0 1 60 41.96
10 14 19 74 1 25 17.48
16 37 41 11 0 10 8.70
27 24 13 7 0 72 50.35

25 17 9 6 1 85 59.44
81 56.64
47 7 2 51 143 100.00
118 82.52
0 0 000

8 5 650

25 3 1 31 110 76.92
704 55.92
188 150 100 111 5

14.93 11.91 7.94 8.82 0.40

123

กลุมสาระการเรียนรู/รายวิชา จำนวน ชั้นมธั ยมศกึ ษา
ทเี่ ขาสอบ จำน
รายวิชาพ้นื ฐาน
1. ภาษาไทย 142 ๔ ๓.๕ ๓
2. วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 28
3. สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 16 15 23
142 536
3.1 ภมู ิศาสตร 142
4. สขุ ศึกษาและพลศึกษา 142 56 38 15
5. ศิลปะ 142 0 10 12
6. การงานอาชีพและเทคโนโลยี 63 63 14
7. ภาษาตา งประเทศ 142 122 17 1
880
7.1 ภาษาองั กฤษ 100 478
รวม
266 153 79
รอ ยละ 30.23 17.39 8.98

(จดั ทำขอ มูลจนครบทกุ ระดับช้นั ขอ มูลรายวิชาใหเ ปนไปตามโครงสรางหลกั สตู รของสถานศกึ ษา)

124

าปที่ ๖ ภาคเรียนท่ี ๒ จำนวน รอ ยละของ
นวนนกั เรยี นทมี่ ีผลการเรียนรู
นักเรยี นที่ได นักเรยี นทไ่ี ด
๒.๕ ๒ ๑.๕
๑ ๐ ระดบั ดี (๓) ระดับดี (๓)
ข้ึนไป ขึ้นไป

19 29 31 9 0 54 38.03

7 4 1 2 0 14 50.00

14 9 3 7 0 109 76.76

31 60 23 6 0 22 15.49

0 2 0 0 0 140 98.59

0 0 0 2 0 140 98.59

11 20 40 52 0 19 13.38
498 56.59
82 124 98 78 0
9.32 14.09 11.14 8.86 0.00

)

124

125

ประกาศโรงเรยี นเทศบาล ๕ (วัดหัวปอ มนอก)
เร่อื ง การใชม าตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษาระดบั การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน
เพ่ือการประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษาตามมาตรฐานการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน

~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~~
โดยที่มีการประกาศใชกฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพ
การศึกษา พ.ศ. 2561ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ใหสถานศึกษาแตละแหงจัดใหมีระบบการประกัน
คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โดยการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาใหเ ปนไปตามมาตรฐาน
การศกึ ษาแตละระดับและประเภทการศึกษาโรงเรียนเทศบาล ๕ (วัดหวั ปอ มนอก) สงั กดั สำนกั การศึกษา เทศบาล
นครสงขลาจึงปรับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยความเห็นชอบของ
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและการมีสวนรวมของผูเกี่ยวของทั้งบุคลากรทกุ คนในโรงงเรียน ผูปกครอง
และประชาชนในชมุ ชน ใหเ หมาะสมและสอดคลอ งกัน เพ่ือนำไปสกู ารพฒั นาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา การ
ประเมินคณุ ภาพภายในและเพอ่ื รองรับการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก

โรงเรียนเทศบาล ๕ (วัดหัวปอมนอก) จึงประกาศใชมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ระดับการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ตามเอกสารแนบทา ยประกาศน้ี เพื่อเปน เปาหมายในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน
การศกึ ษาระดบั การศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน และการประเมนิ คณุ ภาพภายใน

ประกาศ ณ วันท่ี ๑๒ เดอื น ตุลาคม พ.ศ. 2561

ลงชื่อ ลงช่อื

(นายสมชาติ เหลอื งสะอาด) (นายถนอมศกั ดิ์ แปะเสง)

ผอู ำนวยการสถานศกึ ษาโรงเรียนเทศบาล ๕ (วัดหวั ปอ มนอก) ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษา

126

มาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษาแนบทายประกาศโรงเรียนเทศบาล ๕ (วดั หัวปอมนอก)
เร่อื ง การใชม าตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษาระดับการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน
เพอื่ การประเมนิ คณุ ภาพภายในของสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา
ขน้ั พน้ื ฐาน ปพ ทุ ธศักราช2561

มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผูเรยี น มาตรฐานสถานศกึ ษา
ประเด็นการพิจารณา
ผูเรยี นมที ักษะในการอาน การเขียน การสอื่ สาร และ
1.๑ ผลสมั ฤทธ์ิทางวิชาการของผูเรยี น การคดิ คำนวณตามเกณฑทส่ี ถานศึกษา กำหนดในแต
1) ผเู รียนมคี วามสามารถในการอาน เขยี น การ ละระดบั ช้นั
สือ่ สาร และการคิดคำนวณ ผเู รียนมีความสามารถในการคิดจำแนกแยกแยะ
ใครค รวญไตรตรอง พจิ ารณาอยา งรอบคอบ โดยใช
2) ผเู รียนมีความสามารถในการคดิ วิเคราะห คดิ เหตผุ ลประกอบการตัดสินใจ มีการอภปิ ราย
อยางมีวจิ ารณญาณ อภปิ ราย แลกเปล่ียนความ แลกเปลีย่ นความคิดเห็น และแกปญหาอยางมเี หตผุ ล
คิดเหน็ และแกไ ขปญหา ผูเรยี นมีความสามารถในการรวบรวมความรไู ดท ั้งดว ย
ตวั เองและการทำงานเปน ทีม เชอ่ื มโยง องคความรู
3) ผเู รียนมคี วามสามารถในการสรา งนวตั กรรม และประสบการณมาใชในการสรางสรรคส ง่ิ ใหมๆ อาจ
เปนแนวความคดิ โครงการ โครงงาน ช้นิ งาน ผลผลิต

4) ผูเ รยี นมคี วามสามารถในการใชเ ทคโนโลยี ผเู รียนมคี วามสามารถในใชเทคโนโลยีสารสนเทศและ
สารสนเทศและการสือ่ สาร การสอ่ื สารเพื่อการพัฒนาตนเองและ สงั คมในดานการ
เรยี นรู การสื่อสาร การทำงาน อยางสรา งสรรค และมี
5) ผเู รยี นมีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลักสตู ร คุณธรรม
สถานศึกษา
ผูเรยี นบรรลุและมีความกาวหนา ในการเรียนรตู าม
6) ผูเ รียนมคี วามรู ทักษะพ้นื ฐาน และเจตคติท่ีดตี อ หลักสูตรสถานศกึ ษาจากพ้ืนฐานเดิมใน ดานความรู
งานอาชพี ความเขา ใจ ทักษะ กระบวนการตา งๆ รวมทง้ั มี
ความกา วหนาในผลการทดสอบระดับชาติ หรือผลการ
ทดสอบอ่นื ๆ
ผเู รยี นมีความรู ทกั ษะพืน้ ฐานในการจัดการ เจตคตทิ ด่ี ี
พรอ มที่จะศึกษาตอในระดับชั้นท่ี สงู ขึ้น การทำงาน
หรืองานอาชพี

127

ประเด็นการพิจารณา มาตรฐานสถานศึกษา
1.2 คุณลักษณะทพี่ งึ ประสงคของผเู รียน
1) ผเู รียนมคี ณุ ลกั ษณะและคานิยมทีด่ ีตามที่ ผเู รยี นมพี ฤติกรรมเปนผูที่มีคุณธรรม จรยิ ธรรม เคารพ
สถานศกึ ษากำหนด ในกฎกติกา มีคา นยิ มและจติ สำนึก ตามท่ีสถานศึกษา
กำหนดโดยไมขัดกับกฎหมายและวัฒนธรรมอันดขี อง
2) ผเู รียนมคี วามภาคภมู ใิ จในทอ งถิ่นและความเปน สังคม
ไทย ผูเรยี นมคี วามภูมิใจในทองถิน่ เห็นคุณคา ของความ
เปน ไทย มีสวนรวมในการอนุรักษ วฒั นธรรมและ
ประเพณไี ทย รวมทงั้ ภูมิปญญาไทย

3) ผเู รียนยอมรบั ที่จะอยูร วมกนั ผเู รยี นยอมรบั และอยูรว มกันบนความแตกตา งระหวา ง
บนความแตกตา งและหลากหลาย บุคคลในดาน เพศ วยั เชอ้ื ชาติ ศาสนา ภาษา
วฒั นธรรม ประเพณี
4) ผเู รียนมีสขุ ภาวะทางรางกาย ผูเรียนมีการรกั ษาสขุ ภาพกาย สุขภาพจติ อารมณ
และจิตสงั คม และสังคม และแสดงออกอยา งเหมาะสม ในแตล ะชว ง
วัยสามารถอยูรวมกับคนอน่ื อยา งมีความสขุ เขา ใจ
ผูอ ื่น ไมม คี วามขัดแยง กับผูอื่น

128

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ

ประเดน็ การพิจารณา มาตรฐานสถานศึกษา

๒.๑ มเี ปาหมาย วิสยั ทศั น และพันธกจิ ท่ีชัดเจน สถานศึกษากำหนดเปา หมาย วิสยั ทัศน และพันธกจิ

ไวอยางชดั เจน สอดคลองกับบริบทของ สถานศึกษา

ความตอ งการของชุมชน ทองถนิ่ วตั ถุประสงคของ

แผนการศกึ ษาแหง ชาติ นโยบายของรฐั บาล และของ

ตนสังกดั รวมท้งั ทนั ตอการเปลย่ี นแปลงของสังคม

2.2 มีระบบจัดการคุณภาพของสถานศึกษา สถานศึกษาสามารถบรหิ ารจดั การคณุ ภาพของ

สถานศกึ ษาอยางเปน ระบบทั้งในสว นการวางแผน

พัฒนาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษา การนำแผนไปปฏบิ ัติ

เพือ่ พฒั นาคุณภาพการศึกษา มีการตดิ ตามตรวจสอบ

ประเมินผลและปรับปรุงพัฒนางานอยา งตอเนื่อง มี

การบริหารอัตรากำลัง ทรัพยากรทางการศึกษา และ

ระบบ ดูแลชวยเหลือนักเรียน มรี ะบบการนเิ ทศภายใน

การนำขอมลู มาใชในการพฒั นาบุคลากรและผูที่

เก่ยี วขอ งทุกฝา ยมสี วนรวมการวางแผน ปรับปรุง และ

พฒั นา และรว มรับผดิ ชอบตอผลการจัดการศึกษา

2.3 การพัฒนาวิชาการที่เนนคณุ ภาพผูเ รียนรอบ สถานศึกษาบริหารจดั การเก่ียวกบั งานวิชาการ ทงั้ ดาน
ดา นตามหลักสูตรสถานศกึ ษาและทุกกลุมเปา หมาย การพฒั นาหลกั สตู ร กจิ กรรมเสรมิ หลกั สตู ร ท่เี นน

คุณภาพผเู รียนรอบดา น เชอ่ื มโยงวิถชี วี ติ จริง และ

ครอบคลุมทกุ กลุมเปาหมาย หมายรวมถึงการจัดการ

เรยี นการสอนของกลุม ทเ่ี รียนแบบควบรวมหรอื กลมุ ที่

เรยี นรว มดว ย

2.4 การพัฒนาครูและบุคลากรใหมคี วามเชี่ยวชาญ สถานศกึ ษาสงเสรมิ สนบั สนุน พัฒนาครู บคุ ลากร ให

ทางวชิ าชพี มคี วามเช่ยี วชาญทางวชิ าชีพ และจดั ใหมชี มุ ชน การ

เรียนรทู างวิชาชพี มาใชใ นการพฒั นางานและการ

เรยี นรูของผเู รียน

2.5 จดั สภาพแวดลอมทางกายภาพและสงั คมทเี่ อื้อ สถานศึกษาจัดสภาพแวดลอ มทางกายภาพทง้ั ภายใน

ตอการจัดการเรยี นรอู ยางมีคุณภาพ และภายนอกหองเรยี น และสภาพแวดลอ มทางสงั คม

ท่เี อ้ือตอการจัดการเรยี นรู และมีความปลอดภยั

2.6 จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื สนับสนุน สถานศึกษาจดั ระบบการจดั หา การพัฒนาและการ
การบริหารจัดการและการเรยี นรู บริการ เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือใชในการบรหิ าร
จัดการและการจัดการเรยี นรู ทีเ่ หมาะสมกบั สภาพของ
สถานศกึ ษา

129

มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เนนผูเรียนเปนสำคญั

ประเด็นการพิจารณา มาตรฐานสถานศกึ ษา

3.1 การจัดการเรยี นรผู านกระบวนการคดิ และ จดั กจิ กรรมการเรยี นรตู ามมาตรฐานการเรยี นรู ตัวชีว้ ัด

ปฏบิ ตั ิจรงิ และสามารถนำไปประยุกตใ ชในชีวิตได ของหลกั สูตรสถานศึกษาทีเ่ นนใหผ ูเรียนได เรียนรูโ ดย

ผา นกระบวนการคดิ และปฏบิ ัตจิ รงิ มแี ผนการจัดการ

เรยี นรทู ีส่ ามารถนำไปจดั กิจกรรมไดจรงิ ผูเรียนไดร ับ

การฝก ทักษะ แสดงออกแสดงความคดิ เหน็ สรปุ องค

ความรู นำเสนอผลงานและสามารถนำไปประยุกตใช

ในชวี ิตได

3.2 ใชส ่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง เรียนรูที่ มีการใชส ื่อ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลงเรียนรู

เอือ้ ตอการเรียนรู รวมท้ังภมู ิปญ ญาทองถ่ินมาใชในการจดั การเรียนรู

โดยสรา งโอกาสใหผ ูเรียนไดแ สวงหาความรดู ว ยตนเอง

จากส่ือทห่ี ลากหลาย

3.3 มีการบรหิ ารจดั การชน้ั เรียนเชงิ บวก ครูผสู อนมีการบรหิ ารจัดการชน้ั เรยี น โดยเนนการการ
มีปฏิสัมพันธเ ชิงบวก ใหเ ด็กรกั ครู ครรู กั เด็ก และเด็ก
3.4 ตรวจสอบและประเมินผูเรยี นอยา งเปนระบบ รกั เด็ก เดก็ รักทีจ่ ะเรยี นรู สามารถเรยี นรูรวมกันอยา ง
และนำผลมาพัฒนาผเู รยี น มีความสุข
มีการตรวจสอบและประเมนิ คุณภาพการจดั การเรยี นรู
3.5 มกี ารแลกเปลี่ยนเรียนรแู ละใหขอมูลสะทอน อยางเปน ระบบ มขี น้ั ตอนโดยใชเครอ่ื งมือและ วธิ กี าร
กลับเพื่อพฒั นาและปรบั ปรุงการจดั การเรยี นรู วัดและประเมนิ ผลท่ีเหมาะสมกับเปาหมายในการ
จัดการเรยี นรู และใหขอมูลยอ นกลับแกผเู รียนเพ่ือ
นำไปใชพฒั นาการเรียนรู
ครแู ละผูมีสวนเกย่ี วของรว มกันแลกเปลย่ี นความรูและ
ประสบการณรวมทงั้ ใหขอ มลู ปอ นกลับเพอ่ื นำไปใชใ น
การปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนรู

130

ประกาศโรงเรยี นเทศบาล ๕ (วัดหัวปอมนอก)
เรอ่ื ง กำหนดมาตรฐานการศึกษาระดบั การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานของโรงเรยี น

---------------------------------------

ดวยโรงเรียนเทศบาล ๕ (วัดหัวปอมนอก) สังกัดสำนักการศึกษา เทศบาลนครสงขลา อำเภอ
เมืองสงขลา จังหวัดสงขลา มีภารกจิ จัดการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2560) โดยใชหลกั สูตรการศึกษาขัน้ พ้ืนฐานของโรงเรียน
พ.ศ. 2561 เปนเครื่องมือสำคัญในการจัดการเรียนการสอนและการสงเสริมการเรียนรู เพื่อใหนักเรียนบรรลุ
คุณลักษณะตามที่หลักสูตรกำหนด และเปนไปตามเจตนารมณวัตถุประสงคการจัดการศึกษาของชาติ พรอม
สนองตอบความตองการของผูปกครอง เอกลักษณของทองถิ่นและขับเคลื่อนดวยแผนพัฒนาคุณภาพการจัด
การศึกษาแผนปฏิบัติการประจำปการศึกษา ๒๕๖๑ เพื่อพัฒนาสูคุณภาพทั้งระบบอยางมีประสิทธิภาพและมี
มาตรฐานเปน ท่ียอมรบั โดยทวั่ ไป

โรงเรียนเทศบาล ๕ (วดั หัวปอ มนอก) จงึ กำหนดมาตรฐานการศึกษาระดบั การศึกษาข้ันพื้นฐานข้ึน
เปนมาตรฐานการศึกษาที่สอดคลองกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ เอกลักษณของโรงเรียน และมาตรฐาน
การศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของกระทรวงศึกษาธิการ และครอบคลุมสาระการเรียนรูและกระบวนการ
เรียนรู รวมทั้งสอดคลองกับศักยภาพของนักเรียน ชมุ ชนและทอ งถิ่น สำหรับใชด ำเนินงานและประเมินคุณภาพ
ระบบการประกันคุณภาพภายในโรงเรียน และเพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่ส่ี จำนวน
๓ มาตรฐาน ๒๑ประเดน็ พิจารณา ดังรายละเอียดในตารางแนบทา ยประกาศนี้

ทงั้ น้ใี หมผี ลดำเนนิ การตัง้ แตเรมิ่ ปก ารศึกษา 2561

ประกาศ ณ วนั ที่ ๑๒ เดือน ตุลาคม พ.ศ.2561

(นายสมชาติ เหลืองสะอาด)
ผอู ำนวยการสถานศึกษาโรงเรียนเทศบาล ๕ (วดั หวั ปอ มนอก)

131

มาตรฐาน ประเด็นการพจิ ารณา มาตรฐานสถานศึกษา

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผูเรยี น

มาตรฐาน ประเดน็ การพจิ ารณา มาตรฐานสถานศึกษา
ผูเรียนมีทักษะในการอาน การเขียน
1.๑ ผลสัมฤทธทิ์ างวิชาการของ 1) ผเู รียนมคี วามสามารถในการอา น การสื่อสาร และการคิดคำนวณตาม
เกณฑที่สถานศึกษา กำหนดในแตล ะ
ผูเรยี น เขียน การสือ่ สาร และการคดิ คำนวณ ระดบั ช้นั
ผูเรียนมีความสามารถในการคิด
2) ผูเรียนมคี วามสามารถในการคิด จำแนกแยกแยะ ใครครวญไตรตรอง
วเิ คราะห คิดอยา งมวี ิจารณญาณ อภปิ ราย พจิ ารณาอยางรอบคอบ โดยใชเหตผุ ล
แลกเปล่ยี นความคดิ เห็นและแกไขปญหา ประกอบการตัดสินใจ มีการอภิปราย
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และ
3) ผเู รียนมีความสามารถในการสราง แกป ญหาอยางมเี หตุผล
นวัตกรรม ผูเรียนมีความสามารถในการรวบรวม
ความรูไดทั้งดวยตัวเองและการ
4) ผูเรยี นมีความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี ทำงานเปนทีม เชื่อมโยง องคความรู
สารสนเทศและการส่ือสาร และประสบการณมาใชในการสรางสรรคสิง่
ใหมๆ อาจเปนแนวความคิด โครงการ
5) ผเู รียนมผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นตาม โครงงาน ชนิ้ งาน ผลผลิต
หลักสูตรสถานศกึ ษา
ผเู รียนมคี วามสามารถในใชเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการ
พัฒนาตนเองและ สังคมในดานการ
เรียนรู การสื่อสาร การทำงาน อยาง
สรา งสรรค และมีคณุ ธรรม

ผูเรียนบรรลุและมีความกาวหนาใน
การเรียนรูตามหลักสูตรสถานศึกษา
จากพื้นฐานเดิมใน ดานความรู ความ
เขาใจ ทักษะ กระบวนการตางๆ
รวมทั้งมีความกาวหนาในผลการ
ทดสอบระดับชาติ หรือผลการ
ทดสอบอืน่ ๆ

132

มาตรฐาน ประเด็นการพิจารณา มาตรฐานสถานศึกษา

1.2 คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค 6) ผูเรียนมีความรู ทักษะพื้นฐาน และเจตคติ ผูเรียนมีความรู ทักษะพื้นฐานในการ
ของผูเ รียน
ที่ดตี องานอาชีพ จัดการ เจตคติทีด่ ีพรอ มท่ีจะศึกษาตอ

ในระดับชั้นที่ สูงขึ้น การทำงานหรือ

งานอาชีพ

1) ผูเรยี นมีคุณลักษณะและคานยิ มที่ดี ผูเรียนมีพฤติกรรมเปนผูท่ีมีคุณธรรม
ตามทสี่ ถานศึกษากำหนด จริยธรรม เคารพในกฎกติกา มคี านิยมและ

จิตสำนึก ตามที่สถานศึกษากำหนด

โดยไมขัดกับกฎหมายและวัฒนธรรม

อันดขี องสังคม

2) ผูเรยี นมคี วามภาคภมู ิใจในทอ งถน่ิ และ ผูเรียนมีความภูมิใจในทองถิ่น เห็น

ความเปน ไทย คุณคาของความเปนไทย มีสวนรวม

ในการอนุรักษ วัฒนธรรมและ

ประเพณไี ทย รวมทั้งภูมิปญญาไทย

3) ผเู รียนยอมรับท่ีจะอยูรวมกัน ผูเรียนยอมรับและอยูรวมกันบน

บนความแตกตา งและหลากหลาย ความแตกตางระหวางบุคคลในดาน

เพศ วัย เชื้อชาติ ศาสนา ภาษา

วัฒนธรรม ประเพณี

4) ผูเรยี นมสี ุขภาวะทางรางกาย ผูเรียนมีการรักษาสุขภาพกาย

และจิตสังคม สุขภาพจิต อารมณ และสังคม และ

แสดงออกอยางเหมาะสม ในแตละ

ชวงวัยสามารถอยูรวมกับคนอื่นอยาง

มีความสุข เขาใจผูอื่น ไมมีความ

ขัดแยง กบั ผูอ่ืน

133

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ

มาตรฐาน ประเดน็ การพจิ ารณา มาตรฐานสถานศึกษา
สถานศึกษากำหนดเปาหมาย
- กระบวนการบรหิ าร 2.1 มีเปา หมาย วิสัยทัศน และพันธกิจท่ี วิสยั ทัศน และพนั ธกิจ ไวอยางชัดเจน
สอดคลองกับบริบทของ สถานศึกษา
และการจดั การ ชัดเจน ความตองการของชุมชน ทองถิ่น
วัตถุประสงคของแผนการศึกษา
2.2 มรี ะบบจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษา แหงชาติ นโยบายของรัฐบาล และ
ของตนสังกัดรวมทั้งทันตอการ
2.3 การพฒั นาวิชาการที่เนนคณุ ภาพผเู รียน เปล่ียนแปลงของสังคม
รอบดานตามหลกั สตู รสถานศกึ ษาและทุก สถานศึกษาสามารถบริหารจัดการ
กลมุ เปาหมาย คุณภาพของสถานศึกษาอยางเปน
ระบบทั้งในสวนการวางแผน พัฒนา
คุณภาพการจัดการศึกษา การนำแผน
ไปปฏิบัติเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา มี
การติดตามตรวจสอบ ประเมินผลและ
ปรับปรุงพัฒนางานอยางตอเนื่อง มีการ
บริหารอัตรากำลัง ทรัพยากรทางการ
ศึกษา และระบบ ดูแลชวยเหลือ
นักเรียน มีระบบการนิเทศภายใน
การนำขอมูลมาใชในการพัฒนา
บุคลากรและผูที่เกี่ยวของ ทุกฝายมี
สวนรวมการวางแผน ปรับปรุง และ
พัฒนา และรวมรับผดิ ชอบตอผลการ
จัดการศกึ ษา
สถานศึกษาบริหารจัดการเกี่ยวกับ
งานวิชาการ ทั้งดานการพัฒนา
หลักสูตร กิจกรรมเสริมหลักสูตร ที่
เนนคณุ ภาพผเู รยี นรอบดา น เชอ่ื มโยง
วิถีชีวิตจริง และครอบคลุมทุก
กลุมเปาหมาย หมายรวมถึงการจัด
การเรียนการสอนของกลุมที่เรียน
แบบควบรวมหรือกลุมที่เรียนรวม
ดวย

มาตรฐาน ประเดน็ การพจิ ารณา 134
2.4 การพัฒนาครแู ละบุคลากรใหม ีความ
เช่ียวชาญทางวชิ าชีพ มาตรฐานสถานศึกษา
สถานศกึ ษาสงเสริม สนบั สนุน พัฒนา
2.5 จดั สภาพแวดลอมทางกายภาพและ ครู บุคลากร ใหมีความเชี่ยวชาญทาง
สงั คมทเี่ ออื้ ตอการจัดการเรยี นรอู ยา งมี วิชาชีพ และจัดใหมีชมุ ชน การเรียนรู
คณุ ภาพ ทางวิชาชีพ มาใชในการพัฒนางาน
และการเรยี นรขู องผูเรียน
2.6 จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ สถานศึกษาจัดสภาพแวดลอมทาง
สนับสนุนการบรหิ ารจัดการและการเรียนรู กายภาพทั้งภายในและภายนอก
หองเรียน และสภาพแวดลอมทาง
สังคม ทีเ่ อ้ือตอการจัดการเรียนรู และ
มคี วามปลอดภัย
สถานศึกษาจัดระบบการจัดหา การ
พัฒนาและการบริการ เทคโนโลยี
สารสนเทศเพื่อใชในการบริหาร
จัดการและการจัดการเรียนรู ที่
เหมาะสมกบั สภาพของสถานศกึ ษา

135

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่เนน ผเู รียนเปนสำคญั

มาตรฐาน ประเดน็ การพิจารณา มาตรฐานสถานศึกษา
จัดกิจกรรมการเรียนรูตามมาตรฐาน
- กระบวนการจัดการเรียน 3.1 การจดั การเรียนรผู า นกระบวนการคดิ การเรียนรู ตัวชี้วัดของหลักสูตร
การสอนทีเ่ นน ผูเ รยี น และปฏบิ ตั จิ ริง และสามารถนำไปประยุกตใ ช สถานศกึ ษาที่เนนใหผูเรียนได เรียนรู
โดยผานกระบวนการคิดและปฏิบัติ
เปน สำคญั ในชวี ติ ได จริง มีแผนการจัดการเรียนรูท่ี
ส า ม า ร ถ น ำ ไ ป จ ั ด ก ิ จ ก ร ร ม ไ ด  จ ริ ง
3.2 ใชสือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง ผูเรียนไดรับการฝกทักษะ แสดงออก
เรียนรูท ่ีเอ้ือตอการเรยี นรู แสดงความคิดเห็น สรุปองคความรู
นำเสนอผลงานและสามารถนำไป
3.3 มกี ารบริหารจัดการช้ันเรียนเชิงบวก ประยกุ ตใ ชใน ชีวติ ได
มีการใชสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ
3.4 ตรวจสอบและประเมินผูเรียนอยางเปน และแหลงเรียนรู รวมทั้งภูมิปญญา
ระบบ และนำผลมาพฒั นาผเู รยี น ทอ งถิน่ มาใชในการจดั การเรยี นรู โดย
สรางโอกาสใหผูเรียนไดแสวงหา
3.5 มกี ารแลกเปลี่ยนเรยี นรแู ละใหข อมูล ความรดู วยตนเองจากสื่อทห่ี ลากหลาย
สะทอ นกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรงุ การ ครูผูสอนมีการบริหารจดั การชัน้ เรยี น
จัดการเรียนรู โดยเนนการการมีปฏิสัมพันธเชิงบวก
ใหเด็กรักครู ครูรักเด็ก และเด็กรัก
เดก็ เดก็ รักที่จะเรยี นรู สามารถเรียนรู
รวมกันอยางมคี วามสุข
มกี ารตรวจสอบและประเมนิ คุณภาพ
การจัดการเรียนรูอยางเปนระบบ มี
ขั้นตอนโดยใชเครื่องมือและ วิธีการ
วัดและประเมินผลที่เหมาะสมกับ
เปา หมายในการจัดการเรยี นรู และให
ข  อ ม ู ล ย  อ น ก ล ั บ แ ก  ผ ู  เ ร ี ย น เ พื่ อ
นำไปใชพ ฒั นาการเรียนรู
ค ร ู แ ล ะ ผ ู  ม ี ส  ว น เ ก ี ่ ย ว ข  อ ง ร  ว ม กั น
แลกเปลีย่ นความรูและประสบการณ
รวมทัง้ ใหขอมูลปอนกลับเพื่อ นำไปใช
ในการปร ั บปร ุ งและพ ั ฒ น า ก า ร จั ด
การเรยี นรู

๑๓๖

ประกาศโรงเรยี นเทศบาล ๕ (วดั หัวปอมนอก)
เร่อื ง การกำหนดเปา หมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษาระดบั การศึกษาขัน้ พื้นฐาน

เพ่ือการประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา
------------------------------------------------------------

โดยที่มีการประกาศใชกฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพ
การศึกษา พ.ศ. 2561 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องใหใชมาตรฐาน การศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการ
ประกันคุณภาพในของสถานศึกษา นโยบายการปฏิรูปการศึกษาที่กำหนดเปาหมายและยุทธศาสตรอยาง
ชดั เจนในการพัฒนาคุณภาพคนไทยและการศึกษาไทยในอนาคต รวมท้ังอตั ลักษณแ ละจุดเนนของสถานศึกษา
โรงเรียนเทศบาล ๕ (วัดหัวปอมนอก) สงั กัดสำนักการศึกษา เทศบาลนครสงขลาจึงปรับมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขนั้ พ้ืนฐานและไดกำหนดคาเปาหมายของการพัฒนาตามมาตรฐานการศึกษา
โดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพื้นฐาน และการมสี ว นรว มของผูเกย่ี วของ ท้ังบุคลากรทกุ
คนในโรงเรียนผูปกครองเพื่อนำไปสกู ารพัฒนาคณุ ภาพมาตรฐานการศึกษาการประเมนิ คุณภาพภายในและเพ่ือ
รองรบั การประเมินคณุ ภาพภายนอก

ประกาศ ณ วันท่ี ๒5 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2563

(นายมนิต เพชรสวุ รรณ)
ผอู ำนวยการสถานศกึ ษาโรงเรียนเทศบาล 4 (บานแหลมทราย) ชวยปฏบิ ตั ริ าชการ

ผอู ำนวยการสถานศึกษาโรงเรียนเทศบาล ๕ (วัดหวั ปอมนอก)

๑๓๗

การกำหนดเปาหมาย แนบทายประกาศโรงเรยี นเทศบาล ๕ (วดั หัวปอมนอก)
เรื่อง การกำหนดเปา หมายตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษาระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน

เพือ่ การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา

มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผูเ รียน

1.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผูเรียน

ประเดน็ การพจิ ารณา มาตรฐานสถานศึกษา เปา หมายระดับคุณภาพ

1) มีความสามารถในการอาน ผูเรียนมีทักษะในการอาน การเขียน ๑. ผูเรียนรอยละ 43 มีความสามารถใน

เขียน การสื่อสาร และการคิด การสื่อสาร และการคิดคำนวณตาม การอาน การเขยี นภาษาไทยระดับคอ นขา ง

คำนวณ เกณฑที่สถานศึกษา กำหนดในแตละ ดขี นึ้ ไป

ระดับชน้ั ๒. ผูเรียนรอยละ 43 มีความสามารถใน

การอาน การเขียนภาษาอังกฤษระดับ

คอนขางดขี น้ึ ไป

๓. ผูเรียนรอยละ 33 มีความสามารถใน

การคิดคำนวณ ในรายวิชาคณิตศาสตร

ระดับคอนขา งดขี นึ้ ไป

2) มีความสามารถในการคิด ผูเรียนมีความสามารถในการคิด ผูเรียนรอยละ 83 มีความสามารถใน

วิเคราะห คิดอยางมีวิจารณญาณ จำแนกแยกแยะ ใครครวญไตรตรอง ก า ร คิ ด ว ิเ ค ร า ะ ห  ค ิ ดอ ย  า ง มี

อภิปราย แลกเปลี่ยนความ พิจารณาอยางรอบคอบ โดยใชเหตผุ ล วิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยน

คดิ เหน็ และแกไขปญหา ประกอบการตัดสินใจ มีการอภิปราย ความคิดเห็นโดยใชเหตุผลประกอบ

แลก เปลี ่ ยนคว าม คิ ดเห ็ น แล ะ การตัดสินใจและแกปญหาอยูใน

แกป ญ หาอยางมีเหตุผล ระดับดีขึ้นไป

3) มีความสามารถในการสราง ผูเรียนมีความสามารถในการรวบรวม ๑. ผูเรียนรอยละ 83 มีความสามารถ

นวตั กรรม ความรูไดท ั้งดวยตัวเองและการทำงาน ในการสรางนวัตกรรม มีการนำไปใช

เปนทีม เชื่อมโยง องคความรู และ และเผยแพรระดับหองเรียนหรือ

ประสบการณมาใชใ นการสรางสรรคส ง่ิ สถานศกึ ษา

ใหมๆ อาจเปน แนวความคิด โครงการ ๒. ผูเรียนรอยละ 33 มีความสามารถ

โครงงาน ช้ินงาน ผลผลติ ในการสรา งโครงงาน ชน้ิ งาน ผลผลิต

มีการนำไปใชและเผยแพร

๑๓๘

ประเด็นการพิจารณา มาตรฐานสถานศกึ ษา เปา หมายระดับคณุ ภาพ

4) มีความสามารถในการใช ผูเรียนมีความสามารถในใชเทคโนโลยี ผูเรียนรอยละ 83 มีความสามารถใน

เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการ การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการ

สอ่ื สาร พัฒนาตนเองในดานการเรียนรู สื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง ในดานการ

ก า ร ส ื่ อ สา ร ก า ร ทำ งา น อ ย  า ง เรียนรู การส่ือสาร การทำงาน อยาง

สรางสรรค และมีคณุ ธรรม สรางสรรค และมีคุณธรรมอยูใน

ระดบั ดี ข้ึนไป

5) มีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนตาม ผูเรียนบรรลุและมีความกาวหนาใน ผูเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตาม

หลักสูตรสถานศกึ ษา การเรียนรูตามหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรสถานศึกษาเปนไปตาม

จากพื้นฐานเดิมใน ดานความรู ความ เปา หมายท่ีสถานศึกษากำหนด

เขาใจ ทักษะ กระบวนการตาง ๆ ๑. ผูเรียนรอยละ 63 ไดระดับผล

รวมทั้งมีความกาวหนาในผลการ การเรยี นเฉลย่ี (GPA) ๒.๐๐ ข้ึนไป

ทดสอบระดับชาติ หรือผลการทดสอบ 2) มีผลการทดสอบระดับชาติ

อ่ืน ๆ ขั้นพื้นฐาน O-NET ที่มี T-Score

ต้งั แต ๓3 ขนึ้ ไป

6) มีความรู ทักษะพื้นฐาน และ ผูเรียนมีความรู ทักษะพื้นฐานใน ๑. ผูเรียนรอยละ 93 มีความรู

เจตคตทิ ด่ี ีตองานอาชพี การจัดการ เจตคตทิ ด่ี ีพรอมที่จะศึกษา ทกั ษะพ้ืนฐาน และเจตคตทิ ี่ดีพรอมท่ี

ตอในระดับชั้นทีส่ งู ขึ้น การทำงานหรอื จะศกึ ษาตอในระดับช้ันทสี่ ูงขนึ้

งานอาชพี ๒. ผูเรียนรอยละ 93 มีความรู

ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีพรอม

ในการทำงานหรอื งานอาชีพ

๑๓๙

ประเด็นการพจิ ารณา มาตรฐานสถานศกึ ษา เปาหมายระดับคณุ ภาพ

1.2 คณุ ลักษณะท่พี งึ ประสงคของผเู รียน

1) การมคี ุณลักษณะและคานยิ ม ผูเรียนมีพฤติกรรมเปนผูที่มีคุณธรรม ผูเรียนรอ ยละ 93 มีคณุ ลักษณะและ
ท่ีดีตามทสี่ ถานศึกษากำหนด จรยิ ธรรม เคารพในกฎกตกิ า มีคา นยิ ม คานิยมที่ดี สามารถเปนแบบอยางได

และจิตสำนึก ตามที่สถานศึกษา อยูใ นระดับดขี ึ้นไป
กำหนดโดยไมขัดกับกฎหมายและ
วัฒนธรรมอนั ดขี องสังคม

2) ความภาคภูมิใจในทองถ่ิน ผูเรียนมีความภูมิใจในทองถิ่น เห็น ผูเรียนรอยละ 93 มีความภูมิใจใน

และความเปนไทย คุณคาของความเปนไทย มีสวนรวมใน ทอ งถิ่น เหน็ คุณคา ของความเปนไทย

การอนุรักษ วัฒนธรรมและประเพณี มีสวนรวมในการอนุรักษ วัฒนธรรม

ไทย รวมทัง้ ภมู ปิ ญญาไทย ประเพณีและภูมิปญญาไทย อยูใน

ระดบั ดขี ึน้ ไป

3) การยอมรบั ท่ีจะอยรู วมกัน ผูเรยี นยอมรับและอยูรวมกันบนความ ผูเรียนรอยละ ๘3 สามารถอยู
บนความแตกตา งและหลากหลาย แตกตางระหวางบุคคลในดา น เพศ วัย รวมกันในสถานศึกษาบนความ
เชื้อชาติ ศาสนา ภาษาวัฒนธรรม แตกตางและหลากหลาย
ประเพณี

4) สุขภาวะทางรางกาย และ ผูเรียนมีการรักษาสุขภาพกาย ๑. ผูเรียนรอยละ 60 มีสุขภาวะทาง

จิตสังคม สุขภาพจิต อารมณ และสังคม และ รางกาย ผานเกณฑม าตรฐาน

แสดงออกอยา งเหมาะสม ในแตละชวง ๒. ผูเรียนรอยละ 93 มสี ขุ ภาวะทาง

วัยสามารถอยูรวมกับคนอื่นอยางมี จิตสังคมผานเกณฑที่สถานศึกษา

ความสุข เขาใจผูอื่น ไมมีความขัดแยง กำหนด

กับผูอน่ื

สรปุ คา เปาหมาย มาตรฐานที่ 1 ระดบั ดเี ลิศ

๑๔๐

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ

ประเดน็ การพจิ ารณา มาตรฐานสถานศึกษา เปา หมายระดับคณุ ภาพ

๒.๑ มีเปาหมาย วิสยั ทัศน และ สถานศึกษากำหนดเปาหมายวิสัยทัศน และ สถานศกึ ษามีเปาหมายวิสัยทัศนและ

พันธกิจทช่ี ัดเจน พันธกิจไวอยางชัดเจนสอดคลองกับบริบท พนั ธกิจท่ชี ัดเจน สอดคลองกับบริบท

ของ สถานศึกษา ความตองการของชุมชน ของสถานศึกษา ความตอ งการชุมชน

ทองถิ่น วัตถุประสงคของแผนการศึกษา นโยบายรัฐบาล แผนการศึกษา

แหงชาติ นโยบายของรัฐบาล และของตน แหงชาติ เปน ไปไดใน การปฏบิ ตั ิ ทัน

สังกัดรวมทั้งทันตอการเปลี่ยนแปลงของ ตอ การเปลี่ยนแปลง

สังคม

2.2 มีระบบจัดการคุณภาพของ สถานศึกษาสามารถบริหารจัดการ ๑. สถานศึกษาใชกระบวนการ

สถานศึกษา คุณภาพของสถานศึกษาอยางเปน บรหิ ารจดั การดว ยวงจรคุณภาพ

ระบบทั้งในสวนการวางแผน พัฒนา ๒. สถานศึกษาใชหลักการบริหาร

คุณภาพการจัดการศึกษา การนำแผน แบบมีสวนรวมของผูมีสวนไดสวน

ไปปฏิบัติเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา เสยี ทุกภาคสวน

มีการติดตามตรวจสอบ ประเมินผล ๓. สถานศึกษามีการนำขอมูลมาใช

และปรับปรุงพัฒนางานอยางตอเนื่อง ในการปรับปรุง พัฒนางานอยาง

มีการบริหารอัตรากำลัง ทรัพยากร ตอเนอื่ ง และเปนแบบอยางได

ทางการศึกษา และระบบ ดูแล

ชวยเหลือนักเรียน มีระบบการนิเทศ

ภายใน การนำขอมูลมาใชในการ

พัฒนาบุคลากรและผูที่เกี่ยวของทุก

ฝายมีสวนรวมการวางแผน ปรับปรุง

และพัฒนา และรวมรับผิดชอบตอผล

การจัดการศกึ ษา

๑๔๑

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ

ประเด็นการพจิ ารณา มาตรฐานสถานศึกษา เปาหมายระดับคณุ ภาพ

2.3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการท่ี สถานศกึ ษาบรหิ ารจัดการเกี่ยวกับงาน ๑. สถานศึกษามกี ารพฒั นา ปรบั ปรงุ

เนนคุณภาพผูเรียนรอบดานตาม วิชาการ ทั้งดานการพัฒนาหลักสูตร หลักสูตรสถานศึกษาใหมีความ

หลักสูตรสถานศึกษาและทุก กิจกรรมเสริมหลักสูตร ที่เนนคุณภาพ ทนั สมัย สนองตอบตอความตองการ

กลมุ เปาหมาย ผูเรียนรอบดาน เชื่อมโยงวิถีชีวิตจริง ของทุกกลุมเปาหมายเชื่อมโยงกับ

และครอบคลุมทุกกลุมเปาหมาย ชีวติ จริงและเปนแบบอยา งได

หมายรวมถึงการจัดการเรียนการสอน ๒. ครูผูสอนทุกคนจัดทำแผนการ

ของกลุมที่เรยี นแบบควบรวมหรอื กลุม จัดการเรียนรูโดยเนนผูเรียนเปน

ทีเ่ รยี นรว มดว ย สำคัญและจัดกิจกรรมใหผูเรียนได

แ ส ด งค ว า ม ส า ม า ร ถ อ ย า ง เต็ม

ศักยภาพ

2.4 พัฒนาครูและบุคลากรใหมี สถานศึกษาสงเสริม สนับสนุน พัฒนา ๑ . สถ านศึก ษาพัฒนา คร ูแ ละ

ความเชีย่ วชาญทางวิชาชพี ครู บุคลากร ใหมีความเชี่ยวชาญทาง บุคลากรทุกคนใหมีความเชี่ยวชาญ

วิชาชีพ และจัดใหมีชุมชน การเรียนรู ทางวชิ าชพี ตรงตามความตองการ

ทางวิชาชีพ มาใชในการพัฒนางาน ๒. สถานศึกษาและจดั ใหมชี ุมชนการ

และการเรียนรูของผเู รยี น เรียนรทู างวชิ าชพี เพอ่ื พัฒนางาน

2.5 จ ัดสภ าพ แวดล อ ม ทา ง สถานศึกษาจัดสภาพแวดลอมทาง สถานศึกษาจัดสภาพแวดลอมทาง
กายภาพและสังคมที่เอื้อตอการ กายภาพทั้งภายในและภายนอก กายภาพและสังคมที่เอื้อตอการ
จัดการเรยี นรอู ยา งมคี ุณภาพ หองเรียน และสภาพแวดลอมทาง จัดการเรียนรูอยางมีคุณภาพ และมี

สังคม ที่เอื้อตอการจัดการเรียนรู และ ความปลอดภยั
มคี วามปลอดภยั

2.6 จ ั ด ร ะ บ บ เ ท ค โ น โ ล ยี สถานศึกษาจัดระบบการจัดหา การ สถานศึกษาจัดระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศเพื่อสนับสนุนการ พัฒนาและการบริการ เทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหาร
บรหิ ารจัดการและการเรียนรู สารสนเทศเพื่อใชในการบริหาร จัดการและการจัดการเรียนรูท่ี

จัดการและการจัดการเรียนรู ท่ี เหมาะสมกบั สภาพของสถานศกึ ษา
เหมาะสมกบั สภาพของสถานศกึ ษา

สรปุ คา เปา หมาย มาตรฐานที่ 2 ระดบั ดเี ลิศ

๑๔๒

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเี่ นน ผเู รียนเปนสำคัญ

ประเด็นการพิจารณา มาตรฐานสถานศึกษา เปาหมายระดับคุณภาพ

3.1จัดการเรียนรูผ านกระบวนการ จัดกิจกรรมการเรียนรูตามมาตรฐาน ครูผูสอนรอยละ 93 มีแผนการ

คิดและปฏิบัติจริง และสามารถ การเรียนรู ตัวชี้วัดของหลักสูตร จัดการเรียนรู นำมาใชจัดการเรียนรู

นำไปประยกุ ตใ ชใ นชีวิตได สถานศึกษาที่เนนใหผูเรียนได เรียนรู ใหผูเรียนมีกระบวนการคิด ปฏิบัติ

โดยผานกระบวนการคดิ และปฏิบัติจริง จริงและนำไปประยุกตในชวี ติ ได

มีแผนการจัดการเรียนรูที่สามารถ

นำไปจัดกิจกรรมไดจริง ผูเรียนไดรับ

การฝกทักษะ แสดงออกแสดงความ

คิดเห็น สรุปองคความรู นำเสนอ

ผลงานและสามารถนำไปประยุกตใช

ในชีวติ ได

3.2 ใชสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ มกี ารใชส่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และ ครูผูสอนรอยละ 93 ใชสื่อ เทคโนโลยี

และแหลงเรียนรูที่เอื้อตอการ แหลงเรียนรู รวมทั้งภูมิปญญาทองถ่ิน สารสนเทศ และแหลงเรียนรู รวมทั้ง

เรยี นรู มาใชในการจัดการเรียนรู โดยสราง ภมู ิปญญาทอ งถ่ินที่เอ้ือตอ การเรยี นรู

โอกาสใหผ ูเรียนไดแสวงหาความรูดว ย โดยสรางโอกาสใหผูเ รียนไดแสวงหา

ตนเองจากสอื่ ทห่ี ลากหลาย ความรูด ว ยตนเอง

3.3 มีการบรหิ ารจัดการช้นั เรยี น ครูผูสอนมีการบริหารจัดการชั้นเรียน ครูผูสอนรอยละ 93 มีการบริหาร

เชิงบวก โดยเนนการการมีปฏิสัมพันธเชิงบวก จัดการชั้นเรียนเชิงบวก เด็กรักที่จะ

ใหเด็กรักครู ครูรักเด็ก และเด็กรักเด็ก เรียนรู และเรียนรูรวมกันอยางมี

เด็กรักที่จะเรียนรู สามารถเรียนรู ความสขุ

รว มกันอยางมีความสุข

3.4 ตรวจสอบและประเมิน มีการตรวจสอบและประเมินคุณภาพ ครูผูสอนรอยละ 93 ประเมินผล

ผูเรยี นอยา งเปน ระบบ และนำผล การจัดการเรียนรูอยางเปนระบบ มี ผูเรียนอยางเปนระบบมีแนวทาง

มาพฒั นาผูเ รยี น ขั้นตอนโดยใชเครื่องมือและ วิธีการวัด กำหนดขั้นตอนการใชเครื่องมือและ

และ ประเ มิ นผลที่ เห ม าะสม กั บ วิธีการวัดและประเมินผลท่ีเหมาะสม

เปาหมายในการจัดการเรียนรู และให กับเปา หมายในการจัดการเรียนรู ให

ขอมูลยอนกลับแกผูเรียนเพื่อ นำไปใช ขอมูลยอนกลับแกผูเ รียน และนำผล

พัฒนาการเรยี นรู มาพัฒนาผเู รียนอยา งตอเนอื่ ง

๑๔๓

มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเี่ นน ผูเรียนเปนสำคญั

ประเด็นการพจิ ารณา มาตรฐานสถานศกึ ษา เปา หมายระดับคณุ ภาพ

3.5 มีการแลกเปล่ียนเรยี นรูและ ครูและผูมีสวนเกี่ยวของรวมกัน ครูและผูเกีย่ วของรอยละ 93 มกี าร

ใหขอมูลสะทอนกลับเพื่อพัฒนา แลกเปลี่ยนความรูและประสบการณ แลกเปลี่ยนเรียนรูและใหขอมูล

และปรับปรงุ การจดั การเรยี นรู รวมทัง้ ใหขอมูลปอนกลับเพื่อ นำไปใช สะทอนกลบั เพ่อื พฒั นาและปรับปรงุ

ในการปรับปรุงและพัฒนาการจัดการ การจัดการเรยี นรู

เรยี นรู

สรุปคาเปา หมาย มาตรฐานที่ 3 ระดบั ดเี ลศิ

รางวลั ครดู เี ดนเนือ่ งในวนั ครู ประจำปก ารศกึ ษา 2563 144
สังกัดเทศบาลนครสงขลา

145

รางวลั ครดู เี ดนเนือ่ งในวนั ครู ประจำปก ารศกึ ษา 2563
สังกัดเทศบาลนครสงขลา

146

รางวลั ครดู เี ดนเนือ่ งในวนั ครู ประจำปก ารศกึ ษา 2563
สังกัดเทศบาลนครสงขลา

147

รางวลั ครดู เี ดนเนือ่ งในวนั ครู ประจำปก ารศกึ ษา 2563
สังกัดเทศบาลนครสงขลา

148

รางวลั ครดู เี ดนเนือ่ งในวนั ครู ประจำปก ารศกึ ษา 2563
สังกัดเทศบาลนครสงขลา

149

รางวลั เชิดชเู กียรติ ระดบั ประเทศ โครงงานวทิ ยาศาสตร
สาขากายภาพ ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย

150

รางวลั เหรียญทอง ระดับภาคใต โครงงานวทิ ยาศาสตร
ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ประเภททีม สาขากายภาพ

151

รางวัลชมเชย ระดบั ประเทศ
การประกวดคลปิ วดิ ีโอ “รอง เลน เตน เพลงพี่หวั ด”ี

152

รางวัลชนะเลศิ การประกวดคลปิ วดิ โี อ “ของดบี านฉนั ”
ประเภทมธั ยมศกึ ษา

153

รางวลั ตวั แทนภาคใตในการแขง ขันบทเพลงรกั แหงแผนดินปท ี่ ๑๐
"๑ ทศวรรษ รอ งบรรเลง บทเพลงพระราชนิพนธ”

154

รางวัลรองชนะเลิศอนั ดับ 1
แขง ขันเตน ประกอบเพลงลูกทุง ระดับมธั ยมศกึ ษา

155

รางวลั ผมู คี วามประพฤติดี ปฏิบตั ิตนตามหลกั คา นยิ ม 12 ประการ
และรางวัลเดก็ ดีศรีสงขลา

156

รางวลั เดก็ ดศี รีสงขลา ประจำปก ารศกึ ษา 2563
สังกัดเทศบาลนครสงขลา

157

รางวลั เดก็ ดีศรีสงขลา ประจำปก ารศกึ ษา 2563
สังกัดเทศบาลนครสงขลา

158

รองชนะเลศิ อนั ดบั หน่ึงการแขงขัน Football Futsal Play
SAT Cup ครงั้ ที่ 1sรนุ อายุไมเกนิ 15 ป


Click to View FlipBook Version