The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by วารสารสหวิทยาการ, 2022-07-01 02:27:55

วารสารสหวิทยาการ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1

(มกราคม - มิถุนายน 2565)

สหววาทิ รยสาากรารมกราคม-มิถุนายน 2565
ว�ทยาลัยสหวท� ยาการ
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

JournalJan-Jun 2022

of Integrated Sciences
College of Interdisciplinary Studies

Thammasat University

วารสารสหวทิ ยาการ

Journal of Integrated Sciences

ปีท​ี่ 19​ฉบบั ท​ี่ 1​(มกราคม-มถิ ุนายน​2565)
Volume​19,​Issue​1​(Jan-Jun​2022)

ISSN 1685-2494 (Print)
ISSN 2821-9384 (Online)

เจ้าของ : วิทยาลยั สหวทิ ยาการ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

บรรณาธิการ
ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.ยง่ิ ลกั ษณ์ กาญจนฤกษ์

กองบรรณาธิการและผชู้ ว่ ยบรรณาธิการ
รองศาสตราจารย์ ดร.ภาคภูมิ ทิพคุณ

กองบรรณาธกิ าร คณะพาณชิ ยศาสตร์และการบญั ชี จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย
รองศาสตราจารย์ ดร.มงคลชัย วริ ิยะพนิ จิ คณะรฐั ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
รองศาสตราจารย.์ ดร.สามารถ ทองเฝือ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มาโนชญ์ อารีย์ คณะนิตศิ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วราภรณ์ วนาพทิ กั ษ์ สาขาวชิ ารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช
ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนศักด์ิ สายจำาปา คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่
อาจารย์ ดร.สมพนั ธ์ เตชะอธิก วิทยาลยั สหวิทยาการ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
รองศาสตราจารย์ ดร.ศักดิ์ชยั เลิศพานชิ พนั ธุ์ วทิ ยาลยั สหวทิ ยาการ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
รองศาสตราจารย์ ดร.จุฬณี ตนั ตกิ ลุ านันท์ วทิ ยาลัยสหวทิ ยาการ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ร่งุ นภา เทพภาพ

เลขานกุ ารวารสาร วทิ ยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
หฤทยั รัตน์ ศรีจนั ทรข์ าำ วิทยาลยั สหวทิ ยาการ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
วลิตพร จโิ นทา

ออกแบบปก
วาสทิ ธิ์ อนันตวิเชียร

ขอ้ มูลทางบรรณานุกรม
สหวทิ ยาการ: ยิ่งลักษณ์ กาญจนฤกษ,์ (บรรณาธิการ)
วทิ ยาลยั สหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2565

ติดต่อกองบรรณาธิการ
หฤทยั รตั น​์ ศรีจนั ทร์ขา�
วลิตพร​จโิ นทา

กองบรรณาธกิ ารวารสารสหวิทยาการ
วิทยาลยั สหวทิ ยาการ​มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
เลขที่​2​ถนนพระจันทร์​แขวงพระบรมมหาราชวัง

เขตพระนคร​จงั หวดั กรงุ เทพฯ​10200

email: [email protected]

โทรศัพท์ 02-6132841 (ท่าพระจันทร์)
โทรศัพท์ 054-237-999 ต่อ 5338 (ศนู ย์ลาำ ปาง)
สง่ บทความเพอื่ ขอลงตีพมิ พใ์ นวารสารสหวิทยาการ ไดท้ ี่

https://ci.tu.ac.th/journal

บทความทศั นะ ขŒอคิดเห็น ภาพทป่ี รากฏ
ในวารสารเลม‹ นี้เปนš ความคิดเหน็ ส‹วนตวั ของผเŒู ขียน
บรรณาธิการและกองบรรณาธกิ าร ไมจ‹ าํ เปนš ตอŒ งเหน็ พอŒ งดวŒ ย

และไม‹ถือเปšนความรบั ผิดชอบ
ลขิ สิทธิ์เปนš ของผเูŒ ขยี น และวิทยาลยั สหวิทยาการ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร

การตพี มิ พซาํ้ ตŒองไดรŒ ับอนญุ าตจากผŒูเขยี น
และวิทยาลัยสหวทิ ยาการโดยตรงและเปนš ลายลกั ษณอักษร

วารสารสหวิทยาการ

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
Journal of Integrated Sciences

วตั ถปุ ระสงค์ของวำรสำร

วารสารสหวิทยาการเป็นวารสารท่มี ่งุ น�าเสนอองค์ความร้ใู นหลายสาขา
วชิ าเพอ่ื อธบิ ายปรากฏการณท์ างสงั คมทเ่ี กดิ ขนึ้ ทงั้ ในและตา่ งประเทศในแตล่ ะ
ห้วงเวลานับแต่อดีตจนถงึ ปัจจุบัน​ทง้ั ยงั ตระหนักดวี ่า​ปรากฏการณท์ างสังคม
ในโลกปัจจุบันได้ทวีความซับซ้อนขึ้นทุกขณะ​ การท�าความเข้าใจโลกหรือ
ปรากฏการณ์ทางสังคมท่ีเกิดข้ึนด้วยมุมมองแบบเชิงเด่ียวอาจไม่เพียงพอ
อีกต่อไป​ ดังน้ัน​ วารสารสหวิทยาการจึงเปิดพื้นที่ให้นักวิชาการในหลายสาขา
ความรู้ได้มีโอกาสแบ่งปันข้อมูล​ ความคิดและจุดยืนของตนต่อปรากฏการณ์
ทเี่ กดิ ขน้ึ ​เพอื่ รว่ มกนั สรา้ งสรรคแ์ ละพฒั นาความรทู้ างวชิ าการและงานวจิ ยั ทาง
ดา้ นสหวทิ ยาการ​ซง่ึ วารสารมกี า� หนดออกปลี ะ​2​ฉบบั ​คอื ​ฉบบั ท​่ี 1​(มกราคม-
มิถนุ ายน)​และฉบบั ที่​2​(กรกฎาคม-ธนั วาคม)

อนงึ่ ​วารสารฯ​ไดจ้ ดั ทา� ขน้ึ เพอ่ื สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ อาจารย​์ นกั วชิ าการ​
นกั วจิ ยั ​และนกั ศกึ ษา​ตลอดจนผสู้ นใจทว่ั ไปในการเผยแพรผ่ ลงานวชิ าการดา้ น
สหวิทยาการทางสังคมศาสตร์​ และสร้างเครือข่ายทางวิชาการกับสถาบันการ
ศกึ ษาและหน่วยงานทเี่ ก่ยี วข้อง​

ประเภทของผลงำนวชิ ำกำรทจ่ี ะรบั ตพี มิ พ์

1. บทความวชิ าการ (Academic Article)
2. บทความวจิ ัย (Research Article)

ขอบเขตของสำขำวิชำท่เี ปดิ รับ

วารสารสหวิทยาการเปิดรับบทความด้านสังคมศาสตร์และด้าน
สหวทิ ยาการทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั รฐั ศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สงั คมวทิ ยา มานษุ ยวทิ ยา
ประวตั ศิ าสตร์ สงั คมสงเคราะห์ นเิ ทศศาสตร์ การศกึ ษา และสงั คมศาสตรส์ าขา
อนื่ ๆ

ก�ำหนดกำรออกวำรสำร

วารสารสหวทิ ยาการของวทิ ยาลยั สหวทิ ยาการ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
มีกำาหนดออกปลี ะ 2 ฉบบั คือ ฉบบั ที่ 1 ระหวา่ งเดอื นมกราคม-เดอื นมถิ นุ ายน
และฉบับที่ 2 ระหวา่ งเดอื นกรกฎาคม-เดอื นธันวาคม

ข้อก�ำหนดและกำรพจิ ำรณำผลงำนวิชำกำร
เพ่ือลงตีพิมพ์ในวำรสำร

1. ผลงานวิชาการที่รับพิมพ์ในวารสารน้ีต้องไม่เคยเผยแพร่ในวารสาร
รายงานหรอื สงิ่ พมิ พอ์ นื่ ใดมากอ่ น ยกเวน้ เปน็ ผลงานทไ่ี ดน้ าำ เสนอในการประชมุ
ทางวิชาการแบบไมม่ เี ร่อื งเต็ม (Proceeding)

2. ผู้เขียนบทความต้องเขียนบทความตามรูปแบบที่กำาหนดไว้ในส่วน
“คำาแนะนำาสาำ หรบั ผู้เขยี น”

3. ผลงานวชิ าการทส่ี ง่ มาเพอ่ื พจิ ารณาตพี มิ พส์ ามารถเขยี นเปน็ ภาษาไทย
หรือภาษาอังกฤษ แต่ผลงานดังกล่าวต้องมีบทคัดย่อทั้งภาษาไทยและภาษา
อังกฤษ

4. ผลงานวิชาการจะต้องผ่านการประเมินคุณภาพทางวิชาการจาก
กองบรรณาธิการและผู้ทรงคุณวุฒิท่ีมีความเช่ียวชาญในสาขาวิชาท่ีเก่ียวข้อง
จาำ นวนอยา่ งน้อย 2 ท่าน (Double-blind peer review)

5. กรณีที่ผู้ส่งผลงานวิชาการไม่สามารถปรับหรือแก้ไขตามผลการ
ประเมินจากผปู้ ระเมนิ บทความใหแ้ ล้วเสรจ็ ในเวลาทกี่ ำาหนด กองบรรณาธกิ าร
ขอสงวนสิทธพ์ิ จิ ารณายกเลิกกระบวนการเพื่อการตพี มิ พ์

กำรสง่ บทควำมเพ่อื ตีพิมพ์
และกำรแจง้ ยกเลกิ หรอื ถอนบทควำม

• ส่งผ่านชอ่ งทางอเี มล​[email protected]
• ผู้ท่ีประสงค์ท่ีจะส่งบทความเพ่ือขอตีพิมพ์ในวารสารสหวิทยาการ​

สามารถส่งไดท้ ่ี​https://ci.tu.ac.th/journal
• การยกเลกิ บทความ​หรอื การถอนบทความ​มีรายละเอยี ดดังน​้ี

-​ การยกเลิกบทความคือ​ การเพิกถอนบทความก่อนท่ีจะมีการ
ตีพมิ พ์เผยแพร่

-​ การถอนบทความคือ​ การถอนบทความท่ีด�าเนินการตีพิมพ์และ
เผยแพร่เรียบรอ้ ยแลว้

-​ ในกรณกี ารยกเลกิ บทความ​หรอื การถอนบทความ​สามารถตดิ ตอ่
กองบรรณาธกิ ารที่อเี มล:​[email protected]

[ Eบdทiบt oรรr iณa lาธิการ ]

วารสารสหวิทยาการ​ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์​ ปีที่​ 19​ ฉบับที่​ 1​ เปลี่ยน
โฉมเปน็ วารสารอเิ ลก็ ทรอนกิ สฉ์ บบั แรก​ รวมทงั้ ปรบั ปรงุ ระบบใหม้ มี าตรฐานยง่ิ ขน้ึ ไป
และสามารถนา� ไปใชป้ ระโยชนใ์ นการขอตา� แหนง่ วชิ าการได​้ ดว้ ยมกี ารปรบั หลกั เกณฑ์
ผทู้ รงคณุ วฒุ ใิ นการตรวจสอบคณุ ภาพของบทความทม่ี าจากภายนอกสถาบนั ​3​ทา่ น​
ตามประกาศ​ ก.พ.อ.​ เรื่อง​ หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาแต่งต้ังบุคคลให้ด�ารง
ตา� แหนง่ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย​์ รองศาสตราจารย์​และศาสตราจารย​์ (ฉบับท​่ี 4)​พ.ศ.​
2564​ทใี่ หใ้ ชผ้ ลงานทางวชิ าการทไ่ี ดร้ บั การเผยแพรใ่ นวารสารวชิ าการระดบั ชาติ

วารสารสหวิทยาการฉบับน้ีเป็นการน�าเสนอเรื่องราวปรากฎการณ์ทางสงั คม
ทเ่ี ปน็ เรอ่ื งใกลต้ วั และกา� ลงั เปน็ ทสี่ นใจในปจั จบุ นั ทงั้ สน้ิ ​4​บทความ​ทา่ มกลางกระแส
การเมืองของประเทศไทยที่ก�าลังได้รับความสนใจจากการเลือกตั้งผู้ว่าราชการ
กรงุ เทพมหานครทผ่ี า่ นมา​จะเหน็ ไดว้ า่ นโยบายการดา� เนนิ งานเปน็ สว่ นหนงึ่ ทส่ี า� คญั
ในการได้รับความนิยมทางการเมือง​ ซึ่งไม่แตกต่างจากประเทศอินโดนีเซียท่ีน�า
ประเด็นอธิปไตยทางอาหารเป็นส่วนส�าคัญในการสร้างกลยุทธ์ในการหาเสียงเลือก
ต้ังจนได้รับความนิยมทางการเมืองของของรัฐบาลโจโก​ วิโดโด​ จากบทความเรื่อง
แรก “กลยทุ ธก์ ารหาเสยี งเลอื กตง้ั วา่ ดว้ ยเรอ่ื งอธปิ ไตยทางอาหาร ความมนั่ คงทาง
อาหาร และการพึ่งตนเองด้านอาหาร: กรณีศึกษาการเลือกตั้งในประเทศ
อนิ โดนีเซยี ป ค.ศ. 2014”​ เปน็ การนา� เสนอปรากฎการณท์ างสังคมในด้านอาหาร
จนน�าไปสู่ประเด็นการเมือง​ นอกจากนั้นการเมืองกับเร่ืองดนตรีถูกน�าเสนอให้เป็น
เรอ่ื งเดียวกัน​ดังบทความเรอ่ื งทสี่ อง​​“ดนตรกี บั การเมือง: คณุ ภาพชีวติ ทีด่ ีสง่ ผล
ต่อการสร้างสรรค์ของศิลปิน”​ เป็นการเปรียบเทียบศิลปินในฐานะท่ีเป็นแรงงาน
ในระบบทนุ นิยม​และการถกู ขดู รดี ของแรงงานในระบบทนุ นยิ ม​รวมท้ังความสา� คญั

ของรัฐสวัสดิการในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของแรงงานนธุรกิจดนตรี​ เร่ืองที่สาม​
“การวิเคราะห์การขายต่อต๋ัวชมการแข่งขันกีฬาฟุตบอลและการคุ้มครองผู้บริโภค:
ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร และประเทศไทย”
บทความนน้ี า� เสนอมมุ มองของกฎหมายในการคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคในแงม่ มุ ของการกา� กบั
ควบคุมไม่ให้เกิดการเอาเปรียบผู้บริโภคด้วยการค้าก�าไรเกินควรจากการขายต๋ัว
ชมฟุตบอล​ โดยยกตัวอย่างสิทธิของผู้บริโภคและความรับผิดชอบของต่างประเทศ
อย่างสหรฐั อเมรกิ าและสหราชอาณาจักร​​และบทความสดุ ทา้ ยเปน็ เรื่องของกฎหมาย
เช่นเดียวกันแต่เป็นเรื่องเก่ียวกับพินัยกรรมชีวิตซึ่งอาจจะเป็นแง่มุมท่ีแตกต่างจาก
พินยั กรรมท่คี ้นุ เคยในอดตี ​เนื่องจากเป็นพนิ ยั กรรมที่มีผลก่อนทีจ่ ะสิ้นชวี ิตเปน็ สิทธใิ น
วาระสดุ ทา้ ยของชวี ติ ในทางการแพทยซ์ ง่ึ สามารถอา่ นรายละเอยี ดไดจ้ ากเรอื่ ง “นยั ทาง
กฎหมายของพนิ ยั กรรมชวี ติ ตามพระราชบญั ญตั ิสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550”

กองบรรณาธิการวารสารสหวิทยาการ​ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์หวังเป็น
อย่างย่ิงว่า​ วารสารฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้อ่านทุกท่าน​ และขอขอบพระคุณ
ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานของวารสารฯ​ ฉบับน้ี​
รวมท้ังขอขอบคุณท่านผู้อ่านท่ีได้ให้ความสนใจติดตามวารสารฯ​ และหากท่านมี
ข้อเสนอแนะ​ ข้อคิดเห็นเพ่ิมเติมเพื่อการปรับปรุงวารสารให้มีคุณภาพย่ิงขึ้นไปทาง
กองบรรณาธิการยนิ ดเี ป็นอย่างยิ่ง

ยง่ิ ลักษณ์​กาญจนฤกษ์
บรรณาธกิ าร

สCาoรnบtัญe n t

p11 บทที่ 1
p55
กลยุทธการหาเสียงเลือกต้ังว‹าดŒวยเรื่องอธิป ไตย
ทางอาหาร ความมน่ั คงทางอาหาร และการพึง่ ตนเอง
ดŒานอาหาร: กรณีศึกษาการเลือกตั้งในประเทศ
อินโดนีเซียป‚ ค.ศ. 2014

Electoral Strategy as Food Sovereignty, Food Security
and Food Self-Sufficiency: A Case Study of the 2014
Indonesian Presidential Election

วรี ะ หวงั สัจจะโชค
Weera Wongsatjachock

บทท่ี 2

ดนตรกี ับการเมือง: คุณภาพชวี ิตท่ดี สี ง‹ ผล
ตอ‹ การสราŒ งสรรคของศลิ ปน

Political Music: Quality of Life Having a Strong
Effect on the Artist’s Creativity

ชิษณพุ งค์ อินทร์แกว้
Chitsanupong Intarakaew

p91 บทที่ 3

การวเิ คราะหก ารขายต‹อตั๋วชมการแข‹งขัน
กีฬาฟุตบอลและการคมŒุ ครองผูบŒ ริโภค:
ศกึ ษาเปรียบเทียบระหวา‹ งสหรัฐอเมริกา
สหราชอาณาจักร และประเทศไทย

A Critical Appraisal of the Resale of Football Tickets
and Consumer Protection: A Comparative Study
of the USA, the UK and Thailand

ปดี เิ ทพ อยยู่ ืนยง
Pedithep Youyuenyong

p123 บทท่ี 4

นัยทางกฎหมายของพินยั กรรมชวี ติ ตาม
พระราชบัญญัติสขุ ภาพแหง‹ ชาติ พ.ศ. 2550

Legal Implication of the Living Will in the National
Health Act 2007

อภิโชค เกิดผล
Apichoke Kerdpon

1บทที่

กลยุทธก์ ำรหำเสยี งเลอื กตัง้
วำ่ ด้วยเรอื่ งอธปิ ไตยทำงอำหำร
ควำมมน่ั คงทำงอำหำร และกำรพ่งึ ตนเอง
ดำ้ นอำหำร: กรณีศกึ ษำกำรเลอื กต้ัง
ในประเทศอินโดนีเซยี ป‚ ค.ศ. 20141

Electoral Strategy as Food Sovereignty,
Food Security and Food Self-Sufficiency:

A Case Study of the 2014
Indonesian Presidential Election

วรี ะ หวงั สัจจะโชค2
Weera Wongsatjachock

รับบทความ​22​มิถนุ ายน​2564
แกไ้ ขบทความ​7​มกราคม​2565
ตอบรบั บทความ​17​กมุ ภาพนั ธ์​2565
1 บทความวจิ ัยนเี้ ปน็ สว่ นหนึ่งของโครงการ “การพฒั นาสถาบนั ของอธิปไตยทางอาหารในรัฐธรรมนูญ

เปรยี บเทยี บประเทศโบลเิ วยี อนิ โดนเี ซยี และไทย” ไดร้ บั การสนบั สนนุ จากสาำ นกั งานคณะกรรมการ
ส่งเสริมวทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม (สกสว.) สญั ญาเลขที่ MRG6180252
2 คณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร
Corresponding author email: [email protected]

12 วมหาราวสท� ายราสลหัยวธร�ทรยมาศกาสาตรรว ท� ยาลัยสหวท� ยาการ

บทคัดยอ‹

บทความวจิ ยั ฉบบั นีม้ ีเป้าหมายในการทำาความเข้าใจเรื่องการนาำ แนวคดิ
อธิปไตยทางอาหาร ความมั่นคงทางอาหาร การพึง่ ตนเองทางอาหาร มาใช้เป็น
เครื่องมือสำาหรับสร้างกลยุทธ์ในการหาเสียงเลือกตั้ง โดยงานวิจัยใช้วิธีสำารวจ
เอกสารและกรณีศกึ ษาการเลือกตัง้ ปี ค.ศ. 2014 คน้ พบว่าประเด็นเร่ืองการพึ่ง
ตนเองทางอาหารกลายมาเป็นใจกลางการต่อสู้ทางการเมืองอันนำามาสู่ชัยชนะ
ของรัฐบาลโจโก วิโดโด บนฐานของหลักการในรัฐธรรมนูญ กฎหมายอาหาร
และกฎหมายคมุ้ ครองและเสรมิ พลงั เกษตรกร ซง่ึ เปน็ กตกิ าสาำ คญั ในการจดั เรยี ง
สถาบันและกำาหนดแบบแผนพฤติกรรมการต่อสู้ทางการเมืองเรื่องอาหารใน
อินโดนีเซีย และการพัฒนาการเมืองอินโดนีเซียไปสู่การเป็นประชาธิปไตย
บทความวิจัยนี้จึงมุ่งหวังให้เห็นการเปล่ียนแปลงทางสังคมโดยใช้ประเด็นด้าน
อาหาร ไปสปู่ ระเด็นทางการเมอื งเพ่อื หวงั ผลการเลอื กตั้ง

คําสําคัญ:

กลยทุ ธก ารเลอื กตง้ั อธปิ ไตยทางอาหาร ความมนั่ คงทางอาหาร
การพงึ่ ตนเองทางอาหาร

13(มกราคม-ปม‚ทิถ่ี ุน1า9ยฉนบ2ับ5ท65ี่ 1)

Abstract

The purpose of this research article is to understand the
concepts of food sovereignty, food security and food self-sufficiency
as tools in electoral strategy. A case study of the 2014 Indonesian
Presidential Election was conducted and determined that food
self-sufficiency played a critical role in the political issues that
led to the victory of the Joko Widodo government, based on
constitutional proposals regarding food laws and the empowerment
of farmers. These regulations shaped the institutional behavior and
patterning of opponents with regard to political struggles over food
in Indonesia and the government's shift towards democracy. This
research paper aims to pinpoint social changes through food issues
related to election results.

Keywords:

Electoral Strategy, Food Sovereignty, Food Security, Food
Self-Sufficiency

14 วมหาราวสทิ ายราสลหยั วธริทรยมาศกาสาตรรว์ ิทยาลัยสหวิทยาการ

บทนำ�

ในบทความวิจัยนี้ จะกล่าวถึงการเคล่ือนไหวทางการเมืองจากการต่อสู้
ของภาคประชาสงั คมและขบวนการทางการเมอื ง ไปสกู่ ารตอ่ สขู้ องการเมอื งเชงิ
สถาบนั บนหลกั การสรา้ งการพงึ่ พงิ ตวั เองดา้ นอาหาร (Food Self-sufficiency)
ท�ำ ใหแ้ นวคดิ เรอื่ งอธปิ ไตยทางอาหารทป่ี รากฏในรฐั ธรรมนญู และกฎหมายล�ำ ดบั
รอง ถูกนำ�มาใช้เป็นประเด็นในการต่อสู้ทางการเมืองเพื่อเรียกร้อง “อธิปไตย
อิสรภาพ และความยืดหย่นุ ปรับตัวทางอาหาร” (Food sovereignty, Food
independence, Food resilience) ซ่ึงกระบวนการดังกล่าวเกิดขึ้นภายใต้
บริบทของการเปล่ียนผ่านและการพัฒนาการเมืองอินโดนีเซียไปสู่การเป็น
ประชาธิปไตยด้วยการเลอื กตั้งปี ค.ศ. 2014

โครงสร้างของบทความน้ีประกอบไปด้วยสามส่วนหลักด้วยกัน โดย
ส่วนแรกเป็นการทบทวนวรรณกรรมเก่ียวกับอธิปไตยทางอาหาร ความมั่นคง
ทางอาหาร และการพงึ่ พงิ ตนเองดา้ นอาหาร สว่ นทสี่ องกลา่ วถงึ วธิ วี จิ ยั ดว้ ยการ
วจิ ยั เอกสารและการใช้กรณีศึกษา และส่วนทสี่ ามกลา่ วถึงผลการศึกษาซ่ึงเปน็
จดุ เปลยี่ นของการเมอื งอินโดนีเซียคอื การเลือกตัง้ ปี 2014 ที่ประเดน็ เรอ่ื งการ
พึ่งตนเองทางอาหารกลายมาเป็นใจกลางการต่อสู้ทางการเมืองอันนำ�มาสู่
ชยั ชนะของรฐั บาลโจโก วโิ ดโด และสว่ นทส่ี ามจะคลค่ี ลายใหเ้ หน็ ถงึ ตวั บทและ
หลักการในรัฐธรรมนูญ กฎหมายอาหาร และกฎหมายคุ้มครองและเสริมพลัง
เกษตรกร ซ่ึงเป็นกติกาสำ�คัญในการจัดเรียงสถาบันและกำ�หนดแบบแผน
พฤติกรรมในการตอ่ สู้ทางการเมอื งเรอ่ื งอาหารในอนิ โดนเี ซีย

15(มกราคม-ปมีทิถ่ี ุน1า9ยฉนบ2ับ5ท65่ี 1)

ทบทวนวรรณกรรม

ในงานศกึ ษาทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั อธปิ ไตยทางอาหารใหเ้ ปน็ แนวทางการศกึ ษา
(approach) เป็นเครื่องมือในการช่วยอธิบายปรากฏการณ์เก่ียวกับการ
เปลี่ยนแปลงในภาคเกษตรกรรม กระบวนการอาหาร การจัดการท่ีดิน การ
จัดสรรทรัพยากรใหม่ การกระจายอ�ำนาจ และการส่งเสริมประชาธิปไตยทาง
อาหารเพอื่ ใหป้ ระชาชนมสี ทิ ธคิ วบคมุ การผลติ และการบรโิ ภคอาหารของตนเอง
รวมไปถงึ ปอ้ งกนั การผกู ขาดระบอบอาหารของรฐั และบรรษทั ขา้ มชาติ สามารถ
จัดแนวทางในการศกึ ษาออกเปน็ 3 กลมุ่ ดงั ต่อไปนี้

กลุ่มการศึกษาแรก สิทธิในอธิปไตยทางอาหาร (Rights to Food
Sovereignty) เป็นการศึกษาอธิปไตยทางอาหารในด้านของการจัดการ
“อ�ำนาจ” ในการจดั การกบั กระบวนการอาหาร ตง้ั แตต่ น้ นำ�้ จนถงึ ปลายนำ�้ ของ
ประชาชนและชุมชน โดยอ�ำนาจดงั กล่าวไม่ใช่ประเด็นทางการเมืองเพยี งอย่าง
เดยี ว แตจ่ ะตอ้ งวเิ คราะห์ร่วมกบั ประเด็นในทางเศรษฐกิจและสังคมวฒั นธรรม
ด้วย เพอื่ สะท้อนใหเ้ ห็นถงึ ความเท่าเทียมกนั ในระบบอาหาร

ตัวอย่างของงานกลุ่มน้ี เช่น งานศึกษาของแมคไมเคิลและชไนเดอร์
(McMichael and Schneider, 2011) ท่ไี ดศ้ ึกษาขอ้ ถกเถียงของ “การเมือง”
ในการใช้กรอบความมั่นคงทางอาหารในการศึกษาความยากจนท่ีต้องเผชิญ
กับความท้าทายจากกลุ่มอธิปไตยทางอาหารที่พยายามเข้ามาพูดถึงความ
หลากหลายทางนิเวศเกษตรกรรม (agro-ecological method) และการจัด
สวสั ดกิ ารชว่ ยเหลอื ในระดบั ทอ้ งถนิ่ เพอ่ื ใหอ้ �ำนาจมาอยกู่ บั ชมุ ชนและเกษตรกร
ขนาดเล็ก แทนทจ่ี ะไปอยู่ในมอื ของกลไกตลาด

ประกอบกบั งานของเทราเกอร์ (Trauger, 2014) ทกี่ ลา่ วถงึ ความลม้ เหลว
ของแนวคิดความมั่นคงทางอาหารในการจัดการกับปัญหาความหิวโหยและ
ความยากจนภายใต้บริบทของเศรษฐกิจการเมืองโลกแบบรัฐเสรีนิยมใหม่

16 มวหาราวสทิ ายราสลหยั วธรทิ รยมาศกาสาตรรว์ ิทยาลยั สหวิทยาการ
(neoliberal state) จงึ น�ำมาสู่การเกดิ ขน้ึ ของแนวคิดอธปิ ไตยทางอาหารท่จี ะ
เขา้ มาก�ำหนดอาณาบรเิ วณในการท�ำความเขา้ ใจเรอ่ื งอาหารใหมใ่ นฐานะทเี่ ปน็
“ทางเลอื กของทางเลือกอน่ื ๆ” (the alternativeness of the alternatives)
ที่ไม่ใช่แค่กลไกเติมเต็มระบบทุนนิยมแบบความม่ันคงทางอาหาร แต่อธิปไตย
ทางอาหารจะเป็นแนวทางการต้ังค�ำถามและเคลื่อนไหวไปพร้อมกับขบวนการ
ทางสงั คมในการตอ่ ตา้ นรัฐทนุ นยิ มและระบบกลไกตลาดเสรี

นอกจากน้ียังมีงานสายการพัฒนาประชาธิปไตยทางอาหาร (food
democratization) เหน็ ไดใ้ นหนงั สอื รวมบทความของมารช์ นิ เกอรว์ นิ (Marcin
Gerwin, 2011) เรือ่ ง Food and Democracy ท่ไี ดน้ �ำบทความส�ำคัญของ
นกั วชิ าการทศ่ี กึ ษาประชาธปิ ไตยในระบบอาหารผา่ นกรอบอธปิ ไตยทางอาหาร
มารวมไว้ ท้ังในด้านการออกแบบประชาธิปไตยจากคนข้างล่าง การลดความ
หวิ โหยดว้ ยประชาธปิ ไตย การเขา้ ถงึ ทด่ี นิ และสรา้ งระบบนเิ วศทยี่ ง่ั ยนื ดว้ ยกลไก
ประชาธปิ ไตยทางอาหาร ซง่ึ ไมใ่ ชเ่ พยี งกลไก “เตมิ เตม็ ” ของประชาธปิ ไตยแบบ
ตัวแทน (representative democracy) แต่เป็นการสร้างกระบวนการ
ประชาธปิ ไตยใหมท่ คี่ รอบคลมุ ทง้ั การเมอื ง เศรษฐกจิ และสงั คม เพอ่ื หาระบอบ
ในการจัดสรรอ�ำนาจใหม่ให้เป็นธรรมกับผู้มีส่วนได้เสียในกระบวนการอาหาร
ในทกุ ขน้ั ตอน ต้งั แต่ท้องถ่นิ ถึงระดบั ชาติ และนานาชาติ

อกี ตวั อยา่ งคอื การศกึ ษาเรอ่ื งอาหารกบั ความหลากหลายทางวฒั นธรรม
ของราช ปาเทลและคณะ (Raj Patel et. al., 2015) ท่ีได้ท�ำวิจัยสนาม
ในประเทศมาลาวี (ตั้งอยู่บริเวณแอฟริกาตะวันออก) เพ่ือศึกษาโครงการ
ของประเทศ G8 ท่ีช่ือว่า “พันธมิตรใหม่ของความมั่นคงทางอาหารและ
โภชนาการ” (The New Alliance for Food Security and Nutrition)
พบว่าโครงการพัฒนาดังกล่าวแทบไม่ได้ช่วยสร้างความหลากหลายทาง
โภชนาการ และยังน�ำมาซึ่งการแปรรูปกระบวนการอาหารไปสู่มือของเอกชน

17(มกราคม-ปมที ิถ่ี ุน1า9ยฉนบ2บั 5ท65่ี 1)
(privatization) โดยงานศกึ ษาไดไ้ ปรว่ มกบั กลมุ่ ประชาสงั คมมาลาวอี ยา่ ง “กลมุ่
ชุมชนหลากหลายเพื่อดิน อาหาร และสุขภาพ” (The Soils, Food and
Healthy Communities Initiative) เพอ่ื เปรยี บเทยี บการเคลอ่ื นไหวทางสงั คม
ของชุมชนในการสร้างนิเวศเกษตรกรรม ความหลากหลายทางโภชนาการ การ
สร้างส�ำนึกถึงความหลากหลายทางวัฒนธรรม และความเท่าเทียมกันทางเพศ
ซึ่งผลการศึกษาพบว่าการจัดการด้านโภชนาการมีส่วนส�ำคัญในการสร้าง
เสรีภาพ (freedom) ในสังคม

ในด้านของการสร้างกฎกติกาและออกแบบสถาบันการเมืองในการ
เปลี่ยนแนวคิดอธิปไตยทางอาหารไปสู่กฎหมายที่สามารถน�ำไปปฏิบัติได้
ตวั อยา่ งเชน่ งานของเอเดลแมน (Edelman, 2014) ทศ่ี กึ ษาการเคลอื่ นไหวของ
ขบวนการทางสังคมท่ีส่งเสริมแนวคิดอธิปไตยทางอาหารผ่านการสร้างชุดของ
กฎกติกา บรรทัดฐาน และแนวทางปฏิบัติ ให้เกิดขึ้นในประเทศเม็กซิโกและ
คอสตาริกา และงานของแมคเคย์ เนห์ริง และวอลช-์ ไดลีย์ (McKay, Nehring
and Walsh-Diley, 2014) ทศี่ กึ ษาการออกแบบสถาบนั การเมอื งอธปิ ไตยทาง
อาหารผ่านการศึกษาเปรียบเทียบกฎกติกาเชิงสถาบันในรัฐธรรมนูญของ
ประเทศเวเนซเุ อลา เอกวาดอร์ และโบลเิ วยี โดยมองวา่ เปน็ “โครงการทางการ
เมือง” (political project) ที่แต่ละประเทศออกแบบรัฐธรรมนูญในแนวคิด
อธิปไตยทางอาหารเพื่อตอบโจทย์ปัญหาเฉพาะของประเทศตวั เอง

กลุ่มการศึกษาที่สอง สิทธิเข้าถึงอาหาร (Food Accessibility) เป็น
กรอบการศึกษาท่ีเน้นเร่ืองของ “ผู้บริโภค” ในด้านของกิจกรรมมนุษย์
ในการจัดการทรัพยากรและแบบแผนในการบริโภคท่ีจะน�ำไปสู่ความย่ังยืน
(sustainability) ซง่ึ เกยี่ วขอ้ งกบั ปญั หาการผกู ขาดในเรอื่ งของเมลด็ พนั ธ์ุ กลไก
ราคาอาหาร วิกฤตราคาอาหาร และกฎระเบียบเชิงสถาบันทั้งในและระหว่าง
ประเทศ

18 มวหาราวสทิ ายราสลหัยวธรทิ รยมาศกาสาตรรว์ ิทยาลยั สหวิทยาการ
ตัวอย่างในงานกลุ่มน้ี เช่น การสร้างอธิปไตยทางเมล็ดพันธุ์ (seed

sovereignty) อยา่ งงานของคลอปเพนเบริ ก์ (Kloppenburg, 2014) ทไี่ ดศ้ กึ ษา
ข้อถกเถียงในเร่ืองของสิทธิทางเมล็ดพันธุ์ที่ถูกควบคุมด้วยกฎหมายทรัพย์สิน
ทางปญั ญา ทกี่ ลายมาเปน็ ขอ้ จ�ำกดั ในการแลกเปลย่ี นและพฒั นาเมลด็ พนั ธข์ุ อง
ชาวนารายย่อย จึงน�ำมาสู่การศึกษาองค์กรเมล็ดพันธุ์อย่าง Open Source
Seed Initiative (OSSI) ซึ่งเข้ามาช่วยเหลือและส่งเสริมแนวคิดให้ชาวนา
รายยอ่ ยและบรษิ ทั ขนาดเลก็ สามารถเขา้ ถงึ การแลกเปลยี่ นและพฒั นาเมลด็ พนั ธ์ุ
ได้ โดยน�ำแนวคดิ ของอธิปไตยทางอาหารมาปรบั ใช้

ในงานศึกษาเก่ียวกับเร่ืองกลไกราคาอาหาร และวิกฤตราคาอาหาร
เห็นได้จากงานของแบร์ราคลัฟและกาเมียร์ (Barraclough and Ghimire,
2000) ท่ีศึกษาปรากฏการณ์โลกาภิวัตน์ทางเศรษฐกิจในด้านการขยายพ้ืนท่ี
เกษตรกรรมและปัญหาการลดพ้ืนที่ป่าผ่านมุมมองของเร่ืองการค้าระหว่าง
ประเทศทสี่ ง่ ผลกระทบตอ่ การจดั สรรทด่ี นิ และความยากจนในประเทศแอฟรกิ า
เอเชียตะวันออก และอเมริกาใต้ ประกอบกับงานของเบนส์ (Baines, 2013)
ที่ได้ทำ�การศึกษาสภาวะเงินเฟ้อในราคาอาหารในฐานะการจัดสรรทรัพยากร
ใหม่ กล่าวถึงการหาส่วนแบ่งทางการตลาดของธุรกิจอาหารและเครือข่ายการ
ค้าอาหาร (Agro-Trader nexus) ในฐานะเศรษฐกจิ การเมืองสากลเร่ืองอาหาร
ใหม่ในการจัดการกับระบบอาหารโลก

กลมุ่ การศกึ ษาที่สาม สทิ ธขิ องชาวนา (Peasant Rights) เปน็ กลมุ่ งาน
ศึกษาท่ีเน้นไปท่ี “ผู้ผลิต” โดยดูเร่ืองการสร้างประชาธิปไตยทางตรง (direct
democracy) ท่ีจะช่วยเสริมสร้างความสามารถในการตัดสินใจให้กับชาวนา
การออกแบบกลไกเชิงสถาบันเพ่ือสร้างการมีส่วนร่วม สิทธิของกลุ่มเกษตรกร
ขนาดเล็ก (small-farmer rights) การจัดการกับปัญหาความเสี่ยงและความ
เปราะบางของชาวนา โดยกลมุ่ การศกึ ษานมี้ กี ารกลา่ วถงึ ประเดน็ สทิ ธมิ นษุ ยชน

19(มกราคม-ปมีทิถี่ ุน1า9ยฉนบ2ับ5ท65ี่ 1)
และสิทธิพลเมอื งจ�ำนวนมาก

ตวั อยา่ งงานทเ่ี กย่ี วกบั สทิ ธขิ องชาวนา ทงั้ ในเรอื่ งสทิ ธมิ นษุ ยชนและสทิ ธิ
พลเมืองมีอยูจ่ �ำนวนมาก ยกตัวอยา่ งเชน่ รายงานการเคลอ่ื นไหวของขบวนการ
ชาวนาโลกโดยพริสซลิ ลา เคลยส์ (Priscilla Claeys, 2013) ทไี่ ด้สรุปภาพรวม
20 ปขี องขบวนการลา เวยี กมั เปซินา (La Via Campesina) ในการสง่ เสรมิ
และพัฒนาสิทธิมนุษยชนให้กับชาวนาและเกษตรกรรายย่อยท่ัวโลก โดยการ
เคล่ือนไหวของขบวนการภายใต้แนวคิดอธิปไตยทางอาหารได้ “ก้าวข้าม”
ข้อจ�ำกัดของแนวคดิ สทิ ธมิ นษุ ยชนแบบเดมิ ไปสูก่ ารสรา้ งสิทธขิ องประชาชนใน
การมอี �ำนาจเหนอื กลไกตลาดและสทิ ธขิ องชาวนาในการก�ำหนดทรพั ยากรและ
วิถีชวี ติ ในฐานะผผู้ ลติ อาหารด้วยตวั เอง ไม่ใช่ปล่อยใหก้ ลไกตลาดหรอื นโยบาย
ของรัฐมาก�ำหนดวิถกี ารผลิตและวถิ ีชีวิตของชาวนา

ในส่วนของงานเกี่ยวกับขบวนการชาวนาที่เป็นการต่อต้านจากท้องถิ่น
(local resistance) ยกตัวอย่างเช่นงานของแอร์สและโบเซีย (Ayres and
Bosia, 2011) ทศี่ กึ ษาขบวนการอธปิ ไตยทางอาหารในฐานะทเ่ี ปน็ พลงั ปฏกิ ริ ยิ า
ต่อต้านกระแสโลกาภิวัตน์ โดยอธิปไตยทางอาหารกลายมาเป็นแนวคิดให้กับ
ขบวนการชาวนาในท้องถิ่นลุกขึ้นมาต่อต้านการเข้ามาของโลกาภิวัตน์ทาง
เศรษฐกจิ แตก่ ารจะกลา่ วถงึ ขบวนการดงั กลา่ วเปน็ ขบวนการตอ่ ตา้ นโลกาภวิ ตั น์
(anti-globalization movement) อาจจะไม่ได้ เพราะการต่อต้านในระดับ
ท้องถ่ินของชาวนาได้มีการท�ำงานเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายกับขบวนการชาวนา
ในระดบั สากลดว้ ยเพอื่ สรา้ งการเคลอ่ื นไหวในการเปลย่ี นแปลงทางการเมอื งและ
สงั คมใหม่ โลกาภวิ ตั นจ์ งึ กลายเปน็ เครอ่ื งมอื สรา้ งความเขม้ แขง็ ใหก้ บั ขบวนการ
ต่อตา้ นของชาวนาทอ้ งถนิ่ เช่นกนั

เม่ือหันมาพิจารณาแนวการศึกษาชาวนาในฐานะผู้ถูกกีดกันทางสังคม
(social exclusion) ในฐานะ “ผแู้ พจ้ ากระบบเศรษฐกจิ ” จะพบวา่ แนวทางการ

20 มวหาราวสทิ ายราสลหัยวธริทรยมาศกาสาตรรว์ ทิ ยาลัยสหวิทยาการ
ศึกษาด้านอธปิ ไตยทางอาหาร โดยในงานของโบเยอร์ (Boyer, 2010) ได้ชใี้ ห้
เหน็ ถงึ ปญั หาของชาวนาในกลมุ่ ลาตนิ อเมรกิ าอยา่ งประเทศฮอนดรู สั ซง่ึ ถกู ท�ำให้
เปน็ ชายขอบจากระบบอตุ สาหกรรมและบรรษทั เกษตรกรรมอาหารโลกในชว่ ง
ปลายศตวรรษที่ 20 จนน�ำมาสูก่ ารน�ำแนวคิดอธิปไตยทางอาหารมาขับเคลอื่ น
ขบวนการชาวนาและร่วมมือกับลา เวีย กัมเปซินาในการสร้างความเข้มแข็ง
ระหวา่ งกลมุ่ ชาวนาขนาดเลก็ ในทอ้ งถน่ิ และขบวนการสหภาพชาวนา (peasant
union) เพอ่ื สง่ เสรมิ สทิ ธใิ นทางเศรษฐกจิ และการเมอื ง เหน็ ไดจ้ ากการเรยี กรอ้ ง
เร่ืองปัญหาความอดอยาก ความยากจน และไปไกลถึงการสร้างขบวนการ
ประชาชนในการตอ่ ตา้ นรฐั ประหารของกองทพั

อีกตวั อย่างของสิทธขิ องชาวนา คอื ประเดน็ สิทธใิ นเรอื่ งของเพศและลด
การเลือกปฏิบัติทางเพศ (gender discrimination) ภายใต้แนวคิดอธิปไตย
ทางอาหาร ตัวอย่างเช่นงานของปาเทล (Patel, 2012) กล่าวถึงแนวคิดเร่ือง
เพศสภาวะเปน็ หัวใจส�ำคัญในการท�ำความเข้าในความไม่ม่นั คงทางอาหารและ
สภาวะขาดสารอาหาร เนื่องจากเพศหญิงและเด็กผู้หญิงมักมีสัดส่วนในการ
ถกู ลดิ รอนทางอ�ำนาจสงู กวา่ ในการเมอื งของกระบวนการผลติ การบรโิ ภค และ
การแจกจา่ ยอาหาร สง่ ผลใหใ้ นแถลงการณข์ องกลมุ่ ลา เวยี กมั เปซนิ าไดย้ กเรอ่ื ง
สิทธิทางเพศมาเป็นประเด็นเคลื่อนไหวส�ำคัญ ดูได้จากค�ำประกาศว่าด้วยสิทธิ
ของชาวนา “หญงิ และชาย” (Declaration of Rights of Peasants - Women
and Men) ท่ีให้ค�ำวา่ “หญงิ ” ข้ึนน�ำก่อน และการตระหนักถงึ สิทธสิ ตรไี ด้รับ
ผลกระทบมากท่ีสุด ผู้หญิงต่างตกเป็นเหย่ือของความรุนแรงทั้งทางกายภาพ
ทางจติ ใจ และทางเศรษฐกจิ จนถกู เลอื กปฏบิ ตั ใิ นการเขา้ ถงึ ทดี่ นิ และทรพั ยากร
เพอ่ื การผลิต รวมท้งั กลายเปน็ คนชายขอบในกระบวนการตัดสินใจ

อย่างไรก็ดี การศึกษาอธิปไตยทางอาหารต้องไม่ลืมว่ากรอบการศึกษา
ดังกล่าวไม่ใช่เพียงกรอบความคิดรวบยอดในการวิเคราะห์ทางวิชาการเท่าน้ัน

21(มกราคม-ปมีทิถี่ ุน1า9ยฉนบ2ับ5ท65่ี 1)

แตเ่ ปน็ รปู แบบปฏบิ ตั กิ ารทางสงั คม (social practice) ทจ่ี �ำเปน็ จะตอ้ งเชอื่ มโยง
องคค์ วามรแู้ ละน�ำมาสคู่ วามเปลย่ี นแปลงได้ (praxis) ดว้ ยเหตนุ ท้ี �ำใหก้ รอบการ
ศึกษาของอธิปไตยทางอาหารมีเป้าหมายในการเปล่ียนแปลงสังคม เพื่อสร้าง
ความเปน็ ธรรมในระบบอาหาร พฒั นาประชาธปิ ไตยฐานราก และคมุ้ ครองสทิ ธิ
ของชาวนา โดยภาคปฏบิ ตั กิ ารทนี่ �ำมาศกึ ษาในงานวจิ ยั นเ้ี ปน็ เรอ่ื งของ “กลยทุ ธ์
ในการเลือกตั้ง” (electoral strategy) ท่ีเปล่ียนแนวคิดไปสู่การปฏิบัติจริง
ในการเลอื กตงั้

วธิ วี ิจยั

ในงานวจิ ยั ฉบบั นใ้ี ชร้ ะเบยี บวธิ วี จิ ยั เชงิ คณุ ภาพ (qualitative research)
โดยวธิ วี ทิ ยาอยู่ภายใตก้ รอบของการตีความ (interpretative methodology)
โดยมรี ะเบยี บวธิ วี จิ ยั (research methods) คอื การวจิ ยั เอกสาร (documentary
research) ทงั้ เอกสารชน้ั ตน้ และชนั้ รอง เชน่ บทความทางวชิ าการ ขา่ วในสอ่ื สาร
มวลชน เอกสารแถลงการณ์ทางการเมือง และรัฐธรรมนญู เปน็ ต้น และกรณี
ศึกษา (case study) (Yin, 2009) เพื่อน�ำผลการศึกษาไปอธบิ ายความสัมพนั ธ์
ในระดับภาพรวม ซึ่งการเลือกกรณีศึกษาอินโดนีเซียด้วยเหตุผลที่ว่าการเลือก
ตั้งในปี ค.ศ. 2014 เป็นการเปล่ียนแปลงส�ำคัญท่ีสะท้อนให้เห็นถึงการพัฒนา
ประชาธปิ ไตยในการเปลยี่ นผา่ นจากระบอบทมี่ แี งม่ มุ อ�ำนาจนยิ มในอดตี สรู่ ฐั บาล
ที่มาจากพลเรือน และประเทศอินโดนีเซียเป็นประเทศในเอเชียตะวันออก
เฉยี งใตท้ ม่ี ขี บวนการชาวนาและประชาสงั คมเกยี่ วกบั ชาวนาไดท้ �ำการเคลอ่ื นไหว
ในการปฏิรูปรัฐธรรมนูญในช่วงปลายทศวรรษ 1990 เป็นฐานส�ำคัญในการ
เคล่ือนไหวของกลุ่มประชาสังคมระหว่างประเทศ ลา เวีย กัมเปซินาในช่วง
ศตวรรษท่ี 21 ภายใตก้ ลมุ่ ทเ่ี รยี กวา่ เซรกี ตั ปตั ตานี อนิ โดนเี ซยี (Serikat Petani
Indonesia: SPI) ซึ่งพัฒนาโดยกลุ่มสหภาพชาวนาในสหพันธ์อินโดนีเซีย

22 วมหาราวสทิ ายราสลหัยวธรทิ รยมาศกาสาตรรว์ ทิ ยาลยั สหวทิ ยาการ

(Federation of Indonesian Peasants Unions: FSPI) ร่วมผลักดันเพอื่ น�ำ
กฎบัตรว่าด้วยสิทธิชาวนา (Peasants Rights Charter) มาใช้บัญญัติใน
รฐั ธรรมนญู เพอ่ื รบั รองสทิ ธชิ มุ ชนของชาวนาในการจดั การระบบอาหารในชมุ ชน
ของตนเอง (Claeys, 2015)

โดยงานวิจัยจะมีการตรวจสอบความเชื่อมั่น (Reliability) ในการเก็บ
ขอ้ มลู ดว้ ยวธิ กี ารตรวจสอบสามเสา้ (Triangulation) ระหวา่ งการปรบั ใชท้ ฤษฎี
กรณีศึกษา และข้อมลู จากตวั บทกฎหมายในรัฐธรรมนญู ในลักษณะการตรวจ
สอบวธิ ีการเชิงคุณภาพระหว่างกัน

ผลการวิจัยและอภปิ ราย

ผลการเลือกตั้งใน ค.ศ. 2014 ชัยชนะของประธานาธิบดีโจโก วิโดโด
(Joko Widodo) ทไ่ี ดเ้ ข้ามาด�ำรงต�ำแหนง่ ประธานาธิบดีคนทเ่ี จด็ ของประเทศ
อินโดนีเซีย (2014-ปัจจุบัน) ผ่านการเลือกต้ังมาจากพรรคประชาธิปไตย
อนิ โดนเี ซยี แหง่ การตอ่ สู้ (Indonesian Democratic Party of Struggle: PDI-P)
และเป็นประธานาธิบดีคนแรกของอินโดนีเซียท่ีไม่ได้มาจากกลุ่มทุนรายใหญ่
หรือกลุ่มทางทหาร (Leinbach et.al., 2019) สะท้อนให้เห็นภาพของ
กระบวนการพัฒนาประชาธิปไตยในอินโดนเี ซยี

การเลอื กตง้ั เมอ่ื เดอื นกรกฎาคม ค.ศ. 2014 แมโ้ จโก วโิ ดโดจะถกู ทา้ ทาย
โดยอดตี ประธานาธบิ ดีซซู โิ ล บัมบัง และอดตี นายพลอยา่ งปราโบโว สเุ บยี นโต
(Prabowo Subianto) จากพรรคเกอรนิ ดรา (Partai Gerkan Indonesia Raya:
Gerindra) ท่ีได้สร้างพันธมิตรกับพรรคอ่ืน ๆ ในสภาอย่างพรรคพีดี (PD)
โกลคาร์ (Golkar) และพพี พี ี (Muslim PPP) อยา่ งไรกต็ ามโจโก วโิ ดโด กส็ ามารถ
ผ่านพ้นการเลือกตั้งในคร้ังดังกล่าวมาได้ โดยแรงสนับสนุนจากประชาชนและ
ภาคประชาสงั คมกลมุ่ ตา่ ง ๆ ทมี่ คี วามหวงั ในการมสี ว่ นรว่ มในการพฒั นาประเทศ

23(มกราคม-ปมที ิถี่ ุน1า9ยฉนบ2ับ5ท65่ี 1)
และพัฒนากฎหมายกฎระเบียบต่าง ๆ ของสังคมให้มีความยุติธรรมและ
เท่าเทียมกันมากขึ้น ซ่ึงเป้าหมายของประธานาธิบดีคนที่เจ็ดของประเทศ
อินโดนีเซียอย่างโจโก วิโดโดในช่วงของการหาเสียงได้กล่าวถึงเป้าหมาย
การพัฒนาเสถียรภาพทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยให้มากย่ิงข้ึน รวม
ถึงปรับเปลี่ยนรูปแบบการปกครองส่วนท้องถิ่นให้ดียิ่งข้ึน (Leinbach et.al.,
2019; ศนู ย์มานษุ ยวทิ ยาสริ นิ ธร, 2559)

ในการทำ�ความเข้าใจการเมืองเรื่องความมั่นคงทางอาหารและการสร้าง
อธิปไตยทางอาหารจำ�เป็นจะต้องเข้าใจการเปล่ียนแปลงทางการเมืองในยุค
หลงั ซฮู ารโ์ ต (Post-Soeharto Politics) ทอ่ี �ำ นาจในการบรหิ ารงานอยใู่ นบทบาท
ของประธานาธบิ ดีซซู โิ ล บมั บงั ยโู ดโยโน (Susilo Bambang Yudhoyono)
ในฐานะท่ีเป็นนักบูรณภาพทางการเมือง (political integrationist) ท่ี
พยายามรวมความเป็นอินโดนีเซียให้เป็นหน่ึงเดียวกันด้วยนโยบายสายกลาง
และการสร้างสมดุลทางการเมือง-อุดมการณ์ (politico-ideological
equilibrium) ในการใหก้ ลมุ่ ทางการเมอื งทง้ั ภายในและระหวา่ งประเทศยอมรบั
การปกครองของตน

อยา่ งไรกด็ ี กวา่ ทศวรรษของการปกครองของประธานาธบิ ดซี ซู โิ ล บมั บงั
ยูโดโยโน (2004-2014) ได้น�ำมาสู่การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองใหญ่ใน
การเลอื กตงั้ ค.ศ. 2014 ระหวา่ งโจโก วโิ ดโด และนายพลปราโบโว ซเู บียนโต
ซ่ึงงานของมิตซ์เนอร์ (Mietzner, 2015) ชี้ให้เห็นว่าเป็นการต่อสู้ระหว่าง
นกั การเมอื งสายประชานยิ ม (populist) ทนี่ �ำไปสกู่ ารเมอื งทม่ี กี ารแบง่ ขวั้ แยกขา้ ง
อย่างชดั เจน (polarization) ในอนิ โดนีเซยี

แมป้ ระธานาธบิ ดซี ซู โิ ลจะมลี กั ษณะทเ่ี ปน็ นกั การเมอื งสายกลาง (political
moderator) แตก่ ารแข่งขันในการเลือกตั้งปี 2014 สะทอ้ นให้เหน็ วา่ ระหว่าง
ระหว่างโจโก วิโดโด และปราโบโว ซูเบยี นโต เป็นการต่อสู้ของนักการเมืองท่ีมี

24 วมหาราวสิทายราสลหัยวธรทิ รยมาศกาสาตรรว์ ิทยาลยั สหวทิ ยาการ
ความเป็นผู้น�ำ (political leader) ท่ีมีนโยบายหลายด้านแตกต่างกันอย่าง
ชัดเจน โดยโจโก วิโดโด ได้ภาพของอดีตผู้ว่าเมืองจาการ์ตาท่ีเป็นคนรุ่นใหม่
ชนชน้ั กลาง และเปน็ กลมุ่ พลเรอื นทเ่ี นน้ นโยบายประชานยิ มสายกลางจากเรอ่ื ง
ปญั หาปากทอ้ ง ในขณะทป่ี ราโบโว ซูเบยี นโต มภี าพของการเป็นลูกเขยซูฮาร์
โตอดีตผู้น�ำการปกครองแบบอ�ำนาจนิยม แต่ก็มีนโยบายประชานิยมท่ีเน้น
เศรษฐกิจชาติเชน่ เดยี วกับฮโู ก ชาเวซของเวเนซุเอลา และทักษณิ ชนิ วตั รของ
ไทย (Mietzner, 2015) ความแตกตา่ งของผู้สมคั รแขง่ ขันเลอื กตั้งในปี 2014
น้สี ามารถจ�ำแนกออกเป็นสปี่ ระเดน็ ดังต่อไปนี้

ประการแรก ความแตกต่างในการอธิบายบทบาทของศาสนาอิสลาม
ในการเมืองและสังคม โดยฝั่งของปราโบโวและกลุ่มพันธมิตรเห็นว่าควรสร้าง
ความเขม้ แขง็ ใหก้ บั ศาสนาอสิ ลามในองคก์ ารของรฐั สะทอ้ นจากพรรคการเมอื ง
ทีส่ นับสนุนต่างเปน็ พรรคศาสนาท้ังส้ิน เช่น พรรคพีเคเอส (Partai Keadilan
Sejahtera: PKS) และพรรคพพี พี ี (Partai Persatuan Pembangunan: PPP)
เป็นต้น ในขณะท่ีกลุ่มของโจโก วิโดโดมีพันธมิตรพรรคการเมืองในแนวทาง
ชาตินิยม-ฆราวาส (nationalist-secular) อย่างพรรคพีดีไอ-พี (Partai
Demokrasi Indonesia Perjuangan: PDI-P) และพรรคพีเคบี (Partai
Kebangkitan Bangsa: PKB) ทแี่ มเ้ ป็นพรรคศาสนาอิสลามกต็ ามแตส่ นบั สนุน
นโยบายชาตินิยม/รัฐนิยม ส่งผลให้ฐานเสียงส�ำคัญของโจโก วิโดโดเป็นกลุ่ม
ทไ่ี ม่ใชม่ ุสลิมด้วย (Mietzner, 2015)

ประการทสี่ อง อดุ มการณท์ างการเมอื งเกยี่ วกบั การพฒั นาประชาธปิ ไตย
ปราโบโวมีแนวโน้มไปในทางการสร้างเสถียรภาพทางการเมืองด้วยข้อเสนอ
ปฏิรูปรัฐธรรมนูญเพ่ือสร้างประสิทธิภาพให้กับกลไกรัฐในการปกครอง ท�ำให้
สงั คมตงั้ ค�ำถามเกยี่ วกบั ความพยายามกลบั ไปสรู่ ะบอบซฮู ารโ์ ตอกี ครงั้ ในขณะที่
โจโก วโิ ดโดมขี อ้ เสนอในการปกปอ้ งรฐั ธรรมนญู และสถานะเดมิ ของประชาธปิ ไตย

25(มกราคม-ปมที ิถี่ ุน1า9ยฉนบ2บั 5ท65ี่ 1)
(democratic status quo) อยา่ งไรกด็ ี โจโก วโิ ดโดไมไ่ ดม้ ขี อ้ เสนอประชาธปิ ไตย
เพียงอย่างเดียว แต่ได้มีการประนีประนอมกับกลุ่มอ�ำนาจเก่าอย่างเมกาวาตี
ซกู ารโ์ นบตุ รี (Megawati Sukarnoputri) อดตี ประธานาธบิ ดลี กู สาวของซกู ารโ์ น
ที่ปกครองช่วงปี ค.ศ. 2001-2004 ให้เป็นผเู้ สนอช่ือเขา้ แขง่ ขนั ประธานาธิบดี
ของพรรคพีดีไอ-พีท�ำให้การเมืองของโจโก วิโดโดได้รับการสนับสนุนจากกลุ่ม
ชนชน้ั น�ำเช่นกัน (Mietzner, 2015)

ประการท่สี าม ความแตกต่างกนั ในนโยบายเศรษฐกจิ โดยอาจต้องยอ้ น
ไปถงึ ชว่ งปี 2000 ทสี่ นิ คา้ สง่ ออกหลกั ของอนิ โดนเี ซยี คอื ปาลม์ นำ�้ มนั และถา่ นหนิ
เป็นหัวใจส�ำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ แต่ผลจากวิกฤตทางการเงินโลกอย่าง
เหตุการณ์วิกฤตซับไพรม์ (Subprime mortgage crisis) ในสหรัฐอเมริกา
ช่วง ค.ศ. 2007-2008 วกิ ฤตราคาอาหารโลกในปี 2008 และวกิ ฤตเศรษฐกจิ
ในยุโรป ส่งผลให้รัฐบาลประธานาธิบดีซูซิโล บัมบัง ยูโดโยโนต้องมีนโยบาย
เศรษฐกิจในลักษณะของการคุ้มครองเศรษฐกิจของชาติ (nationalist and
protectionist policies) ทั้งเร่ืองของการจ�ำกัดการลงทุนจากต่างชาติ การ
ตงั้ ก�ำแพงภาษีใหม่ และการก�ำหนดโควตาน�ำเขา้ สนิ ค้า โดยมีกฎหมายส�ำคญั ท่ี
เกยี่ วกบั เรอ่ื งของอาหาร เชน่ กฎหมายวา่ ดว้ ยอาหาร (Law 18/2012 on Food)
และกฎหมายวา่ ดว้ ยการปกปอ้ งและเสรมิ อ�ำนาจเกษตรกร (Law 19/2013 on
the Protection and Empowerment of Farmers) เปน็ ต้น (Mietzner,
2015)

แนวนโยบายดังกล่าวส่งผลให้การเลือกต้ังปี 2014 เกิดการใช้นโยบาย
หาเสียงแบบชาตินยิ มทางเศรษฐกิจ (economic nationalism) ทแ่ี ตกตา่ งกัน
โดยทางปราโบโวใชค้ วามรกั ชาตแิ ละโจมตกี ารเขา้ มาท�ำลายทรพั ยากรธรรมชาติ
ของอนิ โดนีเซียดว้ ยการวาดภาพให้นกั ลงทนุ จากตา่ งประเทศเป็นศตั รู ซ่งึ ไดร้ บั
การสนับสนุนอย่างมากจากคนอินโดนีเซีย ส่งผลให้โจโก วิโดโดแม้ว่าจะมี

26 มวหาราวสิทายราสลหยั วธรทิ รยมาศกาสาตรรว์ ทิ ยาลยั สหวทิ ยาการ
นโยบายรว่ มพฒั นาเศรษฐกจิ ระหวา่ งทนุ ในประเทศและระหวา่ งประเทศ แตไ่ ม่
สามารถน�ำเสนอออกมาในช่วงหาเสียงได้ ท�ำให้นายโจโก วิโดโดได้สร้างภาพ
เศรษฐกิจแห่งชาติใหม่ในการหาเสียงช่วงเลือกต้ังผ่านการเสนอ นโยบายสร้าง
เศรษฐกจิ ผา่ น “การพง่ึ พงิ ตนเองทางอาหาร” (self-sufficiency in food) และ
น�ำแนวคดิ เร่อื งอสิ ระทางอาหาร (food autonomy) มาใช้ในกระบวนการหา
เสยี งวา่ จะท�ำใหอ้ นิ โดนเี ซยี มแี หลง่ อาหารของตวั เองโดยไมพ่ ง่ึ การน�ำเขา้ ภายใน
ชว่ งเวลา 3 ปี หากได้รับการเลอื กตัง้ (Mietzner, 2015)

ประการที่ส่ี นโยบายต่างประเทศของผู้สมัครท้ังสองคนแตกต่างกัน
อยา่ งย่งิ โดยในยุคของประธานาธิบดีซูซโิ ล บัมบัง ยโู ดโยโน ท่ีเคยใช้นโยบาย
“เพ่ือนเปน็ ลา้ น ศัตรเู ปน็ ศนู ย์” (A Million Friends, Zero Enemies) ตอ้ งมี
การเปดิ การคา้ กบั ทกุ ประเทศทม่ี อี ดุ มกาณแ์ ตกตา่ งกนั ทง้ั สหรฐั ฯ จนี ออสเตรเลยี
จนไปถึงเกาหลีเหนือ รวมไปถึงการจัดการวิกฤตท่ีเกี่ยวกับศาสนาอิสลาม
เช่นสงครามทางการเมืองในซีเรียด้วย ซ่ึงสำ�หรับปราโบโวเห็นว่านโยบาย
ต่างประเทศควรเลือกมิตรและเฝ้าระวังชาติตะวันตก ในขณะท่ีโจโก วิโดโด
แม้ว่าจะเน้นหาเสียงจากนโยบายปัญหาในชีวิตประจำ�วันเป็นหลัก (สุขภาพ
ความยากจน การศึกษา คมนาคม และการว่างงาน) แต่ในเร่ืองนโยบาย
ต่างประเทศกลับพบว่าโจโก วิโดโดทำ�ให้อินโดนีเซียกลายมาเป็นผู้นำ�สำ�คัญใน
ภมู ภิ าคอาเซยี น และใชน้ โยบายตา่ งประเทศในการสะทอ้ นปญั หาชวี ติ ประจ�ำ วนั
เช่น การออกแนวทางลดจำ�นวนแรงงานประมงต่างด้าวจากเวียดนามและไทย
ท่ีเข้ามาทำ�งานในอินโดนีเซีย (Mietzner, 2015) หรือกล่าวได้ว่านโยบาย
ต่างประเทศของอินโดนเี ซยี มีขึน้ เพ่ือแกป้ ญั หาการเมอื งในประเทศเป็นหลัก

ผลการเลือกตั้งปี 2014 ทำ�ให้โจโก วิโดโดได้รับชัยชนะและเป็น
ประธานาธิบดีอินโดนีเซีย ในขณะท่ีปราโบโวได้ย่ืนเรื่องต่อศาลรัฐธรรมนูญว่า
มีการทุจริตอย่างกว้างขวางในการเลือกต้ัง ผลของความคิดเห็นที่แตกต่าง

27(มกราคม-ปมีทิถ่ี ุน1า9ยฉนบ2ับ5ท65่ี 1)
ทางการเมืองหลังการเลือกต้ังทำ�ให้การเมืองอินโดนีเซียมีพลวัตมากขึ้น แต่ก็
มีความขัดแย้งมากข้ึนเช่นเดยี วกัน

หลังจากชนะเลอื กตั้งปี 2014 ข้นึ มาด�ำรงต�ำแหนง่ ประธานาธบิ ดี โจโก
วโิ ดโดไดท้ �ำงานในเชงิ รกุ ทส่ี �ำคญั อยา่ งยงิ่ ในสองชดุ นโยบายส�ำคญั คอื หนงึ่ การ
ตดั สนิ ใจใชน้ โยบายหลกั ประกนั สขุ ภาพ การศกึ ษา และสวสั ดกิ ารใหมเ่ พอ่ื สรา้ ง
ความมน่ั คงทางสงั คม (social security) และลดงบประมาณการสนบั สนนุ นำ�้ มนั
(fuel subsidies) เพื่อน�ำงบประมาณไปชว่ ยเหลือกลุม่ คนจน ซ่งึ การตัดสินใจ
ทั้งสองนโยบายได้รับเสียงคัดค้านจากบุคคลในรัฐบาลเป็นอย่างมาก แต่
ประธานาธบิ ดโี จโก วิโดโดเลือกที่จะด�ำเนินการตามทต่ี ดั สนิ ใจ โดยไมเ่ น้นการ
เจรจาต่อรองหรอื ทางสายกลางแบบอดีตประธานาธิบดซี ูซิโล บัมบัง ยโู ดโยโน
(Mietzner, 2015) แม้ว่าพิจารณาแล้วอาจดูเป็นเรื่องดีท่ีมีผู้น�ำกล้าตัดสินใจ
ในนโยบายสาธารณะ แต่ในทางการเมืองย่อมสะท้อนให้เห็นว่าอินโดนีเซียมี
จุดร่วมกันน้อยลงและอาจน�ำไปสู่การต่อสู้เชิงการเมือง-อุดมการณ์ขึ้นจนถึง
ปจั จบุ นั ทก่ี ารเมอื งมคี วามขดั แยง้ สงู ขน้ึ จากประเดน็ ละเอยี ดออ่ นตา่ ง ๆ

แม้ว่าโจโก วิโดโดได้กล่าวถึงค�ำว่า “อธิปไตยทางอาหาร”3 (food
sovereignty) เป็นหนึ่งในเป้าหมายของนโยบายด้านเกษตรกรรมของรัฐบาล
แตค่ �ำกลา่ วของโจโก วโิ ดโดกเ็ ปน็ ประเดน็ ทกี่ ลมุ่ ขบวนการเกษตรกรและชาวนา
ยังตั้งข้อสงสัยถึงความจริงจังของรัฐบาลในเป้าหมายดังกล่าว โดยเฉพาะเมื่อ
โจโก วโิ ดโด ไดเ้ คยกลา่ วเปรยี บเทยี บถงึ ค�ำสองค�ำ ไดแ้ ก่ “อธปิ ไตยทางอาหาร”
และ “ความมน่ั คงทางอาหาร” (food security)​เมื่อปี ค.ศ. 2014 วา่ มคี วาม

3 เป็นค�ำหนึ่งท่ีกลุ่มลา เวีย กัมเปซินา หรือเครือข่ายด้านเกษตรกรรมและชาวนาระดับโลกน�ำมาใช้
เคลอ่ื นไหว นับต้ังแตก่ ารประชมุ อาหารโลก (World Food Forum) ในปี ค.ศ. 1996 โดยให้ความ
ส�ำคัญกับประชาธิปไตยในการผลิตและจ�ำหน่ายอาหา รรวมถึงสนับสนุนผลประโยชน์ของเกษตรกร
รายย่อย มากกว่าค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของบรษิ ัทและเกษตรรายใหญ่

28 มวหาราวสทิ ายราสลหยั วธริทรยมาศกาสาตรรว์ ิทยาลัยสหวทิ ยาการ
แตกตา่ งกนั ส�ำหรบั รฐั บาลโจโก วโิ ดโด “ความมน่ั คงทางอาหาร” หมายถงึ ความ
พรอ้ มใชง้ านทางดา้ นอาหาร (availability of foodstuffs) อนั เชอ่ื มโยงกบั คลงั
ของสินค้าอาหาร (warehouses) และการขนส่งสินค้าอาหาร (logistically)
โดยท่ีไม่ได้พิจารณาถึงแหล่งต้นก�ำเนิดหรือแหล่งที่มาของอาหารน้ัน ๆ ส่วน
ค�ำว่า “อธิปไตยทางอาหาร” หมายถึงการผลิตอาหารโดยชาวอินโดนีเซียเอง
และการขายอาหารให้กับชาวอินโดนีเซียเอง หากมีผลผลิตส่วนเกิดจากการ
บรโิ ภคกน็ �ำสว่ นเกนิ นน้ั สง่ ออกไปขายยงั ตา่ งประเทศได้ (Indonesian Resources
and Information Program: IRIP, 2016)

นโยบายการพ่ึงพาตนเองทางอาหารของโจโก วิโดโด ถือเป็นส่วนหน่ึง
ในนโยบายท่ีใช้หาเสียงเพื่อชิงต�ำแหน่งประธานาธิบดีในการเลือกตั้งครั้งแรก
ของตนเอง ซึ่งนโยบายดังกล่าวได้รับความนิยมจากประชาชนภายในประเทศ
จนมสี ว่ นชว่ ยท�ำใหโ้ จโก วโิ ดโดไดร้ บั เลอื กเปน็ ประธานาธบิ ดเี มอ่ื เดอื นกรกฎาคม
ค.ศ. 2014 แต่อย่างไรก็ตาม นโยบายการพึ่งพาตนเองไม่ได้เกิดขึ้นครั้งแรก
ในชว่ งของโจโก วโิ ดโด แตเ่ กดิ ขน้ึ มาตง้ั แตใ่ นชว่ งทา้ ย ๆ ของซฮู ารโ์ ต จนกระทง่ั
มาถงึ ในชว่ งของโจโก วโิ ดโด ทมี่ กี ารด�ำเนนิ การใชแ้ ละปรบั เปลย่ี นการใชใ้ นแตล่ ะ
รัฐบาลท่ีผ่านมา

นโยบายการพ่ึงพาตนเองทางอาหารในช่วงของโจโก วิโดโด มีความ
แตกตา่ งจากรัฐบาลของประธานาธิบดีคนอ่ืน ๆ อย่างชัดเจนคือ เป็นนโยบาย
ท่ีมีการเช่ือมโยงสัมพันธ์กับบทบาทของรัฐในเชิงสถาบัน (institution) ในการ
ออกกฎระเบยี บ (regulation) โดยอาศยั หลกั อธปิ ไตยทางอาหารในรฐั ธรรมนญู
สาธารณรัฐอินโดนีเซียตามตารางท่ี 1 เพ่ือลดการนำ�เข้าสินค้าอาหารและ
การเกษตรจากต่างประเทศ อันเป็นเป้าหมายที่อยู่ตรงข้ามกับหลักการของ
ตลาดเสรี (free market) ภายในตลาดโลก ซ่ึงรัฐบาลท่ีผ่านมาก่อนหน้า
โจโก วิโดโดได้ส่งเสริมให้การผลิตและการค้าที่เก่ียวข้องกับสินค้าเกษตรกรรม

29(มกราคม-ปมที ิถี่ ุน1า9ยฉนบ2บั 5ท65่ี 1)
ภายในประเทศเชือ่ มโยงกบั ตลาดตา่ งประเทศและตลาดโลก โดยทโี่ จโก วโิ ดโด
พิจารณาว่า การนำ�เข้าสินค้าด้านเกษตรกรรมและอาหารในระดับท่ีสูงก่อน
หน้าน้ีได้สร้างผลกระทบต่อสินค้าประเภทเดียวกันของผู้ผลิตภายในประเทศ
เชน่ เดยี วกบั ทป่ี ระเทศอนิ โดนเี ซยี ตอ้ งเสยี เปรยี บดลุ ทางการคา้ ใหก้ บั ตา่ งประเทศ
ดังเช่น ขอ้ มลู จากสำ�นักงานสถิตขิ องอนิ โดนเี ซยี ระบวุ า่ มูลค่าการนำ�เข้าสินค้า
เกษตรกรรมจากในปี ค.ศ.​ 2003 อยู่ท่ี 3.34 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มข้ึน
มากกว่าส่ีเท่าในปี ค.ศ. 2013 มาอยู่ในระดับ 14.90 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
ซ่ึงได้สร้างความเสียหายแก่ตลาดสินค้าเกษตรกรรมภายในประเทศ (Nevins
& Peluso, 2008; Davidson, 2018; Syailendra, 2017; เกรียงศักดิ์
เจริญวงศ์ศักด,ิ์ 2556)

นอกจากน้ี อีกข้อแตกต่างท่ีชัดเจนคือ นโยบายการพึ่งพาตนเองทาง
อาหารของโจโก วิโดโดได้ถูกก�ำหนดออกมาควบคู่กับนโยบาย “อธิปไตยทาง
อาหาร” เน่ืองจากปัจจัยท่ีเกิดจากการเพ่ิมข้ึนของประชากรภายในประเทศ
การเติบโตของเมืองและภาคอุตสาหกรรม ได้ส่งผลให้ความต้องการอาหารมี
แนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ท�ำให้ท้ังสองนโยบายมีเป้าหมายร่วมกันในการเน้นการ
พ่ึงพาและให้ความส�ำคัญกับการผลิตอาหารและสินค้าเกษตรภายในประเทศ
อนิ โดนเี ซยี เอง รวมถงึ เปา้ หมายรว่ มทปี่ ระธานาธบิ ดโี จโก วโิ ดโด และกระทรวง
เกษตรของอนิ โดนเี ซียตั้งไว้ว่า ในอีก 30 ปีข้างหน้า อนิ โดนีเซียจะเป็น “ยงุ้ ข้าว
ของโลก” ด้วยความมั่นคงทางอาหารของประเทศ และสามารถส่งออกสินค้า
อาหารส่วนเกินจากการผลติ ใหก้ บั ประเทศต่าง ๆ ทวั่ โลก (Syailendra, 2017;
Davidson, 2018; กรมสง่ เสรมิ การคา้ ระหวา่ งประเทศ กระทรวงพาณชิ ย,์ 2560;
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกั ด์ิ, 2556)

30 มวหาราวส�ทายราสลหยั วธร�ทรยมาศกาสาตรรว ท� ยาลยั สหวท� ยาการ
ตารางท่ี 1 เปรยี บเทียบหลกั การอธิปไตยทางอาหารในรฐั ธรรมนูญ
​ สาธารณรฐั อินโดนเี ซีย​1945

กรอบอธิปไตยทางอาหาร

บทบาทรัฐกบั อธิปไตยทางอาหาร
อ�านาจในการจดั การทรพั ยากร

อา� นาจในการจัดการกระบวนการอาหาร

ประเด็นสิทธิอธิปไตยทางอาหาร

อา� นาจในทางเศรษฐกจิ และสังคมวัฒนธรรม

31(มกราคม-ปมท‚ ิถี่ ุน1า9ยฉนบ2ับ5ท65ี่ 1)

รัฐธรรมนญู สาธารณรฐั อินโดนเี ซีย 1945

มาตรา​22D (1)​สภาผ้แู ทนภูมภิ าคสามารถส่งรา่ งกฎหมายใหส้ ภาผู้แทนราษฎรพจิ ารณา
เกย่ี วกบั อตั ตาณตั ขิ องภมู ภิ าค​(regional​autonomy)​ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง
ส่วนกลางและส่วนภูมิภาค​การก่อตง้ั และเติบโต​รวมถึงการควบรวมภูมิภาค​
การบรหิ ารจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละเศรษฐกจิ ​และเรอ่ื งอน่ื ​ๆ​ทมี่ สี าระ
ส�าคญั เกี่ยวกบั การงบประมาณระหวา่ งส่วนกลางและสว่ นภูมภิ าค

มาตรา​33 (3) ที่ดินและน�้า​ รวมถึงทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ถูกควบคุมโดยรัฐ​ และ
จะใช้ได้เพ่ือผลประโยชนส์ ว่ นใหญ่ของประชาชน​
(4) องคก์ ารของเศรษฐกจิ แหง่ ชาตจิ ะอยบู่ นฐานของประชาธปิ ไตยเศรษฐกจิ ​
(economic​ democracy)​ ที่ยึดหลักการของความเป็นหนึ่งเดียวกัน​
(solidarity)​ประสิทธภิ าพรว่ มด้วยความเป็นธรรม​(efficiency​along​with​
fairness)​ความยง่ั ยนื ​(sustainability)​คมุ้ ครองรกั ษาสง่ิ แวดลอ้ ม​(keeping​
the​environment)​การพง่ึ ตนเอง​(self-sufficiency)​และความก้าวหน้า
อย่างสมดลุ ​(balanced​progress)​ของเศรษฐกจิ ชาตอิ ยา่ งเปน็ หนึ่งเดียว

มาตรา​22D (2) สภาผแู้ ทนภมู ภิ าคสามารถมสี ว่ นรว่ มในการถกเถยี งรา่ งกฎหมายเกย่ี วกบั
ความเปน็ อสิ ระของภมู ภิ าค​ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสว่ นกลางและสว่ นภมู ภิ าค​
การก่อตั้งและเติบโต​ รวมถึงการควบรวมภูมิภาค​ การบริหารจัดการ
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละเศรษฐกจิ ​และเรอื่ งอน่ื ​ๆ​ทมี่ สี าระสา� คญั เกยี่ วกบั การ
งบประมาณระหว่างส่วนกลางและส่วนภูมิภาค​ นอกจากน้ี​ ยังสามารถให้
คา� แนะนา� ตอ่ สภาผแู้ ทนราษฎรตอ่ รา่ งกฎหมายทเี่ กย่ี วกบั งบประมาณของรฐั ​
การเกบ็ ภาษี​การศึกษา​และศาสนา
(3) สภาผแู้ ทนภมู ภิ าคสามารถกา� กบั ดแู ลการปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายทเี่ กยี่ วขอ้ ง
กบั เรอ่ื งความเปน็ อสิ ระของภมู ภิ าค​การกอ่ ตงั้ และเตบิ โต​รวมถงึ การควบรวม
ภูมิภาค​ การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและเศรษฐกิจ​ การน�า
งบประมาณของรฐั ​การเกบ็ ภาษ​ี การศกึ ษา​และศาสนาไปปฏบิ ตั ​ิ โดยสามารถ
ส่งผลการตรวจสอบใหก้ บั สภาผแู้ ทนราษฎรสา� หรบั พจิ ารณาต่อไป

32 มวหาราวสท� ายราสลหยั วธร�ทรยมาศกาสาตรรว �ทยาลัยสหว�ทยาการ
ตารางที่ 1 เปรยี บเทียบหลักการอธิปไตยทางอาหารในรฐั ธรรมนูญ
​ สาธารณรัฐอินโดนเี ซีย​1945​(ตอ่ )​

กรอบอธิปไตยทางอาหาร

สิทธใิ นการเข้าถงึ อาหารของผู้บริโภค

ประเด็นสทิ ธิเขา้ ถึงอาหาร
ความย่งั ยนื ทางการเกษตร สิง่ แวดลอ้ ม และอาหาร

สทิ ธใิ นการดูแลกลไกราคาและระบบเศรษฐกิจ

33(มกราคม-ปมท‚ ิถ่ี ุน1า9ยฉนบ2ับ5ท65่ี 1)

รฐั ธรรมนูญสาธารณรัฐอนิ โดนีเซีย 1945

มาตรา​28H (1) บุคคลมีสิทธิในการมีชีวิตท่ีดี​ (well-being)​ ทั้งร่างกายและจิตใจ​ ในการ
อาศัยอยู่อย่างมีความสุขเน่ืองจากได้รับสิ่งแวดล้อมที่ดีและมีคุณภาพ​ (good​
and​healthy​environment)​และได้รบั การดแู ลรกั ษาพยาบาล

มาตรา​34 (2) รัฐดา� เนินการพัฒนาระบบสวัสดิการทางสงั คม​(social​security​system)​
ส�าหรับทุกคน​ และเสริมอ�านาจผู้อ่อนแอและด้อยโอกาส​ (empowers​ the​
weak​and​underprivileged)​ในสงั คม​ตามศักดิ์ศรคี วามเป็นมนษุ ย์​
(3) รฐั มหี นา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบในการจดั หาการบรกิ ารทางการแพทยแ์ ละบรกิ ารทาง
สาธารณะทีเ่ หมาะสม

มาตรา​28H​ (2)​ บุคคลมีสิทธิในการเข้าถึงสิ่งอ�านวยความสะดวกและการดูแลเป็นพิเศษใน
การได้รับโอกาสและประโยชน์ที่เท่าเทียมกัน​ เพ่ือบรรลุถึงความเท่าเทียมและ
ความยุติธรรม​(equality​and​justice)​
(3) บุคคลได้รับสิทธิในสวัสดิการทางสังคมด้านการพัฒนาตนเอง​ บนฐานของ
ศักด์ิศรคี วามเปน็ มนุษย์​

มาตรา​33 (1) เศรษฐกิจถูกวางโครงสร้างเป็นความพยายามร่วมกันบนฐานของหลักการ
ครอบครวั ​(a​common​endeavor​based​on​familial​principles)​
(2) ภาคการผลติ ที่เป็นสว่ นสา� คญั ของรฐั และสง่ ผลต่อสภาพชีวติ ​(livelihood)​
ของประชากร​จะถูกควบคมุ โดยรัฐ​
(3) ท่ีดินและน้�า​ รวมถึงทรัพยากรธรรมชาติในพื้นท่ีถูกควบคุมโดยรัฐ​ และจะ
ใช้ได้เพ่ือผลประโยชน์สว่ นใหญ่ของประชาชน​

34 มวหาราวส�ทายราสลหัยวธร�ทรยมาศกาสาตรรว �ทยาลัยสหว�ทยาการ
ตารางที่ 1 เปรียบเทยี บหลักการอธปิ ไตยทางอาหารในรฐั ธรรมนญู
​ สาธารณรฐั อนิ โดนีเซยี ​1945​(ต่อ)​​

กรอบอธิปไตยทางอาหาร

การสรา้ งประชาธิปไตยทางตรง

สิทธิมนุษยชนและสิทธิพลเมอื ง

ประเด็นสิทธขิ องชาวนา

35(มกราคม-ปมท‚ ิถ่ี ุน1า9ยฉนบ2ับ5ท65่ี 1)

รัฐธรรมนูญสาธารณรฐั อินโดนีเซีย 1945

มาตรา​33 (4)​องค์การของเศรษฐกจิ แหง่ ชาตจิ ะอยบู่ นฐานของประชาธปิ ไตยเศรษฐกจิ ​ที่
ยึดหลักการของความเป็นหน่ึงเดียวกัน​ ประสิทธิภาพร่วมด้วยความเป็นธรรม​
ความยัง่ ยืน​คุม้ ครองรกั ษาสง่ิ แวดลอ้ ม​การพึง่ ตนเอง​และความกา้ วหน้าอย่าง
สมดลุ ของเศรษฐกิจชาติอยา่ งเปน็ หน่งึ เดยี ว

มาตรา​18B (1)​ รัฐจะรับรองและเคารพต่อหน่วยงานในการบริหารงานส่วนภูมิภาค​ ท่ีได้มี
การแบง่ ภารกจิ เฉพาะหรือพิเศษดว้ ยกฎหมาย​
(2)​ รัฐจะรับรองและเคารพตามกฎหมาย​ ต่อความเป็นหนึ่งเดียวกันของสังคม
ภายใต้กฎหมายจารีตประเพณี​ (customary​ law)​ ตามสิทธิในธรรมเนียม​
(traditional​ rights)​ และสิทธิดังกล่าวด�ารงอยู่และตกลงร่วมกันว่าจะท�าให้มี
การพัฒนาสังคม​ และไปในทางเดียวกับหลักการเร่ืองรัฐเด่ียวแห่งสาธารณรัฐ
อนิ โดนเี ซยี

มาตรา​26 (1)​พลเมอื ง​(citizen)​คอื ผเู้ ปน็ อนิ โดนเี ซยี พน้ื เมอื ง​(indigenous​Indonesian)​
และคนที่เป็นต่างชาติผู้ที่ได้รับการรับรองจากกฎหมายให้เป็นพลเมืองตาม
กฎหมาย​
(2)​ประชาชนทมี่ าอาศยั ในรฐั ​(resident)​ประกอบดว้ ยพลเมอื งอนิ โดนเี ซยี และ
ชาวต่างชาตทิ อ่ี ยใู่ นอนิ โดนีเซีย​
(3)​ สาระส�าคัญของความเป็นพลเมืองและประชาชนในรัฐถูกก�าหนดไว้ใน
กฎหมาย

มาตรา​27 (2)​พลเมอื งทกุ คนจะไดร้ บั รองสทิ ธใิ นการมอี าชพี และการดา� รงชวี ติ ทเี่ หมาะสม
กับความเปน็ มนษุ ย์​(human​being)

36 มวหาราวส�ทายราสลหยั วธรท� รยมาศกาสาตรรว �ทยาลัยสหว�ทยาการ

ตารางที่ 1 เปรียบเทยี บหลกั การอธิปไตยทางอาหารในรัฐธรรมนูญ
​ สาธารณรฐั อนิ โดนีเซีย​1945​(ตอ่ )​​

กรอบอธิปไตยทางอาหาร

สทิ ธิมนษุ ยชนและสทิ ธพิ ลเมือง

สทิ ธขิ องชาวนาและเกษตรกรรายยอ่ ย

ประเด็นสิทธิของชาวนา

37(มกราคม-ปม‚ทิถี่ ุน1า9ยฉนบ2บั 5ท65ี่ 1)

รัฐธรรมนญู สาธารณรัฐอนิ โดนีเซยี 1945

มาตรา​28C (1)​คนทกุ คนมสี ิทธิท่ีจะเขา้ ถงึ ศักยภาพของตนเอง​(self-realization)​ผา่ นการ
ได้รับการเตมิ เตม็ ในเรือ่ งความตอ้ งการขน้ั พนื้ ฐาน​(basic​needs)​สทิ ธิในการ
เขา้ ถึงการศึกษา​และไดร้ ับประโยชน์จากวิทยาศาสตร์​เทคโนโลย​ี ศิลปะ​และ
วัฒนธรรม​ เพ่ือให้เกิดการพัฒนาคุณภาพชีวิต​ และความเป็นอยู่ท่ีดีของมนุษย์​
(the​quality​of​his​life​and​the​well-being​of​mankind)

มาตรา​28D (2)​คนทกุ คนได้รบั สทิ ธิในการเขา้ ถึงอาชีพและการได้รับค่าแรงท่เี ปน็ ธรรมและ
เหมาะสมกับแรงงานสมั พันธ์

มาตรา​28A​ บุคคลมสี ิทธิทจี่ ะมชี วี ิตและสิทธใิ นการคมุ้ ครองชีวติ และความเป็นอยขู่ องตน

มาตรา​28F​ บุคคลมีสิทธิในการส่ือสารและได้มาซึ่งข้อมูลส�าหรับการพัฒนาตัวเองและ
สง่ิ แวดลอ้ มสงั คม​(his​own​and​his​social​environment’s​development)​
และมีสทิ ธใิ นการค้นหา​รักษา​ครอบครอง​เก็บ​ดา� เนินการ​และเผยแพร่ข้อมลู
ในทุกชอ่ งทางทีจ่ ัดหาได้

มาตรา​28I (3) อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมและสิทธิของชุมชนด้ังเดิม​ (cultural​ identities​
and​rights​to​traditional​communities)​ได้รับการเคารพในทกุ สถานการณ์
ตลอดเวลาแมเ้ มอื่ อารยธรรมเปลยี่ นแปลงไป​
(4) การปกปอ้ ง​ส่งเสรมิ ​รักษา​และทา� ใหส้ ทิ ธมิ นุษยชนเป็นจรงิ ได้​เปน็ ความ
รบั ผดิ ชอบของรัฐและเปน็ หน้าทีห่ ลักของรัฐบาล​
(5) เพอ่ื สง่ เสรมิ และคมุ้ ครองสทิ ธมิ นษุ ยชนตามหลกั การของรฐั ประชาธปิ ไตยและ
ชอบดว้ ยกฎหมาย​หลกั การพน้ื ฐานของสทิ ธมิ นษุ ยชนทน่ี า� ไปปฏบิ ตั จิ ะไดร้ บั การ
คมุ้ ครอง​กา� หนด​และรับรองด้วยกฎหมายและกตกิ า

38 มวหาราวส�ทายราสลหยั วธรท� รยมาศกาสาตรรว ท� ยาลยั สหว�ทยาการ
ตารางท่ี 1 เปรยี บเทียบหลักการอธิปไตยทางอาหารในรัฐธรรมนูญ
​ สาธารณรัฐอนิ โดนเี ซีย​1945​(ต่อ)​​

กรอบอธปิ ไตยทางอาหาร

สทิ ธิของชาวนาและเกษตรกรรายยอ่ ย

ประเด็นสิทธิของชาวนา

หลกั การมีสว่ นรว่ มของชาวนา

39(มกราคม-ปมท‚ ิถี่ ุน1า9ยฉนบ2บั 5ท65ี่ 1)

รฐั ธรรมนญู สาธารณรัฐอนิ โดนเี ซีย 1945

มาตรา​28J (1)​ บุคคลมีข้อก�าหนดให้เคารพต่อสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานของบุคคลอื่น​ ใน
ขณะที่เขา้ ร่วมใชช้ วี ติ เป็นสว่ นหนึง่ ของชุมชน​ชาติ​และรัฐ​
(2)​ ในการด�ารงอยู่ของสิทธิและเสรีภาพ​ บุคคลมีหน้าท่ียอมรับข้อจ�ากัดโดย
กฎหมาย​ ส�าหรับเป้าหมายในการคุ้มครอง​ ยอมรับ​ และเคารพต่อสิทธิและ
เสรีภาพของบุคคลอื่น​ และส�าหรับการตอบสนองต่อความต้องการในสังคม
ประชาธปิ ไตย​บนฐานของศลี ธรรม​คณุ คา่ ทางศาสนา​ความมน่ั คง​และระเบยี บ
สาธารณะ

มาตรา​28​ เสรีภาพในการรวมตัวกนั เป็นสมาคมและการชุมนุม​เสรีภาพในการแสดงความ
คดิ เหน็ ​ไม่ว่าจะตอ้ งการพูด​หรอื การเขียน​จะถูกก�าหนดไวโ้ ดยกฎหมาย

มาตรา​28E​ (3)​บุคคลมสี ทิ ธอิ ย่างเสรใี นการรวมตวั ​ชมุ นุม​และแสดงความคิดเห็น​

ที่มา:​สรปุ จาก​รฐั ธรรมนญู สาธารณรฐั อินโดนเี ซยี ฉบับปี ค.ศ. 1945
(แกไ้ ขคร้งั ทส่ี ​ี่ ป​ี 2002)​โดยผเู้ ขยี น

40 มวหาราวสทิ ายราสลหัยวธริทรยมาศกาสาตรรว์ ิทยาลยั สหวิทยาการ

การด�ำเนินการนโยบายพ่ึงพาตนเองทางอาหารในช่วงของโจโก วิโดโด
นอกเหนอื จากการก�ำหนดเปา้ หมายในเชงิ นโยบายแลว้ โจโก วโิ ดโดยงั ไดใ้ ชก้ ลไก
ทางดา้ นกฎระเบยี บ และกลไกเชงิ สถาบนั เพอ่ื ด�ำเนนิ การใหส้ �ำเรจ็ ตามเปา้ หมาย
ของนโยบาย โดยท่ีในด้านกฎระเบียบ รัฐบาลของโจโก วิโดโดได้ท�ำการออก
ระเบยี บการน�ำเขา้ สนิ คา้ พชื สวนฉบบั ใหม่ เลขที่ 71/2015 มาแทนระเบยี บฉบบั
เดิมที่ 16/2013 ฉบับที่ 47/2013 และฉบับท่ี 40/2015 กล่าวคือ เป็นกฎ
ระเบียบท่ีมีการเปลี่ยนแปลงเง่ือนไขของการน�ำเข้าสินค้าด้านอาหารและ
เกษตรกรรม เพอ่ื ใหส้ อดคลอ้ งกบั เปา้ หมายของรฐั บาลในการลดการน�ำเขา้ สนิ คา้
ด้านอาหารและเกษตรกรรมจากต่างประเทศ นอกจากน้ียังมีการปรับปรุง
กฎระเบียบของการออกเอกสารสิทธิ์ในการใช้ที่ดินด้านเกษตรกรรม เพื่อให้
เกิดการขยายตัวของพ้ืนท่ีเพาะปลูก ซ่ึงสอดคล้องกับเป้าหมายของรัฐในการ
สรา้ งพื้นทเี่ กษตรกรรมใหม่ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพอยา่ งพน้ื ทโ่ี ดยรอบของชวา ดังเชน่
ในปี ค.ศ. 2016 ผลของการแกไ้ ขกฎระเบยี บ และบทบาทของกระทรวงเกษตร
มีส่วนต่อการสร้างพ้ืนท่ีนาข้าวใหม่กว่า 129,096 เฮกตาร์ (hectare) ใน
หลายพ้ืนท่ีท่ัวประเทศอินโดนีเซีย4 โดยพื้นท่ีนาข้าวใหม่ที่ใหญ่ท่ีสุดอยู่ใน
เกาะกาลมิ ันตัน (Kalimantan) ทางดา้ นตะวันตก 16,905 เฮกตาร์ รองลงมา
คือเกาะกาลิมันตันกลาง 16,550 เฮกตาร์ หรือพื้นท่ีเมืองลัมปุง (Lampung)
11,874 เฮกตาร์ เป็นต้น (Syailendra, 2017; กรมส่งเสริมการค้าระหว่าง
ประเทศ กระทรวงพาณชิ ย,์ 2560)

ในสว่ นของบทบาทของรฐั ในเชงิ สถาบนั รฐั บาลของโจโก วโิ ดโดไดท้ �ำความ
รว่ มมือกบั หนว่ ยงานของรัฐทางด้านที่ดิน เกษตรกรรม และพาณิชย์เหมอื นกบั
หลาย ๆ รัฐบาลท่ีผ่านมาเพ่ือพัฒนาและส่งเสริมสินค้าด้านเกษตรกรรมและ

4 รวมถงึ รฐั บาลของโจโก วโิ ดโดยงั สง่ เสรมิ การใหค้ วามรู้ และพฒั นาเทคโนโลยใี นการผลติ ดา้ นเกษตรกรรม
รวมถึงปุ๋ยและเมล็ดพนั ธแ์ุ ก่เกษตรกรภายในประเทศอีกดว้ ย

41(มกราคม-ปมีทิถ่ี ุน1า9ยฉนบ2ับ5ท65ี่ 1)
อาหารภายในประเทศ อย่างไรก็ตาม หนงึ่ ในหน่วยงานท่ีมีบทบาทโดดเด่นขึน้
มาในชว่ งของโจโก วโิ ดโด คอื หนว่ ยงานทางทหารและความมน่ั คงอยา่ งกองทพั
อินโดนีเซียหรือ Tentara Nasional Indonesia (Indonesian armed
forces: TNI) ท่ีโจโก วิโดโดได้เปล่ียนบทบาทของหน่วยงานทางทหารจาก
บทบาทเพยี งเพอื่ การสนบั สนนุ สบู่ ทบาทเชงิ รกุ ตอ่ การรกั ษาและเสรมิ สรา้ งการ
พึ่งพาตนเองทางอาหารและอธิปไตยทางอาหารของประเทศ ผ่านโครงการ
TNI-AD Mendukung Ketahanan Pangan (Army Supporting Food
Security) โดยการปรบั เปลย่ี นบทบาทของหนว่ ยงานทางทหารของโจโก วโิ ดโด
เกิดจากการน�ำนโยบายด้านเกษตรกรรม นโยบายการพ่ึงพาตนเองทางอาหาร
และนโยบายอธิปไตยทางอาหาร เป็นส่วนหน่ึงของ “วาระการสร้างชาติ”5
(nation-building agenda) ทห่ี น่วยงานทางทหารและความม่นั คงต้องเขา้ มา
มสี ่วนรว่ มมากขน้ึ (Syailendra, 2017; Food Industry Asia, 2014)

อย่างไรก็ตาม แม้นโยบายการพ่ึงพาตนเองทางอาหารของโจโก วิโดโด
จะได้รับความนิยมจากประชาชนส่วนใหญ่ภายในประเทศ จนเป็นส่วนหนึ่ง
ทท่ี �ำใหโ้ จโก วโิ ดโดไดร้ บั ชยั ชนะเขา้ มาเปน็ ประธานาธบิ ดขี องประเทศอนิ โดนเี ซยี
อย่างไรก็ตาม ผลท่ีตามมาในเชิงลบของนโยบายการพึ่งพาตนเองทางอาหาร
ของ โจโก วิโดโดกลบั เกดิ ขึ้นในหลายระดบั ประกอบดว้ ย (Syailendra, 2017;
Globeasia, 2018; Davidson, 2019; Indonesia-investments, 2015; กลมุ่
งานยุทธศาสตร์ภูมิภาคอาเซียน กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ, 2559;
เกรยี งศักด์ิ เจริญวงศ์ศักด์ิ, 2556)

5 โดยเรม่ิ มคี �ำสง่ั การโดยโจโก วโิ ดโดเองไปยงั หนว่ ยงานของกองทพั ในระดบั ภมู ภิ าค (military regional
commands) หรอื Komando Daerah Militer (Kodam) ต้ังแตเ่ ดือนธนั วาคม ค.ศ. 2014

42 วมหาราวสิทายราสลหัยวธรทิ รยมาศกาสาตรรว์ ทิ ยาลัยสหวิทยาการ

ระดบั ระหวา่ งประเทศ จากเปา้ หมายของรฐั ทเี่ ขา้ มาแทรกแซงกลไก
ตลาดการคา้ สนิ คา้ ประเภทอาหารและเกษตรกรรมระหวา่ งประเทศ
มีผลท�ำให้ประเทศอินโดนีเซียลดการน�ำเข้าสินค้าเกษตรลงได้ เพื่อ
นำ� มาสกู่ ารพง่ึ พาตลาดสนิ คา้ เกษตรกรรมภายในประเทศ แตอ่ ยา่ งไร
ก็ตาม ผลในเชิงลบของนโยบายดังกล่าวในระดับระหว่างประเทศ​
ได้ปรากฏให้เห็นจากการเคลื่อนไหวของประเทศที่ได้รับผลกระทบ
จากกฎระเบยี บทีเ่ ปน็ ข้อจ�ำกัดในการค้ากบั ประเทศอินโดนีเซยี โดย
สหรฐั อเมรกิ า6 ไดย้ น่ื ฟอ้ งตอ่ องคก์ ารการคา้ โลก (WTO) เมอื่ วนั ท่ี 13
พฤศจกิ ายน ค.ศ. 2015 เพอ่ื ใหจ้ ดั ตงั้ คณะผพู้ จิ ารณาการใชม้ าตรการ
ท่ีก�ำหนดให้ต้องขอใบอนุญาตน�ำเข้าสินค้าเกษตรกรรมและ
ผลติ ภณั ฑจ์ ากเนอื้ สตั วข์ องอนิ โดนเี ซยี ซง่ึ มาตรการดงั กลา่ วเปน็ การ
หา้ มและจำ� กดั การนำ� เขา้ ทขี่ ดั กบั ความตกลงขององคก์ ารการคา้ โลก

ระดับประเทศ ผลของนโยบายในเชิงลบที่เห็นได้ชัดเจนที่สุด คือ
นโยบายการพงึ่ พาตนเอง และการลดการนำ� เขา้ สนิ คา้ ประเภทอาหาร
และเกษตรกรรมจากต่างประเทศได้ท�ำให้ราคาสินค้าเกษตรกรรม
ของตลาดภายในประเทศสูงข้ึน อันเนื่องมาจากไม่มีสินค้าประเภท
อาหารและเกษตรกรรมราคาถกู จากตา่ งประเทศเขา้ มาแขง่ ขนั สง่ ผล
ใหป้ ระชาชนในอนิ โดนเี ซยี ตอ้ งประสบกบั สภาวะคา่ ครองชพี ทส่ี งู ขนึ้
โดยทสี่ นิ คา้ บางประเภทกม็ แี นวโนม้ ของราคาทส่ี งู มากกวา่ ราคาเฉลยี่
ในตลาดโลก รวมถึงประชาชนยังต้องประสบกับปัญหาการเข้าถึง
อาหารในบางช่วงเวลาอีกดว้ ย

6 นอกเหนอื จากสหรฐั อเมรกิ า ไทยกเ็ ปน็ อกี ประเทศทไี่ ดร้ บั ผลกระทบจากนโยบายและกฎระเบยี บเกย่ี ว
กบั การพง่ึ พาตนเองทางอาหารของวโิ ดโด ดงั ขอ้ มลู เมอื่ ขอ้ มลู มลู คา่ การสง่ ออกสนิ คา้ ผลไมส้ ดของไทย
ไปยงั ประเทศอนิ โดนีเซยี เมอื่ ปี ค.ศ. 2012 มีมลู คา่ สูงถงึ 102.72 ล้านดอลลารส์ หรัฐ กอ่ นทีใ่ นปี ค.ศ.​
2015 มลู ค่าจะตกลงมาอยู่ท่ี 48.82 ลา้ นดอลลาร์สหรฐั (กลุม่ งานยุทธศาสตร์ภูมภิ าคอาเซยี น กรม
สง่ เสรมิ การคา้ ระหวา่ งประเทศ, 2559)

43(มกราคม-ปมที ิถ่ี ุน1า9ยฉนบ2บั 5ท65่ี 1)
ระดับสถาบัน แมร้ ัฐบาลของโจโก วโิ ดโดได้ส่งเสรมิ ให้เกิดกลไกเชิง

สถาบันเพ่ือเป็นส่วนหนุนเสริมในการพัฒนาการพึ่งพาตนเองและ
อธิปไตยทางอาหารภายในประเทศ อย่างไรก็ตาม ด้วยปัญหาของ
การประสานงานเช่อื มโยง ปัญหาของการบริหารจดั การ และปญั หา
ของความโปร่งใสหรือปัญหาคอร์รัปชันที่เกิดข้ึน ท�ำใหก้ ลไกสถาบนั
ดงั กลา่ วมสี ว่ นตอ่ การทำ� ใหเ้ กดิ ความขดั แยง้ เกดิ ขน้ึ ดงั เชน่ กระทรวง
เกษตรได้อ้างถึงจ�ำนวนข้าวท่ีเหลือใช้ (surplus) ภายในประเทศ​
มีมากถึง 300,000 ตันแต่ในขณะที่กระทรวงพาณิชย์กลับเสนอให้​
มีการนำ� เขา้ ขา้ วจากต่างประเทศจำ� นวน 500,000 ตนั เพอ่ื ปอ้ งกนั
ปัญหาการขาดแคลนข้าวของประเทศ นอกจากน้ียังรวมถึงปัญหา​
ที่รัฐบาลและหน่วยงานของรัฐไม่สามารถประสานงานหรือส่งออก
สินค้าประเภทอื่น ๆ ไปขายยังต่างประเทศได้ ซึ่งน�ำไปสู่การต้ังข้อ
สังเกตของประชาชนถงึ ประสทิ ธิภาพในการด�ำเนินงานของรัฐ และ
ความไม่พอใจของเกษตรกรต่อปัญหาของกลไกเชิงสถาบันดังกล่าว​
ท่ผี า่ นมา
ระดับท้องถ่ิน นโยบายการพึ่งพาตนเองทางอาหารที่ได้น�ำไปสู่การ
หนุนเสริมต่อการขยายตัวของพ้ืนท่ีเกษตรกรรมภายในประเทศ ซ่ึง
เปน็ สว่ นหนงึ่ ทที่ ำ� ใหเ้ กดิ การขยายตวั ของปญั หาความขดั แยง้ ในเรอ่ื ง
ท่ีดินเพิ่มมากข้ึนในพื้นท่ีต่าง ๆ อันเน่ืองมาจากการสูญเสียท่ีดิน​
ของเกษตรกรรายย่อย และการกระจุกตัวของการถอื ครองท่ดี นิ โดย
เจา้ ทดี่ นิ รายใหญท่ เ่ี พมิ่ มากขน้ึ รวมถงึ การขยายตวั ของเมอื งและพนื้ ท่ี
อุตสาหกรรมที่ได้เข้ามาซ�้ำเติมความขัดแย้งในเร่ืองที่ดินให้เพ่ิมมาก
ขนึ้ ในทอ้ งถิ่นตา่ ง ๆ

44 มวหาราวสิทายราสลหยั วธริทรยมาศกาสาตรรว์ ิทยาลัยสหวิทยาการ

นโยบายการพ่ึงพาตนเองทางอาหารของโจโก วิโดโด แม้เป้าหมายของ
นโยบายเป็นไปเพื่อการสร้างความมั่นคงและอธิปไตยทางอาหารและ
เกษตรกรรมภายในประเทศอนิ โดนเี ซยี แตผ่ ลทเ่ี กดิ ขน้ึ กลบั มที ง้ั ในเชงิ บวกและ
เชงิ ลบ อนั มสี ว่ นตอ่ ปญั หาความขดั แยง้ ในระดบั ตา่ ง ๆ ทรี่ ฐั บาลของโจโก วโิ ดโด
ต้องแก้ไขและพัฒนากลไกตา่ ง ๆ ให้มปี ระสิทธิภาพมากขึ้นต่อไป

อยา่ งไรกด็ ี ภายใตเ้ ปา้ หมายเกย่ี วกบั อธปิ ไตยทางอาหารของโจโก วโิ ดโด
กลบั พบวา่ ในปี ค.ศ. 2015 รฐั บาลไดข้ น้ึ ขนึ้ ราคาขา้ วเปน็ ครงั้ แรกในรอบสามปี
ซึ่งข้าวถือเป็นอาหารหลักของชาวอนิ โดนีเซยี โดยเฉพาะในช่วงเดอื นรอมฎอน
รวมถึงรัฐบาลยังได้ยกเลิกนโยบายการก�ำหนดภาษีการน�ำเข้าปศุสัตว์จาก
ออสเตรเลยี 7 ท้ัง ๆ ที่นโยบายการก�ำหนดภาษีการน�ำเข้าปศสุ ตั ว์ถกู ก�ำหนดขึ้น
เพยี งไมน่ าน ท�ำใหก้ ลมุ่ ขบวนการเกษตรกรและชาวนาหลายคนมมี มุ มองตอ่ โจโก
วโิ ดโดวา่ เขาเปน็ ผทู้ บี่ ดิ เบอื นความหมายของค�ำวา่ “อธปิ ไตยดา้ นอาหาร” ไป และ
เขาท�ำไปเพราะมันเป็นประเด็นท่ีสามารถเป็นกระแสและเป็นท่ีนิยมของชาว
อนิ โดนเี ซยี อันเชื่อมโยงกับนโยบายทางเศรษฐกิจอืน่ ๆ เช่น การลดการน�ำเขา้
สินค้า และการควบคุมพ้ืนท่ีชายแดนทางทะเลของอินโดนีเซีย แต่ส�ำหรับ
เกษตรกรและชาวนาเอง นัยยะความหมายของค�ำว่าอธิปไตยทางด้านอาหาร
ตามทีโ่ จโก วิโดโดว่าไว้นั้น อาจไม่สามารถชว่ ยเพิม่ หรอื รกั ษาความเป็นอยู่และ
สทิ ธใิ นท่ดี นิ ท�ำกนิ ของพวกเขาไวไ้ ด้ โดยเฉพาะแนวโน้มของการถกู แย่งยดึ และ
สูญเสียท่ีดินของเกษตรกรและชาวนาอินโดนีเซียมีแนวโน้มสูงข้ึนเรื่อย ๆ จาก
การขยายตวั ของอตุ สาหกรรมการผลติ และภาคบรกิ ารการทอ่ งเทย่ี วทม่ี มี ากขนึ้
เช่น ในพ้ืนท่ีของลอมบ็อก (Lombok)8 ท่ีมีการขยายตัวของแหล่งท่องเท่ียว

7 โจโก วโิ ดโดออกนโยบายกำ� หนดภาษกี ารนำ� เขา้ ปศสุ ตั วจ์ ากออสเตรเลยี เพอื่ สง่ เสรมิ การผลติ ปศสุ ตั ว์
ในทอ้ งถ่นิ ในชว่ งแรก กอ่ นที่จะยกเลิกไปในชว่ งเวลาต่อมา

8 เปน็ พน้ื ทหี่ นง่ึ ทมี่ ขี อ้ พพิ าทดา้ นทด่ี นิ ทำ� กนิ ของเกษตรกร จากการรกุ คบื และขยายตวั เขา้ มาของแหลง่
ทอ่ งเทีย่ ว ซงึ่ สร้างกำ� ไรใหม้ ากกว่า โดยเฉพาะการเข้ามาของบรษิ ัท Lombok Tourism Develop-
ment Corporation ในปี ค.ศ. 1989 ทเี่ ข้ามาบังคับซือ้ ที่ดนิ จ�ำนวนมาก จนน�ำไปส่กู ารเรยี กร้องของ
เกษตรกรและชาวนาในกระบวนการยุตธิ รรมเกย่ี วกบั สทิ ธิในที่ดินของตนเอง เพอ่ื ให้ได้รบั การชดเชย
คา่ เสยี หายและเสยี โอกาสทเ่ี หมาะสมจากการสญู เสยี ทด่ี นิ ของตนเอง [Indonesian Resources and
Information Program (IRIP), 2016]

45(มกราคม-ปมีทิถี่ ุน1า9ยฉนบ2บั 5ท65ี่ 1)
เขา้ ไปในพ้นื ท่เี กษตรกรรมมากข้ึนเร่อื ย ๆ นบั ตงั้ แต่ปี ค.ศ. 1980 เปน็ ตน้ มาถงึ
ปจั จบุ นั [Indonesian Resources and Information Program (IRIP), 2016]

นอกจากประเด็นในเรื่องของอธิปไตยทางอาหารในช่วงระยะเวลาการ
ด�ำรงต�ำแหนง่ ประธานาธบิ ดขี องโจโก วโิ ดโดแลว้ ขบวนการเคลอ่ื นไหวเกษตรกร
และชาวนายงั ใหค้ วามสนใจในประเดน็ ขบั เคลอื่ นรว่ มสมยั อกี หลายประเดน็ โดย
มีการขับเคล่ือนกับภาคประชาสังคมกลุ่มอื่น ๆ อย่างกลุ่มองค์กรนอกภาครัฐ
(NGO)s กล่มุ นกั เรยี นนักศกึ ษา หรือองค์กรระหวา่ งประเทศตา่ ง ๆ เน่อื งจาก
แม้ว่าในปัจจุบันประเทศอินโดนีเซียถือเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุด
เปน็ อนั ดบั ทสี่ ข่ี องโลก และยงั ถอื เปน็ ประเทศทม่ี ปี ระชากรนบั ถอื ศาสนาอสิ ลาม
มากทีส่ ดุ ของโลกอีกด้วย แต่ประเทศอินโดนีเซียกย็ ังมีปญั หาตา่ ง ๆ ด�ำรงอยไู่ ม่
วา่ จะเปน็ ปญั หาความยากจน การพฒั นาการศกึ ษา การกอ่ การรา้ ย (terrorism)
ปัญหาทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตย (ภายหลังจากส่ีทศวรรษของการ
ปกครองแบบอ�ำนาจนิยม) การปฏิรูปเศรษฐกิจและการเงิน การทุจริต9 การ
ปฏิรูประบบยุติธรรม การจัดการตอ่ การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ และการ
ควบคุมโรคติดต่อ โดยเฉพาะปัญหาเกี่ยวกับความยากจน ข้อมูลในเดือน
กันยายน ค.ศ. 2017 พบจ�ำนวนคนยากจนสูงถึง 27.76 ลา้ นคน หรือคดิ เป็น
รอ้ ยละ 62.2 ของประชากรทั้งหมด โดยสว่ นใหญ่อาศยั อยู่ในพื้นทช่ี นบท และ
ส่วนใหญ่ยังประกอบอาชีพการผลิตในภาคเกษตรกรรม ในขณะท่ีข้อมูลของ
เดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2017 แสดงให้เห็นว่าก�ำลังแรงงานการผลิตในภาค
เกษตรกรรมมีสูงถึง 31,860,000 คน หรือมีมากกว่าสองเท่าของแรงงาน
อุตสาหกรรมท่ีมีเพียง 13.31 ล้านคน ซึ่งได้สร้างผลกระทบต่อภาพรวมการ
พฒั นาการผลติ ด้านเกษตรกรรมของประเทศ (Widodo, 2017)

9 ในช่วงเดือนกันยายน ปี ค.ศ. 2019 ได้มีกลุ่มนักเรียนนักศึกษามาชุมนุมประท้วงต่อปัญหาการ
คอร์รัปชนั และปัญหาการออกกฎหมายต่าง ๆ ของโจโก วิโดโด (Jaffrey, 2019)

46 วมหาราวสทิ ายราสลหยั วธริทรยมาศกาสาตรรว์ ิทยาลัยสหวิทยาการ
ความพยายามของโจโก วิโดโดในการปฏิรูปที่ดินและเกษตรกรรมของ

ประเทศอินโดนีเซีย เป็นความพยายามผ่านระบอบประชาธิปไตยด้วยการใช้
กระบวนการทางสถาบัน และทางกฎหมายของประเทศ ตัวอย่างของความ
พยายามดังกล่าวของโจโก วิโดโดคือ การออกกฎระเบียบโดยประธานาธิบดี
(Presidential Regulation no.86) เกย่ี วกับการปฏริ ปู เกษตรกรรมเมือ่ ปี ค.ศ.
2018 เพื่อจัดสรรที่ดินท�ำกินและปฏิรูปกฎหมายเก่ียวกับสิทธิในที่ดิน ส�ำหรับ
ลดปัญหาการกระจุกตัวของท่ีดินท่ีมีมาตั้งแต่ในช่วงของซูฮาร์โตรวมถึง
กฎระเบียบยังส่งเสริมให้เกิดการต้ังสถาบันและองค์กรต่าง ๆ ของรัฐที่ช่วย
ในการปฏริ ปู เกษตรกรรมและทดี่ นิ ของเกษตรกรรายยอ่ ยในประเทศอนิ โดนเี ซยี
โดยท�ำงานรว่ มกบั หนว่ ยงานหลกั ของรฐั บาลอยา่ งกระทรวงปา่ ไม้ (Ministry of
Forestry) และกระทรวงการเกษตรและการวางแผนพื้นที่ (Ministry of
Agrarian and Spatial Planning) (Nantu, 2019)

ในช่วงระยะเวลาของการปฏิรูปท่ีดินและเกษตรกรรมของโจโก วิโดโด
ข้อมูลของขบวนการเคล่ือนไหวเกษตรกรและชาวนาอย่าง Konsorsium
Pembaruan Agraria (Consortium for Agrarian Reform: KPA) ได้แสดง
ใหเ้ หน็ วา่ การด�ำเนนิ การของกระทรวงปา่ ไมใ้ นการใหใ้ บอนญุ าตแกบ่ รษิ ทั ปา่ ไม้
ขนาดใหญม่ ีมากขน้ึ 531 ใบ ครอบคลมุ พน้ื ท่ีมากถงึ 35.8 ลา้ นเฮกเตอร์ ส่วน
ใบอนุญาตส�ำหรับป่าชุมชนและคนพื้นเมืองมีจ�ำนวนเพียง 57 ใบ ครอบคลุม
พ้ืนที่ 0.32 ลา้ นเฮกเตอร์เท่านั้น ส่วนการด�ำเนนิ การของกระทรวงการเกษตร
และการวางแผนพ้ืนท่ีและรัฐบาลในการจัดสรรท่ีดินท�ำกินให้แก่เกษตรกร
รายยอ่ ย จากขอ้ มลู ระหวา่ งปี ค.ศ. 2014 จนถงึ ปี ค.ศ. 2018 พบวา่ จากเปา้ หมาย
ในการจัดสรรที่ดินรกร้างว่างเปล่าแก่เกษตรกรรายย่อยจ�ำนวน 0.4 ล้าน
เฮกเตอร์ แต่ตัวเลขจัดสรรท่ีกลับพบเพียง 188,295 เฮกเตอร์เท่าน้ัน เช่น
เดียวกันกบั ข้อมูลของสถาบันอยา่ งสถาบันซาจอ็ กโจ (Sajogjo Institute) หรอื

47(มกราคม-ปมีทิถ่ี ุน1า9ยฉนบ2บั 5ท65ี่ 1)
ศนู ยเ์ กษตรศกึ ษาและรายงานแหง่ อนิ โดนเี ซยี (Indonesian Center for Agrarian
Studies and Documentation reports) ที่มีรายงานออกมาว่า คดีพิพาท
ในเรื่องเกย่ี วกบั ท่ีดินทเ่ี กดิ ข้นึ ในชว่ งของโจโก วโิ ดโดมีมากถึง 2,368 คดี และ
มีเพียง 480 คดีเท่าน้ันท่ีสามารถด�ำเนินการแล้วเสร็จได้ภายในปี ค.ศ. 2018
ซง่ึ เปน็ ตวั เลขทห่ี า่ งไกลจากเปา้ หมายของรฐั บาลเปน็ อยา่ งมาก (Nantu, 2019)

ด้วยปัญหาความขัดแย้งในเร่ืองสิทธิในที่ดินท�ำกินและปัญหาด้าน
เกษตรกรรมที่ยังคงด�ำรงอยู่ในประเทศอินโดนีเซีย ท�ำให้ภาคประชาสังคม
และขบวนการเกษตรกรและชาวนายังคงเคล่ือนไหวเรียกร้องและขับเคล่ือน
วาระการแก้ไขปัญหา รวมถึงวาระเก่ียวกับการพัฒนาเพื่อความเท่าเทียมและ
เป็นธรรมอย่างต่อเนื่องอยู่ ดังจะเห็นได้จากบทบาทของหลาย ๆ กลุ่มและ
ขบวนการท่ีมีลักษณะเช่ือมโยงกันในหลายระดับ เช่น การเช่ือมโยงสู่ระดับ
ระหว่างประเทศอย่างการเข้าร่วมเครือข่ายกับลา เวีย กัมเปซินา หรือการขับ
เคลื่อนประเด็นด้านเกษตรกรรมและความมั่นคงทางอาหารกับกลุ่มเครือข่าย
เกษตรกรและชาวนาในกลมุ่ ประเทศสมาชกิ อาเซยี น รวมถงึ ภายในประเทศกย็ งั
มีกลุ่มท่ีขับเคลื่อนท้ังในระดับส่วนกลางและระดับท้องถ่ินกลุ่มต่าง ๆ อย่าง
Konsorsium Pembaruan Agraria ทม่ี กี ารเคลอ่ื นไหวและเกบ็ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั
ปญั หาในเรื่องสิทธิในทดี่ ินท�ำกนิ ตา่ ง ๆ เพือ่ การปฏิรูปเกษตรกรรมทเี่ ปน็ ธรรม
กลมุ่ Federasi Serikat Petani Indonesia (Federation of Indonesian
Peasant Union: FSPI) เปน็ กลมุ่ สหภาพชาวนาระดบั ประเทศทมี่ กี ารเชอื่ มโยง
กับขบวนการเกษตรกรและชาวนาในระดับท้องถิ่นจ�ำนวนมาก กลุ่ม Aliansi
Gerakan Reforma Agraria (Alliance of Agrarian Reform Movement:
AGRA) มีลักษณะคล้ายกับกลุ่ม SPI ท่ีมีการเคล่ือนไหวในระดับชาติและ
เช่ือมโยงกับขบวนการเกษตรกรและชาวนาในระดับท้องถิ่นหรือกลุ่มท่ีมีการ
เคลอ่ื นไหวในระดบั พนื้ ทอี่ ยา่ งกลมุ่ Serikat Petani Pasundan (Sundanese

48 วมหาราวสทิ ายราสลหยั วธรทิ รยมาศกาสาตรรว์ ทิ ยาลัยสหวิทยาการ
Peasant Union: SPP) ในพน้ื ท่ีภาคตะวนั ตกของชวา ทกี่ ่อต้ังและขบั เคล่ือน
เกี่ยวกับการปฏิรูปที่ดินมาต้ังแต่ในช่วงการปฏิรูปที่ดินการเกษตร (Reforma
Agraria) สมยั ยูโดโยโน

ประกอบกบั กลุม่ Peasant Union West Nusa Tenggara (SERTA) ท่ี
เคลอ่ื นไหวเพอื่ เรยี กรอ้ งสทิ ธใิ นทด่ี นิ และคา่ เสยี หายทเ่ี หมาะสมจากการถกู ธรุ กจิ
การทอ่ งเทยี่ วในพน้ื ทลี่ อมบอ็ กของชวาแยง่ ยดึ ไป นอกจากนใี้ นกลมุ่ ภาคประชา
สังคมอ่ืน ๆ ที่เข้ามามีส่วนร่วมเคลื่อนไหวในด้านเกษตรกรรมและท่ีดิน อย่าง
National Student’s Front (FMN) เปน็ กลมุ่ นกั เรียนนกั ศกึ ษาทเ่ี คลอื่ นไหว
เกยี่ วกบั ประเดน็ ปญั หาเรอ่ื งทด่ี นิ และการเขา้ ถงึ ทรพั ยากรธรรมชาติ หรอื Rural
Youth Organisation (KPSPM) เปน็ ขบวนการเคลือ่ นไหวท่มี ฐี านมาจากกลุ่ม
เยาวชนในพ้ืนที่ชนบท [Rachman, 2011; Indonesian Resources and
Information Program (IRIP), 2016; Nantu, 2019]

ดังนั้น นโยบายในด้านที่ดิน อาหาร และเกษตรกรรมของโจโก วิโดโด
ถอื เปน็ สง่ิ ทที่ า้ ทายตอ่ ปญั หาขอ้ พพิ าทเกยี่ วกบั สทิ ธใิ นทดี่ นิ ทม่ี คี วามสลบั ซบั ซอ้ น
ระหวา่ งเกษตรกร ชาวนา คนพนื้ เมอื ง บรษิ ทั เอกชน กลมุ่ ทนุ ตา่ งชาตขิ นาดใหญ่
และรัฐบาลทีม่ ีมาอย่างยาวนาน เนอ่ื งจากการจัดสรรท่ดี ินของกลุ่มอ�ำนาจสมยั
อาณานคิ ม ท�ำใหท้ ด่ี นิ กลายเปน็ สินคา้ ท่ีมีสิทธิครอบครองตามกฎหมายอนั เปน็
ประโยชน์ต่อกลุ่มทุนและเจ้าที่ดินรายใหญ่เท่าน้ัน แม้รัฐบาลของโจโก วิโดโด
ได้พยายามออกกฎหมายหรือสร้างสถาบันท่ีเก่ียวข้องกับการปฏิรูปท่ีดิน
และการเกษตรมาเพื่อแก้ไขปัญหาแล้วก็ตาม (Nnoko-Mewanu, 2018;
Nantu, 2019)


Click to View FlipBook Version