The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by AJ, 2022-07-11 04:15:32

2(2)

2(2)

ห น้ า | 101

การเขยี นคําขวญั

คาํ ขวญั คอื ขอความสั้น ๆ เขยี นดวยถอยคาํ ที่เลือกสรรเปนพิเศษเพ่ือใหประทับใจผูฟง จูงใจ
ใหคดิ หรือปฏบิ ตั ิ เชน

คําขวัญวันเด็ก พ.ศ. 2554

รอบคอบ รคู ดิ มีจิตสาธารณะ

คําขวญั วันครู

ยกยอ งพระคุณครู เชดิ ชคู วามเปน ไทย

คําขวญั ของการสอ่ื สารแหงประเทศไทย

จาหนาถว นถ่ี ไปรษณียห างาย จดหมายถึงเรว็

คําขวญั โรงพยาบาลสมทุ รสาคร

บรกิ ารดจุ ญาติมิตร ทกุ ชวี ติ มคี ณุ คา

ประโยชนข องคาํ ขวัญ คอื ใชเ ปน เคร่อื งเตือนใจใหป ฏิบัติตาม
องคประกอบของคาํ ขวัญ มี 3 สว น คอื
1. ความมงุ หมายหรือแนวคิด
2. ขอความหรอื เน้อื หา
3. ศิลปะแหงการใชถอ ยคํา
องคป ระกอบทงั้ 3 สว นนี้ จะประสมกลมกลนื กนั ในตวั คําขวัญนัน้ อยางเหมาะสม
ลกั ษณะของคําขวัญท่ดี ี มีดังตอไปน้ี
1. มีเจตนาที่ดีตอผูฟง ผูปฏิบัติ หรือผลประโยชนของสวนรวม เชน คําขวัญ เชิญชวน
งดการสูบบหุ รี่ คําขวญั เชญิ ชวนใหประหยัดนํา้ ประหยดั ไฟ ฯลฯ

102 | ห น้ า

2. มีเปาหมายชัดเจนเพียงเปาหมายเดียว เชน เพื่อใหเคารพกฎจราจรเพ่ือใหชวยรักษา
ความสะอาดของถนน ฯลฯ

3. มเี นือ้ หาครอบคลุมเปาหมาย
4. ไพเราะ สัมผสั คลอ งจอง มีพลังโนม นาวใจผูฟง ใหจ าํ และปฏิบัตติ าม
ข้นั ตอนในการเขียนคําขวัญ คาํ ขวญั ทดี่ ตี องเปนขอความส้ัน ๆ ไพเราะ มีพลังในการโนมนาว
ใจผฟู งหรืออานเขียนครอบคลมุ เปา หมายที่กําหนดไวอยางชดั เจน มีขน้ั ตอนดังนี้
ขนั้ เตรียม
1. กําหนดจุดมุงหมายใหชัดเจนวา จะใหผฟู งคิดหรือปฏบิ ตั ิเร่อื งอะไร อยางไร
2. กําหนดกลมุ ผใู ชคาํ ขวญั วาเปน คนกลุม ใด เชน คาํ ขวัญสําหรับเด็ก ตองเขียนใหเขาใจงาย
กวาคาํ ขวญั สําหรบั ผใู หญ
3. ศึกษาหาความรเู กี่ยวกบั เรือ่ งทีจ่ ะเขียนคําขวญั
ขั้นลงมอื เขยี น
1. เรยี บเรยี งขอความท่ีจะเปนรอยแกว ใหม ีเนอ้ื หาครอบคลมุ เปา หมายท่ีกาํ หนดไว
2. เรียบเรียงขอความในขอ 1 ใหเปนขอความท่ีมีสัมผัสและมีถอยคําท่ีมีพลังโนมนาวใจ
โดยลองเขียนดูหลาย ๆ ขอความ แลวพิจารณาตัดขอความท่ีไมเหมาะสมออกไป จนเหลือขอความท่ี
พอใจประมาณ 3-4 ขอ ความ
3. เลอื กขอความทีด่ ที ี่สุดเอาไวใ ช
ข้ันตรวจทาน นาํ คําขวญั ท่ีไดม า พจิ ารณาตรวจทานการใชค าํ ท่ถี ูกตองตามความหมายและ
ความนยิ ม และการเขียนสะกดการนั ต

การเขยี นคาํ โฆษณา

การเขียนคําโฆษณา เปนการใชภาษาเพ่ือทาํ ใหผูอานเกิดความสนใจส่ิงท่ีผูเขียนนําเสนอ
การเขยี นโฆษณามีกลวธิ ตี า ง ๆ ทีค่ วรศกึ ษาเพื่อพฒั นาทกั ษะการคดิ และการเขยี น เปนการเขียนทใี่ ชใ น
วงการธุรกจิ การคา การใชถอ ยคํามลี กั ษณะดึงดดู ความสนใจจากผบู รโิ ภค เพอ่ื ใหจ ดจําสนิ คา ไดงาย
ซ่งึ จําเปนกับกจิ การในการขยายตวั ทางการคาของธุรกิจบริษทั น้ัน ๆ
จุดประสงคข องการเขียนคําโฆษณา

1. เพ่อื ใหผ บู รโิ ภครูจ กั สนิ คาหรือบรกิ ารของบริษัทและสนใจอยากซอื้ มาใชห รอื อยากใชบรกิ าร
2. เพ่ือเตือนใจผูบริโภคใหจดจาํ สินคาไดแมนยําทาํ ใหยอดขายสินคาชนิดน้ัน ๆ อยูตัวหรือ
เอาชนะคูแขงทางการคาได

ห น้ า | 103

กลวธิ ีในการเขียนคาํ โฆษณา
1. การเนนความสําคัญเฉพาะบุคล เชน “เอกลกั ษณสําหรับบรุ ุษ” “นํา้ หอมประจาํ กาย

สําหรบั ผมู รี สนยิ ม” การเขียนโฆษณาวธิ ีนี้เปนการสรา งความรูสกึ ใหผ บู ริโภคอยากเปน บุคคลเดนทม่ี ี
ความสาํ คัญ

2. การสรางความเปนพวกเดียวกัน การเขียนโฆษณาวิธีนี้นิยมใชคําวา “เรา” เพื่อสราง
ความรสู ึกวาเปนพวกเดยี วกัน เชน “เราหว งใยดวงใจดวงนอ ยของทาน” “เราสามารถชวยทา นได”

3. การสรางความกลวั การเขยี นโฆษณาวธิ นี ้ใี ชไ ดผ ลกับผูบ ริโภคที่ไมม ีความมัน่ ใจตนเองและ
หว่ันเกรงเหตุการณในอนาคต เชน “ระวัง ยาลดความอวนท่ีทานใชอยู” “คุณกาํ ลังตกอยูใน
อนั ตราย” “บุตรหลานของทา นอยทู า มกลางพิษภยั ของโรคไขห วัดนก”

4. การเนน ความเปน ชาตินยิ ม การเขยี นโฆษณาวิธนี เ้ี ปน การสรา งความรสู กึ รักชาติใหเ กิดขึ้น
ในสํานึกผูบริโภค เชน “ไทยทาํ ไทยใช ไทยเจริญ” “ใชสินคาไทย เงินตราไมร่ัวไหล
ไปตางประเทศ”

5. การใชอิทธพิ ลของกลุม การโฆษณาวิธีน้ีใชห ลกั ธรรมชาติของมนุษย ซึ่งนิยมทําตามอยาง
กันมาเปนจุดโฆษณา เชน “ใคร ๆ ก็นิยมใช.....” “ทุกสังคมตางช่ืนชอบ....” “นางงาม 9 ใน 10 คน
ใช....”

6. การปดบังบางสวน การเขียนโฆษณาวิธีน้ีจะไมแ จง ความจริงท้ังหมด ภาษาท่ีใชมีลักษณะ
ไมชัดเจนตองใหผูบรโิ ภคเขาใจเอาเอง เชน “สบายไปลานเจ็ดเคล็ดลับในการดูแลบาน” “ดาวนนอย
ผอนนาน”

7. การเนน ประสาทสมั ผัส การเขียนโฆษณาวิธีนใ้ี ชหลกั ธรรมชาติของมนุษยท ี่พอใจในรูป รส
กลนิ่ เสียง และสมั ผัส จงึ ใชถ อ ยคําท่ีสอ่ื ความหมายเกีย่ วกับประสาทสมั ผัสซึ่งสว นใหญเปน คาํ กริยาหรือ
คาํ วเิ ศษณ เชน “เครื่องดมื่ คนรนุ ใหม สดใส ซาบซา” “เพียงคําเดียว เคี้ยวเพลนิ ใจ

8. การใชคําภาษาตา งประเทศ การเขียนโฆษณาวิธีใชหลักการตอบสนองคานิยมของคนไทย
ที่นิยมใชภาษาตางประเทศในการส่ือสาร จึงนําคําภาษาตางประเทศมาใชเขียนคําโฆษณา เชน
“สกินโลชัน่ เบา นมุ ขาว บริสุทธ์ิ” “แปง เดก็ สูตรผสมมิลคโ ปรตีน”

9. การใชภาษาแสลง หรือภาษาปาก การเขียนโฆษณาวิธีนี้ เปนการนําภาษาแสดงหรือ
ภาษาปาก ซ่ึงผใู ชสนิ คา กลุมนนี้ ิยมใชเ พือ่ สรางความรสู กึ คนุ เคย วางใจ เชน “หรอ ยยังไง ไปชิมเอง”
“จะปวดเฮดทําไม ใชบรกิ ารเราดกี วา”

10. การกลาวเกินจริง การโฆษณาวิธีน้ีเนนความสนใจโดยไมคาํ นึงถึงหลักความจริงและ
ผูบริโภคสวนใหญก็ยอมรับสินคานั้น โดยไมพยายามไตรตรองวาความเปนจริงเปนอยางไร เชน
“คุณภาพลานเปอรเซ็นต” “นาํ้ หอมทห่ี อมจนเทวดาตามตอื้ ”

นอกจากน้ี ยังพบวาภาษาโฆษณานิยมใชคําคลองจองและคําสั้น ๆ ที่สื่อความหมายชัดเจน
เพือ่ ใหผบู รโิ ภคจําสินคา ไดขึน้ ใจและนิยมใชสนิ คาชนดิ น้นั

104 | ห น้ า

การเขียนรายงานการคนควา

การเขียนรายงานเปนการเขียนเน้ือหาทางวิชาการท่ีไดศึกษาคนความาเปนอยางดี
และเรยี บเรียงอยา งมรี ะเบยี บแบบแผน ทําใหเกิดความรสู กึ ความเขาใจเรือ่ งท่ศี กึ ษาดยี ง่ิ ข้นึ

สว นประกอบของรายงาน มี 3 สวน คือ
1. สวนนํา กลา วถึง วตั ถุประสงค และขอบเขตรายงานเรอื่ งนี้
2. สว นเน้ือเร่อื ง กลา วถงึ สาระสาํ คัญของเรอ่ื งอยา งละเอยี ด ทาํ ใหผ ูอานมีความเขาใจวาใคร
ทาํ อะไร ที่ไหน เมือ่ ไร ทาํ ไม และมีขัน้ ตอนในการทําอยางไร
3. สวนสรุป กลาวถึง ผลของการดําเนินงาน รวมทั้งขอเสนอแนะ หรือ ความคิดเห็นท่ีเปน
ผลจากการกระทาํ น้นั ดวย
ลักษณะของรายงานท่ีดี
1. ขอ มลู เช่อื ถอื ได มแี หลง อา งอิงชัดเจน
2. สอดคลองกับจดุ มุงหมายท่ีตงั้ ไว
3. มรี ายละเอยี ดครบถว น
4. มกี ารใชต าราง แผนภูมิ ภาพประกอบ ฯลฯ ที่ชวยใหเขา ใจงาย
5. มวี ิธกี ารเรียนท่ีนา อา น
6. เนอ้ื หาทันสมยั ทันเหตกุ ารณ
ข้นั ตอนในการเขียนรายงาน
1. เลอื กเรอื่ ง เปน เร่ืองทผี่ ูเขียนมคี วามรู หรอื สนใจเปนพเิ ศษ มีแหลงขอ มลู เปน ประโยชนแกผ อู า น
2. กําหนดจุดมุงหมายของรายงาน ตองกําหนดใหชัดเจนและสามารถเขียนใหเกิดผลตาม
จุดมุงหมายได

3. กําหนดขอบเขตของเรือ่ ง โดยใหส ัมผสั กับจุดมงุ หมาย
4. ทําโครงเรื่อง เพ่ือชวยใหรายงานมีการจัดหัวขออยางเปนลําดับไมสับสน และมีประเด็น
เนอ้ื เรอื่ งที่จะเขียนครบถว น
โครงเรื่องจะประกอบดว ย ความนาํ หวั ขอ ใหญแ ละหัวขอ ยอ ย การแบง หวั ขอมีหลกั ดงั นี้
1. เรยี งลําดับหัวขอใหญ และจัดแบง หวั ขอ ใหด ี อยา ใหม หี วั ขอยอยที่ไมเกี่ยวของเขาไปปะปน
อยูใ นหัวขอ ใหญ
2. การใชชื่อหัวขอยอย ไมควรยาวเกินไป ควรใชใหกะทัดรัด ใจความครอบคลุมเน้ือหา
ตอนน้นั ๆ โดยเฉพาะ
3. ไมค วรแบงเนื้อเรือ่ งออกเปน หัวขอ ยอยๆ มากเกนิ ไป
4. แตล ะหวั ขอ ในโครงเร่ืองจะตองมีความสัมพันธตอเนื่องกันโดยลําดับในการจัดเรียงลําดับ
หัวขอ อาจทาํ ไดหลายวิธี เชน เรยี งตามลาํ ดับเวลาหรอื ตามความสัมพนั ธระหวางหัวขอ โดยดูลักษณะ

ห น้ า | 105

ของเน้อื เรื่องเปนหลัก เชน การเขียนรายงานเรื่องประวัติการพัฒนาหมูบานเฉลิมพระเกียรติ ควรวาง
โครงเรือ่ งตามลําดบั เวลา เพราะผลของการพัฒนาในระยะแรก มีสวนสําคัญเก่ียวของกับการพัฒนา
ในระยะหลัง เราอาจวางโครงเร่ือง ดงั นี้

1. ความนํา
2. สภาพท่วั ไปของหมบู านเฉลิมพระเกยี รตกิ อน พ.ศ. 2505
3. การพัฒนาหมูบานเฉลมิ พระเกยี รติระยะที่ 1 พ.ศ. 2505 – 2515

3.1 เปา หมายของการพัฒนา
3.2 วธิ กี ารใช
3.3 ปญ หาและอปุ สรรค
3.4 ผลการพฒั นาและผลกระทบ
4. การพัฒนาหมูบ านเฉลิมพระเกียรติ ระยะท่ี 2 พ.ศ. 2515 – 2525
หวั ขอ ยอ ยเปนลกั ษณะเดียวกับขอ 3
5. การพฒั นาหมูบานเฉลิมพระเกยี รติระยะท่ี 3 พ.ศ. 2525 – 2535
หวั ขอ ยอยเปน ลักษณะเดียวกบั ขอ 3
6. การพฒั นาหมูบา นเฉลิมพระเกยี รติ – สภาพปจ จุบัน
6.1 เปาหมายของการพัฒนา
6.2 วธิ กี ารใช
6.3 ปญ หาอปุ สรรค
6.4 การคาดการณผ ลการพัฒนา
7. ขอสรปุ
การเรียงเนือ้ หา เมอ่ื ทาํ โครงเรื่องเรียบรอ ยแลว ผูเ ขยี นจึงคนควา รวบรวมขอมูลจากแหลง
ตางๆ แลว บนั ทกึ ไว จากนนั้ นาํ มาเรยี บเรียงตามลําดับท่กี าํ หนดไวใ นโครงเรอ่ื ง โดยใชถ อยคําสํานวนของ
ตวั เองใหมากที่สดุ ถาคดั ลอกขอความจากเอกสารหรือหนงั สือเลมใดตอ งอา งถึงแหลง ท่ีมาดวย

การกรอกแบบพิมพแ ละใบสมัครงาน

แบบรายการ แบบพมิ พ แบบฟอรม หมายถึง เอกสารท่ีทําข้ึนโดยพิมพขอความไวบางสวน
และเวนทีว่ างไวบางสวนสาํ หรับใหผูท เี่ กยี่ วขอ งกรอกขอ ความลงไปในท่ีวางซึง่ เวน ไวน ัน้

ประโยชนของแบบรายการ มดี งั น้ี
1. ประโยชนส าํ หรับผกู รอก แบบรายการชวยใหผูกรอกไมตองเขียนขอความท่ียืดยาวตาง ๆ
ลงไปท้ังหมด จะเขียนแตเฉพาะรายละเอียดท่ีผจู ัดทาํ แบบรายการตองการเทา นัน้ ทําใหเ กิดความสะดวก
รวดเร็ว
2. ประโยชนสําหรับผูจัดทาํ แบบรายงานชวยใหสามารถเก็บขอมูลที่ตองการไดรวดเร็ว
เปนระเบยี บสะดวกทจ่ี ะนําขอมลู นน้ั กลับมาใชอีก รวมทั้งใชเ ปน หลักฐานเอกสารไดด ว ย

106 | ห น้ า

ความสาํ คัญของการกรอกแบบรายการ
การกรอกแบบรายการมีความสําคัญมากเพราะแบบรายการใชเปนหลักฐานเอกสารได
แบบรายการท่ีกรอกแลว มีผลผกู พนั ทางกฎหมาย ซึ่งผูกรอกจะตองรับผิดชอบแบบรายการบางอยาง
เชน สัญญาซอ้ื ขาย สัญญาค้ําประกัน ฯลฯ อาจมผี ลผกู พนั ตอ ทรัพยส ินเงนิ ทองจาํ นวนมาก
ขอควรระวังในกรณีท่ีแบบรายการตองลงลายมือช่ือ หามลงนามในแบบรายการท่ีเขียนหรือ
พิมพขอ ความไมครบถว น หรือขอ ความท่ียังไมเขา ใจชดั เจนเด็ดขาด ไมวาในเร่อื งใด ๆ

ห น้ า | 107

ตัวอยา งการกรอกแบบรายการ
1. การกรอกแบบรายการ สําหรบั สง ธนาณัติ

108 | ห น้ า

2. การกรอกแบบรายการหนงั สือมอบอํานาจ

ห น้ า | 109

3. การกรอกแบบหนงั สอื สญั ญาเชา ที่ดิน

110 | ห น้ า

ขอแนะนาํ ในการกรอกแบบรายการ ควรระมดั ระวงั ในเรื่องตอไปนี้
1. กรอกดวยความเขาใจ กอนจะกรอกตองอานขอความใหถ่ีถวน และควรสอบถาม ถามี

ขอความท่ยี ังไมเขาใจ
2. กรอกขอความที่เปนจริง ไมกรอกขอ ความที่เปน เทจ็ เพราะอาจมีผลเสยี หาย ตอตัวผูกรอก

ในภายหลัง
3. กรอกใหครบถวน ชองวางท่ีไมไดกรอกขอความตองขีดเสนใตใหเต็มชอง ไมเวนที่วางไว

เพราะอาจมผี มู ากรอกขอ ความเพ่มิ เตมิ ไดภ ายหลัง
4. กรอกขอความดวยตนเอง ไมควรใหผูอ่ืนกรอกแบบรายการแทน ยกเวนในกรณีท่ีจําเปน

อยางย่ิง เชน ไมอยูในสภาพท่ีจะเขียนหนังสือได ถาใหผูอ่ืนกรอกขอความในแบบรายการตองอาน
ขอความนั้นกอ นเพอื่ ความแนใ จวาถูกตอ ง

5. ตรวจทานทกุ คร้ัง เมื่อกรอกแบบรายการหรอื ลงนามในเอกสาร

ห น้ า | 111

กจิ กรรม บทท่ี 4 การเขยี น

1. ใหผเู รยี นเรียบเรียงขอ ความตอไปนี้ใหถ ูกตอ งมคี วามหมายทีส่ มบูรณ พรอมระบเุ หตุผล
1.1 การชําเราจาํ เปน ตองหาทีเ่ หมาะ ๆ ใตตนไมย่งิ ดี
1.2 ฉนั ไปตลาดเพ่อื ซื้อปลาหางมาทาํ แกงสม
1.3 เพือ่ นจะไปเที่ยวจงั หวัดจนั ทบรุ ี

2. ใหผูเรียนเขียนแผนภาพความคิด เรื่อง การเขียน จากเน้ือหาวิชาภาษาไทย ระดับ
มธั ยมศึกษาตอนตน พรอ มทัง้ ระบุวา เปนแผนภาพความคิดรปู แบบใด

3. ใหผ ูเรียนเขียนเรียงความเรอื่ งท่ตี นเองสนใจ จาํ นวน 1 เรือ่ ง โดยใชห ลักการเขียนเรยี งความดวย
4. ใหผเู รยี นเขยี นจดหมายถึงครู กศน. ที่สอนภาษาไทยเพ่ือขอลาปวยเน่ืองจากเปนไขหวัดใหญ
ไมสามารถไปพบกลุมตามวัน เวลา และสถานที่ได พรอมใสซองติดแสตมปสงทางไปรษณีย เพื่อให
ครู กศน. ใหค ะแนนเก็บระหวา งภาคเรียนดวย
5. จงบอกคําขวญั ประจาํ จงั หวดั ของทาน
....................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
6. ใหผเู รียนรวบรวมคําขวญั ท่ีไดพ บ พรอ มจดบนั ทกึ ไวอ ยา งนอย 10 คาํ ขวญั
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
7. จงเขียนคําขวัญชักชวนคนในชุมชนของทานใหชวยกันรักษาความสะอาดของแหลงน้ํา
หรือสถานที่สาธารณะอยา งใด อยางหนงึ่
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................

112 | ห น้ า

เฉลยกิจกรรม บทที่ 4 การเขียน

1. ใหผ เู รยี นเรยี บเรียงขอความตอ ไปนใี้ หถ กู ตอ งมคี วามหมายท่ีสมบูรณ พรอ มระบเุ หตุผล
1.1 การชํา เราจําเปน ตอ งหาทเ่ี หมาะๆ ใตต นไมย งิ่ ดี เพราะตองเวน วรรคคาํ วา การชาํ
1.2 ฉนั ไปตลาดเพือ่ ซ้ือปลาหางมาทําแกงสม เพราะคําวาปลาหางเปน คาํ ราชาศพั ท
1.3 เพอื่ นจะไปเท่ียวจงั หวัดจนั ทบรุ ี เพราะคาํ วา จนั ทรบ รุ เี ขยี นผิด

2. ใหผูเรียนเขียนแผนภาพความคดิ เร่ือง การเขียน จากเนื้อหาวิชาภาษาไทยระดบั มธั ยมศกึ ษา
ตอนตน พรอมทงั้ ระบวุ า เปน แผนภาพความคิดรูปแบบใด

ห น้ า | 113

บทที่ 5 หลักการใชภาษา

สาระสําคญั

การใชท ักษะทางภาษาในการแสวงหาความรู การระดมความคดิ การประชุม การวเิ คราะห
การประเมิน การเขาใจระดับของภาษา สามารถใชพ ูดและเขยี นไดดี ทาํ ใหเกดิ ประโยชนทั้งตอสว นตน
และสว นรวม ท้ังยังเปนการอนรุ ักษขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมไทย

ผลการเรยี นรทู ีค่ าดหวงั ผูเรยี นสามารถ

1. อธิบายความแตกตา งของคํา พยางค วลี ประโยค ไดถ กู ตอง
2. ใชเ ครอื่ งหมายวรรคตอน อกั ษรยอ คําราชาศพั ทไดถูกตอง
3. อธิบายความแตกตางระหวางภาษาพูด และภาษาเขียนได
4. อธิบายความแตกตาง ความหมายของสาํ นวน สุภาษติ คาํ พังเพย และนําไปใชใชีวติ ประจาํ วนั
ไดถกู ตอง

ขอบขายเนอ้ื หา

เรื่องที่ 1 การใชค ําและการสรา งคําในภาษาไทย
เรือ่ งท่ี 2 การใชเ ครื่องหมายวรรคตอน และอักษรยอ
เรอ่ื งที่ 3 ชนิดและหนาทข่ี องประโยค
เรื่องที่ 4 หลกั ในการสะกดคํา
เรอื่ งที่ 5 คาํ ราชาศัพท
เรื่องที่ 6 การใชส ํานวน สุภาษิต คําพังเพย
เรอื่ งท่ี 7 หลักการแตง คําประพนั ธป ระเภทตาง ๆ
เรอ่ื งที่ 8 การใชภ าษาท่ีเปนทางการและไมเปน ทางการ

114 | ห น้ า

เร่อื งที่ 1 การใชคําและการสรางคําในภาษาไทย

การใชคาํ

การสอ่ื สารดว ยการพูดและเขยี นจะมีประสิทธิภาพหรือสื่อสารไดดีนั้นตองใชคําใหถูกตอง โดย
ใชคําท่ีมีความหมายชัดเจน ใชคําใหถูกกับกาลเทศะและบุคคล การใชเคร่ืองหมายการเวนวรรคตอน
การสะกดการนั ตต องถกู ตอง ซ่ึงการใชคาํ ใหถูกตอ งมีหลกั การดงั นน้ั

1. ใชค ําใหถ ูกตองเหมาะสมกบั ประโยคและขอ ความ การใชค ําบางคําในประโยคหรือขอ ความ
บางครง้ั มักใช คําผดิ เชน คําวา มว่ั สมุ กบั หมกมนุ บางคนจะใชวา “นักเรียนมักมวั่ สุมกับตาํ ราเรยี น
เม่ือใกลสอบ” ซึ่งไมถูกตองควรใชคําวา หมกมุน แทนคําวา มั่วสุม มักจะใชคาํ วา รโหฐาน
ในความหมายวา ใหญโต ซ่ึงความหมายของคาํ น้ี หมายถึง ท่ีลับ ควรใชคําวา มโหฬาร แทน

2. ควรใชใหถูกตองตามหลักภาษา เชน มักจะใชหมายกาํ หนดการแทนคํา กําหนดการ
ในงานปกติทวั่ ไปซึ่งคาํ วา หมายกาํ หนดการ จะใชก ับงานพระราชพธิ ี กําหนดการ จะใชก บั งานทั่วไป
เปน ตน

3. ควรแบงวรรคตอนของคําไทยใหถูกตอง เพราะหากแบงวรรคตอนผิดก็จะทําให
ความหมายผิดไปได เชน คนกิน กลวย แขกรอนจนตาเหลือก ควรเขียน กลวยแขก ใหติดกัน
ยานี้กินแลวแข็ง แรงไมมี โรคภัยเบียดเบยี น ควรเขยี น แข็งแรงใหตดิ กัน

4. ใชลักษณะนามใหถูกตอง ลักษณะนามเปนลักษณะพิเศษของภาษาไทย ควรใชใหถูกตอง
โดยเฉพาะลักษณะนามบางคําท่ีไมมีโอกาสใชบอยอาจจะจําไมได เชน “ชาง” ซ่ึงลักษณะนามชาง
เปนเชือก ตวั อยาง ชาง 2 เชือก มกั จะใชผดิ เปน ชา ง 2 ตัว หรือชาง 2 ชา ง เปน ตน

5. ใชคําใหตรงความหมาย คําไทย คําหน่ึงมีความหมายไดหลายอยาง บางคํามีความหมาย
โดยตรงบางคํามคี วามหมายแฝง บางคาํ มคี วามหมายโดยนยั และบางคาํ มีความหมายใกลเคียงจึงตอง
เลอื กใชใ หต รงความหมาย

5.1 คําทีม่ คี วามหมายไดห ลายอยาง เชน “ขนั ” ถา เปน คํานาม หมายถงึ ภาชนะใชตักนํ้า
เชน ขนั ใบน้ดี แี ท “ขนั ” ถาเปนคํากริยากจ็ ะหมายถงึ ทําใหตึง เสียงรองของไกและนก เชน นกเขาขัน
เพราะจรงิ ๆ “ขัน” ถา เปนคาํ วิเศษณ หมายถึง นาหวั เราะ เชน เธอดูนา ขนั จริง ๆ เปน ตน

5.2 ความหมายใกลเคียง การใชคําชนิดนี้ตองระมัดระวังใหดี เชน มืด มัว ย้ิม แยม
เล็ก นอย ใหญ โต ซอม แซม ขบ กัด เปนตน

ตวั อยาง มดื หมายถงึ ไมส วาง มองไมเหน็ เชน หองน้ีมืดมาก
มัว หมายถึง คลมุ มึน หลง เพลิน
เชน ลูก ๆ มวั แตรอ งราํ ทาํ เพลง
มืดมัว เชน วนั นอี้ ากาศมดื มวั จริง ๆ

ห น้ า | 115

6. การใชคําที่มีความหมายแฝงหรือความหมายโดยนัยเราตองศึกษาที่มาของคาํ และ
ดูสภาพแวดลอม เราจะทราบความหมายแฝงหรอื ความหมายโดยนัยของคาํ นัน้

ตัวอยาง แม หมายถึง หญิงที่ใหกําเนิดแกลูกเปนความหมายหลัก แตคําตอไปนี้ไมมี
ความหมายหลัก เชน แมน ้ํา แมค รัว แมเ หล็ก แมม ด แมเลา แมส่ือ ฯลฯ

เสือ หมายถึง สัตวชนิดหนงึ่ อยูในปากินเน้ือสัตวเปนอาหารมีนิสัยดุราย แตคําวา “เสือ”
ตอไปนไ้ี มไดมีความหมายตามความหมายหลกั เชน เสอื ผหู ญงิ เสอื กระดาษ เปนตน

7. ใชค ําทีม่ ีตวั สะกดการันต ใหถูกตองในการเขียนเพราะคําที่ออกเสียงเหมือนกัน แตเขียน
สะกดการันตตางกันยอมมีความหมายตางกัน เชน สัน สันต สรร สรรค สันทน ท้ังหาคํานี้เขียน
ตางกัน ออกเสียงเหมอื นกันแตค วามหมายไมเหมือนกัน คําวา สันต หมายถึง สงบ สรร หมายถึง
เลือกสรร สรรค หมายถึง สรา ง เปนตน จึงตองระมดั ระวงั ในการเขียนคาํ ใหถ กู ตองตามสะกดการนั ต
และตรงความหมายของคําน้นั ๆ

การเขียนคาํ การเลือกใชคํายงั มขี อควรระวงั อกี หลายลักษณะขอใหผูเรียนศึกษาและสังเกตใหดี
เพอ่ื จะไดใชภ าษาในการสอื่ สารไดอยางมีประสทิ ธิภาพ

การสรา งคํา

คําท่ีใชใ นภาษาไทยดง้ั เดมิ สว นมากจะเปน คาํ พยางคเ ดยี ว เชน พ่ี นอง เดือนดาว จอบ ไถ
หมู หมา กนิ นอน ดี ชั่ว สอง สาม เปน ตน เมอื่ โลกววิ ฒั นาการ มีส่ิงแปลกใหมเพม่ิ ขนึ้ ภาษาไทย
ก็จะตอ งพฒั นาท้งั รปู คําและการเพิ่มจํานวนคํา เพอื่ ใหมคี าํ ในการสอื่ สารใหเ พยี งพอกับการเปล่ียนแปลง
ของวัตถุส่ิงของและเหตุการณตาง ๆ ดวยการสรางคาํ ยืมคาํ และเปล่ียนแปลงรูปรางคาํ ซึ่งจะมี
รายละเอยี ด ดงั นี้

แบบสรางคาํ

แบบสรางคําคือวิธีการนําอักษรมาประสมเปนคําเกิดความหมายและเสียงของแตละพยางค
ใน 1 คาํ จะตองมีสว นประกอบ 3 สวน เปน อยางนอย คอื สระ พยัญชนะ และวรรณยุกต อยางมาก
ไมเ กนิ 5 สวน คอื สระ พยัญชนะ วรรณยุกต ตัวสะกด ตัวการันต

116 | ห น้ า

รูปแบบของคาํ

คําไทยท่ใี ชอ ยปู จ จุบนั มีทัง้ คําท่เี ปน คําไทยด้ังเดมิ คาํ ที่มาจากภาษาตางประเทศ คาํ ศพั ทเ ฉพาะ
ทางวชิ าการ คําท่ีใชเฉพาะในการพดู คําชนดิ ตางๆ เหลานี้มีชื่อเรียกตามลักษณะและแบบสรางของคํา
เชน คาํ มลู คําประสม คาํ สมาส คาํ สนธิ คาํ พองเสียง คําพองรูป คําเหลานี้มีลักษณะพิเศษเฉพาะ
ผเู รยี นจะเขาใจลักษณะแตกตางของคาํ เหลา น้ไี ดจากแบบสรา งของคํา

ความหมายและแบบสรางของคําชนิดตา ง ๆ

คาํ มูล

คาํ มูล เปน คําเดยี วที่มไิ ดป ระสมกับคําอนื่ อาจมี 1 พยางค หรือหลายพยางคก็ได แตเ ม่อื แยก

พยางคแลว แตละพยางคไ มมีความหมายหรอื มคี วามหมายเปนอยางอื่นไมเหมือนเดิม คําภาษาไทยที่ใช

มาแตเ ดมิ สว นใหญเปนคํามลู ท่ีมีพยางคเดยี วโดด ๆ เชน พอ แม กิน เดิน เปน ตน

ตัวอยา งแบบสรา งของคาํ มูล

คน มี 1 พยางค คือ คน

สงิ โต มี 2 พยางค คือ สิง – โต

นาฬกิ า มี 3 พยางค คอื นา –ฬิ – กา

ทะมดั ทะแมง มี 4 พยางค คือ ทะ – มดั – ทะ –แมง

กระเห้ียนกระหือรือ มี 5 พยางค คอื กระ – เหย้ี น – กระ – หอื – รือ

จากตัวอยางแบบสรางของคํามูล จะเห็นวาเมื่อแยกพยางคจากคําแลว แตละพยางคไมมี

ความหมายในตัวหรืออาจมีความหมายไมครบทุกพยางค คําเหลาน้ีจะมีความหมายก็ตอเมื่อนําทุก

พยางคมารวมเปน คาํ ลกั ษณะเชนนี้ ถอื วา เปนคาํ เดยี วโดด ๆ

คําประสม

คําประสม คือ คําท่ีสรางขึ้นใหมโดยนําคํามูลตั้งแต 2 คําข้ึนไปมาประสมกัน เกิดเปนคํา
ใหมขนึ้ อกี คาํ หน่งึ

1. เกดิ ความหมายใหม
2. ความหมายคงเดมิ
3. ความหมายใหก ระชบั ขึ้น
ตวั อยางแบบสรางคาํ ประสม
แมย าย เกดิ จากคํามลู 2 คาํ คอื แมกับยาย
ลูกน้ํา เกิดจากคํามลู 2 คํา คือ ลูกกบั นาํ้
ภาพยนตรจีน เกดิ จากคํามลู 2 คาํ คือ ภาพยนตรกับจีน

ห น้ า | 117

จากตัวอยา งแบบสรางคําประสม จะเหน็ วา เม่อื แยกคาํ ประสมออกจากกัน จะไดคํามูลซ่ึงแตละ

คํามคี วามหมายในตัวเอง

ชนิดของคาํ ประสม

การนําคํามาประสมกัน เพ่ือใหเกิดคําใหมข้ึนเรียกวา “คําประสม” น้ัน มีวิธีสรางคํา

ตามแบบสรางอยู 5 วธิ ีดว ยกนั คือ

1. คําประสมที่เกิดจากคํามูลท่ีมีรูป เสียง และความหมายตางกัน เมื่อประสมกันเกิดเปน

ความหมายใหม ไมตรงกบั ความหมายเดมิ เชน

แม หมายถึง หญิงทใี่ หก าํ เนดิ ลกู

ยาย หมายถึง แมข องแม

แมกับยาย ไดค าํ ใหม คอื แมย าย หมายถงึ แมข องเมยี

คําประสมชนดิ น้ีมีมากมาย เชน แมครัว ลกู เสือ พอ ตา มอื ลงิ ลกู นํา้ ลูกนอ ง ปากกา เปน ตน

2. คําประสมท่ีเกดิ จากคํามูลท่ีมีรูป เสียง และความหมายตางกัน เมื่อประสมกันแลวเกิด

ความหมายใหม แตย ังคงรกั ษาความหมายของคําเดมิ แตละคาํ เชน

หมอ หมายถึง ผูร ู ผชู ํานาญ ผรู ักษาโรค

ดู หมายถงึ ใชส ายตาเพือ่ ใหเ หน็

หมอกับดู ไดค ําใหม คอื หมอดู หมายถึง ผทู ํานายโชคชะตาราศี

คาํ ประสมชนดิ น้ี เชน หมอความ นักเรียน ชาวนา ของกนิ รอนใจ เปนตน

3. คําประสมที่เกิดจากคํามูลท่ีมีรูป เสียง ความหมายเหมือนกัน เมื่อประสมแลวเกิด

ความหมายตา งจากความหมายเดมิ เล็กนอย อาจมคี วามหมายทางเพ่ิมข้ึนหรือลดลงก็ได การเขียนคํา

ประสมแบบนจี้ ะใชไมย มกๆ เตมิ ขางหลัง เชน

เร็ว หมายถึง รีบ ดวน

เร็ว ๆ หมายถึง รบี ดว นยิ่งขน้ึ เปน ความหมายทีเ่ พมิ่ ข้ึน

ดํา หมายถึง สีดํา

ดํา ๆ หมายถงึ ดาํ ไมส นทิ เปน ความหมายในทางลดลง

คําประสมชนิดนี้ เชน ชา ๆ ซํ้า ๆ ดี ๆ นอ ย ๆ ไป ๆ มา ๆ เปน ตน

4. คาํ ประสมท่ีเกิดจากคํามูลท่ีมีรูปและเสียงตางกัน แตมีความหมายเหมือนกัน เมื่อนํามา

ประสมกนั แลว ความหมายไมเ ปล่ียนไปจากเดิม เชน

ยม้ิ หมายถึง แสดงใหป รากฏวาชอบใจ

แยม หมายถึง คล่ี เผยอปากแสดงความพอใจ

ยิม้ แยม ไดคําใหม คอื ย้มิ แยม หมายถึง ยิ้มอยางชื่นบาน คําประสมชนิดนี้มี

มากมาย เชน โกรธเคือง รวดเร็ว แจมใส เสือ่ สาด บานเรอื น วดั วาอาราม ถนนหนทาง เปน ตน

118 | ห น้ า

5. คาํ ประสมที่เกิดจากคาํ มลู ทม่ี ีรปู เสยี ง และความหมายตา งกนั เมื่อนํามาประสมจะตัดพยางค

หรอื ยน พยางคใ หส ัน้ เขา เชน คําวา ชันษา มาจากคําวา ชนมพรรษา

ชนม หมายถึง การเกิด

พรรษา หมายถึง ป

ชนม พรรษา ไดค าํ ใหม คอื ชนมพรรษา หมายถึง อายุ

คาํ ประสมประเภทนี้ ไดแก

เดยี งสา มาจาก เดียง ภาษา

สถาผล มาจาก สถาพร ผล

เปรมปรีดิ์ มาจาก เปรม ปรีดา

คาํ สมาส

คําสมาสเปนวธิ สี รา งคาํ ใหมใ นภาษาบาลแี ละสันสกฤต โดยนาํ คําตง้ั แต 2 คําขึ้นไปมาประกอบ

กันคลา ยคาํ ประสม แตค ําทน่ี าํ มาประกอบแบบคําสมาสน้นั นาํ มาประกอบหนาศัพท การแปลคําสมาส

จึงแปลจากขางหลังมาขา งหนา เชน

บรม ยง่ิ ใหญ ครู บรมครู ครูผยู ิง่ ใหญ

สุนทร ไพเราะ พจน คําพดู สนุ ทรพจน คาํ พดู ที่ไพเราะ

การนําคํามาสมาสกัน อาจเปนบาลีสมาสกับบาลี สันสกฤตสมาสกับสันสกฤต หรือบาลี

สมาสสนั สกฤตก็ได

ใ น บ า ง ค ร้ั ง คํ า ป ร ะ ส ม ที่ เ กิ ด จ า ก คํ า ไ ท ย ป ร ะ ส ม กั น กั บ คํ า บ า ลี ห รื อ สั น ส ก ฤ ต บ า ง คํ า

มีลักษณะคลายคําสมาสเพราะแปลจากขางหลังมาขางหนา เชน ราชวัง แปลวา วังของพระราชา

อาจจัดวา เปน คําสมาสไดส ว นคาํ ประสมทม่ี คี วามหมายจากขา งหนาไปขางหลัง และมไิ ดใ หค วามผดิ แผก

แมค าํ นนั้ ประสมกับคําบาลหี รือสนั สกฤตกถ็ ือวา เปนคาํ ประสม เชน มลู คา ทรพั ยส นิ เปนตน

การเรียงคาํ ตามแบบสรางของคาํ สมาส

1. ถาเปนคําที่มาจากบาลีและสันสกฤต ใหเรียงบทขยายไวขางหนา เชน
อทุ กภยั หมายถึง ภัยจากน้ํา
อายุขยั หมายถงึ สิน้ อายุ

2. ถาพยางคท า ยของคาํ หนาประวสิ รรชนีย ใหตัดวสิ รรชนยี อ อก เชน
ธุระ สมาสกับ กจิ เปน ธุรกิจ
พละ สมาสกบั ศกึ ษา เปน พลศกึ ษา

3. ถาพยางคท า ยของคาํ หนา มีตวั การันตใ หตดั การันตอ อกเมอื่ เขาสมาส เชน
ทศั น สมาสกบั ศกึ ษา เปน ทศั นศกึ ษา
แพทย สมาสกับ สมาคม เปน แพทยสมาคม

ห น้ า | 119

4. ถา คาํ ซาํ้ ความ โดยคําหนึ่งไขความอกี คําหนึ่ง ไมม ีวธิ ีเรยี งคาํ ท่ีแนน อน เชน
นร คน สมาสกับ ชน คน เปน นรชน คน
วิถี ทาง สมาสกับ ทาง ทาง เปน วิถที าง ทาง
คช ชา ง สมาสกบั สาร ชา ง เปน คชสาร ชา ง

การอานคาํ สมาส

การอา นคําสมาสมีหลักอยวู า ถาพยางคทายของคาํ ลงทายดวย สระอะ อิ อุ เวลาเขาสมาส

ใหอานออกเสียง อะ อิ อุ นั้น เพียงคร่ึง เสียง เชน

เกษตร สมาสกบั ศาสตร เปน เกษตรศาสตร อานวา กะ เสด ตระ สาด

อุทก สมาสกบั ภยั เปน อทุ กภยั อานวา อุ ทก กะ ไพ

ประวัติ สมาสกบั ศาสตร เปน ประวัติศาสตร อานวา ประ หวัด ติ สาด

ภมู ิ สมาสกบั ภาค เปน ภูมิภาค อา นวา พู มิ พาก

เมรุ สมาสกับ มาศ เปน เมรมุ าศ อา นวา เม รุ มาด

ขอสังเกต

1. มีคาํ ไทยบางคํา ท่คี ําแรกมาจากภาษาบาลีสันสกฤต สวนคําหลังเปนคําไทย คําเหลานี้ได

แปลความหมายตามกฎเกณฑของคําสมาส แตอานเหมือนกับวาเปนคําสมาส ทั้งนี้ เปนการอานตาม

ความนยิ ม เชน

เทพเจา อานวา เทพ พะ เจา

พลเรอื น อานวา พล ละ เรอื น

กรมวงั อานวา กรม มะ วงั

2. โดยปกตกิ ารอา นคาํ ไทยทีม่ ีมากกวา 1 พยางค มักอานตรงตัว เชน

บากบนั่ อา นวา บาก บั่น

ลุกลน อานวา ลกุ ลน

มีแตคาํ ไทยบางคําทีเ่ ราอานออกเสียงตัวสะกดดวย ทง้ั ทเ่ี ปน คําไทยมใิ ชค าํ สมาส ซงึ่ ผเู รียน

จะตองสงั เกต เชน

ตุกตา อานวา ตกุ กะ ตา

จักจัน่ อานวา จัก กะ จ่นั

จ๊กั จ้ี อา นวา จ๊ัก กะ จี้

ชักเยอ อา นวา ชกั กะ เยอ

สปั หงก อา นวา สับ ปะ หงก

120 | ห น้ า

คําสนธิ

คําสนธิ คือ การเช่ือมเสียงใหกลมกลืนกันตามหลักไวยกรณบาลีสันสกฤต เปนการเช่ือม

อักษรใหตอเนื่องกันเพ่ือตัดอักษรใหนอยลง ทําใหคําพูดสละสลวย นําไปใชประโยชนในการแตง

คาํ ประพันธ

คําสนธิ เกิดจากการเช่ือมคําในภาษาบาลีและสันสกฤตเทานั้น ถาคําท่ีนํามาเชื่อมกัน

ไมใชภาษาบาลีสันสกฤต ไมถือวาเปนสนธิ เชน กระยาหาร มาจากคํา กระยา อาหาร ไมใชสนธิ

เพราะ กระยา เปนคาํ ไทยและถงึ แมว าคําท่ีนํามารวมกนั แตไมไ ดเ ชื่อมกัน เปนเพียงประสมคําเทานั้น

กไ็ มถ อื วา สนธิ เชน

ทชิ าชาติ มาจาก ทชิ า ชาติ

ทศั นาจร มาจาก ทศั นา จร

วทิ ยาศาสตร มาจาก วทิ ยา ศาสตร

แบบสรางของคําสนธิที่ใชใ นภาษาบาลแี ละสันสกฤต มีอยู 3 ประเภท คอื

1. สระสนธิ

2. พยัญชนะสนธิ

3. นิคหติ สนธิ

สําหรับการสนธิในภาษาไทย สวนมากจะใชแ บบสรา งของสระสนธิ

แบบสรา งของคาํ สนธิท่ใี ชในภาษาไทย

1. สระสนธิ
การสนธสิ ระทําได 3 วิธี คือ

1.1 ตดั สระพยางคทาย แลว ใชส ระพยางคหนาของคําหลังแทน เชน
มหา สนธิกบั อรรณพ เปน มหรรณพ
นร สนธิกบั อินทร เปน นรนิ ทร
ปรมะ สนธกิ บั อินทร เปน ปรมนิ ทร
รตั นะ สนธกิ ับ อาภรณ เปน รัตนาภรณ
วชิร สนธกิ ับ อาวธุ เปน วชิราวุธ
ฤทธิ สนธกิ ับ อานภุ าพ เปน ฤทธานภุ าพ
มกร สนธกิ ับ อาคม เปน มกราคม

1.2 ตัดสระพยางคทายของคําหนา แลวใชสระพยางคหนาของคําหลัง แตเปล่ียนรูป
อะ เปน อา อิ เปน เอ อุ เปน อู หรอื โอ ตวั อยา งเชน

ห น้ า | 121

เปลี่ยนรูป อะ เปนอา
เทศ สนธกิ บั อภิบาล เปน เทศาภบิ าล
ราช สนธกิ บั อธริ าช เปน ราชาธริ าช
ประชา สนธิกับ อธปิ ไตย เปน ประชาธิปไตย
จฬุ า สนธิกบั อลงกรณ เปน จฬุ าลงกรณ
เปลี่ยนรูป อิ เปน เอ
นร สนธกิ บั อศิ วร เปน นเรศวร
ปรม สนธิกับ อินทร เปน ปรเมนทร
คช สนธิกบั อนิ ทร เปน คเชนทร
เปลย่ี นรูป อุ เปน อู หรอื โอ
ราช สนธิกับ อปุ ถัมภ เปน ราชูปถมั ภ
สาธารณะ สนธกิ บั อปุ โภค เปน สาธารณปู โภค
วเิ ทศ สนธกิ ับ อบุ าย เปน วเิ ทโศบาย
สขุ สนธกิ ับ อุทัย เปน สโุ ขทัย
นัย สนธิกบั อุบาย เปน นโยบาย
1.3 เปลย่ี นสระพยางคท า ยของคาํ หนา อิ อี เปน ย อุ อู เปน ว แลวใชสระ พยางค
หนา ของคําหลังแทน เชน
เปล่ยี น อิ อี เปน ย
มติ สนธิกบั อธิบาย เปน มตั ยาธบิ าย
รังสี สนธิกบั โอภาส เปน รงั สโยภาส รงั สโี ยภาส
สามัคคี สนธิกบั อาจารย เปน สามัคยาจารย
เปล่ียน อุ อู เปน ว
สินธุ สนธกิ ับ อานนท เปน สนิ ธวานนท
ธนู สนธกิ ับ อาคม เปน ธันวาคม
2. พยญั ชนะสนธิ
พยัญชนะสนธิในภาษาไทยมีนอย คือ เมื่อนําคํา 2 คํามาสนธิกัน ถาหากวาพยัญชนะ
ตวั สุดทา ยของคาํ หนากับพยญั ชนะตัวหนา ของคาํ หลังเหมือนกัน ใหตัดพยัญชนะที่เหมือนกันออกเสียง
ตัวหนง่ึ เชน
เทพ สนธิกบั พนม เปน เทพนม
นวิ าส สนธกิ ับ สถาน เปน นวิ าสถาน

122 | ห น้ า

3. นิคหติ สนธิ
นิคหิตสนธิในภาษาไทย ใชวิธีเดียวกับวิธีสนธิในภาษาบาลีและสันสกฤต คือ ใหสังเกต

พยัญชนะตัวแรกของคําหลังวา อยใู นวรรคใด แลวแปลงนคิ หติ เปนพยญั ชนะตัวสุดทายของวรรคน้นั เชน
สํ สนธกิ บั กรานต เปน สงกรานต
ก เปน พยัญชนะวรรค กะ พยัญชนะตัวสดุ ทายของวรรค กะ คือ ง
สํ สนธกิ ับ คม เปน สังคม
ค เปน พยัญชนะวรรค กะ พยัญชนะตัวสดุ ทา ยของวรรค กะ คอื ง
สํ สนธกิ ับ ฐาน เปน สัณฐาน
ฐ เปน พยญั ชนะวรรค กะ พยญั ชนะตวั สดุ ทายของวรรค กะ คอื ณ
สํ สนธิกบั ปทาน เปน สัมปทาน
ป เปนพยญั ชนะวรรค กะ พยัญชนะตวั สดุ ทายของวรรค กะ คือ ม

ถาพยัญชนะตวั แรกของคําหลังเปนเศษวรรค ใหคงนิคหิตตามรูปเดิม อานออกเสียง อัง หรือ
อัน เชน

สํ สนธกิ ับ วร เปน สังวร
สํ สนธิกบั หรณ เปน สังหรณ
สํ สนธิกับ โยค เปน สงั โยค
ถา สํ สนธิกับคําทข่ี น้ึ ตนดว ยสระ จะเปลย่ี นนิคหิตเปน ม เสมอ เชน
สํ สนธกิ ับ อทิ ธิ เปน สมทิ ธิ
สํ สนธิกับ อาคม เปน สมาคม
สํ สนธกิ บั อาส เปน สมาส
สํ สนธิกับ อทุ ัย เปน สมุทัย

คําแผลง

คําแผลง คือ คาํ ทีส่ รางขึน้ ใชใ นภาษาไทยอกี วธิ ีหนึง่ โดยเปลยี่ นแปลงอกั ษรทปี่ ระสมอยใู น
คาํ ไทยหรือคําที่มาจากภาษาอื่นใหผิดไปจากเดิม ดวยวิธีตัด เติม หรือเปลี่ยนรูป แตยังคงรักษา
ความหมายเดมิ หรอื เคาความเดมิ

แบบสรา งของการแผลงคํา
การแผลงคําทําได 3 วิธี คือ
1. การแผลงสระ
2. การแผลงพยัญชนะ
3. การแผลงวรรณยุกต

ห น้ า | 123

1. การแผลงสระ เปนการเปลี่ยนรูปสระของคาํ นั้น ๆ ใหเปนสระรปู อ่ืน ๆ
ตวั อยา ง

คาํ เดิม คาํ แผลง คําเดิม คําแผลง

ชยะ ชัย สายดอื สะดอื
โอชะ โอชา สรุ ิยะ สรุ ยี 
วชริ ะ วเิ ชียร ดิรจั ฉาน เดรัจฉาน
พัชร เพชร พจิ ิตร ไพจิตร
คะนงึ คํานึง พชี พชื
ครหะ เคราะห กรี ติ เกียรติ
ชวนะ เชาวน สคุ นธ สวุ คนธ
สรเสริญ สรรเสริญ ยุวชน เยาวชน
ทรู เลข โทรเลข สภุ า สวุ ภา

2. การแผลงพยัญชนะ
การแผลงพยัญชนะก็เชนเดียวกับการแผลงสระ คือ ไมมีกฎเกณฑตายตัวเกิดขึ้นจาก

ความเจริญของภาษา การแผลงพยญั ชนะเปนการเปลย่ี นรปู พยัญชนะตัวหนึง่ ใหเ ปน อีกตัวหนึง่ หรอื เพิ่ม
พยญั ชนะลงไปใหเสียงผิดจากเดิม หรือมีพยางคม ากกวา เดมิ หรอื ตัดรูปพยัญชนะ การศึกษาท่ีมาของ
ถอยคําเหลานจี้ ะชวยใหเขาใจความหมายของคําไดถกู ตอง

ตวั อยาง

คําเดิม คําแผลง คาํ เดมิ คําแผลง

กราบ กําราบ บวช ผนวช

เกิด กําเนิด ผทม ประทม บรรเทา

ขจาย กาํ จาย เรียบ ระเบียบ

แขง็ กําแหง คําแหง แสดง สาํ แดง

คูณ ควณ คํานวณ คํานูณ พรงั่ สะพร่งั

เจยี ร จาํ เนียร รวยรวย ระรวย

เจาะ จําเพาะ เฉพาะ เชญิ อญั เชิญ

เฉยี ง เฉลยี ง เฉวยี ง เพ็ญ บาํ เพญ็

ชว ย ชาํ รวย ดาล บนั ดาล

ตรยั ตาํ รบั อญั ชลี ชลี ชุลี

ถก ถลก อุบาสิกา สีกา

124 | ห น้ า

3. การแผลงวรรณยกุ ต
การแผลงวรรณยุกตเ ปน การเปลย่ี นแปลงรปู หรอื เปลี่ยนเสยี งวรรณยุกต เพอ่ื ใหเ สียงหรอื

รูปวรรณยกุ ตผดิ ไปจากเดมิ

ตวั อยาง

คําเดมิ คําแผลง คําเดมิ คําแผลง

เพียง เพยี้ ง พุทโธ พุทโธ

เสนหะ เสนห  บ บ

คําซอ น

คาํ ซอน คือ คําประสมชนิดหน่งึ ทเ่ี กดิ จากการนําเอาคาํ ตัง้ แตสองคําขนึ้ ไป ซ่ึงมีเสียงตางกันมี
ความหมายเหมือนกัน หรือคลายคลึงกัน หรือเปนไปในทํานองเดียวกันมาซอนคูกัน เชน เล็กนอย
ใหญโต เปนตน ปกติคําที่นํามาซอนกันนั้นนอกจากจะมีความหมายเหมือนกันหรือใกลเคียงกันแลว
มกั จะมเี สยี งใกลเคยี งกันดวยเพอื่ ใหอ อกเสียงงา ย สะดวกปาก คาํ ท่ีนํามาซอนแลวทําใหเกิดความหมาย
นั้นแบงเปน 2 ลกั ษณะ คอื

1. ซอนคาํ แลวมีความหมายคงเดิม คาํ ซอนลักษณะนี้จะนาํ คําที่มีความหมายเหมือนกันมา
ซอนกนั เพ่อื ขยายความซง่ึ กันและกัน เชน ขาทาส วา งเปลา โงเขลา เปน ตน

2. ซอ นคาํ แลวมคี วามหมายเปล่ียนแปลงไปจากเดมิ
2.1 ความหมายเชิงอุปมา คาํ ซอนลักษณะนี้จะเปนคําซอนท่ีคาํ เดิมมีความหมายเปน

รปู แบบเมอื่ นาํ มาซอ นกับความหมายของคําซอ นน้ันจะเปลีย่ นไปเปนนามธรรม เชน
ออนหวาน ออ นมีความหมายวา ไมแขง็ เชน ไมอ อน หวานมคี วามหมายวา รสหวาน

เชน ขนมหวาน
ออ นหวาน มคี วามหมายวาเรยี บรอ ย นารกั เชน เธอชา งออ นหวานเหลอื เกนิ

หมายถงึ กริยาอาการทีแ่ สดงออกถึงความเรยี บรอ ยนารัก
คําอนื่ ๆ เชน ค้ําจนุ เดด็ ขาด ยงุ ยาก เปน ตน

2.2 ความหมายกวางออก คําซอนบางคํามีความหมายกวางออกไมจํากัดเฉพาะ
ความหมายเดิมของคาํ สองคาํ ทีม่ าซอ นกัน เชน เจบ็ ไข หมายถึง อาการเจบ็ ของโรคตาง ๆ และคํา
พี่นอ ง ถวยชาม ทบุ ตี ฆา ฟน เปน ตน

ห น้ า | 125

2.3 ความหมายแคบเขา คําซอ นบางคํามคี วามหมายเดนอยูค าํ ใดคําหน่งึ ซ่งึ อาจจะเปน คําหนา
หรือคําหลงั ก็ได

เชน ความหมายเดนอยขู างหนา
ใจดาํ หัวหู ปากคอ บาบอคอแตก
ความหมายเดน อยขู างหลงั
หยบิ ยืม เอร็ดอรอ ย น้ําพกั นา้ํ แรง วา นอนสอนงาย เปน ตน
ตัวอยางคาํ ซอ น 2 คํา เชน บา นเรือน สวยงาม ขาวของ เงินทอง มืดค่ํา อดทน
เกีย่ วขอ ง เย็นเจยี๊ บ ทรัพยสิน รูปภาพ ควบคมุ ปองกัน ลีล้ ับ ซับซอน เปน ตน
ตัวอยา งคาํ ซอนมากกวา 2 คาํ เชน
ยากดีมีจน เจบ็ ไขไ ดป ว ย ขา วยากหมากแพง
เวยี นวายตายเกิด ถกู อกถกู ใจ จบั ไมไดไ ลไมท ัน
ฉกชงิ วิ่งราว เปน ตน

126 | ห น้ า

เรือ่ งที่ 2 การใชเครอื่ งหมายวรรคตอนและอักษรยอ

การใชเ ครอื่ งหมายวรรคตอน

ภาษาไทยมีวิธีการเขียนคําติดตอกันไป เมื่อจบขอความแลวจึงเวนวรรค ดังนั้น ในการเขียน
หนังสอื จึงตอ งมกี ารแบง วรรคตอนและใชเ คร่ืองหมายวรรคตอนประกอบการเขียนใหถูกตอ ง เพือ่ ชวยให
เขา ใจความหมายไดอยา งชัดเจนไมผิดเพีย้ นไปจากวัตถุประสงค

เครือ่ งหมายวรรคตอนทค่ี วรทราบมีดงั น้ัน

ลาํ ดบั ท่ี เครอื่ งหมาย ชอ่ื วิธใี ช

1. , จุลภาค เปน เครอ่ื งหมายทน่ี ํามาใชต ามแบบภาษาองั กฤษ
แตต ามปกตภิ าษาไทยใชเวน วรรคแทนเครื่องหมาย
2. ? ปรัศนี หรอื จลุ ภาคอยแู ลว จงึ ไมจ ําเปน ตองใชเ ครือ่ งหมาย
เครอ่ื งหมาย จลุ ภาคอีก
คําถาม ตัวอยาง
เขาชอบรบั ประทานผกั กาด ผกั คะนา ตนหอม
กะหล่ําปลี
ถาเปนประโยคภาษาอังกฤษจะใชเ คร่อื งหมาย
ดังน้ี
เขาชอบรบั ประทานผกั กาด, ผักคะนา, ตน หอม,
กะหลํา่ ปลี

ใชเ ขียนไวหลงั คาํ หรอื ขอความทเี่ ปนคําถาม
ถา ไมใชถ ามโดยตรงไมตอ งใสเ ครอื่ งหมายปรศั นี
ตวั อยาง
ใคร? ใครครบั ? (คําถาม)
ฉันไมท ราบวา เขามาหาใคร (บอกเลา )
เธอชอบอา นหนงั สอื นวนยิ ายไหม? (คําถาม)
ฉนั ไมท ราบวาจะทําอยางไรใหเ ธอเชอ่ื ฉัน (บอกเลา)

ห น้ า | 127

ลาํ ดบั ที่ เครอ่ื งหมาย ช่อื วธิ ใี ช

3. ! อศั เจรยี  เปน เครือ่ งหมายแสดงความประหลาดใจ
มหศั จรรยใจใชเขียนหลงั คาํ อทุ าน หรือขอ ความ
4. (............) นขลิขิต หรือ ที่มีลกั ษณะคลายคําอทุ าน เพอ่ื ใหผ อู า นออกเสียง
เคร่ืองหมาย ไดถ กู ตอ งกับความเปน จริง และเหมาะสมกบั
วงเลบ็ เหตกุ ารณท ่เี กดิ ขึน้ เชน ดใี จ เสยี ใจ เศราใจ
แปลกใจ
ตัวอยา ง
“โอโ ฮ! เธอขับรถไปถงึ สงขลาคนเดยี วหรือ”
แปลกใจ
“อนจิ จา! ทาํ ไมเขาถงึ เคราะหร ายอยางนน้ั ”
สลดใจ

ใชเขยี นครอมความทเี่ ปนคําอธบิ าย ซงึ่ ไมควรมี
ในเนือ้ เรื่อง แตผูเ ขยี นตองการใหผ อู า นเขาใจหรอื
ทราบขอ ความนัน้ เปน พเิ ศษ เชน
ตัวอยา ง
สมยั โบราณ คนไทยจารกึ พระธรรมลงในกระดาษ
เพลา (กระดาษทีค่ นไทยทาํ ข้ึนใชเอง โดยมากทํา
จากเปลือกขอย บางครงั้ เรยี กวา กระดาษขอย)

128 | ห น้ า

ลําดบั ท่ี เครอื่ งหมาย ช่ือ วิธีใช

5. “…………..” อญั ประกาศ มวี ิธใี ชดงั น้ี
เนน คาํ หรอื ขอ ความใหผ อู านสังเกตเปน พเิ ศษ
ตัวอยาง
ผหู ญิงคนน้ัน “สวย” จนไมม ที ่ตี ิ เขาเปนคน
“กตญั ูรูคุณคน” อยา งนาสรรเสริญยงิ่
ใชสําหรบั ขอความทเ่ี ปน ความคดิ ของผเู ขยี นหรอื
ความคิดของบคุ คลอนื่
ตวั อยา ง
ฉันคิดวา “ฉันคงจะมีความสขุ ทีส่ ดุ ในโลก ถา มี
บานของตวั เองสกั หลังหนง่ึ ” เขาคิดวา “ไมมสี งิ่ ใด
ในโลกนี้ทจี่ รี งั ยง่ั ยนื ”
ขอ ความที่เปนคําสนทนา เชน
ดาํ “เมื่อคืนนฝ้ี นตกหนกั นํา้ ทวมเขามาถึงใน
บา น แนะ ทบ่ี า นของเธอนาํ้ ทว มไหม”
แดง “เหรอ ทีบ่ า นนาํ้ ไมทวมหรอก แลว กอ น
มาทํางานน้ําลดแลว หรอื ยังละ ”
4. ขอ ความที่ผเู ขยี นนํามาจากทอ่ี ื่น หรอื เปน
คําพดู ของผูอื่น
ตวั อยาง
ก. เขาทําอยางน้ีตรงกบั สุภาษติ วา “ขชี่ า งจับ
ต๊กั แตน”
ข. ผมเหน็ ดว ยกบั ปาฐกถาธรรมของพระราช
นันทมนุ ีทีว่ า “ความสุขมันเกิดจากเราคิดถูก
พดู ถูกทาํ ถกู ”

6. ๆ ไมย มก หรอื ยมก ใชเขยี นไวหลงั คํา หรือขอ ความเพ่ือใหอ านคํา
หรอื ความน้ันซา้ํ กนั สองครงั้ ยมก แปลวา คู
แตตองเปน คําหรอื ความชนดิ เดยี วกนั ถาเปนคํา
หรอื ความตา งชนดิ กนั จะใชไ มย มกไมไ ด ตองเขยี น
ตัวอักษรซ้ํากัน

ห น้ า | 129

ลาํ ดบั ท่ี เคร่อื งหมาย ชือ่ วิธีใช

7. _ สญั ประกาศ ตัวอยาง
เขาเคยมาทุกวนั วนั น้ีไมม า (ถูก)
8. ” บุพสญั ญา เขาเคยมาทกุ วนั ๆ นี้ไมม า (ผดิ )
เขาชอบพูดตา ง ๆ นานา (ถูก)
เขาชอบพดู ตาง ๆ นา (ผิด)

ใชข ีดเสน ใตข อ ความท่ีผูเขยี นตอ งการเนนใหเ หน็
ความสําคัญ
ตัวอยาง
โรคพิษสุนขั บา มีอันตรายมาก

ถาถูกสนุ ัขบา กัดตองรีบไปฉีดวัคซนี ทันที
เขาพดู วา เขาไมช อบ คนทีพ่ ูดมาก

ใชเ ปน เครอื่ งหมายแทนคํา หรอื กลุมคําซึง่ อยู
ขางบนเครื่องหมายน้ี การเขียนเคร่ืองหมายนีจ้ ะ
ชวยใหไ มต องเขียนคาํ ซํา้ ๆ กัน
ตวั อยาง
คาํ วา คน ถา เปนคํากรยิ า แปลวา กวนใหทว่ั
” ขอด ” ” ” ” ขมวดใหเ ปนปม
เครอื่ งหมาย บพุ สญั ญาน้มี กั จะมีผเู ขยี นผิดเปน “
ตวั อยา ง
สมุด 8 โหล ราคาโหลละ 40 บาท
ดินสอ 8 ” “ ” 12 บาท (ผิด)

130 | ห น้ า

ลําดบั ที่ เคร่อื งหมาย ชอ่ื วิธีใช

9. _ ยติภังค ใชเขียนระหวา งคําทเ่ี ขยี นแยกพยางคกัน เพือ่ เปน
หรอื เครอ่ื งหมายใหร วู า พยางคหนา กบั พยางคห ลงั นนั้
เคร่อื งหมาย ตดิ กัน หรือเปน คาํ เดียวกัน คําทีเ่ ขยี นแยกน้ันจะ
ขดี เสน อยูในบรรทัดเดยี วกัน หรือตางบรรทัดกันก็ได
ตัวอยา ง
10. ฯ ไปยาลนอ ย สับดาห อานวา สัป-ดา
สพยอก อานวา สับ - พะ - ยอก
ในการเขียนเรอื่ ง หรอื ขอความ ตวั อยา ง เชน คาํ วา
พระราชกฤษฎกี า เม่ือเขียนไดเพยี ง พระราชกฤษ
กห็ มดบรรทดั ตองเขยี นคําวา ฎกี า ตอในบรรทัด
ตอ ไปถาเปนเชนน้ี ใหเขยี นเคร่ืองหมายยตภิ ังค
ดังน้ี
พระราชกฤษ - แลวเขียนตอบรรทัดใหมวา ฎีกา
และในการอาน ตองอานติดตอกนั เปน คําเดยี วกัน
วา พระราชกฤษฎกี า

ใชเ ขียนหลงั คาํ ซ่งึ เปนทร่ี กู ันโดยท่ัวไป ละขอความ
สว นหลงั ไว ผอู า นจะตองอานขอ ความในสว นท่ี
ละไวใหครบบรบิ รู ณ ถา จะใหอ า นเพยี งทเี่ ขยี นไว
เชน กรุงเทพ ก็ไมต องใสเครอ่ื งหมายไปยาล
นอยลงไป
ตัวอยา ง
กรงุ เทพ ฯ อา นวา กรุงเทพมหานคร
โปรดเกลา ฯ อานวา โปรดเกลา โปรด
กระหมอ ม

ห น้ า | 131

ลําดับท่ี เครือ่ งหมาย ชื่อ วิธีใช

11. ฯลฯ ไปยาลใหญ วธิ ีใชมดี ังนี้
ใชเขียนไวหลังขอ ความทจี่ ะตอ ไปอีกมาก
แตน ํามาเขียนไวพอเปน ตัวอยา ง ใหอ าน
เครอ่ื งหมาย ฯลฯ วา “ ละ”
ตัวอยา ง

เขาปลกู ผกั กาด ผกั คะนา ผกั บงุ ฯลฯ อานวา
เขาปลกู ผกั กาด ผักคะนา ผกั บงุ ละ
ใชเ ขยี นไวระหวา งกลางขอ ความ ซึ่งถาเขียนจน
จบจะยาวเกนิ ไป จึงนาํ มาเขียนไว เฉพาะตอนตน
กบั ตอนสดุ ทา ยเทานัน้ สว นขอความท่เี วน ไวใส
เครอ่ื งหมาย ฯลฯ ใหอ า นเคร่ืองหมาย ฯลฯ วา
“ละถึง ”
ตวั อยา ง
อติ ปิ โ ส ฯลฯ ภควาติ.
อานวา อิตปิ โ ส ละถงึ ภควาติ.

12. ............... ไปยาลใหญ สําหรบั เครื่องหมาย ฯลฯ นนั้ ปจจบุ นั นิยมใช
หรอื เครอ่ื งหมาย.............แทน
จดุ ไขปลา
ตวั อยาง
อิตปิ โส ฯลฯ ภควาติ นยิ มเขียนวา
อิตปิ โ ส ......... ภควาติ
อานวา อิตปิ โส ละถงึ ภควาติ

13. • มหัพภาค มที ่ีใชดังนี้

เขยี นไวหลงั อกั ษร เชน

พ.ศ. ยอมาจาก พทุ ธศกั ราช

พ.ร.บ. ” พระราชบัญญตั ิ

เม.ย. ” เมษายน

เขียนไวห ลงั คาํ ยอ เชน

กรกฎ. ยอมาจาก กรกฎาคม

เมษ. ยอมาจาก เมษายน

เขียนไวหลงั ตัวเลข หรอื อักษรท่บี อกจาํ นวนขอ

132 | ห น้ า

ลาํ ดับที่ เคร่อื งหมาย ชื่อ วิธีใช

14. มหตั สญั ญา ตัวอยา ง
ก. เราจะไมป ระพฤตผิ ิดระเบยี บของโรงเรียน
ข. การนอนหลบั ถอื วา เปน การพักผอ น

เขยี นไวขา งหลงั เม่อื จบประโยคแลว เชน
ฉันชอบเรียนวชิ าภาษาไทยมากกวาวชิ าอนื่ ๆ

เปนการยอ หนา ขนึ้ บรรทดั ใหม ไมมีรปู รา ง
และเครอ่ื งหมาย
วธิ ีใช
เมอื่ เปนชื่อเร่ือง หรอื หัวขอ เขียนไวกลางบรรทดั
ถาเปนหวั ขอ ยอ ย ก็ยอ หนาขน้ึ บรรทดั ใหม
ขอความสาํ คญั ๆ ทจ่ี ดั ไว เปนตอน ๆ ควรยอ หนา
ขน้ึ บรรทัดใหม เพ่อื ใหข อ ความเดนชัดและ
เขา ใจงา ย

อักษรยอ

อักษรยอ คอื อักษรทใี่ ชแ ทนคาํ หรอื ขอความเพอื่ ความสะดวกรวดเร็วในการส่ือสาร ลักษณะ
ของอกั ษรยออาจจะเปน อักษรตวั เดยี ว อักษรสองตัว หรือมากกวานั้น แลวมีจุดหน่ึงจุด (มหัพภาค)
ขา งหลัง หรอื จุดระหวางตวั อักษรแลวแตก ารกาํ หนด

หลักเกณฑก ารเขยี นและการอา นอกั ษรยอ

1. การเขียนอกั ษรยอของคาํ ตา ง ๆ

มวี ิธีการและหลกั การซง่ึ ราชบัณฑติ ยสถาน โดย “คณะกรรมการกาํ หนดหลกั เกณฑ

เกย่ี วกบั การใชภ าษาไทย” ไดก ําหนดไว ดงั นี้

1.1 ใชพยัญชนะตนของพยางคแ รกของคําเปนตวั ยอ

ถาเปนคําคาํ เดียวใหใ ชยอตัวเดียว แมว าคําน้ันจะมหี ลายพยางคก็ตาม

ตัวอยาง

วา ว.

จงั หวดั จ.

3.00 นาฬิกา 3.00 น.

ศาสตราจารย ศ.

ห น้ า | 133

ถาใชต ัวยอ เพยี งตัวเดียวแลวทําใหเกิดความสับสนอาจใชพยัญชนะตนของคําถัดไปเปนตัวยอ

ดว ยก็ได

ตัวอยา ง

ตํารวจ ตร.

อัยการ อก.

1.2 ถา เปน คาํ สมาสใหถอื เปน คําเดยี ว และใชพยัญชนะตนของพยางคแรกเพยี งตัวเดยี ว

ตัวอยา ง

มหาวิทยาลยั ม.

วิทยาลัย ว.

1.3 ถาเปนคาํ ประสม ใชพยัญชนะตนของแตล ะคํา

ตัวอยา ง

ช่วั โมง ชม.

โรงเรยี น รร.

1.4 ถาคําประสมประกอบดว ยคําหลายคํา มีความยาวมาก อาจเลือกเฉพาะพยญั ชนะตน

ของคําทเี่ ปน ใจความสําคญั ท้ังนี้ ไมควรเกิน 4 ตัว

ตัวอยา ง

คณะกรรมการประสานงานโครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดําริ กปร.

สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน สพฐ.

1.5 ถาใชพ ยัญชนะของแตล ะคําแลว ทาํ ใหเกดิ ความสบั สน ใหใ ชพยญั ชนะตน ของพยางค

ถัดไปแทน

ตัวอยา ง

พระราชกําหนด พ.ร.ก.

พระราชกฤษฎกี า พ.ร.ฎ.

1.6 ถา พยางคท่ีจะนําพยญั ชนะตนมาใชเปน ตัวยอ มี ห เปนอักษรนํา เชน หญ หล ใหใ ช

พยญั ชนะตน นนั้ เปน ตวั ยอ

ตวั อยา ง

สารวัตรใหญ สวญ.

ทางหลวง ทล.

1.7 คําที่พยญั ชนะตนเปนอกั ษรควบกล้ําหรอื อกั ษรนํา ใหใชอักษรตวั หนาตวั เดยี ว

ตวั อยา ง

ประกาศนยี บตั ร ป.

ถนน ถ.

เปรียญ ป.

134 | ห น้ า

1.8 ตวั ยอ ไมควรใชสระ ยกเวนคําทีเ่ คยใชมากอนแลว

ตัวอยาง

เมษายน เม.ย.

มิถุนายน มิ.ย.

1.9 ตัวยอตองมจี ดุ กํากบั เสมอ ตัวยอต้งั แต 2 ตวั ขน้ึ ไป ใหจ ุดท่ีตวั สดุ ทา ยเพยี งจุดเดยี ว

ยกเวนตัวที่ใชกนั มากอ น เชน พ.ศ. น.ศ. ม.ร.ว. เปนตน

ตวั อยา ง

ตาํ บล ต.

ทบวงมหาวยิ าลยั ทม.

1.10 ใหเ วนวรรคหนาตัวยอ ทกุ แบบ

ตัวอยา ง

ประวตั ขิ อง อ. พระนครศรีอยธุ ยา

ขา วจาก กทม. วา

1.11 ใหเ วนวรรคระหวางกลมุ อักษรยอ

ตัวอยาง

ศ. นพ.

1.12 การอา นคาํ ยอ ตอ งอานเตม็

ตัวอยาง

05.00 น. อา นวา หา นาฬิกา

อ.พระนครศรีอยุธยา อานวา อาํ เภอพระนครศรีอยธุ ยา

ยกเวน ในกรณีที่คําเต็มนั้นยาวมาก และคํายอนั้นเปนที่เขาใจและยอมรับกันท่ัวไปแลว

อาจอา นตวั ยอเรียงตัวไปกไ็ ด

ตวั อยาง

ก.พ. อานวา กอ พอ

(จากหนงั สอื หลักเกณฑการใชเครือ่ งหมายวรรคตอนเครอื่ งหมายอื่นๆ หลักเกณฑก ารเวน วรรค
หลักเกณฑก ารเขียน คํายอ ราชบณั ฑิตยสถาน)

ห น้ า | 135

2. การเขยี นรหสั ตัวพยัญชนะประจําจังหวัด

ตามระเบยี บสํานักนายกรัฐมนตรวี า ดว ยงานสารบรรณ โดยไมม ีจุด มหัพภาค ตอทา ย เชน

กระบ่ี ยอ เปน กบ นา น ยอเปน นน ราชบรุ ี ยอ เปน รบ

กรงุ เทพมหานคร ” กท บุรีรมั ย ” บร ลพบุรี ” ลบ

กาญจนบุรี ” กจ ปทุมธานี ” ปท ลาํ ปาง ” ลป

กาฬสินธุ ” กส ประจวบคีรขี ันธ ” ปข ลาํ พนู ” ลพ

กาํ แพงเพชร ” กพ ปราจีนบรุ ี ” ปจ เลย ” ลย

ขอนแกน ” ขก ปตตานี ” ปน ศรีสะเกษ ” ศก

จนั ทบุรี ” จบ พะเยา ” พย สกลนคร ” สน

ฉะเชิงเทรา ” ฉช พระนครศรอี ยธุ ยา ” อย สงขลา ” สข

ชลบรุ ี ” ชบ พังงา ” พง สตูล ” สต

ชยั นาท ” ชน พทั ลงุ ” พท สมทุ รปราการ ” สป

ชัยภมู ิ ” ชย พิจติ ร ” พจ สมทุ รสงคราม ” สส

เชยี งราย ” ชร พิษณโุ ลก ” พล สมุทรสาคร ” สค

เชียงใหม ” ชม เพชรบรุ ี ” พบ สระบุรี ” สบ

ตรงั ” ตง เพชรบูรณ ” พช สงิ หบรุ ี ” สห

ตราด ” ตร แพร ” พร สุโขทัย ” สท

ตาก ” ตก ภเู ก็ต ” ภก สุพรรณบุรี ” สพ

นครนายก ” นย มหาสารคาม ” มค สรุ าษฎรธ านี ” สฎ

นครปฐม ” นฐ มุกดาหาร ” มห สรุ นิ ทร ” สร

นครพนม ” นพ แมฮ องสอน ” มส หนองคาย ” นค

นครราชสีมา ” นม ยโสธร ” ยส อา งทอง ” อท

นครศรีธรรมราช ” นศ ยะลา ” ยล อดุ รธานี ” อด

นครสวรรค ” นว รอยเอ็ด ” รอ อุตรดิตถ ” อต

นนทบรุ ี ” นบ ระนอง ” รน อทุ ัยธานี ” อน

นราธิวาส ” นธ ระยอง ” รย อบุ ลราชธานี ” อบ

หมายเหตุ กรงุ เทพมหานคร กท จะพบในหนังสือราชการ แตโดยท่วั ไป ใชกรุงเทพมหานคร

เคร่อื งหมาย เรยี กชอื่ วธิ ีใช
ตวั อยา ง ใกล ๆ ยมก หรอื ไมยมก
ใหเขียนไวหลังคําเพ่ือใหอานคําน้ันซ้ํากัน
สองคร้งั

136 | ห น้ า

เรอ่ื งที่ 3 ชนดิ และหนาที่ของประโยค

ชนดิ ของประโยค

เมอ่ื เราทราบลกั ษณะของประโยคแลว กม็ าทาํ ความเขาใจเก่ียวกบั ประโยคชนดิ ตาง ๆ เพิ่มเติมอีก
ประโยคชนดิ แรกทีจ่ ะกลาวถึง คือ ประโยคความเดียว

1. ประโยคความเดียว (เอกรรถประโยค) ประโยคชนิดน้ี คือ ประโยคท่ีมุงกลาวถึง
สิง่ ใดสงิ่ หนง่ึ เพยี งสง่ิ เดยี ว สงิ่ น้ันอาจเปนคน สตั ว เหตุการณ ฯลฯ อยางใดอยางหน่ึง และสง่ิ นน้ั แสดง
กิรยิ าอาการหรืออยใู นสภาพอยา งเดยี ว เชน

ก. นกเกาะตนไม
ข. นายแดงไถนา
ค. มุกดาหารเปน จังหวัดทีเ่ จด็ สบิ สาม
สว นสาํ คญั ของประโยคความเดยี ว
ประโยคความเดียวแตละประโยคแบงสวนสําคัญออกเปน 2 สวน สวนหน่ึงเรียกวา
“ภาคประธาน” คือ ผูก ระทําอาการในประโยค อกี สวนหน่ึงเรยี กวา “ภาคแสดง” คือ สว นทเี่ ปนกริ ิยา
และกรรมผูถกู กระทาํ ในประโยค

ประโยค ภาคประธาน ภาคแสดง
เกาะตนไม
ก. นกเกาะตนไม นก ไถนา
เปน จงั หวดั ทเี่ จด็ สบิ สาม
ข. นายแดงไถนา นายแดง

ค. มุกดาหารเปน จังหวัดที่เจ็ด มกุ ดาหาร
สบิ สาม

2. ประโยคความรวม (อเนกรรถประโยค) คือ ประโยคท่ีรวมความเอาประโยคความเดียว
ต้งั แต 2 ประโยคขนึ้ มารวมเขาดวยกัน โดยมีคาํ เชอ่ื มประโยคเหลา นน้ั เขา ดวยกนั

2.1 ประโยคทม่ี ีเนือ้ ความคลอยตามกนั
ประโยคที่ 1 จารณุ ีเดินทางไปเชยี งใหม
ประโยคที่ 2 อรัญญาเดินทางไปเชยี งใหม
เราสามารถรวมประโยคความเดยี วทัง้ 2 ประโยคเขา ไวด ว ยกัน ดังนี้
“จารุณแี ละอรญั ญาเดนิ ทางไปเชยี งใหม”
ประโยคท่ี 1 เราจะประสบความลม เหลว
ประโยคท่ี 2 เราไมทอ ถอย
รวมประโยคไดว า “แมเราจะประสบความลม เหลวเราก็ไมทอ ถอย”

ห น้ า | 137

2.2 ประโยคทมี่ ีเนอื้ ความขดั แยงกนั
ประโยคที่ 1 พีข่ ยัน
ประโยคท่ี 2 นอ งเกยี จคราน
รวมประโยควา “พข่ี ยนั แตน อ งเกียจคราน”
ประโยคที่ 1 เขาไดท าํ งานแลว
ประโยคท่ี 2 เขายังไมพอใจ
รวมประโยควา “เขาไดทํางานแลวแตทวา เขายงั ไมพอใจ”

2.3 ประโยคที่มีใจความเลอื กเอาอยา งใดอยา งหน่งึ
ประโยคท่ี 1 เธอชอบดูภาพยนตร
ประโยคท่ี 2 เธอชอบดูโทรทัศน
รวมประโยควา “เธอชอบดูภาพยนตรหรือโทรทัศน”
ประโยคที่ 1 ปรชี าข้นึ ตนไมหลังบา น
ประโยคท่ี 2 ปรชี ากวาดขยะอยูหนาบาน
รวมประโยควา “ปรีชาขนึ้ ตน ไมหลังบา นหรอื ไมก็กวาดขยะอยหู นาบาน”

2.4 ประโยคท่ีมีขอ ความเปนเหตเุ ปนผลกัน โดยมีขอความที่เปนเหตุอยูขางหนาขอความท่ี
เปน ผลอยหู ลัง

ประโยคที่ 1 เขาขับรถเรว็ เกินไป
ประโยคที่ 2 เขาถูกรถชน
รวมประโยควา “เขาขบั รถเรว็ เกนิ ไปเขาจงึ ถูกรถชน”
ประโยคที่ 1 กรุงเทพฯ ฝนตกมาก
ประโยคที่ 2 กรงุ เทพฯ นา้ํ ทว ม
รวมประโยควา “เพราะกรงุ เทพฯ ฝนตกมากนา้ํ จึงทว ม”
คาํ ทีท่ ําหนาทเี่ ชอ่ื มประโยคเขา ดว ยกนั เราเรียกวา “คาํ สนั ธาน”

3. ประโยคซอนกัน (สังกรประโยค) คือประโยคท่ีมีขอความหลายประโยคซอนรวมอยูใน
ประโยคเดียวกัน เพ่อื ใหขอ ความสมบรู ณย งิ่ ข้นึ

1. ประโยคหลกั เรยี กวา มขุ ยประโยค ซ่งึ เปนประโยคสําคัญมใี จความสมบรู ณใ นตัวเอง
2. ประโยคยอย เรียกวา อนปุ ระโยค ประโยคยอยนจ้ี ะตอ งอาศัยประโยคหลงั จึงจะได

ความสมบรู ณ

138 | ห น้ า

ตวั อยาง
สรพงษเดนิ ทางไปสงขลาเพื่อแสดงภาพยนตร
เขาประสบอุบัติเหตุเพราะความประมาท
คนทีป่ ราศจากโรคภยั ไขเ จบ็ เปนคนโชคดี
ตารางประโยคความซอ น

ประโยคหลกั (มขุ ยประโยค) บทเชอ่ื ม ประโยคยอ ย (อนุประโยค)

สรพงษเ ดนิ ทางไปสงขลา เพ่ือ แสดงภาพยนตร
เขาประสบอุบตั ิเหตุ เพราะ ความประมาท
คน...เปน คนโชคดี ที่ ปราศจากโรคภยั ไขเ จ็บ

นอกจากประโยคทั้ง 3 ชนิดดังกลา วมาแลว ยงั มปี ระโยคอีกหลายชนดิ ท่ีมไิ ดเ รียงลาํ ดับประโยค
เหมือนประโยคท้ัง 3 ชนิด ทั้งน้ี ขึ้นอยูกับความตองการของผูสงสารวาตองการจะเนนสวนใดของ
ประโยคดว ยเหตนุ ้ีจงึ ทาํ ใหป ระโยคมหี ลายรูปแบบ ดงั นี้

1. ประโยคเนนผกู ระทาํ คอื ประโยคท่ยี กผกู ระทาํ ขึน้ เปน ประธานของประโยคขึ้นกลาวกอน
แลว จึงตามดว ยภาคแสดง เชน

รูปประโยค ประธาน กริยา กรรม

1. ลนิ ดากาํ ลงั ซื้อผลไม ลินดา กําลังซอ้ื ผลไม
2. สายชลพูดโทรศัพท สายชล พูด โทรศัพท

2. ประโยคเนนผถู กู กระทําคือ ประโยคท่กี ลาวถงึ ผูถกู กระทาํ หรอื กรรม กอน ผูถกู กระทํา
จงึ อยหู นา ประโยค

รูปประโยค ผถู ูกกระทาํ กรยิ า

1. เพ่ือนของฉันถูกทําโทษ เพื่อนของฉัน ถูกทําโทษ
ถกู จับ
2. ชาตรีถูกจับ ชาตรี

ขอ สงั เกต ในภาษาไทย ถาใชว า “ถูกกระทาํ ” อยา งใด จะมีความหมายไปในทางไมดี
เชน ถูกตําหนิ ถูกตอวา ถกู ดุ เปนตน ถาเปนไปทางดเี ราจะไมใ ชค าํ วา
“ถูก” แตใ ชค าํ วา “ไดรับ” แทน เชน ไดรบั แตง ต้ัง ไดรบั เลือก........เราจะ
ไมใ ชวา ไดถกู แตง ตั้ง......ไดถกู เลือก.......เปนอนั ขาด

ห น้ า | 139

3. ประโยคเนนกริยา คือ ประโยคที่ตองการเนนกริยาใหเดน จึงกลาวถึงกริยากอนที่จะ
กลา วถึงประธาน กริยาทีเ่ นน ไดในลกั ษณะน้ีมีอยไู มก ่คี าํ คือ เกิด ปรากฏ มี

รปู ประโยค กรยิ า ประธาน

เกดิ นาํ้ ทวมในประเทศบงั กลาเทศ เกดิ นา้ํ ทวม ในประเทศบงั กลาเทศ
นํ้าทว ม ขยายกริยา ดาวเทยี ม

ปรากฎดาวเทยี มบนทอ งฟา ปรากฏ
บนทอ งฟา ขยายกริยา

4. ประโยคคําสั่งและขอรอง คือ ประโยคท่ีอยูในรูปคําส่ังหรือขอรองและจะละประธานไว
โดยเนน คําสั่งหรอื คาํ ขอรอ ง เชน

คาํ สัง่ 1. จงกาเคร่ืองหมายกากบาท หนา ขอความทีถ่ ูกตอง
คําทีข่ ดี เสน ใต คือ กรยิ า

คําขอรอง 2. โปรดรกั ษาความสะอาด คาํ ทข่ี ดี เสน ใต คือ กรยิ า
ถา เดิมประธานท่ีละไวลงไป ก็จะกลายเปนประโยคเนนผกู ระทาํ
เชน 1. ทานจงกาเครื่องหมายกากบาทหนา ขอความที่ถูกตอง

2. ทา นโปรดรกั ษาความสะอาด

หนาทข่ี องประโยค

ประโยคชนิดตา ง ๆ สามารถบอกความหมายไดตามเจตนาของผสู ง สาร เพราะการสื่อสารกัน
ตามปกตินั้น ผูสงสารอาจมีเจตนาไดหลายประการ ประโยคจึงทําหนาท่ีตาง ๆ กัน เชน บอกกลาว
เสนอแนะ ช้ีแจง อธิบาย ซักถาม วิงวอน สั่งหาม ปฏิเสธ เปนตน ขอความหรือประโยคที่แสดง
เจตนาของผูสงสารเหลานจี้ ะอยูใ นรูปที่ตาง ๆ กันไป ซ่ึงอาจแบงหนาท่ีของประโยคไดเปน 4 ประเภท
ดวยกนั คอื

1. รูปประโยคบอกกลาวหรือบอกเลา ประโยคลักษณะน้ี โดยปกติจะมี ประธาน กริยา
และอาจมีกรรมดว ย นอกจากนอ้ี าจมสี ว นขยายตา ง ๆ เพื่อใหชัดเจน โดยท่ัวไปประโยคบอกเลาจะบงชี้
เจตนาวาประธานของประโยคเปน อยา งไร
ตวั อยาง

ประโยค เจตนา

ภาษาไทยเปน ภาษาประจําชาตขิ องเรา ภาษาไทยเปน อะไร
นองหวิ ขา ว นองอยูใ นสภาพใด

140 | ห น้ า

2. รูปประโยคปฏเิ สธ ประโยคนี้แตกตางจากประโยคบอกกลาว หรือบอกเลาตรงที่มีคําวา
“ไม” หรอื คําที่มีความหมายในทางปฏเิ สธ เชน “หามไิ ด” “มิใช” ประกอบคาํ อธิบายเสมอไป

ตัวอยา ง
วันน้ไี มมฝี นเลย
เขามใิ ชคนเชน นั้น
หามไิ ด หลอ นไมใ ชคนผิดนัด

สําหรับประโยคทีผ่ สู งสารมีเจตนาที่จะเสนอแนะมกั จะใชค ําวา ควรหรอื ควรจะในประโยค
บอกเลาสว นในประโยคปฏเิ สธ ใชค ําวา ไมค วรหรอื ไมควรจะ

ประโยคปฏิเสธ “ชาวนาไมค วรปลกู มันสําปะหลงั ในท่ีนาเพราะจะทาํ ใหด นิ จืด”
3. ประโยคคําส่ังและขอรอง ประโยครปู น้มี ีลกั ษณะเดน คือ มีแตภาคแสดงเสมอ
สวนประธานซงึ่ ตองเปนบุรุษท่ี 2 ใหละเวนในฐานท่ีเขาใจ

ตวั อยาง
ยกมือขึ้น
ยนื ขนึ้
ปลอ ยเดยี๋ วน้นี ะ

รูปประโยคคําสง่ั เชน ขางตนนี้ อาจใสค ําวา อยา จง หาม ขา งหนา ประโยคไดเพ่ือให
คาํ ส่งั จริงจงั ยิ่งขน้ึ

ตวั อยา ง
อยาทําบานเมืองสกปรก
จงตอบคําถามตอ ไปน้ี
หามมียาเสพตดิ ไวในครอบครอง

4. รปู ประโยคคําถาม ประโยครูปนท้ี ําหนา ทีเ่ ปนคําถามวางอยตู อนตน
หรือตอนทา ยของประโยคกไ็ ด

คาํ แสดงคําถามแบงออกเปน 2 ประเภทใหญ ๆ คอื
4.1 คาํ แสดงคําถามที่ผสู งสารตองการคาํ ตอบเปนใจความใหม
4.2 คําแสดงคาํ ถามท่ผี สู ง สารตอ งการคาํ ตอบเพยี ง “ใช” หรือ “ไม”

ห น้ า | 141

เรื่องที่ 4 หลกั ในการสะกดคาํ

สะกดอยา งไรใหถ กู ตอง

การใชภาษาในการสอื่ สาร ไมวาจะดว ยการพูด และการเขียน หรอื อา นจําเปนตอ งใชใหถ กู ตอง
โดยมหี ลกั การไวดงั นี้

การใชตวั สะกด

ถาเปน คาํ ภาษาไทยแทจะใชตัวสะกดตรงตามมาตราตัวสะกด เชน จง บิน ชม เชย เดียว
ปก รด พบ เปนตน สว นคําภาษาไทยที่มาจากภาษาตางประเทศน้ันมีทั้งสะกดตรงตามมาตรา และ
ใชต วั สะกดหลายตัวตามรูปศัพทเ ดิม โดยเฉพาะภาษาบาลีสนั สกฤต เชน

1. คาํ ในภาษาไทยท่ีมาจากภาษาเขมร ภาษาบาลี สันสกฤตบางคํา และคาํ ทม่ี าจากภาษาอ่ืน
ทใี่ ชตัวสะกดตรงตามมาตรา

คําไทยทีม่ าจากภาษาเขมร เชน จาํ นอง ดําเนนิ ขจดั อาํ นวย บังคม เปนตน
คาํ ไทยทม่ี าจากภาษาบาลี สันสกฤต เชน ทาน คาํ ไทยท่มี าจากภาษาอ่นื เชน มังคดุ
2. คาํ ไทยที่มาจากภาษาบาลี สนั สกฤตมีตวั สะกดอยูใ นมาตรา แม กน กก กด กบ อาจจะ
ใชตวั สะกดไดห ลายตัวตามรปู ในภาษาเดิม ดังตัวอยา งตอ ไปนี่
2.1 คําในแม กน เชน

พน ใช น สะกด แปลวา ปา ศพั ทเ ดมิ พน อา น พะ นะ

ชล ใช ล สะกด แปลวา นํา้ ศัพทเ ดมิ ชล อาน ชะ ละ

บญุ ใช ญ สะกด แปลวา ความดี ศพั ทเดมิ ปุญญ อา น ปุน ยะ

คณุ ใช ณ สะกด แปลวา ความเกือ้ กลู ศัพทเดมิ คณุ อาน คุ ณะ

พร ใช ร สะกด แปลวา ความดี ศัพทเดิม วร อาน วะ นะ

142 | ห น้ า

2.2 คําในแม กก เชน

ชนก ใช ก สะกด แปลวา พอ ศพั ทเ ดิม ชนก อา น ชะ นะ กะ

มขุ ใช ข สะกด แปลวา หนา ปาก ทาง ศัพทเดมิ มุข อา น มกุ ขะ

มคั ใช ค สะกด แปลวา หนทาง ศพั ทเดมิ มค อานวา มกั คะ

เมฆ ใช ฆ สะกด แปลวา ไอนํ้ารวมตัวกันเปนกลุม ลอยตัวอยูในอากาศ
เมฆ อานวา เม ฆะ

จักร ใช กร สะกด แปลวา อาวธุ ศัพทเ ดิม จกร อาน จัก กระ

2.3 คาํ ในแม กด เชน
อนญุ าต พยางคห ลงั ใช ต สะกด แปลวา ยินยอมให ศัพทเดิม อนุญาต
อานวา อะ นนุ ยา ตะ
สัจ ใช จ เปน ตัวสะกด แปลวา การตัง้ ความสัตย ศพั ทเ ดิม สจั จฺ
อานวา สตั จะ
พืช ใช ช เปนตัวสะกด แปลวา เมล็ดพันธุไม ศัพทเดิม พืชและวีช
อา นวา พี ชะ และ วี ชะ
ครุฑ ใช ฑ สะกด หมายถึง พญานกทเี่ ปน พาหนะของพระนารายณ
ศัพทเ ดิม ครฑุ อานวา คะ รู ดะ
รัฐ ใช สะกด แปลวา ประเทศ ศพั ทเ ดมิ ร ฏ ฐ
อานวา รัต ถะ
รถ ใช ถ สะกด แปลวา ยานท่ีมีลอสําหรับเคลื่อนไป
ศัพทเ ดมิ รถ อา นวา ระ ถะ
อาพาธ อา นวา อา พา ทะ
ชาติ ใช ติ สะกด แปลวา เกดิ ศพั ทเดมิ ชาติ อานวา ชา ติ
เหตุ ใช ตุ สะกด แปลวา ทม่ี า ศัพทเดมิ เหตุ อา นวา เห ตุ
มาตร ใช ตร สะกด แปลวา เคร่อื งวัดตา ง ๆ ศพั ทเ ดมิ มาตร
อานวา มาด ตระ
เพชร ใช ชร สะกด แปลวา ชอ่ื แกวทแ่ี ข็งทสี่ ดุ และมนี าํ้ แวววาวกวา
พลอยอ่ืน ๆ ศพั ทเ ดมิ วชฺร และ วชริ อา นวา วดั ชระ และ
วะ ชิ ระ

ห น้ า | 143

ทิศ ใช ศ สะกด แปลวา ดาน ขาง ทาง เบ้อื ง
ศัพทเดมิ ทิศ อา นวา ทิ สะ

คําในแมกด ในภาษาบาลี สันสกฤตใชพยัญชนะหลายตวั เปน ตัวสะกด จงึ ตอ ง
สังเกตและจดจาํ ใหดจี ึงจะสามารถเขียนไดถ กู ตองตามสะกดการันต

2.4 คําในแม กบ เชน

บาบ ใช ป สะกด แปลวา ความช่วั
ศพั ทเดมิ บาป อา นวา ปา ปะ

เสพ ใช พ สะกด แปลวา กนิ บริโภค
ศัพทเ ดมิ เสพ อานวา เส พะ

โลภ ใช ภ สะกด แปลวา ความอยากไดไ มร ูจกั พอ
ศพั ทเดมิ โลภ อานวา โล พะ

3. คาํ ทีม่ าจากภาษาเขมร เรานํามาใชใ นลักษณะคําแผลงตา ง ๆ มีขอควรสงั เกต คือ
เมือ่ แผลงคําแลว ตวั สะกดจะเปน ตวั เดยี วกบั คําเดิม เชน

เกิด เปน กําเนิด
จรัส เปน จํารสั
ตรวจ เปน ตาํ รวจ
ตรัส เปน ดํารัส
เสรจ็ เปน สาํ เรจ็

ฯลฯ
4. คําท่ีมาจากภาษาบาลี สันสกฤตบางคาํ จะมตี ัวสะกดและตัวตามในภาษาไทย เรานํามาใช
ทง้ั รปู แบบเตม็ รปู และตดั ตวั สะกดออกบา ง

วุฑฒิ ไทยใช วฒุ ิ
รฏฐ ไทยใช รฐั
อฑฒ ไทยใช อฒั เชน อัฒจนั ทร

144 | ห น้ า

การประและไมป ระวสิ รรชนีย

การประวิสรรชนีย มหี ลกั ดงั นี้
1. คาํ ไทยแทท่ีออกเสียง อะ ชดั เจน และคาํ ทย่ี อสวนจากคําประสม เชน มะมวง มะนาว
กระทะ สะอกึ เปนตน ยกเวน คาํ บางคํา เชน ณ ธ ทนาย ฯพณฯ เปนตน
2. คาํ ทม่ี าจากภาษาบาลี สนั สกฤต ถา ตองการใชอ านออกเสยี ง สระ อะ ที่ทายพยางค
ใหประวสิ รรชนียท พ่ี ยางคทา ย เชน พละ ศิลปะ สาธารณะ ทกั ษะ มรณะ สมณะ ฯลฯ
3. คาํ ท่มี าจากภาษาบาลี สันสกฤตท่ีมีพยางคหนาออกเสียง กระ ตระ ประ ในภาษาไทย
ใหป ระวสิ รรชนยี  เชน กระษัย กระษาปณ ตระกูล ประกาศ ประสาท ประโยชน ประชาราษฎร ฯลฯ
4. คําที่ไมทราบทีม่ าไดแ นชัดวา มาจากภาษาใด แตถ า อานออกเสียง อะใหประวิสรรชนีย เชน
กะละแม กะหลํ่า กะละมัง สะอาด สะครวญ สะดือ โพระดก พะโล สะระแหน จะละเม็ด
สะว้ดี สะวา ด ปะเหลาะ ปะแหละ ฯลฯ
การไมป ระวิสรรชนยี  มีหลกั ดังนี้
1. คาํ ท่ีออกเสยี ง อะ ไมเตม็ มาตรา หรอื คาํ ท่ีเปนอกั ษรนํา เชน กนก ขนม ฉลาด สมอง ฯลฯ
ยกเวน กะรัต
2. คาํ สมาสในภาษาบาลี สนั สกฤต ซงึ่ มีเสียง อะ ระหวางคํา เชน พลศึกษา ศลิ ปกรรม เปน ตน
หรอื คาํ ทมี่ เี สียง อะ ทพี่ ยางคห นาของคํา
3. คําท่มี าจากภาษาเขมรมีพยัญชนะตน 2 ตัวซอนกัน ในภาษาไทยอานออกเสียงพยัญชนะ
ตวั หนา เปน อะ ไมต อ งประวสิ รรชนีย เชน จรญู จรวย จรวด ผม ผจญ สลา สมอง ขโมย ขนง
ขนาน ขนาบ ขนบ ถนน ถนอม
4. คาํ ทับศพั ทภ าษาอังกฤษอาจจะประหรือไมประวิสรรชนียใหถือปฏิบัติตามแนวที่นิยมเขียน
กนั มา เชน เยอรมัน อเมริกา สตกิ เกอร โปสเตอร ไอศกรีม อะลูมิเนียม อะตอม อะมบี า

การใชคาํ อาํ อมั และ อาํ ม

อํา ( _ำ )
1. ใชกับคาํ ไทยทั่วไป เชน ชํา คํา จาํ รํา เปน ตน
2. ใชก บั คําแผลงทม่ี าจากภาษาอื่น เชน เกดิ กําเนิด ตรวจ ตํารวจ เปนตน
อัม ( _ั ม )
1. ใชคําที่เปนสระ อะ มตี วั ม สะกดในภาษาบาลี สันสกฤต เชน คัมภีร สัมผสั สัมภาษณ
อัมพร เปน ตน
2. ใชกับคาํ ทมี่ าจากภาษาองั กฤษ เชน กโิ ลกรัม ปม อัลบั้ม เปน ตน
อาํ ม (_ำ ม )

ห น้ า | 145

ใชกับคําที่มีเสียงสระ อะ แลวมี ม ตามในภาษาบาลี สันสกฤต เชน อํามาตย อํามฤต
อาํ มหิต เปนตน

การใช ไอ ใอ อยั ไอย ( ไ- ใ- -ยั ไ-ย )

1. การใช ไ- สระไอไมม ลาย ใชกบั คําไทยท้งั หมด เชน ไกล ไคล ใจ ไหม ตระไคร ไฟ

ไข ได ไป ฯลฯ เวนแตคาํ ไทยทีใ่ ชส ระไอไมมวน 20 คํา และคํามาจากภาษาอ่ืน นอกจากภาษาบาลี

สนั สกฤตใหใช ไอ เหมือนภาษาไทยทั้งสิ้น

คําแผลงมาจาก สระ อิ อี เอ เปนสระไอในภาษาไทยใหใชสระไอไมมลาย เชน วิจิตร

ไพจิตร วิหาร ไพหาร ตรี ไตร ฯลฯ หรอื คําบาลี สันสกฤตเดมิ มีสระไออยูแลว ใหใช ไอ เชน ไอ

ศวรย ไอศวรรย ไมตรี ไมตรี ฯลฯ คาํ ที่มาจากภาษาอ่นื ไมใชภาษาบาลี สันสกฤตใหใชสระไอ เชน

ไกเชอร เซยี งไฮ กาํ ไร ไนลอน ไนโตรเจน ไฉน ไสว ฯลฯ

2. การใช ใ- สระใอไมมว น ใชกบั คํา 20 คํา ดงั น้ี

ใฝใจใครใครรูให ใหลหลง

ในใหมใ สใหญย ง ต่าํ ใต

ใดใชใชใ บบง ใยยืด

ใสส ะใภใกลใบ สิบมวนสองหน

หรือ

ผูใหญหาผา ใหม ใหสะใภใ ชคลอ งคอ

ใฝใจเอาใสหอ มหิ ลงใหลใครขอดู

จะใครลงเรือใบ ดนู ํ้าใสและปลาปู

ส่งิ ใดอยูในตู มิใชอยใู ตตั่งเตียง

บา ใบถอื ใยบัว หตู ามวั มาใกลเคียง

เลาทอ งอยา ละเลย่ี ง ยสี่ ิบมว นจาํ จงดี

3. การใช -ั ย ( อัย )

ใชค าํ ทมี่ าจากภาษาบาลี สันสกฤต ซ่ึงมเี สียงอะ และ ย ตาม และถาในภาษาเดิมมี ย

สะกดและ ย ตามเมอื่ นาํ มาใชใ นภาษาไทยใหคง ย ไว

ชัย มาจาก ชย

วัย ” วย

นัย ” นย

อาลยั ” อาลย

อุทัย ” อทุ ย

อัยยะ ” อยย

อยั ยกิ า ” อยยกิ า

146 | ห น้ า

4. การใช ไ-ย (ไอย)

ใชก ับคําทม่ี าจากภาษาบาลีซงึ่ มสี ระ เอ มี ย สะกด และมี ย ตาม เ ยย เอย ย

เมื่อนํามาใชในภาษาไทย แผลงเปน “ไอย” เชน

ไวยากรณ มาจาก เวยฺยากรณ

อธิปไตย ” อธปิ เตยยฺ

ไทยทาน ” เทยฺยทาน

เวไนย ” เวเนยฺย

อสงไขย ” อสงเฺ ขยยฺ

การใชว รรณยกุ ต

การใชวรรณยุกตไ ดถูกตอ งนนั้ จะตองมคี วามรูในเรื่องตอ ไปน้ี

1. ไตรยางค หรือ อักษร 3 หมู ไดแก

อกั ษรสูง มี 11 ตัว ไดแก ษ ฆ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห

อักษรกลาง มี 9 ตวั ไดแ ก ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ

อักษรสูง มี 24 ตัว แบง ออกเปน 2 ชนิด ดังน้ี

อักษรต่าํ คู มี 14 ตัว ไดแ ก ค ต ฆ ช ฌ ซ ฑ ฒ ท ธ พ ภ ฟ ฮ

อักษรต่าํ เด่ยี ว มี 10 ตวั ไดแก ง ญ ณ น ม ย ร ล ฬ ว

2. คาํ เปนคําตาย

2.1 คาํ เปน คอื คําที่มีลกั ษณะอยา งใดอยา งหนง่ึ ตอไปน้ี

ประสมกับสระเสยี งยาวในแม ก กา เชน ป มา

ประสมกับสระ อํา ไอ ใอ เอา เชน ไป ใกล ขํา

มตี วั สะกดในมาตราแม กง กน เกย เกอว เชน ตรง จน กลม เชย เดยี ว

2.2 คาํ ตาย คือ คาํ ทมี่ ลี กั ษณะอยางใดอยา งหน่งึ ตอ ไปนี้

ประสมกับสระเสียงสั้นในมาตราแม ก กา ยกเวน อํา ไอ ใอ เอา เชน จะ ผุ

ติ มีตวั สะกดในมาตราแม กก กด กบ

3. การผันอักษร มหี ลกั การดังนี้

อักษรสูง คําเปน พื้นเสียงเปนเสียงจัตวา ผันดวย วรรณยุกต เปนเสียงเอก ผันดวย

วรรณยกุ ต  วรรณยุกต  เปน เสยี งโท เชน ผา ผา ผา ขาม ขาม ขาม

อักษรสูง คําตาย พ้นื เสียงเปนเสียงเอก ผันเสียงวรรณยุกต  เปนเสียงโท เชน ฉะ ฉะ

ขบ ขบ

อกั ษรกลาง คําเปน พ้ืนเสียงเปนเสียงสามัญ ผันดวยวรรณยุกต     เปนเสียง

เอก โท ตรี จัตวา ตามลาํ ดบั เชน ปะ ปา ปะ ปะ โกะ โกะ โกะ โกะ

ห น้ า | 147

อักษรตํ่า คําเปน พื้นเสียงเปนเสียงสามัญ ผันดวย วรรณยุกต   เปนเสียงโท ตรี
ตามลาํ ดบั เชน คา คา คา เทา เทา เทา

อักษรตาํ่ คําตาย สระเสยี งสนั้ พื้นเสียงเปน เสยี ง ตรี ผัน ดว ยวรรณยุกต  เปนเสียงโท
ผนั ดว ยวรรณยุกต  เปนเสยี งจตั วา เชน คะ คะ คะ

อักษรต่าํ คาํ ตายสระเสียงยาว พื้นเสียงเปนเสยี งโท ผันดว ยวรรณยุกต  เปน เสยี งตรีผัน
ดวยวรรณยกุ ต  เปน เสียงจตั วา เชน คาบ คาบ คาบ

อักษรตาํ่ ตองอาศัยอักษรสูงหรอื อักษรกลางชว ย จงึ จะผันไดครบ 5 เสียง
เชน คา ขา ขา คา ขา เลา เหลา เลา เหลา เลา เหลา
ขอสงั เกต

1. อกั ษรสูงและอักษรกลางจะมีรูปวรรณยกุ ตต รงกับเสยี งวรรณยกุ ต
2. อกั ษรสงู และอักษรตํ่าไมใ ชว รรณยกุ ตต รีเลย
3. อกั ษรตา่ํ จะมีเสียงวรรณยุกตสูงกวารูปวรรณยุกต
4. อกั ษรเดี่ยวหรืออกั ษรต่าํ เดี่ยวเมอื่ ตองการผันใหครบ 5 เสียง ตองใชอักษรสูงหรืออักษร
กลางนํา เชน ยา หยา อยา ยา ยา หยา
5. อักษรคแู ละอกั ษรสงู ตอ งอาศัยอักษรทีค่ กู นั ชวย จงึ จะผันไดครบ 5 เสียง เชน
คา ขา คา ขา คา ขา

การใชเ ครอื่ งหมายทัณฑฆาต ( )

เคร่ืองหมายทัณฑฆาต  ใชเขียนเหมือนพยัญชนะที่ไมตองการออกเสียง ซึ่งเราเรียกวา
ตวั การนั ต มีหลกั การดงั นี้

1. พยัญชนะที่อยูขางหลังตัวสะกด ถามีเครื่องหมายทัณฑฆาต ถือวาพยัญชนะตัวนั้นเปน
ตวั การนั ตไ มตอ งออกเสียง เชน เสาร ไมค ยักษ อาทิตย เปน ตน

2. พยญั ชนะทีอ่ ยขู างหลังตัวสะกดสองตัวหรือสามตวั ถา ตัวใดตวั หนงึ่ มเี ครอื่ งหมายทัณฑฆาต
กาํ กับถือวา พยัญชนะทั้งสองตัวเปนตัวการันต ไมตองออกเสียง เชน วันจันทร พระอินทร
พระลักษณ เปนตน

ทัง้ น้ี จะไมใชเครื่องหมายทณั ฑฆาตกบั ตัวสะกดที่เปน อกั ษรควบกลํ้า และตวั สะกดทีม่ ีสระ
กํากับ เชน จักร มิตร เกยี รติ เปน ตน

148 | ห น้ า

เรอ่ื งท่ี 5 คาํ ราชาศพั ท

ราชาศพั ท แปลตามศัพท หมายถงึ ถอยคําสาํ หรบั พระราชา แตตามตําราหลักภาษาไทยได
ใหค วามหมายเกนิ ขอบเขตไปถงึ ถอยคําภาษาสําหรับบุคคล 3 ประเภท คือ

1. ศพั ทท่ใี ชสําหรับพระมหากษัตริยแ ละพระบรมวงศานุวงศ
2. ศัพทท ใ่ี ชสําหรบั พระภิกษุสงฆ
3. ศพั ทท่ใี ชส าํ หรับสุภาพชน

1. ศัพทม ใี ชสาํ หรับพระมหากษตั ริยและพระบรมศานุวงศ

คําศัพทป ระเภทนี้เราจะไดฟ ง หรือไดอานบอยมาก สวนใหญจ ะเปน ขาวหรอื เร่ืองราวท่เี กย่ี วกับ

กรณยี กิจของพระมหากษตั รยิ แ ละพระบรมวงศานวุ งศ ลักษณะของราชาศัพทป ระเภทนีม้ ีลกั ษณะเดนท่ี

นา สนใจ คือ

1.1 ใชค ําวา ทรง เพอ่ื ใหเปนคํากริยา

ทรง นําหนา กริยาทเ่ี ปนคําไทย เชน ทรงเลน ทรงรองเพลง ทรงออกกําลงั กาย

ทรง นาํ หนา คาํ นามทเี่ ปน คาํ ไทยแลวใชเปน กริยา เชน ทรงชาง ทรงมา ทรงเรอื ใบ

ทรง นําหนาคําที่เปนราชาราศัพทอยูแลว เชน ทรงพระอักษร ทรงพระสําราญ

ทรงพระราชนพิ นธ

1.2 ใชคาํ ไทยนําหนาคําท่เี ปน ราชาศัพทอ ยแู ลว เพือ่ ใหเปนคาํ กรยิ า เชนทอดพระเนตร

1.3 ใชคําไทยนําหนา คําทีเ่ ปนราชาศพั ทอยูแลว เพื่อใหเปนคํานาม เชน ซับพระพักตร

ผาเช็ดหนา ถุงพระบาท ถุงเทา ถุงพระหัตถ ถุงมือ การใชคําธรรมดานําหนาคําที่เปนราชาศัพทอยู

แลว เพ่ือใหเ ปนคาํ นาม ยังมอี ีกเชน ฉลองพระองค ฉลองพระหตั ถ ฉลองพระเนตร แวน ตา

มูลพระชวิ หา น้าํ ลาย

1.4 ใชคําวา ตน หรือ หลวง ลงทายคํานามหรือกริยา เชน เสด็จประพาสตน

พระแสงปน ตน เครอ่ื งตน รถหลวง เรอื หลวง

1.5 คาํ ท่กี ําหนดใหเ ปน ราชาศพั ทส ามารถจาํ แนกชนิดตา งๆ ได เหมือนคําในภาษาสามัญ

คือ มีทั้งคํานาม สรรพนาม กริยา วเิ ศษณ และมีคําลกั ษณะนามใชเ ปน พเิ ศษอกี ดว ย เชน

คํานาม

พระเศียร หวั พระนลาฏ หนาผาก

พระชนก พอ พระชนนี แม

พระราชสาสน จดหมาย พระแสงกรรบิด มีด

ห น้ า | 149

คาํ สรรพนาม
ขาพระพุทธเจา กระหมอม หมอมฉนั บุรษุ ท่ี 1
ใตฝาละอองธลุ พี ระบาท ใตฝ า พระบาท ฝา พระบาท บุรษุ ท่ี 2
พระองคทาน พระองค ทา น บุรษุ ท่ี 3

คํากรยิ า
กรยิ าเปน ราชาศัพทอ ยูแ ลว ไมตองมีคาํ วา ทรง นําหนา เชน เสด็จ ตรสั เสวย เปน ตน นอกนน้ั
ตองเติมดวยคําวาพระ หรือ ทรงพระราช เพื่อใหเปนคํากริยา เชน ทรงพระอักษร เขียนหนังสือ
ทรงพระราชนิพนธ แตงหนังสอื
คําวิเศษณ
มีแตคําขานรับ ซ่ึงแยกตามเพศ คือ หญิงใชคําวา เพคะ ชาย ใชคําวา พระพุทธเจาขอรับ
พระพทุ ธเจา ขา พะยะคะ
คาํ ลักษณะนาม
ใชค ําวา องค กับ พระองค เปนคาํ ที่เกี่ยวกบั สว นตา ง ๆ ของรางกาย และเคร่ืองใชของทาน
เชน พระทนต 2 องค ฟน 2 ซ่ี ปราสาท 2 องค

1.6 การใชราชาศัพทแบบแผน วิธพี ดู ในโอกาสตาง ๆ อีกดวย เชน
การใชค ําขอบคุณ
ถา เรากลาวแกพ ระมหากษัตริย ใชวา “รูสึกขอบพระมหากรุณาธคิ ณุ เปนลนเกลา ฯ”
การใชคาํ ขออนุญาต
ถา เรากลา วแกพระมหากษัตริย ใชวา “ขอพระราชทานพระบรมราชานญุ าต”
กลา วเมื่อถวายของ
ถาเรากลาวเมอ่ื ถวายของ
“ขอพระราชทานทูลเกลาทูลกระหมอม ถวาย......................” หมายถึง สิ่งของ
ขนาดเลก็
“ขอพระราชทานนอ มเกลา นอ มกระหมอ ม ถวาย....................” หมายถึง
ส่ิงของขนาดใหญ ยกไมได

150 | ห น้ า

2. ศัพทท ่ใี ชสําหรบั พระภิกษสุ งฆ

พระภกิ ษเุ ปนผูท ไ่ี ดรบั ความเคารพจากบุคคลทั่วไป ในฐานะท่ีเปนผูทรงศีล และเปนผูสืบพระ
ศาสนาการใชถ อ ยคําจึงกําหนดข้ันไวตา งหากอกี แบบหน่งึ

เฉพาะองคส มเด็จพระสังฆราช ซึ่งถอื เปน ประมุขแหง สงฆน น้ั กาํ หนดใหร าชาศัพทเ ทียบเทากบั
พระราชวงศช้นั หมอ มเจา แตถ า พระภกิ ษุน้ันเปนพระราชวงศอ ยูแ ลว ก็คงใหใชร าชาศัพทต ามลาํ ดบั ชน้ั ท่ี
เปน อยูแลว นนั้

การใชถ อยคาํ สําหรับพระภิกษโุ ดยทวั่ ไปมขี อ สงั เกตคือ ถา พระภกิ ษใุ ชก ับพระภิกษดุ ว ยกนั หรือ
ใชกับคนธรรมดา จะใชศัพทอยางเดียวกันตลอด ผิดกับราชาศัพทสําหรับกษัตริยและพระราชวงศ
คนอื่นท่พี ูดกับทานหรอื พดู ถงึ ทา นจึงจะใชราชาศพั ท แตถ าพระองคทา นพดู กบั คนอ่ืนจะใชภาษาสุภาพ
ธรรมดา เชน

มีผพู ดู ถงึ พระวา “พระมหาสนุ ทรกําลังอาพาธอยใู นโรงพยาบาล”
พระมหาสุนทรพดู ถงึ ตวั ทา นเองกย็ อ มกลาววา “อาตมากาํ ลงั อาพาธอยทู ่โี รงพยาบาล”
มีผูพ ูดถงึ พระราชวงศหนง่ึ วา “พระองคเ จาดศิ วรกุมารกําลังประชวร”
พระองคเจา เม่อื กลา วพระองคถึงพระองคเองยอมรับสง่ั วา “ฉันกาํ ลงั ปวย”

ตวั อยางคาํ ราชาศพั ทสําหรบั พระภิกษุบางคํา

คํานาม ภัตตาหาร อาหาร ไทยทาน สิง่ ของถวาย อาสนะ ทนี่ ่งั กฏุ ิ ทพี่ กั ในวดั

เภสัช ยารักษาโรค ธรรมาสน ท่ีแสดงธรรม

คําสรรพนาม อาตมา ภิกษเุ รียกตนเองกบั ผอู น่ื

ผม กระผม ภกิ ษุเรียกตนเองใชกับภกิ ษดุ วยกัน

มหาบพติ ร ภกิ ษเุ รียกพระมหากษัตริย

โยม ภิกษเุ รยี กคนธรรมดาท่เี ปน ผูใหญก วา

พระคณุ เจา คนธรรมดาเรยี กสมเดจ็ พระราชาคณะ

ทาน คนธรรมดาเรยี กพระสงฆ

คํากริยา ประเคน ยกของดวยมือมอบใหพ ระ ถวาย มอบให

ฉนั กิน อาพาธ ปวย

มรณภาพ ตาย อนุโมทนา ยินดดี ว ย

จาํ วดั นอน

คําลกั ษณะนาม รูป เปน ลกั ษณะนามสาํ หรบั นบั จํานวนภกิ ษุ เชน พระภิกษุ 2 รปู คนท่ัวไปนิยมใช

คาํ วา องค


Click to View FlipBook Version