ใชช้ วี ิตอย่างสมมติ
แต่ใจเปน็ วิ มุ ต ติ
Live the life perfectly,
But the mind attached to nothing
096
๐๙๖
ไมม่ ีตวั เรา ไป นพิ พาน
เพราะ นพิ พาน คือ สิน้ ตัวเรา
One's self will never attain nirvana,
Because nirvana is the lack of self.
097
๐๙๗
ไม่มีเรา…เท่าน้นั
จบ
The end lies where we do not truly exist
098
๐๙๘
ไม่มี “ ตัว ” ไปรับ
เหน็ จีวรท่ีตากอย่ตู รงนั้นไหม ?
ประเด๋ียวกส็ งบ ประเดยี๋ วกป็ ลวิ
เขากระเพ่อื ม ตามแรงลม
พิจารณาให้ดี
ถา้ ไมม่ ี จวี ร
ลม แมพ้ ดั แรงเท่าใด
จะมสี ่งิ ใดปลิว
Hold onto none
�Do you see that Buddhist robe hanging over there?
Sometimes it sways, sometimes it remains still.
It moves with the push and pull of the fickle wind.
Now consider this,
No matter how strong the wind is,
Without a robe, nothing can be blown away.�
099
๐๙๙
สิ้นโลก เหลอื ธรรม (ใจวา่ ง)
สิน้ ยดึ ท้งั โลกท้งั ธรรม...“ นิพพาน ”
When it is the end of worldliness, what is left is dhamma.
When it is the end of attachment of both worldliness and dhamma,
there is nirvana
100
๑๐๐
ในนั้น
ไมม่ โี ลก ไม่มธี รรม
ไมม่ สี มมติ ไมม่ ีวิมตุ ติ
ไม่มีอะไรเลยที่ยึดได้
เปล่าเปลา่
... บรสิ ุทธิ์ ...
There,
Has no world or dhamma,
Has no condition or liberation.
There is nothing to be held on to.
Just purely, nothing
101
๑๐๑
ทสี่ ุด..ของการปฏบิ ตั ธิ รรม
ไม่มีผถู้ ึงอะไร
ไมม่ ผี ้ไู ดอ้ ะไร
ไมม่ ผี ู้เปน็ อะไร
ไม่มที ่หี มาย ไม่มีอดีต ไม่มอี นาคต
ไม่มีผหู้ ยุดอยูใ่ นปัจจบุ นั
The essence of practicing dhamma is that,
No one will succeed nor fail,
None will attain nor fail to attain,
None will become anything.
There is no goal or destination.
There is no past or future.
No one will remain in the present.
102
๑๐๒
ความเกดิ ดับ เกิดดบั ในความไม่เกดิ ดับ
ปลอ่ ยวาง..ทงั้ ความ “ เกดิ ดบั ” และความ “ ไมเ่ กิดดับ ”
พ้นทุกข์
Birth and Death of things concurrently exist within Deathlessness.
Let go of the existent and the nonexistent,
free from suffering.
103
๑๐๓
จิ ต เปน็ ก ล า ง
วาง ใ จ เปน็ ๑
“ เ อ ก ะ ธั ม โ ม ”
All Thoughts and Feeling exist but do not affect the mind.
When one lets go of the mind, everything will become one with nature.
E-KA-THAM-MO, The one and only Dhamma
104
๑๐๔
ห ยุ ด ทํ า
ครงั้ หน่ึง ..
หลวงตา ได้มโี อกาสจารกิ ไปกราบเย่ียมพระเถระรูปหนง่ึ บนเขาสูง
พระเถระ เมตตาต้อนรบั ดว้ ยความอบอนุ่
พรอ้ มท้ังสนทนาธรรมอยา่ งเปน็ กนั เอง
มีช่วงหนงึ่ พระเถระได้ปรารภขน้ึ วา่ ..
“ เราเพียร ทำ� ทกุ ๆ สงิ่ ทกุ ๆ อยา่ งมาหมดแล้ว ”
“ แตไ่ มเ่ ห็นแมเ้ งาพระนิพพาน ”
หลวงตานิ่งสำ� รวมสกั ครู่ แลว้ กล่าวขึ้นวา่
“ กราบขอโอกาสครับ ”
“ ยังมี สิ่งสิง่ หน่งึ ”
“ ทีห่ ลวงปู่ ยังมไิ ดท้ �ำ ”
“ ส่ิงน้นั . . . คอื ”
“ ห ยุ ด ทํ า ”
ความเงียบ สงบ สงดั เข้าแทนท่ีการสนทนา
สักครอู่ ดึ ใจ ความปตี ิที่ทว่ มทน้
ระคนกบั เสยี งหวั เราะทด่ี ังกึกก้องกังวาน
ขององคพ์ ระเถระ ดงั ทัว่ หุบเขาอย่างไม่เคยมีมาก่อน
เน่อื งเพราะสิ่งท่ตี ดิ ค้างอยใู่ นใจมานาน
ได้มลายทลายออกจนหมดสิน้ ...
๑๐๕
Stop Doing
Luangta went to visit a senior monk who lived
on the top of a mountain.
The monk kindly welcomed Luangta.
They discussed about dhamma. At the time, the monk
asked, “I had done everything I could do, but why I cannot
see even a glimpse of nirvana?”
Luangta was silent for a moment, then,
answered, “With all due respect, allow me to
tell you that, there is one thing that you still
have not done, and that is.... to stop doing.�
Silence overtook the conversation. In the blink
of an eye, the entire area of the mountain was
enchanted with the blissfulness and laughter
of the senior monk.
This was because the thing which has been
troubling the senior monk's mind for many
years was finally realized.
105
รู้ แ ท้ .. ไมป่ รากฏร่องรอย
ในวนั หนงึ่ . . .
หลวงตา พิจารณาโดยแยบคาย เหน็ ว่า เป็นโอกาสอนั เหมาะสม
ทจ่ี ะกราบเรยี น ถวายแก้ขอ้ ตดิ ขดั แห่งการปฏบิ ัตอิ นั ละเอียดลกึ ซ้ึง
แด่พระสปุ ฏปิ นั โนพรรษาสูงรปู หนงึ่ ทม่ี ีความสนทิ คนุ้ เคย
เมื่อพบกัน
หลวงตาได้ใหศ้ ษิ ย์ ท้งั พระท้ังโยม ออกไปจากห้อง เพอ่ื สนทนาธรรมโดยลำ� พงั
“ หลวงพ่ออยกู่ บั รทู้ ไ่ี ม่คิดตลอดเวลา ”
“ กราบขอโอกาสครบั หลวงพอ่ ”
“ หลวงพอ่ ยดึ รู้ ”
“ แมเ้ ปน็ รู้ .. ทไ่ี มค่ ิด ”
“ แต่ !!! ก็ยงั เปน็ รู้ ทีย่ งั คงตดิ อยู่ ให้ปรากฏรอ่ งรอย ”
“ ค�ำพ่อแม่ครูอาจารย์องคห์ ลวงปู่หลา้ เขมปัตโต เพนิ่ ว่า ”
“ นพิ พานไมใ่ ช่ผรู้ ู้ แต่เหนอื ผรู้ ไู้ ปจนไม่มที ห่ี มาย ”
“ และค�ำขององคห์ ลวงป่ดู ลู ย์ อตโุ ล วา่ .. ”
“ พบผรู้ ู้ ให้ฆา่ ผรู้ ู้ ”
๑๐๖
เม่ือได้ฟงั ดงั น้ี . . .
. . ฉบั พลัน! เกดิ ธ ร ร ม กระแทกใจ
โลกธาตุสะเทอื นสนั่นภายใน
อย่างทไ่ี ม่เคยมาก่อน . .
เ ข้ า ใ จ . . ถึง “ ใ จ ”
สงบ สงัด น่ิง . . หมดค�ำพูด ใด ๆ
ดาบแห่งธรรม คมกรบิ ..
เพียงดาบเดยี ว .. บห่ ลาย
. . เพยี งพอ ส�ำหรับผู้มีธรรม
ทเ่ี ปย่ี มดว้ ยปัญญา และ ปราศจากมานะทิฏฐิ
๑๐๖
The Pure Mind (Buddha)
has no remains
One day, Luangta felt that it was time for the senior noble
monk, who Luangta is familiar with, to receive the practical
guidance.
The two met with each other in a certain room, wishing to
discuss in secrecy.
The senior monk stated “I am living every moment with the
pure mind that is no longer containing any thoughts.”
Luangta stated, �With all due respect, you are being attached
to pure mind. Although your pure mind seems not to be
thinking anymore; however, the mind still traceable.”
As Luangpu Lah Khemmaputto taught, �Nirvana is not the
mind, but it infinitely goes beyond the pure mind itself.�
106
Luang Pu Dune Atulo also taught, “Find the pure mind, then
destroy it.”
The Dhamma that Luangta told him had shaken the noble
monk’s world like never before. The noble monk had finally
truly comprehended. Peace of mind then blossomed, thus,
leaving him speechless.
This razor-sharp blade of wisdom is enough to cut through
ignorance for the one who possess wisdom but has no ego.
106
ป ล่ อ ย ว า ง . . ผปู้ ลอ่ ยวาง
จริยวตั รอันงดงามประการหน่ึง ทีอ่ งค์หลวงตานอ้ มท�ำอยูเ่ สมอ
คอื การจารกิ ไปกราบเยี่ยมพ่อแมค่ รูอาจารย์ที่เคารพคนุ้ เคย
ณ วดั ถำ�้ บนเขาแห่งหนึง่ อันสปั ปายะ
ความปีติยินดี ของหลวงปู่เจ้าอาวาส แสดงออกมาด้วยรอยย้ิมอย่างเมตตาไม่มี
ประมาณ ทันทที เี่ ห็นหลวงตามากราบเยย่ี ม
การสนทนาทเี่ ปี่ยมดว้ ยอรรถรสทางธรรม ดำ� เนินไปอยา่ งสนทิ อบอนุ่ . .
. . . จนมาตอนทา้ ย หลวงปู่ เมตตายนื่ มอื มาให้หลวงตาจับ พรอ้ มเอ่ยข้ึนว่า
“ หลวงตา ดู ซิ วา่ ” . .
“ เรา .. ปลอ่ ยวางหมดแล้ว ! ”
“ ปล่อยวางหมดทุกอย่างเลย ! ! ! ”
“ ไมม่ ีอะไรแลว้ ทไี่ ม่ ปลอ่ ยวาง ”
หลวงตา ประคองมอื หลวงปดู่ ว้ ยความนอบน้อม แลว้ กลา่ วดว้ ยนำ�้ เสยี งอันอ่อนนอ้ ม
สำ� รวมว่า . .
“ กราบขอโอกาสครบั หลวงปู่ ”
“ ยงั ครบั . . หลวงปู่ ”
“ หลวงปู่ . . ยังวางไมห่ มด ครับ ”
“ หลวงปู่ ยังไมไ่ ด้ . . ปลอ่ ยวาง . .ผู้ ป ล่ อ ย ว า ง . . ”
๑๐๗
สิ้นประโยคน้ี . . .
หลวงปู่ น่ิงตะลึงครู่ใหญ่ . .
. . แหงนหนา้ ขึ้นมองทอ้ งฟ้าออกไปไกล
คลา้ ยด่งั ทุกสรรพสิง่ ล้วนถูก “ปลอ่ ยวาง” จนหมดสิ้น
. . “ เรา ปล่อยวางหมดทกุ อย่างแลว้ ”
. . “ เสรจ็ แล้ววันหนง่ึ มีคนมาบอกเราวา่ ”
. . “ เรายงั ไม่ได้ปล่อยวาง .. ผู้ ป ล่ อ ย ว า ง ”
. . “ ข้ีผงเขา้ ตาตวั เอง .. เขย่ี ไม่ออก ”
. . . องคห์ ลวงปู่ รำ� พงึ ข้ึนกับสายลม
โ ล ก ธ า ตุ . . เ งี ย บ ส ง บ ส งั ด
..ไม่มคี ำ� พูดใด ๆ ออกจากใจของทา่ นอกี ..
. . . แมแ้ ตผ่ ปู้ ล่อยวางยงั ไม่เหลือ
แล้วจะเหลอื อะไรให้พดู อีกเล่า . . .
๑๐๗
Let go of the one who let go
One of the practices that Luangta always follows is to go
pay respect to a senior monk.
In the cave surrounded by the tranquility of the
mountains, the senior monk gave a warm welcome to
Luangta with an immeasurable joy.
The conversation went on for quite a while.
Towards the end of their conversation, the senior monk
reached out to Luangta and asked, “Look Luangta! I have
already let go everything. There is nothing left for me to
let go of.”
Then Luangta kindly replied, “No, not yet. You still did not
let go of the one who let go.”
The senior monk was dumbfounded.
107
The monk shifted his gaze towards the sky and uttered,
“I always thought that I have already let go of everything,
then, someone told me that I did not let go of the one
who let go.”
The monk then continued, “Like the dust in my eyes that
I cannot remove.”
After the monk finished speaking those words,
the quietness continued for a while as if the whole world
was put to silence.
If there is nothing left, even the one who let go, then,
to say anymore than that would be unnecessary.
107
ด้นิ รนคน้ หา เหมือนคนบา้
สจั ธรรม ยอ่ มไมด่ ้นิ รน
ห ยุ ด ด้ิ น ร น
จึง พบ ธ ร ร ม
Like a madman,
seeking desperately and relentlessly
will not allow dhamma to blossom.
Only when there is peace
is when one will find dhamma.
108
๑๐๘
ชอื่ หนังสอื
๑๐๘ ข้อธรรม ขณี าลโย
ที่ปรึกษากติ ติมศักด์ิ
พระณฐั เขมปญโฺ ญ
มยุรี เนยี มนัด
บรรณาธกิ าร
จริ ฏั ฐ์ จารทุ ศั น์
ฝา่ ยศลิ ป์
ชนวรี ์ จารทุ ัศน์
กองบรรณาธกิ าร
รวณิ ทม์ าด โรจนอนนั ต์
ณชิ มาศ โรจนอนนั ต์
ทีมแปล
จิรฏั ฐ์ จารทุ ศั น์
ศิริวรรณ ธนวณชิ ยว์ รชัย
ฐปนี ปิ่นทอง
อทั ธ์ เหวย่ เหย้า องั
ณัฐิดา ร่องวารี
สรุ เชษฐ์ เหลืองสอาด
พชั รี โรจนอนนั ต์
สุเมธ โรจนอนันต์
พิสจู นอ์ กั ษร
ปรางทิพย์ ปางพุฒิพงษ์
อภิวฒุ ิ จารุทัศน์
ผ้จู ัดพมิ พ์
สุเมธ โรจนอนันต์
เลขมาตรฐานหนงั สอื (ISBN): 978-616-568-969-4
พมิ พค์ รงั้ ท่ี ๑: สิงหาคม ๒๕๖๓ จำ� นวนพิมพ์ ๒,๐๐๐ เล่ม
พมิ พท์ ่ี บริษทั ศลิ ปส์ ยามบรรจภุ ณั ฑแ์ ละการพิมพ์ จ�ำกัด
โทรศพั ท์ ๐๒๔๔๔-๓๓๕๑-๒ e-mail: [email protected]