The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by วารสารสหวิทยาการ, 2022-07-01 02:27:55

วารสารสหวิทยาการ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1

(มกราคม - มิถุนายน 2565)

149(มกราคม-ปมที ิถี่ ุน1า9ยฉนบ2บั 5ท65่ี 1)
นอกจากนี้เมื่อพิจารณาเหตุผลทางกฎหมายของผู้ทรงคุณวุฒิด้าน
นติ ศิ าสตรซ์ ง่ึ ไดก้ ลา่ วถงึ เรอ่ื งการยตุ หิ รอื การงดเวน้ การใหก้ ารรกั ษาแกผ่ ปู้ ว่ ยพบ
วา่ มแี งม่ มุ บางประการทนี่ า่ สนใจ อาทิ วา่ ทรี่ อ้ ยตรี ดร. ถวลั ย์ รยุ าพร นายกสภา
ทนายความ ได้แสดงความเห็นไว้ว่า “...กรณี (ในการงดการรักษาแก่ผู้ป่วย)
มสี องแบบ แบบแรกผปู้ ว่ ยแสดงเจตนาเองซงึ่ จะไมย่ งุ่ ยาก กบั แบบทสี่ องคอื เรอ่ื ง
ผู้ป่วยไม่สามารถแสดงเจตนาได้แล้ว ซึ่งสิ่งนี้คือเรื่องที่ละเอียดอ่อนและต้องมี
การท�ำความเข้าใจอย่างมาก การท�ำความเข้าใจต้องท�ำอย่างดี เพราะญาติ
จะตอ้ งรบั วา่ ผปู้ ว่ ยอยใู่ นสภาวะทเี่ รยี กไดว้ า่ ระยะสดุ ทา้ ย เปน็ สงิ่ ทลี่ ะเอยี ดออ่ น
มาก และตอ้ งจรงิ จงั ในการท�ำความเขา้ ใจกบั ญาตอิ นั เปน็ การปอ้ งกนั ปญั หาอนื่ ๆ
ท่จี ะตามมาได้อย่างดยี ่งิ ” (“สทิ ธิปฏเิ สธการรกั ษา,” 2562, น. 73-74) หรือที่
ร้อยต�ำรวจโท ดร. อทุ ยั อาทเิ วช อัยการพเิ ศษ ฝ่ายพัฒนากฎหมาย ส�ำนักงาน
วชิ าการ ส�ำนกั งานอัยการสูงสดุ ไดใ้ หค้ วามเห็นว่า “กรณีหมายถงึ ไมม่ ีหนงั สอื
แสดงเจตนา คือพอไม่มีมันก็ไม่เข้าบทบัญญัติของกฎหมายดังน้ันหมอต้องรับ
ความเสี่ยงเต็ม ๆ...ฉะนั้นคิดว่าถ้าหมอท�ำงานโดยไม่มีหนังสือแสดงเจตนา
หมอจะไมไ่ ดร้ ับการคุ้มครองตามวรรคสาม (ของมาตรา 12) อย่างชัดเจนนกั ”
(“สิทธิปฏิเสธการรกั ษา,” 2562, น. 83) นอกจากน้ใี นสว่ นของอยั การจนั ทิมา
ธนาสว่างกุล รองอธิบดีอัยการ ส�ำนักงานคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทาง
กฎหมายแก่ประชาชน ได้ให้ความเห็นว่า “...ในประเด็นน้ีแสดงให้เห็นว่า
แม้ว่าผู้ป่วยจะไม่ได้ตัดสินใจอะไรไว้เลย ตอนนี้เป็นหน้าที่ของญาติพ่ีน้องว่าจะ
ด�ำเนินการอย่างไร...ซ่ึงหากพูดคุยตกลงกันได้แพทย์ผู้รักษาก็ไม่มีความกังวล...
หนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขจะมีประโยชน์ส�ำหรับ
ผู้ป่วยเอง ครอบครัวของผู้ป่วย และบุคลากรด้านสาธารณสุข ช่วยลดความ
ขดั แยง้ ในหมู่ญาติ และความขัดแย้งระหว่างญาติกับบุคลากรด้านสาธารณสุข
ในเรอ่ื งแนวทางการรกั ษาพยาบาลในกรณผี ปู้ ว่ ยไมม่ สี ตสิ มั ปชญั ญะพอจะสอื่ สาร
ไดแ้ ลว้ ...” (“สรุปการสมั มนาวิชาการ,” 2562, น. 74-75) จากความคดิ เหน็

150 วมหาราวสทิ ายราสลหัยวธริทรยมาศกาสาตรรว์ ทิ ยาลัยสหวิทยาการ
ประกอบเหตุผลทางกฎหมายข้างต้นนี้ท�ำให้เห็นได้ว่า แม้จะไม่มีหนังสือแสดง
เจตนาของผู้ป่วยแต่ผู้เชี่ยวชาญทางกฎหมายก็เห็นว่าสามารถท�ำได้แต่ก็โดย
เง่ือนไขท่ีต่างออกไปรวมทั้งต้องใช้ความระมัดระวังมากกว่าในกรณีท่ีมีหนังสือ
แสดงเจตนา

ผศู้ กึ ษามคี วามเชอื่ มนั่ อยา่ งไมม่ ขี อ้ สงสยั วา่ ผเู้ กย่ี วขอ้ งและผใู้ หค้ วามเหน็
ทุกท่านท่ีกล่าวมาข้างต้น ต่างเสนอความเห็นและให้เหตุผลในทางกฎหมาย
โดยวางอยู่บนหลักวิชานิติศาสตร์ รวมทั้งวางอยู่บนความตั้งใจท่ีดีและความ
หวังดีท้ังต่อผู้ป่วยและญาติ ต่อการด�ำเนินงานของระบบสาธารณสุขอย่าง
มีประสิทธิภาพ และต่อการปฏิบัติหน้าที่โดยราบรื่นของผู้ปฏิบัติงานทุกฝ่าย
ท่เี ก่ียวข้อง แตไ่ ม่วา่ อยา่ งไรก็ไมส่ ามารถปฏิเสธได้ว่าจากความเห็นขา้ งต้นน้ี ใน
มุมมองของนักปฏิบัตินักวิชาการด้านนิติศาสตร์มีความเห็นว่าหนังสือแสดง
เจตนาตามมาตรา 12 เมอ่ื พจิ ารณาใหถ้ งึ ทส่ี ดุ แลว้ ไมไ่ ดม้ อี ะไรทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั สทิ ธิ
การตัดสินใจของผู้ป่วยในการก�ำหนดชีวิตของตน เนื่องจากสิทธิผู้ป่วยที่มีตาม
มาตรานเี้ ปน็ เพยี งสทิ ธใิ นเสรภี าพในการแสดงออกเทา่ นน้ั ทง้ั นเี้ นอื่ งจากบคุ ลากร
ทางการแพทย์ไม่มีสภาพบังคับทางกฎหมายให้ต้องมีหน้าที่เคารพปฏิบัติตาม
ถ้อยค�ำท่ีระบุไว้ในหนังสือแสดงเจตนา แต่ที่เห็นได้ชัดเจนเป็นท่ีแน่นอนเลย
คอื การใชแ้ ละการตคี วามมาตรา 12 ทก่ี �ำหนดใหม้ กี ารท�ำหนงั สอื แสดงเจตนาน้ี
เป็นบทบัญญัติท่ีมีไว้เพื่อท�ำให้การกระท�ำของบุคลากรทางการแพทย์ในกรณี
จ�ำเพาะบางอยา่ งซงึ่ สอดคลอ้ งกบั หนงั สอื แสดงเจตนาและกฎหมาย ไมม่ ปี ญั หา
เรื่องการกระท�ำผิดและไม่ต้องได้รับผลอันเป็นโทษจากระบบกฎหมาย การใช้
และการตคี วามของนกั กฎหมายเกยี่ วกบั กรณนี ด้ี จู ะเปน็ การอ�ำนวยใหเ้ กดิ ความ
สะดวกและความคมุ้ คา่ มปี ระสทิ ธภิ าพแกร่ ะบบสาธารณสขุ ในการรกั ษาพยาบาล
ผปู้ ว่ ยในภาพรวมมากกวา่ ทจี่ ะเปน็ บทบญั ญตั ขิ องกฎหมายทที่ �ำการรบั รองสทิ ธิ
ให้แก่ผู้ป่วยในการก�ำหนดชีวิตของตนเองด้วยเหตุผลและข้อมูลท่ีอภิปรายไป
ขา้ งตน้ ทงั้ หมด

151(มกราคม-ปมีทิถ่ี ุน1า9ยฉนบ2ับ5ท65่ี 1)

บทสรปุ

บทบัญญัติมาตรา 12 แห่งพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติฯ ท่ีว่าด้วย
สทิ ธใิ นการท�ำหนงั สอื แสดงเจตนาปฏเิ สธรบั บรกิ ารดา้ นสาธารณสขุ หรอื ทเ่ี รยี ก
กันว่าพินัยกรรมชีวิต ดูจะเป็นความพยายามของฝ่ายนิติบัญญัติในการตรา
กฎหมายเปิดช่องให้การใช้สิทธิในการก�ำหนดชีวิตของปัจเจกบุคคลสามารถ
ท�ำได้กว้างขวางมากขึ้น อย่างไรก็ดีการตรากฎหมายเป็นเพียงเสมือนต้นธาร
แห่งการเกดิ ขึ้นของสทิ ธิ การใช้และการตีความโดยฝา่ ยนกั กฎหมายผ้มู ีอ�ำนาจ
หน้าที่บังคับใช้กฎหมายก็มีส่วนส�ำคัญมากในการท�ำให้สิทธิที่อยู่ในรูปของตัว
หนงั สอื กลายสภาพเปน็ สทิ ธทิ ม่ี สี ภาพบงั คบั ในโลกของความจรงิ แตก่ ลบั พบวา่
ในทางปฏิบัติแล้วบทบัญญัติของกฎหมายท่ีว่าด้วยการท�ำพินัยกรรมชีวิตน้ี
กลบั ถกู น�ำมาผลกั ดนั ใหเ้ กดิ การบงั คบั ใชไ้ ปในทางทจี่ �ำกดั สทิ ธขิ องปจั เจกบคุ คล
ให้แคบกว่าท่ีถ้อยค�ำซึ่งบัญญัติในกฎหมาย ท�ำให้เห็นว่าความสมัครใจยินยอม
ของผู้ป่วยอาจไม่ใช่เป็นเงื่อนไขส�ำคัญสูงสุดในฐานะท่ีเป็นเง่ือนไขจ�ำเป็น
(necessary cause) ในทัศนะของนักกฎหมาย แม้ทุกความคิดเห็นในการใช้
และการตีความกฎหมายของนักกฎหมายเป็นไปด้วยความต้ังใจดีและคาดหวัง
ทจ่ี ะท�ำใหท้ ง้ั ชวี ติ สว่ นตวั ของผปู้ ว่ ยรวมทงั้ ระบบสาธารณสขุ ของประเทศสามารถ
ด�ำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด แต่เหล่านี้ก็ไม่อาจท่ีจะปฏิเสธได้ว่าในมุม
มองของนกั กฎหมายกม็ ไิ ดม้ ที ศั นะวา่ อตั ตาณตั เิ ปน็ สง่ิ ทมี่ คี ณุ คา่ สงู สดุ การแสดง
ความเห็นในทางกฎหมายยังคงต้ังม่ันอยู่บนหลักการแบบปิตานิยมคือหลักการ
คตฉิ นั บดิ า (paternalism)9 อนั เปน็ แนวคดิ แบบพอ่ ปกครองลกู ซงึ่ ฝา่ ยผมู้ อี �ำนาจ
เปน็ ผมู้ หี นา้ ทเ่ี ลอื กสรรสง่ิ ตา่ ง ๆ ทคี่ ดิ วา่ เหมาะสมใหก้ บั ผอู้ ยใู่ ตอ้ �ำนาจ มากกวา่

9 คำ� ว่า paternalism มกี ารบัญญตั ศิ ัพทเ์ ป็นภาษาไทยโดยราชบณั ฑิตยสภาวา่ “คติฉนั บดิ า” โดยคำ� น้ี
มเี นอื้ หาอยใู่ นขอบขา่ ยของปรชั ญาซง่ึ มนี ยั ถงึ ทศั นะทสี่ นบั สนนุ สภาวะทม่ี กี ารแทรกแซงเสรภี าพหรอื
อตั ตาณตั ขิ องปจั เจกบคุ คลโดยเหน็ วา่ เปน็ ไปเพอ่ื สงิ่ ทดี่ กี วา่ ซง่ึ ปจั เจกบคุ คลเหลา่ นนั้ อาจจะไมส่ ามารถ
เข้าใจมันได้ถ่องแท้เทา่ กบั ผทู้ ม่ี คี วามรู้หรือผทู้ ถี่ อื อ�ำนาจในสงั คม

152 วมหาราวสทิ ายราสลหยั วธริทรยมาศกาสาตรรว์ ิทยาลยั สหวทิ ยาการ
จะปลดปลอ่ ยให้ปัจเจกบุคคลเลือกตัดสินใจในชีวิตอย่างเสรีตามหลกั อตั ตาณตั ิ
ของตนเอง (autonomy) เมื่อเป็นเช่นน้ีในท้ายที่สุดบทบัญญัติในมาตรา 12
ก็อาจไม่ได้บรรลุถึงวัตถุประสงค์ในฐานะที่เป็นบทบัญญัติซึ่งมีขึ้นเพ่ือคุ้มครอง
สิทธิและอัตตาณัติของผู้ป่วยในฐานะปัจเจกอย่างท่ีควรจะเป็น แต่กลับกลาย
เป็นว่ามีสถานะเป็นกฎหมายที่มีประโยชน์ในแง่ของความราบร่ืนในการจัดการ
ของระบบสาธารณสขุ ซ่งึ เป็นประโยชน์ของสงั คมโดยรวมมากกวา่

นอกจากนี้หลังจากที่มีการตราพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติฯ ข้ึน
บงั คบั ใชแ้ ลว้ ดเู พยี งผวิ เผนิ อาจเหมอื นวา่ จะท�ำใหผ้ ปู้ ฏบิ ตั หิ นา้ ทใี่ นระบบบรกิ าร
สาธารณสขุ ท�ำงานไดส้ ะดวกราบรน่ื ขนึ้ โดยปลอดผลรา้ ยจากกฎหมายท่ีตามมา
โดยอาศัยเพียงหนังสือแสดงเจตนาของผู้ป่วยเท่าน้ัน แต่เม่ือพิจารณาตามข้อ
กฎหมายให้ถี่ถ้วนอาจไม่เป็นเช่นนั้น เพราะเม่ือพิจารณาถึงที่สุดแล้วจะพบว่า
บทบัญญัติของกฎหมายเรื่องพินัยกรรมชีวิตท่ีผูกมัดให้การงดเว้นการรักษา
ของแพทยม์ เี หตยุ กเวน้ ความผดิ ไดห้ ากมหี นงั สอื แสดงเจตนาจากผปู้ ว่ ยเปน็ ลาย
ลกั ษณอ์ กั ษรนน้ั เอาเขา้ จรงิ แลว้ กลบั ท�ำใหแ้ พทยอ์ าจมอี สิ ระในการปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี
นอ้ ยลงและอาจกอ่ ใหเ้ กดิ อปุ สรรคและปญั หาในการปฏบิ ตั หิ นา้ ทเี่ พม่ิ มากขน้ึ อกี
ด้วย เม่ือพจิ ารณาเปรียบเทยี บกับประเทศทพี่ ัฒนาแล้วในยุโรปบางประเทศจะ
พบวา่ มคี วามพยายามบรหิ ารจดั การกบั ปญั หาเหลา่ นเ้ี ชน่ กนั แตด่ ว้ ยวธิ กี ารและ
ตรรกะทางความคดิ ท่แี ตกต่างจากทปี่ รากฏในมาตรา 12 กล่าวคือ ในหลาย ๆ
ประเทศในยุโรปนั้นการรักษาผู้ป่วยในบางกรณี เช่น การโหมทุ่มการรักษาแก่
ผู้ป่วยในระยะสุดท้ายหรือการให้การรักษาพยุงชีวิตแก่ผู้ป่วยที่แม้จะยังไม่ถึง
วาระสดุ ทา้ ยแตม่ สี ภาวะทางรา่ งกายจติ ใจทล่ี ดทอนคณุ ภาพชวี ติ ลงไปอยา่ งมาก
ทั้งยังสิ้นหวังท่ีจะรักษาเยียวยาให้กลับมาดีข้ึนได้ การรักษาในกรณีเหล่านี้
ในทางการแพทย์ถือว่าเป็นการให้การรักษาท่ีส้ินหวังหรือสูญเปล่า (futile
treatment / medical futility) การรักษาในกรณีน้ีหลาย ๆ ประเทศในยุโรป
ถือว่ามีมาตรการในการบริหารจัดการที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพมากโดย

153(มกราคม-ปมที ิถี่ ุน1า9ยฉนบ2บั 5ท65่ี 1)
การน�ำประเด็นเรื่องการงดเว้นการรักษาที่สูญเปล่าให้เป็นสิ่งที่อยู่ภายใต้การ
ตดั สนิ ใจของแพทยเ์ ปน็ ส�ำคญั ยกตวั อยา่ งเชน่ ในประเทศเนเธอรแ์ ลนด1์ 0 องั กฤษ
และเวลส์11 ฝรง่ั เศส12 หรอื สวติ เซอรแ์ ลนด1์ 3 เป็นตน้

ระบบกฎหมายของประเทศข้างต้นท่ีถือว่าการรักษาท่ีสูญเปล่าให้เป็น
หนา้ ทใี่ นการวนิ จิ ฉยั ของบคุ ลากรทางการแพทยเ์ ปน็ หลกั โดยไมจ่ �ำเปน็ ตอ้ งมกี าร
แสดงเจตนาจากผปู้ ่วย ท�ำใหก้ ารงดเวน้ การให้การรกั ษาทส่ี ูญเปลา่ ถกู แยกออก
จากเร่ืองอัตตาณัติอย่างส้ินเชิง โดยแยกแยะระบบการประเมินคุณค่าระหว่าง

10 ภายใต้กฎหมายของประเทศเนเธอร์แลนด์ประกอบกับแนวปฏิบัติทางจริยธรรมวิชาชีพแพทย์โดย
KNMG (Koninklijke Nederlandsche Maatschappij tot bevordering der Geneeskunst /
The Royal Dutch Medical Association) หรือราชแพทยสมาคมแหง่ ดัตช์ ถือว่าการรกั ษาที่ส้ิน
หวังเป็นการละเมิดต่อจริยธรรมวิชาชีพ และแพทย์จะต้องไม่ให้การรักษาท่ีส้ินหวังเหล่านี้แก่ผู้ป่วย
เน่ืองจากเป็นการกระท�ำท่ีนอกจากจะไม่ท�ำให้ผู้ป่วยหายจากโรคแล้วยังลดทอนคุณภาพชีวิตของ​
ผู้ป่วยอกี ด้วย โดยการฝา่ ฝนื กระทำ� การให้การรักษาทส่ี ญู เปล่านี้อาจจะก่อใหเ้ กดิ ผลในทางกฎหมาย
ตามมา เชน่ ความผดิ และโทษในทางอาญา ความรบั ผดิ ในความเสยี หายทางแพง่ โทษในทางวนิ ยั ของ
วชิ าชพี แพทย์ หรอื แมก้ ระทงั่ บรษิ ทั ประกนั ภยั ยงั สามารถปฏเิ สธภาระคา่ ใชจ้ า่ ยในการรกั ษาทสี่ ญู เปลา่
น้ีอีกดว้ ย (John Griffiths, Heleen Wayers, & Maurice Adams, 2008, pp. 59-64)

11 เนอ่ื งดว้ ยประเทศองั กฤษและเวลสใ์ ชร้ ะบบ common law จงึ อาศยั การอา้ งองิ จากคดี Bland 1993
ซ่ึงเป็นคดีท่ีมีการร้องขอจากศาลให้นาย Anthony David Bland ผู้ป่วยสภาพผัก (Persistent
Vegetative State) รับการยุติการให้การรักษาพยุงชีวิตโดยท่ีไม่มีการแสดงเจตนาไว้ล่วงหน้าจาก​
ผปู้ ว่ ย และ House of Lord ซ่ึงเปน็ องคก์ รตุลาการสูงสุดของประเทศก็ไดม้ ีคำ� พพิ ากษาในกรณนี ้ีจน
เกิดหลักกฎหมายว่า การงดเว้นการรักษาท่ีสิ้นหวังซ่ึงแม้จะไม่มีการแสดงความยินยอมจากผู้ป่วย
เนื่องจากไม่อยู่ในสภาพที่สามารถให้การยินยอมได้และแม้จะน�ำไปสู่ความตายของผู้ป่วยก็ไม่ถือเป็น
ความผิด แต่เป็นหนา้ ทขี่ องแพทยท์ จ่ี ะต้องเลือกกระท�ำการใดโดยยึดประโยชน์ของผ้ปู ว่ ยอย่างสงู สดุ

12 ในประมวลกฎหมาย Code de la santé publique 2005 article L 1110 และ L 1111 ไดก้ ล่าว
ถึงการรักษาที่สูญเปล่า (acharnement thérapeutique) มีสาระส�ำคัญว่า การรักษาท่ีไม่สมเหตุ
สมผล ไร้ประโยชน์ หรือไม่ได้สัดส่วน จะต้องถูกระงับยับยั้งหรือยุติเนื่องด้วยเหตุผลในการเคารพ
ศักดศ์ิ รคี วามเปน็ มนษุ ยข์ องผูป้ ว่ ยเปน็ สำ� คัญ โดยไมจ่ ำ� เปน็ ต้องมีการแสดงเจตนายินยอมจากผูป้ ว่ ย

13 จากการวางแนวคำ� พพิ ากษาของศาลแหง่ สมาพนั ธรฐั ตง้ั แตใ่ นชว่ งทศวรรษ 1990 ทว่ี า่ การระงบั ยบั ยง้ั
หรอื ยตุ กิ ารรกั ษาทส่ี ญู เปลา่ แกผ่ ปู้ ว่ ยโดยทไ่ี มม่ กี ารแสดงเจตนาของผปู้ ว่ ยลว่ งหนา้ นนั้ ไมถ่ อื เปน็ ความ
ผดิ ทางกฎหมาย การงดเวน้ การกระทำ� เชน่ นเี้ รยี กวา่ passive sterberhilfe และความตายของผปู้ ว่ ย
ทหี่ ากจะเกดิ ขน้ึ ตามมานน้ั ใหถ้ อื เปน็ การตายตามธรรมชาติ ในทางกฎหมายไมจ่ ำ� ตอ้ งรายงานการตาย
แก่หน่วยงานในทางอาญา (John Griffiths, et. al., 2008, pp. 465-466)

154 วมหาราวสิทายราสลหยั วธรทิ รยมาศกาสาตรรว์ ทิ ยาลัยสหวิทยาการ
อัตตาณตั แิ ละเครอื ขา่ ยของระบบอ�ำนาจตา่ ง ๆ ออกจากกันอย่างชัดเจน ทง้ั ยัง
ไม่ขัดข้องขัดเขินท่ีจะยอมรับว่าอัตตาณัติมิใช่เป็นสิ่งที่สูงสุดเสมอไปในระบบ
แห่งคุณค่ารวม โดยเห็นว่าแม้อัตตาณัติจะส�ำคัญเพียงใดก็ตามแต่ความส�ำคัญ
ของอ�ำนาจต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างย่ิงในกรณีน้ีคืออ�ำนาจในทางการแพทย์
ทส่ี นบั สนนุ ดว้ ยความรนู้ นั้ กม็ คี วามส�ำคญั เชน่ เดยี วกนั และในบางแงม่ มุ กจ็ �ำเปน็
ต้องยอมรับว่าระบบของอ�ำนาจบางประการมีคุณค่าอยู่เหนืออัตตาณัติอย่าง
ตรงไปตรงมา เหลา่ นเ้ี ปน็ เรอ่ื งทไ่ี มอ่ าจปฏเิ สธไดเ้ ลยวา่ แนวคดิ แบบอรรถประโยชน์
นิยม (utilitarianism) ซึ่งให้ความส�ำคัญต่อการจัดสรรทรัพยากรทางด้าน
สาธารณสขุ ใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพและความคมุ้ คา่ สงู สดุ ตอ่ สงั คมโดยรวมเปน็ เรอื่ ง
ท่ีต้องค�ำนึงถึงและน�ำเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของสมการนี้อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
และจากการศึกษาท�ำให้พบว่าการใช้และตีความกฎหมายยังไม่ก่อให้เกิดการ
สนบั สนนุ การใชส้ ทิ ธขิ องปจั เจกบคุ คลตามอตั ตาณตั ไิ ดม้ ากเทา่ ทคี่ วรจะเปน็ อาจ
เปน็ ดว้ ยเหตจุ ากความพรา่ มวั ของเสน้ แบง่ วตั ถปุ ระสงคด์ งั กลา่ วนเี้ อง ผศู้ กึ ษาจงึ
มีข้อเสนอแนะว่าทางออกท่ีดีท่ีสุดส�ำหรับประเด็นน้ีตามระบบกฎหมายไทย
จึงน่าจะเป็นการตีประเด็นเร่ืองการแยกแยะความแตกต่างระหว่างสองเร่ืองน้ี
ใหเ้ กดิ เสน้ แบง่ ทกี่ ระจา่ งชดั และรว่ มกนั หาขอ้ สรปุ โดยแยกประเดน็ ออกจากกนั
ใหช้ ดั เจน เมอื่ ไดค้ �ำตอบทต่ี กผลกึ จากการแยกแยะประเดน็ ทชี่ ดั เจนแลว้ จงึ คอ่ ย
ปรบั ปรงุ กฎหมายใหร้ องรบั ตอ่ แนวคดิ และเจตนารมณเ์ ชน่ วา่ นน้ั ในภายหลงั และ
ไม่ว่าค�ำตอบสุดท้ายจะน�ำไปสู่ผลลัพธ์ใดก็ตาม แต่อย่างน้อยที่สุดก็ย่อมจะ
ไม่ท�ำให้เกิดการผสมปนเปของประเด็นต่าง ๆ ท่ีก่อให้เกิดความสับสนและ
ความอหิ ลกั อิเหลอื่ ในการใช้และการตคี วามกฎหมาย

155(มกราคม-ปมีทิถ่ี ุน1า9ยฉนบ2ับ5ท65่ี 1)
อตั ตาณตั ทิ อ่ี ยใู่ นระบบกฎหมายไทยนน้ั ยงั ถอื วา่ เปน็ เพยี งหนง่ึ ในมโนทศั น์
ทางกฎหมายท่ามกลางมโนทัศน์ทางกฎหมายอ่ืน ๆ อีกเป็นจ�ำนวนมาก โดย
ถูกประเมินล�ำดับช้ันในเชิงคุณค่าเอาไว้ต�่ำกว่าปทัสถานทางกฎหมายซ่ึงอิงกับ
บรรทัดฐานทางสังคมอีกชั้นหนึ่ง นอกจากนี้จากการศึกษายังพบว่าถึงท่ีสุด
แล้วสังคมยังคงถูกขับเคล่ือนด้วยอ�ำนาจท่ีมาพร้อมกันกับความรู้ โดยสังคม
จะขบั เคลอื่ นไปในทศิ ทางใด สงั คมจะมที ศั นคตติ อ่ เรอื่ งใดเปน็ เรอื่ งทถ่ี กู หรอื ผดิ
จรงิ หรอื เทจ็ ยอ่ มถกู ประกอบสรา้ งขนึ้ ดว้ ยอ�ำนาจและความรชู้ ดุ ตา่ ง ๆ ทปี่ ะทะ
ประสานสร้างเป็นระบอบแห่งความจริงขึ้นมา และส�ำหรับระบบกฎหมายไทย
ซ่ึงเป็นหนึ่งในเครือข่ายของอ�ำนาจและความรู้ท่ีส�ำคัญอันมีผลต่อประเด็น
เรอื่ งสิทธใิ นการเลือกตาย เรื่องอตั ตาณัตขิ องปัจเจกบุคคลกด็ จู ะไม่ไดม้ สี ถานะ
ท่ีทรงพลังมากนัก โดยมีสถานะเป็นแค่เพียงใบผ่านทางอนุมัติหรือเติมเต็มให้
การท�ำงานของเครือขา่ ยอ�ำนาจและความรทู้ งั้ หลายสามารถท�ำได้อย่างสะดวก
ราบรื่นข้ึนเท่านั้น ท่ีสุดแล้วความเป็นปัจเจกของบุคคลก็ดูจะถูกสลายทอน
และท�ำให้พร่าเลือนจนท�ำให้อ�ำนาจเหล่านี้มองเห็นเพียงในแง่ของความเป็น
ประชากร (population) ซึ่งจะถูกบรหิ ารจัดการผ่านสถิติและตัวเลขเพอ่ื ตอบ
โจทยใ์ นเชิงอรรถประโยชน์นิยมเท่านัน้

156 มวหาราวสิทายราสลหัยวธรทิ รยมาศกาสาตรรว์ ิทยาลยั สหวิทยาการ

เอกสารอา้ งอิง

กฎกระทรวง ก�ำหนดหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารด�ำเนนิ การตามหนงั สอื แสดงเจตนา
ไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขท่ีเป็นไปเพียงเพ่ือยืดการตาย
ในวาระสุดท้ายของชีวิตหรือเพื่อยุติการทรมานจากการเจ็บป่วย
พ.ศ. 2553

ค�ำพพิ ากษาศาลปกครองสงู สุด คดหี มายเลขด�ำท่ี ฟ 147/2554 ไมป่ รากฏชื่อ
ผู้แต่ง. (2562). สิทธิปฏิเสธการรักษาในระยะท้ายของชีวิตกับปัญหา
ในทางปฏิบัติ. ใน งานวิชาการร�ำลึกศาสตราจารย์จิตติ ติงศภัทิย์
ครัง้ ที่ 24. กรงุ เทพฯ: คณะนติ ศิ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์.

พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 รายงานการประชุมสภาผู้แทน
ราษฎร ชดุ ที่ 22 ปีที่ 1 ครง้ั ท่ี 34 (สมยั สามัญนติ บิ ัญญัติ) วนั พธุ ท่ี 14
ธนั วาคม พุทธศักราช 2548

วรเจตน์ ภาคีรัตน์. (2555). ค�ำสอนว่าด้วยรัฐและหลักกฎหมายมหาชน.
กรงุ เทพฯ: โครงการต�ำราและเอกสารประกอบการสอน คณะนติ ศิ าสตร์
มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร.์

วรเจตน์ ภาครี ตั น.์ (2553). หลกั นติ ริ ฐั และหลกั นติ ธิ รรม. ใน เอกบญุ วงศส์ วสั ดก์ิ ลุ
(บ.ก.), นติ ริ ฐั นติ ธิ รรม (น. 318–342). กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พม์ หาวทิ ยาลยั
ธรรมศาสตร.์

วิฑูรย์ อ้ึงประพันธ์. (2559). แนวคิดขอนักกฎหมายไทยเก่ียวกับการปฏิเสธ
การรักษาที่จะน�ำไปสู่การตายดี. ใน รู้ให้รอบตอบเร่ืองมาตรา 12
พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 (น. 7–32). นนทบุรี: ส�ำนกั งาน
คณะกรรมการสุขภาพแหง่ ชาติ.

157(มกราคม-ปมีทิถี่ ุน1า9ยฉนบ2ับ5ท65่ี 1)
สมยศ เช้ือไทย. (2551). ค�ำอธิบายวิชากฎหมายแพ่ง หลกั ทวั่ ไป เล่ม 1 ความรู้

กฎหมายทวั่ ไป. พิมพ์ครงั้ ที่ 15. กรงุ เทพฯ: ส�ำนกั พิมพ์วญิ ญูชน.
ไมป่ รากฏชื่อผ้แู ตง่ . (2562). สรปุ การสัมมนาวชิ าการ. ใน สมั มนาวิชาการเรอื่ ง

ไมใ่ สเ่ ครอื่ ง ถอดเครอื่ งชว่ ยหายใจทำ� ไดเ้ พยี งใด ในระยะทา้ ยของชวี ติ .
นนทบรุ ี: ส�ำนักงานคณะกรรมการสขุ ภาพแห่งชาต.ิ
ไมป่ รากฏชอ่ื ผแู้ ตง่ . (2562). คมู่ อื ผใู้ หบ้ รกิ ารสาธารณสขุ กฎหมายและแนวทาง
การปฏิบัติที่เก่ียวข้องกับการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย. พิมพ์คร้ังที่ 9.
นนทบรุ :ี ส�ำนักงานคณะกรรมการสขุ ภาพแหง่ ชาติ.
แสวง บุญเฉลมวิภาส. (2554). แพทยสภากับการออกแนวปฏิบัติท่ีสร้าง
ความสับสนแก่บุคลากรทางการแพทย์. สืบค้น 8 สิงหาคม 2564,
จาก https://www.thailivingwill.in.th/sites/default/files/
content01_livingwill.pdf.
David Robertson. (2004). A Dictionary of Human Rights. second
Edition. London: Europa Publication.
H. Victor Conde. (2004). A Handbook of International Human
Rights Terminology. second edition. Nebraska: University of
Nebraska Press.
James Griffin. (2008). On Human Rights, Oxford: Oxford University Press.
James R. Lewis & Carl Skutsch. (2001). The Human Rights
Encyclopedia. New York: M.E. Sharpe Inc.
John Griffiths, Heleen Wayers, & Maurice Adams. (2008). Euthanasia
and Law in Europe. Portland: Hart Publishing.

158 วมหาราวส�ทายราสลหัยวธรท� รยมาศกาสาตรรว ท� ยาลยั สหวท� ยาการ
John Keown. (2004). Euthanasia, Ethics and Public Policy an

argument against legislation. Cambridge: Cambridge
University Press.
OHCHR. (n.d.). Universal Declaration of Human Rights at 70: 30
Articles on 30 Articles - Article 5. Retrieved December 31,
2021, from https://www.ohchr.org/en/NewsEvents/Pages/
DisplayNews.aspx?NewsID=23872&LangID=E

159(มกราคม-ปมท‚ ิถ่ี ุน1า9ยฉนบ2บั 5ท65ี่ 1)

จริยธรรม ในการตีพิมพ

ของวารสารสหวิทยาการ

หนำ้ ท่ีและควำมรับผิดชอบของผ้เู ขียน

1. ผู้เขียนรับรองว่าผลงานท่ีส่งมาน้ันเป็นผลงานใหม่ของผู้เขียนและ
ผูร้ ว่ มเขียน และไม่เคยตพี ิมพม์ ากอ่ นหรืออยู่ระหวา่ งการพิจารณา
ตีพิมพ์ในวารสารอ่ืน

2. ผู้เขียนรับรองว่าผลงานที่ส่งมาน้ันไม่มีการคัดลอกหรือลอกเลียน
ผลงานส่วนใดส่วนหนึ่งหรือทั้งหมดจากผลงานวิชาการทั้งของ
ตนเองและผอู้ ่ืน และมกี ารอา้ งองิ ผลงานอยา่ งถกู ตอ้ งตามรปู แบบ
ที่วารสารสหวทิ ยาการกาำ หนด

3. ผู้เขียนขอรับรองว่าได้รายงานข้อเท็จจริงท่ีได้จากการทำาวิจัยตาม
จริง ไม่มีการบิดเบอื นหรือให้ข้อมูลท่เี ป็นเท็จ

4. ผเู้ ขยี นรบั รองวา่ รปู ภาพ และตารางในบทความไดร้ บั อนญุ าตจาก
เจา้ ของลขิ สิทธิ์แลว้ และมกี ารอ้างองิ อย่างเหมาะสม

5. ในกรณีที่มีผู้เขียนร่วม ผู้เขียนร่วมทุกคนได้เห็นชอบกับต้นฉบับ
บทความและเห็นชอบกับการส่งต้นฉบับให้วารสารสหวิทยาการ
พิจารณา

6. ข้อคิดเห็นที่ปรากฏในบทความถือเป็นความคิดเห็นและความ
รบั ผดิ ชอบโดยตรงของผเู้ ขยี นบทความและผู้เขียนรว่ ม

7. กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ที่จะปฏิเสธการตีพิมพ์หากพบว่า
บทความเดยี วกนั นไ้ี ดร้ บั การเผยแพรแ่ ละตพี มิ พใ์ นแหลง่ อน่ื มากอ่ น
หรอื เปน็ การลอกเลียนเนือ้ หาจากแหลง่ อืน่

160 วมหาราวสทิ ายราสลหัยวธริทรยมาศกาสาตรรว์ ิทยาลัยสหวิทยาการ

หน้าท่ีและความรบั ผิดชอบของกองบรรณาธิการ

1. กองบรรณาธิการเป็นผู้พิจารณาว่าบทความที่ส่งมาน้ันมีความ
เหมาะสมและสอดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงคข์ องวารสารสหวทิ ยาการ
หรือไม่ หากบทความน้ันไม่เหมาะสมหรือไม่สอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์ของวารสารฯ กองบรรณาธิการจะรีบแจ้งผู้เขียน
บทความใหท้ ราบเพอื่ น�ำบทความไปเสนอตอ่ วารสารอน่ื ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง

2. กองบรรณาธกิ ารมกี ารตรวจสอบการพมิ พซ์ ำ�้ ซอ้ น (duplication )
และการลอกเลยี นผลงานวิชาการ (plagiarism)

3. กองบรรณาธิการไม่เปิดเผยเนื้อหาหรือข้อมูลในบทความระหว่าง
ท่ียังไม่ได้ตพี ิมพ์

4. กองบรรณาธิการไม่เปิดเผยข้อมูลของผู้เขียนบทความและผู้ทรง
คุณวุฒิที่ประเมินบทความให้อีกฝ่ายหน่ึงทราบหรือเปิดเผยแก่
บุคคลอื่นท่ีไม่เกี่ยวข้องในระหว่างที่บทความอยู่ในระหว่างการ
ประเมนิ

5. หากกรณที ีผ่ ูท้ รงคณุ วฒุ ทิ ป่ี ระเมนิ บทความทง้ั 3 ท่าน มเี หน็ ความ
ขัดแย้งกัน กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ที่จะพิจารณาการ
ด�ำเนนิ งานขน้ั ตอ่ ไป

6. ล�ำดับของการตีพิมพ์บทความจะพิจารณาจากล�ำดับก่อนหลัง
ในการสง่ บทความใหแ้ กว่ ารสาร ความน่าสนใจของบทความ และ
ความเหมาะสมอืน่

161(มกราคม-ปมที ิถี่ ุน1า9ยฉนบ2บั 5ท65ี่ 1)

หนา้ ทแ่ี ละความรับผิดชอบของผู้ประเมนิ

1. ผปู้ ระเมนิ บทความตอ้ งไมเ่ ปดิ เผยขอ้ มลู หรอื เนอ้ื หาสว่ นใดสว่ นหนง่ึ
ของบทความในระหว่างที่บทความนั้นยังไม่ได้รับการตีพิมพ์
เผยแพร่

2. ผปู้ ระเมนิ ตอ้ งประเมนิ บทความดว้ ยความเปน็ กลางปราศจากอคติ
และค�ำนึงถึงประโยชน์ที่ผู้อ่านบทความจะได้รับ ตลอดจนให้
ค�ำเสนอแนะและแนวทางแกไ้ ขปรบั ปรงุ บทความในเชงิ สรา้ งสรรค์

3. ผู้ประเมินส่งผลการประเมินตามก�ำหนดเวลาและรับผิดชอบ
ตอ่ การประเมนิ ของตน

4. หากภายหลงั จากทผี่ ปู้ ระเมนิ ตอบรบั ประเมนิ บทความใดบทความ
หนึ่งแล้วพบว่าไม่มีความเช่ียวชาญเน้ือหาในระดับท่ีมากพอที่จะ
วิจารณ์บทความดังกล่าวได้อย่างมีคุณภาพ ผู้ประเมินบทความ
จะรีบแจ้งให้กองบรรณาธิการทราบเพื่อหาผู้ทรงคุณวุฒิอ่ืนท่ีมี
ความเช่ียวชาญประเมินแทน

JournalJan-Jun 2022

of Integrated Sciences
College of Interdisciplinary Studies

Thammasat University




Click to View FlipBook Version