The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือการฝึกทบทวนความรู้ด้านการกู้ชีพกู้ภัยในอุทยานแห่งชาติ

ค ำน ำ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ตระหนักถึงความปลอดภัยของนักท่องเที่ยวเป็นสิ่งส าคัญ จึงมีมาตรการในการเตรียมความพร้อมเพื ่อป้องกันเหตุ และให้ความช ่วยเหลือเมื ่อเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน โดยการจัดฝึกอบรมหลักสูตรต่าง ๆ ให้เจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติได้มีความรู้ด้านการกู้ชีพกู้ภัยในอุทยานแห่งชาติ อย่างถูกต้อง สามารถช่วยเหลือนักท่องเที่ยวได้อย่างรวดเร็ว และทันท่วงที ลดความเสียหาย การสูญเสีย ตลอดจน สร้างความมั่นใจในด้านความปลอดภัยให้แก่นักท่องเที่ยวที่มาใช้บริการ ส ่วนกู้ภัยอุทยานแห ่งชาติ ส านักอุทยานแห ่งชาติ ได้มอบหมายให้ศูนย์กู้ภัยอุทยานแห ่งชาติ จัดฝึกทบทวนความรู้ด้านการกู้ชีพกู้ภัยในอุทยานแห่งชาติเป็นประจ าทุกปี อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพื่อให้เจ้าหน้าที่ มีทักษะและความมั่นใจในการปฏิบัติงานที่มีมาตรฐานเดียวกัน ดังนั้น เพื่อเพิ ่มประสิทธิภาพในการฝึกทบทวน และการดูแลรักษาอุปกรณ์กู้ชีพกู้ภัย จึงจัดท าคู่มือการฝึกทบทวนความรู้ด้านการกู้ชีพ กู้ภัย ในอุทยานแห่งชาติ เล่มนี้ขึ้น เพื่อให้เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้านการกู้ชีพกู้ภัยในอุทยานแห่งชาติได้ใช้เป็นเอกสารส าหรับการฝึกทบทวน ความรู้ด้วยตนเอง รวมถึงน าไปใช้เป็นสื่อในการถ่ายทอดขยายความรู้ สร้างเครือข่ายให้กับผู้ที่สนใจอื่น ๆ ด้วยต่อไป ก ส่วนกู้ภัยอุทยานแห่งชาติ ส านักอุทยานแห่งชาติ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กรกฎาคม 2566


สำรบัญ ค ำน ำ ก สำรบัญ ข บทน ำ I – 1 ข บทที่ 1 กำรประเมินสถำนกำรณ์และกำรประเมินผู้ป่วยฉุกเฉินเบื้องต้น Scene Size Up and Primary Assessment 1 – 1 กำรช่วยชีวิตขั้นพื้นฐำน บทที่ 2 Cardiopulmonary Resuscitation : CPR 2 – 1 กำรใช้เครื่องฟื้นคืนคลื่นหัวใจด้วยไฟฟ้ำแบบอัตโนมัติ บทที่ 3 Automate External Defibrillator : AED 3 – 1 กำรปฐมพยำบำลเบื้องต้นด้วยอุปกรณ์มำตรฐำน บทที่ 4 Basic First Aid 4 – 1 กำรปฐมพยำบำลเบื้องต้นด้วยอุปกรณ์ประยุกต์ บทที่ 5 Applied First Aid 5 – 1 กำรใช้งำนและบ ำรุงรักษำรถพยำบำลประจ ำอุทยำนแห่งชำติ บทที่ 6 Operation and Maintenance of Ambulance 6 – 1 บทที่ 7 7 – 1 กำรใช้งำนและบ ำรุงรักษำอุปกรณ์กู้ภัยประจ ำอุทยำนแห่งชำติ Operation and Maintenance of Rescue Equipment บทที่ 8 8 – 1 เงื่อนเชือกส ำหรับงำนกู้ภัยในอุทยำนแห่งชำติ Rope Knot for Search and Rescue at National Park บทที่ 9 9 – 1 กำรยกและกำรเคลื่อนย้ำยด้วยอุปกรณ์มำตรฐำน Transporting บทที่ 10 10 – 1 กำรยกและกำรเคลื่อนย้ำยด้วยอุปกรณ์ประยุกต์ Applied Transporting บทที่ 11 11 – 1 กำรช่วยเหลือผู้ประสบภัยทำงน ้ำเบื้องต้น Basic Water Rescue บทที่ 12 12 – 1 กำรประเมินควำมเสี่ยงอันตรำยจำกต้นไม้เบื้องต้น Basic Tree Risk Assessment บทที่ 13 13 – 1 ระบบบัญชำกำรเหตุกำรณ์ Incident Command System : ICS บทที่ 14 14 – 1 แผนเผชิญเหตุ Incident Action Plan : IAP


บทน ำ ส่วนกู้ภัยอุทยำนแห่งชำติ ส ำนักอุทยำนแห่งชำติ I - 1


ส่วนกู้ภัยอุทยำนแห่งชำติ กรมอุทยานแห ่งชาติ สัตว์ป ่า และพันธุ์พืช ได้ตระหนักถึงความส าคัญ ในการปฏิบัติงาน ด้านการดูแลความปลอดภัย แก ่นักท ่องเที ่ยว ในอ ุทย านแห ่งช าติ ส านักอ ุทย านแห ่งช าติ โดยส ่วนกู้ภัยอุทยานแห ่งชาติมีภารกิจในการ ช ่วยเหลือดูแลความปลอดภัยให้แก ่นักท ่องเที ่ยว ที ่เข้ามาใช้บริการด้วยมาตรฐานระบบการแพทย์ ฉุกเฉิน เช่น ห้องปฐมพยาบาล รถยนต์กู้ชีพฉุกเฉิน อุปกรณ์ รวมทั้งระบบการส่งต่อ มีหน้าที่รับผิดชอบ ดังนี้ จัดท ำแผนด้านการเฝ้าระวัง ป้องกัน เตือนภัย การกู้ภัยในอุทยานแห่งชาติ ให้ได้มาตรฐานในอุทยานแห่งชาติและ วนอุทยานทั่วประเทศ วำงมำตรกำรและก ำกับ ดูแลความปลอดภัยด้านต่างๆ ศึกษำพัฒนำระบบเทคโนโลยี สารสนเทศด้านการเฝ้าระวัง และการแจ้งเตือนภัย ประเมินสถำนกำรณ์ ความต้องการ การรายงานสถานการณ์ และอ านวยการ ปฏิบัติการฉุกเฉินกรณีอพยพช่วยเหลือ ประชาชน และ/หรือเจ้าหน้าที่ในพื้นที่เสี่ยงภัย จัดการฝึกอบรม ฝึกซ้อม ปฏิบัติ ในการป้องกันและการกู้ภัย ให้เป็นไปตาม มาตรฐานสากลร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ประสำนการปฏิบัติกับชุดกู้ภัยประจ า อุทยานแห่งชาติและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐและเอกชนเพื่อให้การปฏิบัติการ เป็นไปอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพสูงสุด ส่งเสริม เผยแพร่ ประชำสัมพันธ์ ความรู้ และผลงานของส านักอุทยานแห่งชาติ ส่งเสริมกำรมีส่วนร่วมของประชำชน โดยใช้รูปแบบของอาสาสมัครในการกู้ภัย และอื่นๆ สนับสนุน ควบคุม ก ำกับดูแล ติดตามผล การปฏิบัติงานศูนย์กู้ภัยอุทยานแห่งชาติ จ านวน 7 แห่ง ให้เป็นไปตามก าหนดหน้าที่ ความรับผิดชอบของส่วนกู้ภัยอุทยานแห่งชาติ ปฏิบัติงำนร่วมกับหรือสนับสนุน การปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่น ที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย ส ำนักอุทยำนแห่งชำติ กรมอุทยำนแห่งชำติ สัตว์ป่ำ และพันธุ์พืช I - 2 ส่วนกู้ภัยอุทยำนแห่งชำติ ส ำนักอุทยำนแห่งชำติ


ศูนย์กู้ภัยอุทยำนแห่งชำติ จัดท ำแผนด้านการเฝ้าระวัง ป้องกัน เตือนภัย การกู้ภัย ในอุทยานแห่งชาติให้ได้มาตรฐาน เสริมสร้ำงความสัมพันธ์ที่ดี กับหน่วยงาน องค์กร และ ประชาชนที่เกี่ยวข้อง จัดกิจกรรมสัมพันธ์ ในรูปแบบต่าง ๆ ส่งเสริมให้มีเครือข่าย ของอาสาสมัครการกู้ภัย ปฏิบัติงำนร่วมกับหรือสนับสนุน การปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่น ที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย ศูนย์กู้ภัยอุทยานแห่งชาติ เป็นหน่วยงานย่อยภายในของส่วนกู้ภัยอุทยานแห่งชาติ มีจ ำนวนทั้งหมด 7 แห่ง ครอบคลุมอยู่ในภูมิภาคต่าง ๆ ท าหน้าที่ถ่ายทอดความรู้ ฝึกซ้อมการปฏิบัติงานด้านการค้นหา กู้ภัย ให้แก่ชุดกู้ภัยประจ า อุทยานแห่งชาติทั่วประเทศ จ านวน 155 แห่ง เพื่อให้เกิดทักษะและเข้าใจขั้นตอนในการปฏิบัติงาน รวมทั้งการฝึกซ้อม ตามแผนเผชิญเหตุ เพื่อเตรียมความพร้อมหากเกิดเหตุฉุกเฉินขึ้น โดยมีหน้าที่รับผิดชอบ ดังนี้ ประสำนการปฏิบัติกับชุดกู้ภัยประจ า อุทยานแห่งชาติและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐและเอกชนเพื่อให้การปฏิบัติการ เป็นไปอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพสูงสุด วำงมำตรกำร และก ำกับดูแล ความปลอดภัยด้านต่างๆ พัฒนำและจัดให้มี กำรฝึกอบรม ฝึกซ้อม ปฏิบัติในการป้องกันและ การกู้ภัยให้เป็นมาตรฐาน สากล ส่วนกู้ภัยอุทยำนแห่งชำติ ส ำนักอุทยำนแห่งชำติ I - 3


ศูนย์กู้ภัยอุทยำนแห่งชำติที่1 - 7 ศูนย์กู้ภัยอุทยานแห่งชาติที่ 1 จังหวัดเชียงใหม่ ศูนย์กู้ภัยอุทยานแห่งชาติที่ 2 จังหวัดพิษณุโลก ศูนย์กู้ภัยอุทยานแห่งชาติที่ 3 จังหวัดนครรำชสีมำ ศูนย์กู้ภัยอุทยานแห่งชาติที่ 6 จังหวัดภูเก็ต ศูนย์กู้ภัยอุทยานแห่งชาติที่ 5 จังหวัดกำญจนบุรี ศูนย์กู้ภัยอุทยานแห่งชาติที่ 4 จังหวัดตรำด ศูนย์กู้ภัยอุทยานแห่งชาติที่ 7 จังหวัดสตูล พิกัดศูนย์กู้ภัยอุทยานแห่งชาติ อุทยานแห่งชาติในความรับผิดชอบของศูนย์กู้ภัยอุทยานแห่งชาติที่ 1 จังหวัดเชียงใหม่ อุทยานแห่งชาติในความรับผิดชอบของศูนย์กู้ภัยอุทยานแห่งชาติที่ 2 จังหวัดพิษณุโลก อุทยานแห่งชาติในความรับผิดชอบของศูนย์กู้ภัยอุทยานแห่งชาติที่ 3 จังหวัดนครราชสีมา อุทยานแห่งชาติในความรับผิดชอบของศูนย์กู้ภัยอุทยานแห่งชาติที่ 4 จังหวัดตราด อุทยานแห่งชาติในความรับผิดชอบของศูนย์กู้ภัยอุทยานแห่งชาติที่ 5 จังหวัดกาญจนบุรี อุทยานแห่งชาติในความรับผิดชอบของศูนย์กู้ภัยอุทยานแห่งชาติที่ 6 จังหวัดภูเก็ต อุทยานแห่งชาติในความรับผิดชอบของศูนย์กู้ภัยอุทยานแห่งชาติที่ 7 จังหวัดสตูล จังหวัดในความรับผิดชอบของศูนย์กู้ภัยอุทยานแห่งชาติที่ 1 จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดในความรับผิดชอบของศูนย์กู้ภัยอุทยานแห่งชาติที่ 2 จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดในความรับผิดชอบของศูนย์กู้ภัยอุทยานแห่งชาติที่ 3 จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดในความรับผิดชอบของศูนย์กู้ภัยอุทยานแห่งชาติที่ 4 จังหวัดตราด จังหวัดในความรับผิดชอบของศูนย์กู้ภัยอุทยานแห่งชาติที่ 5 จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดในความรับผิดชอบของศูนย์กู้ภัยอุทยานแห่งชาติที่ 6 จังหวัดภูเก็ต จังหวัดในความรับผิดชอบของศูนย์กู้ภัยอุทยานแห่งชาติที่ 7 จังหวัดสตูล สัญลักษณ์ I - 4 ส่วนกู้ภัยอุทยำนแห่งชำติ ส ำนักอุทยำนแห่งชำติ


ศูนย์กู้ภัยอุทยำนแห่งชำติที่ 1 จังหวัดเชียงใหม่ อุทยานแห่งชาติที่รับผิดชอบ จ านวน 34 แห่ง ส ำนักบริหำรพื้นที่อนุรักษ์ที่ 14 (ตำก) 5 อุทยานแห่งชาติแม่เมย 6 อุทยานแห่งชาติขุนพะวอ ส ำนักบริหำรพื้นที่อนุรักษ์ที่ 15 (เชียงรำย) 7 อุทยานแห่งชาติดอยหลวง 8 อุทยานแห่งชาติขุนแจ 9 อุทยานแห่งชาติดอยภูซาง 10 อุทยานแห่งชาติแม่ปืม 11 อุทยานแห่งชาติดอยภูนาง 12 อุทยานแห่งชาติล าน ้ากก (เตรียมการ) 13 อุทยานแห่งชาติภูชี้ฟ้า 14 อุทยานแห่งชาติถ ้าหลวง - ขุนน ้านางนอน (เตรียมการ) ส ำนักบริหำรพื้นที่อนุรักษ์ที่ 13 สำขำล ำปำง 1 อุทยานแห่งชาติดอยขุนตาล 2 อุทยานแห่งชาติแจ้ซ้อน 3 อุทยานแห่งชาติถ ้าผาไท (เตรียมการ) 4 อุทยานแห่งชาติเขลางค์บรรพต (เตรียมการ) ส ำนักบริหำรพื้นที่อนุรักษ์ที่ 16 (เชียงใหม่) 15 อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ 16 อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ - ปุย 17 อุทยานแห่งชาติแม่ปิง 18 อุทยานแห่งชาติศรีลานนา 19 อุทยานแห่งชาติออบหลวง 20 อุทยานแห่งชาติห้วยน ้าดัง 21 อุทยานแห่งชาติดอยผ้าห่มปก 22 อุทยานแห่งชาติผาแดง 23 อุทยานแห่งชาติแม่วาง 24 อุทยานแห่งชาติขุนขาน 25 อุทยานแห่งชาติแม่ตะไคร้ 26 อุทยานแห่งชาติดอยเวียงผา (เตรียมการ) 27 อุทยานแห่งชาติแม่โถ (เตรียมการ) 28 อุทยานแห่งชาติออบขาน (เตรียมการ) 29 อุทยานแห่งชาติน ้าตกบัวตอง - น ้าพุเจ็ดสี (เตรียมการ) ที่อยู่ ศูนย์กู้ภัยอุทยานแห่งชาติที่ 1 จังหวัดเชียงใหม่ ต าบลแม่เหียะ อ าเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50100 ส ำนักบริหำรพื้นที่อนุรักษ์ที่ 16 สำขำแม่สะเรียง 30 อุทยานแห่งชาติน ้าตกแม่สุรินทร์ 31 อุทยานแห่งชาติสาละวิน 32 อุทยานแห่งชาติถ ้าปลา - น ้าตกผาเสื่อ 33 อุทยานแห่งชาติแม่เงา (เตรียมการ) 34 อุทยานแห่งชาติแม่สะเรียง (เตรียมการ) จ.แม่ฮ่องสอน จ.เชียงใหม่ จ.ล ำพูน จ.เชียงรำย จ.พะเยำ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 32 31 30 33 34 ส่วนกู้ภัยอุทยำนแห่งชำติ ส ำนักอุทยำนแห่งชำติ I - 5


ส ำนักบริหำรพื้นที่อนุรักษ์ที่ 14 (ตำก) 23 อุทยานแห่งชาติรามค าแหง 24 อุทยานแห่งชาติศรีสัชนาลัย ส ำนักบริหำรพื้นที่อนุรักษ์ที่ 11 (พิษณุโลก) 1 อุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวง 2 อุทยานแห่งชาติน ้าหนาว 3 อุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า 4 อุทยานแห่งชาติน ้าตกชาติตระการ 5 อุทยานแห่งชาติล าน ้าน่าน 6 อุทยานแห่งชาติตาดหมอก 7 อุทยานแห่งชาติต้นสักใหญ่ 8 อุทยานแห่งชาติภูสอยดาว 9 อุทยานแห่งชาติเขาค้อ 10 อุทยานแห่งชาติแควน้อย (เตรียมการ) ส ำนักบริหำรพื้นที่อนุรักษ์ที่ 13 สำขำล ำปำง 21 อุทยานแห่งชาติแม่วะ 22 อุทยานแห่งชาติดอยจง ศูนย์กู้ภัยอุทยำนแห่งชำติที่ 2 จังหวัดพิษณุโลก อุทยานแห่งชาติที่รับผิดชอบ จ านวน 24 แห่ง ส ำนักบริหำรพื้นที่อนุรักษ์ที่ 13 (แพร่) 11 อุทยานแห่งชาติเวียงโกศัย 12 อุทยานแห่งชาติแม่ยม 13 อุทยานแห่งชาติดอยภูคา 14 อุทยานแห่งชาติศรีน่าน 15 อุทยานแห่งชาติแม่จริม 16 อุทยานแห่งชาติดอยผากลอง 17 อุทยานแห่งชาติขุนน่าน 18 อุทยานแห่งชาติถ ้าสะเกิน 19 อุทยานแห่งชาติขุนสถาน 20 อุทยานแห่งชาตินันทบุรี (เตรียมการ) จ.ล ำปำง จ.แพร่ จ.อุตรดิตถ์ จ.พิษณุโลก จ.เพชรบูรณ์ จ.น่ำน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 ที่อยู่ ศูนย์กู้ภัยอุทยานแห่งชาติที่ 2 จังหวัดพิษณุโลก ต าบลบ้านแยง อ าเภอนครไชย จังหวัดพิษณุโลก 65120 I - 6 ส่วนกู้ภัยอุทยำนแห่งชำติ ส ำนักอุทยำนแห่งชำติ


ศูนย์กู้ภัยอุทยำนแห่งชำติที่ 3 จังหวัดนครรำชสีมำ อุทยานแห่งชาติที่รับผิดชอบ จ านวน 24 แห่ง ส ำนักบริหำรพื้นที่อนุรักษ์ที่ 1 (ปรำจีนบุรี) 1 อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ส ำนักบริหำรพื้นที่อนุรักษ์ที่ 7 (นครรำชสีมำ) 2 อุทยานแห่งชาติตาดโตน 3 อุทยานแห่งชาติไทรทอง 4 อุทยานแห่งชาติป่าหินงาม 5 อุทยานแห่งชาติภูแลนคา ส ำนักบริหำรพื้นที่อนุรักษ์ที่ 8 (ขอนแก่น) 6 อุทยานแห่งชาติภูกระดึง 7 อุทยานแห่งชาติภูเรือ 8 อุทยานแห่งชาติภูเวียง 9 อุทยานแห่งชาติภูผาม่าน 10 อุทยานแห่งชาติภูสวนทราย 11 อุทยานแห่งชาติน ้าพอง ส ำนักบริหำรพื้นที่อนุรักษ์ที่ 9 (อุบลรำชธำนี) 12 อุทยานแห่งชาติแก่งตะนะ 13 อุทยานแห่งชาติภูจอง - นายอย 14 อุทยานแห่งชาติภูผาเทิบ 15 อุทยานแห่งชาติผาแต้ม 16 อุทยานแห่งชาติภูสระดอกบัว 17 อุทยานแห่งชาติเขาพระวิหาร ส ำนักบริหำรพื้นที่อนุรักษ์ที่ 10 (อุดรธำนี) 18 อุทยานแห่งชาติภูพาน 19 อุทยานแห่งชาติภูเก้า - ภูพานค า 20 อุทยานแห่งชาติภูผายล 21 อุทยานแห่งชาติภูลังกา 22 อุทยานแห่งชาติภูผาเหล็ก 23 อุทยานแห่งชาตินายูง - น ้าโสม (เตรียมการ) 24 อุทยานแห่งชาติภูหินจอมธาตุ - ภูพระบาท (เตรียมการ) จ.เลย จ.หนองบัวล ำภู จ.อุดรธำนี จ.หนองคำย จ.บึงกำฬ จ.นครพนม จ.สกลนคร จ.มุกดำหำร จ.กำฬสินธุ์ จ.มหำสำรคำม จ.ร้อยเอ็ด จ.ยโสธร จ.อ ำนำจเจริญ จ.อุบลรำชธำนี จ.ศรีสะเกษ จ.สุรินทร์ จ.บุรีรัมย์ จ.ขอนแก่น จ.นครรำชสีมำ จ.ชัยภูมิ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 ที่อยู่ ศูนย์กู้ภัยอุทยานแห่งชาติที่ 3 จังหวัดนครราชสีมา ต าบลหมูสี อ าเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา 30130 ส่วนกู้ภัยอุทยำนแห่งชำติ ส ำนักอุทยำนแห่งชำติ I - 7


จ จ.ลพบุรี .ชัยนำท จ.สิงห์บุรี จ.อ่ำงทอง จ.พระนครศรีอยุธยำ จ.สระบุรี จ.ปทุมธำนี จ.นนทบุรี จ.กรุงเทพมหำนคร จ.สมุทรปรำกำร จ.นครนำยก จ.ปรำจีนบุรี จ.ฉะเชิงเทรำ จ.ชลบุรี จ.สระแก้ว จ.จันทบุรี จ.ระยอง จ.ตรำด อช.เขำสำมร้อยยอด อช.หำดวนกร อช.อ่ำวสยำม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 อุทยานแห่งชาติที่รับผิดชอบ จ านวน 15 แห่ง ส ำนักบริหำรพื้นที่อนุรักษ์ที่ 1 (ปรำจีนบุรี) 1 อุทยานแห่งชาติทับลาน 2 อุทยานแห่งชาติปางสีดา 3 อุทยานแห่งชาติตาพระยา ส ำนักบริหำรพื้นที่อนุรักษ์ที่ 1 สำขำสระบุรี 4 อุทยานแห่งชาติน ้าตกสามหลั่น 5 อุทยานแห่งชาติเจ็ดสาวน้อย ส ำนักบริหำรพื้นที่อนุรักษ์ที่ 2 (ชลบุรี) 6 อุทยานแห่งชาติน ้าตกพลิ้ว 7 อุทยานแห่งชาติเขาชะเมา - เขาวง 8 อุทยานแห่งชาติเขาคิชฌกูฏ 9 อุทยานแห่งชาติเขาแหลมหญ้า - หมู่เกาะเสม็ด 10 อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะช้าง 11 อุทยานแห่งชาติน ้าตกคลองแก้ว 12 อุทยานแห่งชาติเขาสิบห้าชั้น ส ำนักบริหำรพื้นที่อนุรักษ์ที่ 3 สำขำเพชรบุรี 13 อุทยานแห่งชาติเขาสามร้อยยอด 14 อุทยานแห่งชาติหาดวนกร 15 อุทยานแห่งชาติอ่าวสยาม (เตรียมการ) ศูนย์กู้ภัยอุทยำนแห่งชำติที่ 4 จังหวัดตรำด ที่อยู่ ศูนย์กู้ภัยอุทยานแห่งชาติที่ 4 จังหวัดตราด ต าบลแหลมงอบ อ าเภอแหลมงอบ จังหวัดตราด 23120 I - 8 ส่วนกู้ภัยอุทยำนแห่งชำติ ส ำนักอุทยำนแห่งชำติ


ศูนย์กู้ภัยอุทยำนแห่งชำติที่ 5 จังหวัดกำญจนบุรี อุทยานแห่งชาติที่รับผิดชอบ จ านวน 19 แห่ง ส ำนักบริหำรพื้นที่อนุรักษ์ที่ 3 (บ้ำนโป่ง) 1 อุทยานแห่งชาติเอราวัณ 2 อุทยานแห่งชาติเฉลิมรัตนโกสินทร์ 3 อุทยานแห่งชาติไทรโยค 4 อุทยานแห่งชาติเขื่อนศรีนครินทร์ 5 อุทยานแห่งชาติเขาแหลม 6 อุทยานแห่งชาติพุเตย 7 อุทยานแห่งชาติทองผาภูมิ 8 อุทยานแห่งชาติล าคลองงู 9 อุทยานแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติไทยประจัน ส ำนักบริหำรพื้นที่อนุรักษ์ที่ 3 สำขำเพชรบุรี 10 อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน 11 อุทยานแห่งชาติน ้าตกห้วยยาง 12 อุทยานแห่งชาติกุยบุรี ส ำนักบริหำรพื้นที่อนุรักษ์ที่ 12 (นครสวรรค์) 13 อุทยานแห่งชาติคลองลาน 14 อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ 15 อุทยานแห่งชาติคลองวังเจ้า ส ำนักบริหำรพื้นที่อนุรักษ์ที่ 14 (ตำก) 16 อุทยานแห่งชาติลานสาง 17 อุทยานแห่งชาติตากสินมหาราช 18 อุทยานแห่งชาติน ้าตกพาเจริญ (เตรียมการ) 19 อุทยานแห่งชาติดอยสอยมาลัย - ไม้กลายเป็นหิน (เตรียมการ) 1 จ.สุโขทัย จ.ตำก จ.ก ำแพงเพชร จ.พิจิตร จ.นครสวรรค์ จ.อุทัยธำนี จ.กำญจนบุรี จ.สุพรรณบุรี จ.นครปฐม จ.สมุทรสำคร จ.รำชบุรี จ.สมุทรสงครำม จ.เพชรบุรี 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 จ.ประจวบคีรีขัน ที่อยู่ ศูนย์กู้ภัยอุทยานแห่งชาติที่ 5 จังหวัดกาญจนบุรี หมู่ 7 ต าบลไทรโยค อ าเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี 71150 ส่วนกู้ภัยอุทยำนแห่งชำติ ส ำนักอุทยำนแห่งชำติ I - 9


อุทยานแห่งชาติที่รับผิดชอบ จ านวน 24 แห่ง ส ำนักบริหำรพื้นที่อนุรักษ์ที่ 4 (สุรำษฎร์ธำนี) 1 อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะอ่างทอง 2 อุทยานแห่งชาติเขาสก 3 อุทยานแห่งชาติแหลมสน 4 อุทยานแห่งชาติแก่งกรุง 5 อุทยานแห่งชาติใต้ร่มเย็น 6 อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะชุมพร 7 อุทยานแห่งชาติล าน ้ากระบุรี 8 อุทยานแห่งชาติน ้าตกหงาว 9 อุทยานแห่งชาติคลองพนม 10 อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะระนอง 11 อุทยานแห่งชาติธารเสด็จ - เกาะพะงัน ศูนย์กู้ภัยอุทยำนแห่งชำติที่ 6 จังหวัดภูเก็ต ส ำนักบริหำรพื้นที่อนุรักษ์ที่ 5 (นครศรีธรรมรำช) 12 อุทยานแห่งชาติอ่าวพังงา 13 อุทยานแห่งชาติเขาพนมเบญจา 14 อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ 15 อุทยานแห่งชาติสิรินาถ 16 อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสิมิลัน 17 อุทยานแห่งชาตินพรัตน์ธารา - หมู่เกาะพีพี 18 อุทยานแห่งชาติเขาล าปี - หาดท้ายเหมือง 19 อุทยานแห่งชาติศรีพังงา 20 อุทยานแห่งชาติเขาหลัก - ล ารู่ 21 อุทยานแห่งชาติธารโบกธรณี 22 อุทยานแห่งชาติน ้าตกสี่ขีด 23 อุทยานแห่งชาติเขานัน 24 อุทยานแห่งชาติหาดขนอม - หมู่เกาะทะเลใต้(เตรียมการ) 1 จ.ชุมพร จ.พังงำ จ.สุรำษฎร์ธำนี จ.กระบี่ จ.นครศรีธรรมรำช 2 3 4 5 7 6 8 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 ที่อยู่ ศูนย์กู้ภัยอุทยานแห่งชาติที่ 6 จังหวัดภูเก็ต 92/12 หมู่ 5 ต าบลไม้ขาว อ าเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต 83110 I - 10 ส่วนกู้ภัยอุทยำนแห่งชำติ ส ำนักอุทยำนแห่งชำติ


1 10 2 3 4 5 6 7 8 9 11 12 13 14 15 จ.ตรัง จ.พัทลุง จ.สงขลำ จ.สตูล จ.ปัตตำนี จ.ยะลำ จ.นรำธิวำส ศูนย์กู้ภัยอุทยำนแห่งชำติที่ 7 จังหวัดสตูล อุทยานแห่งชาติที่รับผิดชอบ จ านวน 15 แห่ง ส ำนักบริหำรพื้นที่อนุรักษ์ที่ 5 (นครศรีธรรมรำช) 1 อุทยานแห่งชาติตะรุเตา 2 อุทยานแห่งชาติเขาหลวง 3 อุทยานแห่งชาติทะเลบัน 4 อุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม 5 อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะเภตรา 6 อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะลันตา 7 อุทยานแห่งชาติน ้าตกโยง ส ำนักบริหำรพื้นที่อนุรักษ์ที่ 6 (สงขลำ) 8 อุทยานแห่งชาติเขาปู่ - เขาย่า 9 อุทยานแห่งชาติเขาน ้าค้าง 10 อุทยานแห่งชาติสันกาลาคีรี (เตรียมการ) ส ำนักบริหำรพื้นที่อนุรักษ์ที่ 6 สำขำปัตตำนี 11 อุทยานแห่งชาติบางลาง 12 อุทยานแห่งชาติบูโด - สุไหงปาดี 13 อุทยานแห่งชาติน ้าตกทรายขาว 14 อุทยานแห่งชาติอ่าวมะนาว - เขาตันหยง (เตรียมการ) 15 อุทยานแห่งชาติน ้าตกซีโป (เตรียมการ) ที่อยู่ ศูนย์กู้ภัยอุทยานแห่งชาติที่ 7 จังหวัดสตูล หมู่ 2 ต าบลปากน ้า อ าเภอละงู จังหวัดสตูล 91110 ส่วนกู้ภัยอุทยำนแห่งชำติ ส ำนักอุทยำนแห่งชำติ I - 11


✓ เจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติ ✓ เจ้าหน้าที่วนอุทยาน เพื่อทบทวนความรู้ด้านการกู้ชีพ กู้ภัย ที่จ าเป็นต่อการช่วยเหลือนักท่องเที่ยวในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินในพื้นที่อุทยานแห่งชาติ ผ่านรูปแบบการบรรยายและฝึกปฏิบัติท าให้เจ้าหน้าที่ผู้เข้ารับการฝึกทบทวนมีความรู้ความเข้าใจ ได้มีประสบการณ์ในการฝึกฝน ทักษะ เสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ท าให้สามารถช่วยเหลือปฐมพยาบาล กรณีเหตุเจ็บป่วยฉุกเฉินหรือได้รับบาดเจ็บ จากอุบัติเหตุตลอดจนการส่งต่อผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บไปยังโรงพยาบาลได้อย่างถูกต้องและทันท่วงทีรวมถึงการใช้อุปกรณ์ประยุกต์ต่างๆ และพร้อมรับเหตุการณ์ฉุกเฉินต่าง ๆ อย่างมีประสิทธิภาพ ได้ กำรฝึกทบทวนควำมรู้ด้ำนกำรกู้ชีพ กู้ภัย ในอุทยำนแห่งชำติ วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้ำหมำย I - 12 ส่วนกู้ภัยอุทยำนแห่งชำติ ส ำนักอุทยำนแห่งชำติ


บทเรียนทบทวนควำมรู้ด้ำนกำรกู้ชีพ กู้ภัย ประกอบด้วย ภาคบรรยาย ภาคปฏิบัติ กำรประเมินสถำนกำรณ์และกำรประเมินผู้ป่วยฉุกเฉินเบื้องต้น Scene Size Up and Primary Assessment กำรช่วยชีวิตขั้นพื้นฐำน Cardiopulmonary Resuscitation : CPR กำรใช้เครื่องฟื้นคืนคลื่นหัวใจด้วยไฟฟ้ำแบบอัตโนมัติ Automated External Defibrillator : AED การปฐมพยาบาลเบื้องต้นด้วยอุปกรณ์มาตรฐาน Basic First Aid การปฐมพยาบาลเบื้องต้นด้วยอุปกรณ์ประยุกต์ Applied First Aid การใช้งานและบ ารุงรักษารถพยาบาลประจ าอุทยานแห่งชาติ Operation and Maintenance of Ambulance การใช้งานและบ ารุงรักษาอุปกรณ์กู้ภัยประจ าอุทยานแห่งชาติ Operation and Maintenance of Rescue Equipment หน่วย : ชั่วโมง บรรยำย - ปฏิบัติ 1 บทที่ เงื่อนเชือกส าหรับงานกู้ภัยในอุทยานแห่งชาติ Rope Knot for Search and Rescue at National Park การยกและการเคลื่อนย้ายด้วยอุปกรณ์มาตรฐาน Transporting การยกและการเคลื่อนย้ายด้วยอุปกรณ์ประยุกต์ Applied Transporting การช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน ้าเบื้องต้น Basic Water Rescue การประเมินความเสี่ยงอันตรายจากต้นไม้เบื้องต้น Basic Tree Risk Assessment ระบบบัญชาการเหตุการณ์ Incident Command System : ICS แผนเผชิญเหตุ Incident Action Plan : IAP หน่วย : ชั่วโมง บรรยำย - ปฏิบัติ 8 บทที่ 2 3 4 5 6 7 9 10 11 12 13 14 1 - 0 1 - 2 1 - 2 1 - 1 1 - 1 1 - 1 1 - 1 1 - 1 1 - 1 1 - 3 1 - 3 1 - 0 1 - 0 1 - 3 ส่วนกู้ภัยอุทยำนแห่งชำติ ส ำนักอุทยำนแห่งชำติ I - 13


ขั้นตอนกำรฝึกทบทวนควำมรู้ด้ำนกำรกู้ชีพ กู้ภัย ก่อนฝึกทบทวน ผู้เข้ารับการฝึกทบทวน ท าแบบทดสอบก่อนการฝึกทบทวน ขณะฝึกทบทวน ประเมินผลการฝึกปฏิบัติ หลังฝึกทบทวน ผู้เข้ารับการฝึกทบทวน ท าแบบทดสอบหลังการฝึกทบทวน และท ำแบบสอบถำมควำมพึงพอใจ Pre - test Post - test I - 14 ส่วนกู้ภัยอุทยำนแห่งชำติ ส ำนักอุทยำนแห่งชำติ


กำรประเมินสถำนกำรณ์ และกำรประเมินเบื้องต้น Scene Size Up and Primary Assessment บทที่ 1 ส่วนกู้ภัยอุทยำนแห่งชำติ ส ำนักอุทยำนแห่งชำติ 1 - 1


เนื้อหำ 1 กำรประเมินสถำนกำรณ์ 2 กำรประเมินเบื้องต้น 1 - 2 ส่วนกู้ภัยอุทยำนแห่งชำติ ส ำนักอุทยำนแห่งชำติ


กำรประเมินสถำนกำรณ์ (Scene Size Up) กำรประเมินสภำพแวดล้อมของสถำนที่เกิดเหตุ เพื่อวางแผนการเข้าช่วยเหลือผู้ป่วยฉุกเฉิน โดยต้องค ำนึงถึงควำมปลอดภัยของผู้ช่วยเหลือ ผู้ร่วมงำน คนรอบข้ำง และผู้ป่วยหรือผู้บำดเจ็บ เป็นส ำคัญ ป้องกัน ตนเอง สถานที่ ปลอดภัย กลไกการ บาดเจ็บ จ ำนวน ผู้บำดเจ็บ ขอสนับสนุน ส่วนกู้ภัยอุทยำนแห่งชำติ ส ำนักอุทยำนแห่งชำติ 1 - 3


ขั้นตอนของกำรประเมินสถำนกำรณ์ การใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเอง (Body substance isolation : BSI) การประเมินความปลอดภัยของสถำนที่เกิดเหตุ (Scene safety) การประเมินกลไกกำรบำดเจ็บหรือเจ็บป่วย (Mechanism of injury : MOI or Nature of illness : NOI) การประเมินจ ำนวนผู้เจ็บป่วยฉุกเฉิน (Number of patient) การขอแหล่งสนับสนุนเพิ่มเติม (Additional resources) 2 1 3 4 5 1 - 4 ส่วนกู้ภัยอุทยำนแห่งชำติ ส ำนักอุทยำนแห่งชำติ


กำรใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเอง (Body substance isolation : BSI) ผู้ปฏิบัติการ ควรปฏิบัติตนตามมาตรฐานการป้องกันตนเอง ตามสภาพผู้ป่วยฉุกเฉิน ใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเองที่เพียงพอและเหมำะสม ส ำหรับแต่ละสถำนกำรณ์ กำรประเมินสถำนกำรณ์ (Scene Size Up) หน้ากาก แว่นตา ชุดกาวน์ ถุงมือ รองเท้าบูท หมวก ส่วนกู้ภัยอุทยำนแห่งชำติ ส ำนักอุทยำนแห่งชำติ 1 - 5


สำมำรถเข้ำไป ช่วยเหลือ ผู้ป่วยฉุกเฉินได้ ไม่ควรเสี่ยงเข้ำไป ในสถำนกำรณ์นั้นๆ ประเมินความเสี่ยงต่อภาวะอันตรายจากสถานการณ์ต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น เพื่อการป้องกันไม่ให้ผู้ช่วยเหลือได้รับอันตราย รวมทั้งการป้องกันไม่ให้ผู้ที่อยู่ในเหตุการณ์ได้รับอันตราย สถานการณ์ความปลอดภัยของสถานที่เกิดเหตุสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา ดังนั้น ผู้ปฏิบัติกำรจึงจ ำเป็นต้องมีกำรประเมินอยู่ตลอดเวลำ มีสติ อยู่ทุกขณะ เพื่อที่จะสำมำรถแก้ไขปัญหำเฉพำะหน้ำได้อย่ำงทันท่วงที กำรประเมินควำมปลอดภัยของสถำนที่เกิดเหตุ (Scene safety) ไม่มี ควำมปลอดภัย ประเมิน สถำนกำรณ์ กำรประเมินสถำนกำรณ์ (Scene Size Up) หำแนวทำง ในกำรท ำให้ สถำนกำรณ์นั้น มีควำมปลอดภัย เพียงพอ มีควำมปลอดภัย 1 - 6 ส่วนกู้ภัยอุทยำนแห่งชำติ ส ำนักอุทยำนแห่งชำติ


การประเมินกลไกการบาดเจ็บหรือการป่วยมีความส าคัญส าหรับการวางแผนการเข้าช่วยเหลือผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสม ท ำให้ผู้ปฏิบัติกำรสำมำรถค้นหำปัญหำของผู้ป่วยได้ง่ำยและรวดเร็วยิ่งขึ้น ส่งผลให้กำรดูแลผู้ป่วยเป็นไปอย่ำงรวดเร็ว และทันท่วงทีมำกขึ้น กำรประเมินกลไกกำรบำดเจ็บหรือกำรป่วยฉุกเฉิน (Mechanism of injury : MOI or nature of illness : NOI) ภาพ : www.th.depositphotos.com ภาพ : www.clker.com ภาพ : หนังสือ One Step for Technical Intern Trainees to Conduct Welding Operations Safely กำรประเมินสถำนกำรณ์ (Scene Size Up) กรณีป่วยฉุกเฉินจำกอุบัติเหตุ กลไกกำรบำดเจ็บ (mechanism of injury : MOI) พิจารณาถึงความรุนแรงที่เกิดขึ้นกับผู้บาดเจ็บ เพื่อพยำกรณ์อวัยวะที่ได้รับบำดเจ็บและวำงแผน ให้กำรช่วยเหลือ โดยพิจารณาจาก • ความรุนแรงของเหตุการณ์ในสถานที่เกิดเหตุ เช่น สภาพของรถ ลักษณะการชน ความเร็วของรถ • ข้อมูลสภาพของผู้บาดเจ็บ เช่น ระดับความรู้สึกตัว ในเหตุการณ์นั้นมีผู้เสียชีวิตหรือไม ่ หรือมีผู้บาดเจ็บ ติดภายในหรือกระเด็นออกนอกรถหรือไม่ ส่วนกู้ภัยอุทยำนแห่งชำติ ส ำนักอุทยำนแห่งชำติ 1 - 7


การประเมินกลไกการบาดเจ็บหรือการป่วยมีความส าคัญส าหรับการวางแผนการเข้าช่วยเหลือผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสม ท ำให้ผู้ปฏิบัติกำรสำมำรถค้นหำปัญหำของผู้ป่วยได้ง่ำยและรวดเร็วยิ่งขึ้น ส่งผลให้กำรดูแลผู้ป่วยเป็นไปอย่ำงรวดเร็ว และทันท่วงทีมำกขึ้น ลักษณะกำรเจ็บป่วย (nature of illness : NOI) พิจารณาจากข้อมูลอาการของผู้ป่วยฉุกเฉิน เพื่อให้สำมำรถคำดกำรณ์ได้ในเบื้องต้น ว่าการป่วยฉุกเฉินน่าจะเกี่ยวข้องกับระบบใดของร่างกาย หรือโรคอะไรได้บ้าง เพื่อที่จะวำงแผนกำรช่วยเหลือได้ อย่ำงเหมำะสมต่อไป ผู้ปฏิบัติการสามารถสอบถามลักษณะอาการการป่วยฉุกเฉิน จากครอบครัวหรือญาติ โดยข้อมูลเบื้องต้นบางส ่วนได้จาก ศูนย์รับแจ้งเหตุและสั ่งการ ก ่อนมาถึงที ่เกิดเหตุแล้ว เช ่น “รับแจ้งว่ำเป็นผู้ป่วยมีอำกำรเจ็บหน้ำอก หำยใจไม่สะดวก” หรือ “เป็นผู้ป่วยหมดสติ ปลุกไม่ตื่น” เป็นต้น ซึ่งข้อมูลเหล่านี้ ผู้ปฏิบัติการสามารถน าไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการซักถาม ข้อมูลเพิ่มเติมจากผู้ป่วยหรือญาติ ภาพ : www.gasofast.com ภาพ : www.todayifoundout.com กำรประเมินสถำนกำรณ์ (Scene Size Up) กรณีป่วยฉุกเฉินที่ไม่ใช่จำกอุบัติเหตุ กำรประเมินกลไกกำรบำดเจ็บหรือกำรป่วยฉุกเฉิน (Mechanism of injury : MOI or nature of illness : NOI) 1 - 8 ส่วนกู้ภัยอุทยำนแห่งชำติ ส ำนักอุทยำนแห่งชำติ


กำรประเมินสถำนกำรณ์ (Scene Size Up) การประเมินในเหตุการณ์นั้นมีจ ำนวนผู้ป่วยฉุกเฉิน จ ำนวนเท่ำใด จ าเป็นต้องใช้แผนอุบัติเหตุหมู่ หรือปฏิบัติการด้านสาธารณภัยหรือไม่ เพื่อวำงแผนกำรช่วยเหลือและขอก ำลังสนับสนุน กำรประเมินจ ำนวนผู้ป่วยฉุกเฉิน (Number of patients) ควรประมำณก ำลังและขีดควำมสำมำรถของตนเอง ส่วนกู้ภัยอุทยำนแห่งชำติ ส ำนักอุทยำนแห่งชำติ 1 - 9


กำรประเมินสถำนกำรณ์ (Scene Size Up) พิจารณาว่าในเหตุการณ์ จ ำเป็นต้องขอควำมช่วยเหลือ จากหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือไม่ เช่น หน่วยดับเพลิง เจ้าหน้าที่ต ารวจ มูลนิธิกู้ภัยต่าง ๆ หรือชุดปฏิบัติการฉุกเฉินระดับสูง เป็นต้น กำรขอแหล่งสนับสนุนเพิ่มเติม (Additional resources) 1 - 10 ส่วนกู้ภัยอุทยำนแห่งชำติ ส ำนักอุทยำนแห่งชำติ


• โดยใช้เวลาในการประเมินไม่ควรเกิน 30 วินาที • การประเมินเบื้องต้น จ าเป็นต้องท าในผู้ป่วยฉุกเฉินทุกราย • ท าการประเมินเบื้องต้นทันที เมื่อพบผู้ป่วยฉุกเฉิน หลังจากประเมินสถานการณ์แล้วว่าปลอดภัย กำรประเมินเบื้องต้น (Primary Assessment) • สถานที่เกิดเหตุไม่ปลอดภัย • หัวใจหยุดเต้น • ทางเดินหายใจส่วนบนอุดกั้นสมบูรณ์ สภาพ ทั่วไป ควำม รู้สึกตัว ทางเดิน หายใจ การ หายใจ การไหล เวียโลหิต กำรประเมินเพื่อค้นหำสิ่งที่เป็นปัญหำคุกคำมชีวิต ที่อำจส่งผลให้ผู้ป่วยฉุกเฉินเสียชีวิตได้ สิ่งท ำให้ต้องหยุดกำรประเมินเบื้องต้นชั่วครำว ส่วนกู้ภัยอุทยำนแห่งชำติ ส ำนักอุทยำนแห่งชำติ 1 - 11


ขั้นตอนกำรประเมินเบื้องต้น Primary Assessment การประเมินสภำพทั่วไปของการเจ็บป่วย (General impression) การประเมินควำมรู้สึกตัว (Level of consciousness : LOC) การประเมินทำงเดินหำยใจ (Airway) การประเมินกำรหำยใจ (Breathing) การประเมินกำรไหลเวียนโลหิต (Circulation) 2 1 3 4 5 1 - 12 ส่วนกู้ภัยอุทยำนแห่งชำติ ส ำนักอุทยำนแห่งชำติ


ประเมินสภำพแวดล้อมที่อยู่รอบๆ ตัวผู้ป่วย/ ผู้บาดเจ็บ และอาการส าคัญ โดยสังเกตอย่างรวดเร็ว กำรประเมินเบื้องต้น (Primary Assessment) กำรประเมินสภำพทั่วไปกำรเจ็บป่วย (General impression) สภาพผู้ป่วย/ ผู้บาดเจ็บ ที่เห็นจากกำรสังเกตก่อนเข้าสัมผัส แยกให้ได้ว่าเป็น “ผู้บำดเจ็บ” หรือ “ผู้ป่วย” สิ่งที่ต้องประเมิน เช่น เพศ อายุโดยประมาณ รูปร่าง ท่าทาง หรือบาดแผลขนาดใหญ่ สภาพที่เกิดเหตุ (มีวัตถุตกหล่นหรือ กลิ่นที่ผิดปกติ) อำกำรน ำส ำคัญของผู้ป่วย/ ผู้บาดเจ็บ ส่วนกู้ภัยอุทยำนแห่งชำติ ส ำนักอุทยำนแห่งชำติ 1 - 13


กำรประเมินเบื้องต้น (Primary Assessment) กำรประเมินควำมรู้สึกตัว (Level of consciousness : LOC) A = Alert (รู้สึกตัวดี) V = Response to Verbal stimuli (ตอบสนองต่อเสียงเรียก) P = Response to Painful stimuli (ตอบสนองต่อความเจ็บปวด) U = Unresponsive (ไม่รู้สึกตัว) ให้ยึดตรึงกระดูกสันหลังส่วนคอ (c-spine protection) ให้อยู่กับที่ไว้ก่อนเสมอ ผู้ปฏิบัติการต้องแนะน ำตัว ว่าเป็นใคร มาจากหน่วยงานใด และจะมาท าการช่วยเหลือผู้ป่วย ประเมินแล้วพบว่า ไม่รู้สึกตัว ไม่หำยใจ หรือหำยใจเฮือก ช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR) ผู้ป่วยที่ได้รับบำดเจ็บจากอุบัติเหตุ หรือไม่รู้สึกตัวโดยไม่ทราบสาเหตุ ประเมินควำมรู้สึกตัว A - V - P - U 1 - 14 ส่วนกู้ภัยอุทยำนแห่งชำติ ส ำนักอุทยำนแห่งชำติ


ทำงเดินหำยใจปกติไม่น่าจะมีปัญหาทางเดินหายใจอุดกั้น มีภาวะทำงเดินหำยใจอุดกั้นต้องท าการเปิดทำงเดินหำยใจ เพื่อค้นหาภาวะการอุดกั้นทางเดินหายใจ ผู้ป่วยพูดคุยได้ กำรประเมินทำงเดินหำยใจ (Airway) ผู้ป่วยพูดคุยไม่ได้ กำรประเมินเบื้องต้น (Primary Assessment) ส่วนกู้ภัยอุทยำนแห่งชำติ ส ำนักอุทยำนแห่งชำติ 1 - 15


ผู้ป่วยฉุกเฉินทั่วไป กดหน้ำผำกและเชยคำง (Head tilt - chin lift) ยกกระดูกขำกรรไกรล่ำงขึ้น (Jaw thrust) กำรเปิดทำงเดินหำยใจ เมื่อมีภาวะทางเดินหายใจอุดกั้น ภาพ : www.medictests.com ภาพ : www.facebook.com/britishacademy กำรประเมินเบื้องต้น (Primary Assessment) กำรประเมินทำงเดินหำยใจ (Airway) ผู้ป่วยอุบัติเหตุ 1 - 16 ส่วนกู้ภัยอุทยำนแห่งชำติ ส ำนักอุทยำนแห่งชำติ


กำรประเมินเบื้องต้น (Primary Assessment) กำรประเมินกำรหำยใจ (Breathing) • สังเกตการเคลื่อนไหวของทรวงอก กระเพื่อมขึ้น - ลง • หายใจเร็ว หายใจช้ำ หรือหายใจล ำบำก ดูลักษณะกำรหำยใจ ส่วนกู้ภัยอุทยำนแห่งชำติ ส ำนักอุทยำนแห่งชำติ 1 - 17


กำรประเมินเบื้องต้น (Primary Assessment) กำรประเมินกำรไหลเวียนโลหิต (Circulation) โดยดูสีผิว อุณหภูมิ ความชื้น เช่น ภาวะเหงื่อออก ตัวเย็นชื้น แห้งหรือ ร้อน สีผิวซีดหรือเขียวคล ้า คล ำชีพจร ประเมินผิวหนัง ที่คอและข้อมือเปรียบเทียบกัน ตรวจกำรคืนกลับของเลือด ในหลอดเลือดฝอย (capillary refill) กดบริเวณเล็บแล้วปล่อย การไหลกลับภำยใน 2 วินาที = ปกติ การไหลกลับนำนกว่ำ 2 วินาที = ผิดปกติ ประเมินจุดเลือดออกมำก (major bleeding) ดูตั้งแต่ศีรษะจนถึงปลายเท้าอย่างรวดเร็ว ว่ามีต าแหน่งที่มีเลือดออกจ านวนมาก ที่อาจท าให้เสียชีวิตได้ และท าการห้ามเลือด 1 - 18 ส่วนกู้ภัยอุทยำนแห่งชำติ ส ำนักอุทยำนแห่งชำติ


ก่อนถึงสถำนที่เกิดเหตุ ประเมินสถำนกำรณ์ หมวก หน้ากาก กาวน์ แว่นตา ถุงมือ รองเท้าบูท อุบัติเหตุ หรือ เจ็บป่วย ต ารวจ ดับเพลิง ชุดปฏิบัติการระดับสูง สังเกตเพศ อายุ ลักษณะท่าทาง A-V-P-U CPR พบว่าอุดกั้นต้องเปิดทางเดินหายใจ กดหน้าผาก เชยคาง กรณีเจ็บป่วย กรณีอุบัติเหตุ ยกกระดูกขากรรไกรล่างขึ้น คล าชีพจร ผิวหนัง จุดเลือดออกใหญ่ เมื่อถึงสถำนที่เกิดเหตุ ประเมินเบื้องต้น สรุป สถำนที่ ปลอดภัย สถำนที่ ปลอดภัย สภาพ ทั่วไป ควำม รู้สึกตัว ทางเดิน หายใจ การหายใจ การไหล เวียโลหิต ส่วนกู้ภัยอุทยำนแห่งชำติ ส ำนักอุทยำนแห่งชำติ 1 - 19


สัญญำณชีพ ค่ำปกติ ความดันโลหิต ค่าสูงสุด 90/140 มิลลิเมตรปรอท ค่าต ่าสุด 60/90 มิลลิเมตรปรอท ชีพจร 60 – 100 ครั้ง/นาที การหายใจ 16 – 20 ครั้ง/นาที อุณหภูมิ 36.5 – 37.4 องศาเซลเซียส ความอิ่มตัวของออกซิเจนในกระแสเลือด 96 – 100 % สัญญาณชีพ (Vital Signs) 1 - 20 ส่วนกู้ภัยอุทยำนแห่งชำติ ส ำนักอุทยำนแห่งชำติ


ข้อมูลที่ผู้ปฏิบัติการได้จากการประเมินเบื้องต้นนี้ หากพบว่ามีควำมผิดปกติและเกินศักยภำพของทีม ให้แจ้งขอรับกำรสนับสนุนจำกชุดปฏิบัติกำรในระดับที่สูงกว่ำ มาช่วยเหลือผู้ป่วยต่อไป เช่น ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว หรือประเมินพบว่ำมีปัญหำเกี่ยวกับ ทำงเดินหำยใจ และกำรไหลเวียนโลหิต ส่วนกู้ภัยอุทยำนแห่งชำติ ส ำนักอุทยำนแห่งชำติ 1 - 21


เอกสำรอ้ำงอิง เอกสารประกอบการอบรม การปฐมพยาบาลและการช่วยปฏิบัติการแพทย์ขั้นพื้นฐาน ส าหรับพื้นที่พิเศษ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช เอกสารประกอบการอบรม ครู ก กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช เอกสารประกอบการอบรม การฟื้นฟูความรู้และทักษะอาสาสมัครฉุกเฉินการแพทย์ ส าหรับพื้นที่พิเศษ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กรมควบคุมโรค. 2565. กรมควบคุมโรค แนะประชำชนใส่ใจสุขภำพ วัดควำมดันโลหิตอย่ำงสม ่ำเสมอ ป้องกันโรคควำมดันโลหิตสูง. แหล่งที่มา : https://ddc.moph.go.th/brc/news.php?news= 25290&deptcode=brc&news_views=150, 17 กุมภาพันธ์ 2566 1 - 22 ส่วนกู้ภัยอุทยำนแห่งชำติ ส ำนักอุทยำนแห่งชำติ


Cardiopulmonary Resuscitation : CPR กำรช่วยชีวิตขั้นพื้นฐำน บทที่ 2 ส่วนกู้ภัยอุทยำนแห่งชำติ ส ำนักอุทยำนแห่งชำติ 2 - 1


เนื้อหำ 1 กำรฟื้นคืนชีพ 2 ขั้นตอนกำรช่วยฟื้นคืนชีพผู้ใหญ่ 3 ขั้นตอนกำรช่วยฟื้นคืนชีพเด็ก 4 ขั้นตอนกำรช่วยฟื้นคืนชีพทำรก 5 กำรจัดท่ำพักฟื้น 2 - 2 ส่วนกู้ภัยอุทยำนแห่งชำติ ส ำนักอุทยำนแห่งชำติ


กำรช่วยฟื้นคืนชีพ การช่วยเหลือผู้ที่หยุดหำยใจ หัวใจหยุดเต้น และหำยใจเฮือกให้กลับมาหายใจ หรือมีการน าออกซิเจนเข้าสู่ร่างกาย (Cardiopulmonary Resuscitation : CPR) ปลอดภัย ประเมิน ประกำศ ปั๊ม เป่ำ แปะ 6ป เกิดการไหลเวียนเลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆ ของร่างกายโดยเฉพาะสมองกับหัวใจ จนกระทั่งระบบต่างๆ กลับมาท าหน้าที่ได้ตามปกติ ป้องกันการเสียชีวิตหรือเนื้อเยื่อได้รับความเสียหายอย่างถาวรจากการขาด ออกซิเจน ส่วนกู้ภัยอุทยำนแห่งชำติ ส ำนักอุทยำนแห่งชำติ 2 - 3


ผู้ใหญ่ กำรช่วยฟื้นคืนชีพ (Cardiopulmonary Resuscitation : CPR) เด็ก ภาพ : หนังสือการปฐมพยาบาลฉุกเฉินและการกู้ชีพขั้นพื้นฐาน ภาพ : หนังสือการปฐมพยาบาลฉุกเฉินและการกู้ชีพขั้นพื้นฐาน ทำรก 2 - 4 ส่วนกู้ภัยอุทยำนแห่งชำติ ส ำนักอุทยำนแห่งชำติ


ขั้นตอนกำรช่วยฟื้นคืนชีพผู้ใหญ่ ประเมินควำมปลอดภัย ณ จุดเกิดเหตุ สถานที่มีปลอดภัย แล้วจึงเข้าไปหาผู้ป่วย ปลุกเรียกผู้ป่วย ถ้ารู้จักชื่อ ให้เรียกชื่อ ถ้าไม่รู้จักชื่อให้ เรียก “คุณๆ” ด้วยเสียงดัง ใช้มือตบที่บ่าทั้ง 2 ข้าง 3 ครั้ง 2 รอบ ดูว่าผู้ป่วยมีการกระพริบตาหรือไม่ หากผู้ป่วยไม่มีอาการตอบสนอง ให้ตะโกนขอความช่วยเหลือ 1 2 จัดผู้ป่วยนอน ในพื้นที่รำบ และแข็งพอ 3 ประเมินผู้ป่วย คุณๆ ส่วนกู้ภัยอุทยำนแห่งชำติ ส ำนักอุทยำนแห่งชำติ 2 - 5


4 ขอควำมช่วยเหลือ เรียกขอความช่วยเหลือ หรือโทรศัพท์แจ้ง 1669 และขอเครื่อง AED 5 ประเมินกำรหำยใจ โดยการตรวจสอบการหายใจ ให้มองไปที่หน้าอก หน้าท้อง ว่ามีการขยับขึ้นลงหรือไม่ ใช้เวลาไม่น้อยกว่า 5 วินาที แต่ไม่เกิน 10 วินาที ขั้นตอนกำรช่วยฟื้นคืนชีพผู้ใหญ่ ช่วยด้วยค่ะ 2 - 6 ส่วนกู้ภัยอุทยำนแห่งชำติ ส ำนักอุทยำนแห่งชำติ


วางส้นมือข้างหนึ่งลงบน กึ่งกลางครึ่งล่างของกระดูกหน้าอก หรือกึ่งกลางกระดูกหน้าอกระหว่างหัวนม หรือกึ่งกลางหน้าอกเหนือกระดูกลิ้นปี่ 2 นิ้วมือ แล้วใช้มืออีกข้างหนึ่งวางทับ ด้านบน ใช้นิ้วมือทั้งสองข้างล็อกกันไว้ แขนทั้งสองข้างเหยียดตรง ข้อสะโพกเป็นจุดหมุน 6 กำรกดหน้ำอก ไหล่ของผู้ช่วยเหลือตั้งฉำก กับหน้าอกของผู้ป่วย • ให้ใช้น ้าหนักจากไหล่กดลงมา • แขนเหยียดตรง กดลงในแนวแรง ตั้งฉากกับพื้น ขั้นตอนกำรช่วยฟื้นคืนชีพผู้ใหญ่ ส่วนกู้ภัยอุทยำนแห่งชำติ ส ำนักอุทยำนแห่งชำติ 2 - 7


กำรกดหน้ำอกให้มีประสิทธิภำพ กดลึกลงไป 5 - 6 เซนติเมตร ขั้นตอนกำรช่วยฟื้นคืนชีพผู้ใหญ่ อัตราเร็วในการกดหน้าอก 100 - 120 ครั้งต่อนาที ขัดจังหวะ หรือหยุดกดหน้าอกให้น้อยกว่า 10 วินาที ถอนมือขึ้นมาเพื่อให้หน้าอกขยายคืนสู่ต าแหน่งเดิมทุกครั้ง ไม่เป่าลมช่วยหายใจโดยเป่าลมเข้ามากเกินไป กดหน้าอก 30 ครั้ง สลับกับการเป่าปาก 2 ครั้ง นับเป็นหนึ่งรอบ ประเมินซ ้าทุก 5 รอบ 2 - 8 ส่วนกู้ภัยอุทยำนแห่งชำติ ส ำนักอุทยำนแห่งชำติ


การช่วยหายใจหลังจากกดหน้าอกครบ 30 ครั้งแล้ว มีวิธีการ ดังนี้ ขั้นตอนกำรช่วยฟื้นคืนชีพผู้ใหญ่ 7 กำรช่วยหำยใจ (กำรเป่ำปำก) เปิดทางเดินหายใจ โดยวิธีการกดหน้าผาก เชยคาง ใช้นิ้วโป้งกับนิ้วชี้ของมือข้างที่กดหน้าผาก บีบจมูกผู้ป่วย ให้สนิท ส่วนมือข้างที่เชยคาง ขึ้นมาช่วยเปิดปาก ขณะเป่าลมเข้าให้ช าเลืองมองไปที่หน้าอกของผู้ป่วย ต้องมองเห็นหน้าอกขยับขึ้นชัดเจน เงยหน้าขึ้นเพื่อปล่อยให้ผู้ป่วยหายใจออกทางปาก แล้วเป่าปากซ ้าเป็นครั้งที่ 2 ก้มลงไปประกบปากผู้ป่วย (ปากต่อปาก) เป่าลมเข้าใช้เวลา ครั้งละประมาณ 1 วินาที ส่วนกู้ภัยอุทยำนแห่งชำติ ส ำนักอุทยำนแห่งชำติ 2 - 9


ขั้นตอนกำรช่วยฟื้นคืนชีพผู้ใหญ่ ถ้าเป่าลมไม่เข้า ให้รีบเปิดทางเดินหายใจใหม่ทันที โดยการกดหน้าผากเชยคางให้มากขึ้น แล้วเป่าปาก ครั้งที่ 2 (อย่าช่วยหายใจมากกว่า 2 ครั้ง) หลังจากนั้น ให้รีบกดหน้าอกต่อทันที ไม่เป่าลมช่วยหายใจโดยเป่าลมเข้ามากเกินไป 2 - 10 ส่วนกู้ภัยอุทยำนแห่งชำติ ส ำนักอุทยำนแห่งชำติ


Click to View FlipBook Version