The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by AJ, 2022-07-11 04:15:32

2(2)

2(2)

ห น้ า | 151

3. คาํ ทใ่ี ชส าํ หรับสภุ าพชน

การใชถอ ยคาํ สําหรับบุคคลท่ัวไป จาํ เปนตองใชใหส มฐานะและเกียรติยศ ความสัมพันธร ะหวาง
ผทู ีต่ ดิ ตอ สือ่ สารกนั จะตอ งคาํ นึงถงึ อายุ เพศ และตําแหนงหนาที่การงานดวย นอกจากน้ัน เวลา และ
สถานท่ยี ังเปนเครื่องกาํ หนดอีกดว ยวา ควรเลือกใชถอยคาํ อยางไรจงึ จะเหมาะสม

ตวั อยา งคาํ สุภาพ เชน บิดา พอ มารดา แม และใชคําวาคุณ นําหนาชื่อ เชน คุณพอ คุณลุง
คาํ นาม คุณประเสริฐ คุณครู เปนตน ศีรษะ หัว โลหิต เลือด อุจจาระ
ขี้ ปสสาวะ เย่ียว โค วัว กระบือ ควาย สนุ ขั หมา สุกร หมู เปน ตน
คาํ กริยา รบั ประทานอาหาร กนิ ถงึ แกกรรม ตาย คลอดบุตร ออกลูก ทราบ รู
คําสรรพนาม เรียน บอกใหร ู เปน ตน
ดิฉนั ผม กระผม บุรุษที่ 1
คาํ วเิ ศษณ คณุ ทา น เธอ บรุ ษุ ที่ 2 และ 3
คาํ ลกั ษณะนาม การใชสรรพนามใหส ภุ าพ คนไทยนิยมเรยี กตามตาํ แหนงหนาท่ีดวย เชน
ทานอธิบดี ทา นหัวหนา กอง เปนตน
คําขานรบั เชน คะ เจาคะ ครับ ครับผม เปน ตน
คาํ ขอรอ ง เชน โปรด ไดโ ปรด กรุณา เปนตน
ลักษณะนามเพอื่ ยกยอง เชน อาจารย 5 ทาน แทนคําวา คน
ลกั ษณะนามเพอ่ื ใหส ุภาพ เชน ไข 4 ฟอง แทนคาํ วา ลกู
ผลไม 5 ผล แทนคาํ วา ลกู

152 | ห น้ า

เรื่องที่ 6 การใชส าํ นวน สุภาษติ คาํ พงั เพย

คนไทยนยิ มใชภ าษาถอยคําสาํ นวนทส่ี ละสลวย ไพเราะ เสนาะหู และสะดวกแกก ารออกเสยี ง
ลกั ษณะนิสยั คนไทยเปนคนเจาบทเจา กลอนอยูแลว เวลาพดู หรอื เขียนจงึ นิยมใชถอยคําสาํ นวนปนอยู
เสมอถอยคาํ สาํ นวนตาง ๆ เหลานี้ชวยใหการส่ือสารความหมายชัดเจน ไดความไพเราะ ถายทอด
อารมณความรูสึกตาง ๆ ไดดีบางครง้ั ใชเปนการสื่อสารความหมายเพ่ือเปรียบเปรยไดอ ยางคมคายลกึ
ซ้งึ เหมาะสมกบั วฒั นธรรมความเปน อยูของคนไทย ซง่ึ แสดงถึงอธั ยาศยั ทีด่ ตี อคนอืน่ เปนพืน้ ฐาน

ประเภทของถอยคําสํานวน

1. ถอยคาํ สาํ นวน เปนสาํ นวนคาํ ท่ีเกิดจากการผสมคาํ แลวเกิดเปนคําใหม เชน คาํ ผสม

คาํ ซอน หรือคําที่เกิดจากการผสมคาํ หลายคํา ผสมกันเปน ลักษณะสมั ผสั คลองจอง มีความหมาย

ไมแปลตรงตามรูปศัพท แตม ีความหมายในเชิงอปุ ไมย เชน

ไกอ อ น หมายถึง คนทยี่ งั ไมช าํ นาญในช้ันเชงิ

กง่ิ ทองใบหยก หมายถงึ ความเหมาะสมของคกู นั น้ันมีมาก

เกลือจ้ิมเกลือ หมายถงึ มคี วามดรุ า ยเขา หากัน แกเผด็ กัน

แกวง เทาหาเสี้ยน หมายถงึ การหาเรอ่ื งเดือดรอน

ขิงก็ราขา กแ็ รง หมายถึง ตา งฝา ยก็รา ยเขาหากัน

แขวนนวม หมายถงึ เลิกการกระทาํ ที่เคยทาํ มากอ น

ควา่ํ บาตร หมายถงึ การบอกปฏเิ สธไมค บคา สมาคมดวย

คมในฝก หมายถงึ มีความฉลาดรอบรแู ตย ังไมแ สดงออกเมือ่ ไมถ งึ เวลา

งามหนา หมายถงึ นา ขายหนา

งูกินหาง หมายถึง เก่ยี วโยงกันเปนทอด ๆ

จนตรอก หมายถงึ หมดหนทางที่จะหนีได

จระเขข วางคลอง หมายถึง คอยกดี กนั ไมใหค นอน่ื ทําอะไรไดส ะดวก

ชกั หนาไมถ ึงหลัง หมายถงึ รายไดไมพอจบั จาย

ชุบมอื เปบ หมายถงึ ฉวยผลประโยชนจากแรงงานคนอ่นื

หญา ปากคอก หมายถงึ เรอ่ื งงา ย ๆ คดิ ไมถ งึ

ตกหลุมพราง หมายถึง เชอ่ื ตามที่เขาหลอก

ตําขาวสารกรอกหมอ หมายถงึ การทําอะไรเฉพาะหนาครง้ั คราว

พอใหเสร็จไปเทา นั้น

ทิง้ ทวน หมายถงึ ทําดีทสี่ ดุ เปน ครัง้ สุดทาย

ห น้ า | 153

น้ํารอ นปลาเปน หมายถึง การพูดหรอื ทําอยา งละมนุ ละมอ ม

นํ้าเยน็ ปลาตาย ยอ มสําเร็จมากกวาทาํ รุนแรง

นาํ้ ทว มปาก หมายถงึ รูอะไรแลวพูดไมไ ด

บองตน้ื หมายถงึ มคี วามคดิ อยา งโง ๆ

ผักชีโรยหนา หมายถงึ ทําดีแตเพยี งผวิ เผิน

ผา ขรี้ ว้ิ หอ ทอง หมายถึง คนม่งั มีแตทําตัวซอ มซอ

ใฝส งู เกนิ ศักดิ์ หมายถึง ทะเยอทะยานเกนิ ฐานะ

ฝากผีฝากไข หมายถงึ ขอยดึ เปน ทพ่ี ึง่ จนตาย

พกหนิ ดีกวา พกนนุ หมายถึง ใจคอหนกั แนน ดีกวาใจเบา

พระอิฐ พระปูน หมายถงึ นง่ิ เฉยไมเ ดอื ดรอน

มวยลม หมายถึง ทําทาจะเลิกลม ไมดําเนินการตอไป

มืดแปดดาน หมายถงึ มองไมเ หน็ ทางแกไขคดิ ไมออก

ยอ มแมวขาย หมายถงึ เอาของไมดมี าหลอกวาเปน ของดี

โยนกลอง หมายถงึ มอบความรับผิดชอบไปใหคนอื่น

ลอยชาย หมายถึง ทาํ ตัวตามสบาย

ลอยแพ หมายถงึ ถูกไลอ อก ปลดออก ไมเกีย่ วขอ งกันตอ ไป

สาวไสใหกากนิ หมายถงึ ขุดคุย ความหลงั ส่งิ ไมดมี าประจานกนั เอง

สกุ เอาเผากิน หมายถงึ ทําอยา งลวก ๆ ใหเ สรจ็ ไปครงั้ หนง่ึ ๆ

หอกขางแคร หมายถึง อนั ตรายทอ่ี ยูใ กลต ัว

อดเปร้ียวไวกนิ หวาน หมายถงึ อดทน ลาํ บากกอ น จงึ สบายภายหลัง

2. คําพงั เพย หมายถงึ ถอยคําทก่ี ลาวข้นึ มาลอย ๆ เปน กลาง ๆ มีความหมายเปนคติสอนใจ

สามารถนาํ ไปตคี วามแลวนาํ ไปใชพดู หรอื เขียนใหเ หมาะสมกบั เรอ่ื งทีเ่ ราตอ งการสื่อสารความหมายได

มีลักษณะคลา ยคลงึ กับสุภาษิตมาก อาจเปน คํากลา ว ตชิ ม หรือแสดงความคดิ เห็น เชน

รําไมดโี ทษปโ ทษกลอง หมายถึง คนท่ีทําอะไรผิดแลวมกั กลา วโทษสงิ่ อื่น

ข่ชี างจับต๊กั แตน หมายถึง การลงทุนมากเพ่อื ทาํ งานทไ่ี ดผลเล็กนอ ย

ชโี้ พรงใหกระรอก หมายถึง การแนะนําใหคนอนื่ ทําในทางไมด ี

เสยี นอ ยเสยี ยาก หมายถงึ การไมร วู าสิง่ ไหนจําเปนหรือไมจาํ เปน

เสยี มากเสียงาย ใชจา ยไมเหมาะสม

คาํ พังเพยเหลานีย้ งั ไมเปนสุภาษิตก็เพราะวา การกลาวน้ันยังไมมีขอยุติวาเปนหลักความจริง

ท่ีแนนอน ยังไมไดเปนคาํ สอนท่ีแทจริง

154 | ห น้ า

ตัวอยางคําพังเพย

คําพงั เพย ความหมาย

กระเชอกน รวั่ เปน คนสุรยุ สรุ า ย
กลา นักมักบน่ิ คนทีอ่ วดเกงกลาจนเกนิ ไปจนอับจนสกั วัน
ขีช่ า งจับตก๊ั แตน ลงทนุ ไมคุม กบั ผลที่ได
ทําบุญเอาหนา ภาวนากนั ตาย ทาํ อะไรเพื่อเอาหนา ไมทาํ ดวยใจจริง
หักดามพราดวยเขา ทาํ อะไรโดยพลการ
รําไมด โี ทษปโทษกลอง ทาํ ไมดแี ตโทษผูอ ืน่
นายพง่ึ บา ว เจาพง่ึ ขา ทุกคนตองพ่ึงพาอาศัยกัน
ชาดไมดี ทาสีไมแ ดง สนั ดานคนไมด ี แกอยา งไรกไ็ มด ี
ไมงามกระรอกเจาะ หญงิ สวยท่มี ีมลทนิ
มอื ไมพายเอาเทารานํ้า ไมช ว ยแลว ยังกดี ขวาง
ฟน ฝอยหาตะเขบ็ ฟน เรื่องเกามาเลาอีก
หงุ ขาวประชดหมา ปง ปลาประชดแมว แกลง ทําแดกดนั โดยอีกฝา ยหนง่ึ ไมเ ดอื ดรอน

ตัวอยางการนําคําพงั เพยไปใชในความหมายเปรยี บเทียบ
เมือ่ กอนนด้ี ไู มค อยสวย เดีย๋ วนแ้ี ตงตวั สวยมากนีแ่ หละ ไกงามเพราะขน คนงานเพราะแตง
เจา มนั ฐานะตา่ํ ตอ ยจะไปรกั ลกู สาวคนรวยไดย งั ไง ตักนํา้ ใสก ะโหลกชะโงกดเู งา ตนเองเสียบา ง
เราอยา ไปทําอะไรแขงกับเขาเลย เขากบั เราไมเ หมือนกัน อยาเหน็ ชางขข้ี ี้ตามชา ง
แหม...ฉนั วา ฉันหนีจากเพอื่ นเกา ท่ีเลวแลว มาเจอเพื่อนใหมก ็พอ ๆ กัน มันเขา ตาํ รา หนีเสือปะ

จระเข
เขาชอบถว งความเจรญิ ของหมูค ณะอยเู รอื่ ย แถมยงั ขดั ขวางคนอ่ืนอกี น่ีแหละ คนมือไมพาย

เอาเทา ราน้าํ
3. อุปมาอุปไมย หมายถึง ถอ ยคําท่ีเปนสํานวนพวกหน่ึง กลาวทํานองเปรียบเทียบใหเห็น

จริงเขาใจแจม แจงชัดเจน และสละสลวยนาฟงมากขึ้น การพดู หรือการเขยี นนิยมหาคาํ อปุ มาอุปไมยมา
เติมใหไดความชัดเจนเกิดภาพพจน เขาใจงาย เชน คนดุ หากตองการใหความหมายชัดเจน นาฟง
และเกิดภาพพจนชัดเจนก็ตองอุปมาอุปไมยวา “ดุ เหมือน เสือ” ขรุขระ การส่ือความยังไมชัดเจน
ไมเหน็ ภาพ ตอ งอปุ มาอปุ ไมยวา “ขรุขระเหมอื นผวิ มะกรูด” หรือ “ขรุขระเหมือนผิวพระจันทร”
กจ็ ะทาํ ใหเขาใจความหมายในรปู ธรรมชดั เจนมากย่งิ ข้ึน

ห น้ า | 155

ในการเขยี นบทรอ ยแกว หรอื รอยกรองก็ตาม เราไมอ าจเขียนใหละเอียดลกึ ซงึ้ เพอ่ื สอ่ื ความได
แจมแจงเทากับการพูดบรรยายดวยตนเองได ก็จาํ เปนตองใชอุปมาเพ่ือเปรียบเทียบใหผูรับสาร
จากเราไดรับรูความจริง ความรูสึก โดยการใชคําอปุ มาเปรียบเทียบ ในการแตงคาํ ประพันธก็นิยมใช
อุปมากันมากเพราะคาํ อุปมาอุปไมยจะชวยตกแตงถอยคําสาํ นวนการเขียนใหไพเราะนาอาน กินใจ
ประทับใจมากข้นึ สังเกตการใชอปุ มาอปุ ไมยเปรยี บเทียบในตวั อยางตอไปนี้

ทานจะไปทพั คร้ังน้ี อยาเพ่ิงประมาทดูแคลนเลาป ดวยเลาปไดขงเบงมาไวเปนที่ปรึกษา
อปุ มา เหมือนเสอื อันคะนองอยูในปาใหญ ทา นเรงระวังตัวจงดี

ตัวอยา งอปุ มาท่คี วรรจู ัก

แข็งเหมอื นเพชร กรอบเหมือนขาวเกรียบ
กลมเหมือนมะนาว กลัวเหมือนหนูกลวั แมว
กนิ เหมอื นหมู คดเค้ียวเหมอื นเขาวงกต
แกมแดงเหมือนตําลึงสกุ งา ยเหมอื นปอกกลวยเขาปาก
ขมเหมอื นบอระเพด็ โงเ หมอื นควาย
ขาวเหมือนสําลี ใจเสาะเหมือนปอกกลว ยเขา ปาก
เขียวเหมือนพระอนิ ทร เบาเหมือนปุยนนุ
งงเปน ไกตาแตก พดู ไมอ อกเหมอื นน้าํ ทวมปาก
เงยี บเหมอื นปา ชา รกเหมือนรงั หนู
ใจกวางเหมอื นแมน าํ้ ยากเหมอื นงมเขม็ ในมหาสมุทร
ใจดําเปนอกี า ลืมตวั เหมือนววั ลมื ตนี
ซนเหมอื นลิง ชาเหมือนเตา
เดินเหมือนเปด ซีดเหมอื นไกต ม
ตาดาํ เหมือนนลิ ดาํ เหมือนตอตะโก
บรสิ ทุ ธเิ์ หมือนหยาดนํา้ คา ง ตาโตเทาไขหาน
เรว็ เหมอื นจรวด ไวเหมือนปรอท
เรียบรอยเหมือนผา พบั ไว หนักเหมือนเดมิ
เอะอะเหมือนเจก ตื่นไฟ อดเหมือนกา
ผอมเหมอื นเปรต สงู เหมือนเสาโทรเลข
มดื เหมือนลืมตาในกระบอกไม ใสเหมอื นตาตก๊ั แตน

156 | ห น้ า สวยเหมือนนางฟา
อว นเหมือนตุม
หวานเหมอื นนาํ้ ออย เหนยี วเหมอื นตังเม
เปรย้ี วเหมอื นมะนาว หนา สวยเหมอื นพระจันทรวนั เพ็ญ
หวงเหมือนหมาหวงกา ง รกั เหมอื นแกว ตาดวงใจ
หนา ขาวเหมอื นไขป อก
ยุงเหมือนยงุ ตกี นั

เรื่องท่ี 7 หลักการแตงคําประพันธ

การแตง คาํ ประพันธ
คาํ ประพันธม รี ปู แบบหลายประเภท เชน กาพย กลอน โคลง ฉันท การศึกษา และฝกหัด

แตง กาพย กลอน โคลง เปน การสบื สานวัฒนธรรมการใชภาษาวรรณศลิ ปข องคนไทย

การแตง กาพย
คําประพนั ธรอ ยกรองประเภทกาพย มหี ลายแบบเรยี กชอื่ ตา ง ๆ กันไป ตามลกั ษณะคาํ ประพนั ธ

ท่ีแตกตางกนั เชน กาพยย านี กาพยฉ บัง กาพยส รุ างคนางค กาพยข บั ไม เปนตน กาพยน นั้
สันนิษฐานวา เอาแบบมาจากฉนั ท เพียงตดั คาํ ครุ คาํ ลหุออกไป เทานั้น

ในที่น้ีจะอธิบายเฉพาะกาพยยานี 11 กาพยฉบัง 16 และกาพยสุรางคนางค 28 เปนกาพย
ทนี่ ยิ มแตงกนั โดยทวั่ ไป

1. กาพยยานี 11

แผนผัง

ตัวอยา ง สมั ผสั คําสัมผสั ใจ
ยานีมลี าํ นํา วรรคหลังน้ีมีหกคาํ ฯ

วรรคหนา หา คําใช

ห น้ า | 157

ลกั ษณะคาํ ประพนั ธ

1. บท บทหนึ่งมี 4 วรรค แบงเปนวรรคแรก 5 คํา วรรคหลัง 6 คํา รวม 11 คํา จึงเรียก

ยานี 11

2. สัมผัส

ก. สมั ผสั นอก หรอื สมั ผสั ระหวางวรรค อันเปน สมั ผสั บังคับ มดี ังนี้

คําสดุ ทายของวรรคแรกวรรคทห่ี นง่ึ วรรคสดบั สมั ผสั กบั คําทสี่ ามของวรรคหลงั วรรคท่ีสอง วรรครบั

คาํ สดุ ทายของวรรคท่ีสอง วรรครับ สัมผัสกับคําสุดทายของวรรคที่สาม วรรครองดูแผนผัง

และตวั อยาง

ถา จะแตง บทตอ ไปตองมีสัมผัสระหวางบท

สมั ผัสระหวา งบท ของกาพยยานี คอื

คาํ สุดทายของวรรคส่ี วรรคสง เปนคําสงสัมผัสบังคับใหบ ทตอไปตอ งรบั สมั ผสั ท่คี ําสดุ ทา ยของ

วรรคสอง วรรครับ ดังตวั อยาง

ยานีมลี ํานาํ สัมผัสคาํ สมั ผัสใจ

วรรคหนา หา คาํ ใช วรรคหลังน้ีมหี กคํา

หนึ่งบทมสี ีว่ รรคพึงประจกั ษเปนหลกั จํา

จังหวะและลาํ นํา กาพยยานดี ังนเ้ี ทอญฯ

คาํ สดุ ทา ยของบทตน คอื คาํ วา “คํา” สงสมั ผสั ไปยังบทถัดไป บังคับใหร ับสัมผัสทคี่ าํ สุดทาย

ของวรรคสองหรือวรรครับ ในท่นี คี้ ือคําวา “จํา”

ข. สัมผัสใน แตละวรรคของกาพยยานจี ะแบงชวงจังหวะเปน ดงั น้ี

วรรคแรก เปน สองคาํ กับสามคาํ คือ หนึง่ สอง หนงึ่ สองสาม

วรรคหลงั เปน สามคาํ กับสามคํา คือ หนง่ึ สองสาม หนงึ่ สองสาม

ฉะนนั้ สัมผัสในจงึ กําหนดไดตามชวงจังหวะของแตล ะวรรคนน่ั เอง ดงั ตวั อยา ง

ยานี – มีลาํ นาํ สัมผสั คาํ – สัมผสั ใจ

ขอสงั เกต

กาพยยานไี มเครง สัมผัสในจะมหี รอื ไมม กี ไ็ ด ขอเพยี งใชคําทีอ่ า นแลวราบรืน่ ตามชวงจังหวะของ

แตละวรรคนัน้ ๆ เทา นั้น สว นสัมผสั นอกระหวา งวรรคทสี่ าม วรรครอง กบั วรรคทส่ี ่ี วรรคสง นนั้ จะมี

หรือไมม กี ไ็ ดไมบงั คับเชน กัน

158 | ห น้ า

2. กาพยฉบัง 16

แผนผัง

ตวั อยาง สามวรรคระวัง
กาพยนมี้ ีนามฉบัง

จงั หวะจะโคนโยนคาํ ฯ

ลกั ษณะคาํ ประพนั ธ

1. บท

บทหน่งึ มี 3 วรรค อาจเรียกวา วรรคสดบั วรรครบั วรรคสง กไ็ ด แบงเปน

วรรคแรก วรรคสดบั มี 6 คํา วรรคท่สี อง วรรครับ มี 4 คํา

วรรคท่ี 3 วรรคสง มี 6 คํา

รวมทัง้ หมด 16 คํา จงึ เรยี กฉบงั 16

2. สมั ผัส

ก. สมั ผัสนอก หรอื สมั ผัสระหวางวรรค อนั เปนสัมผสั บงั คับ ดงั นี้

คาํ สดุ ทายของวรรคหน่ึง วรรคสดบั สัมผสั กบั คาํ สุดทายของวรรคสอง วรรครบั สัมผสั

ระหวา งบท ของกาพยฉบงั คอื

คําสุดทายของวรรคสาม วรรคสง เปนคําสงสัมผัส บังคับใหบทตอไปตองรับสัมผัส

ท่ีคําสดุ ทา ยของวรรคหนง่ึ วรรคสดบั ดงั ตัวอยา ง

กาพยมีนามฉบงั สามวรรคระวงั

จงั หวะจะโคนโยนคํา

สัมผัสจดั บทลาํ นาํ กําหนดจดจาํ

หกคําสค่ี ําดงั น้ี ฯ

ข. สัมผสั ใน แตละวรรคของกาพยฉ บงั แบงชวงจังหวะเปน วรรคละสองคํา ดงั นี้

หนงึ่ สอง หน่งึ สอง หน่ึงสอง หน่ึงสอง หน่ึงสอง

หนึง่ สอง หนึง่ สอง หนงึ่ สอง

ห น้ า | 159

ฉะน้ัน สมั ผัสในกําหนดไดตามชว งจงั หวะของแตละวรรคนนั้ เอง ดังตวั อยาง

กาพยน ี้ – มีนาม ฉบัง สามวรรคระวัง

จังหวะ – จะ โคน – โยนคํา

ขอสังเกต

กาพยฉบังไมเครงสมั ผสั ใน จะมหี รอื ไมมีก็ได ขอเพียงใชคําที่อานราบรื่นตามชวงจังหวะของ

แตละวรรคนัน้ ๆ เทา นนั้

สว นสัมผสั นอกระหวา งวรรคทส่ี อง วรรครบั กบั วรรคทส่ี าม วรรคสง น้ัน จะมหี รือไมมกี ็ได

ไมบ ังคบั เชน กนั

การแตง กลอน

กลอน
คําประพันธรอยกรองประเภทกลอน มีหลายแบบเรียกช่ือตาง ๆ กันไป ตามลักษณะ
ฉันทลักษณท แ่ี ตกตา งกันนั้น ๆ เชน กลอนสี่ กลอนหา กลอนหก กลอนแปด และยังจําแนกออกไป
ตามลีลาท่ีนาํ ไปใชเชน กลอนเพลงยาว กลอนบทละคร กลอนเสภา รวมถงึ กลอนบทตาง ๆ อีกดว ย
ในที่นี้จะอธิบายเฉพาะกลอนหกและกลอนแปด อนั เปน กลอนที่นิยมแตง กันโดยท่ัวไป
1. กลอนหก
แผนผัง

ตวั อยาง

กลอนหกหกคาํ ร่าํ รู วางคูวางคําน้ําเสียง
ไพเราะเร่ือยร่าํ จําเรียง สําเนยี งสูงต่าํ คาํ กลอนฯ

ลกั ษณะคาํ ประพันธ

1. บท บทหน่งึ มี 4 วรรค

วรรคที่หนึ่งเรียกวรรคสดบั วรรคทสี่ องเรยี กวรรครบั

วรรคทสี่ ามเรียกวรรครอง วรรคที่สีเ่ รียกวรรคสง

แตละวรรคมี 6 คาํ จึงเรยี กวา กลอนหก

160 | ห น้ า

2. เสยี งคาํ กลอนทกุ ประเภทจะกาํ หนดเสียงคําทา ยวรรคเปน สําคญั กาํ หนดไดด งั นี้

คําทา ยวรรคสดบั กาํ หนดใหใชไ ดท กุ เสยี ง

คาํ ทายวรรครับ กาํ หนดหามใชเ สียงสามญั กับตรี

คําทา ยวรรครอง กําหนดใหใชเฉพาะเสียงสามัญกับตรี

คําทา ยวรรคสง กําหนดใหใ ชเฉพาะเสยี งสามญั กบั ตรี

3. สมั ผสั

ก. สมั ผสั นอก หรอื สมั ผัสระหวางวรรค อนั เปนสัมผสั บงั คับ มดี งั น้ี

คาํ สุดทายของวรรคท่ีหนึง่ วรรคสดบั สมั ผัสกบั คําทีส่ องหรือที่สี่ของวรรคท่สี องวรรครับ

คาํ สุดทายของวรรคท่สี อง วรรครับ สมั ผสั กบั คําสุดทา ยของวรรคทีส่ าม วรรครอง และคําที่

สองหรอื ท่สี ขี่ องวรรคท่ีสี่ วรรคสง

สัมผัสระหวางบท ของกลอนทุกประเภท คอื

คําสุดทายของวรรคที่ส่ี วรรคสง เปนคําสงสัมผัสบังคับใหบทตอไปตองรับสัมผัสที่

คาํ สุดทา ยของวรรคทสี่ อง วรรครับ ตัวอยาง

กลอนหกหกคาํ ร่าํ รู วางควู างคาํ นา้ํ เสยี ง

ไพเราะเรือ่ ยรํ่าจาํ เรียง สาํ เนยี งสูงต่ําคาํ กลอน

เรียงรอ ยถอ ยคําสมั ผัส จาํ รัสจาํ หลักอกั ษร

ทุกวรรคทกุ บททุกตอน คือถอยสุนทรกลอนกานทฯ

คําสุดทายของบทตนคือวา กลอน เปนคําส่ังสัมผัส บังคับใหบทถัดไปตองรับสัมผัสท่ี

คาํ สุดทายของวรรคดว ยคําวา “ ษร” ตามตัวอยางนน้ั

ข. สัมผสั ใน แตล ะวรรคของกลอนหก แบง ชวงจังหวะเปน วรรคสองคํา ดังนี้

หนึ่งสอง หนึ่งสอง หน่งึ สอง

ฉะนน้ั สัมผัสในจึงกําหนดไดต ามชวงจงั หวะนนั่ เอง ดงั ตัวอยา ง

เรยี งรอ ย ถอย คํา สัมผสั

ขอ สังเกต

กลอนหกไมเครงสัมผัสในวรรคมากนัก อาจยายท่ีสัมผัสจากคําที่สองไปคําท่ีสี่ได หรือจะไม

สัมผัสสระเลย ใชการเลนคําไปตามชวงจงั หวะก็ได ดงั ตัวอยาง เชน ทกุ วรรคทุกบททกุ ตอน

ห น้ า | 161

2. กลอนแปด (กลอนสภุ าพ)

แผนผงั

ตัวอยา ง วางเปน หลักอักษรสนุ ทรศรี
อันกลอนแปดแปดคาํ ประจําวรรค สมั ผสั มีนอกในไพเราะรู ฯ
เสียงทายวรรคสงู ต่ําจําจงดี

ลกั ษณะคาํ ประพนั ธ

1. บท บทหนงึ่ มี 4 วรรค

วรรคที่หนงึ่ เรยี กวรรคสดบั วรรคทีส่ องเรยี กวรรครบั

วรรคท่สี ามเรียกวรรครอง วรรคทีส่ เ่ี รยี กวรรคสง

แตละวรรคมีแปดคาํ จึงเรียกวา กลอนแปด

2. เสยี งคาํ กลอนแปดและกลอนทกุ ประเภทจะกาํ หนดเสยี งคําทา ยวรรคเปน สาํ คญั

โดยกาํ หนดดังน้ี

คาํ ทายวรรคสดับ กาํ หนดใหใชไ ดท ุกเสยี ง

คําทายวรรครบั กาํ หนดหา มใชเสยี งสามัญและตรี

คําทายวรรครอง กําหนดใหใชเฉพาะเสยี งสามัญและตรี

คําทายวรรคสง กําหนดใหใชเฉพาะเสียงสามัญและตรี

3. สัมผัส

ก. สมั ผัสนอก หรือสมั ผสั ระหวางวรรค อันเปนสัมผสั บงั คบั มดี ังนี้

คําสดุ ทา ยของวรรคที่หนง่ึ วรรคสดับ สัมผสั กับคําทสี่ ามหรือท่ีหาของวรรคทส่ี อง

วรรครบั

คําสุดทา ยของวรรคที่สอง วรรครบั สัมผสั กับคําสุดทายของวรรคท่ีสาม วรรครอง และท่ี

สามหรอื ท่หี าของวรรคทส่ี ่ี วรรครับ

162 | ห น้ า

สมั ผสั ระหวางบท ของกลอนแปด คอื

คําสุดทายของวรรคที่ส่ี วรรคสง เปนคําสงสัมผัสบังคับใหบทตอไปตองรับสัมผัส

ทค่ี าํ สุดทา ยของวรรคทสี่ อง วรรคสง

อนั กลอนแปดแปดคาํ ประจําวรรค วางเปนหลักอกั ษรสุนทรศรี

เสยี งทายวรรคสูงตาํ่ จาํ จงดี สัมผสั มีนอกในไพเราะรู

จดั จงั หวะจะโคนใหย ลแยบ ถอื เปน แบบอยา งกลอนสุนทรภู

อา นเขยี นคลอ งทองจําตามแบบครู ไดเ ชิดชูบชู าภาษาไทยฯ

คาํ สุดทา ยของบทตน ในทนี่ คี้ อื คาํ วา “รู” เปนคาํ สงสมั ผสั บังคับใหบทถัดไปตองรับสมั ผัส

ทคี่ ําสุดทายของวรรคทสี่ อง วรรครับ ในทีน่ คี้ อื คาํ วา “ภ”ู

ข. สมั ผสั ใน แตล ะวรรคของกลอนแปด แบง ชวงจังหวะออกเปนสามชวง ดงั นี้

หน่ึงสองสาม หนง่ึ สอง หนึ่งสองสาม

ฉะนัน้ สมั ผสั ในจึงกาํ หนดไดต ามชว งจงั หวะในแตล ะวรรคนนั่ เอง ดงั ตัวอยา ง

อนั กลอนแปด – แปด คาํ – ประจาํ วรรค

วางเปนหลัก – อัก ษร – สุนทรศรี

เรอ่ื งที่ 8 การใชภ าษาทเ่ี ปนทางการและไมเปนทางการ

ภาษาท่ีใชมีระดับในการใช หนังสือเรียนบางเลม แบงภาษาออกเปน 3 ระดับ โดยเพิ่ม
ภาษากึ่งทางการ แตใ นหนงั สอื น้แี บงเปน 2 ระดับ คอื การใชภาษาท่เี ปน ทางการ และไมเปน ทางการ

1. ภาษาทเ่ี ปนทางการ
ภาษาทางการ หมายถึง ภาษาท่ีใชอ ยางเปนทางการ มีลักษณะเปนแบบพิธี ถูกตองตาม

แบบแผนของภาษาเขยี น มีท้ังเสียงเครงขรึม จริงจัง อาจเรียกวาภาษาแบบแผนก็ได ภาษาทางการ
มักใชใ นการเขยี นหนังสือราชการ การกลา วรายงาน คํากลาวเปดงาน การแสดงสุนทรพจน การเขยี น
ตาํ ราวชิ าการ และการบันทกึ รายงานการประชุม เปน ตน

2. ภาษาไมเ ปนทางการ
ภาษาไมเ ปน ทางการ หมายถึง ภาษาท่ีใชถอ ยคํางาย ๆ น้าํ เสียงเปนกันเองไมเครงเครียด

แสดงความใกลช ดิ สนิทสนมระหวางผูส งสารและผูร ับสารอาจเรยี กวาภาษาปากก็ได
ภาษาไมเปนทางการ อาจจําแนกเปนภาษากลุมยอยๆ ไดอีกหลายกลุม เชน ภาษาถิ่น

ภาษาแสลง ภาษาตลาด ฯลฯ ใชในการสนทนาระหวางสมาชิกในครอบครัว คนสนิทคุนเคย ใชเขียน
บนั ทกึ สว นตวั และงานเขยี นทต่ี องการแสดงความเปน กนั เองกบั ผอู า น เปนตน

ห น้ า | 163

สําหรบั การเลือกใชภ าษาแบบเปนทางการและไมเปน ทางการจะตองพิจารณาใหเหมาะสมกับ
องคประกอบตาง ๆ ดงั น้ี

2.1 วตั ถปุ ระสงค จะตอ งพิจารณาวา งานเขยี นนน้ั นาํ ไปใชเ พอ่ื อะไร
2.2 สถานการณใ นตา งสถานการณ ผเู ขียนจะใชร ะดบั ภาษาท่ีตางกัน

เชน เชิญเพื่อน “เชิญทานอาหารไดแลว” เชิญผูใหญ “ขอเชิญรับประทานอาหารไดแลว
ครับ” ผูเรยี นสามารถนาํ ไปใชไดอ ยา งเหมาะสมกบั วตั ถุประสงคแ ละสถานการณ

164 | ห น้ า

กจิ กรรม บทท่ี 5 หลักการใชภาษา

กจิ กรรมท่ี 1 ใหผ ูเรียนแยกคาํ ตอไปนอ้ี อกเปน 3 ประเภท ตามตาราง

ผลไม รฐั บาล อัคคภี ยั พลเรอื น ศลิ ปกรรม

รูปธรรม วทิ ยาลัย มหาชน พระเนตร พุทธกาล

นพเกา คหกรรม สัญญาณ นโยบาย ภมู ศิ าสตร

คาํ ประสม คําสมาส คาํ สนธิ

กิจกรรมท่ี 2 ใหผ เู รียนพจิ ารณาประโยคตอ ไปนว้ี า เปนประโยคชนิดใด

1. วนั นอี้ ากาศรอนมาก

2. ฉันดีใจทเ่ี ธอมีความสุข

3. พอซ้ือนาฬิกาเรอื นใหมใหฉ นั

4. พ่ชี อบสีเขยี วแตน องสาวชอบสีฟา

5. รายการราตรีสโมสรใหค วามบันเทิงแกผชู ม

กจิ กรรมท่ี 3 ใหผูเรยี นฝก เขียนอักษรยอ ประเภทตา ง ๆ นอกเหนอื จากตัวอยางท่ียกมา

กิจกรรมท่ี 4 ใหผ เู รยี นศกึ ษาและรวบรวมคําสุภาพ และคาํ ราชาศพั ททใ่ี ชและพบเห็นในชีวิตประจาํ วนั

กิจกรรมท่ี 5 ใหผ ูเรยี นจบั คสู าํ นวนใหต รงกบั ความหมาย

1 เก่ียวโยงกันเปน ทอด ๆ ก. ผกั ชีโรยหนา

2 หมดหนทางท่ีจะหนไี ด ข. จับปลาสองมือ

3 ทําดีท่ีสดุ เปนครงั้ สุดทา ย ค. ขมิ้นกับปูน

4 รนหาเรอ่ื งเดือดรอ น ง. แกวง เทาหาเส้ยี น

5 ทําดแี ตเพยี งผวิ เผิน ฉ. จนตรอก

6 ไมด ําเนนิ การตอไป ช. หญา ปากคอก

7 นิ่งเฉยไมเ ดือดรอน ซ. ท้งิ ทวน

8 ทําอยางลวก ๆ ใหพอเสร็จ ฌ. แขวนนวม

9 รูอ ะไรแลว พูดไมได ญ. มวยลม

ห น้ า | 165

10 อยากไดสองอยา งพรอม ๆ กัน ฎ. ลอยแพ

11 ถูกไลอ อก ปลดออก ฏ. หอกขางแคร

12 เร่อื งงาย ๆ ท่คี ิดไมถงึ ฐ. พระอิฐพระปนู

ฑ. สกุ เอาเผากิน

ฒ. งูกินหาง

ณ. นํ้าทว มปาก

กจิ กรรมที่ 6 ใหผ เู รยี นเขียนคําพงั เพยใหต รงกับความหมายท่กี ําหนดให

1. ชอบโทษผอู น่ื โดยไมด ตู ัวเอง

2. ไมช ว ยแลว ยงั กดี ขวางผอู ืน่

3. การลงทนุ ไมค ุม คากบั ผลทไ่ี ดรับ

4. ชอบรื้อฟน เรือ่ งเกา ๆ

5. เปนคนชอบสุรยุ สรุ า ย

กจิ กรรมที่ 7 ตอบคาํ ถามตอ ไปนส้ี ั้น ๆ แตไ ดใจความ

1. การแตง คาํ ประพนั ธต ามหลักฉนั ทลกั ษณม ีก่ีประเภท อะไรบา ง

2. บทประพันธต อ ไปนเ้ี ปน คาํ ประพนั ธป ระเภทใด

2.1 ถึงกลางวันสุรยิ ันแจมประจกั ษ ไมเห็นหนานงลักษณย ่งิ มดื ใหญ

ถึงราตรีมจี นั ทรอันอําไพ ไมเ หน็ โฉมประโลมใจใหมดื มน

ววิ าหพ ระสมทุ ร

2.2 ขึ้นกกตกทุกขย าก แสนลาํ บากจากเวยี งชัย

ผักเผือกเลือกเผาไฟ กนิ ผลไมไ ดเ ปนแรง

รอนรอนออนอัสดง พระสุรยิ งเย็นยอแสง

ชว งดงั่ น้ํากริ่งแดง แฝงเมฆเขาเงาเมธุธร

กจิ กรรมที่ 8 ผูเรยี นเขียนประโยคภาษาทางการ และไมเปน ทางการอยา งละ 3 ประโยค

ภาษาทางการ 1...................................................................................

2..................................................................................

3...................................................................................

ภาษาไมเ ปน ทางการ 1...................................................................................
2..................................................................................
3...................................................................................

166 | ห น้ า

บทที่ 6 วรรณคดี และวรรณกรรม

สาระสําคัญ

การเรียนภาษาไทย ตองเรียนรูในฐานะเปนวัฒนธรรมทางภาษาใหเกิดความช่ืนชม ซาบซึ้ง
และภูมิใจในภาษาไทย โดยเฉพาะคุณคาของวรรณคดี และภูมิปญญาทางภาษาของบรรพบุรุษที่ได
สรางสรรคไวอันเปนสวนเสริมความงดงามในชีวิต นอกจากนั้น วรรณคดีและวรรณกรรมตลอดจนบท
รองเลนของเด็ก เพลงกลอมเด็ก ปริศนาคําทาย เพลงพื้นบาน วรรณกรรมพื้นบานเปนสวนหนึ่งของ
วัฒนธรรมซึ่งมีคุณคา การเรียนภาษาไทยจึงตองเรียนวรรณคดี วรรณกรรม ภูมิปญญาทางภาษาที่
ถายทอดความรูสึกนึกคิดท้ังรอยแกวและรอยกรองประเภทตาง ๆ เพื่อใหเกิดความซาบซึ้งและ
ความภมู ิใจในสิ่งทบ่ี รรพบรุ ุษไดส ัง่ สมและสืบทอดมาจนถงึ ปจจบุ นั

ผลการเรยี นรทู ค่ี าดหวัง ผูเ รียนสามารถ

1. อธิบายความแตกตา งและคณุ คาของวรรณคดี วรรณกรรมปจ จบุ นั และวรรณกรรมทองถนิ่
2. ใชหลักการพินิจวรรณคดีและวรรณกรรม หลักการพิจารณาวรรณคดีและวรรณกรรม
ใหเห็นคณุ คาและนาํ ไปใชในชวี ิตประจาํ วนั
3. รอ งเลน หรอื ถายทอดเพลงพื้นบานและบทกลอมเด็กในทอ งถิ่น

ขอบขา ยเนื้อหา

เรื่องที่ 1 หลักการพิจารณาวรรณคดีและหลักการพินจิ วรรณกรรม
เร่อื งท่ี 2 หลักการพนิ ิจวรรณคดดี านวรรณศลิ ปและดานสงั คม
เรื่องท่ี 3 เพลงพื้นบาน เพลงกลอ มเดก็

ห น้ า | 167

เรอ่ื งท่ี 1 หลกั การพจิ ารณาวรรณคดแี ละหลกั การพนิ จิ วรรณกรรม

กอนท่ีจะศึกษาถึงเรื่องการพิจารณาวรรณคดีและการพินิจวรรณกรรม ตองทําความเขาใจ
กับความหมายของคาํ วา วรรณคดี และ วรรณกรรม เพ่ือใหนักศึกษาสามารถเขาใจในความหมาย
ของคําท้ังสองน้ี ไดอยางชัดเจนโดย ม.ล.บุญเหลือ เทพยสุวรรณ (2514: 58-133) ไดกลาวถึง
ความสมั พันธและความแตกตางระหวา งวรรณคดแี ละวรรณกรรมไวด งั นี้

วรรณคดี ใชในความหมายวา วรรณกรรมหรอื หนังสอื ท่ไี ดร บั การยกยองวาแตง ดี มีวรรณกรรม
ศิลปกลาวคือมีลักษณะเดนในการใชถอยคาํ ภาษาและเดนในการประพันธ ใหคุณคาทางอารมณและ
ความรสู กึ แกผูอา นสามารถใชเปนแบบฉบบั อางอิงได

หนงั สอื ที่เปน วรรณคดีสามารถบง บอกลักษณะไดด ังน้ี
1. มเี นอ้ื หาดี มีประโยชนแ ละเปนสุภาษติ
2. มีศิลปะการแตงท่ียอดเย่ียมท้ังดานศิลปะการใชคํา การใชโวหารและถูกตองตามหลัก
ไวยากรณ
3. เปน หนังสอื ทไ่ี ดรับความนยิ มและสบื ทอดกันมายาวนานกวา 100 ป
วรรณกรรม ใชในความหมายวา งานหนงั สือ งานนิพนธที่ทําขึ้นทุกชนิด ไมวาแสดงออกมา
โดยวิธีหรือในรูปอยางใด เชน หนังสือ จุลสาร ส่ิงเขียน ส่ิงพิมพ ปาฐกถา เทศนา คําปราศรัย
สุนทรพจน สิ่งบนั ทกึ เสยี ง ภาพ เปนตน
วรรณกรรมแบงออกเปน 2 ประเภท
1. สารคดี หมายถึง หนังสือท่ีแตงข้ึนเพ่ือใหความรู ความคิด ประสบการณแกผูอาน
ซ่ึง อาจใชรปู แบบรอยแกวหรอื รอยกรองก็ได
2. บันเทิงคดี คือ วรรณกรรมท่ีแตงขึ้นเพ่ือมุงใหความเพลิดเพลิน สนุกสนาน บันเทิง
แกผ ูอานจงึ มกั เปนเรอ่ื งทมี่ ีเหตุการณและตัวละคร
การพินิจหรือการพิจารณาคุณคาของวรรณคดีหรือวรรณกรรม ไมวาจะเปนรอยแกวหรือ
รอ ยกรองมหี ลกั การพจิ ารณากวา ง ๆ คลายกันคือ เราอาจจะตงั้ คําถามงา ย ๆ วางานประพันธช ้ินนัน้
หรือเรือ่ งน้นั ใหอ ะไรแกค นอา นบาง

168 | ห น้ า

ความหมาย

การพินิจ คือ การพิจารณาตรวจตรา พรอมทั้งวิเคราะหแยกแยะและประเมินคาได ท้ังน้ี
นอกจากจะไดประโยชนตอตนเองแลว ยังมีจุดประสงคเพื่อนําไปแสดงความคิดเห็นและขอเท็จจริง
ใหผูอื่นไดทราบดวย เชน การพินิจวรรณคดีและวรรณกรรมเพ่ือเปนการแนะนาํ ใหบุคคลท่ัวไปท่ีเปน
ผูอานไดรูจักและไดทราบรายละเอียดที่เปนประโยชนในดานตาง ๆ เชน ใครเปนผูแตง เปนเรื่อง
เก่ียวกับอะไร มีประโยชนตอใครบาง ทางใดบาง ผูพินิจมีความเห็นวาอยางไรคุณคาในแตละดาน
สามารถนาํ ไปประยุกตใหเ กดิ ประโยชนอ ยา งไรในชวี ติ ประจําวัน

แนวทางในการพินจิ วรรณคดแี ละวรรณกรรม

การพินิจวรรณคดีและวรรณกรรมมีแนวใหปฏิบัติอยางกวาง ๆ เพ่ือใหครอบคลุมงานเขียน
ทุกชนิดซึ่งผูพินิจจะตองดูวาจะพินิจหนังสือชนิดใด มีลักษณะเฉพาะอยางไรซ่ึงจะมีแนวในการพินิจ
ทจ่ี ะตอ งประยกุ ตหรือปรับใชใหเ หมาะสมกับงานเขียนนัน้ ๆ

หลกั เกณฑกวา ง ๆ ในการพนิ ิจวรรณคดีและวรรณกรรม มดี งั น้ี
1. ความเปน มาหรอื ประวัติของหนงั สอื และผูแตงเพื่อชว ยใหวเิ คราะหใ นสว นอนื่ ๆ ไดดขี น้ึ
2. ลักษณะคําประพันธ
3. เรือ่ งยอ
4. เน้ือเรื่อง ใหวิเคราะหเร่ืองตามหัวขอตามลําดับ โดยบางหัวขออาจจะมีหรือไมมีก็ได
ตามความจําเปน เชน โครงเรื่อง ตัวละคร ฉาก วิธีการแตง ลักษณะการเดินเร่ือง การใชถอยคํา
สํานวนในเรอื่ ง การแตงวิธีคิดที่สรา งสรรค ทศั นะหรือมมุ มองของผเู ขยี น เปนตน
5. แนวคิด จุดมุงหมาย เจตนาของผูเขียนที่ฝากไวใ นเร่อื งซึ่งจะตอ งวเิ คราะหอ อกมา
6. คณุ คาของวรรณคดแี ละวรรณกรรม ซง่ึ โดยปกติแลวจะแบง ออกเปน 4 ดานใหญ ๆ และ
กวาง ๆ เพื่อความครอบคลุมในทุกประเด็น ซ่ึงผูพินิจจะตองไปแยกแยะหัวขอยอยใหสอดคลอง
กบั ลกั ษณะหนงั สือท่จี ะพนิ จิ น้ัน ๆ ตามความเหมาะสมตอ ไป
การอานวรรณคดีมรดกตองอานอยางพินิจจึงจะเห็นคุณคาของหนังสือ การอานอยางพินิจ
หมายความวา อยางไร
การพนิ จิ วรรณคดี คือการอานวรรณคดีอยางใชความคิด ไตรตรอง กลั่นกรอง แยกแยะหา
เหตผุ ลหาสวนดี สวนบกพรองของหนังสือ เพื่อจะไดประเมินคาของหนังสือนั้น ๆ อยางถูกตองและมี
เหตผุ ล การอานหนังสืออยางพนิ ิจพเิ คราะหมปี ระโยชนตอ ชวี ติ มาก เพราะผูพินิจวรรณคดี จะรูจักเลือก
รบั ประโยชนจ ากหนังสอื และนาํ ประโยชนไ ปใชในชีวติ ของตนไดและความสามารถในการประเมินคาของผู
พินิจวรรณคดีจะชวยใหผูพินิจเปนผูมีเหตุผล มีความยุติธรรมมีวิจารณญาณ การพินิจวรรณคดี
ผพู ินิจไมค วรเอาความรสู กึ หรอื ประสบการณส ว นตนมาเปน หลกั สาํ คัญในการตดั สนิ วรรณคดี เพราะแตล ะคน
ยอมมคี วามรูสึกและประสบการณต างกัน

ห น้ า | 169

หลกั การพินจิ วรรณคดี
การพินิจวรรณคดี เปนการแนะนาํ หนังสือในลักษณะของการวิเคราะหวิจารณหนังสือ
อยางงาย ๆ โดยบอกเร่ืองยอ ๆ แนะนําขอดีขอบกพรองของวรรณคดี บอกชื่อผูแตง ประเภทของ
หนังสือ ลักษณะการแตง เนื้อเรื่องโดยยอๆ คุณสมบัติของหนังสือ ดวยการวิจารณเกี่ยวกับเนื้อหา
แนวคิด ภาษา คุณคา และขอคิดตาง ๆ ประกอบทัศนะของผูพินิจ ซึ่งเปนลักษณะของการชักชวน
ใหผอู านสนใจหนังสือเลมนั้น การพินิจวรรณคดีเปนการศึกษาและวิเคราะหลักษณะของวรรณคดีเพ่ือ
นาํ มาแนะนาํ ใหเกิดความเขา ใจซาบซึง้ อยางแจมแจง
การพินจิ วรรณคดมี หี ลักการพนิ จิ กวา ง ๆ 3 ดานคอื
1. โครงสรางของวรรณคดี
2. ความงดงามทางวรรณคดี
3. คุณคาของวรรณคดี

ดา นที่ 1 โครงสรา งของวรรณคดี
การทีเ่ ราจะพนิ จิ วรรณคดีเรื่องใด เราจะตองพิจารณาวา เร่ืองนั้นแตงดวยคําประพันธชนิดใด

โครงเร่อื งเนื้อเรือ่ งเปน อยา งไร มีแนวคดิ หรือสาระสําคญั อยา งไร ตัวละครมรี ูปรา ง ลกั ษณะนิสยั อยา งไร
ฉากมคี วามหมายเหมาะสมกบั เรือ่ งหรือไม และมวี ธิ ดี ําเนินเรอื่ งอยา งไร
ดานท่ี 2 ความงดงามทางวรรณคดี

วรรณคดีเปนงานท่ีสรางข้ึนอยางมีศิลปะ โดยเฉพาะการใชถอยคําเพ่ือใหเกิดความไพเราะ
ในอรรถรส ซ่งึ เราจะพจิ ารณาไดจากการใชค าํ มที ัง้ การเลน คํา เลนอักษร พจิ ารณาไดจ ากการใชส าํ นวน
โวหาร กวีโวหาร ซึ่งจะดจู ากการสรา งจันตภาพ ภาพพจน และพิจารณาจากการสรา งอารมณ
ในวรรณคดีสิ่งเหลา น้เี ปนความงดงามทางวรรณคดที ัง้ นนั้
ดา นที่ 3 คุณคา ของวรรณคดี

มคี ณุ คา ทางศีลธรรม ปญ ญา อารมณื วฒั นธรรม ประวัติศาสตร และวรรณศลิ ป เปนตน

โวหารภาพพจน

การใชโวหารภาพพจน คอื การใชถ อ ยคาํ ใหเ กดิ ภาพโดยวธิ กี ารเปรียบเทยี บอยา งมศี ิลปะ
ภาพพจนมีหลายลกั ษณะ เชน อปุ มา อุปลักษณ อธิพจน บคุ ลาธษิ ฐาน สทั พจน หรอื การใช
สญั ลักษณเ ปน ตน

อุปมา คือการเปรียบเทียบเพ่ือทําใหเห็นภาพหรือเกิดความรูสึกชัดเจน จึงตองนําสิ่งอื่นที่มี
ลักษณะคลายคลึงกันมาชวยอธิบาย หรือเชื่อมโยงความคิดโดยมีคํามาเชื่อม ไดแก เหมือน เสมือน
ดจุ เลห  เฉก ดงั กล เพยี ง ราว ปนู ฯลฯ

170 | ห น้ า

อุปลกั ษณ เปนการเปรียบเทียบที่ลกึ ซ้ึงกวา อปุ มา เพราะเปนการเปรียบสิง่ หนง่ึ เปน สงิ่ หนึง่ มาก

จนเหมอื นกับเปน สิง่ เดยี วกันโดยใชค ําวา “ เปน กับ คือ ” มาเชอื่ มโยง

ตัวอยาง “แมเ ปนโสมสองหลา” “สุจรติ คอื เกราะบังศาสตรพ อง”

โวหารอธิพจน เปน โวหารทีก่ วกี ลาวเกินจริง เพ่ือตองการท่ีจะเนนใหความสําคัญและอารมณ

ความรสู ึกทร่ี นุ แรง เชน

ถึงตองงาวหลาวแหลนสกั แสนเลม ใหต ิดเตม็ ตัวฉดุ พอหลดุ ถอน

แตตองตาพาใจอาลยั วอน สุดจะถอนท้ิงขวา งเสยี กลางคนั

(นริ าศวัดเจาฟา สุนทรภู)

บคุ ลาธิษฐาน เปนโวหารทนี่ าํ สิ่งไมม ชี ีวิต หรือสิง่ ทเ่ี ปน นามธรรม มากลาวเหมือนเปนบุคคล

ทม่ี ชี วี ติ เชน

เพชรน้ําคา งหลนบนพรมหญา เย็นหยาดฟา พาฝน หลงวันใหม

เคลา เคลียหยอกดอกหญา อยางอาลัย เม่ือแฉกดาวใบไผไ หวตะวัน

โวหารสัทพจน หมายถึง โวหารทเี่ ลียนเสียงธรรมชาติ เชน

ทง้ั กบเขียดเกรียดกรดี จิ้งหรีดเรอื่ ย พระพายเฉอ่ื ยฉวิ ฉิววะหวิวหวาม

การสรางอารมณ

ความงามดา นอารมณ เมือ่ เราอานวรรณคดี จะเห็นวาเรามีความรูสึกหรืออารมณรวมไปกับ
เรือ่ งตอนนนั้ ๆ ดวย เชน สงสาร โกรธ ชิงชัง น่ันแสดงวา กวีไดสรางอารมณใ หเรามีความรูสึกคลอยตาม
ซ่ึงเปนความงามอยางหนึ่งในวรรณคดี กวีจะสอดแทรกความคิดออกมาในรูปของความรัก
ความภาคภมู ิใจ ความเศรา สลดใจ และมกี ารเลือกสรรคําประพันธใหเหมาะสมกับเนื้อเร่ือง การท่ีกวี
ใชถอ ยคําใหเ กิดความงามเกิดอารมณท าํ ใหเราไดร บั รสวรรณคดีตา ง ๆ

รสวรรณคดี

รสวรรณคดีของไทยเปนลีลาของบทประพันธอยางหน่ึง คือ การใชภาษาไทยใหเหมาะสม
แกเนือ้ ความของเร่ือง กลาวคือแตง บทประพนั ธต ามรสบทประพันธไทยหรือรสวรรณคดีไทยซึ่งมี 4 รส
คอื

1. เสาวรจนี เปนบทพรรณนาความงามของสถานที่ ธรรมชาติ ชมนาง เชน
“ตาเหมือนตามฤคมาศพิศคิว้ พระลอราช
ประดจุ แกวเกาทัณฑ กง นา
พิศกรรณงามเพริศแพรว กลกลน่ิ บงกชแกว
อีกแกมปรางทอง เปรียบนา”

2. นารีปราโมทย เปนบทเกย้ี วพาราสี แสดงความรักใคร เชน

ห น้ า | 171

“เจางามปลอดยอดรกั ของพลายแกว ไดม าแลวแมอ ยาขบั ใหกลับหนี

พส่ี ตู ายไมเ สียดายแกชีวี แกว พอ่ี ยาไดพราํ่ ราํ พันความ

พผ่ี ดิ พีก่ ม็ าลแุ กโ ทษ จงคลายโกรธแมอ ยาถอื วาหยาบหยาม

พ่ชี มโฉมโลมลบู ดว ยใจงาม ทรามสวาทด้นิ ไปไมไยดี”

3. พโิ รธวาทงั เปนบทโกรธ บทตัดพอตอ วา เหนบ็ แนม เสียดสี หรือแสดงความเคียดแคน

เชน

ผนั พระกายกระทบื พระบาทและองึ พระศัพทส ีหนาทพึงสยองภยั

เอออุเหมน ะมงึ ชชิ างกระไร ทุทาสสถุลฉะน้ีไฉนกม็ าเปน

4. สัลลาปง คพสิ ัย เปน บทแสดงความโศกเศรา ครํา่ ครวญ อาลัยอาวรณ เชน

เคยหมอบใกลไดก ล่ินสุคนธตลบ ละอองอบรสรืน่ ชื่นนาสา

สน้ิ แผนดินสน้ิ รสสุคนธา วาสนาเราก็ส้นิ เหมอื นกล่ินสคุ นธ

(สุนทรภ)ู

หลกั การและแนวทางการพิจารณาวรรณคดี

การพิจารณาวรรณคดี คือการแสดงขอคิดเห็นเกี่ยวกับวรรณคดีเลมใดเลมหนึ่งอยางส้ัน ๆ
โดยมีเจตนาจะแนะนําวรรณคดีน้ันใหผูอานรูจักวามีเนื้อเร่ืองอยางไร มีประโยชนมีคุณคาอยางไร
ผูพิจารณามีความคิดเห็นอยางไรตอวรรณคดีเรื่องนั้นๆ ชอบหรือไมชอบ เพราะเหตุใด มีลักษณะ
การวิจารณว รรณกรรม

หลักการพิจารณาวรรณคดี
1. แยกองคประกอบของหนงั สอื หรือวรรณคดีทจ่ี ะวจิ ารณใหไ ด
2. ทําความเขา ใจองคป ระกอบทแ่ี ยกออกมาใหแ จมแจง ชดั เจน
3. พจิ ารณาหรอื วิเคราะหหนงั สือหรอื วรรณคดตี ามหัวขอตอไปน้ี

3.1 ประวตั ิความเปน มาและประวัตผิ ูแตง
3.2 ลักษณะการประพันธ
3.3 เร่ืองยอ
3.4 การวเิ คราะหเ รื่อง
3.5 แนวคิดและจดุ มงุ หมายในการแตง
3.6 คณุ คาดา นตาง ๆ
การพนิ ิจคุณคา วรรณคดแี ละวรรณกรรมมี 4 ประเด็นดงั น้ี
1. คุณคาดานวรรณศิลป คือความไพเราะของบทประพันธซึ่งอาจจะเกิดจากรสของคําที่
ผูแตงเลือกใชแ ละรสความไพเราะทใี่ หค วามหมายกระทบใจผูอ า น

172 | ห น้ า

2. คุณคาดานเน้ือหา คือการใหความรูสึกในดานตางๆ ใหคุณคาทางปญญาและความคิด
แกผ อู าน

3. คุณคาดานสังคม วรรณคดีและวรรณกรรมสะทอนใหเห็นภาพของสังคมในอดีต
และวรรณกรรมทด่ี สี ามารถจรรโลงสังคมไดอีกดว ย

4. การนาํ ไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน เพ่ือใหผูอานไดประจักษในคุณคาของชีวิต
ไดความคิดและประสบการณจ ากเรอ่ื งทอ่ี าน และนาํ ไปใชในการดาํ เนนิ ชีวิต นาํ ไปเปน แนวปฏบิ ัตหิ รอื
แกป ญ หารอบ ๆ ตวั

เรื่องท่ี 2 หลกั การพนิ ิจวรรณคดีดา นวรรณศิลปแ ละดา นสังคม

ความหมายของวรรณคดมี รดก

วรรณคดมี รดก หมายถึง วรรณคดีท่ีบรรพบุรุษสรางไวและเปนที่นิยมตกทอดเรื่อยมาจนถึง
ปจ จบุ นั วรรณคดีมรดกของไทยนั้นมกั จะแสดงภาพชีวิตของสังคมในสมยั ทเ่ี กดิ วรรณคดี ขณะเดียวกันก็
จะแทรกแนวคดิ ปรัชญาชีวิตดว ยวิธีอนั แยบยลจนทําใหผ ูอานเกดิ อารมณส ะเทือนใจ มคี วามรูสึกรวมไป
กบั กวีดว ย

คุณคา ของวรรณคดมี รดก
วรรณคดีมรดกนั้นมีคุณคามาก ทั้งทางดานประวัติศาสตร สังคม อารมณ คติสอนใจ
และคุณคาทางวรรณศิลปหรือจะพูดวา วรรณคดีมรดกเปนทรัพยสินทางปญญาท่ีตกทอดเปนสมบัติ
ทางวัฒนธรรมของชาติซ่งึ บรรพบรุ ษุ ไดอตุ สาหะสรางสรรคข ึ้นดวยอจั ฉรยิ ภาพ เพราะการอานวรรณคดี
มรดกทําใหทราบเหตุการณตาง ๆ ที่ประทับใจบรรพบรุ ุษ สงั คม สภาพชวี ิตความเปนอยูของคนไทยใน
ชุมชนนน้ั ๆ วามีลักษณะอยา งไรเหมือนหรือแตกตา งจากสงั คมปจจุบันอยา งไร มีกลวิธใี นการใชถอยคํา
โวหารอยา งไรจึงทาํ ใหเรารวมรบั รูอารมณน นั้ ๆ ของกวี
นอกจากน้ีวรรณคดีมรดกมีคุณคาเปนเครื่องเชิดชูความเปนอัจฉริยะของชาติ ชวยสะทอน
ถงึ บคุ ลิกลักษณะประจาํ ชาติ และชวยทําใหคนในชาติรูเรื่องราวในอดีตและคุณคาที่สําคัญก็คือคุณคา
ทางดานอารมณและดานความงาม ความไพเราะ เพราะเกิดการอานวรรณคดีมรดกจะทําใหเราไดรับ
ความเพลิดเพลินในเนื้อหาและรสศิลปะแหงความงาม ความไพเราะดานอักษรศิลปไปพรอมกัน
ชวยสง เสริมจิตใจผอู า นใหรักสวยรักงาม เขาใจหลกั ความจริงในโลกมนษุ ยยิ่งขน้ึ
วรรณคดีมีคณุ คา แกผอู า นหลายประการ คอื
1. ทาํ ใหผูอ า นเกิดอารมณค ลอ ยตามกวี เชน สนกุ เพลดิ เพลนิ ดใี จ เศราใจ ขบขนั เปน ตน
2. ทาํ ใหผ อู า นเกดิ สติปญ ญา เราจะไดข อ คดิ คติ หลกั การดําเนนิ ชวี ติ ในวรรณคดีชวยกระดบั
จติ ใจใหส งู ข้นึ การอา นวรรณคดที ําใหเ กดิ ความเฉลียวฉลาดและเกิดปญ ญา

ห น้ า | 173

3. ทําใหไดรบั ความรใู นดา นตา ง ๆ เชน ประวัติศาสตร ตาํ นาน ภมู ิศาสตร ภาษา ประเพณี

ความเช่ือในสมยั ทแี่ ตง วรรณคดีนัน้ ๆ

4. ทาํ ใหเขา ใจสภาพสงั คมวัฒนธรรมของบรรพบุรุษ ท่กี วีไดนํามาเขยี นสอดแทรกไวทําใหเรา

เขา ใจและสามารถเปรยี บเทียบสงั คมในวรรณคดกี ับปจ จุบนั ได

ลักษณะเดน ของวรรณคดีไทย จําแนกเปนขอ ๆ ดังนี้

1. นิยมแตงหนังสือหรือการแตงวรรณคดีดวยคําประพันธรอยกรองมากกวารอยแกว

เปนบทกลอนลักษณะภาษากาพยกลอนที่มีสัมผัสคลองจองสอดคลองกับลักษณะนิสัยของคนไทย

แมภ าษาพดู ก็มีลลี าเปนรอ ยกรองแบบงาย ๆ เชน หมอขาวหมอ แกง ขา วยากหมากแพง ขนมนมเนย

ในน้าํ มปี ลาในนามีขาว ชักนํ้าเขา ลกึ ชักศึกเขา บาน เปนตน

2. เนน ความประณีตของคําและสํานวนโวหาร ภาษาที่ใชวรรณคดีไมเหมือนภาษาพูดทั่วไป

คอื เปนภาษาท่มี ีการเลอื กใชถ อยคําตกแตงถอยคาํ ใหห รหู รา มกี ารสรางคาํ ท่มี ีความหมายอยา งเดยี วกนั

ที่เรยี กวา คาํ ไวพจน โดยใชรปู ศพั ทตางๆ กันเพ่ือมิใหเกดิ ความเบอ่ื หนายจําเจ เชน

ใชคําวา ปก ษา ปก ษี สกณุ า สกณุ ี ทวิช แทนคาํ วา “นก”

ใชคําวา กุญชร คช ไอยรา หัตถี กรี แทนคําวา “ชาง”

นอกจากน้ันยังมีการใชภาษาสัญลักษณ เชน ใชคํา ดวงจันทร บุปผา มาลี เยาวมาลย

แทน คาํ วา “ผูหญิง”

3. เนน การแสดงความรสู กึ สะเทือนอารมณจากการรําพันความรสู ึก ตวั ละครในเร่อื งจะรําพัน

ความรสู ึกตาง ๆ เชน รกั เศรา โกรธ ฯลฯ เปน คํากลอนยาวหลายคํากลอน

ตัวอยางอเิ หนาคราํ่ ครวญถึงนางบุษบาท่ถี ูกลมหอบไป ดงั นี้

เมือ่ นั้น พระสุรยิ วงศอ สญั แดหวา

ฟน องคแลวทรงโศกา โอแกว แววตาของเรยี มเอย

ปานฉะนี้จะอยแู หงใด ทําไฉนจึงจะรูนะอกเอย

ฤาเทวาพานอ งไปชมเชย ใครเลยจะบอกเหตรุ ายดี

สองกรพระคอ นอรุ ารํา่ ชะรอยเวรกรรมของพี่

ไดส มนองแตส องราตรี ฤามิง่ มารศรีมาจากไป

พระย่ิงเศราสรอ ยละหอ ยหา จะทรงเสวยโภชนาก็หาไม

แตค รวญคร่ํากําสรดระทดใจ สะอน้ื ไหโ ศกาจาบลั ย

(อเิ หนา สํานวนรัชกาลที่ 2)

4. มีขนบการแตง คือ มีวิธีแตงที่นิยมปฏิบัติแนวเดียวกันมาแตโบราณ ไดแก ขึ้นตนเร่ือง

ดวยการกลา วคําไหวค รู คอื ไหวเทวดา ไหวพ ระรัตนตรยั ไหวครูบาอาจารย สรรเสรญิ พระเกยี รตคิ ุณ

ของพระมหากษัตรยิ  หรอื กลา วชมบา นชมเมือง

5. วรรณคดไี ทยมเี นอ้ื หาเก่ยี วกับชนชั้นสงู มากกวา คนสามัญ ตวั ละครเอกมักเปนกษัตริยและ

ชนชั้นสูง

174 | ห น้ า

6. แนวคิดสําคญั ท่ีพบในวรรณคดีไทยโดยทวั่ ไปเปนแนวคดิ แบบพุทธปรัชญางาย ๆ เชนแนวคิด
เรื่องทําดีไดดี ทําช่ัวไดชั่ว ความไมเที่ยงตรงของสรรพส่ิง อนิจจัง ความกตัญู ความจงรักภักดี
ความรักและการพลัดพราก เปน ตน

7. เน้อื เรอื่ งทร่ี บั มาจากวรรณกรรมตางชาตจิ ะไดร บั การดดั แปลงใหเขากบั วัฒนธรรมไทย
8. ในวรรณคดไี ทยมลี ักษณะเปนวรรณคดสี ําหรบั อาน เน่ืองจากมีการพรรณนาความยืดยาว
ใหรายละเอียดตาง ๆ เพ่ือใหผูอานไดภาพชัดเจน เนนความไพเราะของคํา ดังน้ันเมื่อจะนําไปใชเปน
บทแสดงจะตอ งปรับเปลยี่ นเสียใหมเพื่อใหก ระชบั ขึ้น
9. ในวรรณคดีไทยมีบทอัศจรรยแทรกอยูดวย เร่ืองของความรักและเพศสัมพันธ
เปน ธรรมชาติอยางหน่งึ ของมนษุ ย กวีไทยไมน ิยมกลาวตรงไปตรงมา แตจ ะกลาวถึงโดยใชกลวิธีการ
เปรียบเทียบหรอื ใชส ญั ลักษณแ ทน เพื่อใหเ ปน งานทางศลิ ปะมิใชอนาจาร
10. วรรณคดีไทยมกั แทรกความเชือ่ คา นยิ มของไทยไวเสมอ
ลักษณะตาง ๆ ดังกลาวมาขางตน นับเปนลักษณะเดนของวรรณคดีไทย ซ่ึงนักศึกษา
ควรเรียนรแู ละเขาใจเพ่ือจะอา นวรรณคดไี ทยไดอ ยา งซาบซง้ึ ตอไป

การอานวรรณคดีเพอื่ พจิ ารณาคณุ คา ดานวรรณศลิ ป

วรรณศิลป มีความหมายตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 วา ศิลปะ
ในการแตง หนงั สอื ศลิ ปะทางวรรณกรรม วรรณกรรมท่ีถึงขั้นวรรณคดี หนังสือท่ีไดรับการยกยองวา
แตงดี

จากความหมายน้ี การพิจารณาคุณคาดานวรรณศิลปตองศึกษาตั้งแตการเลือกชนิด
คําประพนั ธใหเ หมาะสมกับประเภทงานเขียน ถกู ตองตรงความหมาย เหมาะกับบุคคลหรอื ตัวละคร
ในเร่ืองและรสวรรณคดีการรูจกั ตกแตง ถอยคาํ ใหไพเราะสละสลวยอันเปน ลกั ษณะเฉพาะภาษากวี
และทาํ ใหผ ูอานเกดิ ความสะเทอื นอารมณ

ภาษากวีเพอ่ื สรางความงดงามไพเราะแกบทรอ ยแกวรอยกรองน้นั มีหลักสําคัญท่ีเกี่ยวของกัน
3 ดา น ดังนี้

1. การสรรคาํ
2. การเรียบเรียงคํา
3. การใชโ วหาร
การสรรคํา คือการเลือกใชคําใหส่ือความคิด ความเขาใจ ความรูสึกและอารมณไดอยาง
งดงามโดยคํานงึ ถงึ ความงามดา นเสยี ง โวหาร และรูปแบบคําประพันธ การสรรคาํ ทําไดดงั นี้
การเลือกคาํ ใหเ หมาะแกเ นอ้ื เรือ่ งและฐานะของบคุ คลในเรือ่ ง
การใชคําใหถูกตองตรงตามความหมาย
การเลอื กใชค าํ พองเสียง คําซํา้
การเลือกใชคําโดยคํานงึ ถึงเสียงสมั ผัส

ห น้ า | 175

การเลือกใชคาํ เลียนเสยี งธรรมชาติ
การเลือกใชค ําไวพจนไ ดถ กู ตอ งตรงตามความหมาย
การเรียบเรยี งคํา คอื การจัดวางคาํ ท่ีเลอื กสรรแลวใหมาเรยี บเรียงกันอยางตอ เน่ืองตามจังหวะ
ตามโครงสรา งภาษาหรอื ตามฉนั ทลกั ษณ ซึง่ มหี ลายวธิ ี เชน
จดั ลาํ ดับความคดิ หรอื ถอ ยคาํ จากสิ่งสําคัญจากนอยไปหามาก จนถึงสิง่ สาํ คัญสงู สุด
จัดลําดับความคดิ หรือถอ ยคําจากสง่ิ สาํ คัญนอ ยไปหามาก แตก ลบั หกั มุมความคิดผูอานเม่อื ถึงจดุ สดุ
จัดลาํ ดับคาํ ใหเ ปนคาํ ถามแตไ มต องการคาํ ตอบหรือมีคําตอบอยใู นตวั คําถามแลว
เรยี งถอยคาํ เพอื่ ใหผูอา นแปลความหมายไปในทางตรงขามเพ่อื เจตนาเยาะเยย ถากถาง
เรยี งคาํ วลี ประโยคทมี่ ีความสําคัญเทา ๆ กัน เคียงขนานกนั ไป
การใชโ วหาร คอื การใชถอยคาํ เพือ่ ใหผูอานเกดิ จนิ ตภาพ เรียกวา “ภาพพจน” ซึ่งมีหลายวิธี
ที่ควรรูจ กั ไดแก
อุปมา คือการเปรียบเทียบสิ่งหน่ึงวาเหมือนกับส่ิงหน่ึงโดยมีคําเปรียบปรากฏอยูดวย
คําเปรียบเทียบเหลานไี้ ดแก เหมือน ดุจ เลห  เฉก ดัง กล เพียง ราว ปูน
อุปลักษณ คือการเนนความหมายวา สิ่งหนึ่งเหมือนกับส่ิงหนึ่งมากจนเหมือนกับเปน
สงิ่ เดียวกันโดยใชคําวา เปน กบั คือ เชน “แมเปน โสมสอ งหลา” “สุจริตคอื เกราะบงั ศาสตรพอ ง”

การพิจารณาวรรณคดีดานสงั คม

สังคม คือ ชนชาติและชุมชนท่ีอยูรวมกันภายใตการปกครองในกรอบวัฒนธรรมเดียวกัน
วรรณคดีเปนเหมือนกระจกเงาท่ีสะทอนใหผูอานสามารถมองเห็นชีวิตความเปนอยู คานิยมและ
จริยธรรมของคนในสังคมท่ีวรรณคดีไดสะทอนภาพไวทําใหเขาใจชีวิต เห็นใจความทุกขยากของ
เพ่ือนมนษุ ยด วยกนั ชัดเจนขึ้น

ดังนั้นการพิจารณาวรรณคดีดานสังคมจะตองมีเน้ือหา ภูมิปญญาที่เกี่ยวกับวัฒนธรรมหรือ
จริยธรรมของสังคมใหมีสวนกระตุนจิตใจของผูอานใหเขามามีสวนชวยเหลือในการจรรโลงโลกหรือ
พัฒนาสังคมไทยรวมกนั โดยพจิ ารณาตามหัวขอ ดังน้ี

1. การแสดงออกถงึ ภูมปิ ญ ญาและวัฒนธรรมของชาติ
2. สะทอนภาพความเปน อยู ความเชื่อ คา นิยมในสังคม
3. ไดความรู ความบันเทิง เพลดิ เพลนิ อารมณไ ปพรอ มกนั
4. เนอ้ื เรอื่ งและสาระใหแงคิดทั้งคุณธรรมและจริยธรรมในดานการจรรโลงสังคม ยกระดับ
จิตใจเห็นแบบอยา งการกระทําของตวั ละครทง้ั ขอดีและขอควรแกไ ข
จากการพจิ ารณาตามหัวขอขางตนน้ีแลว การพิจารณาคุณคาวรรณคดีดานสังคมใหพิจารณา
โดยแบงออกได 2 ลกั ษณะใหญ ๆ ดังน้ี
ดานนามธรรม ไดแ ก ความดี ความชวั่ คา นยิ ม จริยธรรมของคนในสงั คม เปน ตน
ดานรูปธรรม ไดแก สภาพความเปนอยู วถิ ชี วี ติ การแตง กายและการกอ สรา งทางวตั ถุ เปนตน

176 | ห น้ า

กจิ กรรม บทท่ี 6 วรรณคดีและวรรณกรรม

1. ใหผเู รียนตอบคาํ ถามตอ ไปนี้
1.1 บอกความหมายของการพนิ ิจได

....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

1.2 บอกหลักเกณฑใ นการพินิจวรรณคดีได
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

2. ใหผูเรียนอานหนังสือวรรณคดีที่กําหนดใหศึกษาแลวพิจารณาวรรณคดีแตละเรื่อง
ในดา นวรรณกรรมศิลป และดา นสงั คม แตละเรอื่ งใหส าระขอ คิดในการดําเนนิ ชีวติ อยา งไรบา ง ไดแ กเรื่อง

1.1 สามกก
1.2 ราชาธิราช
1.3 กลอนเสภาขนุ ชางขุนแผน
1.4 กลอนบทละครเรือ่ งรามเกียรต์ิ

คณุ คาท่ไี ดรับจากเรื่อง..............................................
ดานวรรณศิลป
1. การสรรคํา
....................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
2. การเลน ซํ้าคํา
....................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
3. การหลากคํา หรอื คาํ ไวพจน
....................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

ห น้ า | 177

ดา นสงั คม

1. วัฒนธรรมและประเพณี
....................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................

2. การแสดงสภาพชวี ิตความเปน อยแู ละคานิยมของบรรพบุรุษ
....................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

3. การเขา ใจธรรมชาตขิ องมนษุ ย
....................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

4. เปนหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร
....................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................

5. การสอดแทรกมุมมองของกวี
....................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

178 | ห น้ า

เรอ่ื งท่ี 3 เพลงพน้ื บา น เพลงกลอ มเดก็

ความหมายของเพลงพน้ื บาน

เพลงพื้นบาน คือ บทเพลงท่เี กิดจากคนในทอ งถิน่ ตาง ๆ คิดรูปแบบการรอ ง การเลน ขึ้น เปน
บทเพลงทมี่ ีทว งทาํ นอง ภาษาเรียบงายไมซ บั ซอ น มุงความสนกุ สนานรน่ื เรงิ ใชเลน กนั ในโอกาสตา ง ๆ
เชน สงกรานต ตรษุ จีน ลอยกระทง ไหวพระประจําป หรือแมกระท่ังในโอกาสท่ีไดมาชวยกันทํางาน
รว มมือรวมใจเพ่อื ทํางานอยา งหนึ่งอยางใด เชน เกีย่ วขาว นวดขาว เปน ตน

ประวตั คิ วามเปน มาของเพลงพนื้ บา น

เพลงพ้ืนบานในประเทศไทยมมี าแตโ บราณไมปรากฏหลักฐานแนช ดั วา มขี น้ึ ในสมัยใด เปนสงิ่ ท่ี
เกิดขนึ้ เปนปกตวิ สิ ยั ของคนในสงั คมจงึ มผี ูเ รยี กวา เพลงพืน้ บา น เปนเพลงนอกศตวรรษ เปนเพลงนอก
ทําเนยี บบา ง เพราะหลักฐานทางประวตั ศิ าสตร วรรณคดี และความรทู กุ แขนงในประเทศไทยไมได
อา งถงึ หลกั ฐานเกย่ี วกับการเลนเพลงพื้นบา นมปี รากฏในสมยั อยุธยา ซึ่งทพ่ี บคือเพลงเรอื เพลงเทพทอง
สวนในสมยั รัตนโกสนิ ทร มชี ่ือเพลงพน้ื บา นปรากฏอยใู นจารกึ วดั โพธแ์ิ ละในวรรณคดตี า งๆ สมยั ตน
รัตนโกสินทรท ป่ี รากฏช่อื คอื เพลงปรบไก เพลงเรือ เพลงสกั วา แอว ลาว ไกปา เก่ยี วขา ว ตง้ั แต
สมัยรัชกาลที่ 5 เปน ตนมา ปรากฏหลักฐานแนช ัดวา มีการเลนเพลงเรอื สกั วา เพลงพืน้ บานของไทยเรา
นั้นมีมาแตชา นานแลว ถา ยทอดกันโดยทางมุขปาฐะ จาํ ตอ ๆ กนั มาหลายช่ัวอายุคน เช่ือกนั วา มกี าํ เนดิ
กอนศลิ าจารึกพอ ขุนรามคาํ แหงมหาราชเสียอกี ตอมาคอยมีชอ่ื เสียง มีแบบสมั ผัสคลอ งจองทว งทํานอง
ไปตามภาษาถ่ินน้ัน ๆ ในการขับรองเพื่อความบันเทิงตาง ๆ จะมีจังหวะดนตรีทองถ่ินเขามาและมี
การรองราํ ทําเพลงไปดวย จึงเกิดเปนระบําชาวบาน เพลงพื้นบานใชรองราํ ในงานบันเทิงตาง ๆ
มีงานลงแขก เก่ียวขา ว ตรุษสงกรานต

ตอ มาในสมัยกรุงรตั นโกสนิ ทร เปนสมัยทม่ี หี ลกั ฐานเกย่ี วกบั เพลงพน้ื บา นชนดิ ตา ง ๆ มากทส่ี ดุ
ตัง้ แตสมัยรชั กาลที่ 1 ถงึ รชั กาลท่ี 5 เปน ยุคทอง ของเพลงพ้นื บา นท่เี ปน เพลงปฏิพากย รองโตต อบ
กัน เชน เพลงฉอย เพลงอีแซว เพลงสงเคร่ือง หรือเพลงทรงเคร่ือง หลังรัชกาลที่ 5 อิทธิพล
วัฒนธรรมตะวันตกทําใหเกิดเพลงไทยสากลขึ้น เพลงพื้นบานจึงเร่ิมหมดความนิยมลงทีละนอย ๆ
ปจจุบันเพลงพื้นบานไดรับการฟนฟูบางจากหนวยงานที่เห็นคุณคาแตก็เปนในรูปของการอนุรักษไว
เทา นั้น ปญหาเน่อื งจากมาขาดผูส นใจสบื ทอดเพลงพ้นื บานจึงเสอ่ื มสญู ไปพรอม ๆ กับผเู ลน

ห น้ า | 179

ลักษณะของเพลงพน้ื บาน

โดยท่วั ไปแลวเพลงพนื้ บา นจะมลี ักษณะเดน ๆ เปน ท่ีสงั เกตไดคือ
1. สํานวนภาษาใชคําธรรมดาพื้น ๆ ไมมีบาลีสันสกฤตปน ฟงเขาใจงาย แตถอยคําคมคาย
อยใู นตัวทาํ ใหเ กดิ ความสนกุ สนาน บางคร้ังแฝงไวดวยการใชสัญลักษณแทนคําหยาบตาง ๆ เปนตนวา
ยาเสน ใบพลทู ่นี า หวั หมู อปุ กรณไถนา เปน ตน และเรยี บงา ยทางดานโอกาสและสถานท่ีเลนไมตอง
ยกพืน้ เวที
2. มีความสนกุ สนานเพลิดเพลนิ มคี วามคมคายในการใชภาษา กระทบกระเทียบเปรียบเปรย
ชวนใหคิดจากประสบการณท พ่ี บเห็นอยใู นวถิ ีชีวติ ทอ งถน่ิ
3. มีภาษาถิ่นปะปนอยูท าํ ใหสะทอ นใหเห็นถึงวิถีการดําเนินชีวิต ประเพณีความเช่ือ ตลอดจน
คา นยิ มตาง ๆ ท่ีแฝงอยู
4. มลี ักษณะภาษาตองคลองจองกัน ที่เปนกลอนหัวเดียว คือ กลอนท่ีลงทายดวยสระชนิด
เดียวกัน เชน กลอนใส ลงเสียงขางทายดวยสระไอตลอด กลอนลี ลงเสียงขางทายดวยสระอีตลอด
เปนตน ตัวอยา งเชน ในเพลงไซเอยไซ ลามะลิลา ซึง่ งายตอการเลนมุงใหทุกคนมีสวนรองไดสนุกสนาน
รว มกัน
5. มักจะมีการรองซ้ํา บางทซี ํา้ ท่ีตน เพลง หรอื บางทซี ้ําท่ีทอนทา ยของเพลง เชน เพลงพิษฐาน
เพลงพวงมาลยั เพลงฉอ ย เปนตน ผลดีของการรองซา้ํ ๆ กนั กค็ อื เพม่ิ ความสนกุ สนานใหผ อู ยรู อบขาง
ไดมสี ว นรว มในเพลง ทําใหบ รรยากาศครกึ ครื้น และเน่อื งจากเปนการปะทะคารมกนั สด ๆ ซึ่งชวงการ
รองซํ้าน้ีจะชวยใหไดมีโอกาสคิดคําและพอเพลง แมเพลงจะไดพักเหนื่อย และสามารถใชปฏิภาณ
พลิกแพลง ยั่วลอ กันอีกดว ย
นอกจากนี้เพลงพ้ืนบา นยงั มลี ักษณะพิเศษอีก คอื เปน วรรณกรรมมุขปาฐะท่ีเลาสืบตอกันมา
ปากตอปากไมส ามารถจะสืบคนหาตัวผูแตงทแี่ นนอนไดและมลี กั ษณะของความเปนพ้ืนบา นพืน้ เมอื ง

ประเภทของเพลงพืน้ บาน

เพลงพ้ืนบานโดยท่ัวไปน้ัน มีอยูดวยกันหลายชนิด พอจะแยกประเภทโดยแบงตามผูเลนได
2 ประเภทใหญ ๆ คอื

1. เพลงเดก็ จําแนกยอยๆ ได 4 ประเภทดงั น้ี
1.1 เพลงรองเลน เชน โยกเยกเอย ฝนตกแดดออก นกกระจอกเขา รัง เปน ตน
1.2 เพลงหยอกลอ เชน ผมจกุ ผมมา ผมเปย ผมแกละ เปนตน
1.3 เพลงขู ปลอบ เชน แมใ ครมา นํา้ ตาใครไหล จันทรเจาขา แตชา แต เขาแหย ายมา

เปนตน
1.4 เพลงประกอบการเลน เชน จํา้ จี้มะเขอื เปราะ รี รี ขา วสาร มอญซอ นผา เปนตน

180 | ห น้ า

2. เพลงผใู หญ แบง 6 ประเภท คือ
2.1 เพลงกลอ มเดก็ เชน กาเหวา เอย พอ เน้อื เย็น เปน ตน
2.2 เพลงปฏพิ ากย เชน เพลงฉอย เพลงรําวง ซ่ึงเพลงปฏิพากยน้ีตอมาวิวัฒนาการ

มาเปน เพลงลกู ทุงน่นั เอง
2.3 เพลงประกอบการเลน เชน รําโทน ตอมาคือรําวง ลูกชวง เขาผี มอญซอนผา

เปน ตน
2.4 เพลงประกอบพิธี เชน ทําขวัญนาค ทําขวญั จกุ แหนางแมว เปนตน
2.5 เพลงเก่ยี วกับอาชีพ เชน เตน กาํ รําเคียว
2.6 เพลงแขงขนั สว นใหญคือปฏิพากย

เพลงเดก็ การเลน เปน การแสดงออกอยางหน่ึงในกลุมชน จะแตกตางกันไปตามวัฒนธรรม
และเมอื่ มีการเลน เกิดขนึ้ กม็ ักมีบทเพลงประกอบการเลนดวย เพลงทีร่ อ งงา ย ๆ ส้นั ๆ สนุกสนาน เชน
รรี ี ขา วสาร มอญซอนผา จ้ําจ้ีมะเขือเปราะ แมงมุมขยมุ หลงั คา

เพลงผูใหญ เพลงผูใหญมีหลายประเภท นอกจากจะใหความสนุกสนานบันเทิงใจแลว
ยังสะทอนใหเ หน็ ถึงความสามคั ครี ว มใจกนั ทําสิง่ ตางๆ ของสงั คมไทย สภาพวิถชี วี ิตวฒั นธรรมประเพณี
ตาง ๆ ไวอ ยางนา ศกึ ษาอีกดวย ดา นเพลงกลอ มเดก็ จะเห็นความรักความผูกผนั ในครอบครวั ธรรมชาติ
สง่ิ แวดลอม ตํานาน นทิ าน ประวัติศาสตร ตลอดจนจินตนาการความรสู ึกนกึ คดิ ของมนษุ ย เนื่องจาก
ความหลากหลายในเพลงกลอมเด็ก จึงเปน เพลงท่ีมคี ุณคาแกการรักษาไวเ ปน อยา งยงิ่

คณุ คา ของเพลงพื้นบาน

เพลงพ้ืนบานมีคุณคา อยา งมากมายที่สาํ คญั คือใหค วามบันเทิงสนกุ สนาน มีนํ้าใจ สามัคคี ใน
การทํางานชวยเหลือกัน สะทอ นวัฒนธรรมประเพณี วถิ ีชีวติ การแตงกาย ฯลฯ และเปน การปลูกฝง
เดก็ ใหค รบองค 4 คือ

1. สงเสริมใหเดก็ มกี ําลังกายแขง็ แรง
2. สงเสรมิ ใหเ ด็กมีสตปิ ญญาเฉลียวฉลาด มีไหวพริบปฏภิ าณดีในการแกปญ หา
3. สงเสริมใหเ ดก็ มีจติ ใจงาม มคี ณุ ธรรมประจําใจ
4. รจู ักปฏิบตั ิตนตอสว นรวมในสังคม
การปลูกฝงใหประชาชนพลเมืองของประเทศ เปนผูถึงพรอมดวยคุณสมบัติท้ัง 4 ประการนี้
ตองปูพื้นรากฐานกันต้ังแตเยาววัย และคอยเปนคอยไปทีละนอย จึงจะซึมซาบจนกลายเปนนิสัย
สมัยนี้วิทยาศาสตรมีมากเพียงไร วัตถุนิยมก็ตามมา วัตถุนิยมเจริญขึ้น ความเจริญทางจิตใจก็นอยลง
เปน ผลใหความม่ันคงของประเทศไดรับความกระทบกระเทือนไปดวยอยางแนนอน ดังนั้นเราจึงควร
ชว ยกนั ปลูกฝงอนรุ กั ษส บื สานใหด ํารงอยูอยา งยั่งยนื สบื สานไป

ห น้ า | 181

เพลงพ้ืนบา นเกดิ จากชาวบานเปนผูสรางบทเพลงและสืบทอดกันมาแบบปากตอปากโดยการ
จดจาํ บทเพลงเปน คาํ รองงาย ๆ ทเี่ ปน เร่ืองราวใกลตัวในทองถิ่นน้ัน ๆ จึงทําใหเพลงพ้ืนบานของไทย
ในภาคตาง ๆ มีความแตกตา งกนั ออกไป ดงั นี้

เพลงพื้นบานภาคกลาง มีอิทธิพลมาจากสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ การประกอบอาชีพ
วิถกี ารดาํ เนินชีวิต พิธีกรรมและเทศกาลตา ง ๆ โดยสามารถแยกประเภทไดด ังน้ี

- เพลงที่รองเลนในฤดูน้ํามาก ไดแกเพลงเรือ เพลงรอยพรรษา เพลงรําภาขาวสาร
เพลงหนาใย เพลงครึ่งทอ น เปน ตน

- เพลงท่ีรองเลนในฤดูเกี่ยวขาวและนวดขาว ไดแก เพลงเก่ียวขาว เพลงเตนกํารําเคียว
เพลงซ่ึงใชรอ งเลนระหวางเกี่ยวขา ว สาํ หรับเพลงสงฟาง เพลงพานฟาง เพลงโอก เพลงสงคอลําพวน
เพลงเตะขา ว และเพลงชกั กระดาน ใชร องเลนระหวางนวดขา ว

เพลงทีใ่ ชร องเลน ในชวงตรุษสงกรานต ไดแก เพลงสงกรานต เพลงหยอย เพลงระบําบานไร
เพลงชา เจา หงส เพลงพวงมาลัย เพลงสันนษิ ฐาน เพลงคลองชา ง และเพลงใจหวัง

เพลงท่ีรองเลนไดทกุ โอกาส เพอื่ ความเพลดิ เพลนิ สนุกสนาน เกดิ ความสามัคคใี นหมูคณะ มักจะ
รองเลนกันในโอกาสทํางานรวมกัน หรือมีงานบุญและงานร่ืนเริงตาง ๆ โดยเปนเพลงในลักษณะ
พอเพลงแมเพลงอาชีพ ที่ใชโตตอบกัน ไดแก เพลงเทพทอง เพลงปรบไก เพลงอีแวว เพลงฉอย
เพลงลําตัด เพลงทรงเครื่อง เปนตน

เพลงพื้นบานภาคเหนือ สามารถใชรองเลนไดทุกโอกาสโดยไมจํากัดเทศกาลหรือฤดูใด ๆ
ซง่ึ ใชร อ งเพลงเพือ่ ผอนคลายอารมณและการพกั ผอ นหยอนใจ โดยลกั ษณะการขับรองและทวงทํานอง
จะออนโยน ฟงดูเนิบนาบนุมนวล สอดคลองกับเคร่ืองดนตรีหลัก ไดแก ป ซึง สะลอ เปนตน
นอกจากนี้ยงั สามารถจัดประเภทของเพลงพืน้ บานของภาคเหนือได 3 ประเภทคือ

1. เพลงซอ ใชร องโตตอบกัน โดยมีการบรรเลงป สะลอ และซงึ คลอไปดว ย
2. เพลงจอย เปนการนําบทประพันธของภาคเหนือมาขับรองเปนทํานองสั้น ๆ โดยเน้ือหา
ของคํารอ งจะเปนการระบายความในใจ แสดงอารมณความรัก ความเงียบเหงา มีนกั รองเพียงคนเดยี ว
และจะใชดนตรบี รรเลงในโอกาสตางๆ หรือจอยอาํ ลา
3. เพลงเดก็ มลี กั ษณะคลายกบั เพลงเด็กของภาคอนื่ ๆ คือเพลงกลอมเด็ก และเพลงท่ีเด็ก
ใชร องเลนกนั เพลงอื่อลกู และเพลงสกิ จุงจา
เพลงพื้นบานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพลงพ้ืนบานของภาคอีสาน ใชรอ งเพ่อื
ความสนุกสนานในงานรื่นเรงิ ตา งๆ สามารถแตงไดตามวฒั นธรรม 3 กลุม ใหญๆ คือกลมุ วฒั นธรรม
หมอลาํ กลุมวฒั นธรรมเพลงโคราช และกลมุ วัฒนธรรมเจรยี งกนั ตรึม ดงั น้ี
1. เพลงพื้นบานกลุมวฒั นธรรมหมอลาํ ประกอบดวยหมอลาํ และเซงิ้ โดยหมอลําแบง การลํานํา
และการรองออกเปน 5 ประเภทคือ ลําเรอื่ ง ลํากลอน ลําหมู ลําเพลิน และลําผีฟา สวนเซิ้งหรือ
คํารอ งจะใชคาํ รอ งร่ืนเริง เชน การแหบ ้ังไฟ การแหน างแมว การแหนางดงั โดยเน้อื เรือ่ งในการซ่ึงอาจ
เปน การขอบริจาคเงินในงานบญุ การเซง้ิ อวยชยั ใหพ ร หรือเซ้งิ เลา นทิ านชาดกตามโอกาส

182 | ห น้ า

2. เพลงพื้นบานกลุมวัฒนธรรมเพลงโคราช เปนเพลงพ้ืนบานที่เลนกันมานานในจังหวัด
นครราชสีมา หรือโคราช ซ่ึงเน้ือเพลงมีลักษณะเดน มีการเลนสัมผัสอักษรและสัมผัสสระทําใหเสียง
นาฟงยง่ิ ขึน้ และยังมีเสียง ไช ชะ ชะ ชิ ชาย พรอมมีทั้งการรําประกอบแบบเหยาะตัวตามจังหวะ
ขึน้ ลง ซงึ่ เพลงโคราชนี้ นิยมเลน ทุกโอกาสตามความเหมาะสม

3. เพลงพ้นื บา นกลมุ วฒั นธรรมเจรียงกนั ตรึม ที่นิยมรองเลนกันในแถบจังหวัดท่ีมีเขตติดตอ
กับเขมร ไดแก จังหวัดบรุ ีรัมย สรุ ินทร และศรีสะเกษ โดยคําวากันตรึม น้ันหมายถึงกลองกันตรึม
ซึ่งเปนเครื่องดนตรีหลักเวลาตีจะใชจังหวะเสียงดัง โจะกันตรึมๆ และเจรียงหมายถึง การขับหรือ
การรอ งเพลงมี 2 แบบคือเจรยี งใชประกอบการบรรเลงดนตรีกันตรมึ ซง่ึ เม่ือขับรองไปทอ นหนึง่ ดนตรี
กันตรึมก็จะรับและบรรเลงยาวอีกแบบคือเจรียงดนตรี ใชรองในงานโดยจะขับรองไปเร่ือยๆ และมี
ดนตรีบรรเลงคลอไปเบา ๆ ซึ่งในการรองเพลงเจรียงน้ันสามารถรองเลนไดทุกโอกาสโดยไมจํากัดฤดู
หรือเทศกาล

เพลงพ้ืนบานภาคใต มีอยูประมาณ 8 ชนิด มีท้ังการรองเด่ียว และการรองเปนหมู
โดยสามารถแบงเปน 2 กลุมใหญ ๆ คือ

1. เพลงทรี่ องเฉพาะโอกาสหรือฤดู ไดแ กเ พลงเรือ เพลงบอก เพลงนาคาํ ตดั เพลงกลอ มนาค
หรือเพลงแหน าคเปน ตน

2. เพลงทรี่ อ งไมจ ํากัดโอกาส ไดแกเ พลงตันหยง ซึ่งนยิ มรองในงานบวช งานข้ึนปใหมและ
งานมงคลตาง ๆ เพลงเด็กท่ีรองกลอมใหเด็กหลับ และเพลงฮูลูหรือลิเกฮูลู ที่เปนการรองคลาย ๆ
ลาํ ตัด โดยมีราํ มะนาเปนเคร่ืองดนตรีประกอบจังหวะกับบทขับรองภาษาทองถิ่นคือภาษามลายู
เปนกลอนโตตอบกัน

กิจกรรมเพลงพ้นื บาน

1. ผูเ รียนคดิ วา คาํ วา “เพลงพ้นื บาน” ความหมายวา อยางไร
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................

ห น้ า | 183

2. ผูเรียนคิดวา “เพลงพื้นบาน” มีอะไรบาง และในทองถิ่นของผูเรียนมีการละเลน
พื้นบา นอะไรบาง
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................

3. ผูเรยี นคดิ วา “ เพลงพ้นื บา น” ในชุมชนหรือทองถ่นิ แตละภาคมคี วามเหมอื นกัน
หรอื แตกตา งอยางไรบางยกตัวอยางประกอบ
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
4. คําชแ้ี จง ใหนกั ศกึ ษาตอบคาํ ถามตอ ไปน้ใี หถกู ตอง

1. ความหมายของเพลงพนื้ บาน ขอ ใดกลาวถกู ตอ งทีส่ ุด
ก. เพลงทช่ี าวบานรอ ง
ข. เพลงที่ชาวบานประพนั ธ
ค. เพลงที่ชาวบานรวมกันรน่ื เริง
ง. เพลงทีช่ าวบา นรว มกนั แสดง

2. ขอใดเปน คุณสมบัติของเพลงพ้ืนบา นเดนชดั ทีส่ ุด
ก. แสดงเอกลกั ษณของคนในหมูบา น
ข. ทกุ คนรอ งได
ค. มสี ัมผัสคลอ งจอง
ง. ใหค วามบนั เทงิ

184 | ห น้ า

3. โดยทัว่ ไปแลว เพลงพ้นื บา นจะมลี กั ษณะเดน คอื
ก. มคี วามสนกุ สนาน ใชภาษาคมคาย มีภาษาบาลีสนั สกฤต
ข. มคี วามเรียบงา ยทง้ั ดา นแตงกายและการเลน
ค. เปนวรรณกรรมอมขุ ปาฐะ มีความเปนพ้นื บานพื้นเมอื ง
ง. มภี าษาถน่ิ ปะปนอยู จังหวะเรา ใจ ใชศ ัพทส งู ชวนฟง

4. เพลงพนื้ บา นทปี่ ระกอบการทาํ งาน คอื เพลงอะไร
ก. เพลงเตน กํารําเคยี ว
ข. หมอลํา
ค. เพลงเรือ
ง. เพลงฉอย

5. เพลงแหน างแมวจดั เปน เพลงชนดิ ใด
ก. เพลงปฏพิ ากย
ข. เพลงประกอบการเลน
ค. เพลงประกอบพธิ ี
ง. เพลงเขาผเี ชิญผี

6. เพลงที่ใชร องเก้ยี วพาราสี หลงั จากทาํ บญุ ตกั บาตรแลว มาน่ังรอบโบสถ เรียกวา เพลงอะไร
ก. เพลงพวงมาลัย
ข. เพลงลาํ ตดั
ค. เพลงรําวง
ง. เพลงพษิ ฐาน

7. จะนง่ั แตหอทอแตห ูก น่งั เลยี้ งแตกนั แตไร จากบทเพลงนท้ี าํ ใหเ ราไดร บั ความรู เกีย่ วกบั สิ่งใดบา ง
ก. การทาํ งาน การเลีย้ งดบู ุตร
ข. การเลย้ี งลูกในสมยั โบราณ การใชเ วลาวา งใหเปนประโยชน
ค. การทอผา การแตงกาย
ง. การปลูกเรือน การเลย้ี งดบู ุตร

8. “วัดเอย วัดโบสถ ปลูกขาวโพดสาลี เจา ลกู เขยตกยาก แมยายกพ็ รากลูกสาวหนี ตน ขาวโพดสาลี
ตัง้ แตน ้ีจะโรยรา” เพลงกลอมเดก็ น้มี ีจุดมุงหมายเพือ่ อะไร

ก. สอนใหร ูจักมสี ัมมาอาชพี
ข. สอนใหมคี วามประพฤติดี
ค. สอนเกี่ยวกบั ความรกั การทํามาหากิน
ง. สอนใหเปนผมู คี ณุ ธรรม

ห น้ า | 185

9. เพลงกลอมเด็กมจี ุดมงุ หมายเพือ่ อะไร
ก. อบรมสั่งสอน
ข. แสดงความในใจของแมท ่มี ตี อลูก
ค. ตองการใหเ ดก็ นอนหลับ
ง. ถูกทกุ ขอ

10. ขอ ใดเปน ประโยชนแ ละคุณคาของเพลงพน้ื บา น
ก. ทราบเกร็ดยอยความรใู นดานตา ง ๆ
ข. ไดค วามรูเกย่ี วกับวัฒนธรรมในยคุ สมยั นนั้
ค. ทาํ ใหทราบลกั ษณะของวรรณกรรมลายลักษณท อ งถิน่
ง. ขอ ก. และ ข. ถูก

เพลงกลอมเด็ก

เพลงกลอ มเดก็ คอื เพลงที่รองเพอื่ กลอ มเดก็ ใหเด็กนอย ๆ เกดิ ความเพลิดเพลินและอบอุน ใจ
จะไดห ลบั งา ยและหลับสบาย เปนเพลงที่มีเนื้อความสนั้ ๆ รองงา ย ชาวบา นในอดีตรอ งกันได เน่ืองจาก
ไดยินไดฟงมาต้ังแตเกิด คือไดฟงพอแมรองกลอมตนเอง นอง หลาน ฯลฯ เมื่อมีลูกก็มักรองกลอมลูก
จึงเปนเพลงท่ีรองกันไดเปนสวนมากเราจึงพบวาเพลงกลอมเด็กมีอยูทุกภูมิภาคของไทยและเปน
วัฒนธรรมท่เี ก่ียวของกบั การเล้ียงดูของเดก็ ในสังคมไทย ซ่ึงหากศึกษาจะพบวา

1. เพลงกลอมเด็กมีหนาท่ีกลอมใหเด็กหลับโดยตรง ดังน้ันจึงเปนเพลงที่มีทํานองฟงสบาย
แสดงความรกั ใครหวงใยของผูใหญท มี่ ตี อเด็ก

2. เพลงกลอมเด็กมหี นา ทแี่ อบแฝงหลายประการ
การสอนภาษา เพ่ือใหเด็กออกเสียงตาง ๆ ไดโดยการหัดเลียนเสียง และออกเสียงตาง ๆ

ไดเ ร็วข้นึ
ถายทอดความรูตา ง ๆ ไดแก เร่ืองราวเกีย่ วกบั ธรรมชาติ การดาํ เนินชีวติ การทํามาหากิน

ของสงั คมตนเอง การสรางคานยิ มตางๆ รวมทงั้ การระบายอารมณและความในใจของผรู อ ง นอกจากนี้
พบวา สวนมากแลว เพลงกลอ มเดก็ มกั มีใจความแสดงถงึ ความรกั ใครห ว งใยลกู ซ่งึ ความรักความหวงใย
นี้แสดงออกมาในรปู ของการทะนุถนอมกลอมเกล้ยี งเก็บเด็กไวใ กลต วั บทเพลงกลอ มเดก็ จงึ เปน บทเพลง
ที่แสดงอารมณความรักความผูกพันระหวางแม ลูก ซึ่งแตละบทมักแสดงความรักความอาทร
นา ทะนุถนอมทแี่ มม ีตอ ลกู อยา งซาบซง้ึ

186 | ห น้ า

เพลงกลอมเด็ก เปนวัฒนธรรมทองถิ่นอยางหนึ่งที่สะทอนใหเห็นความเชื่อคานิยมของ
คนในทองถิ่นตาง ๆ คนทุกชาติทุกภาษาในโลกมีบทเพลงกลอมเด็กดวยกันทั้งนั้น สันนิษฐานวา
เพลงกลอมเด็กมวี วิ ฒั นาการจากการเลานทิ าน ใหเดก็ ฟง กอนนอน ดังน้ัน เพลงกลอมเด็กบางเพลงจึงมี
ลักษณะเนื้อรองที่เปนเรื่องเปนราว เชน จันทโครพ ไชยเชษฐ พระรถเสน เปนตน การที่ตองมี
เพลงกลอมเด็กก็เพื่อใหเดก็ เกดิ ความเพลดิ เพลิน หลบั งา ย เกดิ ความอบอนุ ใจ

ลกั ษณะของเพลงกลอ มเดก็

ลักษณะกลอนของเพลงกลอ มเด็กจะเปนกลอนชาวบาน ไมมีแบบแผนแนนอน เพยี งแตม สี ัมผัส
คลองจองกันบาง ถอยคําที่ใชในบางครั้งอาจไมมีความหมายเนื้อเร่ืองเกี่ยวกับธรรมชาติสิ่งแวดลอม
เร่ืองราวตาง ๆ ท่ีเก่ียวกับชีวิต ความเปนอยู สะทอนใหเห็นความรักความหวงใยของแมท่ีมีตอลูก
ส่ังสอน เสยี ดสสี ังคม เปนตน สามารถแยกเปน ขอ ๆ ไดด ังนี้

เปนบทรอยกรองส้นั ๆ มีคาํ คลองจองตอเน่ืองกัน
มีฉนั ทลักษณไมแนน อน
ใชค ํางาย ๆ สนั้ หรอื ยาวกไ็ ด
มีจงั หวะในการรอ งและทํานองทีเ่ รยี บงาย สนกุ สนานจดจําไดง าย

จดุ มุงหมายของเพลงกลอมเด็ก

1. ชักชวนใหเ ด็กนอนหลบั
2. เน้อื ความแสดงถงึ ความรกั ความหวงใย ความหวงแหนของแมที่มีตอลูก

ประเภทของเนอื้ เพลงกลอมเด็ก

แสดงความรักความหวงใย
กลาวถงึ สง่ิ แวดลอ ม
เลาเปน นิทานและวรรณคดี
เปน การเลา ประสบการณ
ลอ เลียนและเสยี ดสีสังคม
ความรูเ ก่ยี วกบั การดแู ลเด็ก
เปนคตคิ ําสอน

ห น้ า | 187

ตัวอยางเพลงกลอ มเด็ก
นกเขาขนั

นกเขาเอย ขันแตเ ชา ไปจนเยน็ ขนั ไปใหดังแมจ ะฟง เสียงเลน เน้อื เยน็ เจาคนเดยี วเอย
กาเหวา

กาเหวา เอย ไขใหแมก าฟก แมก าหลงรกั คดิ วา ลกู ในอทุ ร
คาบขาวมาเผอ่ื คาบเหย่อื มาปอน ปก หางเจายังออ น สอนรอนสอนบิน
แมก าพาไปกิน ท่ปี ากนาํ้ แมค งคา ตีนเหยียบสาหราย ปากก็ไซห าปลา
กินกงุ กนิ ก้งั กนิ หอยกระพงั แมงดา กนิ แลว บนิ มา จับตวั หวา โพธ์ทิ อง
นายพรานเห็นเขา เยย่ี มเย่ยี มมองมอง ยกปน ขนึ้ สอง หมายจอ งแมกาดํา
ตวั หนึง่ วาจะตม ตัวหน่งึ วา จะยาํ แมกาตาดาํ แสนระกําใจเอย
วดั โบสถ
วดั เอย วัดโบสถ ปลูกขาวโพดสาลี
ลกู เขยตกยาก แมยายกพ็ รากลูกสาวหนี
ตนขาวโพดสาลี ตั้งแตน ้จี ะโรยรา
นอนไปเถิด
นอนไปเถิดแมจ ะกลอม นวลละมอ มแมจะไกว
ทองคาํ แมอ ยาร่ําไห สายสุดใจเจา แมเอย
เจา เนื้อละมุน
เจา เนอ้ื ละมุนเอย เจาเนือ้ อนุ เหมือนสาํ ลี
แมม ใิ หผ ูใดตอ ง เนอื้ เจาจะหมองศรี
ทองดเี จา คนเดียวเอย
เจาเนอื้ ออ น
เจา เนื้อออ นเอย ออ นแมจะกินนม
แมจะอมุ เจา ออกชม กนิ นมแลว นอนเปลเอย

เพลงกลอมเดก็ ในแตละภาค
ในประเทศไทยเรานน้ั มีเพลงกลอ มเด็กอยูท ว่ั ทุกภาค เนื้อรองและทํานองจะตางกนั ไปมีชื่อเรยี ก

หลายอยาง เชน ภาคเหนือเรียก “เพลงนอนสาหลา” “นอนสาเดอ” ภาคกลางเรียก “เพลงกลอมเด็ก”
“เพลงกลอมลูก” สวนภาคใตเรียก “เพลงชานอง” เพลงนองนอน” และ “เพลงรองเรือ” โดยเพลง
กลอมเด็กเปนคติชาวบานประเภทใชภาษาเปนส่ือที่ถายทอดจากปากตอปากแตโบราณ เรียกวา
“มขุ ปาฐะ” มีลักษณะเปนวัฒนธรรมพื้นบานท่มี ีบทบาทและหนาท่แี สดงเอกลกั ษณของแตละชุมชน

188 | ห น้ า

เพลงกลอ มเดก็ ภาคกลาง
เพลงกลอมเด็กภาคกลางเปนท่ีรูจักแพรหลายและมีการบันทึกไวเปนหลักฐานมากกวา

เพลงกลอมเด็กภาคอ่นื ซึง่ จะสะดวกแกก ารศกึ ษาคนควา การฟน ฟูและการอนุรกั ษ โดยไมมีช่ือเฉพาะ
สําหรบั เรียกเพลงกลอมเด็กภาคกลาง เนื่องจากขึ้นตนบทรองดวยคําหลากหลายชนิดตามแตเน้ือหา
ของเพลง ไดม ีการศึกษาแบงประเภทเน้ือหาของเพลงกลอมเด็กภาคกลางไวค ลา ยกัน คือ

1. ประเภทสะทอนใหเห็นความรักความผูกพันระหวางแมกับลูก ดังจะเห็นไดจากถอยคํา
ทีใ่ หเ รียกลกู วาเจาเนอ้ื ละเอียด เจา เน้อื อุน เจา เน้อื เย็น สดุ ที่รกั สดุ สายใจ เปนตน

2. ประเภทสะทอนใหเห็นความเปนอยูของไทยภาคกลางในดานตาง ๆ เชน ความเจริญ
ทางวัตถุประเพณี วัฒนธรรมตาง ๆ ความศรัทธา ความเชื่อ คุณธรรมประจําใจ อารมณขันและ
การทํามาหากนิ ของประชาชน

3. ประเภทใหความรูดานตาง ๆ เชน ความรูทางภาษา ธรรมชาติวิทยา วรรณคดี นิทาน
ภมู ิศาสตร ประวัติศาสตร แบบแผนการปกครองและครอบครัว

ลักษณะทํานองและลีลาของเพลงกลอมเด็กภาคกลาง จะเปนการขับกลอมอยางชา ๆ
เชนเดียวกับภาคอ่ืน ๆ กลุมเสียงก็จะซํ้า ๆ เชนกัน แตจะเนนการใชเสียงทุมเย็น และยึดคําแตละคํา
ใหเ ชอ่ื มกลืนกนั ไปอยางไพเราะ ออนหวาน ไมใหมีเสียงสะดดุ ท้ังนเ้ี พื่อมุงใหเดก็ ฟงจนหลบั สนิทในทีส่ ดุ

ตัวอยางเพลงกลอมเด็กภาคกลาง แมจะเหใหนอนวัน
โอละเหเ อย นอนวันเถิดแมคุณ
ต่นื ขึ้นมาจะอาบน้าํ ทําขวญั แมมิใหเ จาไปเลนท่ีทา
พอเนื้อเยน็ เอย มนั จะคาบเจาเขา ถา้ํ
จระเขหรา
เจา ทองคําพอคณุ

เพลงกลอ มเดก็ ภาคเหนอื
สําหรับภาคเหนือมีเพลงกลอมลูกสืบทอดเปนลักษณะแบบแผนเฉพาะของตนเองมาชานาน

อาจารยสิงฆะ วรรณไสย แหงมหาวิทยาลยั เชียงใหม เรียกฉันทลักษณของเพลงกลอมเด็กภาคเหนือ
วา “คําร่ํา” ซงึ่ จดั เปน ลาํ นาํ ชนดิ หนงึ่ หมายถึง การร่ําพรรณนามเี สยี งไพเราะสูงต่ําตามเสียงวรรณยุกต
ของสาํ เนยี งภาคเหนอื นิยมใชแ ตงในการรา่ํ บอกไฟขน้ึ ร่ําสรา งวหิ าร ร่ําสรา งเจดีย รํ่าสรา งถนนขึน้ ดอยสุเทพ
และแตงเปน คาํ กลอ มเดก็

คํากลอมเด็กนี้พอแม ปูยา ตายาย ในภาคเหนือสมัยกอนมักจะใชขับกลอมสอนลูกหลาน
ขณะอุมเด็กน่ังชิงชาแกวงไกวชา ๆ จนเด็กงวงนอนจึงอุมไปวางบนท่ีนอนหรือในเปลแลวเหกลอมตอ
จนเดก็ หลบั สนิท คาํ กลอมเด็กน้จี งึ เรียกวา “สกิ จุงจาโหน” ตามคําที่ใชข ึ้นตน เพลง

ห น้ า | 189

ลักษณะเดนของเพลงกลอมเด็กภาคเหนือ นอกจากจะขึ้นตนดวยคําวา สิกจุงจาโหนแลว

ยังมักจะขึ้นตนดวยคําวา “อ่ือจา” เปนสวนใหญ จึงเรียกเพลงกลอมเด็กน้ีวา เพลงอ่ือลูก ทํานอง

และลีลาอ่อื ลกู จะเปนไปชา ๆ ดว ยน้ําเสียงทุม เย็น ตามถอ ยคาํ ทีส่ รรมาเพื่อสั่งสอนพรรณนาถึงความรัก

ความหว งใยลกู นอ ย จนถึงคาํ ปลอบ คําขู ขณะยงั ไมย อมหลบั ถอ ยคําตา ง ๆ ในเพลงกลอมเด็กภาคเหนือ

จะสะทอนใหเห็นสภาพความเปนอยู สิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมตาง ๆ ของคนในภาคเหนือในอดีต

จนปจจุบันไดเปนอยางดี นับวาเปนประโยชนทางออมท่ีไดรับนอกเหนือจากความอบอุนใจของลูก

ทจ่ี ะเปน ประโยชนโดยตรงของเพลงกลอมเดก็

ตัวอยา งเพลงกลอ มเด็กภาคเหนอื

อ่ือ อือ่ ออื จา ปอนายแดงสา

แมนายไปนานอกบา น เก็บบาสานใสโถง

เกบ็ ลูกกง ใสวา เก็บบาหา ใสป ก

หนว ยหนึง่ เก็บไวกินเม่ือแลง หนวยหน่งึ เอาไวขายแลกขา ว

หนวยหนึ่งเอาไวเ ปนเปอ นเจา อือ่ อือ จา

เพลงกลอ มเดก็ ภาคอีสาน
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือหรือภาคอีสาน เปนดินแดนที่กวางขวางและมีประชากรมากท่ีสุด

ในบรรดา 4 ภาคของไทย เพลงกลอมลูกจึงมีหลายสําเนียงถาเปนอีสานตอนเหนือจะมีสําเนียงคลาย
ลาว ถาเปนอีสานตอนใตจะมีสําเนียงคลายเขมร แตเพลงกลอมลูกท่ีแพรหลายและยอมรับวาเปน
เอกลักษณของอีสานจะเปน สาํ เนียงของอีสานตอนเหนือ และมักจะขึ้นตนดวยคําวา “นอนสาหลา” หรอื
“นอนสาเดอ” หรือ “นอนสาแมเยอ” มีทํานองลีลาเรียบงายชาๆ และมีสุมเสียงซํ้า ๆ กันทั้งเพลง
เชนเดียวกับภาคเหนือ การใชถอยคํามีเสียงสัมผัสคลายกลอนสุภาพทั่วไปและมีคําพื้นบานที่มี
ความหมายในเชิงสั่นสอนลกู หลานดว ยความรกั ความผูกพัน ซึ่งมักประกอบดวย 4 สวนเสมอ คือสวนที่
เปน การปลอบโยน การขูและการขอโดยมงุ ใหเ ดก็ หลับเร็ว ๆ นอกจากน้ีก็จะเปนคําที่แสดงสภาพสังคม
ดา นตาง ๆ เชน ความเปน อยู บรรยากาศในหมูบาน คานิยม ขนบธรรมเนียมประเพณี เปนตน คุณคา
ของเพลงกลอ มเด็กอสี านจงึ มีพรอมทั้งทางดา นจติ ใจ และดา นการศกึ ษาของชาติ

ตัวอยา ง เพลงกลอมเด็กของภาคอสี าน
นอนสาหลาหลับตาสามเิ ยอ
แมไ ปไฮ หมกไข มาหา
แมไ ปนา จป่ี า มาปอ น
แมเลีย้ งมอน ในปา สวนมอน

190 | ห น้ า

เพลงกลอมเด็กภาคใต
ในบรรดาภาษาถิ่น ภาคใตเปนภาษาที่คนไทยสวนใหญรูจักมากที่สุด เพราะมีสําเนียงที่เปน

เอกลักษณชัดเจนท่ีสุด เชนเดียวกับเพลงกลอมเด็กภาคใตท่ีมีทํานองและลีลาเดนเปนของตนเอง
เพลงกลอมเด็กภาคใตม ชี อ่ื เรยี ก 4 อยา ง คือ เพลงรองเรือ เพลงชานองหรือเพลงชานอง เพลงเสภา
และเพลงนองนอน ท่ีเรียกเพลงรองเรือ สันนิษฐานวานาจะเปนลักษณะของเปลที่ใชผาผูกมีรูปราง
คลายเรือ เพลงชานองหรือชานอง คําวา ชา มาจากคําวา บูชา ซ่ึงแปลวาสดุดีหรือกลอมขวัญ
ชานองหรือชา นอ ง จงึ หมายถึงการสดุดีแมซ้ือ ซ่ึงเชื่อกันวาเปนเทวดาหรือผีประจําทารก เพลงเสภา
เปน เพลงท่ีใชโ ตคารมกันเปนบทปฏิพากยแสดงปฏิภาณไหวพริบ นํามาใชเปนเพลงกลอมลูกนองนอน
เปนการมุงกลอมนองหรือกลอมลูกโดยตรง ลักษณะเดนของเพลงกลอมลูกภาคใตไมวาจะเปนเพลง
ประเภทใด มักจะขึ้นตนดวยคาํ วา “ฮา เออ” หรือคาํ วา “เหอ” แทรกอยูเสมอในวรรคแรกของ
บทเพลง แลวจึงขับกลอมไปชา ๆ เหมือนภาคอื่น ๆ จากหลักฐานการคนควาเพลงกลอมเด็กภาคใต
ของศาสตราจารยส ทุ ธิวงศ พงศไพบูลย ระบไุ วว าเพลงกลอมเดก็ ภาคใตม ีจุดประสงคแ ละโอกาสการใช
กวา งขวาง จํานวนเพลงจึงมมี ากถงึ 4,300 เพลง นบั วา มากกวาทกุ ภาคในประเทศ

ตวั อยา งเพลงกลอมเด็กภาคใต

...รอ งเรอื เหอ รองโรกันท้งั บา น

ไมใชเ รือ่ งของทา น ทานเหอ อยา เกบ็ ไปใสใ จ

รอ งเรือชาหลาย ไมเกีย่ วไมพ านไปหาใคร

ทา นอยาเกบ็ มาใสใ จ รอ งเรือชาหลาน...เอง

...โผกเปลเหอ โผกไวใ ตต นชมพู

ใหแ หวนชายไปทั้งคู บอกพอบอกแมว า หาย

พอ วาไมรบั รูบุญ แมว าไมร บั รดู าย

บอกพอบอกแมว า แหวนหาย ตดิ มือพช่ี ายไป

....................................

กจิ กรรมเพลงกลอมเด็ก

1. ใหนักศึกษาคนควาบทเพลงกลอมเด็กท่ีมีอยูในทองถิ่นของตน บันทึกไวพรอมทั้งแปล
ความหมายหรอื อธบิ ายคาํ ภาษาถ่นิ นัน้ ๆ

บทเพลงกลอมเดก็
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................

ห น้ า | 191

บทท่ี 7
ภาษาไทยกับชองทางการประกอบอาชพี

สาระสาํ คญั

ภาษาไทยเปนภาษาประจําชาติ เปน ภาษาที่ใชส ือ่ สารในชีวิตประจําวัน อีกทง้ั ยงั เปน ชอ งทาง
ทส่ี ามารถนาํ ความรภู าษาไทยไปใชในการประกอบอาชีพตา ง ๆ ได โดยใชศ ลิ ปะทางภาษาเปน สือ่ นํา

ผลการเรียนรทู ี่คาดหวงั

เมื่อศึกษาจบบทท่ี 7 แลว คาดหวังวา ผูเรยี นจะสามารถ
1. มีความรู ความเขา ใจ สามารถวิเคราะหศ กั ยภาพตนเอง ถึงความถนัดในการใชภ าษาไทย

ดานตา ง ๆ ได
2. เหน็ ชอ งทางในการนาํ ความรูภาษาไทยไปใชในการประกอบอาชพี
3. เห็นคณุ คา ของการใชภ าษาไทยในการประกอบอาชพี

ขอบขายเนือ้ หา

เร่ืองที่ 1 คณุ คาของภาษาไทย
เรอื่ งที่ 2 ภาษาไทยกบั ชองทางการประกอบอาชพี
เรื่องที่ 3 การเพ่ิมพนู ความรแู ละประสบการณทางดา นภาษาไทยเพ่ือการประกอบอาชพี

192 | ห น้ า

เรื่องท่ี 1 คณุ คา ของภาษาไทย

ภาษาไทยเปนภาษาประจําชาติ เปนภาษาท่ีใชในการสอื่ สารในชีวิตประจําวัน เปนเคร่ืองมือใน
การเรียนรู และการนาํ ไปใชในการประกอบกิจการงาน ท้ังสวนตน ครอบครัว กิจกรรมทางสังคมและ
ประเทศชาติ อีกท้ังยังเปนสวนหนึ่งของวัฒนธรรมไทย ดังนั้นการเรียนรูภาษาไทย จึงตองมุงใหเกิด
การเรียนรูเพ่ือพัฒนาทักษะดานตาง ๆ อยางถูกตองและเหมาะสม ทั้งทักษะการอาน การดู การฟง
การพูดและการเขียน โดยเฉพาะทักษะการพูดและการเขียน เมื่อศึกษาใหลึกลงไปและฝกทักษะใน
2 ดานน้ีอยางจริงจัง สามารถนําไปสูการประกอบอาชีพได ซ่ึงการที่คนไทยจะตระหนักถึงประโยชน
ท่จี ะไดจากการมพี ื้นฐานภาษาไทยทด่ี ี ตองรแู ละเขาใจคุณคา ของภาษาไทยอยา งถอ งแท

คุณคาของภาษาไทย
เม่ือกลาวถงึ คณุ คา ของภาษาไทย จะพบวา ภาษาไทยมีคณุ คาในดานตา ง ๆ ดงั น้ี
1. คุณคาทางวัฒนธรรม ภาษาของแตละชาติ ยอมแสดงใหเห็นวัฒนธรรมของชาตินั้น ชาติท่ี

สามารถประดิษฐภาษาและตัวอักษรเปนของตนเองไดแสดงวาเปนชาติที่มีความเจริญทางวัฒนธรรม
คนไทย กเ็ ชนกัน เราสามารถประดิษฐต วั อักษรเพ่ือใชในภาษาของตนเอง เพ่ือเปนการส่ือสารที่สามารถ
จดจําจารึกเร่ืองราวตาง ๆ ใหคนรุนหลังไดทราบ เปนภูมิรูทางประวัติศาสตรและวัฒนธรรมมาตั้งแต
ครงั้ กรงุ สุโขทยั ในสมัยพอ ขนุ รามคาํ แหงมหาราช

การท่ีคนรุนใหมไดทราบถึงวิถีชีวิตและความเปนอยูของคนรุนกอน ไดมีโอกาสอานวรรณคดี
วรรณกรรมโบราณ จนสามารถสรางสรรคพัฒนางานวรรณกรรมท้ังรอยแกวและรอยกรองใหม ๆ ได
โดยอาศยั ศึกษาพืน้ ฐานมาจากวรรณคดี วรรณกรรมโบราณ ซึ่งมกี ารสรา งสรรคจากตัวอกั ษรไทยนนั่ เอง
และไดถ ายทอดเปน มรดกทางวฒั นธรรมมาจนทกุ วนั น้ี

2. เปนเครื่องมือในการติดตอส่ือสาร ในการดําเนินชีวิตประจําวันและการประกอบอาชีพ
เครื่องมือท่ีจะกอใหเกิดความเขาใจในการติดตอสื่อสารกัน คือ ภาษาเพื่อสื่อสารความตองการ
ความรูส ึกนกึ คิดใหอีกฝายทราบตรงกัน โดยมกี ระบวนการสือ่ สาร คอื

ผูสงสาร สาร ชอ งทาง ผรู ับสาร
3. เปนเคร่ืองมือในการเรียนรูและแสวงหาความรู ภาษาไทยจัดเปนวิชาพื้นฐาน
เพือ่ การแสวงหาความรใู นวิชาอื่น ๆ ตอไป หากผูเรียนมีความรูพื้นฐานทางภาษาไทยที่ดีพอ ก็จะทําให
การเรียนรูในวิชาอ่ืน ๆ มีประสิทธิภาพที่ดีตอไปดวย การมีความรูพื้นฐานภาษาไทยท่ีดี คือ
การมคี วามสามารถในการเขยี น สะกดคําไดถูกตอง อานและออกเสียงไดถูกตองตามอักขรวิธีไทย
รวมท้ังพูดและใชคาํ ไดถูกตองตรงกับความหมายของคาํ

ห น้ า | 193

4. เปนเคร่ืองมอื ในการสรางความเขาใจอันดีตอกัน ประเทศไทยแบงเปน 5 ภาค แตละภาค
ลวนมีภาษาของตนเองที่เรียกวา “ภาษาถิ่น” โดยมีภาษาไทยภาคกลางเปนภาษาของทางราชการ
ทําใหการสื่อสารทําความเขาใจในเร่ืองตาง ๆ ท้ังเร่ืองการศึกษา เรื่องราชการ และการสื่อสารมวลชน
มีความเขาใจท่ตี รงกัน เพราะใชภาษาไทยภาคกลางเปน ภาษาสอ่ื สาร

5. เปนเคร่ืองมือสรางเอกภาพของชาติ ภาษาไทยเปนภาษาของชาติไทยท่ีเปนเอกลักษณ
ของความเปนชาติไทย แสดงถึงความเปนชาติที่มีอารยธรรม มีความเจริญรุงเรืองทางวัฒนธรรม
จึงมีภาษาและตัวอักษรเปนของตนเอง และการที่ภาษาไทยภาคกลางเปนภาษาของทางราชการ
จึงเปนสอื่ รวมใจใหค นไทยในแตละภาคไดติดตอสอ่ื สารแลกเปลยี่ นวฒั นธรรม ความรู และขา วสารขอ มูล
ถงึ กันได มีความระลึกอยใู นใจถงึ ความเปน คนไทย เปนเช้อื ชาติเผาพันธุเ ดยี วกนั

6. เปนเครื่องจรรโลงใจ ภาษาไทยเปนภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต 5 เสียง เมื่อนําไปประสม
เปนคาํ จะทาํ ใหเ กิดเปนเสยี งสูงตาํ่ ไดถ งึ 5 เสียง กอใหเกิดความไพเราะของเสียงคํา เมื่อนําไปแตงเปน
บทประพันธประเภทตางๆ ไมวาจะเปนเพลง โคลง ฉันท กาพย กลอน นิยาย นิทาน กอใหเกิด
ความจรรโลงใจแกผฟู ง และผอู านไดอ ยางดี

จากคณุ คา ท้งั 6 ประการของภาษาไทย จะเห็นไดว า ภาษาไทยไมเ พียงเปนภาษาเพื่อนําไปใชใน
การแตงคําประพันธประเภทตาง ๆ หรือเปนเพียงภาษาเพื่อการอานการดูและการฟง แตยังเปน
ภาษาเพื่อการพูดและการเขียน หากคนไทยทุกคนไดศึกษาภาษาไทยใหถองแท มีความรูความเขาใจ
ทางภาษาไทยอยางถูกตองลึกซึ้ง สามารถใชภาษาไดดีทั้งภาษาพูด ภาษาเขียนจะทําใหสามารถ
สรา งสรรคสง่ิ ใหม ๆ ทางภาษาอนั จะนําไปสูก ารประกอบอาชพี ตาง ๆ โดยใชภาษาเปน พืน้ ฐานของอาชีพ
ไดอ ยางดี และมโี อกาสประสบความสาํ เรจ็ ในอาชพี น้นั ๆ ได

194 | ห น้ า

เรือ่ งที่ 2 ภาษาไทยกับชองทางการประกอบอาชพี

ในปจจุบันมีอาชีพมากมายท่ีคนในรุนกอน ๆ อาจมองขามความสําคัญไป แตกลับเปนอาชีพ
ท่ีทํารายไดอยางงามแกผูประกอบอาชีพน้ัน และกลายเปนอาชีพที่เปนที่นิยมของคนไทยในปจจุบัน
เปน อาชพี ทใ่ี ชภาษาไทยเปนพ้ืนฐาน โดยเฉพาะใชทักษะการพูด และการเขียนเปน พ้นื ฐาน ดังนี้
1. อาชีพที่ใชทกั ษะการพดู เปนชอ งทางในการประกอบอาชีพ

การพูดเปนทักษะสําคัญอีกทักษะหน่ึงท่ีตองอาศัยวรรณศิลป คือ ศิลปะการใชภาษา
ที่จะสามารถโนมนาวใจ กอใหเกิดความนาเชื่อถือ เห็นคลอยตาม สรางสัมพันธภาพท่ีดีระหวางผูพูด
และผูฟง หรือผูฟงตอสวนรวม หรือโนมนาวใจใหใชบริการหรือซ้ือสิ่งอุปโภคบริโภคในทางธุรกิจได
การพดู จงึ เปน ชองทางนําไปสูอาชีพตา ง ๆ ไดดงั น้ี

1.1 อาชพี ดา นสอื่ สารมวลชนทกุ รปู แบบ ทง้ั ในวงราชการ เอกชน และวงการธรุ กจิ ไดแ ก
1.1.1 อาชีพนักโฆษณาประชาสัมพันธ ทั้งการโฆษณาสินคาและบริการ โฆษณา

การจัดงานตาง ๆ ของชมุ ชน หนวยงานราชการ โดยใชรถประชาสัมพันธ โดยการประชาสัมพันธผาน
เสียงตามสาย โดยการพบปะติดตอ ตอบคําถามตางๆ เปนขัน้ ตน และในขน้ั ทสี่ งู ขน้ึ ไป คือ การใชทักษะ
การพดู และเขยี นประกอบกนั เพ่ือคดิ หาถอ ยคําในเชิงสรางสรรคใ นการโฆษณาประชาสมั พนั ธผ านส่อื ตา ง ๆ
ทเ่ี รยี กวาการโฆษณาสนิ คา และบรกิ าร

1.1.2 อาชีพนักจัดรายการวิทยุ เปนอีกอาชีพหน่ึงท่ีตองใชทักษะในการพูด การมี
โวหาร และวาจาคารมที่คมคาย ลึกซึ้งกินใจ เพื่อใหผูฟงติดตามรายการอยางตอเน่ืองดวยความนิยม
มีท้งั นักจดั รายการวิทยชุ มุ ชน วิทยุเอกชน และรายการวิทยุของทางราชการ ตลอดจนการใชภาษาพูด
เพ่ือสรา งความเปน น้าํ หนึ่งใจเดียวกนั ของผูฟง เชน นกั จดั รายการวทิ ยุของทางราชการ

1.1.3 อาชีพพิธีกร ในปจจุบันอาชีพพิธีกรเปนอีกอาชีพหนึ่งท่ีสามารถทํารายได
อยางงามใหแกผ ูประกอบอาชพี ไมว าจะเปนพิธีกรในชุมชนที่ทําหนาที่ในงานของราชการและงานของ
เอกชน เชน พิธกี รงานประจําปตาง ๆ พธิ กี รการประกวดนางงามของทอ งถน่ิ พธิ ีกรงานประเพณีสําคญั ทาง
ศาสนา พิธกี รงานมงคลสมรส พิธีกรงานอุปสมบท พิธีกรงานศพหรืองานพระราชทานเพลิงศพ และ
พธิ กี รงานพิเศษในโอกาสตา ง ๆ ของทางราชการ
2. อาชพี ทใ่ี ชท กั ษะการเขยี นเปนชองทางในการประกอบอาชพี

การเขียนเปนทักษะสําคัญอีกทักษะหนึ่งที่เปนชองทางในการนําภาษาไทยไปใชประโยชน
ในการประกอบอาชีพตาง ๆ ได การจะใชภาษาเขียนเพ่ือประโยชนในการประกอบอาชีพก็เชนเดียวกับ
การพูด คือ ตองมีวรรณศิลปของภาษา เพื่อใหสิ่งที่เขียนสามารถดึงดูดความสนใจดึงอารมณ
ความรูสึกรวมของผูอาน โนมนาวใจใหผูอานเห็นคลอยตาม และเพื่อสรางความบันเทิงใจ รวมท้ัง
สรางความรูความเขาใจแกผูอาน ตลอดถึงความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันของสวนรวม อาชีพ
ที่สามารถนาํ ทักษะการเขียนภาษาไทยไปใชเพ่ือการประกอบอาชีพไดโดยตรง ไดแก อาชีพดังน้ี

ห น้ า | 195

2.1 อาชพี ดานส่ือสารมวลชนทกุ รูปแบบ ท้ังในวงราชการ เอกชน และวงการธุรกิจ ไดแก
อาชพี ดงั นี้

2.1.1 อาชพี ผูสอ่ื ขา ว ผเู ขียนขาว เปนอาชพี ท่ตี องใชศ ิลปะการเขียนและการใชภาษาที่
ดึงดดู ความสนใจของผอู าน

2.1.2 อาชีพผูพิสูจนอักษรและบรรณาธิการ เปนอาชีพท่ีตองมีความรูในการเขียน
การสะกดคาํ การใชถ อ ยคําสาํ นวนภาษา สุภาษติ คําพังเพยและหลกั ภาษาไทยเปนอยางดี จัดไดวาเปน
อาชีพท่ชี ว ยธาํ รงรกั ษาภาษาไทยไดอ าชพี หนึ่ง

2.2 อาชีพดานการสรางสรรคงานศิลปะรูปแบบตางๆ ทั้งในวงราชการ เอกชน
และวงการธุรกจิ ไดแ กอ าชีพดังน้ี

2.2.1 อาชีพกวี นักเขียน ท้ังการเขียนสารคดี นิยาย เร่ืองสั้น การเขียนบทละครเวที
บทละครโทรทัศน บทภาพยนต ผูประกอบอาชีพเหลาน้ี นอกจากมีศิลปะการเขียน และการเลือกใช
ถอยคําภาษามาใชเปนอยางดีตองเปนคนท่ีอานมาก ฟงมาก เพื่อนําขอมูลท่ีไดรับไปใชประโยชน
ในการเขยี นสือ่ สารสรางความสนุกสนาน บันเทิงใจ จรรโลงใจแกผูอานและควรเปนผูมีความคิดริเร่ิม
สรา งสรรค และจนิ ตนาการเปนองคป ระกอบ จึงจะทาํ ใหอ าชพี ทีป่ ระกอบประสบความสาํ เร็จดวยดี

นอกเหนือจากอาชีพที่ใชภาษาไทยเปนชองทางในการประกอบอาชีพโดยตรงแลว ยังมี
การประกอบอาชีพอ่ืน ๆ อีก ที่ใชภาษาไทยเปนชองทางโดยออม เพื่อนําไปสูความสําเร็จในอาชีพ
ของตนเอง เชน อาชพี ลาม มคั คุเทศก เลขานกุ าร นกั แปล และนักฝก อบรม ครู อาจารย เปนตน

196 | ห น้ า

เรอื่ งท่ี 3 การเพ่มิ พนู ความรแู ละประสบการณท างดานภาษาไทย
เพอ่ื การประกอบอาชพี

ในการนําความรูทางภาษาไทย ท้ังทักษะการพูดและการเขียนไปใชในการประกอบอาชีพนั้น
เพียงการศึกษาในช้ันเรียนและตําราอาจจะยังไมเพียงพอ ผูประกอบอาชีพตองเพิ่มพูนความรู
และประสบการณดา นภาษาและดานตาง ๆ เพอื่ ใหการประกอบอาชพี ประสบความสําเรจ็ ดงั จะยกตวั อยาง
อาชีพทใ่ี ชภ าษาไทย เปนชอ งทางในการประกอบอาชพี โดยตรงเพือ่ เปน ตัวอยาง ดังนี้
1. อาชีพนักโฆษณา-ประชาสมั พันธ

เปนอาชีพที่ผูประกอบการ ตองเพิ่มพูนความรูในเรื่องการเขียน และการพูดแบบสรางสรรค
รวมทง้ั ฝก ประสบการณ โดยการฝกเขียนบอ ย ๆ ตลอดจนการศึกษาดูงานของหนวยงาน หรือบริษัเอกชนที่
ประสบความสาํ เร็จในเรื่องของการโฆษณาและประชาสัมพนั ธ

องคความรูท ่ีควรศกึ ษาเพมิ่ เตมิ
ในการเพ่ิมพูนองคความรูในดานการเขียนและการพูด ผูประกอบอาชีพดานนี้ ควรศึกษา
เนอ้ื หาความรทู ีจ่ ะนาํ ไปใชในการพัฒนาอาชีพในเร่ืองตอไปน้ี
1) ศลิ ปะการพดู และศิลปะการเขียน เพราะอาชีพนักโฆษณาประชาสัมพนั ธเปนอาชีพที่ตอง
อาศัยศาสตรท้ังสองดานประกอบกัน ในการพูดนํ้าเสียงตองนุมนวลหรือเราใจขึ้นอยูกับสถานการณ
ของเร่ืองที่จะโฆษณาหรือประชาสัมพันธ รูจักเลือกใชถอยคําที่เปนการใหเกียรติแกผูฟง หรือเคารพ
ขอ มูลทเ่ี จา ของงานใหมา
2) ระดบั ของภาษา ซ่ึงเปนเรื่องของการศกึ ษาถึงความลดหลน่ั ของถอ ยคาํ และการเรยี บเรยี ง
ถอยคําท่ใี ชตามโอกาส กาลเทศะและความสัมพันธร ะหวา งบุคคลท่เี ปน ผูสอ่ื สารและผรู ับสาร ซึง่ กลมุ บุคคล
ในสังคมแบงออกเปนหลายกลุม หลายชนช้ันตามสภาพอาชีพถิ่นท่ีอยูอาศัย ฯลฯ ภาษาจึงมีความ
แตกตางกันเปนระดับตามกลุมคนท่ีใชภาษา เชน ถอยคําท่ีใชกับพระภิกษุสงฆและพระราชวงศ อาจใช
ถอยคําอยา งหนึง่ ภาษาของนักเขยี นหรือกวีทส่ี ือ่ สารถึงผูอา น กอ็ าจจะใชภาษาอีกอยางหน่ึง เปนตน
ดงั น้นั ผูใ ชภ าษาจงึ ตอ งคาํ นึงถึงความเหมาะสมและเลอื กใชใ หถ กู ตองเหมาะสมกบั กาลเทศะ และบคุ คล

ในภาษาไทย จะแบง ระดบั ของภาษาเปน 5 ระดบั คือ
2.1) ภาษาระดบั พิธีการ เปน ภาษาทใ่ี ชในงานพระราชพิธีหรืองานพธิ ีของรัฐ
2.2) ภาษาระดบั ทางการ เปนภาษาท่ีใชในทป่ี ระชมุ ทม่ี แี บบแผนการบรรยาย
การอภิปรายทเี่ ปนทางการ เปน ตน
2.3) ภาษาระดบั กงึ่ ทางการ เปน ภาษาท่ีใชใ นการอภปิ ราย ประชมุ กลมุ ในหอ งเรยี น
การพดู ทางวทิ ยแุ ละโทรทัศน ขา ว และบทความในหนังสือพมิ พ
2.4) ภาษาระดับสนทนาทวั่ ไป เปนภาษาท่ีใชส นทนาท่วั ๆ ไป กบั คนท่ไี มค ุน เคย
มากนกั เชน ครพู ดู กบั ผเู รียน เปนตน

ห น้ า | 197

2.5) ภาษาระดบั กันเอง เปนภาษาระดับที่เรียกวาระดับภาษาปาก เปนภาษาสนทนา
ของครอบครวั ในหมเู พ่อื นสนิท หรอื ญาติพ่ีนอ ง พดู อยใู นวงจาํ กัด

3) เรอื่ งของนาํ้ เสียงในภาษา ซ่งึ เปนเรือ่ งท่ีเกยี่ วกบั อารมณค วามรูส กึ ของผสู ง สารทปี่ รากฎให
รูสึกหรือเปนรองรอยในภาษาหรือเน้ือหาที่ผูสงสารตองการจะสื่อออกมาเปนความรูสึกแฝงท่ีปรากฎ
ในการสื่อสาร ซึ่งนักโฆษณาประชาสัมพันธตองระมัดระวังมิใหมีนํ้าเสียงของภาษาออกมาในทางที่
ไมพึงประสงค หรือสรา งความรสู ึกท่ไี มดแี กผฟู ง

4) ดา นการพัฒนาบุคลกิ ภาพ ในบางครั้งนกั โฆษณา-ประชาสัมพันธตองปรากฎตัวตอบุคคล
ท่วั ไปในงานตา ง ๆ จึงควรตอ งแตงกายใหส ุภาพเรยี บรอย เหมาะกบั กาลเทศะของสถานท่ีและงานท่ัวไป
ซงึ่ จะชวยสรา งความนาเช่อื ถอื แกผูพบเหน็ ไดส วนหน่ึง

5) การพัฒนาองคความรูในตนเอง นักโฆษณา-ประชาสัมพันธ ตองหมั่นแสวงหาความรู
ติดตามขาวสารขอมูลทุกดานอยางสมํ่าเสมอ เพื่อนํามาใชเปนขอมูลในการพัฒนาการโฆษณา-
ประชาสัมพันธใหนาสนใจอยูตลอดเวลา รวมทั้งตองแสวงหาความรูในดานการประเมินผล เพ่ือใช
ประโยชนในการประเมินผลการปฏิบัติหนาที่ของตนเองดวยรูปแบบวิธีการตาง ๆ ที่จะกอใหเกิด
การพฒั นาอาชพี ใหด ยี ่งิ ขน้ึ

แหลงทค่ี วรศกึ ษาเพมิ่ เติม
แหลง ทีค่ วรศึกษาเพม่ิ เตมิ เพ่ือเพิ่มพนู ความรูในอาชีพน้ี ไดแก
1) สถาบนั ฝก อบรมของเอกชน ซ่งึ ผเู รยี นสามารถหาขอมลู รายชอื่ ไดจากอนิ เตอรเ น็ต
2) หนวยงานของทางราชการ ไดแ ก กรมประชาสมั พันธ สถาบันสงเสริมการศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอธั ยาศยั ภาคตาง ๆ
3) สถานศึกษาตา ง ๆ ของรฐั บาล เชน ผทู ่ีจบการศึกษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน ตอ งศึกษาตอ
ในระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย และเขาศกึ ษาตอในระดบั อุดมศึกษา คณะนเิ ทศศาสตร คณะวารสารศาสตร
คณะศลิ ปะศาสตร คณะอักษรศาสตร ถาศึกษาตอใน 2 คณะหลัง ตองฝกอบรมทางอาชีพเพ่ิมเติมจาก
สถาบนั ฝก อบรมตา งๆ
2. อาชีพนักจัดรายการวิทยุ
เปนอาชีพที่ผูประกอบการตองเปนคนท่ีตรงตอเวลา มีจรรยาบรรณวิชาชีพ มีความเปนกลาง
ในการนําเสนอขาวสารขอมูล รูจักแกปญหาเฉพาะหนาและตองเพ่ิมพูนความรูในเรื่องการเขียน และ
การพูด เพราะการเปนนักจัดรายการวิทยุ ผูจัดตองเขียนสคริปทที่จะใชในการดําเนินรายการไดเอง
และพูดตามสคริปทไดอยางเปนธรรมชาติ รวมท้ังตองอานมาก ฟงมาก เพื่อเก็บรวบรวมขอมูลไวใช
ในการจัดทํารายการวิทยุ ซึ่งมีสถานที่ที่ผูประกอบการสามารถฝกอบรมและศึกษาดูงานไดทั้งของ
ภาครฐั และเอกชน

198 | ห น้ า

องคความรทู ี่ควรศึกษาเพิม่ เตมิ
ในการเพ่ิมพูนความรูเพื่อการเปนนักจัดรายการวิทยุท่ีดี ผูประกอบอาชีพดานนี้ควรศึกษา
เนอื้ หาความรทู ่ีจะนาํ มาใชใ นการพัฒนาอาชพี ในเรอื่ งตอไปน้ี
1) ศิลปะการพดู และศิลปะการเขยี น เพราะเปน อาชีพทต่ี องอาศยั ศาสตรท้ังสองดานประกอบ
กัน
2) ระดับของภาษา ซงึ่ เปนเรื่องของการศกึ ษาถึงความลดหล่ันของถอยคํา และการเรียบเรียง
ถอยคาํ ท่ีใชตามโอกาส กาลเทศะ และความสัมพันธระหวางบุคคลที่เปนผูสงสารและผูรับสาร
ซึ่งกลุมบุคคลในสังคมแบงออกเปน หลายกลุม หลายชนชั้น ตามสภาพอาชีพ ถิ่นที่อยูอาศัย ฯลฯ
ภาษาจึงมีความแตกตางกันเปนระดับตามกลุมคนที่ใชภาษา เชน ถอยคําที่ใชกับพระภิกษุสงฆและ
พระราชวงศ อาจใชถอยคําภาษาอยางหน่ึง ภาษาของนักเขียนหรือกวีที่ส่ือสารถึงผูอาน ก็จะใชภาษา
อกี อยา งหนง่ึ เปน ตน ดังน้นั ผูใชภ าษาจงึ ตองคาํ นงึ ถงึ ความเหมาะสม และเลอื กใชใ หถ กู ตอ งเหมาะสมกบั
กาลเทศะและบุคคล

ในภาษาไทยจะแบง ระดับของภาษาเปน 5 ระดบั คอื
2.1 ภาษาระดับพิธีการ เปนภาษาทีใ่ ชใ นงานพระราชพธิ ี หรืองานพธิ ีของรฐั
2.2 ภาษาระดบั ทางการ เปน ภาษาที่ใชในทปี่ ระชมุ ทีม่ ีแบบแผน ในการบรรยาย
การอภิปรายทเ่ี ปนทางการ เปน ตน
2.3 ภาษาระดับก่ึงทางการ เปนภาษาทใ่ี ชใ นการอภิปราย ประชุมกลมุ ในหองเรียน การพูด
ทางวิทยแุ ละโทรทัศน ขาว และบทความในหนังสือพิมพ เปนตน
2.4 ภาษาระดับสนทนาทัว่ ไป เปน ภาษาทใ่ี ชสนทนาท่วั ๆ ไปกับคนท่ีไมค นุ เคยมากนัก เชน
ครูพูดกับผูเ รียน เปน ตน
2.5 ภาษาระดบั กนั เอง เปน ภาษาระดับท่ีเรียกวาระดับปาก เปนภาษาสนทนาของครอบครัว
ในหมูเพ่อื นสนิท หรอื ญาติพน่ี อง พูดอยูใ นวงจํากดั
3) เรื่องของน้ําเสียงในภาษา ซ่ึงเปนเร่ืองที่เก่ียวกับอารมณความรูสึกของผูสงสารท่ีปรากฏ
ใหรูสึกหรือเปนรองรอยในภาษาหรือเนื้อหาที่ผูสงสารตองการจะสื่อออกมาเปนความรูสึกแฝง
ที่ปรากฎในการส่ือสาร ซึ่งนักจัดรายการวิทยุตองระมัดระวังมิใหมีนํ้าเสียงของภาษาออกมาในทางท่ี
ไมพงึ ประสงค หรือสรา งความรูสกึ ที่ไมดีแกผ ฟู ง
4) เร่ืองของหลักการใชภาษา เชน เรื่องของคําสรรพนามท่ีเกี่ยวกับบุคคล คําลักษณะนาม
คาํ ราชาศพั ท การออกเสยี ง ร ล และการออกเสยี งคําควบกลํ้า
5) ดานการพัฒนาบุคลิกภาพ ในบางครั้งนักจัดรายการวิทยุตองปรากฏตัวตอบุคคลท่ัวไป
ในงานตาง ๆ จึงควรตองแตงกายใหสุภาพเรียบรอย เหมาะกับกาลเทศะของสถานที่และงานที่ไป
ซ่งึ จะชวยสรา งความนา เชื่อถอื แกผพู บเห็นไดสว นหนง่ึ

ห น้ า | 199

6) การพัฒนาองคความรูในตนเอง นักจัดรายการวิทยุ ตองหม่ันแสวงหาความรูติดตาม
ขาวสารขอมูลทุกดานอยางสม่ําเสมอ เพื่อนํามาใชเปนขอมูลในการพัฒนาการจัดรายการวิทยุ
ใหนาสนใจอยูตลอดเวลา รวมท้ังตองแสวงหาความรูในดานการประเมินผล เพ่ือใชประโยชน
ในการประเมนิ ผลการปฏิบัตหิ นา ทข่ี องตนเองดว ยรปู แบบวิธีการตาง ๆ ท่ีจะกอใหเกิดการพัฒนาอาชีพ
ใหดยี ิ่งข้ึน

แหลงทคี่ วรศึกษาเพม่ิ เตมิ
แหลงทค่ี วรศึกษาเพิ่มเตมิ เพื่อเพิ่มพูนความรใู นอาชีพน้ี ไดแก
1. สถาบันฝกอบรมของเอกชน ซง่ึ ผูเรียนสามารถหาขอ มูลรายชือ่ ไดจากอินเตอรเนต็
2. หนว ยงานของทางราชการ ไดแก กรมประชาสัมพันธ สถาบันสงเสริมการศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอธั ยาศัยภาคตา ง ๆ
3. สถานศึกษาตาง ๆ ของรัฐบาล เชน ผูท่ีจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน ตองศึกษา
ตอในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และเขาศึกษาตอในคณะนิเทศศาสตร คณะวารสารศาสตร
คณะศิลปะศาสตร คณะอักษรศาสตร ถาเขาศึกษาในคณะศิลปะศาสตร หรืออักษรศาสตรตองอบรม
เพิม่ เตมิ ในเร่อื งเทคนิคการจดั รายการวิทยุเพ่ิมเติม
3. อาชพี พิธีกร
เปนอาชพี ทีผ่ ูประกอบอาชีพตองมีพื้นฐานความรูในเรื่องการพูดเปนอยางดี เพราะเปนอาชีพ
ท่ตี อ งใชก ารพูดเปน เครอื่ งมือในการสื่อสารกบั ผูอ่นื การใชค าํ พูดและถอ ยคําภาษาจึงเปนเรื่องสําคัญตอ
การสรา งความรสู กึ ทดี่ ีหรอื ไมด ีตอผฟู ง นอกจากนี้บุคลิกภาพและการแตง กายของผทู าํ หนา ทีพ่ ธิ กี รกเ็ ปน
อีกเร่ืองหน่ึงท่ีจะดึงดูดความสนใจของผูฟง รวมท้ังควรเปนผูท่ีตรงตอเวลา เพื่อเปนความเชื่อถือใน
วชิ าชีพไดสว นหนง่ึ
องคความรทู ่ีควรศึกษาเพม่ิ เติม
ในการเพิ่มพนู องคค วามรใู นการประกอบอาชีพพิธีกร ควรศึกษาเน้ือหาความรูที่จะนําไปใชใน
การพฒั นาอาชพี ในเรื่องตอไปนี้
1. ศิลปะการพูดหรือศิลปะการใชภาษา เพราะอาชีพพิธีกร เปนอาชีพท่ีตองอาศัยศาสตร
(ความร)ู และศิลปข องการพูดเปน อยางมาก ซง่ึ ตอ งอาศยั การฝกฝนบอย ๆ
2. ระดบั ของภาษา ซึ่งเปน เรอื่ งของการศึกษาถึงความลดหลั่นของถอยคํา และการเรียบเรียง
ถอยคําที่ใชตามโอกาส กาลเทศะ และความสัมพันธระหวางบุคคลท่ีเปนผูสงสารและผูรับสาร
ซ่งึ กลมุ บุคคลในสงั คมแบง ออกเปน หลายกลมุ หลายชนชนั้ ตามสภาพอาชพี ถน่ิ ทีอ่ ยอู าศยั ฯลฯ ภาษาจงึ มี
ความแตกตา งกนั เปนระดับตามกลุมคนทีใ่ ชภาษา เชน ถอ ยคาํ ท่ีใชก ับพระภกิ ษุสงฆและพระราชวงศ อาจใช
ถอยคาํ ภาษาอยางหน่ึง ภาษาของนักเขยี นหรอื กวที ี่สอื่ สารถงึ ผอู าน ก็จะใชภาษาอีกอยางหนึ่ง เปนตน
ดงั นั้นผูใชภ าษาจึงตองคาํ นงึ ถึงความเหมาะสม และเลอื กใชใ หถกู ตองเหมาะสม กบั กาลเทศะและบุคคล

200 | ห น้ า

ในภาษาไทยจะแบงระดบั ของภาษาเปน 5 ระดบั คือ
2.1 ภาษาระดบั พิธกี าร เปนภาษาทใ่ี ชในงานพระราชพิธี หรอื งานพิธีของรัฐ
2.2 ภาษาระดับทางการ เปนภาษที่ใชในท่ีประชุมที่มีแบบแผน ในการบรรยาย
การอภิปรายท่ีเปนทางการ เปนตน
2.3 ภาษาระดบั กึ่งทางการ เปน ภาษาทีใ่ ชในการอภิปราย ประชุมกลุมในหองเรียน การพูด
ทางวทิ ยุและโทรทัศน ขา ว และบทความในหนังสอื พมิ พ เปน ตน
2.4 ภาษาระดบั สนทนาทว่ั ไป เปน ภาษาทีใ่ ชสนทนาท่วั ๆ ไปกบั คนทไ่ี มค นุ เคยมากนัก เชน
ครพู ดู กับผเู รียน เปน ตน
2.5 ภาษาระดบั กันเอง เปน ภาษาระดบั ท่เี รยี กวาระดับปากเปน ภาษาสนทนาของครอบครัว
ในหมูเพื่อนสนทิ หรอื ญาตพิ นี่ อ งพูดอยูในวงจาํ กัด
3. เรื่องของนํ้าเสียงในภาษา ซ่ึงเปน เร่ืองทีเ่ ก่ยี วกับอารมณ ความรสู กึ ของผูสงสารที่ปรากฎให
รสู ึก หรอื เปน รองรอยในภาษา หรอื เนือ้ หาท่ีผูสง สารตอ งการจะสื่อออกมา เปนความรูสึกแฝงท่ีปรากฎ
ในการสอ่ื สาร
4. เรื่องของหลักการใชภาษา เชน เร่ืองของคําสรรพนามที่เกื่ยวกับบุคคล คําลักษณะนาม
คาํ ราชาศัพท การออกเสยี ง ร ล และการออกเสียงคําควบกลา้ํ
5. เร่ืองของการพัฒนาบคุ ลิกภาพและการแตงกาย ผูทําหนาที่พิธีกร เปนผูท่ีตองปรากฏกาย
ตอหนาคนจํานวนมาก บุคลิกภาพและการแตงกายจึงเปนเร่ืองสําคัญท่ีจะปรากฏเปนสิ่งแรกใหผูที่
พบเห็นเกิดความประทับใจหรือไม ถา ประทับใจผูคนจะจดจอรอฟงการพูดเปนประการตอมา ถาผูพูด
สามารถพูดไดประทบั ใจ จะกอ เกดิ เปนความนิยมชมชอบตามมาและจะกอใหเกิดเปนความสําเร็จของ
อาชีพในท่ีสุด
6. ดานการพัฒนาองคความรูในตนเอง พิธีกรตองหมั่นแสวงหาความรูท่ีเกี่ยวของกับ
การประกอบอาชีพ เพ่ือนําไปสูการพัฒนาอาชีพของตนเอง เชน เร่ืองของการวัดผลประเมินผล
การทาํ หนาทีข่ องตนเองดว ยรปู แบบวิธกี ารตา งๆ ซง่ึ จะกอ ใหเ กดิ การพฒั นาอาชีพใหดียง่ิ ขึน้

แหลงท่คี วรศึกษาพิม่ เติม
แหลง ที่ควรศกึ ษาเพมิ่ เติมเพื่อเพ่ิมพูนความรูในอาชีพนี้ ไดแก
1. สถาบนั ฝกอบรมของเอกชน ซ่ึงผเู รียนสามารถหาขอมูลรายชือ่ ไดจากอนิ เตอรเนต็
2. หนว ยงานของทางราชการ ไดแก กรมประชาสมั พนั ธ สถาบนั สงเสริมการศึกษานอกระบบ
และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ภาคตา งๆ
3. สถานศกึ ษาตา งๆ ของรฐั บาล เชน ผูท จี่ บการศึกษาระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน ตองศกึ ษาตอ
ในระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย และเขาศกึ ษาตอ ในระดบั อดุ มศกึ ษา คณะนเิ ทศศาสตร คณะวารสารศาสตร
คณะศิลปศาสตร คณะอกั ษรศาสตร ถา เขา ศกึ ษาในคณะศลิ ปศาสตรห รืออกั ษรศาสตรต องอบรมเพมิ่ เตมิ
ในเรือ่ งเทคนคิ การจัดรายการวทิ ยเุ พ่ิมเตมิ


Click to View FlipBook Version