The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอนภาคเรียนที่1ปีการศึกษา2560

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chatreewr chatreewr, 2019-11-15 18:06:30

แผนการสอนภาคเรียนที่1ปีการศึกษา2560

แผนการสอนภาคเรียนที่1ปีการศึกษา2560

2-5-26

และแรงเสยี ดทาน การตคี วามหมาย
จลน์ ขอ้ มูลและลงขอ้ สรปุ
3. ใหน้ ักเรยี น การส่ือสาร
ทดลองเพื่อศกึ ษา สารสนเทศและการ
สมั ประสิทธคิ์ วาม รู้เท่าทนั ส่อื ความ
เสยี ดทานระหว่าง รว่ มมือ การทางาน
ผิวสัมผัสคหู่ น่ึงๆ เปน็ ทีมและภาวะ
อภปิ รายร่วมกนั จน ผูน้ าจากการ
สรุปไดว้ า่ อภปิ รายร่วมกนั
สมั ประสิทธค์ิ วาม การทาการทดลอง
เสยี ดทานสถิตมีคา่ และรายงานผลการ
มากกว่าสัมประสิทธ์ิ ทดลอง
ความเสยี ดทานจลน์ 2. การใช้จานวน ใน
4. ต้งั คาถาม การหาปรมิ าณต่าง
เก่ยี วกับ ๆ ท่เี กี่ยวขอ้ งกบั
ความสมั พนั ธ์ แรงเสยี ดทาน จาก
ระหว่างแรงเสยี ด การทาแบบฝกึ หดั
ทานและแรง และแบบทดสอบ
ปฏิกิรยิ า ดา้ นจติ
ต้งั ฉากกบั พื้น วทิ ยาศาสตร์
จากนั้นให้นกั เรียน 1. ความอยากรู้
อภปิ รายรว่ มกนั จน อยากเหน็ จากการ
สรปุ ไดค้ วามสมั พันธ์ อภปิ รายรว่ มกัน
ตามสมการ 2. ความซื่อสัตย์
5. ยกตวั อยา่ งการ และความรอบคอบ
คานวณปรมิ าณต่าง จากรายงาน



2-5-27

ๆ ท่ีเกยี่ วขอ้ งกับแรง ผลการทดลอง
เสียดทาน โดยให้ 3. ความมุ่งม่ัน
นักเรยี นร่วมกัน อดทน จากการทา
เสนอแนวคิดและ การทดลองและ
หลกั การในการ การอภปิ รายร่วมกนั
แก้ปัญหา
6. ให้นกั เรียน
ยกตัวอย่าง
ประโยชน์ของการ
เพิ่มและลดแรงเสยี ด
ทานในสถานการณ์
ตา่ ง ๆ ใน
ชีวติ ประจาวัน
7. ใหน้ ักเรยี นสรปุ
เพอื่ ตรวจสอบ
ความร้คู วามเข้าใจ

2.6 แบบบนั ทึกแนวทางกา

2-6-1

ารวัดผลประเมนิ ผลรายวิชา

แบบบันทึกการวเิ คราะหก์ ิจ

สาระการเ

วิชาฟิสิกส์ 2 รหสั วชิ า

ผลการเรียนรู้ นกั เรียนทาอะไรได้ นกั เรยี นรูอ้ ะไร

1. สืบคน้ และอธบิ าย ด้านทกั ษะ ดา้ นความรู้ 1. นา
การค้นหาความรู้ทาง ทักษะกระบวนการทาง
ฟิสิกส์ ประวตั ิความ วทิ ยาศาสตร์ 1. ฟิสิกส์เป็นวิทยาศาสตร์ เหตุก
เปน็ มา รวมท้งั การลงความเห็นจาก
พัฒนาการของหลักการ ขอ้ มูล (ความน่าเช่อื ถือ แขนงหน่งึ ซึง่ เน้น และน
และแนวคดิ ทางฟสิ ิกส์ และความถูกตอ้ งของ
ท่ีมผี ลตอ่ การแสวงหา ข้อมูล) การสบื เสาะหาหลกั การ 2. ยก
ความรใู้ หมแ่ ละการ ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21
พัฒนาเทคโนโลยี 1. การสื่อสาร และองค์ความรู้ตา่ ง ๆ สบื คน้
สารสนเทศและการรเู้ ท่า
ทันส่อื (มีการอา้ งองิ เพื่ออธบิ ายปรากฏการณ์ วทิ ยา
แหล่งที่มาและการ
เปรียบเทียบความ ธรรมชาตโิ ดยเฉพาะ นักวิท
ถกู ตอ้ งของขอ้ มลู จาก
แหลง่ ขอ้ มูลที่ ทเี่ ก่ียวกับระบบและกลไก 3. จัด
หลากหลายไดอ้ ย่าง
สมเหตุสมผล การ ทางกายภาพ เข้าใจ
อภิปรายรว่ มกนั และการ
นาเสนอผล) 2. ประวตั ิความเปน็ มา ความ
2. ความร่วมมอื การ
ทางานเป็นทมี และภาวะ ของพัฒนาการทางฟิสกิ ส์ 4. จัด
ผูน้ า
3. การคิดและการ 3. ฟิสิกส์กบั การพัฒนา ประส
แกป้ ัญหา (กจิ กรรม เกม
หรอื ละครวทิ ยาศาสตร์) วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี โดยใช

และการแสวงหาความรู้ เกี่ยวก

ใหม่ 5. ให

การค

ชวี ติ ป

วทิ ยา

วิธีการ

นาเสน

6. ให

2-6-2

จกรรมการจัดการเรยี นรู้ตามตวั ชีว้ ัด แนวการวัดและประเมนิ ผล
เรียนรู้วิทยาศาสตร์
า ว 30202 ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 4 ด้านความรู้
1. กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
แนวการจัดการเรยี นรู้ ในการสืบเสาะหาความรทู้ าง
ฟิสิกส์ จากการสรปุ และการเขียน
าเข้าสูบ่ ทเรยี น โดยการตงั้ คาถามหรอื ให้นกั เรยี นยกตัวอย่าง ผงั มโนทัศน์
การณต์ า่ ง ๆ ทเ่ี กีย่ วขอ้ งกบั การสบื เสาะค้นพบทางฟิสกิ ส์ 2. ประวตั ิความเปน็ มาของ
นกั วทิ ยาศาสตรท์ ีร่ ู้จกั พัฒนาการทางฟิสกิ ส์ ฟสิ กิ ส์
กตัวอยา่ งเกยี่ วกับการค้นพบทางฟสิ ิกส์ จากน้ันใหน้ ักเรยี น กบั การพัฒนาวิทยาศาสตร์
นและอภปิ รายร่วมกนั โดยเนน้ ทกี่ ระบวนการทาง เทคโนโลยี และการแสวงหา
าศาสตร์และบคุ ลกิ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ของ ความรู้ใหม่ จากการสรุป การทา
ทยาศาสตร์ แบบฝกึ หัดและแบบทดสอบ
ดกิจกรรม เชน่ เกม ละครทางวทิ ยาศาสตร์ เพอ่ื ให้นักเรยี น ดา้ นทกั ษะ
จเก่ยี วกบั กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ในการสืบเสาะหา การลงความเหน็ จากข้อมลู การ
มรูท้ างฟิสิกส์ สื่อสารสารสนเทศและการรเู้ ทา่
ดกิจกรรมเก่ียวกับการคน้ พบทางฟิสิกส์ เพอื่ ให้นกั เรียนไดร้ บั ทนั สื่อ ความร่วมมอื การทางาน
สบการณ์ตรงในการค้นหาหลกั การหรอื องค์ความรู้ทางฟสิ ิกส์ เป็นทีมและภาวะผ้นู า การคดิ
ชก้ ระบวนการสบื เสาะหาความรู้ และอภปิ รายร่วมกนั อยา่ งมีวิจารณญาณและ
กบั กิจกรรม การแกป้ ัญหา จากการทากิจกรรม
ห้นักเรียนสืบคน้ และอภปิ รายรว่ มกนั โดยเนน้ การเชอ่ื มโยง ด้านจติ วิทยาศาสตร์
คน้ พบในอดีตกบั การพัฒนาเทคโนโลยเี พื่อประยุกตใ์ ช้ใน ความอยากรูอ้ ยากเหน็ และความ
ประจาวันและการนาเทคโนโลยีไปใช้คน้ หาความรู้ใหมใ่ นทาง รอบคอบ จากการเขยี นรายงาน
าศาสตร์ ซงึ่ อาจให้นกั เรยี นเสนอสถานการณท์ ีส่ ามารถนา และจากการนาเสนอผล
รทางวิทยาศาสตร์ มาเป็นเครอื่ งมอื หาคาตอบ จากนัน้
นอผล
หน้ ักเรยี นสรุปเพอ่ื ตรวจสอบความร้คู วามเขา้ ใจ

ผลการเรียนรู้ นักเรยี นทาอะไรได้ นักเรยี นรู้อะไร

2. วัดและรายงานผล ดา้ นทกั ษะ ดา้ นความรู้ 1. นา
การวดั ปรมิ าณทาง ทักษะกระบวนการ
ฟสิ ิกสไ์ ดถ้ ูกต้อง ทางวทิ ยศาสตร์ 1. ในการวัดปรมิ าณต่าง เหตุก
เหมาะสม โดยนาความ 1. การวัด (ใช้
คลาดเคล่ือนในการวดั เคร่อื งมือวัดได้อย่าง ๆ ต้องเลือกใช้เครอ่ื งมือ อภิปร
มาพจิ ารณาในการ เหมาะสม
นาเสนอผล และถกู ตอ้ ง คานงึ ถงึ และวิธีการวดั ให้เหมาะสม เท่ยี งต
รวมทง้ั แสดงผลการ ความคลาดเคลอื่ น
ทดลองในรปู ของกราฟ ในการวัด เลข กบั สิ่งท่ีตอ้ งการวัด 2. จดั
วิเคราะห์และแปล นยั สาคญั และหนว่ ย
ความหมายจากกราฟ ของการวัด) 2. การนาเสนอผลการวดั ต่าง ๆ
เส้นตรง 2. การใช้จานวน
(ความชนั ของกราฟ ท่ีถูกตอ้ งเหมาะสมโดย 3. ให
พนื้ ทใี่ ตก้ ราฟ)
3. การจดั กระทาและ คานงึ ถงึ ความ เวอร์เ
ส่ือความหมายขอ้ มลู
(การเขยี นกราฟ) คลาดเคล่ือนในการวดั ฝกึ ทัก
4. การตีความหมาย
ขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ และหน่วยของการวดั นาเส
(การวิเคราะหแ์ ละ
แปลความหมายกราฟ คลาด
เสน้ ตรง)
วทิ ยา
ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21
4. ต้งั
1. การสื่อสาร
สารสนเทศและการ อภิปร
รเู้ ทา่ ทันสอื่
ความ

5. ให

สองป

กระแ

ปรมิ า

มาเขีย

เส้นต

6. ให

การศ

7. ให

2-6-3

แนวการจัดการเรยี นรู้ แนวการวัดและประเมินผล

าเข้าสบู่ ทเรยี น โดยการต้งั คาถามหรอื ให้นักเรยี นยกตัวอย่าง ดา้ นความรู้

การณ์หรือสถานการณต์ า่ ง ๆ ท่เี กี่ยวข้องกบั การวดั จากนน้ั 1. เหตุผลความจาเปน็ ท่ีตอ้ งวดั ได้

รายรว่ มกันเกีย่ วกับเหตผุ ลและความจาเป็นท่ตี ้องวดั ไดอ้ ยา่ ง อย่างเหมาะสมและถูกต้อง ความ

ตรงและแมน่ ยา รวมทั้งความเป็นมาของการวัดและหน่วย เปน็ มาของการวัดหน่วย และสัญ

ดกจิ กรรม เพือ่ ให้นักเรียนศกึ ษาเก่ยี วกับเครือ่ งมือวัดชนดิ กรณว์ ทิ ยาศาสตร์ จากการ

ๆ ที่หลากหลายรวมทัง้ การใช้งานใหเ้ หมาะสม อภปิ รายรว่ มกนั และการสรุป

ห้นักเรยี นทากจิ กรรมการใชเ้ ครอื่ งมือวดั เชน่ เครื่องชัง่ สปรงิ 2. เคร่ืองมือวัด การเลอื กใช้

เนียรแ์ คลเิ ปอร์ ไมโครมิเตอร์ เพื่อใหน้ กั เรียนไดเ้ รยี นรแู้ ละ เคร่ืองมือวัดและวิธกี ารวดั ให้

กษะการใช้เครื่องมอื วัด วิธกี ารวัด การอา่ นคา่ ที่วัดได้ และ เหมาะสมกับสง่ิ ทีต่ ้องการวัด จาก

สนอผลการวดั ทถี่ ูกต้องเหมาะสมโดยคานึงถงึ ความ การทากิจกรรมการทาแบบฝกึ หดั

ดเคลอื่ น เลขนัยสาคญั หนว่ ย และสญั กรณ์ และแบบทดสอบ

าศาสตร์ 3. การนาเสนอผลการวัดที่ถูกตอ้ ง

งคาถามเกย่ี วกับกิจกรรมในขอ้ 3 จากนน้ั ให้นกั เรยี น เหมาะสม โดยคานงึ ถงึ ความ

รายรว่ มกนั เกีย่ วกับข้อจากดั ของเครือ่ งมอื วดั แต่ละชนิด คลาดเคลือ่ นในการวดั เลข

มคลาดเคล่ือนเลขนยั สาคญั หนว่ ย และสญั กรณ์วิทยาศาสตร์ นยั สาคญั หนว่ ย และสญั กรณ์

หน้ กั เรียนทากิจกรรมโดยนาขอ้ มูลความสมั พันธข์ องปริมาณ วทิ ยาศาสตร์ จากการทา

ปริมาณท่ีกาหนดให้ เชน่ มวลกับปริมาตรของวัตถุ แบบฝกึ หดั และแบบทดสอบ

แสไฟฟ้ากบั ความต่างศักยแ์ รงดงึ กบั ระยะยดื ของสปรงิ 4. การเขียนกราฟ การวิเคราะห์

าตรกบั อุณหภูมิของแก๊ส ความเร็วกับเวลาทีม่ คี วามเรง่ คงตัว และการแปลความหมายจากกราฟ

ยนกราฟ รวมทั้งวเิ คราะห์และแปลความหมายจากกราฟ เสน้ ตรง จากการทาแบบฝกึ หดั

ตรง เชน่ ความชนั จุดตดั แกน พน้ื ท่ีใต้กราฟ และแบบทดสอบ

หน้ ักเรยี นอภปิ รายรว่ มกันเก่ยี วกบั การใช้คณิตศาสตรใ์ น ด้านทักษะ

ศกึ ษา ค้นควา้ และการสอื่ สารสาหรบั ฟสิ กิ ส์ 1. การวดั การใชจ้ านวน การจัด

ห้นกั เรยี นสรุปเพ่ือตรวจสอบความรคู้ วามเขา้ ใจ กระทาและสือ่ ความหมายเสนอ

ข้อมูล การตีความหมายและลง

ข้อสรุป จากการทากจิ กรรม การ

(การอภปิ รายรว่ มกนั
และ การนาเสนอผล
การวัด)
2. ความรว่ มมือ การ
ทางานเปน็ ทมี และ
ภาวะผูน้ า

2-6-4

ทาแบบฝึกหดั และแบบทดสอบ
2. ความร่วมมือ การทางานเป็น
ทมี และภาวะผูน้ าและการสือ่ สาร
สารสนเทศและการรู้เท่าทันส่ือ
จากการอภิปรายรว่ มกัน การทา
กิจกรรม และการนาเสนอผลการ
วัด
ดา้ นจติ วทิ ยาศาสตร์
ความอยากร้อู ยากเหน็ ความ
ซื่อสตั ย์ และความรอบคอบ จาก
การอภิปรายรว่ มกัน การทา
กจิ กรรมและการนาเสนอผลการ
วัด

ผลการเรียนรู้ นักเรียนทาอะไรได้ นกั เรยี นรู้อะไร 1. นา
เหตกุ
3. ทดลองและอธิบาย ด้านทกั ษะ ด้านความรู้ นักเร
ความสมั พันธร์ ะหว่าง ทักษะกระบวนการ 1 ตาแหน่ง การกระจดั และน
ตาแหนง่ การกระจดั ทางวิทยาศาสตร์ ความเรว็ และความเรง่ 2. อภ
ความเรว็ และความเรง่ 1. การวดั (การวดั ของการเคล่อื นที่ของวตั ถุ ของก
ของการเคลื่อนทข่ี อง ระยะห่างระหวา่ งจดุ ในแนวตรงทม่ี ีความเร่งคง ความ
วัตถใุ นแนวตรงทีม่ ี บนแถบ ตวั รวมท้งั ความสมั พันธ์ 3. ยก
ความเร่งคงตัว กระดาษ) ระหว่างกนั ในรปู แบบ อภิปร
จากกราฟและสมการ 2. การใช้จานวน กราฟและสมการ การก
รวมท้ังทดลองหาค่า (ความเร็ว ความเร่ง 2. ความเรง่ โน้มถว่ งของ การก
ความเรง่ โนม้ ถ่วงของ จากความชัน โลก และผลต่อการ ระยะ
โลก และคานวณ ของกราฟหรอื สมการ) เคล่อื นท่ขี องวตั ถใุ น 4. ยก
ปรมิ าณต่าง ๆ ท่ี 3. การทดลอง แนวดิง่ นักเร
เกี่ยวข้อง 4. การจัดกระทาและ ความ
สื่อความหมายข้อมลู ผ่านเ
(เขียนกราฟจากข้อมลู อภิปร
การเคลอ่ื นทีข่ องวตั ถุ) ความ
5. การตีความหมาย 5. ให
ขอ้ มูลและลงข้อสรปุ พรอ้ ม
(วิเคราะห์กราฟ จนสร
ความสัมพันธร์ ะหวา่ ง V=u+
ความเรว็ และเวลา) V^2=
S=ut
ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 V^2=
6. ให
1. การสอื่ สาร
สารสนเทศและการ
รูเ้ ท่าทันสื่อ
(การอภิปรายร่วมกนั

2-6-5

แนวการจัดการเรยี นรู้ แนวการวัดและประเมินผล

าเขา้ สบู่ ทเรยี น โดยการตั้งคาถามหรอื ให้นักเรยี นยกตัวอยา่ ง ด้านความรู้

การณต์ า่ ง ๆ ทเ่ี กย่ี วข้องกบั การเคลอื่ นทข่ี องวตั ถุ จากนนั้ ให้ 1. การเคล่ือนทีใ่ นแนวตรงดว้ ย

รียนอภิปรายรว่ มกนั เกี่ยวกบั ลกั ษณะการเคลอื่ นทข่ี องวัตถุ ความเร่งคงตัว และปรมิ าณต่าง ๆ

นาเสนอผล ทเ่ี ก่ียวข้อง จากการอภิปราย

ภิปรายรว่ มกนั เพ่อื ทบทวนความเข้าใจเกยี่ วกับปริมาณตา่ ง ๆ รว่ มกันการสรปุ การทาแบบฝกึ หดั

การเคล่ือนท่ี เช่น ระยะทาง การกระจดั อัตราเร็ว และ และแบบทดสอบ

มเร็ว 2. ความเร่งโน้มถว่ งของโลก และ

กสถานการณเ์ พื่อให้ความร้เู กย่ี วกบั ตาแหนง่ จากนั้น ผลตอ่ การเคลื่อนทข่ี องวัตถใุ น

รายร่วมกนั เกีย่ วกบั การนาตาแหน่งไปใชห้ าระยะทางและ แนวด่งิ จากการวิเคราะหล์ กั ษณะ

กระจดั เพอ่ื นาไปสู่อัตราเรว็ และความเร็ว โดยมกี ารเนน้ วา่ การเคล่ือนท่ีของวัตถุจากกราฟ

กระจดั ความเร็ว และ ความเรง่ เป็นปรมิ าณเวกเตอร์ ส่วน การทาแบบฝกึ หดั และ

ะทางและอัตราเรว็ เปน็ ปรมิ าณสเกลาร์ แบบทดสอบ

กสถานการณ์เพ่อื ให้ความรู้เกย่ี วกบั ความเร่ง จากนัน้ ให้ ด้านทกั ษะ

รยี นทากิจกรรมเพ่ือศึกษาความเร็วเฉลี่ย ความเร็วขณะหน่งึ 1. การวดั การทดลอง การจดั

มเรง่ เฉลยี่ และความเรง่ ขณะหนง่ึ โดยใช้มอื ดึงแถบกระดาษ กระทาและสอื่ ความหมาย

เคร่ืองเคาะสัญญาณเวลา วเิ คราะห์ และนาเสนอผล จากนัน้ ขอ้ มลู การตีความหมายข้อมูลและ

รายร่วมกนั จนสรุปไดว้ ่า ในการเคลอื่ นทขี่ องวัตถใุ ด ๆ ลงข้อสรุปการสื่อ สารสารสนเทศ

มเร็วและความเรง่ อาจไมค่ งตวั และความรว่ มมอื การทางานเปน็

หน้ กั เรียนทดลองการเคลือ่ นทแี่ นวราบทีม่ ีความเร่งคงตัว ทีมและภาวะผู้นา จากการทา

มทัง้ เขยี นกราฟความเร็วกบั เวลา จากนัน้ อภิปรายร่วมกนั การทดลอง และรายงานผลการ

รุปได้ความสมั พนั ธ์ตามสมการ ทดลอง

+at 2. การใชจ้ านวน ในการหา

=u^2+2as ปรมิ าณต่าง ๆ ท่ีเกีย่ วข้อง

t+1/2at^2 กับการเคล่ือนทแี่ นวตรงที่มี

=u^2+2as ความเร่งคงตัว จากแบบฝกึ หดั

ห้นกั เรียนทดลองหาค่าความเร่งโน้มถ่วงของโลกจากการตก และแบบทดสอบ

และการนาเสนอผล) แบบเ
2. ความรว่ มมือ การ 7. ให
ทางานเปน็ ทีมและ ความ
ภาวะผู้นา เคลือ่
เคลอ่ื
8. ยก
เคลื่อ
แนวค
9. ให

2-6-6

เสรขี องวัตถุ นาเสนอผลและอภิปรายรว่ มกัน ดา้ นจิตวทิ ยาศาสตร์
หน้ กั เรยี นอภปิ รายรว่ มกนั เกย่ี วกับการเคล่อื นที่แนวตรง ทง้ั 1. ความซ่ือสัตย์ และความ
มเรว็ คงตวั และความเร่งคงตัว โดยวิเคราะหล์ กั ษณะการ รอบคอบ จากรายงาน
อนท่ีของวตั ถจุ ากกราฟหรือเขยี นกราฟจากขอ้ มลู การ ผลการทดลอง
อนท่ขี องวัตถุ 2. ความมงุ่ มนั่ อดทน จากการทา
กตวั อย่างการคานวณปรมิ าณต่าง ๆ ท่เี กยี่ วข้องกับการ การทดลองและการอภิปราย
อนท่ีแนวตรงท่ีมีความเรง่ คงตวั โดยใหน้ ักเรยี นรว่ มเสนอ ร่วมกัน
คิดและหลกั การในการแก้ปัญหา
ห้นกั เรียนสรปุ เพอื่ ตรวจสอบความรคู้ วามเข้าใจ

ผลการเรียนรู้ นกั เรียนทาอะไรได้ นกั เรยี นรู้อะไร 1. นาเ
กระท
4. อธิบายแรงและผล ดา้ นทักษะ ด้านความรู้ วัตถุ จ
ของแรงลัพธท์ ม่ี ีตอ่ การ ทกั ษะกระบวนการ 1. แรงเป็นปรมิ าณ 2. อภ
เคลอ่ื นทีข่ องวตั ถุ ทางวทิ ยาศาสตร์ เวกเตอร์ เม่ือมแี รง เวกเต
รวมทง้ั ทดลองหาแรง 1. การวัด (ขนาดของ กระทาต่อวตั ถหุ ลายแรง 3. ใหน้
ลพั ธข์ องแรงสองแรงท่ี แรง จากเครอื่ งชงั่ หาแรงลพั ธท์ ีก่ ระทาตอ่ กระท
ทามุมต่อกัน สปรงิ ) วตั ถุโดยการรวมเวกเตอร์ และวิธ
2. การใช้จานวน (การ 2. เมอ่ื แรงลพั ธ์ทก่ี ระทา 4. ต้ังค
หาขนาดของแรงลัพธ)์ ต่อวตั ถุมีค่าไม่เปน็ ศนู ย์ ลพั ธเ์ ม
3. การทดลอง วตั ถจุ ะมีการเปล่ียน 5. ใหค้
4. การจัดกระทาและ สภาพการเคลอ่ื นที่ กนั แล
สื่อความหมายข้อมลู 6. สาธ
(การเขยี นเวกเตอร์ นักเรีย
แทนแรงและการรวม สภาพ
เวกเตอร)์ 7. ยก
5. การตคี วามหมาย กระท
ข้อมูลและลงขอ้ สรปุ ในการ
(การสรปุ ผลการ 8. ใหน้
ทดลอง)

ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21

1. การส่ือสาร
สารสนเทศและการ
รูเ้ ทา่ ทันสอ่ื
(การเขยี นเวกเตอร์
แทนขนาดและทิศทาง
การอภิปรายรว่ มกนั
และการนาเสนอผล)

2-6-7

แนวการจัดการเรียนรู้ แนวการวัดและประเมนิ ผล

เขา้ สูบ่ ทเรยี น โดยการสาธิตออกแรงสองแรงท่ที ามมุ ต่อกัน ด้านความรู้
ทาตอ่ วตั ถหุ นึ่ง ใหน้ ักเรียนสงั เกตทิศทางการเคลื่อนทข่ี อง 1. การหาขนาดและทิศทางของ
จากน้ันอภิปรายรว่ มกนั และนาเสนอผล แรงลพั ธ์ เม่ือมีแรงสองแรงทที่ ามมุ
ภิปรายรว่ มกันเพื่อทบทวนความรูเ้ กยี่ วกบั แรงเปน็ ปรมิ าณ ต่อกนั กระทาต่อวัตถมุ ผี ลทาให้
ตอรร์ วมทง้ั การเขียนลกู ศรแทนแรง วตั ถเุ คล่อื นทใ่ี นทศิ เดยี วกับแรง
นักเรยี นทดลองหาขนาดและทิศทางของแรงลพั ธ์ เมื่อมีแรง ลพั ธ์ จากรายงานผลการ
ทาตอ่ วัตถสุ องแรง เพ่ือหาแรงลพั ธ์โดยวิธสี รา้ งรปู สามเหลยี่ ม ทดลอง การสรปุ การทา
ธีสร้างรูปส่เี หลย่ี มด้านขนาน แบบฝึกหดั และ แบบทดสอบ
คาถาม และให้นกั เรียนอภิปรายรว่ มกนั เกยี่ วกบั การหาแรง 2. การเปลีย่ นสภาพการเคล่อื นที่
มอ่ื มีแรงกระทาต่อวตั ถมุ ากกวา่ สองแรง ในระนาบเดยี วกัน ของวัตถุเมื่อแรงลัพธท์ ่ีกระทาต่อ
ความร้เู ร่ืองการแยกแรงออกเป็นแรงยอ่ ยสองแรงท่ตี ั้งฉาก วตั ถุไม่เป็นศนู ย์ จากการอภิปราย
ละการคานวณแรงลัพธ์โดยใช้แรงยอ่ ย รว่ มกันและการสรปุ
ธติ กจิ กรรมเกีย่ วกบั แรงลพั ธท์ ี่กระทาต่อวัตถุไม่เป็นศนู ย์ ให้ ด้านทกั ษะ
ยนสังเกตและอภิปรายรว่ มกนั จนสรปุ ไดว้ ่า วตั ถจุ ะเปลีย่ น 1. การวัด การทดลอง การจัด
พการเคลอ่ื นท่เี มือ่ แรงลัพธ์ท่ีกระทาต่อวัตถมุ คี า่ ไม่เปน็ ศูนย์ กระทาและสอื่ ความหมาย
กตวั อยา่ งการคานวณแรงลพั ธ์ เมือ่ มีแรงมากกวา่ หน่ึงแรง ขอ้ มูล การตีความหมายขอ้ มลู และ
ทาต่อวัตถจุ ากนนั้ ให้นกั เรียนร่วมเสนอแนวคดิ และหลกั การ ลงข้อสรุปความร่วมมอื การทางาน
รแก้ปัญหา เป็นทมี และภาวะผู้นา จากการ
นกั เรยี นสรปุ เพ่อื ตรวจสอบความรู้ความเข้าใจ อภปิ รายร่วมกนั การทาการ
ทดลอง และรายงานผลการทดลอง
2. การสือ่ สารสารสนเทศและการ
รูเ้ ทา่ ทนั ส่อื จากการอภปิ ราย
รว่ มกันและการนาเสนอผล
3. การใชจ้ านวน ในการหาแรง
ลพั ธเ์ ม่ือมแี รงมากกวา่ หนงึ่ แรง
จากรายงานผลการทดลอง

2. ความรว่ มมือ การ
ทางานเปน็ ทมี และ
ภาวะผนู้ า

2-6-8

แบบฝึกหัดและแบบทดสอบ
ด้านจติ วิทยาศาสตร์
1. ความซือ่ สัตย์ และความ
รอบคอบ จากรายงาน
ผลการทดลอง
2. ความมุ่งมน่ั อดทน จากการ
ทดลองและการอภิปราย
ร่วมกัน

ผลการเรียนรู้ นักเรียนทาอะไรได้ นักเรียนร้อู ะไร 1. นา
เคล่อื
5. เขยี นแผนภาพของ ด้านทักษะ ด้านความรู้ พื้น ให
แรงทก่ี ระทาต่อวัตถุ ทักษะกระบวนการ 1. ความเฉ่ือยเป็นสมบัติ ขณะท
อิสระ อธิบายกฎการ ทางวิทยาศาสตร์ ของวัตถุท่ตี า้ นการ พืน้ แ
เคลอ่ื นทข่ี องนิวตันและ 1. การวดั (ความ เปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ 2. ให
การใช้กฎการเคล่ือนท่ี ถกู ตอ้ งของการวดั และ 2. สภาพการเคลือ่ นทขี่ อง สภาพ
ของนิวตันกับสภาพการ หนว่ ย) วตั ถอุ ธบิ ายไดด้ ้วย ความ
เคล่อื นท่ขี องวัตถุ 2. การใชจ้ านวน กฎการเคลื่อนทีข่ องนวิ เคล่ือ
รวมทง้ั ทดลองและ (ปรมิ าณต่าง ๆ ท่ี ตัน 3. ตั้ง
อธิบายความสมั พันธ์ เกยี่ วขอ้ งกบั 3. เมอ่ื มแี รงกระทาตอ่ สภาพ
ระหว่างแรง มวล และ การเคลอ่ื นท่ีของวัตถุ วตั ถุทจี่ ุดเดยี วกันหรอื รว่ มก
ความเรง่ ตามกฎการ โดยใช้กฎการเคลือ่ นที่ แนวเดียวกนั โดยแรงลัพธ์ 4. ให
เคลื่อนท่ีขอ้ ท่สี องของ ของนวิ ตนั ) ท่กี ระทาต่อวตั ถุ กระท
นิวตัน 3. การทดลอง เป็นศนู ยว์ ตั ถจุ ะไมเ่ ปลยี่ น รว่ มก
4. การจดั กระทาและ สภาพการเคลือ่ นที่ นวิ ตนั
สอื่ ความหมายข้อมูล ซ่ึงเป็นไปตามกฎการ 5. สา
(เขียนกราฟ เคลอื่ นทข่ี อ้ ทหี่ นง่ึ ของ เครอ่ื ง
ความสัมพันธร์ ะหว่าง นิวตัน ข้อสร
แรงกบั ความเร่ง) 4. เมอ่ื แรงลัพธท์ ก่ี ระทา 6. ให
5. การตคี วามหมาย ต่อวตั ถไุ มเ่ ป็นศูนย์วัตถุ อิสระ
ข้อมูลและลงข้อสรปุ จะเปลยี่ นสภาพการ หาแร
(การวิเคราะห์และ เคลื่อนท่ี ซง่ึ เป็นไปตาม แผนภ
สรปุ ผลการทดลอง) กฎการเคลื่อนทขี่ ้อทีส่ อง 7. ยก
ของนวิ ตัน เคลือ่
ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 5. เม่ือมีแรงกริ ยิ ากระทา โดยใช
ตอ่ วัตถุ วัตถจุ ะมแี รง
1. การส่อื สาร ปฏิกริ ยิ ากระทาโตต้ อบ
สารสนเทศและการ
รเู้ ท่าทันสอ่ื

2-6-9

แนวการจัดการเรยี นรู้ แนวการวัดและประเมนิ ผล

าเขา้ สบู่ ทเรยี น โดยการยกตัวอยา่ งสถานการณเ์ กี่ยวกบั การ ด้านความรู้

อนท่ีของวตั ถุ เช่น การปลอ่ ยวตั ถุให้ตกในแนวดิง่ จนกระทบ 1. ความเฉอ่ื ย กฎการเคล่ือนทขี่ อง

หน้ กั เรยี นอภปิ รายร่วมกนั เกย่ี วกบั แรงท่ีกระทาต่อวตั ถุ นิวตนั และสภาพ

ทีว่ ัตถอุ ยูใ่ นมือ ขณะทวี่ ัตถกุ าลงั เคลอ่ื นท่ี ขณะทีว่ ตั ถุกระทบ การเคล่ือนที่ของวัตถุ จากการ

และขณะทีว่ ตั ถหุ ยดุ นิง่ อภิปรายร่วมกัน การสรปุ การทา

หน้ กั เรยี นอภิปรายรว่ มกันเก่ียวกับผลของแรงลพั ธท์ ่มี ตี ่อ แบบฝกึ หัดและแบบทดสอบ

พการเคล่อื นท่ีของวัตถุ กรณวี ตั ถุอยนู่ งิ่ และวัตถเุ คลื่อนท่ีดว้ ย 2. การเขยี นแผนภาพของแรงท่ี

มเร็วคงตัวจากนนั้ ให้ความรเู้ กย่ี วกบั ความเฉื่อยและกฎการ กระทากับวตั ถุอสิ ระ

อนทข่ี ้อท่ีหน่ึงของนวิ ตัน จากการสรุป การทาแบบฝึกหัด

งคาถามเกย่ี วกับแรงลพั ธท์ ่ีกระทาตอ่ วัตถุมีค่าไมเ่ ปน็ ศนู ย์ และแบบทดสอบ

พการเคลือ่ นทีข่ องวัตถุจะเป็นอยา่ งไร ใหน้ ักเรยี นอภปิ ราย ดา้ นทักษะ

กันและนาเสนอผล 1. การวดั การทดลอง การจัด

ห้นักเรยี นทดลองเพอ่ื ศกึ ษาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งแรงลพั ธ์ที่ กระทาและสอ่ื ความหมาย

ทาต่อวตั ถกุ ับความเร่งเม่ือมวลของวตั ถมุ ีคา่ คงตัว อภิปราย ข้อมลู การตีความหมายขอ้ มลู และ

กันจนสรปุ ได้ความสัมพนั ธต์ ามกฎการเคล่อื นท่ขี ้อท่ีสองของ ลงขอ้ สรุปความรว่ มมอื การทางาน

น ตามสมการ F=ma เปน็ ทมี และภาวะผูน้ าจากการ

าธิตเกย่ี วกับแรงกิริยาและแรงปฏกิ ริ ิยา เชน่ การออกแรงดึง อภปิ รายร่วมกนั การทาการ

งชั่งสปริงสองอนั ทเี่ ก่ยี วเขา้ ดว้ ยกัน อภปิ รายรว่ มกนั จนได้ ทดลอง และรายงานผลการ

รุปตามกฎการเคลื่อนทข่ี ้อที่สามของนิวตัน ทดลอง

หค้ วามรู้เกี่ยวกับการเขียนแผนภาพของแรงท่ีกระทาต่อวัตถุ 2. การสอื่ สารสารสนเทศและการ

ะในสถานการณ์ต่างๆ เพื่อแสดงแรงที่กระทาตอ่ วัตถุและใช้ รูเ้ ทา่ ทันสอ่ื จากการอภิปราย

รงลัพธ์ท่ีกระทาตอ่ วัตถุ จากน้นั ใหน้ ักเรยี นฝึกการเขียน รว่ มกันและการนาเสนอผล

ภาพของแรงทีก่ ระทาตอ่ วตั ถอุ สิ ระ 3. การใช้จานวน ในการหา

กตวั อยา่ งการคานวณปริมาณต่าง ๆ ท่เี กย่ี วข้องกบั การ ปรมิ าณต่าง ๆ ทเ่ี ก่ียวข้อง

อนที่ของวัตถุ กับการเคลื่อนทข่ี องวตั ถุโดยใชก้ ฎ

ช้กฎการเคลื่อนที่ของนิวตนั โดยให้นกั เรยี นรว่ มเสนอ การเคลอ่ื นที่ของ

(การอภิปรายร่วมกัน ดว้ ยแรงขนาดเทา่ กัน แนวค
และการนาเสนอผล) แต่ทศิ ทางตรงกนั ขา้ มซ่งึ 8. ให
2. ความรว่ มมอื การ เป็นไปตามกฎการ
ทางานเปน็ ทมี และ เคลอ่ื นที่ขอ้ ทสี่ ามของนวิ
ภาวะผนู้ า ตนั
6. การแสดงแรงท่ีกระทา
ต่อวัตถุทาไดโ้ ดยการ
เขยี นแผนภาพของแรงท่ี
กระทาต่อวตั ถุอสิ ระ
และใชห้ าแรงลัพธท์ ่ี
กระทาตอ่ วตั ถไุ ด้
7. คานวณหาปรมิ าณต่าง
ๆ ของการเคลื่อนที่
เมือ่ แรงลัพธท์ ่กี ระทาตอ่
วตั ถไุ มเ่ ปน็ ศนู ยต์ าม
กฎการเคลอ่ื นท่ขี องนิว
ตนั

คิดและหลกั การในการแก้ปญั หา 2-6-10
หน้ ักเรยี นสรปุ เพอื่ ตรวจสอบความรคู้ วามเขา้ ใจ
นิวตนั จากรายงานผลการทดลอง
การทาแบบฝกึ หดั
และแบบทดสอบ
ดา้ นจิตวิทยาศาสตร์
1. ความซอื่ สัตย์ และความ
รอบคอบ จากรายงาน
ผลการทดลอง
2. ความมงุ่ ม่นั อดทน จากการทา
การทดลอง

ผลการเรียนรู้ นกั เรียนทาอะไรได้ นกั เรียนรู้อะไร 1. นาเ
มาจาก
6. อธบิ ายกฎความโนม้ ด้านทักษะ ดา้ นความรู้ 2. อภปิ
ถ่วงสากลและผลของ ทักษะกระบวนการ 1. กฎความโนม้ ถว่ งสากล จากนั้น
สนามโนม้ ถ่วงท่ที าให้ ทางวิทยาศาสตร์ กล่าวถงึ แรงดงึ ดดู ประกอ
วตั ถุมีนา้ หนัก รวมทงั้ การใชจ้ านวน ระหวา่ งวตั ถสุ องช้ินมคี ่า ปฏิกริ ยิ
คานวณปรมิ าณตา่ ง ๆ (ปริมาณต่าง ๆ ท่ี ขึน้ อยู่กบั มวลและ
ท่ีเกี่ยวขอ้ ง เกยี่ วข้องกับ ระยะห่างระหวา่ งวตั ถุทงั้ 3. ให้ค
กฎความโนม้ ถว่ งสากล สอง ต้ังคาถ
สนามโนม้ ถว่ ง และ 2. รอบ ๆ วตั ถุจะมสี นาม ห่างจา
นา้ หนกั ) โนม้ ถ่วง ซึง่ ทาให้วัตถอุ ่นื ถว่ งขอ
ทอ่ี ย่ใู นสนามโน้มถว่ งน้นั จากศนู
ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 มนี า้ หนกั 4. ให้ค
อภปิ รา
1. การสอ่ื สาร วตั ถเุ ป
สารสนเทศและการ 5. ตั้งค
รู้เทา่ ทันสื่อ ผวิ โลก
(มีการอา้ งองิ ของวตั
แหล่งท่มี าและการ 6. ตง้ั ค
เปรียบเทยี บ และนา้
ความถูกต้องของขอ้ มูล รว่ มกัน
จากแหล่งขอ้ มูล 7. ยกต
ที่หลากหลายได้อยา่ ง ถว่ งสา
สมเหตุสมผล การ โดยให
อภิปรายรว่ มกนั และ 8. ให้น
การนาเสนอผล)
2. ความร่วมมอื การ
ทางานเป็นทีมและ
ภาวะผนู้ า

2-6-11

แนวการจัดการเรยี นรู้ แนวการวัดและประเมินผล

เขา้ สู่บทเรียน โดยทบทวนเกี่ยวกับการตกของวตั ถุสู่พื้นท่เี ป็นผล ด้านความรู้
กแรงโน้มถว่ งของโลกดงึ ดูดวัตถุ 1. กฎความโน้มถว่ งสากล จากการ
ปรายรว่ มกันเพอ่ื ทบทวนความรู้เรื่องกฎการเคลื่อนท่ีของนิวตัน อภิปรายร่วมกันการสรปุ การทา
นให้ความรเู้ กี่ยวกบั กฎความโน้มถว่ งสากลและยกตวั อยา่ ง แบบฝึกหดั และแบบทดสอบ
อบ เพอ่ื ให้ทราบวา่ แรงดึงดูดระหว่างมวลเป็นแรงคู่กริ ิยา- 2. สนามโนม้ ถว่ ง แรงโน้มถว่ งและ
ยา ซ่ึงมีความสมั พนั ธ์ตามสมการ แรงดึงดูดระหว่างมวล น้าหนกั ของวัตถุ กรณที ี่วัตถอุ ยทู่ ่ี
ความรู้และความหมายของสนามโน้มถ่วง โดยจากนนั้ ผิวโลกและทตี่ าแหน่งใด ๆ ห่าง
ถามเกี่ยวกบั ค่าสนามโน้มถว่ งในกรณีเม่ือวตั ถอุ ย่ทู ตี่ าแหนง่ ใดๆ จากผิวโลก ตลอดจนน้าหนักของ
ากผวิ โลก ใหน้ กั เรียนอภิปรายร่วมกนั จนสรปุ ไดว้ ่าคา่ สนามโนม้ วตั ถุบนดาวอืน่ ๆ จากการสรปุ การ
องโลกท่ีตาแหน่งใดจะแปรผกผันกบั ระยะทางที่ตาแหนง่ น้ันหา่ ง ทาแบบฝกึ หัดและแบบทดสอบ
นยก์ ลางของโลกยกกาลงั สอง ด้านทกั ษะ
ความรูเ้ กีย่ วกบั ความสัมพันธ์ระหวา่ งมวลและน้าหนกั ของวัตถุ 1. การสื่อสารสารสนเทศและการ
ายรว่ มกันจนสรุปได้วา่ นา้ หนักเป็นแรงดงึ ดูดของโลกทีก่ ระทาตอ่ รู้เทา่ ทนั สื่อความรว่ มมือ การ
ป็นไปตามความสัมพนั ธ์ w=mg ทางานเป็นทีมและภาวะผ้นู าจาก
คาถามเก่ียวกับนา้ หนักของวัตถุ เมอ่ื วัตถุอยทู่ ี่ผวิ โลกและห่างจาก การอภปิ รายรว่ มกนั และการ
กออกไป จากนั้นให้นักเรียนอภิปรายรว่ มกนั จนสรปุ ไดว้ า่ นา้ หนัก นาเสนอผล
ตถุจะเปลยี่ นไปตามตาแหน่งท่ีหา่ งจากศนู ย์กลางโลก 2. การใช้จานวน ในการหาปริมาณ
คาถามเพื่อนาไปส่กู ารสืบค้นเก่ียวกับสนามโน้มถว่ งของดาวอ่นื ๆ ต่าง ๆ ทีเ่ กยี่ วข้องกับกฎความโนม้
าหนักของวัตถบุ นดาวนน้ั ๆ จากนนั้ ให้นักเรียนสืบค้น อภิปราย ถ่วงสากล ค่าสนามโนม้ ถ่วงและ
นและนาเสนอผล น้าหนกั ของวตั ถบุ นดาวอน่ื ๆ จาก
ตวั อย่างการคานวณปรมิ าณต่าง ๆ ที่เก่ยี วข้องกบั กฎความโนม้ การทาแบบฝกึ หดั และ
ากล แบบทดสอบ
ห้นกั เรียนร่วมกันเสนอแนวคิดและหลักการในการแก้ปัญหา ด้านจิตวทิ ยาศาสตร์
นักเรยี นสรุป เพ่อื ตรวจสอบความรู้ความเขา้ ใจ การใช้วจิ ารณญาณ จากการ
อภิปรายร่วมกนั

ผลการเรยี นรู้ นกั เรยี นทาอะไรได้ นักเรยี นร้อู ะไร 1. นา
ต่อวัต
7. วิเคราะห์และอธบิ าย ทกั ษะกระบวนการ ด้านความรู้ เกยี่ ว
แรงเสียดทานระหวา่ ง ทางวิทยาศาสตร์ 1. เม่อื วัตถุมแี นวโนม้ ท่ีจะ 2. สา
ผวิ สมั ผัสของวัตถคุ ่หู นงึ่ 1. การสังเกต (แรงดงึ เคลอื่ นท่ีหรือกาลงั วัตถยุ
ๆ ในกรณที ี่วัตถหุ ยุดนิ่ง สงู สดุ กอ่ นที่วตั ถุเร่ิม เคลื่อนท่บี นพ้ืนผวิ ใด ๆ กาลงั
และวัตถเุ คลอ่ื นท่ี เคลื่อนท่ี และแรงดึง จะมีแรงเสยี ดทาน เก่ียว
รวมทงั้ ทดลองหา เมือ่ วัตถุเคล่อื นที่) ระหว่างผิวสมั ผัสต้านการ 3. ให
สมั ประสทิ ธิค์ วามเสยี ด 2. การวดั (การอา่ น เคลอื่ นทข่ี องวตั ถุ ระหว
ทานระหวา่ งผวิ สมั ผัส คา่ แรงจากเครือ่ งชั่ง 2. แรงเสยี ดทานระหวา่ ง สมั ปร
ของวตั ถุคหู่ น่งึ ๆ และ สปรงิ ) ผิวสัมผสั ของวัตถุ เสยี ด
นาความรเู้ รือ่ งแรงเสยี ด 3. การใชจ้ านวน คหู่ น่งึ ๆ ขณะวตั ถจุ ะ 4. ตงั้
ทานไปใชใ้ น (ปริมาณตา่ ง ๆ ที่ เคล่อื นที่หรือกาลงั ปฏกิ ิร
ชวี ิตประจาวนั เก่ียวขอ้ งกับ เคล่ือนที่ ขึน้ กับ สรปุ ไ
แรงเสียดทาน) สัมประสทิ ธ์คิ วามเสยี ด ทานจ
4. การทดลอง ทานและแรงปฏิกริ ยิ าต้งั 5. ยก
5. การจดั กระทาและ ฉากระหวา่ งพ้ืนผวิ คนู่ ้นั ทาน
สอื่ ความหมายข้อมลู 3. การเพิม่ และลดแรง แก้ปญั
(เขียนกราฟ เสยี ดทาน สามารถนามา 6. ให
ความสัมพันธร์ ะหวา่ ง ใชป้ ระโยชนใ์ น ทานใ
แรงดึงกับนา้ หนัก) ชวี ิตประจาวนั 7. ให
6. การตีความหมาย
ขอ้ มูลและลงข้อสรปุ
(สัมประสทิ ธ์คิ วาม
เสียดทานสถิตมคี ่า
มากกว่าสัมประสิทธิ์
ความเสยี ดทานจลน)์

2-6-12

แนวการจัดการเรยี นรู้ แนวการวดั และประเมินผล

าเขา้ สู่บทเรยี น โดยการยกสถานการณก์ ารออกแรงกระทา ดา้ นความรู้
ตถุท่ีอยู่น่งิ แล้ววตั ถยุ ังคงอยูน่ งิ่ ใหน้ กั เรียนอภิปรายร่วมกนั 1. แรงเสยี ดทาน และปรมิ าณ
วกบั แรงท้งั หมดท่ีกระทาตอ่ วตั ถุ และนาเสนอผล ตา่ งๆ ท่เี ก่ียวข้อง จากการ
าธติ การผลักวตั ถุ ใหน้ กั เรียนสงั เกตแรงท่ีผลกั วตั ถุ ในขณะท่ี อภปิ รายรว่ มกัน การสรุป การทา
ยงั ไมเ่ คลือ่ นท่ี ขณะทวี่ ตั ถกุ าลงั จะเคล่ือนท่แี ละขณะท่วี ตั ถุ แบบฝึกหัดและแบบทดสอบ
งเคลอื่ นท่จี ากน้นั อภปิ รายร่วมกันเพือ่ ทบทวนความรู้ 2. ประโยชนข์ องการเพิ่มและลด
วกับแรงเสยี ดทานสถติ และแรงเสียดทานจลน์ แรงเสียดทานในสถานการณต์ า่ ง ๆ
ห้นกั เรยี นทดลองเพอื่ ศกึ ษาสัมประสิทิธค์ วามเสยี ดทาน ในชวี ิตประจาวัน จากการ
วา่ งผิวสัมผสั คหู่ น่งึ ๆ อภิปรายร่วมกันจนสรปุ ได้ว่า อภปิ รายร่วมกนั การทา
ระสิทธิ์ความเสยี ดทานสถิตมคี ่ามากกวา่ สมั ประสิทธ์คิ วาม แบบฝกึ หัดและแบบทดสอบ
ดทานจลน์ ดา้ นทักษะ
งคาถามเก่ยี วกบั ความสัมพันธร์ ะหว่างแรงเสยี ดทานและแรง 1. การสงั เกต การวัด การทดลอง
รยิ าตัง้ ฉากกับพ้ืน จากน้ันใหน้ กั เรียนอภปิ รายร่วมกัน จน การจดั กระทาและสอื่ ความหมาย
ไดค้ วามสัมพันธ์ตามสมการแรงเสยี ดทานสถิตและแรงเสยี ด ขอ้ มูล การตคี วามหมายขอ้ มูลและ
จลน์ ลงขอ้ สรปุ การส่ือสารสารสนเทศ
กตวั อย่างการคานวณปริมาณตา่ ง ๆ ที่เกยี่ วข้องกับแรงเสยี ด และการรเู้ ทา่ ทนั ส่ือ ความร่วมมอื
โดยใหน้ กั เรยี นรว่ มกันเสนอแนวคิดและหลกั การในการ การทางานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ า
ญหา จากการอภิปรายรว่ มกัน การทา
หน้ กั เรยี นยกตัวอย่างประโยชน์ของการเพิม่ และลดแรงเสยี ด การทดลองและรายงานผลการ
ในสถานการณต์ า่ ง ๆ ในชวี ติ ประจาวัน ทดลอง
หน้ กั เรียนสรุป เพอ่ื ตรวจสอบความรูค้ วามเข้าใจ 2. การใชจ้ านวน ในการหา
ปริมาณตา่ ง ๆ ทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับ
แรงเสยี ดทาน จากการทา
แบบฝึกหดั และแบบทดสอบ
ด้านจิตวทิ ยาศาสตร์
1. ความอยากร้อู ยากเห็น จากการ

ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21

1. การสอื่ สาร
สารสนเทศและการ
ร้เู ท่าทนั สื่อ(การ
อภิปรายรว่ มกันและ
การนาเสนอผล)
2. ความร่วมมอื การ
ทางานเปน็ ทีมและ
ภาวะผู้นา

2-6-13

อภปิ รายร่วมกัน
2. ความซอ่ื สตั ย์ และความ
รอบคอบ จากรายงาน
ผลการทดลอง
3. ความมุ่งมั่นอดทน จากการทา
การทดลองและการอภิปราย
รว่ มกัน

2-7-1

2.7 แบบบนั ทกึ การวิเคราะหผ์ เู้ รียน

2-7-2

การวิเคราะห์ผเู้ รยี น ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2562
ในการวิเคราะหผ์ เู้ รียนใชแ้ บบสอบถามเพ่ือวเิ คราะห์ผเู้ รยี น ทงั้ 5 ดา้ น โดยใช้ดงั นี้
ดา้ นท่ี 1 ความรูค้ วามสามารถและประสบการณ์
1. ความรู้พื้นฐาน
2. ความสามารถในการแก้ปัญหา
3. ความสามารถ/สมาธกิ ารเรยี นรู้
ด้านท่ี 2 ความพร้อมด้านสติปญั ญา
1. ความคิดเริ่มสร้างสรรค์
2. ความมี เหตผุ ล
3. ความสามารถในการเรียนรู้
ด้านที่ 3 ความพรอ้ มด้านพฤตกิ รรม
1. การแสดงออก
2. การควบคมุ อารมณ์
3. ความมุ่งม่ันขยนั หมน่ั เพียร
ด้านที่ 4 ความพร้อมด้านร่างกายและจติ ใจ
1. สุขภาพรา่ งกายสมบรู ณ์
2. การเจรญิ เติบโตสมวยั
3. ด้านสุภาพจิต
ด้านท่ี 5 ความพรอ้ มดา้ นสังคม
1. การปรับตวั เขา้ กบั ผู้อ่ืน
2. การเสยี สละ ไม่เหน็ แก่ตัว
3. มีระเบียบ วนิ ยั เคารพกติกา
นาค่าที่ไดท้ งั้ 5 ด้านมาหาค่าเฉลย่ี แล้วจาแนกนักเรยี นเป็น 3 กลุ่ม คือ กลมุ่ เก่ง กลุม่ ปานกลาง
และกลุม่ ออ่ น เพ่ือการแกไ้ ข/พฒั นา/ส่งเสรมิ ความเป็นเลิศของนักเรยี นต่อไป การวิเคราะหผ์ ู้เรียนวิชาฟสิ กิ ส์ 1
รหัสวชิ า ว30201 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2562 ดาเนินการระหวา่ งวนั ที่ 20-24 พฤษภาคม 2562
โดยมีรายละเอียดดังนี้

กลุ่ม ม.4/1 ม.4/2 ม.4/3 ม.4/6 รวม รอ้ ยละ การแกไ้ ข/พัฒนา/สง่ เสรมิ ความเปน็ เลิศ
เกง่ 12 24 13 7 56 38.62 การสง่ เสรมิ ความเป็นเลิศ

1.สอนเสริมเพ่ือการสอบ สอวน.ฟสิ ิกส์
2.ให้ทดลองทาโจทยฟ์ ิสิกส์สอบเขา้
มหาวทิ ยาลยั
ปานกลาง 27 16 27 18 88 60.69 การพัฒนา
1.ให้ทาแบบฝึกทกั ษะ
2.ใหท้ ดลองทาโจทย์ฟสิ กิ ส์โอเนต็
ออ่ น 1 0 0 0 1 0.69 การแก้ไขปญั หา
1.ใหท้ าแบบฝึกทักษะ
2.ใหม้ เี พอ่ื นสนิทเปน็ ทป่ี รกึ ษาการเรยี น
3.นัดสอนเสรมิ เป็นระยะ
4.ใหท้ าแบบฝกึ ทักษะ
รวม 40 40 40 25 145 100.00

2-8-1

2.8 แบบบนั ทกึ การวเิ คราะห์จดุ เนน้ การพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียน

2-8-2

แบบบนั ทกึ การวเิ คราะห์ความสอดคล้องระหว่างตวั ชี้วัดรายวชิ ากบั จดุ เนน้ การพฒั นาคุณภาพผ้เู รยี น
กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ รายวิชาฟิสกิ ส์ 1 รหสั วชิ า ว 30201 ช่ือผสู้ อน นายชาตรี ศรีม่วงวงค์

สาระการ ตวั ชว้ี ดั /ผลการเรยี นร้รู ายวิชา สอดคลอ้ งกับจดุ เนน้ การพัฒนา
เรยี นรู้ คณุ ภาพผ้เู รียน
ฟสิ ิกส์เพ่ิมเติม 1. สืบค้น และอธบิ ายการค้นหาความรูท้ าง
ขอ้ 1 ฟสิ ิกสป์ ระวตั คิ วามเป็นมา รวมทั้งพฒั นาการ 1.การคิดวเิ คราะห์ขน้ั สูง
ของหลักการและแนวคดิ ทางฟสิ กิ สท์ ีม่ ีผลต่อ 2.แสวงหาความรเู้ พื่อการแก้ปัญหา
ฟสิ กิ ส์เพิ่มเตมิ การแสวงหาความรใู้ หมแ่ ละการพัฒนา 3.ทกั ษะการสอ่ื สารอยา่ งสร้างสรรคต์ ามชว่ งวัย
ขอ้ 1 เทคโนโลยี 4.คุณลักษณะใฝ่เรยี นรู้
2. วัดและรายงานผลการวัดปรมิ าณทาง
ฟสิ ิกสเ์ พ่ิมเติม ฟิสิกส์ได้ถูกต้องเหมาะสม โดยนาความ 1.การคิดวิเคราะหข์ ั้นสูง
ข้อ 1 คลาดเคลื่อนในการวัดมาพิจารณาในการ 2.แสวงหาความร้เู พ่ือการแก้ปญั หา
นาเสนอผลรวมทัง้ แสดงผลการทดลองในรปู 3.ทกั ษะการส่ือสารอยา่ งสร้างสรรคต์ ามชว่ งวัย
ของกราฟวิเคราะหแ์ ละแปลความหมายจาก 4.คณุ ลักษณะใฝ่เรียนรู้
กราฟเส้นตรง
3. ทดลอง และอธิบายความสัมพันธร์ ะหว่าง 1.การคดิ วิเคราะหข์ น้ั สงู
ตาแหนง่ การกระจดั ความเร็ว และความเร่ง 2.แสวงหาความรู้เพอื่ การแก้ปญั หา
ของการเคลื่อนทขี่ องวัตถุในแนวตรงที่มี 3.ทกั ษะการส่อื สารอย่างสร้างสรรคต์ ามช่วงวยั
ความเรง่ คงตัวจากกราฟและสมการ รวมทง้ั 4.คณุ ลกั ษณะใฝเ่ รียนรู้
ทดลองหาคา่ ความเรง่ โน้มถว่ งของโลกและ
คานวณปริมาณต่าง ๆ ทเี่ ก่ียวข้อง

ฟิสกิ ส์เพม่ิ เติม 4. ทดลอง และอธบิ ายการหาแรงลัพธ์ของ 1.การคิดวิเคราะห์ขัน้ สูง
ขอ้ 1 แรงสอง แรงทท่ี ามุมตอ่ กัน 2.แสวงหาความรเู้ พอ่ื การแกป้ ญั หา
3.ทกั ษะการสือ่ สารอย่างสร้างสรรค์ตามช่วงวยั
ฟิสิกส์เพมิ่ เติม 5. เขียนแผนภาพของแรงท่กี ระทาต่อวตั ถุ 4.คุณลกั ษณะใฝ่เรียนรู้
ข้อ 1 อสิ ระทดลอง และอธบิ ายกฎการเคลือ่ นทข่ี อง
นิวตนั และการใช้กฎการเคล่ือนทีข่ องนวิ ตัน 1.การคิดวเิ คราะหข์ น้ั สงู
กับสภาพการเคล่ือนทข่ี องวัตถุ รวมท้งั 2.แสวงหาความรู้เพอื่ การแกป้ ัญหา
คานวณปริมาณต่าง ๆทีเ่ กยี่ วขอ้ ง 3.ทกั ษะการส่อื สารอยา่ งสร้างสรรค์ตามช่วงวยั
4.คณุ ลักษณะใฝเ่ รียนรู้

2-8-3

แบบบันทึกการวเิ คราะห์ความสอดคล้องระหวา่ งตวั ช้ีวัดรายวิชากบั จดุ เนน้ การพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียน
กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชาฟิสกิ ส์ 1 รหัสวชิ า ว 30201 ชือ่ ผสู้ อน นายชาตรี ศรมี ว่ งวงค์

สาระการ ตัวชว้ี ดั /ผลการเรยี นรรู้ ายวชิ า สอดคล้องกับจดุ เน้นการพัฒนา
เรียนรู้ คณุ ภาพผูเ้ รยี น
ฟสิ กิ ส์เพิ่มเตมิ 6. อธบิ ายกฎความโน้มถว่ งสากลและผลของ
ข้อ 1 สนามโน้มถว่ งที่ทาให้วัตถุ มีน้าหนกั รวมทั้ง 1.การคดิ วเิ คราะห์ขั้นสงู
คานวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ ง 2.แสวงหาความรู้เพอื่ การแก้ปัญหา
ฟสิ ิกสเ์ พิม่ เติม 3.ทกั ษะการสื่อสารอย่างสรา้ งสรรค์ตามชว่ งวยั
ขอ้ 1 7. วิเคราะห์ อธบิ าย และคานวณแรงเสยี ด 4.คุณลกั ษณะใฝเ่ รียนรู้
ทาน ระหว่างผิวสัมผัสของวัตถคุ ่หู น่ึง ๆ ใน
กรณที ีว่ ตั ถุหยดุ น่ิงและวตั ถเุ คล่ือนท่ี รวมทัง้ 1.การคิดวเิ คราะห์ข้นั สูง
ทดลองหาสมั ประสทิ ธค์ิ วามเสียดทานระหว่าง 2.แสวงหาความรู้เพ่อื การแกป้ ัญหา
ผวิ สมั ผัสของวัตถุคหู่ นงึ่ ๆ และนาความรู้เร่ือง 3.ทักษะการสื่อสารอยา่ งสรา้ งสรรคต์ ามชว่ งวัย
แรงเสยี ดทานไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั 4.คุณลกั ษณะใฝ่เรียนรู้

2-9-1

2.9 แผนบูรณาการ

2-9-2

แผนการบูรณาการหลกั สตู รท้องถนิ่ หลักสตู รอาเซยี น หลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชาฟิสกิ ส์ 1 รหัสวชิ า ว 30201 ชื่อผสู้ อน นายชาตรี ศรีม่วงวงค์

แผนการจดั การเรยี นรู้ / ผลการเรยี นรู้ การบูรณาการ
บูรณาการหลกั สูตรท้องถิ่น
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 1 เรื่อง เคร่ืองมือวัด ช่ัง ตวง วดั ในจงั หวัดกาแพงเพชร
เรื่อง ความรู้พนื้ ฐานเกย่ี วกับฟิสกิ ส์
1.สบื ค้น และอธบิ ายการคน้ หาความรูท้ างฟิสกิ สป์ ระวัติ บรู ณาการหลกั สตู รอาเซยี น
ความเป็นมา รวมทั้งพฒั นาการของหลักการและแนวคิด เร่ือง หน่วยการวดั ของชาติอาเซียน
ทางฟสิ ิกสท์ ม่ี ผี ลต่อการแสวงหาความรใู้ หม่และการพฒั นา
เทคโนโลยี

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 2
เรอื่ ง การวิเคราะห์ผล
การทดลอง
2.วดั และรายงานผลการวดั ปริมาณทางฟสิ กิ ส์ไดถ้ ูกต้อง
เหมาะสม โดยนาความคลาดเคล่อื นในการวัดมาพจิ ารณา
ในการนาเสนอผลรวมทั้งแสดงผลการทดลองในรูปของ
กราฟวิเคราะห์และแปลความหมายจากกราฟเสน้ ตรง

แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 3 บูรณาการหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เรือ่ ง ปริมาณเวกเตอรแ์ ละปริมาณสเกลาร์ เรือ่ ง ความพอประมาณ ความมเี หตผุ ลและ การมีภูมิคุ้มกัน
2.วัดและรายงานผลการวดั ปริมาณทางฟิสกิ ส์ได้ถูกต้อง
เหมาะสม โดยนาความคลาดเคลื่อนในการวดั มาพิจารณา
ในการนาเสนอผลรวมท้ังแสดงผลการทดลองในรปู ของ
กราฟวิเคราะห์และแปลความหมายจากกราฟเสน้ ตรง

2-9-3

แผนการจัดการเรยี นรู้ / ผลการเรยี นรู้ การบรู ณาการ

แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 4 บูรณาการห้องเรยี นสีขาว
เรอ่ื ง การเคล่ือนที่ด้วยความเรว็ คงท่ี เรอื่ ง อบุ ตั เิ หตุ และอบุ ตั ิภยั
3. ทดลอง และอธบิ ายความสัมพันธ์ระหว่าง ตาแหน่ง การ
กระจัดความเร็ว และความเร่ง ของการเคลื่อนท่ีของวตั ถุใน
แนวตรงที่มคี วามเรง่ คงตวั จากกราฟและสมการ รวมทงั้
ทดลองหาคา่ ความเรง่ โนม้ ถ่วงของโลกและคานวณปริมาณ
ตา่ ง ๆ ทเ่ี กยี่ วข้อง

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 5
เรื่อง การเคลือ่ นที่ดว้ ยความเรง่
3. ทดลอง และอธบิ ายความสัมพนั ธร์ ะหว่าง ตาแหน่ง การ
กระจดั ความเร็ว และความเร่ง ของการเคล่ือนที่ของวัตถุใน
แนวตรงทีม่ ีความเรง่ คงตวั จากกราฟและสมการ รวมท้งั
ทดลองหาค่าความเร่งโน้มถว่ งของโลกและคานวณปริมาณ
ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 6
เรือ่ ง การเคลือ่ นท่ีแนวดง่ิ
3. ทดลอง และอธบิ ายความสัมพันธร์ ะหว่าง ตาแหน่ง การ
กระจัดความเร็ว และความเร่ง ของการเคลื่อนที่ของวัตถุใน
แนวตรงท่ีมคี วามเรง่ คงตัวจากกราฟและสมการ รวมทงั้
ทดลองหาค่าความเร่งโน้มถว่ งของโลกและคานวณปริมาณ
ต่าง ๆ ทเ่ี ก่ียวข้อง

2-9-4

แผนการจัดการเรยี นรู้ / ผลการเรยี นรู้ การบรู ณาการ

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 7 บรู ณาการทักษะชีวติ
เร่ือง กฎการเคล่อื นท่ีของนวิ ตัน เรื่อง ความปลอดภัยในการเดินทางดว้ ยยานพาหนะ
5. เขียนแผนภาพของแรงที่กระทาต่อวัตถุอสิ ระทดลอง
และอธิบายกฎการเคลื่อนทีข่ องนวิ ตันและการใช้กฎการ
เคล่อื นท่ีของนิวตันกับสภาพการเคล่ือนที่ของวตั ถุ รวมทัง้
คานวณปริมาณตา่ ง ๆทเ่ี กี่ยวข้อง
7. วเิ คราะห์ อธบิ าย และคานวณแรงเสยี ดทาน ระหวา่ ง
ผวิ สมั ผสั ของวตั ถุคหู่ นึ่ง ๆ ในกรณที ่วี ตั ถหุ ยดุ น่ิงและวตั ถุ
เคล่ือนท่ี รวมทง้ั ทดลองหาสัมประสทิ ธิ์ความเสียดทาน
ระหวา่ งผวิ สมั ผัสของวัตถุคหู่ น่ึง ๆ และนาความรเู้ ร่ืองแรง
เสียดทานไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวัน

แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 8
เร่ือง การประยุกต์ใชก้ ฎการเคลอื่ นท่ขี องนิวตัน
5. เขียนแผนภาพของแรงที่กระทาต่อวตั ถุอสิ ระทดลอง
และอธิบายกฎการเคล่ือนท่ขี องนิวตนั และการใช้กฎการ
เคลอ่ื นท่ีของนวิ ตนั กับสภาพการเคลอ่ื นท่ีของวัตถุ รวมทงั้
คานวณปรมิ าณตา่ ง ๆท่เี กี่ยวข้อง
6. อธิบายกฎความโนม้ ถว่ งสากลและผลของสนามโน้มถว่ ง
ท่ีทาใหว้ ัตถุ มีนา้ หนัก รวมทง้ั คานวณปรมิ าณต่างๆ ที่
เก่ียวขอ้ ง

แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 9
เรือ่ ง กฎแรงดึงดดู ระหว่างมวล
6. อธิบายกฎความโนม้ ถว่ งสากลและผลของสนามโน้มถว่ ง
ที่ทาให้วัตถุ มนี า้ หนัก รวมท้งั คานวณปริมาณตา่ งๆ ท่ี
เกยี่ วข้อง
7. วิเคราะห์ อธบิ าย และคานวณแรงเสยี ดทาน ระหวา่ ง
ผวิ สมั ผสั ของวตั ถคุ หู่ นงึ่ ๆ ในกรณีท่ีวัตถุหยดุ น่ิงและวตั ถุ
เคลอื่ นท่ี รวมทงั้ ทดลองหาสัมประสทิ ธ์คิ วามเสยี ดทาน
ระหวา่ งผิวสัมผสั ของวัตถุคหู่ นงึ่ ๆ และนาความรูเ้ รื่องแรง
เสียดทานไปใชใ้ นชีวิตประจาวัน

2-9-5

หมายเหตุ
รายการการบรู ณาการในแผนการจัดการเรยี นรู้
1. บรู ณาการหลกั สตู รท้องถิ่น
2. บรู ณาการหลักสตู รอาเซียน
3. บรู ณาการหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
4. บูรณาการทักษะชีวิต
5. บูรณาการหอ้ งเรียนสีขาว

โดยมสี อ่ื มลั ตมิ ีเดยี และข้อมูลท่ีเกยี่ วข้องกับเร่ืองท่ีบูรณาการสาหรับนักเรียนศกึ ษาเพ่ิมเติม
อยบู่ นเว็บไซต์ช่ือ http://gg.gg/ct3110

3-1-1

แผนจัดการเรยี นร้ทู ี่ 1

3-1-2

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1
กลุม่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว30201 วิชา ฟิสิกส์ 1

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 ภาคเรียนท่ี 1
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 เร่ือง ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสิกส์

เรอื่ งที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกย่ี วกบั ฟิสิกส์ เวลา 6 ช่ัวโมง
ผสู้ อน นายชาตรี ศรีม่วงวงค์ โรงเรียนวัชรวิทยา

1. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด
วชิ าฟิสกิ ส์ เปน็ วชิ าวิทยาศาสตรแ์ ขนงหนึ่ง ท่ศี ึกษาหาความจริงของธรรมชาตทิ ี่เกี่ยวกับปรากฏการณ์

ทางธรรมชาตติ า่ งๆท่ีเป็นการเปลีย่ นแปลงทางกายภาพ เพือ่ นาไปสกู่ ารสรา้ งส่งิ ใหม่ๆมาช่วยในการแก้ปัญหา
และสร้างเคร่ืองอานวยความสะดวก ทีเ่ รียกว่า เทคโนโลยี การเปลยี่ นแปลงน้จี ะเกดิ ขึน้ มากน้อยต่างกนั หรือ
ทเ่ี รียกว่าการเปล่ยี นแปลงปริมาณของสิ่งทสี่ งั เกตนนั้ อาจจะมวล นา้ หนัก พลังงาน ความดัน และ เวลา เปน็
ต้น ปริมาณต่างๆ เรานี้ จะถูกแยกเปน็ ปริมาณฐานและ ปริมาณอนุพัทธ์ การกาหนดหนว่ ยของปรมิ าณตา่ งๆนี้

2. สาระการเรียนร้ฟู ิสิกส์
สาระฟิสิกส์ ขอ้ 1เข้าใจธรรมชาติทางฟิสิกส์ ปริมาณ และกระบวนการวดั การเคล่ือนที่แนวตรง แรงและกฎ

การเคลื่อนท่ขี องนิวตนั กฎความโน้มถว่ งสากล แรงเสียดทาน สมดลุ กลของวตั ถุ งานและกฎการอนุรักษ์พลงั งาน
กล โมเมนตมั และกฎการอนุรักษโ์ มเมนตัม การเคล่ือนที่แนวโค้ง รวมทงั้ นาความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์

3. ผลการเรียนรู้
1.สบื คน้ และอธบิ ายการค้นหาความรทู้ างฟสิ ิกสป์ ระวตั คิ วามเปน็ มา รวมทั้งพฒั นาการของหลักการและ

แนวคิดทางฟิสิกส์ท่ีมีผลตอ่ การแสวงหาความรู้ใหม่และการพฒั นาเทคโนโลยี

3-1-3

4.สาระการเรยี นรู้
4.1 สาระฟสิ กิ ส์เพิม่ เติม
การเคล่อื นทแี่ นวตรงเป็นการเคลอื่ นที่ในแนวใดแนวหนง่ึ เช่น แนวราบหรอื แนวด่งิ ที่มกี ารกระจัด

ความเรว็ ความเรง่ อยู่ในแนวเสน้ ตรงเดยี วกนั โดยความเรง่ ของวัตถหุ าไดจ้ ากความเร็วทีเ่ ปลี่ยนไปในหนง่ึ หน่วย
เวลา

4.2 สาระการเรียนรู้ท้องถ่ิน
เครื่องมือวัด ชา่ ง ตวง ในจงั หวดั กาแพงเพชร

4.3 สาระการเรียนรู้เกย่ี วกับอาเซียน
-

4.4 สาระการเรยี นรู้เศรษฐกิจพอเพยี ง
-

5. สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียนและจดุ เนน้ ทต่ี ้องการพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน
5.1 สมรรถนะ ความสามารถในการส่ือสาร
5.2 สมรรถนะ ความสามารถในการคิด
5.3 สมรรถนะ ความสามารถในการแกป้ ญั หา
5.4 สมรรถนะ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
5.5 จดุ เนน้ แสวงหาความรู้เพือ่ การแก้ปญั หา
5.6 จดุ เน้น การคิดวิเคราะห์ข้ันสูง
5.7 จุดเน้น การใช้เทคโนโลยเี พ่ือการเรยี นรู้
5.8 จุดเน้น ทกั ษะการสื่อสารอยา่ งสรา้ งสรรค์ตามชว่ งวยั

6. คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
6.1 มีวินยั
6.2 ใฝเ่ รยี นรู้
6.3 อยอู่ ย่างพอเพียง
6.4 มุ่งม่นั ในการทางาน

3-1-4

7. ชน้ิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด/ระหว่างเรียน)
7.1 แบบฝึกทกั ษะ (ระหวา่ งเรียน)
7.2 แผนผงั มโนทศั น์ Concept mapping (รวบยอด)
7.3 แบบทดสอบหลงั เรยี น (รวบยอด)

8.การวดั และประเมินผล

สิง่ ท่ีวดั ช่วงการวดั วิธีการประเมินผล เครือ่ งมอื เกณฑก์ ารประเมนิ
ถกู ตอ้ งสมบรู ณ์
8.1 ความรู้ความเขา้ ใจ ระหวา่ งสอน ความถกู ต้องของ Concept
Concept mapping ตอบถูกตอ้ ง
ในเนอ้ื หา mapping
คาถาม
8.2 ความร้คู วามเขา้ ใจ ระหวา่ งสอน การตอบคาถาม
ในเนือ้ หา ระหว่างสอน
ระหวา่ งสอน การตอบคาถาม คาถาม ตอบถูกตอ้ ง
8.3 ทกั ษะและ
กระบวนการ การตอบคาถาม คาถาม วิเคราะหต์ าม
สภาพคาตอบ
8.4 เจตคติ

8.5 ผลการเรียนรู้ ระหวา่ งสอน การทาแบบฝึกทักษะ แบบฝกึ ทักษะ ทาถกู ร้อยละ 70 ขน้ึ ไป
8.6 ผลสมั ฤทธิ์ สนิ้ สดุ การสอน
คะแนนสอบหลังเรียน แบบทดสอบหลังเรียน ได้คะแนน

ร้อยละ 70 ขน้ึ ไป

9. กิจกรรมการเรยี นรู้
ข้ันสร้างความสนใจ (Engagement)
9.1 ครูเปดิ เพาเวอรพ์ อยต์จากเวบ็ ไซตส์ อนฟสิ กิ ส์ ที่เวบ็ ไซต์ http://gg.gg/ct3110 เพอ่ื เปดิ วดี ทิ ศั น์ให้

นักเรียนศกึ ษา เรอื่ ง ความหมายของวชิ าฟิสิกส์
9.2 ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั และเปล่ียนเรียนรจู้ ากเนื้อหาในวดี ทิ ัศนท์ ไ่ี ดด้ ูร่วมกัน
9.3 ครตู ้งั คาถามนักเรยี นเก่ียวกับความหมายของวิชาฟิสิกส์
9.4 นกั เรยี นตอบคาถามของครูอยา่ งอสิ ระ และร่วมแลกเปลี่ยนเรยี นรซู้ ึง่ กนั และกัน
9.5 นักเรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรียนออนไลน์จากเวบ็ ไซต์การสอนฟสิ กิ ส์ จานวน 10 ข้อ
ข้ันสารวจและคน้ หา (Exploration)
9.6 ครแู จ้งใหน้ กั เรยี นทราบถึงเน้ือหาทจี่ ะเรียน จดุ ประสงค์ กระบวนการเรยี นทจ่ี ะดาเนินการโดยยอ่
9.7 ครใู หน้ กั เรยี นศึกษาเน้ือหาความรจู้ ากเพาเวอร์พอยตจ์ ากเว็บไซต์สอนฟิสิกส์ โดยให้นักเรียนสบื คน้

ข้อมูลและศึกษาข้อมลู เบื้องต้น
9.8 ครสู าธิตวธิ กี ารแก้ปญั หาโจทย์ให้กับนกั เรยี น ตามโจทย์ตัวอย่างในเพาเวอร์พอยต์ จานวน 3 ข้อ
9.9 นกั เรยี นฝกึ ทักษะการทาแบบฝกึ หดั จากแบบฝกึ หัดตามท่ีครูระบใุ หจ้ านวน 5 ขอ้
9.10 ครูเฉลยแบบฝึกหัดอย่างละเอียดพร้อมแลกเปลีย่ นเรียนรู้กบั นกั เรยี นอย่างเปน็ กันเอง โดยกระตนุ้

ดว้ ยคาถามเพอ่ื ใหน้ กั เรียนคดิ อยา่ งเปน็ ข้ันตอน

3-1-5

ขนั้ อธิบายและลงข้อสรปุ (Explanation)
9.11 นักเรียนแต่ละกลุ่มสรปุ หลกั การในการแก้โจทย์ในแบบฝกึ หดั
9.12 นกั เรยี นแลกเปลย่ี นเรยี นรกู้ ันภายในกลุม่ และระหวา่ งกล่มุ
9.13 นักเรียนแต่ละคนสรุปหลกั การในการแกโ้ จทย์ของตนเอง
9.14 ครแู ละนักเรยี นร่วมกันอภปิ รายเพือ่ สรปุ การแก้ไขปญั หาโจทย์อยา่ งเปน็ ข้ันตอน นักเรียนบนั ทึก
ขอ้ มูลลงในสมดุ บนั ทึก
9.15 นกั เรยี นทาแบบฝึกทักษะเพิ่มเติมตามหลกั การทไ่ี ดจ้ ากการสรปุ ร่วมกนั ระหว่างครแู ละนกั เรียน
ข้ันขยายความรู้ (Elaboration)
9.16 ครูใช้คาถามนาเพอ่ื ให้นักเรียนนาหลักการทีส่ รุปได้มาประยุกต์ใชง้ านในสถานการณ์โจทย์ท่มี คี วาม
ซับซอ้ นมากขึน้ และเปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นซกั ถามและแลกเปลี่ยนเรียนร้ใู นเรือ่ งท่ีเรียน
9.17 นกั เรียนทดลองทาแบบฝกึ หัดทห่ี ลากหลาย โดยนาข้อสอบโอเน็ต ข้อสอบ PAT2 ขอ้ สอบคดั เลือก
เขา้ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ขอ้ สอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลยั ขอนแก่น มาให้นักเรยี นฝกึ ทาโดยครจู ัดเตรยี มไว้ใน
เพาเวอร์พอยตป์ ระกอบการสอนในเวบ็ ไซตก์ ารสอนฟิสกิ ส์
9.18 นกั เรยี นทาแบบฝกึ ทักษะเพิ่มเติมโดยมีครคู อยใหค้ าแนะนา
9.19 นกั เรยี นตรวจคาตอบและศกึ ษาเพิ่มเติมจากเว็บไซต์การสอนฟสิ กิ ส์
9.20 ครสู ่งั แบบฝกึ หัดใหน้ ักเรียนกลบั ไปฝกึ ทาเป็นการบ้าน
ขน้ั ประเมนิ (Evaluation)
9.21 นักเรยี นเขยี น Concept mapping ของเรอื่ งทเ่ี รียนลงในสมดุ แล้วถา่ ยรูปสง่ ใน line ห้องเรยี น
ฟสิ กิ ส์และครูประเมนิ ความเข้าใจเน้ือหาของนักเรยี นจาก Concept mapping ทีน่ ักเรียนสง่ มา
9.22 ครตู ้งั คาถามเพื่อให้นกั เรียนตอบเพ่ือตรวจสอบความเขา้ ใจในเนื้อหาทเ่ี รียนอีกครง้ั
9.23 นักเรียนทาขอ้ สอบออนไลน์ผา่ นโทรศพั ท์มอื ถือ จานวน 10 ข้อ โดยใช้เวลาในการทาขอ้ สอบ
10 นาที
9.24 ครแู จง้ ผลการสอบทันที โดยสง่ คะแนนให้นักเรยี นทาง line ห้องเรยี นฟิสิกส์
9.25 นักเรียนทมี่ ีคะแนนไมถ่ ึงร้อยละ 50 ครใู ห้นักเรยี นกลับไปทบทวนเน้ือหาเพาเวอร์พอยตอ์ ีกครงั้
และนัดหมายให้สอบออนไลน์ใหม่อีกคร้ังในการเรยี นคาบต่อไป ในสว่ นของนกั เรยี นทมี่ ีคะแนนเกินร้อยละ 50
และตอ้ งการศกึ ษาทบทวนเพ่ิมข้นึ ครูแนะนาให้ศึกษาซา้ ในเพาเวอร์พอยต์และแนะนาเว็บไซต์เพอื่ ศึกษาดว้ ย
ตนเองเพิ่มเติม
ข้ันการบรู ณาการ (Integration)
9.26 ครูนาเสนอเก่ยี วกับท้องถ่นิ สอบถามนักเรียนเก่ยี วกบั การใช้เครือ่ งมือชงั่ ตวงวดั ของจงั หวดั
กาแพงเพชรจากฐานข้อมูลท้องถ่ินสานักวทิ บริการและเทคโนโลยสี ารสนเทศ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร
https://arit.kpru.ac.th/ap/rlocal/index.php/2014-06-11-03-53-28/31-2014-06-11-03-21-40/folk-
wisdom-kamphaeng-phet
9.27 ครูสอบถามนกั เรียนเกี่ยวกบั การใชเ้ ครื่องมือช่ัง ตวงวัด ในท้องถิน่ ทน่ี ักเรยี นอาศยั อยู่ โดยให้
นักเรยี นแลกเปลย่ี นกนั นาเสนอข้อมูลหนา้ ห้องเรียน
9.28 ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับเครื่องมือการช่ัง ตวง วดั ในจงั หวดั กาแพงเพชรท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั
การใชห้ ลักการทางวิทยาศาสตร์และฟสิ ิกส์เข้ามาประยุกตใ์ ช้

3-1-6

10. สอ่ื การเรียนรู้/แหลง่ เรียนรู้ จานวน ลาดับขน้ั ตอนการใช้ส่อื

รายการสือ่ 1 เวบ็ ไซต์ ทุกขัน้ ตอน
10.1 เว็บไซต์การสอนฟิสิกส์
ทผี่ ลิตโดยนายชาตรี ศรมี ว่ งวงค์ 1 ไฟล์ ทกุ ข้นั ตอน
10.2 เพาเวอรพ์ อยต์การสอนฟสิ กิ ส์ 1 กลุ่ม ทุกขั้นตอน
10.3 กลมุ่ line การสอนฟิสกิ ส์ 1 ชดุ ทกุ ข้นั ตอน
10.4 ใบความรทู้ ี่ 1 1 ชุด ขัน้ ขยายความรู้ / ขน้ั ลงข้อสรุป
10.5 แบบฝกึ หดั ท่ี 1 1 ชดุ ข้ันสรา้ งความสนใจ
10.6 แบบทดสอบก่อนเรยี นออนไลน์ 1 ชุด ขนั้ ประเมิน
10.7 แบบทดสอบหลังเรยี นออนไลน์

11. กจิ กรรมเสนอแนะ

รายการ วธิ ีการ
11.1 ปรับปรุง-แก้ไขขอ้ บกพรอ่ งของผ้เู รียน
นักเรยี นทีม่ ีคะแนนไม่ถึงร้อยละ 50 ครใู หน้ ักเรียนกลับไป
11.2 สง่ เสริมความร้คู วามสามารถของผู้เรียน ทบทวนเน้ือหาเพาเวอร์พอยต์อกี คร้ังและนดั หมายให้
สอบออนไลนใ์ หมอ่ ีกครั้งในการเรียนคาบตอ่ ไป

นกั เรียนท่ีมีคะแนนเกินร้อยละ 50 และตอ้ งการศึกษา
ทบทวนเพิ่มขน้ึ ครแู นะนาให้ศึกษาซา้ ในเพาเวอร์พอยต์
และแนะนาเวบ็ ไซต์เพื่อศึกษาด้วยตนเองเพิ่มเติม

3-1-7

12.บนั ทกึ ผลหลังการสอน
12.1 ความกา้ วหน้าในการเรยี นการสอน

จานวน คะแนน คะแนนเฉลยี่ คะแนนเฉลยี่ คะแนนเฉลย่ี E1/E2 ความกา้ วหนา้
นักเรียน เตม็ กอ่ นเรยี น ระหว่างเรยี น ในการเรียน
หลงั เรยี น
145 10 2.12 8.12 63.50
8.47 81.20/84.70

สูตร รอ้ ยละความกา้ วหนา้ ในการเรยี น = คะแนนหลงั เรียน – คะแนนกอ่ นเรยี น x 100
คะแนนเตม็

สูตร หาประสิทธิภาพของสอ่ื = E1/ E2 (ตามเกณฑ์ 80/80)
E1 = ประสิทธภิ าพของกระบวนการ (ทาแบบฝกึ )
E2 = ประสทิ ธภิ าพของผลลพั ธ์ (สอบหลังเรยี น)
ประสิทธภิ าพของกระบวนการ = คะแนนเฉลย่ี ระหว่างเรียน x 100
คะแนนเตม็

ประสทิ ธภิ าพของผลลพั ธ์ = คะแนนเฉลี่ยหลงั เรยี น x 100
คะแนนเต็ม

12.2 กระบวนการจัดการเรยี นการสอน
1.ขัน้ สรา้ งความสนใจ นักเรียนรอ้ ยละ 90 ให้ความสนใจคลิปเก่ียวกบั การสาธิตตวั อยา่ งของ

ครเู ก่ียวกบั สมดุล และใหค้ วามสนใจคลิปทค่ี รเู ปิดใหด้ ู โดยมีนักเรียนบางส่วนสนใจซักถามเพิม่ เติม และรว่ มกนั
กาหนดประเด็นของเร่ืองทต่ี ้องการศึกษาเกย่ี วกบั ความรู้พื้นฐานเกย่ี วกบั ฟิสิกส์

2.ขน้ั สารวจและค้นหา นกั เรยี นร้อยละ 90 ร่วมกนั ศกึ ษาเกีย่ วกบั เนอื้ หาของสภาพสมดุล โดย
มีการซักถามและร่วมกนั หาคาตอบ เขา้ ใจในประเด็นทสี่ นใจจะศึกษา รว่ มกันวางแผนกาหนดแนวทางการสารวจ
ตรวจสอบ ตั้งสมมตฐิ าน กาหนดวิธกี ารทดลองและทาการศึกษาเน้ือหาจากหนังสือเรยี นและใบงาน มีการสบื ค้น
ข้อมลู จากเว็บไซต์ตา่ งๆ เพือ่ ลงขอ้ สรปุ เกย่ี วกบั ความรู้พน้ื ฐานเกี่ยวกับฟสิ ิกส์

3.ขน้ั อธบิ ายและลงข้อสรปุ นักเรียนรอ้ ยละ 50 ร่วมกันอภปิ รายเก่ียวกบั เร่อื งที่เรียนและ
ร่วมกันสรปุ เก่ียวกบั ความรพู้ ้ืนฐานเกี่ยวกับฟสิ ิกส์

4.ขน้ั ขยายความรู้ นักเรียนร้อยละ 50 รว่ มกนั อธิบายสถานการณ์ในชีวติ ประจาวันโดยใช้
ขอ้ สรปุ เกีย่ วกับความรู้พ้ืนฐานเกย่ี วกับฟิสิกส์

5.ขน้ั ประเมิน นักเรยี นรอ้ ยละ 75 สามารถนาหลกั การและความรูท้ ่เี รียนตอบคาถามและ
สถานการณ์ทค่ี รูตง้ั ข้นึ ได้

3-1-8

บรรยากาศการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนความรู้พน้ื ฐานเกี่ยวกับฟิสิกส์

12.3 ผลการสอน
( / ) สอนไดต้ ามแผนการจดั การเรียนรู้
( ) สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก...............................................................

12.4 ปัญหาและอุปสรรค
1. นักเรยี นรอ้ ยละ 30 วเิ คราะหโ์ จทยฟ์ ิสิกส์ไม่ค่อยได้
2. นกั เรยี นรอ้ ยละ 50 ยงั แก้สมการคณติ ศาสตร์ในโจทย์ไม่ได้
3. นักเรียนร้อยละ 20 คดิ เลขไม่ถูกตอ้ ง
4. นกั เรยี นทาใบงานไม่เสร็จตามเวลา

12.5 แนวทางการแกไ้ ขปญั หา
1. ให้นักเรียนศกึ ษาตวั อย่างจากหนังสอื คมู่ อื เพ่ิมเติม
2. นกั เรียนฝึกแก้สมการคณติ ศาสตร์
3. นักเรยี นฝึกคิดเลขโดยให้ทดลองเล่นเกม 180 ไอคิว
4. ปรับปรงุ ใบงาน

ลงชอ่ื ..............................................ผ้สู อน
(นายชาตรี ศรมี ว่ งวงค์)

3-1-9

ขอ้ เสนอแนะของหัวหน้ากลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์
.................................................................... ..........................................................................................
..............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................

ลงช่อื ........................................................
(นางตวงรัตน์ อ้นอิน)

ตาแหน่ง หัวหน้ากลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
วนั ท.่ี .........เดือน..........................พ.ศ............

ข้อเสนอแนะของรองผู้อานวยการกลมุ่ บริหารงานวชิ าการ
............................................................................................................................. .................................
.......................................................................................................................................................... ....
............................................................................................................................. .................................

ลงชื่อ ........................................................
(นายวิเชียร ยอดนิล)

ตาแหน่ง รองผอู้ านวยการกลุ่มบริหารงานวิชาการ
วันที่..........เดอื น..........................พ.ศ............

ข้อเสนอแนะของผู้อานวยการโรงเรยี น
............................................................................................................................. .................................
..............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................

ลงชื่อ ........................................................
(นายไพชยนต์ ศรีมว่ ง)

ตาแหน่ง ผูอ้ านวยการโรงเรยี นวชั รวิทยา
วันที่..........เดอื น..........................พ.ศ............

3-1-10

ภาคผนวก
ประกอบแผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 1


Click to View FlipBook Version