The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by AJ, 2022-07-11 04:15:32

2(2)

2(2)

ห น้ า | 51

กจิ กรรม บทท่ี 3 การอาน

กิจกรรมที่ 1 ใหผเู รยี นตอบคําถามตอไปนี้
1. การอานในใจมีจุดมงุ หมายอยางไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………….……………
2. การอา นออกเสยี งมีลกั ษณะอยา งไร
………………………………………………………………………………………………………………………….……
…………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………….……………
3. จงยกตวั อยางการอานออกเสยี งทีเ่ ปน ทางการมา 5 ตัวอยาง

…………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………….…………………………
………………………………………………………………………….…………………………………………….………
กจิ กรรมท่ี 2 การจับใจความสําคญั คอื การอา นอยางไร

…………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………..………
กจิ กรรมท่ี 3 สื่ออิเล็กทรอนิกสชวยใหเกดิ การเรียนรูตลอดชีวิตไดแ กอะไรบา ง
…………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………..……………………
กิจกรรมที่ 4 การอา นอยา งไร จึงจะเรียกวา เปนการอานวเิ คราะหว ิจารณ
…………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………….…………………………………
กิจกรรมที่ 5 ผอู านทดี่ ี ควรมมี ารยาทอยา งไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………….………………….……………

52 | ห น้ า

บทท่ี 4 การเขยี น

สาระสาํ คญั

การเขียน เปนทกั ษะสําคัญหนง่ึ ในทกั ษะท้งั สขี่ องรายวิชาภาษาไทย คอื การฟง อาน เขยี น และ
พดู การเขียนหนงั สอื ใหไ ดด จี ะเปน พนื้ ฐานในการเรยี นรู และการนาํ เสนอผลการเรียนรใู นเร่อื งตาง ๆ ได
ดี ทําใหค วามรขู ยายไปอยา งกวางขวาง ผเู รยี นจึงควรไดร ูจกั และฝก ฝนการเขยี นประเภทตา ง ๆ

ผลการเรยี นทคี่ าดหวัง ผเู รียนสามารถ

1. เลือกใชภาษาในการนาํ เสนอตามรปู แบบของงานเขยี นประเภทรอยแกว และ
รอยกรอง ไดอยางสรางสรรค

2. ใชแผนภาพความคดิ จัดลาํ ดบั ความคิดกอนการเขียน
3. แตงบทรอ ยกรอง ประเภทกลอนส่ี กลอนสภุ าพ
4. เขยี นบทรอยแกว ประเภทประวัตติ นเอง อธบิ ายความ ยอความ ขาว
5. เขียนรายงานการคน ควา สามารถอา งองิ แหลงความรูไ ดถ กู ตอ ง
6. กรอกแบบรายการตา ง ๆ
7. ปฏิบตั ติ นเปน ผมู มี ารยาทในการเขียน และการจดบันทกึ อยา งสมา่ํ เสมอ

ขอบขายเนอ้ื หา

เรือ่ งที่ 1 หลักการเขียน การใชภ าษาในการเขียน
เรอื่ งท่ี 2 หลกั การเขยี นแผนภาพความคดิ
เรื่องที่ 3 การเขียนเรยี งความและยอความ
เรือ่ งที่ 4 การเขยี นเพอ่ื การส่อื สาร
เรื่องท่ี 5 การสรางนสิ ยั รักการเขยี นและการศกึ ษาคน ควา

ห น้ า | 53

เร่อื งท่ี 1 หลักการเขยี น การใชภ าษาในการเขียน

หลักการเขียน

การเขยี นเพือ่ สื่อความหมายใหผ ูอนื่ เขา ใจตามตอ งการนั้น มคี วามจําเปนตองระมัดระวงั ใหมาก
เกยี่ วกบั การใชภาษา ควรใชถ อ ยคาํ ท่ีคนอาน อา นแลว เขาใจทนั ที เขียนดวยลายมือทชี่ ัดเจนอานงา ยเปน
ระเบียบและผูเขียนจะตองใชภาษาใหถูกตองตามหลักการเขียน ใชคําใหเหมาะสมกับกาลเทศะและ
บคุ คลดวย จงึ จะถอื วา ผูเขียนมีหลกั การใชภาษาไดด มี ีประสทิ ธภิ าพ

การเขยี นมีหลกั ทค่ี วรปฏิบัติดังตอไปน้ี
1. เขยี นใหช ัดเจน อานงา ย เปนระเบียบ
2. เขยี นใหถ กู ตอ ง ตรงตามตวั สะกด การันต วรรณยุกต
3. ใชถ อ ยคําทีส่ ุภาพ เหมาะสมกบั กาลเทศะ และบคุ คล
4. ใชภ าษาท่งี า ย ๆ ส้นั ๆ กะทดั รัด ส่อื ความหมายเขา ใจไดด ี
5. ใชภ าษาเขยี นท่ีดี ไมค วรใชภาษาพดู ภาษาโฆษณาหรอื ภาษาท่ไี มไดมาตรฐาน
6. ควรใชเ ครื่องหมายวรรคตอนใหถ กู ตอง เชน เวน วรรค ยอหนา ฯลฯ
7. เขียนใหสะอาด
ตัวอยาง
ขอ ความการเขียนชองซายมือมขี อบกพรอ งอยา งไร พรอ มขอ วจิ ารณ

ขอ ความท่เี ขยี น ขอ วจิ ารณ

1. ความรักโคถกึ 1. เขียนไมช ดั เจน อานเขาใจยาก ควรเขยี น
ใหช ัดเจนวา “ความรักเหมอื นโคถกึ ”

2. ชีวติ ของฉันมหี มานํา 2. ใชคําไมสภุ าพในภาษาพูด สนุ ขั

3. หมอเด็กยังไวใ จไมไ ด 3. คําขดี เสนใตเขา ใจยาก ควรเปน
“หมอคนนนั้ ยงั เดก็ อยยู งั ไวใ จไมไ ด

4. คนกนิ กลวย แขกรอ นจนตาเหลอื ก 4. แบงวรรคไมถ กู ควรเปน
“คนกนิ กลวยแขกรอ นจนตาเหลอื ก

5. นายมาเปนไขโ ปงดบั อนาถ 5. ใชส ํานวนส่อื มวลชน ควรแกไ ขเปน
"นายมาถกู ยงิ ถงึ แกก รรมแลว"

54 | ห น้ า

การใชภาษาในการเขยี น

การใชภ าษาในการเขียน มหี ลักการเขยี นดังนี้
1. เขยี นใหอ า นงาย และเขา ใจงา ย
2. เขียนตรงตามตวั สะกด การนั ต วรรณยุกตใหถ กู ตอ ง เชน

พรามณ เขียนผิด ควรเปน พราหมณ
โจษจรรย เขยี นผิด ควรเปน โจษจัน
อฒั จรรย เขียนผิด ควรเปน อฒั จันทร
หนารัก เขยี นผิด ควรเปน นา รัก
โนต เขียนผดิ ควรเปน โนต

3. เขยี นใหไดใ จความชัดเจน ไมว กวน เขาใจยาก เชน

เขามารบั ประทานขาวเย็น ควรแกเ ปน เขามารับประทานขา วมอ้ื เย็น

ท่นี ่ีเสมอ ทนี่ เี่ สมอ

จะทําอะไรก็ทาํ เสียหมด ควรแกเ ปน จะทําอะไรกเ็ สียหายหมด
คนนม้ี อื แขง็ เหลอื เกิน ควรแกเ ปน คนนี้มอื แข็งไมนมุ เลย

4. ใชภาษางาย ๆ สนั้ กะทดั รดั ไดใจความ ไมเ ขียนเยนิ่ เยอ ฟมุ เฟอยเกนิ ความจําเปน เชน

รฐั บาลไดท ําความตกลงเร่ืองขายขา วกับประเทศในยโุ รปแลว (ผดิ )
รัฐบาลตกลงเร่อื งขายขา วกบั ประเทศในยโุ รปแลว (ถกู )
การขัดแยง กันและกันจะนาํ มาซึง่ การแตกความสามัคคี (ผิด)
การขดั แยงกนั ทําใหแ ตกความสามัคคี (ถกู )
ชาวนามีการตกลงกันเร่อื งราคาขาวกับโรงสีแลว (ผดิ )
ชาวนาตกลงเรื่องราคาขา วกบั โรงสีแลว (ถกู )

ห น้ า | 55

5. ใชภ าษาใหถูกตอ งตามแบบแผน หลีกเลยี่ งใชคาํ หรอื สาํ นวนมาปะปนกับภาษาตางประเทศ
หรอื ภาษาท่ีใชในสอื่ มวลชน เชน

เขามสี ไตลในการพูดท่ีเอก็ ไซตมาก (ไมด ี)
เขามีลลี าในการพดู สนุกต่นื เตนมาก (ดี)
เธอไปกรงุ เทพฯ โดยรถทวั รป รบั อากาศ (ไมด ี)
เธอโดยสารรถประจาํ ทางปรบั อากาศไปกรุงเทพฯ (ด)ี
กจิ การคา ของเธอเจงเพราะแชรลม (ไมดี)
กจิ การคาเธอลม เพราะมีปญ หาเงินนอกระบบ (ดี)

6. ใชถ อยคําท่ีสภุ าพไพเราะ เหมาะสม มคี วามหมายดี หรือใชภาษาเขียนปนภาษาพดู

ฉันถูกหมาขบหลายแผล (ไมดี)
ฉนั ถกู สนุ ขั กดั หลายแผล (ด)ี
หมทู ่บี านฉันโปรดรําขาวมาก (ไมด ี)
หมูท่บี า นฉนั ชอบรําขาวมาก (ดี)
พ่สี าวฉนั ออกลูกทโ่ี รงพยาบาล (ไมด ี)
พส่ี าวฉันคลอดลูกทโ่ี รงพยาบาล (ด)ี

56 | ห น้ า

เร่ืองที่ 2 หลกั การเขียนแผนความคิด

แผนภาพความคิด เปนการแสดงความรูความคิด โดยใชแผนภาพในการนําความรูหรือ
ขอเทจ็ จรงิ มาจัดเปน ระบบ สรา งเปน ภาพหรือจัดความคดิ รวบยอด นาํ หัวขอเรอื่ งใดเรอื่ งหนงึ่ มาแยกเปน
หัวขอยอยและนํามาจัดลาํ ดบั เปนแผนภาพ เชน เม่อื ผเู รยี นอานหนังสอื เร่ืองใดเรอื่ งหนง่ึ หรือฟง เรอ่ื งใด
เร่อื งหนงึ่ มา ก็นาํ ขอ มลู ความรูเรอ่ื งราวตาง ๆ มาจัดเปนแผนภาพความคดิ เราอาจใชแ ผนภาพความคิด
ในการเตรียมการอา น เตรียมการเขยี นใชพฒั นาความรูในการใหเ หตุผล ใชจ ัดขอบเขตสิ่งท่จี ะตองเขยี น
หรือใชรวบรวมความรทู ีต่ องการ

แนวคดิ เกยี่ วกบั แผนภาพความคดิ

1. เราใชแผนภาพความคิด เม่ือเราพบวาขอมูล ขาวสารตาง ๆ อยูกระจัดกระจาย นําขอมูล
ตางๆ น้ันมาเชื่อมโยงเปน แผนภาพความคดิ ทําใหเ กดิ ความเขา ใจเปนความคิดรวบยอด

2. แผนภาพความคดิ จะจัดความคดิ ใหเปน ระบบ รวบรวมและจดั ลําดับขอเทจ็ จรงิ นาํ มาจัดให
เปน หมวดหมู หรอื ทีเ่ รียกวา แผนภาพเปนความคิดรวบยอดทช่ี ดั เจนจนเกิดเปน ความรใู หม

3. การนําความคดิ หรอื ขอ เทจ็ จริงมาเขยี นเปน แผนภาพ จะทําใหจําเรื่องราวตาง ๆ ไดงายขึ้น
ดีกวาการอานตําราหลาย ๆ เร่ือง เพราะหนังสือบรรยายดวยตัวอักษร แตแผนภาพจัดเรื่องราวเปน
เคร่อื งหมาย หรือเปนภาพ ทําใหจําเร่อื งราวไดแมนยําข้นึ

4. แผนภาพความคิดจะใชภาษาผังท่ีเปนสัญลักษณและคําพูดมาสรางแผนภาพ ทําใหเกิด
การเรยี นรดู ว ยตนเอง เปน การเรียนโดยยดึ ผูเรียนเปน สาํ คญั การจัดทาํ แผนภาพความคดิ ผูเรียนจะตอง
อาศัยการฟง การพดู การอาน การเขียน และใชความคดิ รวบรวมความรู ขอเท็จจริง มาจัดทําแผนภาพ
เปนการเสรมิ แรงการเรยี น ทาํ ใหก ารเรียนรมู ีความหมายมากขึน้

ห น้ า | 57

รปู แบบของแผนภาพความคิด มี 4 รปู แบบ คือ
1. รูปแบบการจัดกลุม รูปแบบน้ีจะยึดความคิดเปนสําคัญ และจัดกลุมตามลําดับความคิด

รวบยอด ยอ ยเปน แผนภาพ มกั เขยี นเปน แผนภาพน่งิ

ตวั อยางเร่ืองสิง่ แวดลอม

58 | ห น้ า

2. รูปแบบความคิดรวบยอด รูปแบบน้ีจะมีความคิดหลักและมีขอเท็จจริงท่ีจัดแบงเปน
ระดับชั้นมาสนับสนุนความคิดหลัก เชน การกลาวถึงลักษณะการบรรยาย การรวบรวมปญหา
การแกป ญ หา การเปรียบเทยี บเปนรปู แบบความคิดรวบยอด ดงั ตวั อยางตอ ไปนี้

การจัดความคดิ

ห น้ า | 59

3. รูปแบบการจัดลําดับ รูปแบบการจัดลาํ ดับตามเหตุการณ การจัดลาํ ดับตาม
กาลเวลา การจัดลําดับการกระทาํ กอ นหลงั หรอื การจัดลําดบั ตามกระบวนการ มกี ารเรม่ิ ตน
และการส้ินสุด ตวั อยางแผนภาพเสนตรงแสดงเหตกุ ารณ

แผนภาพเสนโคง แสดงเหตุการณ

60 | ห น้ า

4. รปู แบบวงกลม รูปแบบนเ้ี ปน ชุดเหตกุ ารณภายใตกระบวนการไมม จี ดุ เร่มิ ตน และจุดสิ้นสุด
แตเปนเหตกุ ารณท่เี ปน ลาํ ดับตอ เนือ่ งกนั ดงั ตัวอยา งเชน

แผนภาพวงกลม

ห น้ า | 61

ประโยชนของแผนภาพความคดิ
1. ชว ยบูรณาการความรเู ดิมกับความรูใหม
2. ชวยพฒั นาความคดิ รวบยอดใหช ดั เจนขนึ้
3. ชว ยเนน องคประกอบลําดบั ของเรื่อง
4. ชว ยพัฒนาการอา น การเขยี นและการคดิ
5. ชวยวางแผนในการเขียน และการปรับปรงุ การเขียน
6. ชว ยวางแผนการสอนของครู โดยการสอนแบบบูรณาการเนื้อหา
7. ชวยในการอภปิ ราย
8. เปนเครื่องมือประเมินผล

วิธีการสรา งแผนภาพความคิด
การสรางแผนภาพความคิด หรือการออกแบบแผนภาพความคิดเปนการสรางสรรคอยาง

หนึ่ง ผูสรางแผนภาพความคิดอาจใชงานศิลปะเขามาชวย โดยวาดภาพประกอบใหแผนภาพ
ความคิดนาสนใจและทําใหเห็นภาพของแผนภาพชัดเจนข้ึน การสรางแผนภาพความคิดจะนํามาใช
ในการทาํ งานรวมกันรวมคิดรวมทํา รวมกันแลกเปลี่ยนความรูและประสบการณทําใหผูเรียนรูจัก
การวางแผนงาน การกาํ หนดงานที่จะตองปฏิบัติ และเรียนรกู ารทาํ งานรวมกบั ผูอื่น

ข้ันตอนการสรา งแผนภาพความคิด มีดงั น้ี
1. กําหนดช่อื เร่อื ง หรือความคดิ รวบยอดสําคญั
2. ระดมสมองทเี่ กย่ี วขอ งกับช่อื เรอื่ ง หรือ ความคดิ รวบยอดสาํ คัญเปนคําหรือวลนี ัน้ ๆ แลวจด

บนั ทึกไว
3. นําคําหรอื วลีทจ่ี ดบันทกึ ที่เกย่ี วเนือ่ งสัมพันธก ันมาจดั กลมุ แลว ต้ังช่ือกลุมคําเปนหัวขอยอย

และเรียงลาํ ดับกลมุ คาํ
4. ออกแบบแผนภาพความคิด โดยเขียนช่ือเร่ืองไวกลางหนากระดาษ แลววางช่ือกลุมคํา

หัวขอยอ ย รอบชอ่ื เร่อื ง นําคาํ ท่ีสนับสนนุ วางรอบช่ือกลมุ คาํ แลวใชเสนโยงกลุมคําใหเห็นความสัมพันธ
เสนโยงอาจเขยี นคาํ อธิบายได กลุมคําอาจแสดงดวยภาพประกอบ

62 | ห น้ า

ตวั อยา งเร่ืองสงิ่ มีชวี ิตในบงึ

สรุป แผนภาพความคิด เปนการแสดงความรู ความคิดโดยใชแผนภาพเปนวิธีการนําความรู หรือ
ขอเทจ็ จริงมาจดั เปน ระบบสรางเปน ภาพ หรอื จดั ความคดิ รวบยอดนําหวั ขอ เร่อื งใด เรื่องหนงึ่ มาแยกเปน
ขอยอย และนํามาจัดลําดับเปนแผนภาพ

รูปแบบแผนภาพความคิด มี 4 รูปแบบ คือ (1) รูปแบบการจัดกลุม (2) รูปแบบความคิด
รวบยอด (3) รปู แบบการจัดลําดับ (4) รูปแบบวงกลม

ห น้ า | 63

เรือ่ งที่ 3 การเขียนเรียงความและยอความ

การเขียนเรียงความ คือ การนําเอาคํามาประกอบแตงเปนเร่ืองราวอาจใชวิธีการเขียนหรือ
การพูดก็ได การเขียนจดหมาย รายงาน ตอบคําถาม ขาว บทความ ฯลฯ อาศัยเรียงความเปนพื้นฐาน
ท้ังน้ัน ดังนั้นการเรียงความจึงมีความสําคัญ ชวยใหพูดหรือเขียนในรูปแบบตาง ๆ ไดดี นอกจากน้ี
กอนเรียงความเราตอ งคนควา รวบรวมความรู ความคิดและนํามาจัดเปนระเบียบ จึงเทากับเปนการฝก
สิง่ เหลานี้ใหก ับตนเองไดอยางดอี กี ดว ย

องคป ระกอบของเรียงความ

การเรียงความเร่อื งหน่ึงประกอบดวยสวนสําคัญ 3 สว นคอื สวนนํา สว นเนื้อเร่อื งและสว นทา ย
หรอื สรุป สวนนํา เปนสว นท่แี สดงประเดน็ หลกั หรอื จุดประสงคของเรื่อง สว นเนื้อเร่ือง เปนสวนขยาย
โครงเรื่องที่วางเอาไว สวนน้ีจะประกอบดวยยอหนา สวนทาย เปนการเนนยํ้าประเด็นหลักหรือ
จดุ ประสงค

1. การเขยี นสวนนํา ดงั ไดกลาวแลววาสวนนําเปนสวนท่ีแสดงประเด็นหลักหรือจุดประสงค
ของเรื่อง ดังน้ันสวนนาํ จึงเปนการบอกผูอานถึงเนื้อหาท่ีนําเสนอและยังเปนการเราความสนใจให
อยากอา นเร่อื งจนจบ การเขียนสวนนําเพื่อเราความสนใจนั้นมีหลายวิธี ขึ้นอยูกับผูเขียนจะเลือกตาม
ความเหมาะสม อาจนําดวยปญหาเรงดวน หรือหัวขอที่กําหนดเปนเร่ืองท่ีนาสนใจ การเลาเรื่องท่ีจะ
เขียน การยกคําพูดขอความ หรือสุภาษิตท่ีนาสนใจ บทรอยกรอง การอธิบายความเปนมาของเร่ือง
การบอกจุดประสงคข องการเขียน การใหคาํ จาํ กัดความของคาํ สาํ คัญของเร่ืองท่ีจะเขียน แรงบันดาลใจ
ฯลฯ ดงั ตวั อยาง เชน

1.1 นาํ ดวยปญ หาเรงดวน หรือหัวขอ ท่ีกาํ ลังเปน เร่ืองทน่ี าสนใจ
เดยี๋ วนไี้ มวา จะเดนิ ไปทางไหน จะพบกลุมสนทนากลุมยอ ย ๆ วสิ ชั ณากันดว ยเรอ่ื ง “วสิ ามญั
ฆาตกรรม” ในคดียาเสพติด บางก็วาเปนความชอบธรรม บางก็วารุนแรงเกินเหตุ หลายคน จึงตั้ง
คาํ ถามวา ถาไมท ําวสิ ามญั ฆาตกรรมกรณยี าเสพตดิ แลวจะใชวิธกี ารชอบธรรมอันใดทจี่ ะลางบางผูคา
หรือบอ นทาํ ลายเหลานล้ี งไดในเวลารวดเรว็
1.2 นาํ ดวยคําถาม
ถาถามหนุมสาวทั้งหลายวา “อยากสวย” “อยากหลอหรือไม” คาํ ตอบที่ไดคงจะเปน
คาํ ตอบเดียวกันวา “อยาก” จากน้ันก็คงมีคําถามตอไปวา แลวทาํ อยางไรจึงจะสวยจะหลอไดสมใจ
ในเม่ือธรรมชาติของหลาย ๆ คนก็มิไดหลอมาตั้งแตเกิด จะตองพึ่งพาเครื่องสาํ อาง หรือการ
ทําศลั ยกรรมหรอื ไรแลวจึงจะสวยหลอ แบบธรรมชาติไดหรือไม ถาได จะทาํ อยางไร

64 | ห น้ า

1.3 นําดว ยการเลา เร่อื งทจี่ ะเขียน

งานมหกรรมหนังสือนานาชาติจัดข้ึนเปนประจําในวันพุธแรกของเดือนตุลาคมของ

ทกุ ปท ่ีเมอื งแฟรงเฟรต ประเทศเยอรมณี สาํ หรับป พ.ศ. 2545 นบั เปนคร้ังท่ี 53

1.4 นาํ ดว ยการยกคาํ พดู ขอความ สภุ าษิตที่นา สนใจ

ในอดีตเมื่อกลาวถึงครูหรือคนหาคุณคาของครู หลายคนมักนึกถึงความเปรียบ

ทง้ั หลายที่มกั ไดย ินจนชนิ หู ไมวาจะเปน ความเปรียบท่วี า “ครคู ือเรือจาง” “ครูคอื ปูชนียบคุ คล” หรอื

“ครูคอื ผูใ หแสงสวางทางปญ ญา” ฯลฯ ความเปรยี บเหลา น้ีแสดงใหเ ห็นถงึ คุณคา ความเสียสละและการ

เปนนักพัฒนาของครู ในขณะที่ปจจบุ นั ทศั นคตใิ นการมองครูเปลี่ยนไป หลายคนมองวาครูเปนแคผูที่มี

อาชพี รับจา งสอนหนังสอื เทา นัน้ เพราะครสู มัยน้ีไมไ ดอบรมความประพฤติใหแกผูเรียนควบคูไปกับการ

ใหความรู ไมไ ดเ ปนตวั อยางทด่ี ีจะเรียกวา “แมพ มิ พของชาติ” อาชีพครูเปนอาชีพตกต่ํา และดูตอยตํ่า

ในสายตาของคนท่ัวไป ทั้ง ๆ ที่อาชีพน้ันเปนอาชีพที่ตองทําหนาที่ในการพัฒนาคนที่จะไปเปนกําลัง

สําคัญของการพัฒนาประเทศชาติตอไป จึงถึงเวลาแลวท่ีจะตองมีการทบทวนหนาท่ี คุณธรรมและ

อดุ มการณของความเปน ครกู ันเสยี ที

1.5 นําดว ยบทรอ ยกรอง

“ความรกั เปนเหมือนโรคา บันดาลตาใหม ืดมน

ไมย นิ และไมย ล อปุ สรรคใดใด

ความรกั เหมือนโคถึก กําลงั คกึ ผขิ ังไว

ก็จะโลดจากคอกไป บย อมอยู ณ ทข่ี งั

ถา ปลอยไว กด็ งึ ไปดวยคําส่ัง

ยิ่งหามก็ย่ิงคลัง่ บหวนคิดถงึ เจบ็ กาย”

จากบทละครเรือ่ ง “มทั นพาธา” ของพระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลาเจา อยูหวั

อธบิ ายความหมายของบทรอยกรอง

ความรกั เปนอารมณธรรมชาตอิ ยา งหน่ึงของมนุษย มที ัง้ ประโยชนแ ละเปนโทษในเวลาเดียวกัน
ความรักท่อี ยูบนพน้ื ฐานของความบริสทุ ธิ์ จรงิ ใจและความมีเหตุผล ยอมนาํ พาเปน เจาของความรกั ไป
ในทางทถ่ี กู ท่คี วร แตถาความรกั นั้นเปนเพียงอารมณอ ันเกิดจากความหลงใหลในรปู กายภายนอก ความ
ชืน่ ชมตามกระแสและความหลงผิด ความรกั ก็จะกอใหเ กดิ โทษ จึงเปนผูเปรียบเปรยวา "ความรักทําให
คนตาบอด" ดวยพระราชนพิ นธของพระบาทของสมเด็จพระมงกุฏเกลา เจาอยูหัวในเรื่องมัทนพาธา ซึ่งได
แสดงใหเหน็ ภาพของความลมุ หลง อันเกดิ จากความรกั และทุกขสาหัสอันเกิดจากความรักไดเปนอยางดี
สมกบั ชอ่ื เรอ่ื ง มทั นพาธา ที่แปลวา ความบาดเจบ็ แหงความรกั

ห น้ า | 65

1.6 นําดวยการอธบิ ายความเปนมาของเรอื่ ง
เมอ่ื สปั ดาหท ่ีแลว ขาพเจา ไดไปรว มงานพระราชทานเพลิงศพของผูใหญทา นหนึ่ง ทานเปน
อดีตรองผวู า ราชการจงั หวัด จังหวัดหนงึ่ ทางภาคเหนอื ศพของทานไดรับการบรรจุไวในโกศ ขา พเจาจึง
ไดคนควา เร่ืองนีม้ าเปน ความรแู กผ สู นใจทั่วไป
1.7 นาํ ดว ยการบอกจดุ ประสงคข องการเขียน

สามกก ที่ผูอานทั้งในประเทศจีนและในประเทศไทยรูจักกันดีนั้นเปนนวนิยาย
สวนสามกก ท่เี ปน ประวตั ศิ าสตรม คี นรูนอยมาก แมแตคนจีนแผน ดนิ ใหญท ่ไี ดเ รยี นจบขั้นอุดมศึกษาแลว
ก็มนี อ ยคนมากทร่ี บู ทความเรอ่ื งนีจ้ ึงขอเริ่มตนจากสามกก ทีเ่ ปน ประวตั ิศาสตร

2. การเขยี นสวนเนือ้ เร่อื ง
เนอ้ื เร่ืองเปนสว นสาํ คัญท่ีสดุ ของเรียงความ เพราะเปน สว นที่ตอ งแสดงความรู ความคดิ เหน็

ใหผูอานทราบตามโครงเร่ืองท่ีวางไว เนื้อเร่ืองที่ตองแสดงออกถึงความรูความคิดเห็นอยางชัดเจน
มีรายละเอียดท่เี ปนขอเทจ็ จรงิ และมีการอธิบายอยางเปนลาํ ดับขนั้ มีการหยิบยกอทุ าหรณ ตัวอยาง
ทฤษฎี สถิติ คํากลา วหลักปรัชญา หรือสภุ าษิต คาํ พงั เพย ฯลฯ สนบั สนนุ ความรูค วามคิดเหน็ นั้น

เน้ือเร่ืองประกอบดวยยอหนาตาง ๆ หลายยอหนาตามสาระสําคัญท่ีตองการกลาวคือ
เปรียบกันวาเนือ้ เรื่องเหมือนสว นลาํ ตัวของคนทีป่ ระกอบดว ยอวยั วะตา ง ๆ แตร วมกันแลวเปนตัวบุคคล
ดงั นั้นการเขียนเน้ือเร่ืองถึงจะแตก แยกยอยออกไปอยางไร จะตองรักษาสาระสําคัญใหญของเร่ืองไว
การแตกแยกยอ ยเปนเรอื่ ง ๆ ไปเพ่ือประกอบสาระสาํ คญั ใหญของเร่ืองซึ่งเปรียบเหมือนตัวคนสมบูรณ
ในแตละยอหนาประกอบดวยสวนที่เปนเนื้อหา คือ ความรูหรือความคิดเห็นท่ีตองการแสดงออก
การอธบิ ายและอุทาหรณค อื การอา งตัวอยาง ฯลฯ ทส่ี นบั สนนุ ใหเห็นจรงิ เหน็ จงั สว นสํานวนโวหารจะใช
แบบใดบาง โปรดศกึ ษาเร่อื งสํานวนโวหารในหวั ขอ ตอ ไปน้ี

ตวั อยา งการเขยี นเนอื้ เรือ่ งแตล ะยอหนา

“อํา” เปนเด็กชายตัวเล็ก ๆ อายุแค 12 ป คร้ังท่ีลืมตาดูโลกไดแค 3 เดือน แมก็ทอดทิ้งไป
สว นพอน้ันไมเ คยรักและหวงใยอาํ เลย สิ่งเดียวท่มี คี า ท่สี ุดในชีวิตของพอ คอื เฮโรอนี ยา ลงุ ปา และอา
ตอกยํา้ ใหอ าํ ฟงเสมอวา “อยาทําตัวเลว ๆ เหมือนพอแกที่ติดเฮโรอีนจนตาย” หรือ “กลัวแกจะเจริญ
รอยตามพอเพราะเช้ือมันไมท้ิงแถว ติดคุกหัวโตเหมือนพอแก” คําพูดสารพัดท่ีอํารับฟงมาตั้งแตจํา
ความไดซง่ึ อาํ พยายามคดิ ตามประสาเดก็ วา “เปนคําสัง่ สอน”...หรือ “ประชดประชนั ” กันแน

ช่ือเสยี งวงศตระกูลของอําถาเอยไปหลายคนคงรูจัก เพราะเปนพวกเศรษฐีท่ีคาขายเปนหลัก
อยใู นเขตอําเภอเมือง จังหวดั ชลบุรี มาหลายชัว่ อายคุ นแลว ปกู บั ยามลี ูกท้งั หมด 9 คน ทกุ คนรํ่าเรียน
กนั สงู ๆ และออกมาประกอบธุรกิจรํา่ รวยเปน ลาํ่ เปน สัน ยกเวนพอ ของอํา ซึ่งไมย อมเรยี น..ประพฤติตน
เสียหาย....คบเพ่ือนชั่ว ...จนติดเฮโรอีน และฉีดเขาเสนจนตายคาเข็ม ผลาญเงินปูกับยาไปมากมาย

66 | ห น้ า

ยงั ทําใหชื่อเสยี งวงศตระกลู ปน ป ปูชํา้ ใจจนตาย สวนยาอกตรมจมทุกขอยูจนทุกวันนี้ พวกลุง...ปาและ
อาตา งพากันเกลียดพอมากและก็ลามมาถึง “อาํ ” ซ่ึงเปรียบเสมือน “ลกู ตมุ ” ถว งวงศตระกลู

คัดจากจันทิมา “ไอเลือดช่ัว” คอลัมน อนาคตไทย ฐานสัปดาหวิจารณ ฉบับที่ 61 (71) วันที่
9-15 มิ.ย. 37 หนา 88 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน หลักสูตรการศึกษานอกโรงเรียน พ.ศ.2530
จากเน้อื หาในยอหนา ตา งๆ ขางตน จะแบง เปนสว นตาง ๆ ไดด ังนี้

1. สวนท่ีเปน เนื้อหา
2. สว นทเี่ ปน การอธบิ าย
3. สว นทเ่ี ปนอุทาหรณ หรือการอา งอิง
4. สว นท่เี ปน ตวั อยา ง

3. การเขียนสว นทา ยหรือสรปุ
สวนทายหรือสวนสรุป หรือสวนปดเร่ือง เปนสวนที่มีความสัมพันธเก่ียวเน่ืองกับเน้ือหา

สวนอื่น ๆ โดยตลอด และเปนสวนท่ีบอกผูอานวาเร่ืองราวที่เสนอมาน้ันไดสิ้นสุดลงแลว วิธีการเขียน
สวนทายมีดวยกันหลายวธิ ี เชน เนนยํ้าประเด็นหลัก เสนอคําถามหรือขอผิด สรุปเร่ือง เสนอความคิด
ของผูเขียน ขยายจุดประสงคของผูเขียน หรือสรุปดวยสุภาษิต คําคม สํานวนโวหาร คําพังเพย
อางคาํ พูดของบุคคล อา งทฤษฎหี ลักภาษา หรือคําสอนและบทรอ ยกรอง ฯลฯ

3.1 เนน ย้ําประเดน็ หลกั
หนว ยงานของเราจะทาํ หนา ที่เปน ผใู หบ ริการทรี่ วดเร็ว ท่ีซือ่ ตรง โปรง ใส ตรวจสอบได

เชน นีต้ อไป แมก ารปฎิรูประบบราชการจะสง ผลใหห นว ยงานของเรา ตองเปลย่ี นสังกดั ไปอยา งไรกต็ าม
น่ันเพราะเราตระหนักในบทบาทของเราในฐานะ “ขาราชการ” แมวาปจจุบันเราจะถูกเรียกวา
“เจาหนาทข่ี องรัฐ” กต็ าม

3.2 เสนอคาํ ถามหรอื ขอ คดิ ใหผูอานใชวิจารณญาณ
เคราะหก รรมทง้ั หลายอันเกดิ กบั ญาติพนี่ อ งและลกู หลานของผคู นในบา นเมืองของเรา

อันเกิดจากความอํามหิตมักไดของผูคายาเสพติดเหลานี้ เปนส่ิงสมควรหรือไมกับคําวา “วิสามัญ
ฆาตกรรม” ทานทีอ่ า นบทความนี้จบลง คงมีคําตอบใหกบั ตวั เองแลว

3.3 สรุปเร่อื ง
การกินอาหารจืด รางกายไดรับเกลือเล็กนอย จะทําใหชีวิตจิตใจ ราเริงแจมใส

นา้ํ หนกั ตวั มาก ๆ จะลดลง หวั ใจไมตองทําหนา ทห่ี นกั ไตทาํ หนาท่ไี ดด ี ไมม บี วมตามอวยั วะตา ง ๆ และ
เปนการปองกนั โรคหวั ใจ โรคไต หลอดเลือดแขง็ ความดนั โลหิตสงู ขออกั เสบ แผลกระเพาะอาหารและ
จะมีอายยุ ืนดวย

3.4 เสนอความเหน็ ของผเู ขยี น
การปฏริ ปู กระบวนการเรยี นการสอนประสบผลสําเรจ็ หรือไม คงไมใชแคการเขา รับ

การอบรมเทคนคิ วธิ กี ารสอนเพยี งอยา งเดยี ว ยังข้นึ อยกู บั องคประกอบอนั สาํ คัญยง่ิ กวาสง่ิ ใดคอื

ห น้ า | 67

ตัวผูส อนมใี จและพรอมจะรบั ความเปลี่ยนแปลงทเ่ี กดิ ขน้ึ พรอ ม ๆ กบั ความกระตือรอื รน ทจ่ี ะพฒั นา

ตนเองเพ่ือกลุมเปา หมายคือผเู รยี น การปฏิรปู กระบวนการเรยี นการสอนกจ็ ะประสบความสาํ เร็จได

3.5 ขยายจดุ ประสงคของผเู รียน ควบคูกับบทรอยกรอง

แมอาหารการกนิ และการออกกําลังกายจะทําใหคนเราสวยงามตามธรรมชาติอยูได

นานแตวันหนงึ่ เราก็คงหนไี มพ น วัฏจักรธรรมชาติ คือ การเกิด แก เจ็บและตาย รางกายและความงาม

ก็คงตองเสือ่ มส้นิ ไปตามกาลเวลา ฉะนัน้ กอ็ ยา ไปยึดตดิ กบั ความสวยงามมากนัก แตควรยึดถือความงาม

ของจิตใจเปนเรอ่ื งสาํ คญั เพราะสิง่ ที่จะเหลอื อยูในโลกนีเ้ มื่อความตายมาถงึ คอื ความดี ความชั่วของเรา

เทานั้นดังพระราชนิพนธของพระมหาสมณเจากรมพระปรมานุชิตชิโนรส ในเร่ืองกฤษณาสอนนอง

คาํ ฉนั ทวา

พฤษภกาษร อกี กุญชรอนั ปลดปลง

โททนตเ สนงคง สําคัญหมายในกายมี

นรชาติวางวาย มลายส้นิ ทัง้ อินทรีย

สถิตท่วั แตช ว่ั ดี ประดับไวใ นโลกา

แนวทางการเขยี นเรยี งความ

เม่ือไดศึกษาองคประกอบอันจะนําไปใชในการเขียนเรียงความแลว กอนที่จะลงมือเขียน
เรยี งความผเู ขียนตองเลอื กเร่ืองและประเภทของเรือ่ งทจี่ ะเขียน หลังจากนั้นจึงวางโครงเรื่องใหชัดเจน
เพื่อเรียบเรียงเน้ือหา ซึ่งการเรียบเรียงเน้ือหานี้ตองอาศัยความสามารถในการเขียนยอหนาและการ
เชอ่ื มโยงยอหนาใหเ ปน เน้ือหาเดียวกนั

1. การเลือกเรื่อง
ปญ หาสาํ คัญประการหนึ่งของผูเขียนทีไ่ มส ามารถเรม่ิ ตนเขียนได คือไมทราบจะเขียนเร่ือง

อะไรวิธีการแกปญหาดังกลาวคือ หัดเขียนเรื่องใกลตัวของผูเขียน หรือเร่ืองท่ีผูเขียนมีประสบการณดี
รวมทั้งเรื่องที่ผเู ขียนมคี วามรเู ปน อยา งดี หรือเขยี นเรอื่ งที่สนใจ เปนเร่อื งราวหรอื เหตกุ ารณท ่ีกาํ ลงั อยูใน
ความสนใจของบคุ คลทั่วไป นอกจากน้ผี เู ขยี นอาจพจิ ารณาองคป ระกอบ 4 ประการ เพื่อเปนแนวทางใน
การตดั สนิ ใจเลอื กเรื่องท่ีจะเขยี นดังตอ ไปน้ี

1.1 กลุมผูอาน ผูเขียนควรเลือกเขียนเร่ืองสําหรับกลุมผูอานเฉพาะและควรเปนกลุม
ผอู า นทผี่ ูเ ขยี นรจู กั ดี ท้งั ในดา นการศึกษา ประสบการณ วยั ฐานะ ความสนใจและความเช่อื

1.2 ลักษณะเฉพาะของเร่ือง เรื่องที่มีลักษณะพิเศษจึงดึงดูดใจใหผูอานสนใจ ลักษณะ
พิเศษดงั กลาว ไดแก ความแปลกใหม ความถูกตอ งแมนยาํ แสดงความมีรสชาติ

1.3 เวลา เรื่องท่ีจะเขียนหากเปนเรื่องที่อยูในกาลสมัยหรือเปนปจจุบัน จะมีผูสนใจ
อานมากสวนเร่ืองท่พี นสมัยจะมผี อู า นนอ ย นอกจากนี้การใหเ วลาในการเขยี นของผเู ขยี นก็เปนส่ิงสําคัญ
ถาผูเขียนมีเวลามาก ก็จะมีเวลาคนควาหาขอมูลเพ่ือการเขียนและการอางอิงไดมาก ถาผูเขียนมี
เวลานอ ย การเขยี นดวยเวลาเรง รัดกอ็ าจทําใหเน้อื หาขาดความสมบูรณดวยการอางอิง

68 | ห น้ า

1.4 โอกาส การเขยี นเร่ืองประเภทใดขึน้ อยกู ับโอกาสดว ย เชน ในโอกาสเทศกาลและวัน
สาํ คญั ทางราชการและทางศาสนา ก็เลือกเขยี นเรื่องที่เก่ียวกับโอกาสหรอื เทศกาลนั้น ๆ เปนตน

2. ประเภทของเร่ืองทจี่ ะเขยี น
การแบง ประเภทของเรอื่ งทีจ่ ะเขียนนั้นพจิ ารณาจากจดุ มงุ หมายในการเขยี น ซง่ึ แบงไดเปน

3 ประเภทคือ
2.1 เรื่องท่ีเขียนเพื่อความรู เปนการถายทอดความรูและประสบการณรวมท้ังหลักการ

ตลอดจนขอเทจ็ จรงิ ตา ง ๆ ใชวิธเี ขียนบอกเลาหรอื บรรยายรายละเอียด
2.2 เร่ืองที่เขียนเพ่ือความเขาใจ เปนการอธิบายใหผูอ่ืนเขาใจความรู หลักการ หรือ

ประสบการณตา ง ๆ การเขยี นเพือ่ ความเขา ใจมักควบคูไ ปกบั การเขยี นเพื่อใหเกิดความรู
2.3 การเขียนเพอ่ื โนมนาวใจ เปน การเขยี นเพอ่ื ใหผอู านเช่ือถือและยอมรับ เพื่อใหผูอาน

ไดร ับอรรถรสทางใจ ใหส นุกสนาน เพลดิ เพลนิ ไปกบั ขอเขยี นน้ัน ๆ
3. การวางโครงเรื่องกอนเขียน
การเขยี นเรียงความเปนการเสนอความคดิ ตอผอู า น ผเู ขยี นจงึ ตองรวบรวมเลอื กสรรและจดั

ระเบยี บความคิด แลวนํามาเรียบเรียงเปนโครงเร่ือง การรวบรวมความคิดอาจจะรวบรวมขอมูลจาก
ประสบการณของผูเขียนเอง นําสวนที่เปนประสบการณตรงและประสบการณทางออม ซ่ึงเกิดจาก
การฟง การอาน การพูดคุย ซักถาม เปนตน เม่ือไดขอมูลแลวก็นําขอมูลนั้นมาจัดระเบียบความคิด
โดยจัดเรียงลําดับตามเวลา เหตุการณ ความสําคัญและเหตุผล แลวจึงเขียนเปนโครงเร่ือง เพื่อเปน
แนวทางใหงานเขียนอยูในกรอบ ไมออกนอกเร่ือง และสามารถนํามาเขียนขยายความเปนเน้ือเร่ืองที่
สมบูรณ เขียนช่ือเรื่องไวกลางหนากระดาษ เลือกหัวขอท่ีนาสนใจที่สุดเปนคํานํา และเลือกหัวขอ
ทน่ี าประทับใจที่สดุ เปน สรปุ นอกน้ันเปน เนอื้ เร่ือง

3.1 ชนดิ ของโครงเรอ่ื ง
การเขยี นโครงเรอ่ื งนยิ มเขยี น 2 แบบ คอื โครงเรือ่ งแบบหัวขอและโครงเรื่องแบบประโยค
3.1.1 โครงเรอื่ งแบบหวั ขอ เขยี นโดยใชค ําหรอื วลีสั้นๆ เพ่ือเสนอประเดน็ ความคดิ
3.1.2 โครงเรอ่ื งแบบประโยค เขียนเปน ประโยคที่สมบูรณ โครงเรอื่ งแบบน้ี

มรี ายละเอยี ดท่ีชัดเจนกวาโครงเรอื่ งแบบหัวขอ
3.2 ระบบในการเขยี นโครงเร่ือง
การแบง หัวขอ ในการวางโครงเร่ืองอาจแบง เปน 2 ระบบคอื
3.2.1 ระบบตัวเลขและตัวอกั ษร เปน ระบบที่นิยมใชกันท่ัวไป โดยกําหนดตัวเลข

หรอื ประเด็นหลกั และตัวอกั ษรสาํ หรับประเด็นรอง ดังนี้
1) ................................................................................................
(1) ........................................................................................
(2) ........................................................................................
2) ................................................................................................

ห น้ า | 69

(1) ........................................................................................
(2) ........................................................................................
3.2.2 ระบบตัวเลข เปนการกาํ หนดตวั เลขหลกั เดียวใหกับประเด็นหลักและตัวเลขสอง
หลกั และสามหลกั ใหก บั ประเด็นรองๆ ลงไป ดังนี้
1) ................................................................................................
(1.1) .....................................................................................
(1.2) .....................................................................................
2) ................................................................................................
(2.1) .....................................................................................
(2.2) .....................................................................................
3.3 หลักในการวางโครงเรือ่ ง
หลักในการวางโครงเรื่องนั้นควรแยกประเด็นหลักและประเด็นยอจากกันใหชัดเจน
โดยประเดน็ หลักทุกขอควรมีความสําคัญเทากัน สวนประเด็นยอยจะเปนหัวขอท่ีสนับสนุนประเด็นหลัก
ทงั้ นท้ี กุ ประเด็นตองตอเน่อื งและสอดคลองกัน จึงจะเปนโครงเรอ่ื งทดี่ ี

ตวั อยา งโครงเรอ่ื งแบบหัวขอ

เรอื่ ง ปญ หาการตดิ ยาเสพตดิ ของวยั รนุ ไทย
1. สาเหตุของการตดิ ยาเสพตดิ

ก. ตามเพอ่ื น
ข. การหยา รางของบดิ า มารดา
ค. พอแมไ มมเี วลาใหลูก
ง. การบังคับขูเขญ็
2. สภาพปญหาของการตดิ ยาเสพตดิ ของวยั รุน ไทย
ก. จาํ นวนผตู ดิ ยา
ข. การกอ อาชญากรรม
ค. การคาประเวณี
3. แนวทางการแกไ ขปญ หา
ก. การสรา งภูมติ านทานในครอบครวั
ข. การสรางชมุ ชนใหเขม แข็ง
ค. กระบวนการบาํ บัดรักษาแบบผสมผสาน

70 | ห น้ า

ตัวอยา งโครงเรอ่ื งแบบประโยค

เร่อื ง ปญ หาการตดิ ยาเสพตดิ ของวัยรนุ ไทย
1. สาเหตุของการตดิ ยาเสพตดิ มีหลายสาเหตุท้งั สาเหตทุ เี่ กิดจากตวั เองและจากส่ิงแวดลอม
ก. เสพตามเพ่อื น เพราะความอยากลอง คดิ วา ลองครงั้ เดียวคงไมต ิด
ข. บดิ า มารดา หยา รางกัน ลูกตองอยกู บั ฝายใดฝายหนง่ึ ทาํ ใหร สู ึกวา เหว เหงา และเศรา
ลึก ๆ
ค. พอ แมใ หเ วลากับการทํางานหาเงนิ และการเขาสังคม ไมม เี วลาใหครอบครัว
ง. ในโรงเรียนมีกลุมนักเรียนท่ีทั้งเสพและคายาเสพติดเอง ใชกําลังขมขูบีบบังคับ
ใหซ อื้ ยา
2. สภาพปญหาของการตดิ ยาเสพติดของวัยรนุ ไทย
ก. จาํ นวนวัยรุนที่ติดยาเสพตดิ ในปจจุบนั มีจาํ นวนเพ่มิ ขึน้ อยา งรวดเรว็
ข. ปญ หาที่ตามมาของการติดยาเสพตดิ คือการกอ อาชญากรรมทกุ ประเภท
ค. ในหมวู ัยรุน หญงิ ทีต่ ดิ ยาเสพติด มักตกเปน เหยอ่ื ของการคาประเวณใี นทสี่ ุด
3. แนวทางการแกไขปญหา
ก. การใหค วามรกั ความอบอนุ และความเอื้ออาทร รวมทงั้ การมีเวลาใหก ับคนใน
ครอบครวั เปน ภูมิตา นทานปญหายาเสพตดิ ไดอยางดี
ข. การทําใหค นในชุมชนรักชมุ ชน ชว ยเหลอื แกปญหาในชุมชนจะเปนเกราะปองกันปญหา
ยาเสพติดไดอยางดี เพราะเขารวมกันสอดสองดูแลปองกันชุมชนของตนเองจาก
ยาเสพติด
ค. สังคมใดทมี่ ผี คู นสนใจใฝรู ใฝแ สวงหาขอ มูลขาวสาร ผคู นจะมีความรูเพยี งพอทจ่ี ะพาตัว
ใหพ นจากภัยคุกคามทกุ รปู แบบดว ยปญ ญาความรทู ม่ี ี
ง. กระบวนการบําบัดผตู ดิ ยามิใหกลับมาติดใหม ทําไดดวยการใหการรักษาทางยาควบคู
กับการบําบัดทางจิตใจ ดวยการใชการปฏิบัติทางธรรม ซึ่งจะเปนภูมิตานทานทางใจ
ทถ่ี าวร
4. การเขียนยอหนา
การยอหนาเปนสงิ่ จาํ เปนอกี อยา งหน่งึ เพราะจะชวยใหผูอาน อานเขาใจงายและอานได

เรว็ มชี อ งวา งใหไ ดพกั สายตา ผเู ขยี นเรียงความไดดีตองรูหลักในการเขียนยอหนาและนํายอหนาแตละ
หนา มาเช่อื มโยงใหสัมพันธกัน ในยอหนาหน่ึงๆ ตองมีสาระเพียงประการเดียว ถาจะข้ึนสาระสําคัญ
ใหมตองขึ้นยอหนาใหม ดังนั้น การยอหนาจะมากหรือนอยข้ึนอยูกับสาระสําคัญที่ตองการเขียนถึง
ในเนอื้ เรอ่ื ง แตอ ยางนอ ยการเขียนเรยี งความตอ งมี 3 ยอหนา คอื ยอหนาทเ่ี ปนคาํ นาํ เน้ือเรื่องและสรปุ

ห น้ า | 71

4.1 สว นประกอบยอหนา
1 ยอหนา ประกอบดวย ประโยคใจความสําคัญและประโยคขยายใจความสําคัญ

หลายๆ ประโยค มาเรียบเรียงตอเนอื่ งกัน
4.2 ลกั ษณะของยอ หนา ทีด่ ี
ยอ หนาท่ดี ีควรมลี กั ษณะ 3 ประการคือ เอกภาพ สัมพันธภาพ และสารตั ถภาพ
1. เอกภาพ คอื ความเปน อันหนึง่ อนั เดียวกัน มีประโยคใจความสําคัญในยอหนาเพียง

หนึ่ง สว นขยายหรือสนบั สนนุ ตองกลาวถึงใจความสําคญั น้นั ไมก ลาวนอกเรื่อง
2. สัมพันธภาพ คือการเรียบเรียงขอความในยอหนาใหเก่ียวเนื่องสัมพันธกัน

มีการลําดบั ความอยางมีระเบยี บ นอกจากน้ี ยงั ควรมคี วามสมั พันธกับยอหนา ท่ีมมี ากอนหรอื ยอ หนา ท่ี
ตามมาดวย

3. สารัตถภาพ คือการเนนความสาํ คัญของยอหนาแตละยอหนาและของเร่ือง
ทั้งหมดโดยใชประโยคส้ัน ๆ สรุปกินความทั้งหมด อาจทาํ ไดโดยการนาํ ประโยคใจความสําคัญมาไว
ตอนตน หรือตอนทาย ยอหนา หรือใชส รปุ ประโยคหรอื วลที มี่ ีลักษณะซาํ้ ๆ กนั

5. การเชื่อมโยงยอหนา
การเชอื่ มโยงยอหนา ทําใหเกิดสมั พันธภาพระหวางยอหนา การเรียงความเรื่องหนึ่งยอม

ประกอบดวยหลายยอ หนา การเรียงลําดบั ยอหนาตามความเหมาะสมจะทําใหขอความเกี่ยวเน่ืองเปน
เร่อื งเดยี วกันวธิ กี ารเชอื่ มโยงยอหนา แตละยอ หนา ก็เชน เดียวกบั การจดั ระเบียบความคิดในการวางโครง
เรอ่ื ง ซึ่งมดี ว ยกัน 3 วธิ ีคือ

5.1 การลําดบั ยอ หนา ตามเวลา อาจลาํ ดบั ตามเวลาในปฏิทนิ หรือตามเหตุการณท เ่ี กิดขึ้น
กอนไปยงั เหตกุ ารณทีเ่ กดิ ขึน้ ภายหลงั

5.2 การลําดับยอหนาตามสถานที่ เรียงลําดับขอมูลตามสถานท่ีหรือตามความเปนจริง
ท่ีเกิดขนึ้

5.3 การลําดับยอหนา ตามเหตุผล อาจเรียงลําดบั จากเหตไุ ปหาผล หรือผลไปหาเหตุ
6. สาํ นวนภาษา

6.1 ใชภาษาใหถูกหลักภาษา เชน การใชลักษณะนาม ปากกาใชวา “ดาม” รถใชวา
“คนั ” พระภิกษใุ ชว า “รปู ” เปนตน นอกจากนไ้ี มค วรใชส าํ นวนภาษาตา งประเทศ เชน

ขณะทขี่ าพเจา จบั รถไฟไปเชยี งใหม ควรใชวา ขณะทข่ี าพเจา โดยสารรถไฟไปเชยี งใหม
บิดาของขาพเจาถกู เชิญไปเปนวิทยากร ควรใช บดิ าของขาพเจา ไดรับเชญิ ไปเปน วิทยากร
6.2 ไมค วรใชภ าษาพดู เชน ดจี ัง เมื่อไหร ทาน ฯลฯ ควรใชภาษาเขียน ไดแก ดีมาก เม่ือไร
รบั ประทาน
6.3 ไมควรใชภ าษาแสลง เชน พน ฝอย แจวอา ว สดุ เหวี่ยง ฯลฯ

72 | ห น้ า

6.4 ควรหลกี เลยี่ งการใชค ําศัพทย ากทไี่ มจ ําเปน เชน ปริเวทนากร ฯลฯ ซึ่งมีคําที่งายกวา
ที่ควรใชคือคําวา วิตก หรือใชคําที่ตนเองไมทราบความหมายท่ีแทจริง เชน บางคนใชคําวาใหญโต
รโหฐาน คําวา รโหฐาน แปลวา ท่ีลับ ที่ถกู ตองใช ใหญโ ตมโหฬาร เปนตน

6.5 ใชคาํ ใหถ กู ตองตามกาลเทศะและบุคคล เชน คาํ สภุ าพ คาํ ราชาศัพท เปนตน
6.6 ผกู ประโยคใหก ระชบั รดั กมุ เชน “ถา เจาเดินชาเชนน้ี เม่ือไรจะไปถึงที่ที่จะไปสักที”
ควรใชใ หกระชับวา “ถา เจาเดินชา เชน นี้เมื่อไรจะไปถงึ ที่หมายสกั ที” หรือประโยควา “อันธรรมดาคนเรา
เกิดมาในโลกน้ี บางกเ็ ปน คนดี บางกเ็ ปนคนชว่ั ” ควรใชว า “คนเรายอมมที งั้ ดีและชว่ั ” เปน ตน
7. การใชห มายเลขกาํ กบั
หัวขอในเรียงความจะไมใชหมายเลขกํากับ ถาจะกลาวแยกเปนขอๆ จะใชวา ประการท่ี
1........ประการที่ 2.............หรือประเภทที่ 1..............ประเภทที่ 2.............แตจะไมใชเปน
1............2............เรยี งลาํ ดบั แบบการเขยี นท่ัวไป
8. การแบง วรรคตอนและเครอ่ื งหมายวรรคตอน
เครอื่ งหมายวรรคตอน เชน มหพั ภาค (.) อัฒภาค (;) จุลภาค (,) น้ัน ไทยเลียนแบบฝรั่งมา
จะใชห รือไมใชกไ็ ด ถาใชต อ งใชใหถูกตอง ถาไมใชก็ใชแบบไทยเดิม คือ การเวนวรรคตอนโดยเวนเปน
วรรคใหญ วรรคนอย ตามลักษณะประโยคทีใ่ ช
9. สํานวนกับโวหาร
สํานวนกับโวหารเปนคําท่ีมีความหมายอยางเดียวกันนํามาซอนกัน หมายถึง ช้ันเชิงใน
การเรียบเรียงถอยคํา ในการเขยี นเรียงความสาํ นวนโวหารท่ใี ชมี 5 แบบคือ
9.1 แบบบรรยาย หรือท่ีเรียกกันวาบรรยายโวหาร เปนโวหารเชิงอธิบายหรือเลาเร่ือง
อยางถ่ีถวนโวหารแบบน้ีเหมาะสําหรับเขียนเร่ืองประเภทใหความรู เชน ประวัติ ตํานาน บันทึก
เหตุการณ ฯลฯ ตวั อยาง บรรยายโวหาร เชน
“ขณะทเี่ ราขับรถข้ึนเหนอื ไปนครวัด เราผา นบานเรอื นซึ่งประดับดวยธงสีนํ้าเงินและสีแดง
ไวนอกบาน เราไปหยดุ ทหี่ นา วดั ซ่งึ ประตทู างเขาตกแตงดวยดอกไมแ ละเครือเถาไม ในเขตวัด พระสงฆ
หม จีวรสสี มสนทนาปราศรยั กบั ผคู นที่ไปนมสั การอยใู นปะราํ ไมปลกู ข้ึนเปนพเิ ศษ ความประสงคที่เราไป
หยุดท่ีวัดก็เพ่ือกอพระทรายอันเปนเร่ืองที่สําคัญที่สุดในวันขึ้นปใหมตามศรัทธาของพุทธศาสนิกชน
การกอพระทรายเปนพิธีบุญ อธิษฐานขอพรอยางหน่ึง งานเทศกาลนี้เปนเวลาท่ีวัดทุก ๆ วัด จะตอง
เก็บกวาดใหส ะอาดที่สุด มีการสรงนํ้าพระพุทธรูปเปนประจําปเพื่อขอใหฝนตกโดยเร็ว” จาก สมโรจน
สวสั ดิกุล ณ อยธุ ยา “วนั ปใหมท ี่นครวัด” งานเทศกาลในเอเชยี เลม 1 โครงการความรว มมอื ทางดาน
การพิมพ ชดุ ท่ี 2 ศูนยวัฒนธรรมแหงเอเชยี ของยูเนสโก
9.2 แบบพรรณนา หรือท่ีเรียกวา พรรณนาโวหาร คือโวหารท่ีกลาวเปนเร่ืองราว
อยา งละเอยี ดใหผ ูอา นนึกเหน็ เปนภาพ โดยใชถ อ ยคาํ ท่ที ําใหผอู า นเกิดภาพในใจ มโนภาพข้นึ โวหาร
แบบนส้ี ําหรบั ชมความงามของบานเมือง สถานท่ี บุคคล เกยี รติคณุ คุณความดีตาง ๆ ตลอดจนพรรณนา

ห น้ า | 73

อานภุ าพของกษตั ริยแ ละพรรณนาความรูสกึ ตา งๆ เชน รกั โกรธ แคน ริษยา โศกเศรา เปน ตน ตวั อยาง
พรรณนาโวหาร เชน

“เม่ือถงึ ตอนนาํ้ ตืน้ พวกฝพายตางชวยกันถอ ทางนํา้ คอยกวางออกไปเปนหนองนํ้าใหญ
แตน้ําสงบนิ่ง นาประหลาด ปารนแนวไปจากรมิ หนอง ปลอ ยใหตนหญาสีเขียวจาํ พวกออคอยรับแสง
สะทอนสีนาํ้ เงินแกจากทองฟา ปุยเมฆสีมวงลอยไปมาเหนือศีรษะ ทอดเงาลงมาใตใบบัวและดอกบัว
สีเงิน เรือนเล็กหลังหนึง่ สรางไวบนเสาสูง แลดูดาํ เม่ือมมาแตไกล ตัวเรือนมีตนชะโอนสองตน ซงึ่ ดู
เหมือนจะขึน้ อยูในราวปาเบ้ืองหลงั เอนตนลงเหนือหลงั คา ท้ังตนและใบคลายจะเปนสัญญาณวามี
ความเศราโศกสดุ ประมาณ”

จากทองสกุ เกตโุ รจน “ทะเลใน” แปลและเรียบเรียงจากเร่ือง “The Lagoon”
ของ Joseph Conrad การเขียนแบบสรางสรรค มหาวิทยาลัยรามคาํ แหง 2519

9.3 แบบอุปมา หรือท่เี รยี กวา อปุ มาโวหาร คอื โวหารทย่ี กเอาขอความมาเปรียบเทยี บเพอ่ื
ประกอบความใหเดนชัดข้ึน ในกรณีที่หาถอยคํามาอธิบายใหเขาใจไดยาก เชน เรื่องที่เปนนามธรรม
ท้ังหลายการจะทําใหผูอ านเขา ใจเดนชัด ควรนําสง่ิ ทม่ี ตี ัวตนหรือสิ่งทค่ี ิดวาผูอา นเคยพบมาเปรยี บเทยี บ
หรอื อาจนาํ กิริยาอาการของสิง่ ตา ง ๆ มาเปรียบเทียบก็ได เชน เย็นเหมือนน้ําแข็ง ขาวเหมือนดั่งสําลี
ไวเหมือนลิง บางทีอาจนําความรูสึกที่สัมผัสไดทางกายมาเปรียบเทียบเปนความรูสึกทางใจ เชน
รอนใจดังไฟเผา รักเหมือนแกวตา เปนตน โวหารแบบนี้มักใชแทรกอยูในโวหารแบบอื่น ตัวอยาง
อุปมาโวหาร เชน ความสวยเหมอื นดอกไม เมื่อถึงเวลาจะรว งโรยตามอายุขัย แตค วามดีเหมือนแผนดิน
ตราบใดที่โลกดํารงอยู ผืนดินจะไมมีวันสูญหายไดเลย ความดีจึงเปนของคูโลก และถาวรกวา
ความสวย ควรหรอื ไมถา เราจะหันมาเทดิ ทนู ความดมี ากกวา ความสวย เราจะไดทําแตส่งิ ทถ่ี ูกเสียที

9.4 แบบสาธก หรือสาธกโวหาร สาธก หมายถงึ ยกตัวอยา งมาอา งใหเห็น สาธกโวหารจึง
หมายถึงโวหารที่ยกตัวอยางมาประกอบอาง เพ่ือใหผูอานเขาใจเรื่องไดชัดเจนข้ึน ตัวอยางที่ยกมา
อาจจะเปน ตวั อยา งบุคคล เหตกุ ารณห รอื นทิ าน โวหารแบบน้ีมักแทรกอยูโวหารแบบอ่ืน เชนเดียวกับ
อปุ มาโวหาร ตัวอยา ง สาธกโวหาร เชน

“....พงึ สังเกตการบชู าในทางทีผ่ ิดใหเ กดิ โทษ ดังตอ ไปนี้
ในสํานกั อาจารยทิศาปาโมกข เมืองตกั ศิลา มเี ดก็ วัยรุนเปนลูกศิษยอยูหลายคน เรียนวิชา
ตางกันตามแตเขาถนัด มีเด็กวัยรุนคนหน่ึงชื่อ สัญชีวะ อยูในหมูน้ันเรียนเวทยมนตเสกสัตวตาย
ใหฟ น คืนชพี ไดต ามธรรมเนียมการเรียนเวทยมนตต องเรยี นผูกและเรียนแกไปดวยกัน แตเขาไมไดเรียน
มนตแก”
มาวันหน่ึง สัญชีวะกับเพ่ือนหลายคนพากันเขาปาหาฟนตามเคย ไดพบเสือโครง
ตัวหน่ึงนอนตายอยู “นี่แนะเพ่ือน เสือตาย” สัญชีวะเอยข้ึน “ขาจะเสกมนตใหเสือตัวนี้ฟนคืนชีพข้ึน
คอยดูนะเพื่อน” “แนเทียวหรือ” เพ่อื นคนหน่ึงพูด “ลองปลุกมันใหคืนชีพลุกข้ึนดูซิ ถาเธอสามารถ”
แลว เพ่ือน ๆ คน อนื่ ๆ ปนข้นึ ตนไมคอยดู “แนซีนา” สัญชีวะยืนยัน แลวเริ่มรายมนตเสกลงท่ีรางเสือ

74 | ห น้ า

พอเจาเสือฟนคืนชีพขึ้นยืนรูสึกหิว มองเห็นสัญชีวะพอเปนอาหารแกหิวได จึงสะบัดแยกเข้ียวอวด
สญั ชวี ะและคํารามว่งิ ปราดเขากดั กานคอสัญชีวะลม ตายลง

เมื่ออาจารยไดทราบขาวก็สลดใจและอาลัยรักในลูกศิษยมาก จึงเปลงอุทานขึ้นวา
“นีแ่ หละผลของการยกยอ งในทางทผี่ ิด ผยู กยอ งคนเลวรา ย ยอมรบั นบั ถือเขาในทางมิบงั ควรตองไดรับ
ทุกขถ ึงตายเชนนเ้ี อง”

จาก ฐะปะนีย นาครทรรพ การประพันธ ท 041 อกั ษรเจริญทัศน 2519 หนา 9

9.5 แบบเทศน หรือเทศนาโวหาร คือโวหารที่อธิบายชี้แจงใหผูอานเชื่อถือตาม โดยยก
เหตุผลขอเท็จจรงิ อธบิ ายคุณ โทษ แนะนาํ สัง่ สอน ตวั อยางเชน

“คนคงแกเรียนยอมมีปรีชาญาณ ฉลาดคิด ฉลาดทํา ฉลาดพูดและมีความรูสึกสูง
สาํ นกึ ในผิดชอบช่วั ดี ไมก ลาทาํ ในสิ่งที่ผดิ ทชี่ ว่ั เพราะรสู กึ ละอายขวยเขนิ แกใ จและรูสึกสะดุงหวาดกลัว
ตอ ผลรายอันพึงจะไดร บั รูสึกอิ่มใจในความถกู ตอ ง รสู กึ เสียใจในความผดิ พลาด และรูเ ทา ความถกู ตอ ง
นน้ั วา มิไดอยทู ด่ี วงดาวประจาํ ตัว แตอยูที่การกระทาํ ของตวั เอง พงึ ทราบวา ความฉลาดคิด ฉลาดทํา
ฉลาดพูดและความรสู กึ สูงทําใหค ิดดี ที่จรงิ และคดิ จริงทด่ี ี ทาํ ดที จี่ ริง ทําจริงท่ีดี และพูดดีที่จริง พูดจริง
ทีด่ ี นี่คอื วิธีจรรยาของคนแกเรียน

จากฐะปะนยี  นาครทรรพ การประพนั ธ ท 041 อกั ษรเจริญทศั น 2519 หนา 8

โวหารตาง ๆ ดังกลาว เม่ือใชเ ขยี นเรียงความเร่ืองหนง่ึ ๆ ไมไดหมายความวาจะใชเพียงโวหาร
ใดโวหารหนง่ึ เพยี งโวหารเดยี ว การเขียนจะใชหลาย ๆ แบบประกอบกันไป แลวแตความเหมาะสมตาม
ลักษณะเนอ้ื เรือ่ งที่เขยี น

การเขียนเรยี งความเปน ศิลปะ หลกั การตาง ๆ ทวี่ างไมไ ดเปน หลกั ตายตัว ตัวอยา งคณติ ศาสตร
วิทยาศาสตร ดังน้ัน จึงเปนเพียงแนวปฏิบัติและขอเสนอแนะ ในการเขียนอาจพลิกแพลงไดตาม
ความเหมาะสมท่ีเหน็ สมควร

ตวั อยา ง เรียงความเรื่อง สามเสา

ครวั ไทยแตก อนคร้ังหุงขาวดวยฟนน้ัน มีส่ิงสําคัญอยางหนึ่งคือ กอนเสา เรายังหาครัวอยางนี้
ดูไดในชนบท กอ นเสา นั้นอาจเปน ดนิ หรอื กอนหนิ มสี ามกอ นต้งั ชนกันมีชองวางสําหรับใสฟน กอนเสา
สามกอนน้เี องเปนท่ีสําหรับต้งั หมอ ขา วหมอ แกงอันเปนอาหารประจําชีวิตของคนไทย ดู ๆ ไปกอนเสา
สามกอนนั้นก็เปนสัญลักษณของชาติไทย เพราะชาติไทยแตไหนแตไรก็ตั้งอยูบนกอนเสาสามกอนน้ัน
มีชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย พระพุทธศาสนาก็ประกอบดวยกอนเสาสามกอน คือ พระพุทธ
พระธรรม พระสงฆ

กอนเสา สามกอ นหรอื สามเสาน้ี เม่ือคิดไปอีกทีก็เปนคติอันดีที่เรานาจะยึดเปนเครื่องเตือนใจ
ภาษิตจีนมีวา คนเราจะมีชีวิตมั่นคง จะตองนั่งบนมาสามขา มาสามขาตามภาษิตจีนน้ัน หมายถึง
สิง่ สําคัญสามอยา งท่ีพยุงชีวิตเรา สิ่งสําคัญน้ันจะเปนอะไรก็ไดแตตองมีสามขา ถามีเพียงสองชีวิตก็ยัง

ห น้ า | 75

ขาดความม่ันคง ภาษิตจีนน้ีฟงคลายๆ “สามเสา” คือวาชีวิตของเราตั้งอยูบนกอนสามกอน จึงมี
ความมน่ั คง

กก็ อ นเสา ทงั้ สามสําหรบั ชีวติ นคี้ ืออะไร ตางคนอาจหากอ นเสา ท้ังสามสําหรบั ชีวติ ของตัวเองได
บางทานอาจยึดพระไตรลักษณ คือ ความทุกข 1 ความไมเท่ียง 1 และความไมใชตัวของเรา 1
เปนการยึดเพ่ือทาํ ใจมิใหชอกชาํ้ ขุนมัวในยามท่ีตกทุกขไดยาก หรือจะใชเปนเคร่ืองเตอื นมใิ หเกิด
ความทะเยอทะยานตน ทําลายสันตสิ ุขของชวี ติ กไ็ ด บางคนยึดไตรสิกขาเปน กอนเสาทั้งสามแหง การยงั
มชี วี ิตคอื ศีล สมาธิ ปญญา เปน หลกั

การเขียนยอความ คือ การเก็บใจความสําคัญของเรื่องท่ีอานหรือฟงมาเรียบเรียงใหม
อยางยอ ๆ โดยไมทาํ ใหสาระสาํ คญั ของเรอ่ื งน้นั คลาดเคลื่อน หรอื ขาดหายไป

การยอความเปนวิธกี ารหนง่ึ ท่ีชวยใหเราบันทกึ เรือ่ งราวตางๆ ทไี่ ดอานหรือฟงมานน้ั ไวโ ดยยอ ๆ
โดยเก็บรวบรวมไวเพ่ือมิใหหลงลืม หรือเพื่อนําเรื่องที่บันทึกไวน้ันไปใชในโอกาสตาง ๆ นอกจากนั้น
การยอ ความยงั ชว ยใหถา ยทอดเร่ืองราวตอ ไปยังผูอ่นื ไดถูกตองรวดเร็วอีกดว ย

หลกั การยอความ

การยอความมหี ลักการทัว่ ไปดังตอ ไปน้ี
1. ยอความตามรูปแบบการยอความแบบตาง ๆ กาํ หนดไวในหวั ขอ แบบการยอความ
2. อา นเร่อื งราวทีจ่ ะยออยา งนอย 2 เทยี่ ว เทย่ี วแรกจับใจความใหไ ดว า เรื่องอะไร หรอื ใครทํา
อะไรท่ีไหน อยางไร เทยี่ วที่สองจบั ใจความใหล ะเอยี ดขึน้ และพจิ ารณาวา อะไรเปนใจความสําคัญ อะไร
เปน ใจความประกอบหรอื พลความ หรือขอความทเี่ สริมแตงใจความสําคัญใหเดนชัด ชัดเจน อะไรเปน
กลวิธีการแตงถาจับใจความไมไ ดใหอานอีกจนกวาจะสามารถจับใจความสําคญั ได
3. พิจารณาเกบ็ เฉพาะใจความสาํ คญั หรือเกบ็ ใจความประกอบทจ่ี ําเปน
4. นําเฉพาะใจความทเี่ กบ็ ไวม าเรยี บเรียงใหมดวยภาษาของตนเองตามรูปแบบทก่ี าํ หนด
5. ความส้นั ยาวของการยอ ความไมสามารถกาํ หนดเปนอตั ราสวนได ขน้ึ อยกู บั จดุ ประสงคของ
การยอและลักษณะของเร่ืองที่ยอ ลักษณะของเร่ืองก็คือเรื่องใดท่ีมีใจความประกอบมากถาเราเก็บ
เฉพาะใจความสําคัญกย็ อไดส้ัน ถาเก็บใจความประกอบที่จําเปนดวย อัตราสวนความยาวจะเพ่ิมข้ึน
ดังนั้นจึงไมมเี กณฑกาํ หนดเร่อื งอัตราสวนของยอความ
6. เปลี่ยนคําสรรพนามจากบรุ ุษท่ี 1 บุรษุ ท่ี 2 เปน บุรุษที่ 3 เพราะผูยอทําหนาท่ีเลาตอและ
เครอื่ งหมายใด ๆ ท่ีมีอยูในขอความเดิม จะไมใชในยอความ เชน มาลีพูดวา “พอมาแลว” เปล่ียนเปน
เธอพูดวา พอมาแลว คอื ใหย อรวมกนั ไป ไมแยกกลาวหรือข้นึ บรรทดั ใหม
7. ใชถอยคาํ ภาษางา ย ๆ ไดใ จความชัดเจน เชน อนั มวลบุปผามาลอี ยูในไพรสนฑ
เปลยี่ นเปน ดอกไมอยใู นปา แตถ า มีคาํ ราชาศัพทย งั คงใชอ ยู

76 | ห น้ า

8. เลือกใชค ําไดความหมายครอบคลุม เชน เพื่อกลาวถึงหนังสือพิมพ วิทยุ โทรทัศน ควรใช
คําวา “ส่ือสารมวลชน” แทน หรือเมื่อกลาวถึงสมุด ดินสอ ปากกา ยางลบ ไมบรรทัด ควรใชคําวา
“เครือ่ งเขยี น” แทน เปนตน

9. ไมใ ชอ กั ษรยอ หรอื คาํ ยอ เวน แตอกั ษรยอ หรือคาํ ยอนนั้ เปน ทเี่ ขา ใจและยอมรบั ใชก ันทั่วไป
แลว เชน พ.ศ. ร.ส.พ. ส.ป.อ. ฯลฯ

10. ขอความท่ียอแลวใหเขียนตอเน่ืองกันโดยใชคําเช่ือม เพื่อใหความกระชับไมเยิ่นเยอ
แตข อความท่ไี มส มั พนั ธกนั ใหย อหนา เปน ตอนๆ

11. การยอความเปนรอยกรอง ก็ใชวิธีเดียวกับรอยแกว แตเปลี่ยนขอความจากรอยกรอง
เปนรอ ยแกว ธรรมดากอน

รูปแบบการเขยี นยอ ความ

เร่ืองที่จะยอมีหลายรูปแบบ เชน บทความ จดหมาย โอวาท ฯลฯ แตละรูปแบบมีแบบ
การขึ้นตนเฉพาะดังตอไปน้ี

1. แบบของบทความ สารคดี ตํานาน นิทาน นยิ าย เรือ่ งสนั้ ฯลฯ

ยอ (บทความ สารคดี ตาํ นาน นิทาน นยิ าย เรอื่ งสัน้ ) เรื่อง ........................................................
ของ ..................(ผแู ตง ) ..............................จาก........................(แหลง ที่มา).................................ความวา

(ขอความ)......................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................

2. แบบของจดหมาย สาสน หนังสอื ราชการ

ยอ (จดหมาย สาสน หนงั สือราชการ) ฉบบั ที.่ ............................ของ............................................
..........................................................ลงวันที่ ความวา................................................................................

(ขอความ)......................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................

3. แบบของประกาศ แจงความ แถลงการณ ระเบียบคําส่งั ฯลฯ

ยอ (ประกาศ แจง ความ แถลงการณ ระเบยี บคาํ สงั่ ) เรอ่ื ง .........................................................
ของ.........................................ลงวันท่ี .....................................................ความวา

(ขอ ความ) ....................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................

ห น้ า | 77

4. แบบของขา ว

ยอขาวเรอ่ื ง...................................................จาก........................................................................
ลงวันท.่ี .................................................ความวา........................................................................................

(ขอ ความ) ....................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................

5. แบบของโอวาท คาํ ปราศรัย สุนทรพจน

ยอ (โอวาท คําปราศรยั สุนทรพจน ) ของ................................แก...............................................
.......................เนือ่ งใน......................(โอกาส)...................................................ท่ี........................................
ณ วนั ที่..................................................................................ความวา

(ขอความ) ....................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................

6. แบบปาฐกถา คาํ สอน คาํ บรรยาย ถอยแถลง

ยอ (ปาฐกถา คําสอน คาํ บรรยาย ถอ ยแถลง ) ของ.....................................................................
เรอ่ื ง.....................................................................แก. ..........................................ท.่ี ....................................
...........................ณ วนั ท.่ี .........................................เวลา..................................ความวา

(ขอ ความ) ....................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................

7. แบบพระบรมราโชวาท เทศนา

ยอ (พระบรมราโชวาท เทศนา ) ใน..................................................................พระราชทานแก
...................................................................ใน..........................................ท่ี..............................................
ณ วันท.ี่ ....................................ความวา

(ขอ ความ) ....................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................

78 | ห น้ า

8. แบบทีเ่ ปนรอ ยกรอง ใหถ อดเปนรอ ยแกว กอนแลว ยอตามรปู แบบ คือ

ยอ กลอนสุภาพ (หรือรอยกรองแบบอน่ื ที่ยอ ) เรือ่ ง......................................................................
ตอน................................................................ความวา

(ขอ ความ) ....................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................

9. ความเรียงทต่ี ัดตอนมา

ยอเรอื่ ง...............................ของ..............................คัดจากเรื่อง .................................................
................................จากหนงั สือ........................................................................ความวา

(ขอความ) ....................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................

ขอ ความทยี่ อถาเรอ่ื งเดมิ ไมม ชี ่ือเรอื่ งใหต ง้ั ชอ่ื เรอ่ื งใหตรงกับความสําคญั ของเรอื่ งนัน้ ๆ

ตัวอยา งยอ ความ
(รอยแกว )

เร่อื ง
เปรยี บเทียบนามสกุลกับช่อื แซ
คนเรายังมีอยูเปนอันมาก ซ่ึงยังมิไดสังเกตวา นามสกุลกับช่ือแซของจีนนั้นผิดกันอยางไร
ผูท ่ีแลดูแตเผิน ๆ หรือซ่ึงมิไดเอาใจใสสอบสวนในขอนี้ มักจะสําคัญวาเหมือนกันและมีพวกจีนพวก
นยิ มจีนพอใจจะกลาววา การทพ่ี ระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงพระราชปรารภออกพระราชบัญญัติ
นามสกลุ ข้นึ น้นั โดยทรงพระราชนิยมตามประเพณีชื่อแซของจีน ซ่ึงถาจะตรองดูก็จะเห็นวาคงจะไม
เปน เชน น้นั โดยเหตทุ จ่ี ะอธบิ ายตอ ไปน้ี
แซข องจีนนน้ั ตรงกับ “แคลน” ของพวกสกอ ตคือ เปนคณะหรือพวก หรือถาจะเทียบทาง
วัดก็คลายสํานัก เชนท่ีเราไดยินเขากลาวๆ กันอยูบอยๆ วาคนน้ันเปนสํานักวัดบวรนิเวศ คนน้ีเปน
สํานักวัดโสมนัสดังนี้เปนตัวอยาง สวนสกุลน้ันตรงกับคําอังกฤษวา “แฟมิลี่” ขอผิดกันอันสําคัญ
ในระหวางแซกับนามสกุลน้ันก็คือผูรวมแซไมไดเปนญาติสายโลหิตกันก็ได แตสวนท่ีรวมสกุลน้ัน
ถาไมไ ดเ ปนญาตสิ ายโลหิตตอ กันโดยแทแ ลว ก็รวมสกลุ กันไมไ ด นอกจากท่ีจะรับเปนบุตรบุญธรรมเปน
พิเศษเทาน้นั
ตดั ตอนจากเรอื่ งเปรียบเทียบนามสกลุ กับแซ จากหนงั สอื ปกณิ กคดี พระราชนพิ นธ ของ
พระบาทสมเดจ็ พระรามาธบิ ดีศรสี นิ ทรมหาวชริ าวุธ พระมงกฎุ เกลา เจา อยหู วั

ศลิ ปบรรณาคาร 2515 หนา 75 - 76

ห น้ า | 79

การยอความจะเก็บเฉพาะใจความสําคญั และใจความประกอบที่จาํ เปน บางสวนเพื่อใหใจความ
ยอ ความสมบรู ณ

ยอหนาที่ 1 ใจความสําคัญวา “คนเรายังมีอยูเปนอันมาก ซึ่งยังมิไดสังเกตวานามสกุลกับ
ชอ่ื แซของจนี น้นั ผิดกนั อยา งไร” นอกน้ันเปนใจความประกอบ

ใจความประกอบยอหนา น้ีไมเก็บเพราะเห็นวา ไมจาํ เปน เนื่องจากใจความสําคัญสมบูรณที่จะ
นําไปยอ ไดอยูแลว

ยอหนา ที่ 2 ใจความสาํ คญั “ขอ ผดิ กันอนั สาํ คัญในระหวางแซกับนามสกุลนั้นก็คือ ผูรวมแซ
ไมไ ดเปนญาติสายโลหิตกันก็ได แตผรู ว มสกลุ น้นั ถาไมไดเ ปนญาติสายโลหิตตอ กันโดยแทแ ลว ก็รวมสกุล
กันไมได”

ใจความประกอบท่ีจําเปนที่ควรเก็บเพื่อเสริมใจความสําคัญใหยอความไดใจความสมบูรณ
ครบถว นคอื

“แซข องจีนเปนคณะหรอื พวก หรือถา จะเทียบทางวัดก็คลายสํานกั ”
“..............นอกจากท่ีจะรับเปนบตุ รบุญธรรมเปนพเิ ศษเทา น้ัน”

80 | ห น้ า

เม่อื ไดศึกษาหลักการยออื่น ๆ ครบถวนกับดูรูปแบบการยอท่ีใชแลว นาํ ใจความท่ีเก็บไวมา
เรียบเรียงใหมดวยถอยคําของตนเอง รูปแบบการยอเปนความเรียงท่ีตัดตอนมา ดังนั้น จึงเขียน
ยอ ความไดด งั นี้

ยอ เรอ่ื ง เปรียบเทียบนามสกลุ กบั ชอ่ื แซ ของพระบาทสมเด็จพระมหารามาธิบดศี รสี นิ ทรมหา
วชริ าวธุ พระมงกฎุ เกลาเจาอยหู วั คัดจากเรอื่ งเปรียบเทียบนามสกลุ กบั ชอื่ แซ จากหนังสอื ปกิณกคดี
ความวา

มคี นจาํ นวนมากไมไ ดส ังเกตวา นามสกลุ กบั แซของจีนนั้นตางกัน ผูรวมแซของจีนไมไดเปนญาติ
สายโลหติ กันก็ได แตเปนคณะหรือพวกเหมือนสํานักวัดหน่ึง สวนรวมสกุลตองเปนญาติสายโลหิตกัน
โดยแทเทานั้น เชนน้ันก็เปนบุตรบุญธรรมท่ีรบั ไวเ ปนพิเศษ

ถา เปนการยอท่ีมุงเก็บเฉพาะใจความสําคัญ ขึ้นตนรูปแบบเหมือนกัน แตใจความจะสั้นเขา
ดังน้ี

มีคนจํานวนมากไมไ ดส ังเกตวานามสกุลกับแซของจนี นั้นตางกนั ผรู วมแซของจนี ไมไ ดเ ปน ญาติ
สายโลหติ กไ็ ด แตผรู ว มสกุลตองเปนญาติสายโลหติ หรือบุตรบุญธรรมทรี่ บั ไวเปนพิเศษเทาน้ัน

ห น้ า | 81

ตัวอยา งยอ ความ

(รอ ยกรอง)

ทหารเอกสยามสเู ศรษฐสงคราม

กบั สิทธกิ ารจดั การศึกษาสําหรบั ประเทศ

(กาพยฉ บงั ) เสร็จจากโรงเรยี น
“ถามหนอยเถดิ หนูผูเพยี ร

แลว เจาจกั ทาํ อะไร”

“ฉนั เปนพอ คากไ็ ด ใหเต่ียหดั ให

ต้ังหางอยา งเถาแกฮ ง”

ถามทั่วทกุ คนกค็ ง ใหค ําตอบลง

รอยกันมิพลันสงสยั

จากโรงเรยี นจนี จงไป ถามโรงเรยี นไทย

จักไดคําตอบนาน

“ผมคิดเขาทาํ ราชการ เชน ทานขนุ ชาญ

ลกู บา นเดยี วกันม่นั หมาย”

“หนอู ยานึกวา งา ยดาย คดิ เขา คาขาย

พอ คา คอยนา มั่งมี”

“ผมรักราชการงานดี ตําแหนง หนา ที่

ยศศกั ด์บิ ัฎตรานา แสวง”

“บัดยามสยามตอ งการแรง ไทยฉลาดทุกแขนง

ท้ังนอกและในราชการ”

“เศรษฐกจิ ก็กิจแกน สาร นกั เรียนรักงาน

ควรเลอื กประกอบเหมอื นกัน”

“ผมชอบราชการเทา นนั้ ตั้งใจหมายม่ัน

แตจ ะเขา รับราชการ”

คาํ ตอบเชน นีม้ ปี ระมาณ กส่ี วนรองวาน

คาํ นงึ จะพึงพิศวง

นึกไปไมน างวยงง การคาขายคง

ไมค นุ ไมค อยเคยทาํ

เคยแตรงั เกยี จดว ยซ้าํ นายไพรด วยชํา

นาญลวนงานเรยี ก “ราชการ”

........................................................

ครเู ทพ โคลงกลอนของครเู ทพ เลม 1 ครุ ุสภา 2515

82 | ห น้ า

ขอ ความท่ียอ ไดดงั นี้

ยอ กาพยฉบงั เร่ืองโครงกลอนของครูเทพ ตอน ทหารเอกสยามสเู ศรษฐสงครามกับสทิ ธิการ
จัดการศกึ ษาสาํ หรับประเทศ ความวา

ถา ถามนกั เรยี นในโรงเรียนจนี กบั โรงเรยี นไทยวา เมือ่ สําเร็จการศกึ ษาแลวจะไปประกอบอาชีพ
อะไร นักเรยี นในโรงเรียนจีนตอบวาจะไปเปน พอคา และนกั เรียนในโรงเรียนไทยจะตอบวาจะทํางาน
ราชการ คําตอบเชนน้ีเปนเพราะคนไทยไมคุนเคยและไมคอยเคยคาขายจึงไมเห็นความสําคัญท้ัง ๆ
ทเ่ี รอ่ื งคาขายเปนเรื่องสําคัญที่ควรเลือกเปนอาชีพไดเหมือนกันและเหมาะสมกับประเทศไทยที่กําลัง
ตอ งการคนฉลาดทํางานทุกประเภทไมใ ชเ พยี งงานราชการเทา น้ัน

สรุป
ยอความเปน การเขียนแบบหน่ึงทีเ่ กบ็ ใจความสาํ คญั ของเรอ่ื งเดมิ มาเขยี นใหมใ หสน้ั กวาเดมิ เพื่อ

สะดวกแกก ารเขาใจและการนาํ ไปใช การยอ ความตองบอกลักษณะและที่มาของขอความท่ีจะยอและ
ยอ ใหไดใจความครบถว นใจความของขอความเดิม

ห น้ า | 83

เร่ืองที่ 4 การเขียนเพือ่ การสอื่ สาร

1. การเขียนจดหมาย เปน การสอ่ื สารโดยตรงระหวางบุคคลหรอื ระหวา งหนว ยงานตา ง ๆ ชวย
ทําใหร ะยะทางไกลเปนใกล เพราะไมว าบุคคลหรือหนว ยงานจะหา งไกลกนั แคไ หนกส็ ามารถใชจดหมาย
สงขาวคราวและแจง ความประสงคไ ดต ามความตอ งการ การสง สารหรือขอความในจดหมายตองเขยี น
ใหแ จม แจงชัดเจนเพื่อจะไดเ ขา ใจตรงกนั ทงั้ สองฝา ย

องคประกอบและรปู แบบของจดหมาย

ผูเรียนคงเคยเขียนจดหมายหรืออานจดหมายมาบางแลว คงจะสงั เกตเหน็ วาจดหมายน้ัน ไมวา
ประเภทใด จะตอ งประกอบดว ยสิง่ ตา ง ๆ ดงั น้ี

1. ที่อยขู องผูเขยี น เร่ิมก่ึงกลางหนา กระดาษระหวา งเสน คั่นหนากับริมของขอบกระดาษ
2. วนั เดือน ป ท่ีเขียนจดหมาย ใหเย้อื งมาทางซา ยของตาํ แหนงที่เขยี นทอ่ี ยูเลก็ นอ ย
3. คําขึน้ ตน หางจากขอบกระดาษดานซาย 1 นวิ้
4. เนื้อหา ข้ึนอยกู บั ยอ หนา ตามปกติ อาจจะอยหู างจากขอบกระดาษดา นซา ย 2 น้วิ
5. คาํ ลงทา ยอยูแ นวเดียวกับทอ่ี ยขู องผูเขยี น
6. ชอ่ื ผเู ขียน อยใู ตคาํ ลงทา ย ล้ําเขา ไปเลก็ นอย

ตวั อยาง รปู แบบการเขยี นจดหมายทั่วไป
สถานทเ่ี ขยี นจดหมาย .............................

วนั ..........เดอื น......................ป...............
ระยะ 1 นิ้ว คาํ ขึ้นตน .................................................................................................
ประมาณ 2 นิ้ว เนือ้ หา .................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................

คําลงทา ย ...............................................
ชือ่ ผูเขียน ...............................................

84 | ห น้ า

หลักการท่วั ไปในการเขยี นจดหมาย

การเขียนจดหมายควรคํานงึ ถงึ สิง่ ตอไปน้ี
1. การใชถอยคํา จดหมายท่ีดี ตองใชถอยคําในการเขียนใหถูกตองเหมาะสมกับประเภท
ของจดหมายและผรู ับจดหมายดว ย ไดแ ก

จดหมายสวนตัว การเขียนจดหมายสวนตัวไมมีขอกําหนดเกี่ยวกับการใชคําขึ้นตนและ
คําลงทายที่ตายตัวเพียงแตเลือกใชใหเหมาะสมเทานั้น คําข้ึนตนและลงทายสําหรับบุคคลทั่วไป
มีแนวทางการเขียนสาํ หรบั เปน ตวั อยา งใหเ ลอื กใช ดังน้ี

บุคคลทต่ี ิดตอ คําขึน้ ตน คาํ ลงทา ย

ญาตผิ ใู หญ เชน พอ แม กราบเทา............................ กราบเทาดว ยความเคารพ
ปู ยา ท่เี คารพอยา งสงู อยางสงู
ตา ยาย หรือกราบมาดวยความ
เคารพรกั อยางยง่ิ

ญาติลําดับรองลงมา เชน กราบ....................ทเี่ คารพ กราบมาดว ยความเคารพ
ลุง ปา นา อา
หรือ กราบ......................... ดวยความเคารพ

ท่ีเคารพอยา งสงู ดว ยความเคารพอยา งสงู

พีห่ รอื ญาติชนั้ พี่ พ.ี่ .....................ทรี่ ัก ดวยความรัก
ถึง....................ทร่ี ัก หรือ รกั หรือคิดถึง
ครู อาจารยห รือ ....................เพ่ือนรกั หรอื หรือรกั และคดิ ถึง
ผบู ังคบั บญั ชาระดบั สูง ........................นอ งรัก

กราบเรียน...........ที่เคารพ ดวยความเคารพอยางสงู
อยา งสงู

ผูบังคบั บญั ชาระดับใกลตัว เรียน................ทเ่ี คารพ ดว ยความเคารพ
ผูเขียน

ห น้ า | 85

2. มารยาทในการเขยี นจดหมาย
2.1 เลือกกระดาษ ซอง ที่สะอาดเรียบรอย หากเปนไปไดควรใชกระดาษที่ทําขึ้น

เพือ่ การเขยี นจดหมายโดยตรง แตถ า หาไมไดกค็ วรใชก ระดาษทีม่ สี สี ภุ าพ กระดาษที่ใชเขยี นควรเปน
กระดาษเตม็ แผน ไมฉีกขาด ไมย ูยี่ยับเยิน ไมสกปรก

2.2 ซองจดหมายที่ดที ่ีสดุ คือซองท่ีการส่ือสารแหงประเทศไทยจัดทําขึ้น เพราะมีขนาด
และคุณภาพไดมาตรฐาน ซองประเภทน้ีมีจําหนายตามท่ีทําการไปรษณียโทรเลขทุกแหง ถาหาซอง
จดหมายของการสือ่ สารแหง ประเทศไทยไมไ ด กอ็ าจเลอื กซ้ือซองท่เี อกชนทําขึ้นจําหนาย ซึ่งถาเปนใน
กรณหี ลังน้คี วรเลือกซองทมี่ ีสสี ภุ าพ ไมค วรมลี วดลาย

2.3 ไมควรใชซองทมี่ ตี ราครุฑสงจดหมายท่ีมใิ ชห นงั สอื ราชการ
2.4 ไมควรใชซองท่ีมีขอบซองเปนลายขาวแดงนาํ้ เงินสลับกัน ซึ่งเปนซองสําหรับสง
จดหมายไปรษณียอากาศไปยังตางประเทศ
2.5 เขยี นหนังสอื ใหชดั เจน อา นงา ย การเขียนตวั อักษรคอ นขา งโตและเวน ชอ งไฟคอนขา ง
หา งจะชว ยใหจดหมายนัน้ อา นงาย
2.6 ไมควรเขียนดวยดินสอดาํ ดินสอสีตาง ๆ หรือหมึกสีแดง เพราะถือวาไมสุภาพ
สที ่ีเหมาะสมคอื หมกึ สีนาํ้ เงนิ และสดี าํ
2.7 จะตองศึกษาใหถูกตองถองแทกอนวา ผูท่ีเราจะเขียนจดหมายไปถึงนั้นเปนใคร
มีตําแหนงหนาที่อะไร การเขียนขอความในจดหมายก็ดี การจาหนาซองก็ดี จะตองระบุตําแหนง
หนา ท่ีชั้นยศของผนู ั้นใหถ ูกตองและตอ งสะกดชื่อ นามสกลุ ยศ ตําแหนงของผนู น้ั ใหถ ูกตองดว ย
2.8 เม่ือเขยี นจดหมายเสรจ็ แลว ตอ งพบั ใหเ รยี บรอ ยแลวบรรจซุ อง จา หนาซองใหถ ูกตอ ง
ครบถวน ปด ดวงตราไปรษณยี ากรใหครบถวนตามราคาและถกู ตําแหนง กอ นท่ีจะนําไปสง
2.9 เขยี นจาหนาซองจดหมาย

2.9.1 เขียนช่ือ นามสกลุ ของผรู บั ใหถูกตอง ชดั เจน อานงาย ถา ผูร บั เปน แพทย
เปนอาจารย หรือตํารวจ ทหาร หรือคํานําหนานามแสดงเกียรติยศหรือฐานันดรศักดิ์ เชน บ.จ.
ม.ร.ว. ม.ล. ก็ใชถอ ยคําพเิ ศษเหลาน้นั นาํ หนาชื่อ คาํ นําหนา ชอ่ื ควรเขยี นเตม็ ไมควรใชค ํายอ ถา ทราบ
ตําแหนง กร็ ะบุตาํ แหนง ลงไปดว ย

ในกรณีทไ่ี มท ราบรายละเอียดดังกลาว ควรใชคําวา คุณ นําหนาช่ือผูรับในการจา
หนาซองจดหมายน้นั

2.9.2 ระบสุ ถานทข่ี องผูรบั ใหถ กู ตอง ชดั เจนและมีรายละเอยี ดพอท่ีบรุ ุษไปรษณีย
จะนําจดหมายไปสงไดไมผิดพลาด ระบุเลขท่ีบาน หางรานหรือสํานักงาน ซอย ตรอก ถนน หมูบาน
ตําบล อําเภอ ในกรณีตางจังหวัด หรือแขวง เขต ในกรณีกรุงเทพมหานคร ที่สําคัญคือจะตองระบุ
รหัสไปรษณยี ใ หถูกตองทกุ คร้ัง จดหมายจะถงึ ผูรับเรว็ ขึ้น

86 | ห น้ า

หมายเหตุ การสอ่ื สารแหง ประเทศไทยไดจ ัดทําเอกสารแสดงรหสั ไปรษณยี ข องอาํ เภอ
และจงั หวัดตาง ๆ สําหรับแจกจายใหประชาชน ทานจะติดตอขอรับไดจากท่ีทําการไปรษณียโทรเลข
ทกุ แหง

2.9.3 การจา หนาซอง การสอื่ สารแหง ประเทศไทย แนะนําใหเขียนนามและที่อยู
พรอมดวยรหัสไปรษณียของผูสงไวที่มุมบนดานซายมือของซองและเขียนชื่อผูรับพรอมท่ีอยูและ
รหสั ไปรษณียใ หไวตรงกลาง ดังตัวอยาง

ตัวอยา งการเขยี นจา หนาซองจดหมาย

(ชื่อทอ่ี ยูผฝู าก) ท่ผี นกึ
นายวศิ ิษฎ ดรณุ วดั ตราไปรษณียากร
708/126 ถนนจรสั เมอื ง
แขวงรองเมอื ง เขตปทุมวัน กรงุ เทพฯ

1 03 3 0

(ชือ่ และที่อยูของผูรบั )
นายสญั ญา ทองสะพัก
364 ก 1 หมู 1 ถนนริมคลองรดั หลวง
ตําบลตลาด อําเภอพระประแดง
จังหวัดสมุทรปราการ
รหัสไปรษณีย 1 0 1 3 0

หมายเหตุ การสื่อสารแหงประเทศไทยมีบริการพิเศษตางๆ ที่จะชวยปองกันมิใหจดหมาย
สูญหายหรือชวยใหจดหมายถึงมือผูรับไดรวดเร็ว ทันเวลา เชน บริการ EMS เปนตน ผูสนใจจะใช
บริการตาง ๆ ดังกลาว จะตองไปติดตอท่ีที่ทาํ การไปรษณียโทรเลขโดยตรง เพราะจะตองกรอกแบบ
รายการบางอยางการเขียนขอความในทํานองที่วา “ขอใหสงดวน” ลงบนซองจดหมายไมทําให
จดหมายถึงเรว็ ขน้ึ แตอ ยางใด

ประเภทของจดหมาย จดหมายแบงออกเปน 4 ประเภท คือ จดหมายสวนตัว จดหมาย
กิจธรุ ะ จดหมายธุรกิจ และจดหมายราชการหรอื หนงั สือราชการ

ห น้ า | 87

1. จดหมายสวนตัว คือ จดหมายท่ีบุคคลซ่ึงรูจักคุยเคยกันติดตอกันดวยวัตถุประสงค
ท่ีเปน การสวนตัว เชน เพื่อสง ขาวคราว ถามทกุ ขสขุ เลา เร่ืองราว ฯลฯ เปน การติดตออยา งไมเปน
ทางการ เชน จดหมายเลา เร่อื งราวทกุ ขสขุ จดหมายแสดงความรูส กึ ยินดี เสียใจ ขอบคุณหรือขอโทษ
ในกรณตี าง ๆ เปน ตน

การเขียนจดหมายสวนตัวแมจะยินยอมใหใชถอยคําที่แสดงความสนิทสนมเปนกันเองได
แตกค็ วรระมัดระวังอยา ใหผ อู านเขาใจผิด และควรแสดงความสาํ ราญมากกวาการพดู กันโดยปกติ

จดหมายสว นตัวท่ีมีเนอ้ื หาเปน การขอบคุณ หรือแสดงความยินดอี าจเขียนลงในบัตรทอ่ี อกแบบ
ไวอ ยางสวยงาม แทนการเขยี นในกระดาษกไ็ ด

การเขยี นจดหมายสว นตัว นยิ มใหเ ขยี นดวยลายมอื ท่ีอานงาย แสดงความตงั้ ใจเขยี นไมนิยมใช
การพมิ พดีดจดหมายหรอื จาหนาซองจดหมายสวนตวั

ตวั อยา งจดหมายสวนตัว

บริษัทเกษตร จํากัด
4/21 สขุ มุ วทิ กรุงเทพมหานคร 10110

12 เมษายน 2538

กราบเทา คณุ พอ คณุ แมท ่เี คารพอยางสูง
ผมไดมารายงานตัวเขาทํางานท่ีบริษัทนี้เรียบรอยแลวตั้งแตวันที่ 10 บริษัทน้ีมี

สาํ นกั งานใหญอยูตามท่ีอยูขางบนน้ี แตมีเรือนเพาะชําและสวนกลาไมขนาดใหญมากอยูท่ีเขตมีนบุรี
ทกุ เชา พนกั งานทุกคนจะตอ งมาลงเวลาปฏิบัติงานและรับทราบคําสั่ง หรือรับมอบหมายงาน จากนั้น
จงึ แยกยา ยกนั ไปปฏิบัตงิ าน

ผมไดรับมอบหมายใหด แู ลสวนกลา ไมท่เี ขตมีนบุรี ผมรบั ผดิ ชอบพน้ื ทเี่ ขต 9 ซ่ึงเปนเขต
เพาะเลี้ยงดแู ลกลา ไมไ ผ มีคนงานชว ยผมทาํ งาน 3 คน ทกุ คนเปน คนดีและขยัน งานทที่ ําจึงเปน ไป
ดว ยดี

ผมสุขสบายดี เพราะท่ีพักซึ่งอยูชั้นบนของสํานักงานบริษัทซ่ึงบริษัทจัดให
มีความสะอาดดีและกวางขวางพอสมควร ท้ังอยูไมไกลยานขายอาหาร ผมจึงหาซื้ออาหารมา
รับประทานไดส ะดวก นบั ไดว าผมไดทํางานทด่ี ี และมีท่พี ักที่สะดวกสบายทกุ ประการ

หวังวา คุณพอคุณแมและนองทั้งสองคงสบายดีเชนกัน ผมจะกลับมาเย่ียมบานถามี
วันหยุดติดตอกันหลายวนั และจะเขียนจดหมายมาอีกในไมช า นี้

ดวยความเคารพอยา งสูง
เสมา ธรรมจกั รทอง

88 | ห น้ า

2. จดหมายกจิ ธุระ คือจดหมายติดตอ ระหวางบุคคลกับบุคคลหรือบคุ คลกบั หนว ยงาน
ดว ยเรื่องที่มิใชเรอื่ งสว นตัว แตเ ปน เร่อื งท่เี ก่ียวกบั งาน เชน การสมคั รงาน การติดตอ สอบถาม
การขอความรวมมอื ฯลฯ ภาษาท่ีใชจงึ ตองสุภาพและกลาวถงึ แตธ ุระเทานั้น ไมม ีขอความทีแ่ สดง
ความสัมพนั ธเ ปนการสว นตัวตอ กนั

ตัวอยา งจดหมายกิจธรุ ะ

โรงเรียนลําปางกลั ยาณี ถนนพหลโยธิน
อ.เมือง จ.ลาํ ปาง 52000

24 กันยายน 2528

เรยี น ผจู ดั การวสั ดุการศึกษา 1979 จํากัด

ดวยทางโรงเรียนลําปางกัลยาณี มีความประสงคจะซ้ือสไลดประกอบการสอนวิชา

ภาษาไทยระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน ตามรายการตอ ไปนี้

1. ชดุ ความสนกุ ในวดั เบญจมบพิตร จาํ นวน 1 ชุด

2. รามเกยี รตติ์ อนศกึ ไมยราพ จํานวน 1 ชุด

3. แมศรีเรอื น จาํ นวน 1 ชดุ

4. ขอ คดิ จากการบวช จํานวน 1 ชดุ

5. หนงั ตะลุง จํานวน 1 ชดุ

ตามรายการที่สั่งซื้อมาขางตน ดิฉันใครขอทราบวา รวมเปนเงินเทาไร จะลดไดกี่เปอรเซ็นต

และถา ตกลงซอ้ื จะจัดสงทางไปรษณยี ไ ดห รือไม

หวงั วา ทา นคงจะแจง เกีย่ วกบั รายละเอยี ดใหทราบโดยดว น จงึ ขอขอบคุณมาในโอกาสนี้

ขอแสดงความนับถือ
สมใจ หย่งิ ศกั ด์ิ
(น.ส.สมใจ หยิง่ ศักดิ์)
ผูชว ยพัสดุหมวดวชิ าภาษาไทย

ห น้ า | 89

3. จดหมายธุรกิจ คือจดหมายติดตอในเร่ืองท่ีเกี่ยวกับธุรกิจ เชน การเสนอขายสินคา
การขอทราบรายละเอยี ดเพิ่มเติมเกีย่ วกับสินคาหรือบริการ การสง่ั ซอื้ สนิ คา การตดิ ตามทวงหนี้ ฯลฯ

จดหมายกิจธุระและจดหมายธุรกิจ มีลักษณะการติดตอที่เปนทางการมากกวาจดหมาย
สวนตัว จึงตองใชคําสุภาพ งาย และมีเนื้อความกะทัดรัด เขาใจไดตรงกันท้ังผูเขียนและผูอาน
ในการใชภาษาเขียนใหถูกกับระดับของจดหมาย โดยท่ัวไปแลวถาเขียนจดหมายสวนตัวถึงบุคคลที่
สนิทสนมกัน ก็จะใชคําระดับที่ไมเปนทางการ แตถาเขียนจดหมายธุรกิจตางๆ ก็ใชคําระดับท่ีเปน
ทางการ

ตัวอยาง เปรียบเทียบคาํ เดมิ ท่เี ปนทางการกบั คําระดับที่ไมเ ปน ทางการ

ทีเ่ ปนทางการ ทไ่ี มเ ปนทางการ

(สําหรับเขยี นจดหมายธุรกจิ และหนงั สอื ราชการ) (สําหรับเขียนจดหมายสว นตวั ถงึ ผทู ่ีคุนเคย)

1. เขาขับข่รี ถจักรยานยนตไปชมภาพยนตร 1. เขาข่ีรถเครือ่ งไปดูหนงั

2. บิดามารดาตองการใหขาพเจา มอี าชพี เปนแพทย 2. พอแมอ ยากใหฉันเปน หมอ แตฉันอยากเปน

แตขาพเจาตอ งการเปน ครชู นบท ครูบา นนอก

3. หนังสือเลมน้คี งขายไดหมดในเวลาอนั รวดเรว็ 3. หนงั สอื เลมน้ีมหี วงั ขายไดเ กลีย้ งเพราะรวม
เพราะรวบรวมวาทะสาํ คัญๆ ของผูมีชอ่ื เสยี งไว คาํ ดงั ของคนดงั ไวหลายคน
หลายคน

90 | ห น้ า

ตัวอยางจดหมายธรุ กิจ

รานบรรณพิภพ

42-44 ถนนบญุ วาทย
อ.เมอื ง จ.ลาํ ปาง 5200
โทร. 054 218888

3 สิงหาคม 2528

เรอื่ ง สงกระดาษอดั สําเนา
เรียน หวั หนา ฝายพัสดสุ ํานักงานนํ้าคางและเพ่อื น

ตามทส่ี ่งั กระดาษอัดสําเนาย่ีหอไดโต จํานวน 50 รีมน้ัน ทางรานไดจัดสงมาเรียบรอยแลว
พรอมทั้งไดแนบใบสง ของมาดว ย

หากทางสํานักงานของทานไดร ับส่ิงของดังกลาวครบถวนแลว กรุณาตอบใหทางรานทราบ
ดว ยจะเปน พระคณุ อยา งสงู

ขอแสดงความนบั ถือ
ธาดา บรรณพิภพ
(นายธาดา บรรณพิภพ)

ผูจัดการ

ตัวอยาง การจาหนา ซองจดหมายธุรกิจ

รา นบรรณพิภพ
42-44 ถนนบุญวาทย
อ.เมือง จ.ลําปาง 52000
โทร. 054 218888

เรียน หัวหนาฝา ยพสั ดุ สาํ นกั งานนํ้าคา งและเพอื่ น
สาํ นักงานน้ําคางและเพ่อื น
ถนนเจรญิ ประเทศ จงั หวัดลาํ ปาง
52000

ห น้ า | 91

2. จดหมายราชการหรือหนงั สอื ราชการ คอื สว นทีถ่ อื เปน หลักฐานในราชการ ไดแ กหนงั สอื
ที่มีท่ีไปท่ีมาระหวางสวนราชการ หรือหนงั สือท่ีสวนราชการมีไปถึงหนวยงานอ่ืน ซง่ึ มิใชส วนราชการ
หรอื มีไปถงึ บุคคลภายนอก หรอื หนงั สือที่หนว ยงานอื่นซงึ่ มใิ ชสวนราชการ หรือบคุ คลภายนอก
เขียนมาถึงสว นราชการ

จดหมายราชการ ตอ งใชถ อยคําและรูปแบบการเขยี นใหถกู ตองตามระเบยี บท่ีทางราชการ
กําหนดไว ระเบียบดงั กลา วเรียกวา ระเบียบงานสารบรรณ รปู แบบหนงั สอื ราชการจงึ มรี ูปแบบเฉพาะ
ดงั น้ี

1. ตอ งใชก ระดาษของทางราชการ เปน กระดาษตราครุฑสีขาว
2. บอกลําดับที่การออกหนังสือของหนว ยงานนั้น โดยใหลงรหัสพยัญชนะและเลขประจําตัว
ของเจาของเร่ืองทับเลขทะเบียนหนังสือสง เชน นร 0110/531 รหัสพยัญชนะ นร คือ สํานัก
นายกรฐั มนตรี 0110 คอื เลขประจําของเจาของเรือ่ ง 531 คอื ทะเบยี นหนงั สือทสี่ ง ออก
3. สวนราชการของหนงั สอื ใหลงชือ่ สวนราชการ สถานที่ราชการ หรอื คณะกรรมการซง่ึ เปน
เจาของหนงั สอื น้ัน และลงสถานที่ตัง้ ไวดว ย
4. วัน เดือน ป ใหลงตัวเลขบอกวันท่ี ชื่อเต็มของเดือนและตัวเลขของปพุทธศักราช
ทีอ่ อกหนงั สอื
5. เรื่อง ใหลงเรอ่ื งยอ ทเ่ี ปนใจความส้นั ท่ีสดุ ของหนังสอื นนั้
6. คาํ ขึ้นตน ใหใ ชคําขน้ึ ตนตามฐานะของผรู ับหนงั สอื ตามดวยตําแหนงของผูท่ีหนงั สือนน้ั มถี งึ
7. อา งถึง (ถา ม)ี ใหอ า งถึงหนังสอื ทเ่ี คยมตี ิดตอ กันเฉพาะหนงั สือทสี่ วนราชการผรู บั หนงั สอื
น้ันไดรับมากอ นแลว โดยใหลงชอ่ื สวนราชการของหนงั สอื เลขทอี่ อกหนงั สอื วันที่ เดอื น ปพ ทุ ธศกั ราช
ของหนังสือ
8. สงิ่ ท่ีสงมาดวย (ถามี) ใหลงช่ือสิง่ ของหรอื เอกสารทส่ี งไปพรอ มกบั หนังสือนั้น ถาไมสงไปใน
ซองเดยี วกนั ใหแจง วา สงไปโดยทางใด
9. ขอ ความ ใหลงสาระสําคญั ของเร่ืองใหช ดั เจนและเขาใจงา ย หากมคี วามประสงค
หลายประการใหแยกเปน ขอ ๆ
10. คําลงทา ย ใหใชคําลงทา ยตามฐานะของผูรับหนงั สอื
11. ลงชื่อ ใหล งลายมอื เจาของหนงั สอื และใหพิมพชื่อเต็มของเจา ของลายมือไวใ ตลายมอื ชอ่ื
12. ตําแหนง ใหล งตําแหนงเจาของหนงั สือ เชน อธิบดี ผวู าราชการจังหวดั
ผูบญั ชาการกองพล ฯลฯ
13. สว นราชการเจา ของเร่ือง ใหลงชื่อสวนราชการเจาของเรื่องหรือหนวยงานที่ออกหนังสือ
พมิ พไ วมุมลา งซา ยแนวเดยี วกับตําแหนงผูออกหนงั สือหรอื ต่าํ กวา
14. โทร. ใหลงหมายเลขโทรศัพทข องหนว ยงานเจาของเรื่อง

92 | ห น้ า

ตวั อยางแบบจดหมายราชการ

ตราครุฑ
2 ท.ี่ ............

3 ชื่อสว นราชการเจา ของหนังสอื
4 วนั .......เดอื น...................พ.ศ.............
5 เรอ่ื ง.................................
6 เรยี น หรอื กราบเรียน.......................
7 อา งถงึ ..................................... (ถามี)
8 สงิ่ ท่ีสงมาดว ย......................... (ถามี)

9 ขอ ความ
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................

สรุป
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................

10 คาํ ลงทาย............................................................
11 ลายเซน็ ต. ................................................
ชอื่ ตวั บรรจง...............................................
12 ตําแหนง .................................

13 สวนราชการเจา ของเรอ่ื ง........................................
14 โทรศพั ท (ถาม)ี .......................................................

ห น้ า | 93

ตัวอยา งรปู แบบจดหมายราชการ

2 1
ท่ี ศธ 0210.06/4 3
ศนู ยเ ทคโนโลยที างการศึกษา
5 กรมการศกึ ษานอกโรงเรียน
เรอ่ื ง ขอเชิญเปน วทิ ยากร
4 ถนนศรอี ยุธยา กทม. 10400
11 มกราคม 2554

6
เรยี น คณบดคี ณะศึกษาศาสตร มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร วทิ ยาเขตกาํ แพงแสน

7
89

ดวยศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษา สาํ นักงาน กศน. กําลังดําเนินการจัดและผลิตรายการ
โทรทัศนเสริมหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 วิชา
วิทยาศาสตร ระดับมัธยมศึกษาตอนตนเพื่อออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศนเพื่อการศึกษา
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (ETV)

ศูนยเทคโนโลยที างการศึกษาจงึ ขอเรยี นเชญิ อาจารยป ระสงค ตนั พชิ ัย อาจารยป ระจาํ ภาควิชา
อาชีวศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร ซงึ่ เปนผมู คี วามรูและประสบการณ เร่อื งเทคโนโลยีในการขยายพันธุพชื
เปนวิทยากร บรรยายเร่ืองดังกลาว โดยจะบันทึกเทปในวันอังคาร ท่ี 31 มกราคม 2554 เวลา
10.00-11.00 น.

จึงเรียนมาเพือ่ ขอความอนเุ คราะห และขอขอบคุณเปน อยา งสงู มา ณ โอกาสน้ี

10
ขอแสดงความนับถอื
11 รัชดา คลีส่ ุนทร
(นางรัชดา คลี่สนุ ทร)
12 ผูอํานวยการศนู ยเ ทคโนโลยที างการศกึ ษา

13 ฝา ยรายการโทรทัศนเพือ่ การศกึ ษาตามหลักสตู ร
14 โทร. 02-3545730-40

94 | ห น้ า

การเขยี นขา ว ประกาศและแจง ความ

การเขียนขา ว ประกาศและแจงความ เปน สวนหน่ึงของจดหมายราชการ หรือหนังสือราชการ
ซึ่งก็คือหนังสือทีใ่ ชตดิ ตอกันระหวางเจา หนา ทีข่ องรฐั กบั บุคคลภายนอกดว ยเรื่องเกีย่ วกบั ราชการ

จดหมายราชการแบง ไดเปน 5 ประเภท คอื
1. หนังสอื ภายนอก
2. หนังสอื ภายใน
3. หนังสอื ประทบั ตราแทนการลงชอื่
4. หนังสอื สั่งการและโฆษณา
5. หนังสือท่เี จาหนาท่ที าํ ขนึ้ หรือรับไวเปน หลกั ฐานในราชการ
การเขียนขา ว ประกาศและแจงความ จดั อยูในจดหมายราชการประเภทที่ 4 คือหนังสือส่ังการ
และโฆษณา ซ่ึงแบงเปน 9 ประเภท คือ ขอบังคับ ระเบียบ คําสั่ง คําแนะนํา คําชี้แจง ประกาศ
แจงความ แถลงการณแ ละขาว
ในทน่ี ้ีจะกลาวถงึ การเขยี นขา ว ประกาศและแจงความ

การเขยี นขาว

คือบรรดาขอความที่ทางราชการเหน็ สมควรเปด เผย เพื่อแจง เหตกุ ารณทคี่ วรสนใจใหทราบ

แบบการเขยี นขา ว

ขา ว..............................................ชือ่ สวนราชการทีอ่ อกขา ว..................................................
เรือ่ ง .....................................................................................................................................................

ขอ ความที่เปน ขาว
……………………………………………………………………….…………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………….………
สวนราชการเจา หนา ท่ี
วัน เดอื น ป

ห น้ า | 95

การเขยี นประกาศ

คือบรรดาขอความท่ีทางราชการประกาศใหทราบเพอ่ื ปฏิบัติ
แบบประกาศ

ประกาศ.....................................ชอ่ื สวนราชการท่อี อกประกาศ ..................................................
เรือ่ ง ...........................................................................................................................................................

ประกาศและขอความทสี่ ่ังใหปฏบิ ตั ิ .............................................................................................
…………........................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................

ประกาศ ณ วันที่................................................
ลงชือ่ ....................................................

พมิ พช อ่ื เตม็
(ตําแหนง)

การเขียนแจง ความ

คือบรรดาขอ ความใดๆทที่ างราชการแจง ใหท ราบ
แบบแจงความ

แจงความ..........................................ชือ่ สว นราชการทีแ่ จง ความ..............................................
เรอ่ื ง ......................................................................................................................................................

ขอความทต่ี อ งการใหทราบ
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
..................

แจง ความ ณ วนั ท.่ี ...................................................
ลงชอ่ื ........................................................

พิมพช อ่ื เตม็
(ตาํ แหนง )

96 | ห น้ า

มารยาทในการเขยี น

1. ความรบั ผดิ ชอบ ไมว าจะเกิดผลดหี รือผลเสีย รวมท้ังขอบกพรองตาง ๆ ถือเปนมารยาทท่ี
สําคัญที่สดุ

2. การตรวจสอบความถกู ตองเพอื่ ใหผ อู านไดอ า นงานเขียนท่ีถกู ตอง
3. การอา งองิ แหลงขอมูล เพือ่ ใหเกยี รติแกเจาของความคดิ ท่ีอา งถงึ
4. ความเที่ยงธรรม ตองคํานงึ ถงึ เหตุมากกวาความรสู กึ สวนตน
5. ความสะอาดเรียบรอ ย เขียนดวยลายมอื อา นงาย รวมทงั้ การเลือกใชก ระดาษและสีน้ําหมึก
ดว ย

ห น้ า | 97

เรือ่ งท่ี 5 การสรา งนิสัยรกั การเขยี นและการศกึ ษาคนควา

การเขยี นหนังสอื จรงิ ๆ เปน เร่ืองทไี่ มย าก ถาไดเขียนบอ ย ๆ จะรูส กึ สนกุ แตคนสว นใหญม ักมอง
วาการเขยี นเปน เร่อื งยาก เปนเร่ืองของคนทม่ี พี รสวรรคเ ทานน้ั จึงจะเขียนได อันที่จริงถาหากผูเรียนรัก
ท่ีจะเขียนและเขียนใหไดดีแลว ไมตอ งพึ่งพาพรสวรรคใด ๆ ทงั้ สิน้ ในการเขียนพรแสวงตา งหากท่ีจะเปน
พลังผลกั ดนั เบอ้ื งตน ทจ่ี ะทาํ ใหผูสนใจการเขียนหนังสอื ไดด ี พรแสวงในที่น้ีกค็ ือการหมั่นแสวงหาความรู
นัน่ เองประกอบกบั มีใจรกั และมองเหน็ ประโยชนของการเขียน รวมท้ังการฝกฝนการเขียนบอย ๆ จะทาํ
ใหค วามชํานาญเกดิ ข้นึ ได

หมัน่ แสวงหาความรู (พรแสวง)

ในการเรม่ิ ตน ของการเขยี นอะไรกต็ าม ผูเ ขยี นจะเขียนไมออกถาไมตั้งเปาหมายในการเขียนไว
ลว งหนาวา จะเขียนอะไร เขียนทําไมเพราะการเขียนเรอ่ื ยเปอ ย ไมทําใหงานเขียนนาอานและทําใหงาน
ช้นิ น้ันไมม คี ณุ คา ทีค่ วร งานเขียนทม่ี ีคณุ คาคอื งานเขยี นทเ่ี ขียนอยา งมีจุดหมาย มีขอมูลที่นาเช่ือถือและ
อ า ง อิ ง ไ ด ซึ่ ง เ กิ ด จ า ก ก า ร ข ยั น ห ม่ั น ค น ค ว า ข อ มู ล โ ด ย เ ฉ พ า ะ ใ น ยุ ค ข อ มู ล ข า ว ส า ร ไ ร พ ร ม แ ด น
ดังเชนในปจจุบันการมีขอมูลยอมทําใหเปนผูท่ีไดเปรียบผูอื่นเปนอันมาก เพราะยุคปจจุบันเปนยุค
แหง การแขงขันกนั ในทกุ ทางโดยเฉพาะในทางเศรษฐกจิ ใครมขี อ มูลมากจะเปน ผไู ดเปรียบคแู ขง ขันอื่น ๆ
เพราะการนําขอมูลมาใชประโยชนไดเร็วกวาน่ันเอง การหม่ันแสวงหาความรูเพื่อสะสมขอมูลตาง ๆ
ใหตัวเองมาก ๆ จึงเปนความไดเปรียบ และควรกระทําใหเปนนิสัยติดตัวไป เพราะการกระทําใด ๆ
ถาทําบอย ๆ ทาํ เปน ประจําในวันหน่งึ กจ็ ะกลายเปนนิสยั และความเคยชนิ ที่ตอ งทาํ ตอ ไป

การคนควารวบรวมขอมูลเปนกิจกรรมที่จะทําใหเกิดความสนุกสนานทางวิชาการเพราะย่ิง
คนควากจ็ ะย่ิงทาํ ส่งิ ท่ีนา สนใจมากขน้ึ ผูทฝ่ี ก ตนใหเปนผใู ครรใู ครเรียน ชอบแสวงหาความรูจะมีความสุข
มากเม่ือไดศึกษาคนควาและไดพบส่ิงแปลก ๆ ใหม ๆ ในภาษาไทยหรือในความรูแขนงอื่น ๆ บางคน
เมื่อคน ควา แลวจะรวบรวมไวอยา งเปนระบบ ซึง่ จะใหป ระโยชนห ลายประการดังตอ ไปน้ี

1. เปนการสนองความอยากรูอยากเห็น ใครรูใครเรียนของตนเอง กลาวคือการเรียน
ในชน้ั เรยี น ผูเรียนจะรบั รหู รอื ทราบกฎเกณฑท่ีสําคัญและการยกตัวอยางเพียงเล็กนอย ผูเรียนอาจไม
เขาใจแจมแจงชัดเจนพอ การศึกษาคนควาเพิ่มเติมจะทําใหไดขอมูลท่ีสนใจมากขึ้น ทําใหเกิดความ
เขาใจเนอ้ื หาท่ีเรยี นไดแ จมชัดขึน้

2. เปนการสะสมความรูใหเพิ่มพูนย่ิงขึ้น ในขณะที่ผูเรียนอานหรือทําการบรรยายเพ่ือหา
ความรแู มจ ะชัดเจนดแี ลว แตเ พ่อื ใหไดรบั ความรูกวา งขวางขนึ้ จึงศกึ ษาคน ควาเพิม่ เตมิ แลว เกบ็ รวบรวม
สะสมความรไู ว

3. คน ควารวบรวมเพ่อื ใชอา งอิงในการจัดทํารายงานการคนควาทางวชิ าการ การอางอิงความรู
ในรายงานทางวิชาการ จะทําใหงานน้ันมีคุณคาเชื่อถือย่ิงข้ึนเปนการแสดงความสามารถ ความรอบรู

98 | ห น้ า

และความอุตสาหะวิริยะของผูจัดทํารายงานน้ัน การคนควาเพ่ือการอางอิงน้ีผูเรียนจะคนควาจาก
แหลง วิชาการตา ง ๆ ยงิ่ คน ก็ยิง่ พบสรรพวิทยาการตางๆทาํ ใหเ กดิ ความสุขสนุกสนานเพราะไดพบเน้อื หา
ที่นา สนใจเพมิ่ ข้ึน

4. ใชความรูท่ีไดคนควารวบรวมไวสาํ หรับประกอบในการพูดและเขียน การรวบรวมมี
ประโยชนเพอ่ื ประกอบการพดู และการเขียนใหมีนาํ้ หนักนาเชื่อถือย่ิงข้ึน เชน เม่ือจะกลาวถงึ การพูด
ก็อาจยกคาํ ประพนั ธทแ่ี สดงแงค ดิ เกี่ยวกับการพดู ขน้ึ ประกอบดวย เชน

ถึงบางพูดพูดดเี ปน ศรศี กั ดิ์ มีคนรกั รสถอยอรอยจิต

แมพูดชั่วตัวตายทําลายมติ ร จะชอบผิดในมนุษยเพราะพูดจา

เปน มนุษยส ดุ นิยมทล่ี มปาก จะไดย ากโหยหวิ เพราะชวิ หา

แมพ ูดดีมีคนเขาเมตตา จะพดู จาจงพิเคราะหใ หเ หมาะความ

อันออ ยตาลหวานลิ้นแลวสิน้ ซาก แตลมปากหวานหูมริ หู าย

แมเจ็บอนื่ หม่ืนแสนจะแคลนคลาย เจ็บจนตายน่นั เพราะเหน็บใหเ จ็บใจ

(สนุ ทรภู)

5. เพ่ือความจรรโลงใจของตนเอง การคนควา หาความรแู ละเกบ็ รวบรวมและสะสมไว นับเปน

ความสุขและเปน การสรา งความจรรโลงใจใหแกต นเองเปน อยางยิ่ง เพราะผูเ ขียนบางคนเม่ือพบคําหรือ

ขอความประจําใด ๆ กม็ ักจะจดบันทึกไว โดยเฉพาะโคลงกลอนตา ง ๆ เชน

ตวั อยางการรวบรวมขอคิดคําถามเก่ียวกบั ความรกั

ความรกั เหมอื นโรคา บันดาลตาใหม ืดมน
ไมยนิ และไมยล อุปสรรคคะใดใด
กาํ ลังคกึ ผิขังไว
ความรักเหมอื นโคถึก บยอมอยู ณ ที่ขงั
ยอมโลดจากคอกไป
(มทั นะพาธา)
ตราบขุนครี ขี น ขาดสลาย แลแม
รกั บหายตราบหาย หกฟา
จากโลก ไปฤา
สรุ ิยนั จนั ทรขจาย หอ นรางอาลยั
ไฟแลน ลา งสห่ี ลา
(นริ าศนรนิ ทร)
โอวาอนิจจาความรัก เพงิ่ ประจักษด ัง่ สายน้ําไหล
ต้ังแตจะเช่ยี วเปน เกลยี วไป ทไ่ี หนเลยจะไหลคืนมา

(อิเหนา)

ห น้ า | 99

รักชาติยอมสละแม ชวี ี
รกั เกียรติจงเจตนพลี ชพี ได
รักราชมุงภักดี รองบาท
รักศาสนร านเศิกไส กอ เก้ือพระศาสนา

(สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ)

มีใจรกั
การจะทาํ กิจกรรมใด ๆ ก็ตาม ถาจะใหไดผลดีจะตองมีใจรักในส่ิงนั้น เรียกวา มีความรัก

ความพอใจที่จะเขียน หมั่นฝกฝนบอย ๆ มีความเขาใจท่ีจะเขียนใหไดดี และเม่ือเขียนแลวก็กลับมา
ทบทวนพิจารณาถงึ คณุ คาและประโยชนท ่ีไดจากการเขยี น และการจะเขียนใหผูอ่ืนอา นพิจารณาดวย
ใจเปน ธรรมและดว ยเหตุดว ยผล ทเ่ี รียกวา ตองมอี ิทธบิ าท 4 อันเปน ธรรมะของผูร ักความเจรญิ กาวหนา
เปน เรื่องนํา น้ันคือมฉี นั ทะ วริ ยิ ะ จิตตะ และวมิ งั สา

เหน็ ประโยชน
การที่ผูเขียนจะเขียนหนังสือใหผูอื่นอานและอานสนุกหรืออานดวยความพอใจ ผูเขียน

ตอ งตระหนกั รใู นตนเองเสียกอ นวาเปนผูมคี วามรูทางภาษาไทยเพียงพอท่ีจะกอใหเกิดประโยชนแกตน
ในดานตา งๆ เชน ชวยใหติดตอ ส่อื สารกบั ผอู ืน่ ไดอ ยา งมปี ระสิทธภิ าพ มีความเชื่อม่ันในตนเอง สามารถ
ใชค วามรูท ม่ี ีเพื่อประโยชนแกผูอ่ืนได และมีความพรอมท่ีจะขยายความรูหรือขอมูลที่สะสมในตนเอง
ใหผูอ่ืนอานไดอันจะเปนชองทางของการแลกเปลี่ยนขาวสารขอมูลระหวางกันซ่ึงจะสงผลใหขอมูล
ขา วสารและความรูตาง ๆ ที่มีขยายออกไปอยางกวางขวาง ทําใหความรูที่มีอยูในโลกไมสูญหายไปได
งา ย ๆ

การกระทําใด ๆ ก็ตาม ในทางจิตวิทยากลาววา ถาทําซํ้า ๆ ทําบอย ๆ การกระทําน้ัน ๆ
จะกลายเปน นสิ ัย การหมนั่ ฝกฝนการเขียน ไมวาจะเขียนอะไรก็ตาม ก็ตองหมั่นฝกฝนใหเกิดเปนนิสัย
ขนึ้ มาใหไ ด อาจเริ่มจากการฝกฝนบันทึกขอความ หรือเร่ืองราวท่ีช่ืนชอบหรือท่ีเปนความรู ฝกเขียน
บันทกึ ประจําวัน ฝก เขยี นเรยี งความจากเร่อื งใกลตัว เร่ืองทตี่ ัวเรามีความรูมากท่ีสุด มีขอมูลมากที่สุด
กอ น แลวคอย ๆ เขยี นเร่ืองท่ีไกลตัวออกไป โดยเขียนเร่ืองที่อยากเขียนกอนแลวขยายออกไปสูเร่ืองท่ี
เปนวทิ ยาการความรูตา ง ๆ เพ่อื เปน การสรา งความเชอ่ื มั่นใหแ กตนเองทีละนอ ย ถาปฏบิ ัตไิ ดเชน นจ้ี ะทํา
ใหผูเรียนเกดิ ความรักในการเขยี นและการคน ควา ขึ้นมาได

การเขยี นแสดงความคดิ เห็น

การเขยี นแสดงความคิดเห็น หมายถึง การเขียนที่ประกอบดวยขอมูลอันเปนขอเท็จจริงกับ
การแสดงความคิดเหน็ ตอ เร่ืองใดเรอ่ื งหน่ึง ความคิดเห็นควรจะมีเหตผุ ล และเปนไปในทางสรา งสรรค

100 | ห น้ า

หลกั การเขยี นแสดงความคิดเห็น
1. การเลือกเรื่อง ผูเขียนควรเลือกเรื่องท่ีเปนท่ีสนใจของสังคมหรือเปนเร่ืองท่ีทันสมัย
อาจเกย่ี วกบั เหตุการณทางการเมอื ง เศรษฐกจิ สังคม การศกึ ษา ศาสนา ศิลปะ วิทยาศาสตร หรอื
ขา วเหตุการณประจําวนั ทงั้ น้ผี เู ขียนควรมคี วามรูและความเขาใจเรอื่ งท่ตี นจะแสดงความคดิ เห็น
เปนอยา งดี เพือ่ จะแสดงความคดิ เห็นไดอ ยา งลกึ ซง้ึ
2. การใหขอเท็จจริง ขอมูลท่ีเลือกมานั้นจะตองมีรายละเอยี ดตาง ๆ เชน ที่มาของเรื่อง
ความสาํ คญั และเหตุการณ เปน ตน
3. แสดงความคดิ เห็น ผูเขียนอาจแสดงความคิดเหน็ ตอเรอื่ งท่ีจะเขียนได 4 ลกั ษณะ คอื

3.1 การแสดงความคิดเหน็ ในลกั ษณะตัง้ ขอสังเกต
3.2 การแสดงความคดิ เหน็ เพอ่ื สนับสนนุ ขอ เทจ็ จรงิ
3.3 การแสดงความคดิ เหน็ เพือ่ โตแยงขอ เท็จจริง
3.4 การแสดงความคิดเห็นเพอ่ื ประเมนิ คา
4. การเรยี บเรยี ง
4.1 การตัง้ ชือ่ ควรต้งั ชือ่ เรอ่ื งใหเ ราความสนใจผูอา น และสอดคลองกบั เน้อื หาท่จี ะเขยี น
4.2 การเปดเรื่อง ควรเปดเรื่องใหน า สนใจชวนใหผ อู า นติดตามเรื่องตอไป
4.3 การลําดบั เรอื่ ง ควรลําดับใหม ีความตอเนือ่ งสอดคลอ งกนั ต้ังแตต นจนจบ
ไมเขยี นวกไปวนมา
4.4 การปดเร่อื ง ใชห ลกั การเดียวกบั การเขียนสรุปและควรปดเรือ่ งใหผอู า นประทับใจ
5. การใชภาษา ควรใชภาษาอยางสละสลวย ชัดเจน ไมเย่ินเยอ ใชสาํ นวนโวหาร
อยางเหมาะสมกบั เร่อื ง ใชถอยคําที่ส่ือสารความหมายไดตรงตามอารมณ และความรูสกึ ของผูเขียน
ทัง้ น้พี งึ หลกี เล่ยี งการใชถอ ยคําทแี่ สดงอารมณร นุ แรง และควรใชถอยคาํ ในเชงิ สรางสรรคดวย

การเขียนโตแ ยง

การเขียนโตแ ยง เปนการเขยี นแสดงความคิดเห็นลักษณะหนึ่ง โดยมุงท่ีจะโตแยงขอเท็จจริง
หรอื เหตกุ ารณทีเ่ กดิ ขึ้น ตลอดจนโตแ ยงความคดิ ของผอู ื่นดวยความคดิ เห็นในการสรางสรรค

วิธีการเขียนโตแยง ตองตั้งประเด็นวาจะโตแยงในเร่ืองใดก็ชี้ใหเห็นจุดดอยของเร่ืองที่จะ
โตแยง น้ัน พรอมทง้ั หาเหตุผลมาสนับสนนุ ความคดิ ของตนแลวเรยี บเรยี งใหเ ปน ภาษาของตนทีเ่ ขา ใจงาย
และใชคาํ ทมี่ พี ลงั ในการกระตุน ใหเ กดิ ความคิดเห็นคลอ ยตาม

ขอ ควรระวังในการเขียนโตแยง ไมค วรเขยี นใหเ กดิ ความแตกแยก ควรใชเ หตุผล และควรเขียน
เชงิ สรางสรรค

มารยาทในการเขยี นโตแ ยง ตอ งจริงใจ ใชภาษาสุภาพ


Click to View FlipBook Version