The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

๑๐๘ ข้อธรรม ขีณาลโย 108 DHAMMA KHEENALAYO

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Luangta Narongsak, 2020-08-07 23:45:19

๑๐๘ ข้อธรรม ขีณาลโย 108 DHAMMA KHEENALAYO

๑๐๘ ข้อธรรม ขีณาลโย 108 DHAMMA KHEENALAYO

ค�ำนำ�

หนังสือ “๑๐๘ ข้อธรรม ขีณาลโย” เป็นการรวบรวมข้อธรรม ในหลายแง่
หลายมุมของการปฏิบตั เิ พื่อความพน้ ทกุ ข์
เป็นธรรมอันบริสุทธิ์ ที่ออกมาจากน�้ำพระทัยอันบริสุทธิ์ ของพระพุทธเจ้า
ทุก ๆ พระองค์ ถ่ายทอดค�ำสอนโดย หลวงตาณรงค์ศักด์ิ ขีณาลโย มายัง
สรรพสตั วท์ งั้ หลาย
ในโอกาสมุทิตาจิต มิ่งมงคลอายุวัฒนะ ๖๘ ปี ขององค์หลวงตา เหล่าศิษย์
จึงกราบขอโอกาสน้อมถวายหนังสือ “๑๐๘ ข้อธรรม ขีณาลโย” น้ี เพ่ือเป็น
พุทธบชู า ธมั มบูชา สงั ฆบูชา และอาจาริยบูชา

ดว้ ยพุทธานุภาเวนะ
ดว้ ยธรรมานุภาเวนะ
ด้วยสังฆานภุ าเวนะ
ขอกราบอาราธนาธาตุขันธอ์ งค์พอ่ แมค่ รูอาจารย์ หลวงตาณรงคศ์ ักดิ์ ขีณาลโย
ให้มีความแข็งแรง สดใส สดช่ืน เบิกบาน เดินเหินสะดวก กระปรี้กระเปร่า
ตลอดไป ตราบนานเท่านาน เพ่ือด�ำรงสืบทอดพระพุทธศาสนาให้ย่ังยืนสืบไป
ด้วยเทอญ

น้อมกราบเทา้ องค์หลวงตาด้วยเศยี รเกล้า
คณะผจู้ ัดทำ�



ค�ำขอขมา

นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสมั พทุ ธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสมั พทุ ธสั สะ
นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพทุ ธสั สะ

ด้วยกายก็ดี
ด้วยวาจากด็ ี
ดว้ ยใจกด็ ี
กรรมน่าติเตียนอันใด ที่คณะผู้จัดท�ำหนังสือ “๑๐๘ ข้อธรรม ขีณาลโย”
ได้ประมาทพล้งั เผลอกระทำ� แลว้ ในพระพุทธเจา้ ในพระธรรม ในพระอริยสงฆ์
ท่ีระลกึ ไดก้ ็ดี ระลึกไม่ไดก้ ็ดี ทีม่ ีเจตนาก็ดี ไมม่ ีเจตนากด็ ี
คณะผ้จู ัดท�ำฯ น้อมกราบขอขมา ตอ่ พระพทุ ธเจ้า พระธรรม และพระอริยสงฆ์
ดว้ ยเศยี รเกลา้ และกราบขอโปรดเมตตางดโทษลว่ งเกนิ นนั้ เพอ่ื การสำ� รวมระวงั
ในกาลตอ่ ไปดว้ ยเทอญ



หลวงตาณรงคศ์ กั ดิ์ ขีณาลโย

“จากข้าราชการตลุ าการระดับสงู สรู่ ม่ กาสาวพัสตรส์ ายวัดป่า”
หลวงตาถือก�ำเนิด ในวนั จันทรท์ ่ี ๑๘ สงิ หาคม ปีพทุ ธศักราช ๒๔๙๕ ท่จี ังหวัด
นครสวรรค์
ในเพศฆราวาส ท่านเจริญเติบโตในสายงานของนกั กฎหมาย
จบนิตศิ าสตรบ์ ัณฑติ
จบเนตบิ ณั ฑติ ไทย
สอบผพู้ ิพากษาได้ในครงั้ แรก
และเจรญิ ก้าวหนา้ อย่างมากในสายงานตลุ าการ ไดด้ ำ� รงตำ� แหนง่ ส�ำคญั อาทิ
- ผูพ้ พิ ากษาหวั หน้าคณะในศาลแพ่ง
- รองอธบิ ดีผพู้ ิพากษาศาลแพง่
- ผ้พู ิพากษาหวั หนา้ คณะศาลอทุ ธรณภ์ าค ๑
- ผู้ก่อต้งั ชมรมผปู้ ฏิบตั ิธรรม สำ� นกั งานศาลยุตธิ รรม
หลวงตาเป็นอาจารย์สอนธรรมะ ขณะที่ยังเป็นฆราวาส ต้ังแต่ ปีพุทธศักราช
๒๕๔๐ ไดป้ ฏบิ ตั ธิ รรม อบรมสนทนาธรรม และไดร้ บั ความเมตตาชแี้ นะ แนวการ
ปฏิบัติภาวนาจากพระอรยิ สงฆพ์ อ่ แมค่ รูอาจารยห์ ลายตอ่ หลายองค์ เรยี งตาม
ลำ� ดับพอสังเขปดงั นี้
ปีพุทธศักราช ๒๕๑๙ ได้บวชพระภาคฤดูร้อนกับหลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ
ขณะยังเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัย ระหว่างนั้น ได้มีโอกาสฟังธรรมปฏิบัติ

กับหลวงปู่ขาว อนาลโย พระอริยสงฆ์องค์แรก ท่ีวัดถ้�ำกลองเพล จังหวัด
หนองบวั ลำ� ภู จติ ใจเกดิ ความสงบ สวา่ งไสว เยอื กเยน็ ซง่ึ เปน็ บาทฐานใหม้ คี วาม
สนใจประพฤติปฏิบตั ิธรรมเพอ่ื ความพน้ ทกุ ข์ ตงั้ แต่นน้ั เปน็ ต้นมา
ช่วงระหว่างปีพุทธศักราช ๒๕๓๑ ถึง ๒๕๓๔ ปฏิบัติธรรมกับหลวงปู่จันทา
ถาวโร และหลวงป่อู ำ่� ธมั มกาโม วดั ปา่ เขาน้อย จังหวดั พจิ ิตร
ประมาณปีพุทธศักราช ๒๕๓๕ ท่านได้ย้ายเข้ามารับต�ำแหน่งหัวหน้าศาล
ท่ีสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร และได้มีโอกาสศึกษาธรรม แนวทางปฏิบัติ
ภาวนากบั ลกู ศิษย์หลวงปู่ม่ัน หลายองค์ ได้แก่
- หลวงปเู่ หรยี ญ วรลาโภ
- หลวงปูเ่ ทสก์ เทสรังสี
- หลวงปู่อ่อนสา สขุ กาโร
- หลวงตามหาบวั ญาณสมั ปันโน
- หลวงปู่หลา้ เขมปตั โต
- หลวงปลู่ ี ฐติ ธมั โม
- หลวงปู่สมยั ทีฆายโุ ก
หลวงปสู่ มยั ไดช้ มวา่ ทา่ นเปน็ ผตู้ งั้ ใจปฏบิ ตั จิ รงิ ไดช้ กั ชวนนำ� พาคณะขา้ ราชการ
ศึกษาธรรม ปฏิบัติภาวนา เดนิ จงกรม นง่ั สมาธิ ตลอดจนถึงเช้าอยเู่ สมอ
เมอ่ื ยา้ ยมาปฏบิ ตั หิ นา้ ทรี่ าชการทจ่ี งั หวดั สระบรุ ีทา่ นไดก้ อ่ ตง้ั ชมรมปฏบิ ตั ธิ รรมที่
ศาลจงั หวดั สระบรุ ี มผี ใู้ หค้ วามสนใจเปน็ อนั มาก โดยทา่ นเปน็ ผสู้ อนการทำ� สมาธิ
ในแบบสมถกรรมฐาน จนผปู้ ฏบิ ตั เิ กิดความสงบร่มเย็น

ตอ่ มา ไดย้ า้ ยเขา้ มารบั ตำ� แหนง่ ในกรงุ เทพฯ จงึ ไดก้ อ่ ตงั้ ชมรมปฏบิ ตั ธิ รรมอกี ครง้ั
ลูกศิษย์เห็นประโยชน์จากค�ำสอนและแนวทางการปฏิบัติ จึงร่วมกันเผยแผ่
หนงั สือ และซดี ีธรรมะ อยา่ งจรงิ จงั
ปพี ทุ ธศกั ราช ๒๕๔๘ ทา่ นไดม้ าฝากตวั เปน็ ศษิ ย์ และพาคณะลกู ศษิ ยเ์ ขา้ ศกึ ษา
ธรรมกับหลวงปทู่ า จารุธมั โม วัดถำ�้ ซับมดื อำ� เภอปากช่อง จังหวัดนครราชสมี า
เมื่ออายุย่างเข้าปีที่ ๕๙ ท่านเห็นสมควรแก่เวลา ปัจจัยทุกอย่างลงตัวพร้อม
จึงตัดสินใจ ลาออกจากต�ำแหน่งข้าราชการตุลาการระดับสูง ออกบรรพชา
อุปสมบทสู่ร่มกาสาวพัสตร์ที่วัดโกเมศรัตนาราม (ธรรมยุต) จังหวัดปทุมธานี
โดยมีทา่ นเจา้ คุณเมธาจารย์ เป็นพระอุปชั ฌาย์
จากนัน้ เดินทางจารกิ มากราบขอโอกาสถวายตวั เปน็ ศิษย์ หลวงปู่อวา้ น เขมโก
วดั ปา่ นาคนมิ ติ ต์ ตำ� บลตองโขบ อำ� เภอโคกศรสี พุ รรณ จงั หวดั สกลนคร ไดศ้ กึ ษา
ธรรม จำ� พรรษาทว่ี ดั ป่านาคนมิ ิตต์ รวม ๔ พรรษา
ตอ่ มาไดเ้ ดนิ ทางไปจงั หวดั นครสวรรค์ เพอ่ื โปรดเมตตาญาตพิ นี่ อ้ ง และไดก้ ราบ
ถวายตัวศึกษาธรรม เป็นศษิ ย์ใกล้ชิดของหลวงป่ลู ี ตาณงั กโร รวม ๒ พรรษา
ปัจจุบัน ได้มาเผยแผ่ธรรมะ ณ พุทธธรรมสถานปัญจคีรี เขาใหญ่ จังหวัด
นครราชสมี า
เผยแผ่ธรรมะผ่านสื่อหนังสือหลายเล่ม, CD, YouTube, Facebook, Line,
Instagram, Podcast, Website

Luangta Narongsak Kheenalayo

From a high ranking judicial officer to a monk, Luangta
Narongsak was born in Nakhon Sawan Province on
Monday, August 18th, 1952.

Luangta became a lawyer, barrister and later a judge where
he passed the judiciary examination on his first attempt
and later succeeded in earning several titles and achieve-
ments throughout his career, notably including,

• Presiding Judge of the Civil Court
• Deputy Chief Justice of the Civil Court
• Presiding Judge of the Court of Appeal, Region 1
• Founder of Dhamma Practice Club of Court of Justice.
• Dhamma instructor since 1997 as a layman

Luangta also practiced Dhamma with many noble monks as
follows:

In 1976, Luangta Narongsak entered monkhood for a short
term under the guidance of Bhikkhupanyananda. During that
time, he met Luangpu Khao Anallayo at Wat Tam Klong Pel,
Nong Bua Lam Phu Province, who guided him in attaining
inner peace. The calmness which he had never experienced
before under the guidance of Luangpu Khao Anallayo led to
Luangta’s interest and eagerness to become committed to
practicing dhamma and attain nirvana since then.

From 1988 to 1991, Luangta practiced dhamma under the
guidance of Luangpu Janta Thavaro and Luangpu Am Dham-
makamo at Wat Pa Khao Noi, Pichit Province.

In 1992, he started to work at Sawang Daen Din Court, Sakon
Nakhon Province, which provided an opportunity for him to
meet and receive guidance from several noble monks:

• Luangpu Rian Vorarabho
• Luangpu Desaka
• Luangpu Ornsa Sukkaro
• Luangta Mahã Boowa Ñãnasampanno
• Luangpu Lah Khemmaputto
• Luangpu Lee Thitadhammo
• Luangpu Samai Teekayuko

Luangta was praised by Luangpu Samai for having an
unyielding dedication in practicing dhamma as he always
invited his disciples to practice dhamma or meditate together
all night long.

Afterward, he moved to Saraburi Province, where he founded
the Dhamma Club for the Court at Saraburi, which later caught
the attention of the judicial officers.

Later he moved to Bangkok, and once again, he founded
the Dhamma Practice Club of the Court of Justice. Many
dhamma-related media were released during this period,
such as books and CDs.

In 2005, Luangta and his followers met and practiced dhamma
under the guidance of Luangpu Tha Jarudhammo at Wat Tham
Sap Muet, Pak Chong District, Nakhon Ratchasima Province.

At the age of 59, Luangta decided to retire and went into
monkhood at Wat Komet Rattanaram, Pathum Thani Province
where Chao Khun Medhajarn was his preceptor at that time.

After ordination, Luangta moved to Wat Pa Nak Nimit, Sakon
Nakhon Province to practice dhamma under the guidance of
Luangpu Awan Khemmako for 4 years.

Later on, Luangta went back to Nakhon Sawan Province,
where he received guidance from Luangpu Lee Tanangaro
for another 2 years.

Luangta Narongsak currently resides at Buddha Dhamma
Satharn Panjakiri, Khao Yai, Nakhon Ratchasima Province,
where he continues to teach dhamma.

Dhamma from Luangta Narongsak can be found in dhamma
books, CDs, youtube, facebook, line official account, podcast,
or internet.



บทอธิษฐาน

พทุ ธงั สะระณงั คจั ฉามิ
ธมั มัง สะระณัง คัจฉามิ
สังฆงั สะระณัง คจั ฉามิ
ทุติยัมปิ พทุ ธัง สะระณงั คจั ฉามิ
ทตุ ยิ มั ปิ ธัมมงั สะระณงั คจั ฉามิ
ทตุ ยิ มั ปิ สงั ฆงั สะระณงั คจั ฉามิ
ตะตยิ มั ปิ พุทธัง สะระณงั คัจฉามิ
ตะตยิ มั ปิ ธมั มงั สะระณงั คัจฉามิ
ตะตยิ มั ปิ สงั ฆัง สะระณัง คจั ฉามิ
พุทธะบารมี ธรรมะบารมี สังฆะบารมี
รวมกบั บุญบารมีที่ขา้ พเจา้ ได้กระทำ� มาแล้วทง้ั หมด
ข้าพเจ้าขอตงั้ สจั จะอธษิ ฐาน ขอถอนมจิ ฉาทฏิ ฐิ อวชิ ชา
ทิง้ เสยี ท้งั หมดโดยถาวรสนิ้ เชิงตงั้ แตบ่ ัดน้ีเปน็ ต้นไป
ขอน้อมน�ำพระสทั ธรรมอันออกจากใจอันบริสทุ ธขิ์ องพระพทุ ธเจา้
น�ำมาพิจารณาตามจนมีความรแู้ จ้ง (วิชชา) เกิดข้ึนทใ่ี จ
และขอเป็นผตู้ รสั รูต้ ามพระสมณโคดมพระพทุ ธเจา้ ในปัจจบุ ันน้ดี ว้ ยเทอญ

Prayer

Buddham Saranam Gacchami
Dhammam Saranam Gacchami
Sangham Saranam Gacchami

Dutiyampi Buddham Saranam Gacchami
Dutiyampi Dhammam Saranam Gacchami
Dutiyampi Sangham Saranam Gacchami

Tatiyampi Buddham Saranam Gacchami
Tatiyampi Dhammam Saranam Gacchami
Tatiyampi Sangham Saranam Gacchami

Bhuddha Paramitas, Dhamma Paramitas,
and Sangha Paramitas,

Altogether with my merit,
To make a pledge, for any mistaken notions
and ignorance (Avidya) to be resolved from now on.

For the dhamma of the pure Buddha to be pour into this heart
and lighten up the path to enlightenment
as one of Gautama Buddha disciples.

อารมั ภบทธรรม

กลางเดอื นตุลาคม ปพี ุทธศกั ราช ๒๕๖๐
ยา่ งเข้าชว่ งปลายฝน ต้นหนาว
เชา้ น้ัน..
องค์หลวงตา ตื่นแต่เชา้ ตรดู่ ัง่ เช่นทุกวนั แต่ค�ำ่ คนื ทผ่ี า่ นมา ดูเหมอื นองคท์ า่ นจะได้พกั อยา่ งเตม็ ท่ี
“วาง” การตรากตรำ� งานสอนธรรม ที่ทมุ่ เทกำ� ลงั อย่างเตม็ ท่ี เพอ่ื เมตตาอบรมขัดเกลาเหลา่ ศิษยใ์ ห้
ได้ดีในธรรม .. มาอยา่ งยาวนาน จนธาตขุ นั ธ์ทา่ นอดิ โรย ออ่ นกำ� ลังลงอยา่ งเหน็ ไดช้ ัด
ระหวา่ งการเดินทาง เมอ่ื ค่�ำคนื ที่ผ่านมา .. หลวงตา ได้มองขนึ้ ไปบนท้องฟ้า ผ่านกระจกดา้ นหนา้
บานใหญข่ องรถ แลว้ ปรารภข้ึนมาเบา ๆ ว่า . .
“หลายปีมาน้ี เราไม่ไดเ้ หน็ ดวงดาวบนทอ้ งฟ้าแบบน้ีเลย . . เราเหน็ แตห่ นา้ ของลกู ศิษย์ ทเ่ี ราทมุ่ เท
สอนให้เขาพน้ ทกุ ข”์
เชา้ วนั นนั้ องคท์ า่ นดสู ดใส สดชนื่ สงบงามทา่ มกลางธรรมชาติ เวง้ิ นำ้� ภเู ขา ปา่ ไม้ และไอหมอกบาง ๆ
ศษิ ยผ์ อู้ ปุ ัฏฐาก เฝา้ ดอู ยู่หา่ ง ๆ เพอื่ ใหพ้ อ่ แมค่ รูอาจารยไ์ ด้พักผ่อนอิรยิ าบถ ใกล้ชิดธรรมชาติอย่าง
เตม็ ท่ี ให้ทา่ นสัมผสั เตมิ เตม็ พลังธรรมชาตสิ ักพักใหญ่ ไมเ่ ข้าไปขัดจังหวะและรบกวนห้วงเวลาท่ี
ดตี ่อธาตขุ ันธ์องค์ทา่ น
สกั ครใู่ หญ่ ๆ หลวงตาหนั หนา้ มา แลว้ เรยี กใหเ้ ขา้ ไปหา พรอ้ มเทศนส์ อน “ธรรม.. ทา่ มกลางธรรมชาต”ิ
ผอู้ ปุ ฏั ฐากจงึ จดบนั ทกึ ธรรมอนั บรสิ ทุ ธท์ิ มี่ คี ณุ คา่ ยงิ่ นไ้ี ว้ ทำ� เปน็ ภาพธรรมขน้ึ มา ใหอ้ งคท์ า่ นไดส้ อน
ธรรมผ่านภาพ ให้คนอ่านได้พิจารณาข้อธรรม ท่านจะได้ไม่ต้องคอยอ่านถามตอบ จะได้ไม่ต้อง
เหนอื่ ยจนเกินไป
จึงเปน็ จดุ เร่มิ ต้น ในการนำ� ธรรมะค�ำสอนขององคห์ ลวงตาณรงคศ์ กั ด์ิ ขีณาลโย มาเผยแผ่ ทำ� เป็น
ภาพธรรมนับแตน่ ้นั มา

Prelude

Mid October 2017, the monsoon season is coming to a closure, marking
the beginning of winter

This morning, Luangta has awoken since first light. These past few days,
it seems he was well rested.

�Abandonment� in teaching lord buddha's dhamma, Luangta had graced
his disciples with his utmost dedication, mercy, and sacrifice, but alas,
such charitable commitment is not without its toll, for it had greatly worn
down Luangta’s constitution.

In his journey on past fateful nights, Luangta had gazed upon the sky, and
witnessed through a car windowpane. He muttered.

�These past years, I never saw the stars shining so brightly... I have only
seen my disciple's faces, whom I've dedicated to teach to reach nirvana.�

That morning, Luangta appeared to be calm, serene, sublime amidst the
leaves, creaks, woods, and mists.

His disciples watched him from afar, to ease his rest, and to let him absorb
the spirit of nature. They did not disturb his recuperative meditation.

After a long while, Luangta beckoned us in.

He taught us �Dhamma... In Nature.�

Thus, this picture book is a recount of that priceless teaching. Illustrated
for your ease of understanding, so Luangta Narongsak need not wear
himself down.

This, is the story of this picture book.



๑๐๘

ข้อธรรม ขณี าลโย

108 DHAMMA KHEENALAYO



ชีวติ น.้ี .สำ� คัญนกั
อย่าปล่อยให้พระพทุ ธเจ้า..ผา่ นไป
อยา่ ปล่อยให้พระธรรมค�ำสอน..ผา่ นไป
อยา่ ปลอ่ ยใหพ้ ระอริยสงฆพ์ ่อแมค่ รอู าจารย.์ .ผ่านไป

จงน้อมธรรมแท้..เขา้ สใู่ จ
จงใชส้ ติ ปัญญา บญุ บารมี
ทุม่ เทหมดหนา้ ตกั ...เพอ่ื ชาตสิ ดุ ท้าย

This present life is the only opportunity
Do not let the Buddha, the Dhamma, or the Noble Monks

simply pass by.
Cherish the heart of dhamma
Dedicate this entire life to dhamma
with mindfulness (Sati), wisdom (Phanya), and merit (Boon).

001

๐๐๑

ทางโลก “ มี ” . . . . ไมม่ ที ่สี ิ้นสดุ
ทางธรรมสิ้นสดุ ท่ี ความ . . . “ ไม่มี ”

The world knows no ends,
but dhamma knows that ends are nothing.

002

๐๐๒

ธรรมะ
ไม่ใช่ การสวดมนต์ไหว้พระ หรอื น่ังสมาธิ เดนิ จงกรม
แต่ ธรรมะ คือ การยอมรับความจริงตามความเป็นจรงิ

. . . ว่าไมม่ สี ่ิงใดทเี่ ที่ยง
และไม่มสี ิ่งใดท่ี ยึดมั่นถือมั่นได้

Dhamma is not praying nor meditating.
It is accepting the truth,
That nothing is everlasting

And nothing can be held upon.

003

๐๐๓



“ ธรรม ” ไมไ่ ดอ้ ยูไ่ กล
ไม่ไดอ้ ยู่ที่หลวงตา

ไมไ่ ดอ้ ยทู่ ี่พ่อแม่ครูอาจารย์
อยทู่ ี่ “ ใจ ” ของเราทุกคนนน่ั แหละ

เรียนท่ีใจ พบทใ่ี จ
พบใจ ... พบธรรม
ถึงใจ ... ถึงพระนิพพาน

Dhamma is not far from reach, it is not with Luangta,
nor is it with any master.

But Dhamma is within our Hearts.
Find and Learn it from the Heart.
Discover what Heart is, discover the Dhamma,
Understand what Heart is, understand the Nirvana.

004

๐๐๔

การปฏบิ ัตธิ รรม
มไิ ด้ปฏบิ ัติ

เพอ่ื ให้ | ตัวเรา | พน้ ทกุ ข์
แตป่ ฏิบตั ิ เพอื่ ให้รวู้ ่า
ตวั เรา ... | ไม่มี |
จงึ สิ้นหลง สน้ิ ยึด

Practicing dhamma is not about liberating oneself from suffering.
It is about learning the truth that oneself does not exist,
Thus, there is nothing to hold on to.

005

๐๐๕

เพราะมี เรา จะไปหา ความสนิ้ หลงอย่างถาวร
จงึ “ หลง ” ไปอยา่ งถาวร

Because we seek the path to achieve nirvana
is why one will never ever achieve nirvana.

006

๐๐๖

ชวี ติ กแ็ คล่ ะครฉากหนง่ึ
ทตี่ ้องเล่นจนจบ

แต่ ไม่ยึด ตัวละครว่า
เปน็ ตวั เรา

Life is just a scene from a drama
that one needs to play their role from the beginning to the end
but one must not attach themselves to the roles that were given.

007

๐๐๗



เกิด ก็ เพอื่ ตาย
พบ ก็ เพอ่ื จาก
ได้มา เพื่อ พลดั พราก
แลว้ เจา้ ยงั จะยดึ มนั่ ถอื ม่นั สง่ิ ใดไดอ้ กี

we were born to die
we meet to part
we gain to lose

so, what is there to still hold on to?

008

๐๐๘

ร้ อ ย รั ด ผู ก มั ด
ย่ิ ง ยึ ด ยิ่ ง ทุ ก ข์

The more one is attached, the more suffering there lies.

009

๐๐๙



ทุกสรรพส่ิง
ล้วน

เกดิ ขึน้ ใน เบือ้ งต้น
แปรปรวน ใน ทา่ มกลาง

ดบั สลาย ใน ท่สี ุด

Everything
was brought into an existence at the beginning,

changes as time goes by
and eventually, reaches its end.

010

๐๑๐



มาจากดนิ ..กลับคนื สดู่ นิ
มาจากน�้ำ..กลบั คืนสู่นำ�้

ยมื ธรรมชาตมิ าใช้
ถงึ เวลา..ก็ต้องคนื ธรรมชาติไป

“ ป ล่ อ ย ว า ง ”

Come from the earth, return to the earth
Come from water, return to water.
Those once borrowed from nature,
When the time comes,

Will be returned to where they once belonged.
let it go

011

๐๑๑



นอ้ มพจิ ารณาลงท่ีภายในกายเรา
. . เมื่อเห็น อ นิ จ จั ง ชดั . .
อ นั ต ต า ย่อมแจม่ แจ้งเอง

สิน้ หลง . . สนิ้ ยดึ . . สิ้นสมมติ . . พ้นทุกข์

Look into the truth of this body,
Once the impermanence (Anidya) is recognized,

Then non-self (Anatta) is discovered.
With the end of delusions, attachments and conditions,

Free from all suffering.

012

๐๑๒

“ สติ ” เปน็ เขอื่ นก้ัน
ไม่ให้ฟงุ้ ซา่ นไปในกิเลส

“ ใจ ” จงึ สงบ
เกิด “ ปญั ญา ” เหน็ ว่าทกุ ๆ ส่ิง . . มนั เป็นสงั ขาร

ไม่เทีย่ ง เปน็ ทกุ ข์ เปน็ อนัตตา
ตวั ตนของเรา . . “ ไม่มี ”

Mindfulness is like a dam preventing oneself from
the distraction of defilements (Kilesa).
Mind will then be at peace,
allowing wisdom to manifest

and realize that everything is a conditioned thing.
It is Impermanent (Anitya),

Subject to suffering (Dukkha),
and Not-self (Anatta)

One’s self does not truly exist.

013

๐๑๓



อวชิ ชา คือ ความไม่รู้
ไมร่ ้ตู น้ ไม่รกู้ ลาง ไมร่ ู้ปลาย
ไม่ร้วู ่าปัจจุบนั เราเป็นใคร มาจากไหน แลว้ จะไปไหน
หลงยึดถอื ว่า . . มตี ัวเรา เปน็ ตวั เป็นตนในความรสู้ ึก
เมอ่ื พจิ ารณาจนสน้ิ ความหลงวา่ มเี รา ตวั เรา ของเรา

ก็ ส้นิ อวิชชา

Ignorance is Unawareness.
Unaware of the beginning, in between, and the end
Unaware of the one's identity, origin, and destination

Deceived into believing that oneself truly exists.
By understanding that one came from nothingness

and let go of the premise belief,
One can be liberated from Ignorance (Avidya).

014

๐๑๔



จติ .... ใจ

จติ หมายถงึ อาการหรือเงาของใจ

จติ ... เคล่อื นไหว ใจ ... ไมเ่ คล่อื นไหว
จิต ... ปรุงแตง่ ใจ ... ไมอ่ าจปรงุ แตง่
จิต คอื สงั ขาร ใจ คอื วิสังขาร
จิต คอื ความมี ใจ คือ ความไม่มี
จติ เหมือนดั่งนก ใจ เปรียบด่งั ฟา้
จิต เหมือนดง่ั ปลา ใจ เปรยี บดั่งนำ�้

ทั้งสองสง่ิ มีอยูอ่ ย่างปกตธิ รรมชาติ และอิสระตอ่ กนั
นกไม่สามารถไปเปน็ ฟ้า

ปลาไมส่ ามารถกลายเป็นน้�ำ
แต่อย่ดู ้วยกัน .. เกอื้ กูลกัน

๐๑๕

The Thought and the Mind
The Thought is the shadow or expression of the Mind.

The Thought has movement,
but the Mind is motionless
The Thought can be designed,

but the Mind cannot
The Thought is Sankhara (has existence),

but the Mind is Visankhara (Non-self).
The Thought exist,
but Mind is null.

The Thought is like a bird,
while Mind is like the sky.
The Thought is like a fish,
while the Mind is like a river.
Both naturally exist and are free from one another.
A bird cannot become the sky, nor can a fish become a river.
They coexist and are dependent of each other.

015

นก กับ ฟ้า

นกบนิ ไปในท้องฟา้
คือ ความเคล่ือนไหวท่มี ีในความไมเ่ คล่อื นไหว
นก .. ไมอ่ าจท้ิงรอ่ งรอยไวใ้ นท้องฟ้าฉันใด
“ สงั ขาร ” ความเคลื่อนไหว
กย็ อ่ มไมท่ งิ้ ร่องรอยไว้ในใจ
หรอื “ วิสังขาร ” ฉันน้นั
ทัง้ “ สังขาร ” และ “ วสิ ังขาร ” เป็นของคู่กัน
อยู่ด้วยกนั แต่ไม่ยึดถอื กนั
เก้ือกูลกัน แตไ่ ม่เกาะเก่ียวกนั
สันติ นริ ันดร์ .. ธรรมชาตเิ ปน็ เช่นนน้ั เอง

๐๑๖

“The Bird
and the Sky”
As birds soar in the sky,
they are the unrest within
the stillness.
They leave no trace behind in the sky;
Like birds, “Sankhara” or movements,
do not leave scars on the Heart, the “Visankhara”
Sankhara and Visankhara are counterparts
that will not interfere each other
nor are they attached to one another.
They live independently and harmoniously.
That is how Nature works.

016

“ สั ง ข า ร ” และ “ วิ สั ง ข า ร ”
เปน็ ธรรมชาติท่ี ไม่เคยมเี รา

Formation (Sankhara) and Null (Visankhara) are the nature,
They never belong to anyone.

017

๐๑๗

เอา สังขาร ไปเปน็ วิสงั ขาร
มนั มีแต่ " สังขาร " กบั " สงั ขาร "

To attempt to shape something (Sankhara)
into nothing (Visankhara)

is to leave behind nothing but a void, another thing.

018

๐๑๘

มเี พยี ง ปัจจุบนั ขณะ
เราไม่มหี นา้ ท่ีอะไรใด ๆ กับผล

มเี พียงหน้าที่
ในการทำ� เหตุปจั จัยให้ด.ี ..เท่าน้นั

Only at the present,
The outcome is out of our control
Thus, our role is merely to keep on moving in the right direction.
That is to be committed to the cause of the outcome.

019

๐๑๙


Click to View FlipBook Version