The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by วารสารสหวิทยาการ, 2022-07-01 02:27:55

วารสารสหวิทยาการ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1

(มกราคม - มิถุนายน 2565)

49(มกราคม-ปมที ิถ่ี ุน1า9ยฉนบ2บั 5ท65่ี 1)

สรปุ ผลการศึกษา

การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจการเมืองและการเคล่ือนไหวของ
ขบวนการเกษตรกรและชาวนาในประเทศอินโดนีเซีย แสดงให้เห็นถึงการ
เปลี่ยนแปลงท่ีไม่ราบเรียบและเต็มไปด้วยปัญหาความขัดแย้งโดยในการเลือก
ตง้ั ปี ค.ศ. 2014 เปน็ จดุ เปลยี่ นส�ำคญั ในทางการเมอื งอนิ โดนเี ซยี ทเี่ กดิ การพฒั นา
ประชาธิปไตย ท�ำให้ประเด็นเรื่อง “การเมืองอาหาร” ในการสร้างอธิปไตย
อิสรภาพ และความยืดหยุ่นของอาหารกลายมาเป็นปัจจัยส�ำคัญอีกครั้งในการ
เคล่ือนไหวทางการเมือง โดยอาศัยกลไกเชิงสถาบันในรัฐธรรมนูญ กฎหมาย
อาหาร และกฎหมายคุ้มครองและเสริมพลังเกษตรกร เป็นกลไกส�ำคัญในการ
ขบั เคลอื่ นทางการเมืองอนิ โดนีเซียจากทอ้ งถิน่ สู่การเมอื งระดับชาติ

งานวิจัยฉบับนี้จึงพยายามช้ีให้เห็นประเด็นทางอธิปไตยทางอาหาร
ความมน่ั คงทางอาหาร และการพง่ึ พงิ ตนเองทางอาหารวา่ ไมใ่ ชเ่ ปน็ เพยี งประเดน็
ทางสงั คมเทา่ นน้ั หากยงั เปน็ ประเดน็ ทางการเมอื งและสามารถสรา้ งเปน็ กลยทุ ธ์
ในการเลือกต้ังเพื่อให้ได้รับคะแนนนิยมจนสามารถจัดต้ังรัฐบาลในการ
เปล่ยี นแปลงไปสปู่ ระชาธปิ ไตยที่คุ้มครองคนขา้ งล่างแบบในอนิ โดนเี ซียได้

50 มวหาราวสิทายราสลหัยวธรทิ รยมาศกาสาตรรว์ ทิ ยาลยั สหวิทยาการ

เอกสารอ้างอิง

กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์. (2560). อินโดนีเซีย
ตง้ั เปา้ เพม่ิ ทนี่ าขา้ วใหม่ 80,000 เฮกตารใ์ นปี 2560. สบื คน้ 29 ตลุ าคม
2562, จาก https://www.ditp.go.th/contents_ attach/169838/​
169838.pdf.

เกรียงศักด์ิ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2556). ความม่ันคงทางอาหารของอินโดนีเซีย :
บทเรียนจากนโยบายพึ่งพิงตนเอง. สืบค้น 29 ตุลาคม 2562, จาก
http://www.kriengsak.com/food-security-in-indonesia-lessons-​
from-self-reliance-policy.

กลุ่มงานยุทธศาสตร์ภูมิภาคอาเซียน กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ.
(2559). นโยบายน�ำเข้าพืชสวนของอินโดนีเซีย. สืบค้น 29 ตุลาคม
2562, จาก https://www.posttoday.com/aec/colu mn/415551.

ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. (2559). อินโดนีเซีย – ประวัติศาสตร์. สืบค้น 21
ตุลาคม 2562, จาก https://www.sac.or.th/databases/south-
eastasia/subject.php?sj_id=15.

Ayres, Jeffrey & Bosia, Michael J.. (2011). “Beyond global summitry:
Food sovereignty as localized resistance to globalization”
Globalization, 8(1), 47-63.

Baines, Joseph. (2013). “Food price inflation as redistribution:​
Towards a new analysis of corporate power in the world
food system” New Political Economy, 19(1), 79-112.

51(มกราคม-ปมีทิถี่ ุน1า9ยฉนบ2บั 5ท65ี่ 1)
Barraclough, Solon L. & Ghimire, Krishna B.. (2000). Agricultural expansion

and tropical deforestation: poverty, international trade and
land use, Earthscan, London: Earthscan Publications Ltd.
Boyer, Jefferson. (2010). “Food security, food sovereignty, and local
challenges for transnational agrarian movements: The​
Honduras case” The Journal of Peasant Studies, 37(2),​
319-351.
Claeys, Priscilla. (2013). “From food sovereignty to peasants’ Rights:
an Overview of Via Campesina’s Struggle for New Human
Rights” , Retrieved April 6, 2019, from https://www.tni.org/
en/briefing/food-sovereignty-peasants-rights, Retrieved on.
Claeys, Priscilla. (2015). Human Rights and the Food Sovereignty
Movement: Reclaiming Control, London and NY: Routledge.
Davidson, J. S. (2018). “Then and now: Campaigns to achieve rice
self-sufficiency in Indonesia.” Bijdragen tot de Taal-,
Land-en Volkenkunde, 174 (2018), 188–215.
Davidson, J. S. (2019). Why rice self-sufficiency has such a grip
on the Indonesian public imagination. Retrieved October
23, 2019, from http://theconversation.com/why-rice-​
self-sufficiency-has-such-a-grip-on-the-indonesian-public-​
imagination-110599.
Edelman, Marc. (2014). “Food Sovereignty: Forgotten Genealogies
and Future Regulatory Challenges” The Journal of Peasant
Studies, 41(6), 959-978.

52 มวหาราวสทิ ายราสลหยั วธริทรยมาศกาสาตรรว์ ิทยาลยั สหวิทยาการ
Food Industry Asia. (2014). Post-Election Indonesia: Jokowi Set to

Pursue the Goal of Self-Sufficiency. Retrieved October​
23, 2019, from https://foodindustry.asia/post-election-​
indonesia-jokowi-set-to-pusue-the-goal-of-self-sufficiency.
Gerwin, Marcin. (2011). Food and democracy: Introduction to food
sovereignty, Krakow, Poland: Polish Green Network.
Globeasia. (2018). Rice self-sufficiency. Retrieved October 23,​
2019, from https://www.globeasia.com/columnists/rice-​
self-sufficiency/.
Indonesian Resources and Information Program. (IRIP). (2016). Food
sovereignty and peasant activism. Retrieved June 30, 2018,
from https://www.insideindonesia.org/food-sovereignty-​
and-peasant-activism.
Jaffrey, S. (2019). Protests against Joko Widodo rock Indonesia.
Retrieved October 23, 2019, from https://foreignpolicy.
com/2019/09/30/protests-against-joko-widodo-rock-​
indonesia/.
Kloppenburg, Jack. (2014). “Re-purposing the master’s tools: the
open source seed initiative and the struggle for seed​
sovereignty” Journal of Peasant Studies, 41(6), 1225-1246.
Leinbach, T. R. & et.al. (2019, October 23). Indonesia. Retrieved
October 23, 2019, from https:// www.britannica.com/place/
Indonesia.

53(มกราคม-ปมที ิถี่ ุน1า9ยฉนบ2ับ5ท65่ี 1)
McMichael, Philip & Schneider, Mindi. (2011). “Food security politics

and the millennium development goals”, Third World
Quarterly, 32(1), 119-139.
Mietzner, Marcus. (2015). Indonesia in 2014: Jokowi and the​
repolarization of post-Soeharto politics, In Daljit Singh (ed.),
Southeast Asian Affairs 2015 (pp. 117-138), Singapore: ISEAS
Publishing.
Nantu, L. (2019). Insight: assessing Widodo’s agrarian reform
concept. Retrieved October 23, 2019, from https://thein-
siderstories.com/insight-assessing-widodos-agrarian-reform-​
concept/.
Nevins, J. & Peluso, N. L. (2008). Introduction: Commoditization in
Southeast Asia, In Taking Southeast Asia to Market:
Commodities, Nature, and People in the Neoliberal Age
(pp. 1-23). New York: Cornell University Press.
Nnoko-Mewanu, J. (2018). Indonesia pledges accelerated agrarian
reform. Retrieved October 23, 2019, from https://www.​
hrw.org/news/2018/09/27/indonesia-pledges-accelerated-​
agrarian-reform.
Patel, Rajeev C. (2012). “Food sovereignty: Power, gender, and​
the right to food”, PLOS Medicine, 9(6), Available: https://
doi.org/10.1371/journal.pmed.1001223, Accessed om April
4, 2019.

54 วมหาราวสท� ายราสลหยั วธรท� รยมาศกาสาตรรว ท� ยาลยั สหว�ทยาการ
Patel,​Raj,​Kerr,​Rachel​Bezner,​Shumba,​Lizzie​&​Dakishoni,​Laifolo.​

(2015).​“Cook,​eat,​man,​woman:​Understanding​the​new​
alliance​for​food​security​and​nutrition,​nutritionism​and​its​
alternatives​from​Malawi”​The Journal of Peasant Studies,​
42(1),​21-44.
Rachman,​N.​F.​(2011).​The resurgence of land reform policy and
agrarian movements in Indonesia.​(Doctoral​Dissertation​in​
Environmental​Science),​University​of​California,​Berkeley.
Syailendra,​E.​A.​(2017).​In the name of food security.​Retrieved​
October​ 23,​ 2019,​ from​ https://www.insideindonesia.org/
in-the-name-of-food-security?highlight​ =WyJmb29kIiiZm-
9vZCcsIiwiJ2Zvb2QiLCJmb29kJyIsInNlY3VyaXR5IiwiZm9vZC-
BzZWN1cml0eSJd.
Trauger,​ Amy.​ (2014).​ “Toward​ a​ political​ geography​ of​ food​
sovereignty:​Transforming​territory,​exchange​and​power​in​
the​liberal​sovereign​state”​The Journal of Peasant Studies,​
41(6),​1131-1152.
Widodo,​S.​(2017).​“A​critical​review​of​Indonesia’s​agrarian​reform​
policy.”​Journal of Regional and City Planning, 28(3),​204-218.
Yin,​Robert​K.​(2009)​Case study research: Design and methods,​4th
edition,​London:​SAGE.

2บทท่ี

ดนตรีกับกำรเมือง:
คณุ ภำพชีวิตทีด่ ี
ส่งผลต่อกำรสร้ำงสรรคข์ องศิลปนิ

Political Music: Quality
of Life Having a Strong Effect

on the Artist’s Creativity

ชษิ ณพุ งค์ อินทร์แก้ว1
Chitsanupong Intarakaew

รบั บทความ​28​เมษายน​2564
แก้ไขบทความ​24​ธนั วาคม​2564
ตอบรับบทความ​11​มกราคม​2565
1 นกั ศึกษาหลักสตู รปรชั ญาดุษฎีบัณฑติ สาขาวิชาดุรยิ างคศิลป คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั

ขอนแกน่
Corresponding author e-mail: [email protected]

56 มวหาราวสท� ายราสลหัยวธร�ทรยมาศกาสาตรรว ท� ยาลัยสหว�ทยาการ

บทคัดยอ‹

การน�าแนวคิดทางการเมืองเข้ามาปรับใช้ศึกษาดนตรีย่อมช่วยให้เข้าใจ
ดนตรีมากย่ิงขึ้น​ มาร์กซิสต์ส�านักออโตโนเมียได้น�าเสนอแนวคิดว่าศิลปินคือ
แรงงานในระบบทนุ นยิ มรปู แบบหนง่ึ ​ทา� ใหเ้ กดิ การทา� ความเขา้ ใจศลิ ปนิ ภายใต้
ระบบทนุ นยิ ม​ซงึ่ นกั ดนตรกี ถ็ อื เปน็ แรงงานประเภทหนงึ่ ในระบบทนุ นยิ ม​ขณะ
ทศี่ ลิ ปนิ ทา� งานสรา้ งสรรค​์ ขณะเดยี วกนั ศลิ ปนิ กถ็ กู ขดู รดี เชน่ เดยี วกนั กบั แรงงาน
ทว่ั ไปในสงั คม​การมรี ฐั สวสั ดกิ ารจงึ ชว่ ยคลคี่ ลายปญั หาทสี่ ง่ ผลตอ่ คณุ ภาพชวี ติ
ของศลิ ปนิ ​ ปจั จบุ นั อตุ สาหกรรมได้เสนอแนวคดิ เศรษฐกจิ สรา้ งสรรคเ์ พือ่ สร้าง
มูลค่าแก่อุตสาหกรรม​ โดยได้ถือว่าความคิดสร้างสรรค์เป็นทรัพยากรท่ีส�าคัญ
ท่ีสุดและมีค่าท่ีสุดในทางเศรษฐกิจ​ ซึ่งได้รับอิทธิพลทางความคิดมาจากจอห์น​
ฮาวก์ นิ ส​์ (John​Howkins)​ทไี่ ดน้ า� เสนอแนวคดิ เศรษฐกจิ สรา้ งสรรค​์ เศรษฐกจิ
สรา้ งสรรค์คือการทา� ธุรกิจด้านความคิด​เปล่ียนความคิดให้เปน็ ผลติ ภัณฑ​์ เพิ่ม
มูลค่าจากการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างความคิดสร้างสรรค์กับเศรษฐศาสตร​์
อย่างไรก็ตามรัฐสวัสดิการและเศรษฐกิจสร้างสรรค์จะเกิดขึ้นได้ต้องมีฝ่าย
การเมอื งเขา้ มาสนบั สนนุ ​หากสังคมมีรฐั สวัสดกิ ารยอ่ มส่งผลตอ่ การสร้างสรรค์
ผลงานของศิลปิน​ นอกจากน้ันยังก่อให้เกิดการกระตุ้นเศรษฐกิจสร้างสรรค์ได้
อกี ทางหน่งึ ด้วย​​

57(มกราคม-ปม‚ทิถ่ี ุน1า9ยฉนบ2บั 5ท65ี่ 1)

จากเหตกุ ารณโ์ ควดิ -19​ไดเ้ ผยใหเ้ หน็ ถงึ ปญั หาความมน่ั คงทางเศรษฐกจิ
และปัญหาคุณภาพชีวิตของนักดนตรีได้ชัดเจนขึ้น​ ซึ่งจ�าเป็นต้องสร้างความ
ตระหนักและพื้นที่ทางวิชาการในการพูดคุยถึงประเด็นรัฐสวัสดิการถ้วนหน้า​
และสร้างความตระหนักว่าการท�าให้ดนตรีกับการเมืองเป็นเน้ือเดียวกันไม่ใช่
เรอ่ื งไกลตัว

คําสําคัญ:

ดนตรีกับการเมือง คุณภาพชวี ิต การสรา งสรรค

58 มวหาราวส�ทายราสลหยั วธร�ทรยมาศกาสาตรรว �ทยาลัยสหว�ทยาการ

Abstract

The​ implementation​ of​ political​ ideas​ into​ the​ study​ of​
music​ has​ deepened​ the​ understanding​ of​ musicians,​ from​ the​
influence​of​Autonomist​Marxist​Class​Theory.​In​a​capitalist​society,​
making​ music​ is​ a​ form​ of​ labor,​ and​ both​ artists​ and​ factory​
workers​are​facing​the​same​situation​where​they​are​exploited​and​
controlled​by​the​capitalist​system.​As​a​result,​a​welfare​state​can​
be​the​solution​which​positively​impacts​the​quality​of​life​of​the​
artists​most,​but​a​political​party​will​have​to​support​it.​This​can​
also​provide​another​means​of​boosting​the​creative​economy.

The​ coronavirus​ pandemic​ has​ exposed​ the​ economic​
problems​of​musicians,​so​it​is​necessary​to​raise​awareness​and​
academic​study​to​discuss​welfare​state​issues​and​raise​political​
awareness​amongst​musicians.

Keywords:

Music Politics, Quality of Life, Creativity

59(มกราคม-ปม‚ทิถี่ ุน1า9ยฉนบ2บั 5ท65่ี 1)

บทน�ำ

ค�าว่า​ “ดนตรีกับการเมือง”​ ถูกเข้าใจในฐานะท่ีดนตรีเป็นส่ือที่ใช้เพื่อ
ส่ือสารอุดมการณท์ างการเมือง​เพอื่ สร้างความเขา้ ใจรว่ มใจ​สร้างส�านกึ รว่ มให้
เกดิ แกก่ ลมุ่ คนกลมุ่ ใดกลมุ่ หนงึ่ ​ซงึ่ จากฝา่ ยผมู้ สี ถานะรองจะเรยี กวา่ ​“ดนตรเี พอ่ื
ชีวติ ”​หรอื ​“ดนตรปี ระท้วง”​เพือ่ สะทอ้ นชีวิตชนช้นั แรงงานทสี่ ่งเสียงเรยี กรอ้ ง
คุณภาพชีวิตที่ดีกว่าปัจจุบัน​ หรือใช้ต่อรองกับผู้มีอ�านาจ​ นอกจากน้ันยังอาจ
เรียกว่า​“เพลงชาตินิยม”​หรอื ​“เพลงปลุกใจ”​จากฝา่ ยรัฐบาลหรือผ้มู ีอ�านาจ​
เพ่อื ใชเ้ ผยแพรอ่ ดุ มการณ์จากรัฐ​มีจุดมงุ่ หมายเพื่อนา� นโยบายจากรัฐไดอ้ ย่างมี
ประสิทธิภาพ

ดนตรีเป็นผลิตผลของมนุษย์ในสังคม​ มีโครงสร้างของตนเอง​ สามารถ
ท�าความเข้าใจได้ก็ต่อเมื่อได้ศึกษาท�าความเข้าใจถึงพฤติกรรมมนุษย์​ ซึ่งเป็น
ผผู้ ลติ ดนตร​ี อาท​ิ ในดนตรไี ทยนนั้ สะทอ้ นถงึ โครงสรา้ งของสงั คมทไ่ี ดร้ บั อทิ ธพิ ล
จากศาสนาพทุ ธ​ฮนิ ด​ู และศาสนาผ​ี (ดงั้ เดมิ )​ซง่ึ ทศั นคตติ อ่ ชวี ติ อนั เปน็ สงั สารวฏั ​
​และสะท้อนสภาพบรบิ ทของสังคม​(สงดั ​ภเู ขาทอง,​2539,​น.​18)​เพลงเพือ่
ชีวิตหรือเพลงประท้วงได้สะท้อนกลิ่นไอจากวัฒนธรรมในท้องถิ่น​ มีเน้ือหา
สะทอ้ นวฒั นธรรมทางชนชนั้ มากกวา่ ดนตรที มี่ เี นอื้ หารกั ​ๆ​ใคร​่ ๆ​และความฝนั
ทง่ี ดงามของชนชน้ั กลาง​ดงั นน้ั ในการศกึ ษาเพลงเพอื่ ชวี ติ ​จงึ นา� แนวคดิ ของอนั
โตนโิ อ​กรมั ช​ี มาใชศ้ กึ ษา​ซงึ่ การหาความรแู้ บบกรมั ชมี ลี กั ษณะเปน็ แบบวธิ วี ทิ ยา
ทมี่ ุง่ ศึกษา​ตีความ​เพ่อื ใหเ้ กดิ การจัดวางความคิดทางการเมอื งใหม​่ และเพื่อให้
เกดิ การเปลย่ี นแปลงเพอื่ มวลชนคนสว่ นใหญข่ องประเทศ​หรอื เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความ
ยุตธิ รรม​ความเสมอภาค​เสรภี าพ​เพือ่ สังคมในอุดมคต​ิ

กรัมชีไม่เช่ือว่าสรรพสิ่งจะมีอยู่จริงอย่างสมบูรณ์​ เขามองว่าสรรพสิ่ง
รอบตัวน้ันเป็นผลผลิตจากการสร้างและให้ความหมายโดยสังคม​ (Socially​
constructed)​กรมั ชยี งั มองว่ามนุษยไ์ ม่สามารถตีความสรรพสิง่ ผ่านความรบั รู้

60 วมหาราวสทิ ายราสลหยั วธริทรยมาศกาสาตรรว์ ทิ ยาลัยสหวทิ ยาการ
ของตนไดโ้ ดยปราศจากประวตั ศิ าสตร์ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งผคู้ น และโครงสรา้ ง
ทางสังคมในห้วงเวลาที่แตกต่างกันได้ นอกจากน้ันกรัมชีได้ใช้แนวทางในการ
ตีความและสร้างความรู้เพ่ือการเปลี่ยนแปลง จากแนวคิดทฤษฎีของเขาอย่าง
เชน่ การครองอำ� นาจนำ� (Hegemony) โครงสร้างส่วนบน (Superstructure)
สามญั สำ� นกึ (Common sense) การทำ� สงครามยดึ พนื้ ทท่ี างความคดิ (War of
position) กลมุ่ ประวัติศาสตร์ (Historical bloc) คติชน (Folklore) การสร้าง
เจตจำ� นงรว่ มประชาชาติ (National-popular collective will) เปน็ ตน้ ซ่ึง
กรัมชีใช้แนวคิดทฤษฎีเหล่านี้หาความรู้และตีความผ่านบริบทและส่ือกลางใน
การส่งผ่านความหมายทางการเมือง เช่น วรรณคดี บทความ ข้อเขียนใน
หนังสอื พมิ พ์ นิตยสาร การศึกษา ภาษา (วชั รพล พทุ ธรกั ษา, 2561, น. 75-80)
แนวคิดทฤษฎีทั้งหลายของกรัมชีมีขึ้นเพ่ือพยายามท�ำความเข้าใจว่าชนช้ัน​
ผู้มีอำ� นาจได้จดั วางความคิดในเรอ่ื งตา่ ง ๆ อาทิ ความชอบธรรม ความยตุ ิธรรม
ความเสมอภาค เสรภี าพ เปน็ ตน้ และเพอื่ เผยใหเ้ หน็ ความสมั พนั ธท์ สี่ ลบั ซบั ซอ้ น
ซง่ึ ซ่อนอย่ภู ายใต้ฉากหน้าของสังคม เปา้ หมายหลักของแนวคิดทฤษฎขี องกรมั
ชีคือ มุ่งท�ำความเข้าใจความสัมพันธ์ทางสังคมที่ถูกออกแบบและจัดวางโดย
ชนชน้ั ปกครองในบรบิ ทประวตั ศิ าสตรท์ ผี่ า่ นมา นอกจากนกี้ รมั ชยี งั ไมไ่ ดท้ ำ� เพยี ง
เพ่อื ใหเ้ ขา้ ใจโลกเท่านน้ั แตย่ ังมงุ่ ไปสกู่ ารสร้างศกั ยภาพส�ำหรับจัดวางความคิด
ใหม่แก่สงั คม เพื่อให้เกิดการเปลยี่ นแปลงในสงั คม

กรมั ชีไดแ้ บง่ ชนชั้นในโครงสรา้ งทางสงั คมออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ ชนชัน้
ผถู้ อื ครองทรพั ยส์ นิ และปจั จยั การผลติ หรอื ชนชนั้ ปกครอง (Dominant class)
และกลุ่มคนที่ถูกกดข่ี หรือมีสถานะรองโดยเปรียบเทียบกับคนอีกกลุ่มชน​
ช้ันหนึ่ง (Subaltern/ Subordinate class) (วัชรพล พุทธรักษา, 2561,​
น. 167) โครงสร้างสว่ นบนน้ีเปน็ กลุ่มชนชน้ั ปกครองทม่ี ีบทบาทในการก�ำหนด
นโยบายตา่ ง ๆ เพื่อการดำ� เนินแนวทางของประเทศและสงั คม ในการกำ� หนด

61(มกราคม-ปมีทิถี่ ุน1า9ยฉนบ2บั 5ท65่ี 1)

นโยบายนั้นมกี ลไกทางอ�ำนาจตา่ ง ๆ เพอื่ สร้างเคร่ืองมอื พร้อมทำ� ใหป้ ระชาชน
และสังคมด�ำเนินไปโดยสอดคล้องกับนโยบายที่โครงสร้างส่วนบนของสังคม
กำ� หนดไว้ จะเห็นไดว้ ่าโครงสร้างส่วนล่างที่มีสถานะรองลงมานน้ั จะตอ้ งดำ� เนิน
ตามกรอบนโยบายที่ถูกก�ำหนดไว้ นักดนตรีถือเป็นผู้มีสถานะรอง ซึ่งจะต้อง
ปฏบิ ตั ติ ามนโยบายของรฐั บาล คณุ ภาพชวี ติ ของนกั ดนตรี พฒั นาทางดนตรยี อ่ ม
ข้ึนอยู่กับการก�ำหนดนโยบายจากรัฐบาล ผลกระทบจากช่วงโควิด-19 เผยให้
เห็นความรุนแรงของปัญหาเชิงโครงสร้างได้ชัดเจนขึ้น ซึ่งนักดนตรีต่างได้รับ​
ผลกระทบจากการกำ� หนดนโยบายของรฐั บาลในปจั จุบัน

บทความฉบับน้ีมีเป้าประสงค์เพ่ือแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่าง
ดนตรีกับการเมือง ซง่ึ เป็นสง่ิ ท่ีไม่สามารถแยกออกจากกนั ดนตรไี มส่ ามารถอยู่
อย่างโดดเดี่ยวจากการเมืองหรือการกล่าวว่าดนตรีไม่เกี่ยวกับการเมืองถือเป็น
เรื่องที่ต้ืนเขินทางวิชาการอย่างมาก และเพื่อน�ำเสนอแนวคิด “ศิลปินก็คือ
แรงงาน” เพื่อน�ำไปส่กู ารสร้างความตระหนกั ถงึ ความส�ำคญั ในการเรียกรอ้ งรฐั
สวสั ดกิ ารถว้ นหนา้ ซง่ึ เปน็ สง่ิ ทป่ี ระชาชนทกุ คนในสงั คมควรเรยี กรอ้ งใหเ้ กดิ ขนึ้
ในสังคม โดยเมอื่ รฐั สวัสดกิ ารสร้างคุณภาพชีวิตทด่ี ีให้กับทกุ คนในสังคม กย็ อ่ ม
ส่งผลใหศ้ ลิ ปินสร้างสรรคผ์ ลงานออกมาได้

ปัญหาจากผลกระทบของโควิด-19 ท่ีมีต่อคุณภาพชีวิตศิลปิน
รฐั สวัสดกิ ารทด่ี สี ง่ ผลตอ่ การสร้างสรรคข์ องศลิ ปนิ

จากผลกระทบของโควดิ -19 ส่งผลให้เกดิ วิกฤตทางเศรษฐกิจ ตลอดจน
สง่ ผลกระทบตอ่ อาชพี นกั ดนตรี ปญั หาของมาตราการปอ้ งกนั โรคตดิ ตอ่ ปญั หา
การไดร้ บั วัคซนี ปญั หาเงนิ อุดหนุนจากรฐั การเขา้ ถึงการประกนั รายได้ ตลอด
จนปญั หาดา้ นรฐั สวสั ดกิ ารและการเยยี วยาจากรฐั ไดส้ ง่ ผลตอ่ ทกุ อาชพี ในสงั คม
ไมเ่ วน้ แมแ้ ตศ่ ิลปนิ ทม่ี ชี อื่ เสียงระดบั ประเทศ

62 วมหาราวสิทายราสลหัยวธรทิ รยมาศกาสาตรรว์ ิทยาลยั สหวทิ ยาการ
แต่เดิมสังคมไทยมีลักษณะเป็นสังคมเกษตรกรรม อาชีพไม่ได้มีความ

หลากหลายเหมือนยุคปัจจุบัน พบอาชีพเพียงไม่ก่ีอาชีพท่ีส�ำคัญ เช่น อาชีพ
เกษตรกรรม ค้าขาย รบั ราชการ คนท่มี ีโอกาสศกึ ษาเลา่ เรยี นถูกเรยี กว่า “ผรู้ ู้
หนังสือ” ก็มักรับราชการตามกระทรวงต่าง ๆ ส่วนที่เหลือก็ประกอบอาชีพ
เกษตรกรรมและค้าขายตามความถนัด ส่วนกลุ่มนักดนตรีน้ัน หากใครเกิดใน
ครอบครัวนักดนตรีก็มักศึกษาหาความรู้ด้านดนตรีและยึดการรับจ้าง บรรเลง
ดนตรีเป็นอาชีพหลัก ส่วนนักดนตรีที่ไม่ได้เกิดในครอบครัวนักดนตรีไทยมา​
แตเ่ ดมิ บิดามารดามีอาชพี เดมิ เปน็ เกษตรกร กม็ กั ประกอบอาชพี เดมิ ของบิดา
ไปด้วย แต่หากนักดนตรีคนใดมีฝีมือเป็นเลิศ ก็จะถูกเรียกตัวไปเป็นนักดนตรี
ประจ�ำวังของเจ้านายซ่ึงเป็นเชื้อพระวงศ์ เช่น วังบางขุนพรหม วังบูรพา​
วังบางคอแหลม เป็นต้น ครั้นเวลาผ่านไปบทบาทการอุปถัมภ์ดนตรีไทยของ​
เจา้ นายเชอื้ พระวงศไ์ ดล้ ดลง พรอ้ ม ๆ กบั การจดั ตง้ั สว่ นงานดนตรไี ทยในองคก์ ร
ของรัฐบาล นักดนตรีที่มีความเป็นเลิศด้านฝีมือดนตรีและขับร้อง จึงมีอีกช่อง
ทางในการประกอบอาชพี หลกั ทป่ี ฏบิ ตั หิ นา้ ทด่ี า้ นดนตรี อาทิ กรมประชาสมั พนั ธ์
เทศบาลกรงุ เทพมหานคร กองดรุ ยิ างคส์ เี่ หลา่ ทพั ทหารบก ทหารอากาศ ทหาร
เรือ กรมต�ำรวจ และกองการสังคีต กรมศิลปากร เมื่อว่างจากภาระของส่วน
ราชการ นักดนตรีในกลุ่มนี้ก็มาร่วมกับวงดนตรีของครอบครัวในฐานะอาชีพ
เสรมิ (เฉลิมศกั ด์ิ พกิ ลุ ศร,ี 2561, น. 108-109) มนษุ ยม์ ักเลือกประกอบอาชีพ
โดยมีหลักวิธีคิดที่คล้ายคลึงกันคือ โอกาส ความรัก ความชอบ ความถนัดใน
อาชพี และผลตอบแทน นกั ดนตรกี เ็ ชน่ เดยี วกนั เพอ่ื ความมนั่ คงในชวี ติ อาจจำ� เปน็
ต้องเลือกอาชีพที่สามารถสร้างความม่ันคงได้ อาชีพนักดนตรีเป็นอาชีพที่ใช้
ทักษะเฉพาะจึงพบว่าแม้แต่ในอดีตจนถึงปัจจุบันมักได้รายได้ค่อนข้างสูงกว่า​
เงนิ เดอื นขน้ั ตำ�่ จะเหน็ ไดว้ า่ ในอดตี อาชพี นกั ดนตรนี น้ั พบวา่ จะมคี วามมนั่ คงทาง
เศรษฐกจิ มากกว่าอาชีพเกษตรกรรม เพราะนักดนตรีในอดีตได้รบั การอุปถัมภ์

63(มกราคม-ปมที ิถี่ ุน1า9ยฉนบ2ับ5ท65่ี 1)
จากราชส�ำนัก เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมอาชีพดนตรีก็ได้เข้ามาอยู่ใน​
รปู แบบของขา้ ราชการ อาทิ ครสู อนดนตรี ศลิ ปนิ ในกรมประชาสมั พนั ธ์ เปน็ ตน้
ซ่ึงมีเงินเดือนประจ�ำ และได้รับสวัสดิการท่ีม่ันคง นอกจากอาชีพราชการแล้ว
นักดนตรียังเป็นอาชีพอิสระที่มีรายได้สูงกว่าเงินเดือนข้ันต�่ำ แต่อย่างไรก็ตาม​
ก็เสีย่ งที่จะถกู เลกิ จา้ งได้ตลอดเวลา

การว่าจ้างและการหารายได้ของนักดนตรีพบว่าไม่ค่อยส่งผลกระทบต่อ
อาชีพนักดนตรีมากเท่าไร จนกระทั่งเกิดวิกฤตการณ์โรคระบาดโควิด-19 ซ่ึง
สรา้ งผลกระทบตอ่ ทกุ คนในสงั คม โดยเฉพาะรายไดท้ ลี่ ดลง และยงั สง่ ผลกระทบ
ตอ่ อาชพี อสิ ระ เชน่ นกั ดนตรกี ลางคนื นกั ดนตรอี าชพี ทไ่ี มไ่ ดร้ บั เงนิ เดอื นประจำ�
คณะลเิ ก หมอล�ำ เป็นต้น พษิ จากการระบาดของโควดิ -19 สง่ ผลให้คณะลเิ ก​
ถกู ยกเลกิ งาน ทมี งานในคณะลิเกนับรอ้ ยขาดรายได้ ทำ� ให้ต้องดิน้ รนหาอาชีพ
เสริมเพื่อด�ำรงชวี ิตตอ่ ไป ผู้สือ่ ขา่ วมติชนออนไลน์ (2564) ได้สมั ภาษณ์หวั หน้า
คณะลิเกแห่งหนึ่งในจังหวัดนครราชสีมา หัวหน้าคณะได้น�ำสมุดจดบันทึกคิว
จ้างงานมาให้ดู พบวา่ ช่วงเดือนธนั วาคม 2563 ถึงเดอื นมีนาคม 2564 เจ้าภาพ
ไดแ้ จง้ ยกเลกิ งาน บางงานกถ็ กู เลอื่ นออกไปไมม่ กี ำ� หนด ทำ� ใหส้ ญู เสยี รายไดเ้ ปน็
จ�ำนวนมากส่งผลให้ทีมงานในคณะลิเกกว่า 100 ชีวิตต้องว่างงานแล้วกลับไป
อยกู่ บั ครอบครวั โดยทไี่ มม่ รี ายไดเ้ ลย นอกจากนนั้ บางคณะในจงั หวดั เดยี วกนั ได้
รบั ผลกระทบเชน่ เดยี วกนั แตไ่ ดห้ นั ไปประกอบอาชพี อนื่ เชน่ เปดิ รา้ นกว๋ ยเตย๋ี ว
รา้ นอาหาร และขายของออนไลน์ เป็นตน้ ส�ำนกั ขา่ วไทย (2564) รายงานวา่
กลุ่มนักร้อง นักดนตรีอิสระได้ร้องเรียนรัฐบาลว่าได้รับผลกระทบไม่สามารถ
ทำ� งานไดเ้ พราะการแพรร่ ะบาดของโควดิ -19 พรอ้ มระบวุ า่ สถานทที่ ำ� งานถกู ปดิ
เน่ืองจากเป็นพ้ืนท่ีเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของโรค จึงท�ำให้ไม่สามารถท�ำงาน
ได้ กลายเป็นคนตกงาน ไมไ่ ดร้ บั รายได้ตง้ั แตเ่ มือ่ รฐั ได้ประกาศปดิ สถานบนั เทงิ
แบบเหมารวม ดงั นนั้ จงึ ไดเ้ รยี กรอ้ ง 4 ขอ้ เสนอ ขอใหร้ ฐั บาลเยยี วยา 5,000 บาท

64 วมหาราวสทิ ายราสลหัยวธรทิ รยมาศกาสาตรรว์ ิทยาลยั สหวิทยาการ
เป็นเวลา 2 เดือน อีกทั้งยังขอพักช�ำระหนี้ เป็นต้น โดยมีตัวแทนจากรัฐบาล​
รบั หนงั สือ

การแพร่ระบาดจากโควิด-19 ได้สะท้อนให้เห็นว่าอาชีพนักดนตรีหรือ
ศลิ ปนิ อสิ ระนน้ั ไมไ่ ดม้ คี วามมน่ั คงในชวี ติ พวกเขาตา่ งไมไ่ ดร้ บั สวสั ดกิ ารคมุ้ ครอง
ต่างจากอาชีพราชการท่ีได้รับเงินเดือนประจ�ำ ทั้งยังมีสวัสดิการทางสังคม​
คอยดูแล อีกทั้งอาชีพอิสระอย่างนักดนตรียังไม่ได้รับการดูแลสวัสดิการทาง
สงั คมอยา่ งอาชพี พนกั งานโรงงาน แรงงานประจำ� ทไ่ี ดร้ บั สวสั ดกิ ารผา่ นสหกรณ์
หรือระบบประกันสังคม เม่ือได้รับผลกระทบก็ท�ำให้ต้องหยุดอาชีพนักดนตรี
ท�ำงานสร้างสรรค์ไปหาประกอบอาชีพท่ีจะท�ำให้เล้ียงชีวิตได้ โดยมักมุ่งไปหา
อาชพี ทแ่ี ตเ่ ดมิ มตี น้ ทนุ ทางครอบครวั อยู่ เชน่ รา้ นอาหาร ขายของออนไลน์ หรอื
ในปจั จบุ นั เกดิ อาชพี รบั จา้ งขนสง่ สนิ คา้ ขบั รถรบั จา้ ง ในบรษิ ทั ตา่ ง ๆ เชน่ แกรบ็
หรือฟดู้ แพนดา้ เปน็ ตน้ ซ่งึ เปน็ อาชีพที่ไม่ต้องลงทนุ มากนกั อกี ทง้ั ยงั เป็นการ
รอเพอ่ื กลับไปทำ� อาชพี นักดนตรี ศิลปินอีกคร้ัง

จากข้อเรียกร้องถึงเงินให้เปล่าจากรัฐบาล โดยเงินเหล่านี้ได้มาจากการ
จดั เกบ็ ภาษีทงั้ ทางตรงและทางอ้อม โดยแนวคิดการเรยี กรอ้ งเงนิ เดอื นให้เปล่า
จะไปเทียบเคียงกับแนวคิดรัฐสวัสดิการท่ีประสบความส�ำเร็จในกลุ่มประเทศ
นอร์ดิก และแนวคดิ รายไดพ้ ื้นฐานถว้ นหนา้ (Universal Basic Income: UBI)
เพอ่ื ดแู ลประชาชนหรอื ผใู้ ชแ้ รงงานในประเทศ ไมใ่ ชแ่ คเ่ พยี งคนกลมุ่ ใดกลมุ่ หนงึ่
แตเ่ ปน็ ทงั้ ประเทศ โดยมกี ารเกบ็ ภาษใี นอตั รากา้ วหนา้ ทแ่ี ตกตา่ งกนั ไปตามอตั รา
รายได้ ดังนั้นบทความช้ินนี้จึงชวนให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างดนตรีกับ
การเมือง ซ่งึ ไมใ่ ช่เพยี งใช้ดนตรเี ปน็ เคร่อื งมอื ในการส่อื สารทางอุดมการณ์เพียง
อย่างเดียว ดนตรียังสัมพันธ์กับการเมืองในแง่ของการก�ำหนดนโยบายจากผู้มี
อ�ำนาจหรือจากฝ่ายรัฐ ทั้งน้ีและทั้งน้ันนโยบายท่ีก้าวหน้า และเห็นประชาชน
เป็นส�ำคัญย่อมส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของศิลปิน เม่ือคุณภาพชีวิตของศิลปินด​ี

65(มกราคม-ปมีทิถ่ี ุน1า9ยฉนบ2บั 5ท65ี่ 1)
กส็ ง่ ผลตอ่ การสรา้ งสรรคผ์ ลงานของศลิ ปนิ ทงั้ นแี้ ละทงั้ นนั้ ศลิ ปนิ กค็ วรตระหนกั
วา่ ตนเองกเ็ ปน็ แรงงานรปู แบบหนงึ่ ในระบบทนุ นยิ มปัจจุบนั

อาชีพนักดนตรีเป็นอาชีพท่ีไม่ได้รับการสนับสนุนอย่างจริงจังจากกลไก
ของรัฐ นักดนตรีคือแรงงานรูปแบบหนึ่ง แต่ก็พบว่าอาชีพนักดนตรีไม่มีกลุ่ม
สหกรณ์หรือสมาคมนักดนตรีที่ท�ำหน้าท่ีดูแลนักดนตรีอย่างจริงจัง หรือแม้
กระท่ังการร่วมกลุ่มของนักดนตรีที่ช่วยกันมาประคับประคองคนร่วมอาชีพ​
ในยามล�ำบาก ไม่มีแม้กระท่ังการออกมาเรียกร้องประเด็นทางสังคมเพื่อ
สวัสดิการ การชดเชย การกลับไปประกอบอาชีพตามเดิม รวมถึงเรียกร้อง
คณุ ภาพชวี ติ แกน่ กั ดนตรอี ยา่ งจรงิ จงั เลย กลา่ วไดว้ า่ รฐั ไมไ่ ดเ้ ขา้ มาสนบั สนนุ อาชพี
นกั ดนตรใี นดา้ นตา่ ง ๆ เลย กลายเปน็ บรษิ ัทจ�ำหนา่ ยเคร่ืองดื่มมึนเมาได้เข้ามา
มบี ทบาทในการสนบั สนนุ ธรุ กจิ ดนตรแี ละอาชพี ดนตรี อาชพี ดนตรมี พี นื้ ทใ่ี นการ
ประกอบอาชีพท่ีเก่ียวข้องกับธุรกิจตอนกลางคืน จึงเป็นนัยส�ำคัญท่ีอาจท�ำให้
ภาพลักษณ์ของอาชีพดนตรีเป็นเร่ืองของการผิดศีลธรรมหรือเป็นภาพลักษณ์
ด้านลบ จากการระบาดของโควดิ -19 พบวา่ มกั มีการมงุ่ ความสนใจไปที่การปดิ
สถานท่กี ลางคืน งานต่าง ๆ ทีก่ ระทบกบั การแพร่ระบาด อาชพี นกั ดนตรจี งึ ได้
รับผลกระทบไปด้วย อีกทั้งนักดนตรีมักถูกมองว่าเป็นอาชีพที่เกี่ยวกับการ
สังสรรค์ ซ่ึงไม่ใช่ส่ิงจ�ำเป็นในช่วงเกิดโรคระบาด ดังน้ันนักดนตรีจึงถูกละเลย​
ในการเยยี วยา ชดเชย และตกหลน่ ไมม่ กี ารชดเชยอาชพี นอ้ี ยา่ งเหมาะสม ดงั นน้ั
ผลกระทบจากโควิด-19 คือปัจจัยส�ำคัญท่ีกระตุ้นให้เห็นปัญหาเชิงโครงสร้าง​
ที่ถูกสะสม ปัญหาที่ถูกซุกไว้ใต้พรม จนกลายเป็นความรุนแรงเชิงโครงสร้าง​
ท่ีไม่ใช่เพียงการไม่ได้รับเงินชดเชย แต่รวมถึงยังไม่ได้มีการจัดสรรสวัสดิการ​
ทางสงั คมทเี่ หมาะสม นอกจากนน้ั ยงั พบปญั หาการฆา่ ตวั ตายของนกั ดนตรที ไ่ี ด้
รับผลกระทบจากการตกงานในช่วงโควิด-19 ซึ่งเป็นปัญหาความรุนแรงเชิง
โครงสร้างต่อคุณภาพชวี ิตของนักดนตรี

66 มวหาราวสทิ ายราสลหัยวธริทรยมาศกาสาตรรว์ ทิ ยาลัยสหวทิ ยาการ

ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งดนตรกี ับสังคม

ศลิ ปะตา่ ง ๆ ท่เี ราได้เห็นอยู่ในทกุ วันนม้ี ผี ลเน่ืองมาจากปัจจยั ทางสงั คม
เช่น ศาสนา ระบบความเช่ือ รวมท้ังพฤติกรรมอื่น ๆ ท่ีสืบทอดมาจาก
ประวตั ศิ าสตร์ โดยลกั ษณะดนตรขี องสงั คมตะวนั ตกมลี กั ษณะทมี่ กี ฎเกณฑแ์ ละ
เป็นวิทยาศาสตร์ เพราะมีอิทธิพลมาจากสังคมที่ให้คุณค่าต่อการคิดและการ
ตัดสินใจในปัญหาชีวิตประจ�ำวันโดยใช้เหตุผล เป็นผลจากสังคมที่เชื่อถือ
วทิ ยาศาสตรม์ ากกวา่ อำ� นาจลกึ ลบั ทางไสยศาสตร์ และโครงสรา้ งของดนตรยี อ่ ม
สะท้อนให้เหน็ ถงึ โครงสร้างของสงั คมทเี่ ป็นเจ้าของดนตรี เมอ่ื นำ� เอาดนตรีไทย
เดิมมาเปรียบเทียบกับดนตรีตะวันตกพบว่า ดนตรีตะวันตกมีโครงสร้างท่ี
แสดงออกถงึ โครงสรา้ งทม่ี กี ารออกแบบ มกี ารจดั ระเบยี บ มกี ฎเกณฑ์ นกั ดนตรี
ตะวันตกมีระเบียบแบบแผนในการเล่นดนตรีเหมือนกลุ่มทหารที่ฝึกภาคสนาม
ดนตรตี ะวนั ตกจงึ สามารถสรา้ งความเปน็ หนง่ึ เดยี วได้ มกี ฎเกณฑ์ ทฤษฎี ระบบ
โนต้ แนน่ อน ผิดกับดนตรไี ทยที่เล่นโดยอาศยั ความจำ� เปน็ หลัก ดนตรตี ะวนั ตก
จึงแสดงให้เห็นถึงสถาบนั หลักในสงั คมตะวนั ตกทม่ี ีประสทิ ธภิ าพ เชน่ สถาบนั
ด้านศาสนาครสิ ต์ สหกรณ์ สมาคม สถาบันทางการศกึ ษา เปน็ ตน้ ในสว่ นของ
ดนตรีไทยน้ัน แสดงให้เห็นถึงลักษณะของดนตรีท่ีไม่ได้มีกฎเกณฑ์ตายตัว
สะท้อนให้เห็นถึงโครงสร้างทางสังคมที่ได้รับอิทธิพลมาจากศาสนาพุทธ และ
ฮนิ ดู ซง่ึ ทศั นคตติ อ่ ชวี ติ อนั เปน็ สงั สารวฏั กลา่ วคอื ดนตรตี ะวนั ตกเปรยี บเหมอื น
สถาปัตยกรรม ตึกอาคารที่มีความม่ันคง แต่ส�ำหรับดนตรีไทยสะท้อนสภาพ
ธรรมชาติ สง่ิ แวดลอ้ มในสงั คมไทยทเี่ ตม็ ไปดว้ ยแมน่ ำ�้ ลำ� คลอง และการบรรเลง
ของดนตรีไทยก็เหมือนกระแสน�้ำท่ีถูกปล่อยออกไปตามแรงคลื่น และไหล​
คดเคย้ี ว (สงดั ภูเขาทอง, 2534, น. 18-19)

67(มกราคม-ปมีทิถ่ี ุน1า9ยฉนบ2บั 5ท65่ี 1)
ในบริบทของสังคมท่ียังไม่เป็นประเทศพัฒนาและในแถบภูมิภาคที่ไม่ใช่
เมืองหลักหรือมีลักษณะของเมืองท่ีห่างจากส่วนกลางจะพบดนตรีที่ไม่ค่อย
พิสดาร เรียบงา่ ยแต่อาจจะแตกตา่ งกันไปตามสภาพอากาศ อาหาร และอาชพี
ของคนในสงั คม เมอื่ ฟงั และพจิ ารณาแลว้ พบวา่ มลี กั ษณะทค่ี ลา้ ยกบั สำ� เนยี งพดู
ของคนในสงั คมนนั้ ทง้ั นเี้ พราะธรรมชาตขิ องสง่ิ แวดลอ้ ม ภมู ศิ าสตร์ ภมู ปิ ระเทศ
สภาพเศรษฐกิจของสังคม ความยากจน ความแห้งแล้งที่เกิดข้ึนย่อมส่งผล​
กระทบกับวิถีชีวิต ประกอบกับการจัดการระเบียบของสังคมก็ส่งผลต่อศิลปะ
และดนตรี ดนตรที ีแ่ ตล่ ะคนแสดงออกมาย่อมยึดโยงกับวิถีชวี ติ ของบคุ คลนนั้
ธรรมชาตทิ ี่แปรปรวน อากาศหนาวจดั รอ้ นจดั หรือเมอื่ ถงึ ระยะเวลาที่
ธรรมชาติสดใสสวยงามในฤดูใบไม้ผลิ การสู้รบในช่วงสงคราม วิถีชีวิตท่ีมีเพื่อ
ความอยู่รอดในสังคมของมนุษย์ล้วนมีส่วนผลักดันท�ำให้การจัดระบบระเบียบ
เรยี บเรยี งดนตรอี ยา่ งเปน็ ระบบระเบยี บใหม้ ที ว่ งทำ� นองทสี่ อดคลอ้ งกบั ธรรมชาติ
สงิ่ แวดลอ้ ม เช่น ความเร้าอารมณ์ ดดุ นั สดใส หมองหม่น ช้า เร็ว ดัง เบา ออ่ น
หวาน ดุดัน ขน้ึ อยกู่ ับศิลปินผู้เรยี บเรียงจดั วางเสียงออกมา นอกจากนน้ั ในบาง
สงั คมท่มี คี วามซับซ้อนทางอำ� นาจ ดังท่ีสงดั ภเู ขาทอง (2539, น. 17) อธิบาย
ถงึ ดนตรขี องชาวตะวนั ออกวา่ สงั เกตวา่ สำ� เนยี งดนตรขี องญปี่ นุ่ จนี และอนิ เดยี
มที ว่ งทำ� นองคอ่ นขา้ งเศรา้ และชวนฝนั สบื เนอ่ื งมาแตส่ ภาพของเพศสตรภี ายใน
ชาติเหล่าน้ีในอดีตไม่ค่อยมีความเท่าเทียมกับผู้ชาย จนเกือบกลายเป็นเครื่อง
เลน่ ของผชู้ ายไป เสยี งดนตรที เ่ี ปลง่ ออกกค็ ลา้ ยกบั เสยี งสะทอ้ นของผทู้ ต่ี กอยใู่ น
ห้วงแห่งความทุกข์และทรมานใจ ส�ำหรับในด้านดนตรีไทยพบว่ามีท่วงท�ำนอง
ท่อี ่อนหวาน นมิ่ นวล ไมค่ ่อยปรากฏเสยี งท่ีดุดนั รนุ แรง หากจะมกี ็มกั เกิดจาก
การปรงุ แตง่ ขน้ึ เปน็ พเิ ศษเพอื่ ใชส้ ำ� หรบั บางโอกาส เชน่ การแสดงละคร เปน็ ตน้
เพราะสภาพชีวิตของคนไทยมักจะพบกับธรรมชาติท่ีสวยงาม ไม่ค่อยพบกับ

68 มวหาราวสทิ ายราสลหยั วธรทิ รยมาศกาสาตรรว์ ิทยาลัยสหวทิ ยาการ
อุปสรรคของธรรมชาติท่ีรุนแรง หรือสภาพสงครามที่รุนแรงจนท�ำให้เกิดความ
สะเทอื นใจตดิ ฝงั เป็นรากลึกถึงจติ ใจ (สงัด ภูเขาทอง, 2539, น. 17) นอกจาก
นนั้ สงครามและการสญู เสยี หลงั เหตกุ ารณท์ างการเมอื งกจ็ ะพบดนตรที ส่ี ะทอ้ น
แนวคิด อุดมการณ์ทางการเมืองท่ีบันทึกประวัติศาสตร์ของสังคม ซึ่งในระยะ
หลังได้เกิดพัฒนาการทางรูปแบบและเนื้อหา รวมถึงการแสดงออกผ่านดนตรี​
ทส่ี รา้ งสรรค์เพิ่มมากขึน้ ทงั้ จากฝ่ายผู้มีอ�ำนาจและฝ่ายประชาชนผูถ้ ูกกดข่ี

ดนตรีกับมนุษย์เป็นสิ่งท่ีอยู่ร่วมกันมาตั้งแต่อดีต ดนตรีเกิดจากการ
สร้างสรรค์และแรงบันดาลใจของมนุษย์ท่ีพยายามสะท้อนจินตภาพของตนเอง
รวมถงึ สภาพสังคมที่เกิดขน้ึ ในแตล่ ะชว่ งเวลาออกมา พร้อมกบั สะทอ้ นแนวคดิ
อุดมการณ์ออกมาอย่างต่อเน่ือง โดยในค�ำร้องของเพลงเต็มไปด้วยวาทกรรม
(ชิษณุพงค์ อินทร์แก้ว, 2561, น. 263) ดนตรีจึงมีความสัมพันธ์กับสังคม​
ตลอดมา และเพ่ือท�ำความเข้าใจความคิดของคนในสังคมนั้น ๆ จึงต้องไปด​ู
การจัดวางความคดิ ทางสงั คม ซึง่ ยดึ โยงกบั ประวตั ศิ าสตร์ เศรษฐกจิ วฒั นธรรม
โดยท้ังน้คี ือการเมือง ดังนน้ั ดนตรจี ึงไม่สามารถแยกออกจากการเมืองได้ ดนตรี
จงึ สมั พนั ธ์กับสงั คมและการเมอื ง

ในชว่ งครสิ ตศ์ กั ราช 1920 สหรฐั อเมรกิ าตอ้ งพบกบั ปญั หาทางเศรษฐกจิ
ต้องดิ้นรนกับภัยพิบัติทางเศรษฐกิจอย่างรุนแรง จึงส่งผลให้แนวคิดของลัทธ​ิ
มารก์ ซสิ ตก์ ลบั มาไดร้ บั ความนยิ มและดงึ ดดู ปญั ญาชน ศลิ ปนิ จำ� นวนมากทเี่ ชอ่ื
ในแนวคดิ สงั คมนยิ มและตอ้ งการเปลย่ี นแปลงสงั คมไปสสู่ งั คมในอดุ มคติ ศลิ ปนิ
หลายคนไดน้ ำ� งานศิลปะของตนไปใชเ้ ผยแพรอ่ ดุ มการณ์ ไม่วา่ จะเป็นนักดนตรี
นักเขยี น ศิลปิน หรือแม้กระทั่งนักเตน้ ร�ำ (Jonathan C. Friedman, 2013,​
p. 34) เกิดการรวมตวั กันของคนกลุ่มหนงึ่ ทปี่ ระกอบไปดว้ ยพีต ซีเกอร์ (Pete
Seeger), ลี เฮย์ส (Lee Hays), มิลลาร์ด แลมเพลล์ (Millard Lampell) และ
จอหน์ ปเี ตอร์ ดอวส์ (John Peter Dawes) เปน็ กลมุ่ คนเลก็ ๆ กลมุ่ หนงึ่ ทเ่ี ขยี น

69(มกราคม-ปมีทิถี่ ุน1า9ยฉนบ2บั 5ท65่ี 1)
และแสดงดนตรีโฟลก์ (folk music) เพอื่ สนับสนุนสหภาพแรงงาน และพรรค
คอมมิวนสิ ตใ์ นสหรฐั ฯ ซึ่งต่อมาไดม้ วี ูด้ ดี กธู รี (Woody Guthrie), จอช ไวต์
(Josh White), ซันนี เทอร์รี (Sonny Terry) บราว์นี แมคกี (Brownie​
McGhee), ซสิ โก ฮสู ตนั (Cisco Houston) และเอริ ล์ โรบนิ สนั (Earl Robinson)
ซึ่งต่างมีภูมิหลังท่ีแตกต่างกันออกไปเข้ามาร่วมกลุ่มด้วย โดยต่อมาท�ำให้เกิด​
การผสมผสานแนวดนตรีรูปแบบต่าง ๆ และพัฒนาเรื่อยมา หลังจากเผชิญ
วิกฤตการณ์และผ่านเหตุการณ์ทางการเมืองต่าง ๆ มากมายพวกเขาก็ได​้
ปรับเปลี่ยนรูปแบบของดนตรีและพัฒนาดนตรีเพื่อการประท้วงเรื่อยมา จน
กระทง่ั พฒั นาไปสรู่ ปู แบบของการนำ� เอาเครอื่ งดนตรพี น้ื เมอื งอยา่ ง “แบนโจ”ท่ี​
บรรเลงโดยพตี ซเี กอร์ รว่ มกบั กตี ารโ์ ดยเฟรด เฮลเลอรแ์ มน (Fred Hellerman)
จนได้กลายเป็นรากฐานของเพลงประท้วงและยังส่งอิทธิพลไปยังคนรุ่นหลัง​
อย่างเชน่ บอ็ บ ดีแลน (Bob Dylan)

ความสัมพันธ์ระหว่างดนตรีกับขบวนการเคลื่อนไหวทางการเมืองของ
แรงงานในสหรัฐฯ ได้เกิดข้ึนอย่างคึกคักอย่างมากในช่วงต้นศตวรรษท่ี 20​
(Jonathan C. Friedman, 2013, p. 32) ท�ำให้เกิดดนตรีที่คอยสนับสนุน​
การเคลื่อนไหวของกลุ่มแรงงาน ซึ่งมุ่งเน้นไปที่การต่อสู้เพื่อสิทธิแรงงาน การ
รว่ มกนั รอ้ งเพลงของแรงงานจะชว่ ยยกระดบั จติ วญิ ญาณและสรา้ งความรสู้ กึ รว่ ม
กัน สถานที่ท�ำงานตลอดจนการชุมนุมจะกลายเป็นสังคมที่แบ่งปันกันมากกว่า
ประสบการณท์ เ่ี ลวรา้ ยหรอื เบอ่ื หนา่ ย แตจ่ ะชว่ ยบรรเทาความเหนอ่ื ยลา้ สน้ิ หวงั
ลงไปได้ ปญั หาของแรงงานมกั เตม็ ไปดว้ ยอารมณท์ ร่ี นุ แรงและความยากลำ� บาก
ในการด�ำรงชีวติ ในแตล่ ะวัน กจิ กรรมการประทว้ งทีส่ นกุ สนานแตไ่ ด้แสดงออก
ถงึ อดุ มการณ์ ความหวงั ทอี่ ยากใหค้ ณุ ภาพชวี ติ ของตวั เองดขี น้ึ จะชว่ ยใหแ้ รงงาน
ผ่านช่วงเวลาท่ีน่าเบ่ือหน่ายไปได้ อีกทั้งกิจกรรมที่สนุกสนานอย่างเช่นดนตรี​
จะชว่ ยสรา้ งชมุ ชน สรา้ งความเปน็ นำ�้ หนง่ึ ใจเดยี วกนั ตลอดจนชว่ ยบรรเทาความ

70 มวหาราวสิทายราสลหัยวธริทรยมาศกาสาตรรว์ ทิ ยาลัยสหวทิ ยาการ

ส้นิ หวัง ความหวาดกลวั โจนาธาน ซ.ี ฟรีดแมน (Jonathan C. Friedman,
2013, p. 32) ขบวนการแรงงานได้เดินไปตามท้องถนนและร้องเพลงด้วย​
ทา่ ทางทีแ่ นว่ แน่ ร่าเริง แตแ่ สดงถงึ อารมณ์แห่งความโกรธ ความคับข้องใจ โดย
ไดส้ ะทอ้ นเปา้ หมายของพวกเขาผา่ นบทเพลงทท่ี รงพลงั ประวตั ศิ าสตรไ์ ดจ้ ารกึ
บทเพลงของแรงงานและบนั ทกึ การตอ่ สขู้ องพวกเขาเพอ่ื สง่ ตอ่ ไปยงั การประทว้ ง
ท่ัวโลก

ดงั น้ันดนตรจี งึ เปน็ ทรพั ยากรส�ำคญั ในการครอบงำ� และการตอ่ ต้าน รวม
ถงึ ดนตรยี งั เป็นเง่ือนไขในการถกั รอ้ ยเชื่อมผ้คู นต่าง ๆ เขา้ หากนั เพ่ือสรา้ งเครอื
ขา่ ยของการสอ่ื สารหรอื สรา้ งสงั คมขน้ึ มา สำ� หรบั ผมู้ สี ถานะรองทถี่ กู กดขดี่ นตรี
จงึ เปน็ อกี พน้ื ทข่ี องการตอ่ สทู้ างการเมอื ง เพอ่ื เรยี กรอ้ งสงั คมในอดุ มคติ ตอ่ สกู้ บั
ความอยตุ ธิ รรม ภาษาในบทเพลงสามารถสรา้ งความยอกยอ้ นเยย้ หยนั ตอ่ อำ� นาจ
ในขณะเดียวกนั ดนตรีก็ถกู ใชส้ รา้ งแรงบนั ดาลใจใหก้ ับผไู้ ร้อ�ำนาจ แม้กระทงั่ ใน
ปจั จบุ นั กพ็ บวา่ เพลง “อยากจะมชี วี ติ ทดี่ กี วา่ น”้ี ของวงสามญั ชนไดเ้ กดิ ขน้ึ พรอ้ ม
ชว่ งที่มกี ารเรยี กร้องรฐั สวสั ดกิ ารถว้ นหนา้ ครบวงจร

เมืองดนตรี สะทอ้ นความสัมพนั ธ์ระหวา่ งดนตรีกับการเมอื ง

อันโตนิโอ กรัมชียังได้อธิบายถึงวิธีการตีความหรือค้นหาความหมาย​
ทางสงั คมกบั การเมอื ง ไดอ้ ธบิ ายไวผ้ า่ นแนวคดิ ทฤษฎี อยา่ งเชน่ การครองอำ� นาจ​
น�ำ โครงสร้างส่วนบน สามัญส�ำนึก การท�ำสงครามยึดพื้นท่ีความคิด กลุ่ม
ประวัติศาสตร์ คตชิ น การสร้างเจตจำ� นงรว่ มประชาชาติ เป็นตน้ เหล่านจี้ �ำเป็น
ต้องอาศัยการตีความเฉพาะผ่านบริบทและสื่อกลางในการส่งผ่านความหมาย
ทางการเมอื ง เช่น วรรณคดี บทความ ขอ้ เขยี นในหนงั สือพมิ พ์ นติ ยสาร การ
ศกึ ษา ภาษา เปน็ ตน้ (วชั รพล พุทธรักษา, 2561, น. 82) แนวคิด ทฤษฎีของ
กรัมชีสามารถน�ำมาปรับใช้เพ่ือท�ำความเข้าใจความทับซ้อนอ�ำนาจทางความรู้

71(มกราคม-ปมที ิถ่ี ุน1า9ยฉนบ2ับ5ท65่ี 1)
และเพอ่ื ทำ� ความเขา้ ใจการจดั วางอำ� นาจทางความรจู้ ากชนชน้ั ปกครอง เชน่ การ
ผลติ ซำ้� และการสรา้ งมายาคติผ่านบทเพลงหรือดนตรี ศึกษาความทบั ซอ้ นของ
อ�ำนาจความรู้ท่ีถูกผลิตผ่านสถาบันหลักของรัฐบาล การจัดวางความคิดทาง​
การเมืองผา่ นเพลงชาตนิ ยิ ม เป็นตน้

ผลกระทบจากโควดิ -19 ทำ� ใหอ้ าชพี นกั ดนตรเี ขา้ สภู่ าวะตกงาน ไมม่ งี าน
ท�ำ ไม่มีเงินรายได้ ไมม่ ีแม้กระท่งั พนื้ ที่แสดง ไมม่ ีเงนิ เล้ยี งชพี และครอบครวั ท่ี
ส�ำคัญคือไม่มีองค์กรใดเข้ามาให้ความช่วยเหลือ ส�ำหรับโครงการที่รัฐแจกเงิน
นกั ดนตรกี เ็ ขา้ ไมถ่ งึ ตกหลน่ จากการเยยี วยาจากรฐั ดว้ ยเงอื่ นไขตา่ ง ๆ ทแ่ี ตกตา่ ง
กัน (สกุ รี เจริญสุข, 2564) จนกระทั่งเม่อื วนั ท่ี 20 มิถุนายน พ.ศ. 2563 สมาคม
ดนตรีแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ และกลุ่มมิวสิค-19 ได้ร่วมกันแถลง
ข่าวเรื่องการแก้ไขปัญหาแสดงดนตรีสด ภายใต้การระบาดของโรคโควิด-19​
โดยไดเ้ คล่ือนไหวใหร้ ฐั บาลปลดลอ็ กการท�ำงาน เพ่อื ให้กลับมาประกอบอาชีพ​
ได้บ้าง ซ่ึงกลุ่มดังกล่าวได้ไปรวบรวมข้อมูลจากส่วนต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องเพ่ือ
ก�ำหนดมาตรการรับมือร่วมกับรัฐ อีกท้ังยังมีข้อเสนอที่ต้องการผลักดันให​้
การเลน่ ดนตรกี ลายเปน็ วชิ าชพี สำ� นกั ขา่ วไทยพบี เี อส (2564) วนั ที่ 16 ธนั วาคม
พ.ศ.2564 รายงานว่าส�ำนักงานประกันสังคมแถลงภายหลังจากการหารือ​
รว่ มกบั สมาคมดนตรแี หง่ ประเทศไทยในพระราชปู ถมั ภ์ และเครอื ขา่ ยคนบนั เทงิ
ท่ีจดทะเบียนกับกระทรวงมหาดไทย หรือที่ได้จดทะเบียนกับกรมพัฒนาธุรกิจ
การค้าวา่ ทป่ี ระชมุ ได้ผ่านการเหน็ ชอบของคณะรฐั มนตรีแลว้ ทจ่ี ะเริ่มเยยี วยา
เงนิ ก้อนแรกวนั ท่ี 29 ธนั วาคม พ.ศ. 2564 อตั ราคนละ 5,000 บาท เป็นเวลา
1 เดือน ผ่านบัญชีธนาคารท่ีมีการรับรอง อย่างไรก็ตามคาดว่าจะมีศิลปิน​
ท่ตี กหลน่ จากการเยยี วยาดงั กล่าว

72 วมหาราวสทิ ายราสลหยั วธริทรยมาศกาสาตรรว์ ทิ ยาลยั สหวิทยาการ
จะเหน็ ไดว้ า่ กลไกทนี่ กั ดนตรจี ะไดร้ บั การเยยี วยานนั้ ตอ้ งผา่ นการรวมกลมุ่

เรยี กรอ้ งเพอ่ื สทิ ธขิ องอาชพี นกั ดนตรี ซง่ึ กอ่ นหนา้ นไี้ มไ่ ดม้ หี นว่ ยงานหรอื องคก์ ร
ใดเลยทเ่ี ขา้ มาดแู ลชว่ ยเหลอื อาชพี นกั ดนตรี แตเ่ รม่ิ จากการรวมกลมุ่ รวมตวั จาก
ทุกภาคส่วนท่ีเก่ียวข้องเพ่ือหาข้อตกลงแล้วย่ืนเร่ืองไปยังหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง
เพ่ือเสนอไปยังรัฐบาล จากเหตุการณ์ดังกล่าวหากประเทศท่ีมีรัฐสวัสดิการ​
ถ้วนหน้า มีการจัดสรรงบประมาณอย่างก้าวหน้าเป็นธรรมจะท�ำให้เกิดการ
เยียวยาอยา่ งตรงจดุ รวดเร็วและไมม่ คี นตกหล่นจากการเยียวยา อย่างไรกต็ าม
แนวคิดรัฐสวัสดิการเป็นแนวคิดท่ีสร้างความตระหนักรู้ถึงสิทธิของประชาชน​
ทกุ คนในสงั คมทเ่ี สยี ภาษที างตรงและทางออ้ ม ซง่ึ ควรไดร้ บั การจดั สรรงบประมาณ
จากรัฐเพื่อเยียวยาดูแลสวัสดิการทุกคนในสังคม รัฐสวัสดิการต้องเป็นสิทธิท​ี่
ทุกคนตอ้ งไดร้ บั ไม่ใชเ่ ปน็ เหมอื นกบั การสงเคราะหจ์ ากผู้มีอำ� นาจ

เมื่อมีการจัดต้ังรัฐบาลส�ำเร็จแล้ว รัฐบาลจะก�ำหนดนโยบาย รัฐมนตรี
กระทรวงตา่ ง ๆ ได้ก�ำหนดนโยบายเกี่ยวกบั ดนตรี เชน่ การจัดเทศกาลดนตรี​
ท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั กระทรวงวฒั นธรรม กระทรวงการทอ่ งเที่ยวและกฬี า ตลอดจน
กำ� หนดการศกึ ษาดนตรใี นระบบการศกึ ษา และเมอ่ื รฐั บาลมปี ระสทิ ธภิ าพกย็ อ่ ม
ก�ำหนดนโยบายที่เป็นประโยชน์ต่อวงการดนตรีและนักดนตรี ในประเทศ​
ท่พี ฒั นาแลว้ พบวา่ อาทิ อังกฤษ สหรัฐฯ เกาหลใี ต้ กลุ่มประเทศสแกนดิเนเวีย
เปน็ ตน้ ตา่ งกำ� หนดนโยบายทใ่ี หค้ วามสำ� คญั เกย่ี วกบั รฐั สวสั ดกิ าร และใหร้ ายได้
พ้นื ฐานถว้ นหนา้ เพ่อื ดูแลประชาชนตลอดจนแรงงานท้งั หมดในประเทศ ไมใ่ ช่
แค่เพียงคนกลุ่มใดกลุ่มหน่ึงแต่เป็นท้ังประเทศ โดยมีอัตราก้าวหน้าทางภาษี​
ทแี่ ตกตา่ งกนั ไปตามอตั รารายได้ สำ� หรบั ในประเทศไทยมกั มแี นวคดิ ทางลบกบั
อาชีพนักดนตรี โดยมักถูกมองว่าเกี่ยวข้องกับธุรกิจกลางคืน และได้รับการ
สนับสนุนจากสินค้ามึนเมา ซึ่งจากแนวคิดของคนในสังคมไทยที่ส่วนใหญ​่
มลี กั ษณะของอนรุ กั ษนยิ มทผี่ กู ตดิ กบั ความเชอื่ ทางศาสนา อาชพี ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั

73(มกราคม-ปมที ิถ่ี ุน1า9ยฉนบ2บั 5ท65ี่ 1)
ดนตรถี กู มองวา่ ไมใ่ ชศ่ ลี ธรรมอนั ดี เราจะไมพ่ บวา่ ดนตรไี ดร้ บั การสนบั สนนุ จาก
รัฐแต่กลับได้รับการสนับสนุนจากธุรกิจสินค้ามึนเมา รัฐบาลมักส่งเสริมดนตรี
แคบ่ างสว่ น บางกลมุ่ ทสี่ ามารถสรา้ งความชอบธรรมใหก้ บั ผมู้ อี ำ� นาจได้ นอกจาก
การได้รับการสนับสนุนจากรัฐในส่วนต่าง ๆ แล้ว แม้กระท่ังภาษีเคร่ืองดนตรี
อุปกรณ์ดนตรีก็พบว่าถูกจัดเก็บภาษีในอัตราที่สูงมาก รัฐไม่ได้มองดนตรีเป็น
อุปกรณ์ทางการศึกษาที่จะท�ำให้เข้าถึงได้ง่าย จึงพบว่าเคร่ืองดนตรีมีราคาสูง
เนื่องจากมองว่าอาชีพดนตรีเป็นอาชีพท่ีเกี่ยวข้องกับการผิดศีลธรรม หรือ​
ไม่ถูกต้องตามศีลธรรมอันดี อาชีพดนตรีท่ีเกี่ยวข้องกับการสังสรรค์ จึงไม่ใช่​
ส่ิงที่จ�ำเป็นในชว่ งทม่ี โี รคระบาดและยงั มองวา่ อาชพี ดนตรไี มเ่ กยี่ วกบั การฟน้ื ตวั
ทางเศรษฐกิจของประเทศอีกด้วย ต่างกับประเทศที่พัฒนาแล้วท่ีมองดนตร​ี
เป็นกลไกส�ำคัญทางเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งในประเทศที่พัฒนาแล้วพบว่า​
มีการก�ำหนดนโยบายท่ีพัฒนาเศรษฐกิจโดยมีดนตรีเป็นส่วนหน่ึงของการสร้าง
เศรษฐกิจที่มั่งคงของสังคม นอกจากน้ันก็พบว่ารัฐสวัสดิการก็สามารถดูแล​
และสร้างคณุ ภาพชวี ติ ทีด่ ใี ห้กับศิลปินนกั ดนตรีดว้ ยเช่นเดียวกนั

นอกจากนนั้ การจดั การดา้ นผงั เมอื งและนโยบายเมอื งดนตรี (Music City)
ในบางประเทศทไี่ ดร้ บั การสนบั สนนุ จากนโยบายของผมู้ อี ำ� นาจในการปกครอง
อาทิ แจส๊ ของนวิ ออรล์ นี ส์ คนั ทรจี ากแนชวลิ ล์ ในสหรฐั ฯ เมอื งลเิ วอรพ์ ลู ทเ่ี ปน็ ตน้
กำ� เนิดวงเดอะบเี ทลิ ส์ในองั กฤษ สตรีทมิวสิกในญปี่ ่นุ เปน็ ตน้ ซง่ึ เมอื งดังกลา่ ว
ไดจ้ ดั สรรงบประมาณ และกำ� หนดนโยบายจากฝา่ ยรฐั เพอื่ จดั การทงั้ ดา้ นผงั เมอื ง
และงบประมาณสนับสนุนเพิ่มเติม ซึ่งเรียกได้ว่าเป็นการจัดการตามนโยบาย
เศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์

เมอื งดนตรเี ปน็ เมอื งทม่ี ดี นตรเี ปน็ สว่ นประกอบสำ� คญั ของระบบเศรษฐกจิ
ซึง่ ตอ้ งได้รบั การสนับสนนุ จากรฐั บาลของประเทศต่าง ๆ และผู้ประกอบธรุ กจิ
ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมดนตรีท้องถ่ิน ซึ่งจะช่วยสร้างผลประโยชน์ในเชิง

74 วมหาราวสิทายราสลหยั วธริทรยมาศกาสาตรรว์ ทิ ยาลยั สหวทิ ยาการ
เศรษฐกิจ การจ้างงาน วัฒนธรรม และสังคมได้เป็นอย่างดี โดยจะได้รับการ
สนับสนุนด้านการท่องเที่ยวเชิงดนตรีเพื่อให้เกิดการจัดการแสดงขึ้นในท้องถ่ิน
นั้น ๆ นอกจากรายได้จากขายบัตรการแสดงดนตรีแล้วยังสามารถก่อให​้
เกิดรายได้แก่ผู้ประกอบการท้องถิ่น ไม่ว่าจะเป็นด้านอุตสาหกรรมโรงแรม​
ร้านอาหาร ขนส่ง ตลอดจนการบริโภคและการบริการอน่ื ๆ

งานศกึ ษาของโรเบริ ์ต ซี. คลูสเตอรแ์ มน (Robert C. Kloosterman)
เรือ่ ง “Come Together: An Introduction to Cities and Music” ท�ำการ
ศกึ ษาปญั หาของเศรษฐศาสตร์ ภมู ศิ าสตรร์ ว่ มสมยั ศกึ ษาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง
สถานทแ่ี ละกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ โดยใชม้ องเพลงสมัยนิยม ทำ� ใหเ้ หน็ วา่ ดนตรี
ได้เขา้ ไปมสี ่วนร่วมในสถานทแ่ี ละบรบิ ทต่าง ๆ ทางเศรษฐกิจและสงั คม และได้
ศึกษาถึงการเจริญเติบโตของเมืองดนตรีที่เข้าไปมีอิทธิพลเกี่ยวกับแฟชั่นและ
อตุ สาหกรรมการท่องเทย่ี วอืน่ ๆ จากการศึกษาพบวา่ ไดม้ กี ารสร้างวัฒนธรรม
รว่ มสมยั โดยไดน้ ำ� เอากระบวนการของโลกาภวิ ตั นแ์ ละวฒั นธรรมเดมิ ในทอ้ งถน่ิ
เข้ามาผสมผสานเพ่ือส่งเสริมให้เกิดการปรับเปลี่ยนเป็นวัฒนธรรมดนตรีสมัย
นยิ มเพื่อสร้างแรงจงู ใจดา้ นเศรษฐกิจ (Robert C. Kloosterman, 2005)

ในปจั จบุ นั คำ� วา่ เมอื งดนตรใี ชก้ นั ทวั่ ไปและพบไดเ้ กอื บทงั้ โลก เพอื่ อธบิ าย
ถึงเขตเศรษฐกิจดนตรีที่ได้รับการสนับสนุนและส่งเสริมจากสถาบันการเมือง​
ทง้ั ระดบั ทอ้ งถนิ่ และระดบั ประเทศ โดยกลยทุ ธข์ องเมอื งดนตรไี ดร้ บั การดำ� เนนิ
นโยบายจากสถาบันทางการเมืองและเครือข่ายธุรกิจ เพ่ือการพัฒนาอย่าง​
ต่อเน่ือง การจัดการจากสถาบันทางการเมืองท่ีมีประสิทธิภาพจึงเป็นกุญแจ
สำ� คญั ทีจ่ ะสรา้ งความส�ำเร็จใหก้ บั เมืองดนตรี

การสนับสนุนทางการเมืองมีส่วนสำ�คัญ สมาชิกสภามีบทบาทสำ�คัญใน
การอำ�นวยความสะดวกเพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยน พัฒนานโยบายเกี่ยวกับ
การแสดงดนตรีสด อกี ท้ังสมาชิกสภาที่มีความรูค้ วามเข้าใจในวฒั นธรรมดนตร​ี

75(มกราคม-ปมที ิถ่ี ุน1า9ยฉนบ2บั 5ท65ี่ 1)
จะชว่ ยให้คำ�ปรึกษาต่าง ๆ ได้อยา่ งดี เพ่อื เปน็ แรงผลักดันเบ้อื งหลังความสำ�เรจ็
ของเมอื งดนตรี นอกจากนน้ั ถา้ มสี มาชกิ สภาหรอื นกั การเมอื งในทอ้ งถน่ิ สามารถ
ประสานจัดการสร้างเครือข่ายกับเอกชนให้เข้ามาลงทุนก็จะทำ�ให้เมืองดนตรี
ประสบความสำ�เรจ็ มากยง่ิ ขน้ึ (Amy Terrill, 2019, p. 25) งานของเอมี เทอรร์ ลิ ล์​
ไดส้ ัมภาษณแ์ ละศึกษาปัจจยั สำ�คญั ที่ทำ�ให้เมอื งดนตรปี ระสบความสำ�เรจ็ โดย
ทำ�การศกึ ษาเมอื งโตรอนโต (Toronto) ประเทศแคนาดา ซง่ึ พบวา่ ปจั จยั สำ�คญั
อกี อยา่ งทขี่ าดไมไ่ ดค้ อื ปจั จยั ทางการเมอื ง โดยสมาชกิ สภาโตรอนโตนนั้ ไดเ้ ขา้ ไป
มีบทบาทสำ�คัญในการวางกลยุทธ์ กำ�หนดนโยบาย ให้คำ�ปรึกษาอีกท้ังยังได้​
สร้างเครือข่ายกับภาคเอกชน เพ่ือร่วมกันกำ�หนดนโยบายที่มุ่งไปยังอนาคต
นอกจากนั้นในงานศึกษายงั กลา่ วถงึ ความโปร่งใส ตรวจสอบได้ของสภาโตรอน
โตที่เปน็ ปัจจัยสำ�คัญเชงิ นโยบายดว้ ยเชน่ เดียวกนั

จะเห็นได้ว่าสถาบันทางการเมืองมีบทบาทส�ำคัญในการสร้างเศรษฐกิจ
สรา้ งสรรคข์ องเมอื งดนตรี เพอื่ ใหเ้ กดิ อตุ สาหกรรมภายในเมอื ง โดยไดป้ ระยกุ ต์
เอาประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมของท้องถ่ิน มาพัฒนาปรับปรุงให้เข้ากับยุคสมัย
และสร้างแรงจูงใจให้ผู้บริโภค ผู้ที่เดินทางมาใช้บริการ ปัจจัยส�ำคัญท่ีจะสร้าง
เมอื งดนตรขี น้ึ ไดน้ นั้ มเี งอ่ื นไขสำ� คญั บางประการ องคก์ ร Music Canada (2014,
p. 13) สรุปวา่ เมอื งดนตรตี ้องมีองคป์ ระกอบส�ำคญั 5 อย่างดว้ ยกัน คอื 1) ต้อง
เปน็ เมอื งทม่ี ศี ลิ ปนิ และนกั ดนตรจี ำ� นวนมาก 2) มดี นตรที อ้ งถน่ิ ทคี่ กึ คกั 3) สถาน
ที่จดั งานสามารถเข้าถงึ ได้สะดวก 4) มกี ลมุ่ ธุรกิจและผปู้ ระกอบการท่เี กี่ยวกับ
อุตสาหกรรมดนตรี 5) มีกลุ่มผู้ชมผู้ฟังที่คอยเปิดใจพร้อมสนับสนุนผลงาน
สร้างสรรค์ใหม่ นอกจากน้ันถ้าหากเมืองมีการท่องเที่ยวเพื่อมาชมดนตรีและ​
มีการใชจ้ ่ายเงนิ จ�ำนวนมาก ทั้งด้านโรงแรม ร้านอาหาร ผปู้ ระกอบการตา่ ง ๆ
ในเมือง การขนส่ง ท�ำให้เกิดการท่องเที่ยวเชิงดนตรี ก็ถือว่าเป็นเมืองดนตร​ี
ดว้ ยเช่นกัน

76 วมหาราวสิทายราสลหยั วธรทิ รยมาศกาสาตรรว์ ิทยาลัยสหวิทยาการ

ปัจจัยส�ำคัญที่จะสร้างเมืองดนตรี ซ่ึงเป็น 1 ใน 7 สาขาของเครือข่าย
เมืองสร้างสรรค์ตามแนวคิดของยูเนสโก จะเห็นได้ว่าต้องมีการร่วมมือกันของ
หลายฝา่ ยทงั้ จากชมุ ชนและนกั ดนตรี นอกจากนน้ั ปจั จยั สำ� คญั คอื ตอ้ งไดร้ บั การ
สนบั สนนุ เชงิ นโยบายจากฝา่ ยการเมอื ง เหน็ ไดช้ ดั วา่ เปน็ การทำ� งานเชงิ โครงสรา้ ง
ทางสังคม ต้องได้รับการสนับสนุนจากทั้งนักการเมืองระดับท้องถ่ินไปจนถึง
ระดบั ประเทศ อกี ทงั้ ตอ้ งผา่ นการตรวจสอบ ทำ� งานเชงิ นโยบาย หรอื อาจจะตอ้ ง
เกิดการเยียวยาผลกระทบต่าง ๆ ดังน้ันปฏิเสธไม่ได้เลยว่าดนตรีไม่เกี่ยวกับ
การเมอื ง และนกั ดนตรกี ค็ วรตระหนกั ถงึ หนา้ ทพี่ ลเมอื งในฐานะประชาชนผเู้ สยี
ภาษีให้กับประเทศ เพ่ือให้นักการเมืองฝ่ายบริหารเข้ามาจัดสรรงบประมาณ​
ท่ีก้าวหน้า เป็นธรรม รวมถึงฝ่ายค้านท่ีคอยท�ำหน้าท่ีตรวจสอบรัฐบาล กล่าว
สรุปได้ว่าการยกกรณีเมืองดนตรีขึ้นมาน้ันจะช่วยเผยให้เห็นความสัมพันธ์กัน
ระหวา่ งดนตรกี บั การเมอื ง และสดุ ทา้ ยการสรา้ งสรรคต์ า่ ง ๆ จะเกดิ ขน้ึ ไมไ่ ดเ้ ลย
หากศลิ ปนิ นกั ดนตรไี มต่ ระหนกั ถงึ ความสำ� คญั ของอำ� นาจทางการเมอื งของภาค
ส่วนต่าง ๆ

เศรษฐกิจสรา้ งสรรค์

เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) คือธุรกิจด้านความคิด
เปน็ การเปลยี่ นความคิดใหก้ ลายเปน็ ผลิตภณั ฑ์ โดยได้รับอทิ ธิพลมาจากจอหน์
ฮาวกินส์ ผู้เขียนผลงานที่มีชื่อเสียงเร่ือง The Creative Economy: How
People Make Money from Ideas ตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 2001 เศรษฐกิจ
สร้างสรรค์เป็นเรื่องเก่ียวกับความสัมพันธ์ระหว่างความคิดสร้างสรรค์กับ
เศรษฐศาสตรเ์ พอื่ น�ำไปสกู่ ารสรา้ งมลู คา่ สนิ คา้ (Marta-Christina Suciu, 2008)
ส�ำนกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ (สศช.) ไดน้ ยิ ามเศรษฐกจิ
สรา้ งสรรคว์ า่ เปน็ การพฒั นาเศรษฐกจิ บนพนื้ ฐานของการสรา้ งและใชอ้ งคค์ วาม

77(มกราคม-ปมีทิถี่ ุน1า9ยฉนบ2ับ5ท65ี่ 1)
รู้ ความคิดสร้างสรรค์ และทรัพย์สินทางปัญญา ที่เชื่อมโยงกับพื้นฐานทาง
วัฒนธรรม การสง่ั สมความรขู้ องสงั คม เทคโนโลยี และนวัตกรรม ในการผลิต
สินคา้ และบริการใหมเ่ พือ่ สรา้ งมลู ค่าเพ่ิมทางเศรษฐกจิ (กรุงเทพธุรกจิ , 2562)
เศรษฐกิจสร้างสรรค์เป็นชุดของกิจกรรมทางเศรษฐกิจท่ีขับเคล่ือนไปบนฐาน
ของทุนทางปัญญาโดยมีสินทรัพย์ที่สร้างสรรค์เป็นองค์ประกอบร่วมในการขับ
เคลอื่ นการพฒั นาไมว่ า่ จะเปน็ ทกั ษะ ความรู้ ความคดิ สรา้ งสรรค์ ทเ่ี ชอื่ มโยงกบั
ทนุ พน้ื ฐานทางสงั คม อาทิ ศลิ ปวฒั นธรรม ทรพั ยากรธรรมชาติ เทคโนโลยี และ
นวัตกรรม ภายใต้การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา (กนกวรา พวงประยงค์,
2561, น. 231) ซง่ึ ตอ้ งน�ำความคดิ สรา้ งสรรคไ์ ปประยกุ ตใ์ ชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนแ์ ละ
ต่อยอดท้ังด้านบริการหรือสร้างนวัตกรรม จึงจะสามารถสร้างมูลค่าทาง
เศรษฐกจิ ไดอ้ ยา่ งแท้จริง ส�ำหรับการน�ำเอาแนวคดิ เศรษฐกิจสร้างสรรค์เข้ามา
ปรับใช้กับการพัฒนาด้านดนตรี อาจกล่าวสรุปได้ว่าเป็นการสร้างมูลค่าท่ีเกิด
จากความคดิ โดยแนวคดิ ส�ำคญั คอื การสรา้ งแบรนด์ (Branding) เพอ่ื ใหผ้ บู้ รโิ ภค
หรือผ้ฟู ังมคี วามรูส้ กึ ร่วม มคี วามผกู พัน และผ้บู รโิ ภครสู้ กึ ดี อิม่ อกอมิ่ ใจ ท่ไี ด้
บรโิ ภคหรอื เปน็ เจา้ ของสนิ คา้ ไมว่ า่ ทางใดทางหนง่ึ ท�ำใหเ้ กดิ แรงจงู ใจทผี่ บู้ รโิ ภค
อยากเปน็ เจ้าของผลงาน อาทิ การน�ำเอาทกั ษะ วิธีคิด ของความเปน็ รากเหงา้
ทางวัฒนธรรมประเพณี น�ำมาปรับประยุกต์ให้ร่วมสมัยกับวัฒนธรรมโลก ซึ่ง
อาจยกระดับจากธุรกิจขนาดเล็กให้กลายเป็นอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ในระดับ
นานาชาติ เช่น วัฒนธรรมร่วมสมัยของประเทศเกาหลี (K-POP) มีการสร้าง
แบรนดจ์ นเกดิ อุตสาหกรรมทั้งด้านดนตรี แฟชั่น ภาพยนตร์ อกี ทง้ั ยงั สง่ ผลให้
เกดิ อตุ สาหกรรมการทอ่ งเทยี่ ว โดยไดเ้ ชอื่ มโยงกบั วฒั นธรรมของประเทศเกาหลี
ทัง้ ด้านเสือ้ ผา้ แฟชนั่ ทรงผม และสถานทส่ี �ำคัญต่าง ๆ ในประเทศ

เศรษฐกิจสรา้ งสรรคจ์ �ำเป็นต้องได้รับการสนบั สนนุ และก�ำหนดนโยบาย
จากภาครัฐเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและความย่ังยืนในการส่งเสริมสิ่งที่ส�ำคัญ

78 วมหาราวสิทายราสลหยั วธริทรยมาศกาสาตรรว์ ทิ ยาลัยสหวิทยาการ
ทส่ี ดุ คอื ทรพั ยากรมนษุ ย์ เชน่ การวางผงั เมอื ง การสนบั สนนุ เงนิ ทนุ เรม่ิ ตน้ จากรฐั
อตั ราการลดหยอ่ นภาษี ภาษนี �ำเขา้ วตั ถดุ บิ ตา่ ง ๆ และก�ำหนดแนวทางเผยแพร่
วัฒนธรรม โดยอย่างเช่นในประเทศอินโดนีเซียที่มีการเผยแพร่กาเมลันโดยมี
สถานทตู เป็นหนว่ ยงานส�ำคญั ในการสนับสนนุ หรือในบางประเทศท่ีสรา้ งเมอื ง
ดนตรี โดยการตงั้ ชอ่ื ถนน สรา้ งพพิ ธิ ภณั ฑ์ หอแสดงดนตรี เปน็ ตน้ การจะพฒั นา
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ในลักษณะของเมืองดนตรีให้ประสบความส�ำเร็จได้น้ัน
จ�ำเปน็ ต้องให้ความส�ำคัญกบั การพัฒนาชมุ ชนและพฒั นาทุนมนุษย์ อกี ทง้ั ต้อง
สรา้ งจดุ ดงึ ดดู ในลกั ษณะทเี่ ชอื่ มโยงกบั ประวตั ศิ าสตร์ วฒั นธรรม รวมถงึ พฒั นา
ชุมชนควบคู่ไปด้วย ท้ังนี้การพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ให้มีประสิทธิภาพนั้น
ต้องให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาส่งเสริมทุนมนุษย์ มีการวิเคราะห์จุดด้อย
จุดเดน่ ออกแบบการพฒั นาทเี่ หมาะสม พรอ้ มสง่ เสริมแรงจงู ใจให้นกั ดนตรีใน
สังคมทั้งด้านสวัสดิการทางสังคมที่ควรได้รับหรือแรงจูงใจต่าง ๆ ท่ีกระตุ้นใน
การสร้างสรรค์ผลงาน ส่งเสริมทักษะแนวคิดสร้างสรรค์เพ่ือยกระดับความ
สามารถในการสรา้ งสรรคผ์ ลงาน ทงั้ นต้ี อ้ งสรา้ งความเชอื่ มนั่ ยตุ ธิ รรมใหเ้ กดิ แก่
นักดนตรี ต้องคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา และต้องได้รับการสนับสนุนจาก
ทุกภาคส่วนที่เก่ียวข้องเพ่ือให้เกิดการสร้างเครือข่ายความร่วมมือ เกิดการ
แบง่ ปนั แลกเปลยี่ น ตอ่ ยอดความรู้ ไมม่ กี ารจ�ำกดั ความคดิ ศลิ ปนิ นกั ดนตรตี อ้ ง
สามารถสร้างสรรค์ได้เต็มทีใ่ นพื้นที่ของศลิ ปะ

ท้ายที่สดุ ความคิดสร้างสรรค์จะเกิดขน้ึ ได้ เมอื่ มนษุ ย์ไร้กังวล และความ
ส�ำเร็จท่ีย่ิงใหญ่มาจากการมีเสรีภาพท่ีจะล้มเหลว ซ่ึงรัฐสวัสดิการเป็นเหมือน
เบาะทจี่ ะรองรบั ความลม้ เหลว ท�ำใหค้ นในสงั คมกลา้ เสย่ี งทจ่ี ะท�ำงานสรา้ งสรรค์

เศรษฐกิจสรา้ งสรรคจ์ ำ� เป็นต้องไดร้ บั การสนบั สนุนและกำ� หนดนโยบาย
จากภาครัฐเพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพและความย่ังยืนในการส่งเสริมสิ่งที่ส�ำคัญ
ท่ีสุดคือทรัพยากรมนุษย์ เช่น การวางผังเมือง การสนับสนุนเงินทุนเร่ิมต้น​
จากรัฐ อัตราการลดหยอ่ นภาษี ภาษีน�ำเขา้ วตั ถดุ บิ ตา่ ง ๆ และกำ� หนดแนวทาง

79(มกราคม-ปมีทิถ่ี ุน1า9ยฉนบ2ับ5ท65ี่ 1)
เผยแพรว่ ฒั นธรรม โดยอยา่ งเชน่ ในประเทศอนิ โดนเี ซยี ทมี่ กี ารเผยแพรก่ าเมลนั
โดยมสี ถานทตู เปน็ หนว่ ยงานสำ� คญั ในการสนบั สนนุ หรอื ในบางประเทศทสี่ รา้ ง
เมืองดนตรี โดยการตงั้ ชือ่ ถนน สร้างพพิ ธิ ภัณฑ์ หอแสดงดนตรี เปน็ ต้น การจะ
พัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในลักษณะของเมืองดนตรีให้ประสบความส�ำเร็จได้
นนั้ จ�ำเปน็ ต้องให้ความส�ำคญั กบั การพฒั นาชุมชนและพัฒนาทนุ มนุษย์ อกี ท้ัง
ต้องสร้างจุดดึงดูดในลักษณะท่ีเช่ือมโยงกับประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม รวมถึง
พฒั นาชมุ ชนควบคไู่ ปดว้ ย ทงั้ นก้ี ารพฒั นาเศรษฐกจิ สรา้ งสรรคใ์ หม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ
ต้องให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาส่งเสริมทุนมนุษย์ มีการวิเคราะห์จุดด้อย​
จุดเด่น ออกแบบการพัฒนาที่เหมาะสม พร้อมส่งเสริมแรงจูงใจให้นักดนตรี​
ในสงั คมทงั้ ดา้ นสวสั ดกิ ารทางสงั คมทค่ี วรไดร้ บั หรอื แรงจงู ใจตา่ ง ๆ ทกี่ ระตนุ้ ใน
การสร้างสรรค์ผลงาน ส่งเสริมทักษะแนวคิดสร้างสรรค์เพ่ือยกระดับความ
สามารถในการสรา้ งสรรคผ์ ลงาน ทง้ั นต้ี อ้ งสรา้ งความเชอื่ มนั่ ยตุ ธิ รรมใหเ้ กดิ แก่
นกั ดนตรี ตอ้ งคมุ้ ครองทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา และตอ้ งไดร้ บั การสนบั สนนุ จากทกุ
ภาคสว่ นท่ีเก่ียวขอ้ งเพ่อื ให้เกดิ การสร้างเครือขา่ ยความร่วมมอื เกดิ การแบ่งปนั
แลกเปลย่ี น ตอ่ ยอดความรู้ ไมม่ กี ารจำ� กดั ความคดิ ศลิ ปนิ นกั ดนตรตี อ้ งสามารถ
สรา้ งสรรค์ได้เตม็ ทใ่ี นพื้นท่ีของศิลปะ

ทา้ ยที่สุดความคดิ สรา้ งสรรค์จะเกดิ ข้ึนได้ เม่อื มนุษย์ไรก้ งั วล และความ
ส�ำเร็จท่ีย่ิงใหญ่มาจากการมีเสรีภาพที่จะล้มเหลว ซึ่งรัฐสวัสดิการเป็นเหมือน
เบาะทจี่ ะรองรบั ความลม้ เหลว ทำ� ใหค้ นในสงั คมกลา้ เสยี่ งทจี่ ะทำ� งานสรา้ งสรรค์

80 วมหาราวสิทายราสลหยั วธรทิ รยมาศกาสาตรรว์ ิทยาลัยสหวทิ ยาการ

ศลิ ปนิ คอื แรงงาน: เม่อื รู้สกึ ปลอดภยั กบั คณุ ภาพชวี ติ
กท็ �ำใหเ้ กิดการคดิ สร้างสรรค์

ประชาชนในกลุ่มประเทศนอร์ดิกมีชีวิตอยู่ในประเทศท่ีมีระบบรัฐ
สวสั ดกิ ารถว้ นหนา้ ครบวงจร ระบบดงั กลา่ วยงั ชว่ ยทำ� ใหม้ นษุ ยใ์ นสงั คมสามารถ
วงิ่ ตามหาความฝนั ของตนเองได้ พวกเขาเชอื่ วา่ การเตบิ โตของสงั คมตอ้ งมาจาก
ชีวิตท่ีดีของประชาชนท่ีมีความรู้สึกปลอดภัยในชีวิต กลุ่มประเทศนอร์ดิก​
จึงเป็นตัวอย่างของสังคมท่ีมีการพัฒนาและปรับใช้ระบบรัฐสวัสดิการถ้วนหน้า​
ครบวงจรเร่ือยมาจนในท่ีสุดก็ได้รับการยอมรับว่าประสบความส�ำเร็จ และ
สามารถสร้างคุณภาพชีวิตท่ีดีให้กับประชาชนในสังคม อีกท้ังยังพบว่ากลุ่ม​
ประเทศนอร์ดิกเป็นประเทศที่ประชาชนมีความสุข พร้อมทั้งมีเศรษฐกิจที่ดี​
อยู่ในระดบั ต้น ๆ ของโลกอกี ดว้ ย

การพัฒนาของสังคมทุนนิยมจ�ำเป็นต้องการผลิตภาพและความคิด​
ใหม่ ๆ ทั้งจากการผลติ และจากแรงงาน โดยเฉพาะในยคุ เศรษฐกิจสร้างสรรค์
ในสังคมประเทศกลุ่มนอร์ดิกได้เข้าใจเงื่อนไขน้ีเป็นอย่างดี จึงพัฒนาระบบ​
“รัฐสวสั ดิการ” ขึ้นมา เพือ่ ลดความเสยี เปรียบของแรงงาน ดว้ ยการสรา้ งความ
มนั่ คงพน้ื ฐานใหก้ บั ทกุ ชวี ติ ซงึ่ ในทางกลบั กนั รฐั สวสั ดกิ ารมสี ว่ นชว่ ยใหแ้ รงงานเขา้ รว่ ม
กับระบบทนุ นิยมไดอ้ ย่างมขี วัญก�ำลังใจ ไมร่ สู้ กึ แปลกแยกกบั กระบวนการผลิต
ท�ำให้เกิดความคิดสร้างสรรค์มากพอ ที่จะน�ำพาหน่วยธุรกิจและเศรษฐกิจ​
ของตนใหส้ ามารถแขง่ ขนั ในตลาดโลกได้ ยง่ิ ไปกวา่ นน้ั สงั คมนอรด์ กิ ยงั เขา้ ใจดว้ ย
วา่ แรงงานไม่อาจตอ่ รองกับทนุ ในกลไกเศรษฐกิจได้โดยตรง สังคมนอร์ดกิ จงึ ได้
ตระหนักถึงกลไกทางการเมืองในระบบประชาธิปไตยเพื่อค้�ำยันและสอบทาน
ตรวจสอบกันและกัน (ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี, 2561, น. 10) เพ่ือให้แรงงาน​
ในระบบเกิดคุณภาพชีวิตท่ีดี และเกิดคุณภาพทางเศรษฐกิจ ซ่ึงระบบรัฐ

81(มกราคม-ปมีทิถ่ี ุน1า9ยฉนบ2บั 5ท65ี่ 1)
สวัสดิการไม่ใช่การสังคมสงเคราะห์ผู้ยากไร้ ด้อยกว่า แต่เป็นระบบท่ีเป็นหลัก
ประกันว่าทุก ๆ คน ทุก ๆ ฝ่ายในสังคมจะเข้มแข็งไปพร้อมกัน และเข็มแข็ง​
รว่ มกนั เพือ่ สร้างสรรค์การผลติ ในด้านตา่ ง ๆ เพื่อด�ำรงอยู่ในเวทโี ลก

รัฐคือผู้วางเงื่อนไขให้กับอ�ำนาจทุนและกลไกตลาด โดยรัฐมีส่วนส�ำคัญ
ในการก�ำหนด และควบคุมกลไกตลาดท่ีผลักดันให้คนท่ีมีคุณวุฒิ หรือมี
คุณสมบัติต่าง ๆ ได้รับค่าจ้างตามระดับของคุณวุฒิและคุณสมบัติในตลาด
แรงงาน ซึ่งมนุษย์ทุกคนในระบบทุนนิยมจ�ำเป็นต้องท�ำงานหนักเพื่อเง่ือนไข​
ต่าง ๆ อีกทั้งยังต้องถูกบีบให้เข้าไปสู่ระบบการกู้ยืมเพ่ือให้ได้คุณภาพชีวิตที่ดี
กว่า (ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี, 2561, น. 52) เช่น การกู้ยืมเพ่ือใช้ในการศึกษา​
ของบุตรหรือของตนเองเพื่อน�ำไปสู่อัตราการจ้างงานในระบบเนื่องจากเชื่อว่า
จะมีคุณภาพชีวิตท่ีดีกว่าหากได้รับการศึกษาในระดับสูงข้ึนไป หรือได้รับ​
การศึกษาท่ีตรงกับโอกาสในการจ้างงาน และการกู้ยืมเงินในระบบบัตรเครดิต
ระบบกู้ยืมสหกรณ์ ธนาคาร สินเชื่อ เพ่ือเป็นเจ้าของสิ่งอ�ำนวยความสะดวก​
ต่าง ๆ ทั้งมีคุณค่าทางจิตใจหรือทางสังคม อาทิ ซ้ืออสังหาริมทรัพย์ รถยนต์
เครื่องอ�ำนวยความสะดวก การท่องเที่ยว และสินค้าแฟชั่น เป็นต้น การกู้ยืม​
ดังกล่าวท�ำให้ชีวิตของมนุษย์ต้องตกอยู่ในระบบของการสะสมทุน การท�ำงาน
เพอื่ ใหช้ ดใชท้ นุ ตา่ ง ๆ ทำ� ใหแ้ รงงานตกอยใู่ นเงอ่ื นไขของเวลาจากระบบทนุ นยิ ม
โดยเวลาที่หดส้ันส่งผลต่อรสนิยมและวิถีชีวิตทางศิลปะและวัฒนธรรม ทั้งยัง​
ถูกแปรเปลี่ยนไปตามความตอ้ งการของระบบทนุ นยิ ม

ดงั นน้ั ศลิ ปนิ หรอื นกั ดนตรกี ต็ อ้ งสรา้ งสรรคผ์ ลงานเพอ่ื ตอบสนองรสนยิ ม
และวิถีชีวิตของคนโดยปรับเปล่ียนไปตามเงื่อนไขของระบบทุนนิยม ซ่ึงศิลปิน
และนกั ดนตรถี ือเป็นแรงงานรปู แบบหนงึ่ ในระบบทนุ นยิ ม เกง่ กจิ กิตเิ รียงลาภ
(2557, น. 131) ได้กลา่ วถงึ ข้อเสนอและการอภปิ รายของนักทฤษฎีมาร์กซสิ ต์
ส�ำนกั ออโตโนมิสต์ (Autonomist Marxism) ซึ่งจะมปี ระโยชน์ต่อการท�ำความ

82 มวหาราวสิทายราสลหัยวธริทรยมาศกาสาตรรว์ ิทยาลยั สหวทิ ยาการ
เข้าใจลักษณะของการใช้แรงงานท่ีเปล่ียนแปลงไปภายใต้ระบบทุนนิยมความ​
รบั รู้ พวกเขาไดเ้ สนอวา่ ศลิ ปนิ คอื แรงงานอวตั ถรุ นุ่ แรก ๆ และแรงงานสว่ นใหญ่
ในระบบทุนนิยมก็ท�ำการผลิตคล้ายกับศิลปินกล่าวคือ พวกเขาล้วนแล้วแต่
ท�ำงานสร้างสรรค์สิ่งที่เป็นอวัตถุ ขณะเดียวกันศิลปินก็ล้วนแล้วแต่ถูกขูดรีด​
เช่นเดียวกับแรงงานส่วนใหญ่ของสังคม การที่ศิลปินหรือคนท�ำงานสร้างสรรค์
จะสามารถต่อรองได้ พวกเขาต้องตระหนักว่าพวกเขาเป็นแรงงานแบบหนึ่ง​
ทไี่ มต่ า่ งจากแรงงานอน่ื ๆ ในสงั คมทุนนยิ มปัจจุบัน

ศิลปินก็ล้วนแล้วแต่ถูกขูดรีดเช่นเดียวกันกับแรงงานส่วนใหญ่ของสังคม
ดังน้ัน จึงหมดเวลาท่ีศิลปินจะอ้างว่าตัวเองเป็นผู้สร้างสรรค์แต่เพียงกลุ่มเดียว
หมดเวลาท่ีศิลปินจะแยกตัวเองออกจากการเรียกร้องความเปล่ียนแปลงทาง
เศรษฐกจิ และการเมอื ง และถงึ เวลาแลว้ ทศี่ ลิ ปนิ จะยอมรบั วา่ ตนเองคอื แรงงาน
และเคล่ือนไหวเรียกร้องเรื่องพ้ืนฐานของชีวิตอย่างรายได้และสวัสดิการท่ีเป็น
ธรรมแบบมนุษย์ในอาชพี อ่นื มิเคเล มาซุคซี (Michele Masucci) นักวิชาการ
ด้านศิลปะและนักกิจกรรมทางสังคมชาวสวีเดนเสนอว่า หากศิลปะจะมีผล
สะเทือนต่อสังคม ศิลปะต้องไม่แยกตัวเองออกจากการเคล่ือนไหวในเรื่อง
เศรษฐกิจพื้นฐานของตัวศิลปินเอง และหากศิลปะจะทำ� เช่นน้ันได้ ศิลปินต้อง
ยอมรบั วา่ การทำ� งานศลิ ปะไมใ่ ชเ่ รอื่ งความพเิ ศษสงู สง่ ในเชงิ สนุ ทรยี ะเหนอื กวา่
การสรา้ งสรรคอ์ น่ื ๆ ศลิ ปนิ ตอ้ งยอมรบั วา่ งานศลิ ปะของตนเองเปน็ เรอื่ งการเมอื ง
หรือเปน็ ศิลปะการเมอื ง (political art) อย่แู ลว้ ในตวั เอง ซงึ่ การทำ� งานศลิ ปะ
กบั การเคลอ่ื นไหวทางการเมอื งของศลิ ปนิ ไมใ่ ชส่ งิ่ ทแ่ี ยกขาดออกจากกนั (เกง่ กจิ
กติ ิเรียงลาภ, 2557, น. 154) ดังนนั้ จะเหน็ ได้ว่าศิลปนิ นกั ดนตรีกล็ ้วนแล้วแต่
ตกอยู่ภายใต้กลไกทางการเมืองในสังคมทุนนิยมปัจจุบัน และล้วนแล้วแต่ถูก
ขูดรีดมากน้อยตามกลไกทางเศรษฐกิจ อาทิ การตัดราคาในแวดวงนักดนตรี
กลางคนื การไมไ่ ดร้ บั ความมน่ั คงจากนายจา้ งเจา้ ของรา้ น หรอื แมก้ ระทงั่ ในธรุ กจิ

83(มกราคม-ปมีทิถ่ี ุน1า9ยฉนบ2ับ5ท65่ี 1)
ดนตรีของนักดนตรีอาชีพอย่างนักดนตรีแบ็กอัป ศิลปินอัดเพลงที่ได้รับอัตรา​
ค่าจ้างในลักษณะของอาชีพอิสระ หรือแรงงานนอกระบบท่ีไม่ได้รับสวัสดิการ
รกั ษาพยาบาล หรอื สวสั ดกิ ารจากประกนั สงั คม เปน็ ตน้ ลว้ นแลว้ แตท่ ำ� ใหศ้ ลิ ปนิ
นักดนตรไี มไ่ ด้รบั ความม่ันคงจากอาชพี

เห็นได้ชัดในวิกฤตการณ์ช่วงโควิด-19 โรคระบาดท�ำให้หลายคนต้อง
ตกงาน และหลายธุรกิจได้ผลก�ำไรท่ีลดลง ท�ำให้เกิดการลดจ�ำนวนพนักงาน​
ไปจนถงึ ตอ้ งปดิ กจิ การ ซงึ่ ผลกระทบดงั กลา่ วไดส้ ง่ ผลกระทบถงึ ศลิ ปนิ นกั ดนตรี
ดว้ ยเช่นเดียวกนั

สมเดจ็ พระสนั ตะปาปาฟรานซสิ มารก์ ซกั เกอรเ์ บริ ก์ ผกู้ อ่ ตง้ั เฟซบกุ๊ และ
ลอู สิ กนิ โดส รองประธานธนาคารกลางยโุ รป ลว้ นมคี วามเหน็ ตรงกนั วา่ เปน็ เวลา
ทค่ี วรมกี ารพจิ ารณาเรอื่ งรายไดพ้ นื้ ฐานถว้ นหนา้ ซง่ึ เปน็ การใหเ้ งนิ แกป่ ระชาชน
ทุกเดือนโดยไม่มีเง่ือนไข ตามอัตราท่ีมีการประเมิน (Marta Rodríguez​
Martinez, 2020) ซึ่งแนวคดิ เงนิ เดอื นใหเ้ ปลา่ หรอื UBI มมี านานกว่ารอ้ ยปี
แล้ว โดยได้รับอิทธิพลทางความคิดมาจากนิยายเรื่อง ยูโทเปีย (Utopia)​
เงินเดือนให้เปล่าได้พัฒนาและปรับใช้ในหลายประเทศทางแถบยุโรป อาทิ
รฐั บาลฟนิ แลนดไ์ ดท้ ดลองใชแ้ ละตอ่ มาไดห้ ยดุ การทดลองนลี้ งเมอื่ ปี ค.ศ. 2018
แมก้ ารทดลองจะลม้ เหลวในดา้ นการกระตนุ้ ใหป้ ระชาชนทตี่ กงานมแี รงกระตนุ้ ​
เพ่อื หางาน แต่กลับพบว่าประชาชนมีความเป็นอยูท่ ่ดี ี และมีความสุข แตเ่ นือ่ ง
ดว้ ยการแพร่ระบาดของโควิด-19 จึงท�ำใหเ้ กิดกระแสทีพ่ ูดถึงเงนิ เดอื นใหเ้ ปล่า
อกี ครง้ั ซง่ึ มลี กั ษณะคลา้ ยกบั รฐั สวสั ดกิ ารถว้ นหนา้ ครบวงจรทดี่ แู ลคณุ ภาพชวี ติ
ในลักษณะของสิทธิท่ีประชาชนในประเทศควรได้ ไม่ใช่การสงเคราะห์แบบ​
ชิงโชค มีเง่ือนไขต่าง ๆ ท่ีท�ำให้เกิดความเหล่ือมล้�ำในการเข้าถึงสิทธิแบบ​
ในประเทศไทย

84 วมหาราวสทิ ายราสลหัยวธริทรยมาศกาสาตรรว์ ิทยาลยั สหวิทยาการ

สรปุ

ศิลปะท่ีมนุษย์ได้แสดงออกมานั้นเป็นพฤติกรรมที่มีความเก่ียวข้องกับ
สภาพและภาวะของสงั คม ในสงั คมหนึ่ง ๆ ยอ่ มมสี ภาพแวดล้อมและระเบยี บ
ของสังคมคือจารีตประเพณีท่ีแตกต่างกันออกไปแล้วสะท้อนออกมาให้เห็น​
ในรปู ของศลิ ปะตา่ ง ๆ (สงดั ภเู ขาทอง, 2534, น. 16) ดนตรกี เ็ ชน่ เดยี วกนั ดนตรี
ในท่วงท�ำนองและลีลาของชาติต่าง ๆ ก็ย่อมแสดงออกผ่านมุมมองท้ังทาง
ประวตั ศิ าสตร์ สงั คม วฒั นธรรม ซง่ึ เปน็ สว่ นหนง่ึ ของการเมอื งทง้ั ในระดบั ชมุ ชน
ระดับประเทศ และระดบั โลก ดังน้นั ดนตรีจึงยึดโยงกบั การเมืองตลอดมา

ดนตรีไม่ได้เพียงเกิดขึ้นเพื่อรับใช้ความบันเทิงเท่าน้ัน หากยังส่ือสารถึง
จติ วิญญาณและอดุ มการณเ์ พื่อนำ� ไปสู่ความเปลยี่ นแปลงในสงั คม ดนตรเี ขา้ ไป
มีส่วนร่วมทางการเมือง แสดงพลังตอ่ ต้านผมู้ อี ำ� นาจ นอกจากการต่อตา้ นแลว้
ดนตรยี งั ตกอยใู่ นอำ� นาจครอบงำ� ทางการเมอื ง ดนตรอี ยใู่ ตอ้ ำ� นาจของชนชนั้ นำ�
ระบบทนุ นยิ ม ระบอบกษตั รยิ ์ เปน็ ตน้ ทำ� หนา้ ทร่ี บั ใชอ้ ำ� นาจ ในปจั จบุ นั ทนุ นยิ ม
ไมไ่ ดม้ อบความอิสระในอตุ สาหกรรมเพลง ระบบทนุ นยิ มมสี ว่ นก�ำหนดรสนิยม
ทางดนตรี นอกจากนนั้ ดนตรยี งั เปน็ อกี เครอื่ งมอื ทถ่ี กู หยบิ มาใชเ้ พอ่ื ตอ่ สู้ ตอ่ รอง
กับอ�ำนาจ รวมท้ังยังสามารถสร้างอิทธิพลทางความคิดเพื่อส่งต่อจากรุ่นไปสู่​
รนุ่ ดนตรจี งึ มคี วามสมั พนั ธก์ บั การตอ่ สทู้ างการเมอื งเรอื่ ยมา การเมอื งกบั ดนตรี
เป็นสง่ิ ท่ไี มส่ ามารถแยกออกจากกันได้ หากกลา่ วว่าดนตรไี ม่เกย่ี วกับการเมือง
ก็เท่ากับก�ำลังตกอยู่ภายใต้อ�ำนาจครอบง�ำทางการเมือง การยกตัวอย่างเมือง
ดนตรีข้างต้นมีจุดมุ่งหมายท่ีจะเผยให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างชีวิตของ​
นกั ดนตรกี บั ฝา่ ยการเมอื ง สะทอ้ นใหเ้ หน็ ปญั หาเชงิ โครงสรา้ ง เมอื่ จะมงุ่ สกู่ ารเปน็
เมืองดนตรีจ�ำเป็นต้องวางระบบโครงสร้างพื้นฐานในเมืองและในสังคมให้เกิด​
ขน้ึ ก่อน ไม่วา่ จะเปน็ ปญั หาผงั เมือง ปัญหาการจราจร อย่างไรกต็ ามจากปญั หา
การแพรร่ ะบาดของโควดิ -19 ไดเ้ ผยใหเ้ หน็ ถึงปัญหาความรนุ แรงเชงิ โครงสรา้ ง

85(มกราคม-ปมที ิถี่ ุน1า9ยฉนบ2ับ5ท65ี่ 1)
ท่ีสะสมอยู่ในสังคม คุณภาพชีวิตของอาชีพนักดนตรีที่ไม่ได้รับสวัสดิการท​ี่
เหมาะสม การตกงาน ไม่ได้รับการเยียวยาและการเยียวยาท่ีล่าช้าส่งผลต่อ
คุณภาพชีวิตของนักดนตรี รัฐสวัสดิการถ้วนหน้าครบวงจรจึงถูกหยิบยกข้ึนมา
พูดเพ่ือเรียกร้องให้เกิดขึ้นในสังคม ซ่ึงแนวคิดของรัฐสวัสดิการเป็นแนวคิดท่ี​
มงุ่ ใหป้ ระชาชนทกุ คนในสงั คมไดร้ บั สวสั ดกิ าร รฐั สวสั ดกิ ารเปน็ สทิ ธทิ ป่ี ระชาชน
ทุกคนต้องได้รับ ไม่ใช่ได้รับการสงเคราะห์จากผู้มีอ�ำนาจผ่านกระบวนการ​
ต่าง ๆ ท่ีเข้าถึงได้ยากคล้ายการชิงโชค เมื่อศิลปินนักดนตรีได้รับรัฐสวัสดิการ​
ทก่ี า้ วหน้าจะทำ� ใหม้ ีความมั่นคงทางเศรษฐกจิ รสู้ ึกปลอดภัยในการด�ำเนนิ ชีวิต
คลายกังวล เม่ือมนุษย์รู้สึกปลอดภัยแล้วจึงสามารถสร้างสรรค์ผลงานได้เต็มท่ี
อย่างไรก็ตามรัฐสวัสดิการที่ถ้วนหน้าครบวงจรกล่าวรวมถึงการจัดการภาษี
เครื่องดนตรที เี่ หมาะสม การสร้างระบบขนส่งข้ันพนื้ ฐาน การสร้างพื้นท่ีแสดง
ดนตรี เปน็ ตน้ ซงึ่ จะส่งผลตอ่ การพฒั นาด้านดนตรี

การเมืองไม่ใช่เรื่องไกลตัว เมื่อประชาชนในสังคมรู้สึกไม่เก่ียวข้องกับ
การเมอื งนัน้ เท่ากบั วา่ ประชาชนกำ� ลังถูกครอบง�ำจากอำ� นาจทางการเมอื ง ผมู้ ี
อ�ำนาจต้องการสร้างส�ำนึกให้สามัญชนห่างไกลจากการเมืองเพื่อท่ีจะครอบง�ำ
และจดั การอยา่ งเบด็ เสร็จ หากสามญั ชนไมพ่ ูด ไมส่ ง่ เสยี งดังพอ ผูม้ อี ำ� นาจก็จะ
คดิ แทนสามญั ชน ไมม่ นี โยบายใดหรอื กฎหมายทเ่ี ออ้ื ประโยชนต์ อ่ แรงงาน หาก
ไมไ่ ดผ้ า่ นการตอ่ สเู้ รยี กรอ้ งจากการรวมกลมุ่ เสนอขอ้ เรยี กรอ้ ง ปญั หาของทกุ คน​
ในสังคมต้องได้รับการแก้ไขด้วยการเมือง ทุกคนในสังคมต้องท�ำความเข้าใจ
ปัญหาในระดับโครงสร้างทางสังคม การก�ำหนดนโยบายท่ีก้าวหน้าเหมาะสม​
จะสามารถท�ำให้ประชาชนในสังคมมีคุณภาพชีวิตที่ดี เม่ือมนุษย์ไร้กังวลก็จะ​
ส่งผลต่อการสร้างสรรค์ และความส�ำเร็จท่ียิ่งใหญ่มักมาจากการมีเสรีภาพท​ี่
กล้าจะล้มเหลว ซึ่งรัฐสวัสดิการเป็นเหมือนเบาะรองรับความล้มเหลวซ่ึงท�ำให้
ประชาชนในสังคมกล้าที่จะเส่ียงเพื่อท�ำงานสร้างสรรค์ แนวคิดรัฐสวัสดิการ​

86 วมหาราวสิทายราสลหัยวธริทรยมาศกาสาตรรว์ ิทยาลัยสหวทิ ยาการ
ถว้ นหนา้ ครบวงจรจงึ เปน็ แนวความคดิ สำ� คญั ทจี่ ะชว่ ยทำ� ใหศ้ ลิ ปนิ หรอื นกั ดนตรี
สามารถมีเวลาสร้างสรรค์ผลงาน นอกจากน้ีประชาชนจะเข้าไปมีส่วนร่วม
ออกแบบรัฐสวัสดิการ รวมถึงระบบจัดเก็บภาษีให้เป็นไปอย่างเท่าเทียมและ​
เป็นธรรมเพื่อให้คุณภาพชีวิตของประชาชนในสังคมพัฒนาขึ้น มีคุณภาพชีวิต​
ท่ดี ี ซ่ึงกอ่ นอ่นื ประเทศต้องมีประชาธิปไตยเป็นเบื้องต้น ทก่ี ล่าวมานีส้ รุปไดว้ า่
คุณภาพชีวิตของคนในสังคม รวมถึงศิลปิน นักดนตรีล้วนยึดโยงกับการเมือง
และเบ้ืองต้นนักดนตรีและศลิ ปนิ ต้องคดิ กอ่ นว่า “ศลิ ปินคือแรงงาน และทุกคน
คือแรงงานในระบบทุนนิยมปจั จบุ ัน”

นกั ดนตรเี ปน็ แรงงานประเภทหนงึ่ ในระบบทนุ นยิ ม ดงั นน้ั ปญั หาคณุ ภาพ
ชวี ติ ของศลิ ปนิ จะคลคี่ ลายลงไดห้ ากสงั คมมรี ฐั สวสั ดกิ าร และฝา่ ยการเมอื งตอ้ ง
เขา้ มาสนับสนนุ เพอื่ ใหร้ ฐั สวัสดกิ ารเกิดขน้ึ ซงึ่ หากสงั คมมรี ฐั สวสั ดกิ ารจะสง่ ผล
ต่อการสร้างสรรค์ผลงานของศิลปิน นอกจากนั้นยังก่อให้เกิดการกระตุ้น
เศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์ไดอ้ กี ทางหน่ึงด้วย

87(มกราคม-ปมีทิถี่ ุน1า9ยฉนบ2บั 5ท65ี่ 1)

เอกสารอา้ งองิ

กนกวรา พวงประยงค.์ (2561). บทบาทของเศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์ และพฤตกิ รรม
เชิงสร้างสรรค์ในการพัฒนายกระดับวิสาหกิจชุมชนไทย. วารสาร
พัฒนศาสตร์, 1(1), 220-252.

กรงุ เทพธรุ กจิ . (2562). เศรษฐกจิ สร้างสรรค์: จากความคิดสรา้ งสรรค์ ส่มู ูลคา่
เศรษฐกจิ . สบื ค้น 21 ธันวาคม 2564, จาก https://www.bangkok-
biznews.com/blogs/columnist/123808

เกง่ กิจ กติ ิเรยี งลาภ. (2557). เราทุกคนคอื ศิลปิน: อวัตถศุ กึ ษาวา่ ด้วยแรงงาน.
วารสารสงั คมวทิ ยามานุษยวิทยา, 33(2), 129-158.

ข่าวไทยพบี เี อส. (2564). เยยี วยานกั ดนตรี 5,000 บาท รอบแรก 29 ธ.ค.น้ี.
สืบค้น 20 ธันวาคม 2564, จาก https://news.thaipbs.or.th/​
content/310738

ชิษณุพงค์ อินทร์แก้ว และ เฉลิมศักดิ์ พิกุลศรี. (2563) การจัดวางความคิด
ทางการเมืองในเพลงชาตินิยมหลังรัฐประหาร 22 พฤษภาคม พ.ศ.
2557. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด, 14(1), 261-271.

มติชนออนไลน์. (2564). พิษโควดิ คณะลิเกเศรา้ โดนยกเลกิ เล่ือนงานเกลี้ยง
ทีมงานนับร้อยขาดรายได้ ดิ้นรนหาอาชีพเสริม. สืบค้น 28 มีนาคม
2564, จาก https://www.matichon.co.th/region news_2526866

วัชรพล พุทธรักษา. (2561). บทส�ำรวจความคิดทางการเมืองงของอันโตนิโอ
กรัมช.ี่ กรุงเทพฯ: ส�ำนกั พมิ พ์สมมต.ิ

88 วมหาราวสิทายราสลหัยวธริทรยมาศกาสาตรรว์ ิทยาลัยสหวิทยาการ
ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษด.ี (2561). ความหมายทป่ี ลายสายรุง้ : กระบวนการพัฒนา

ความม่ันคงของมนุษย์ในประเทศรัฐสวัสดิการใต้วิกฤติเสรีนิยมใหม่.
นนทบุร:ี นิตธิ รรมการพิมพ์.
สงัด ภูเขาทอง. (2539). การดนตรไี ทยและทางเข้าสู่ดนตรไี ทย. พิมพ์ครงั้ ที่ 2.
กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พเ์ รอื นแกว้ การพิมพ์.
สุกรี เจริญสุข. (2564). อาศรมมิวสิก: ชีวิตนักดนตรีในสังคมที่ขาดพ้ืนฐาน
ล�ำบากเมอ่ื มีโควดิ ระบาด. สบื ค้น 20 ธนั วาคม 2564, จาก https://
www.matichon.co.th/ prachachuen/news_2945060
ส�ำนักข่าวไทย. (2564). กลมุ่ นักดนตรอี สิ ระ รอ้ งนายกฯ เยยี วยา ช่วงโควดิ -19.
สืบค้น 28 มีนาคม 2564, จาก https://tna.mcot.net/poli-
tics-613854
Amy Terrill. (2019). Keys to a Music City: Examining the Merits of
Music Offices, Boards, and Night Mayors.Toronto: Music
Canada.
Marta-Christina Suciu (2008). The creative economy. Retrieved
December 22, 2021. from https://www.researchgate.net/
publication/42437 328_THE_CREATIVE_ECONOMY
Marta Rodríguez Martinez (2020). Euronews. Universal basic income:
Will it become a reality after lockdown is lifted. Retrieved
March 24, 2021. from https://www.euronews.com/
2020/04/17/universal-basic-income-will-it-become-a-​
reality-after-lockdown-is-lifted

89(มกราคม-ปมที ิถี่ ุน1า9ยฉนบ2ับ5ท65่ี 1)
Music Canada (2014). The Mastering of a Music city key elements

effective strategies and why it’s worth pursuing. Canada:
Music Canada.
Jonathan C. Friedman (2013). The Routledge History of Social
Protest in Popular Music. London: Routledge.
Robert C.Kloosterman (2005). Come Together An Introduction to
Cities and Music.BUILT ENVIRONMENT VOL, 31(3): 247-257.



3บทที่

กำรวิเครำะหก์ ำรขำยต่อตัว๋ ชมกำรแข่งขนั
กีฬำฟตุ บอลและกำรค้มุ ครองผู้บริโภค:

ศกึ ษำเปรียบเทยี บระหว่ำง
สหรัฐอเมริกำ สหรำชอำณำจกั ร

และประเทศไทย

A Critical Appraisal of the Resale of Football Tickets and
Consumer Protection: A Comparative Study of the USA,

the UK and Thailand

ปีดเิ ทพ อย่ยู ืนยง 1
Pedithep Youyuenyong

รบั บทความ​17​มิถุนายน​2564
แก้ไขบทความ​19​กุมภาพนั ธ์​2565
ตอบรับบทความ​22​มนี าคม​2565
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่

Corresponding author e-mail: [email protected]

92 วมหาราวส�ทายราสลหยั วธรท� รยมาศกาสาตรรว �ทยาลัยสหวท� ยาการ

บทคดั ย‹อ

บทความวชิ าการฉบบั นไี้ ดท้ าำ การวเิ คราะหน์ โยบายและกฎหมายคมุ้ ครอง
ผู้บริโภคในบริบทของการขายต่อต๋ัวชมการแข่งขันกีฬาฟุตบอลในประเทศไทย
ประการแรก การขายต่อตั๋วชมการแข่งขันกีฬาฟุตบอลในประเทศไทยได้ถูก
วเิ คราะหใ์ นมมุ มองของนโยบายและกฎหมายคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคของประเทศไทย
ประการท่ีสอง บทความฉบับน้ีได้เพ่ิมสาระสำาคัญเกี่ยวกับการตระหนักรู้และ
ความเขา้ ใจวา่ กฎหมายคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคภายใตร้ ะบบกฎหมายไทยจะถกู นาำ เอา
มาประยุกต์ใช้ในการขายต่อตั๋วชมการแข่งขันกีฬาฟุตบอลในประเทศไทย
อย่างไร ผ่านการทำาความเข้าใจสิทธิผู้บริโภคยุคใหม่และความรับผิดชอบต่อ
สินค้า บริการและการโฆษณาในการขายต่อตั๋วชมการแข่งขันกีฬาฟุตบอล
บทความนี้ยังมองถึงหนทางท่ีเป็นไปได้ในการคุ้มครองผู้บริโภคในธุรกิจ
อุตสาหกรรมกฬี าในประเทศไทย

คําสําคัญ:

การขายตอ ตวั๋ ชมกฬี าฟตุ บอล การคมุ ครองผบู รโิ ภค กฎหมาย
คุมครองผูบรโิ ภค ประเทศไทย

93(มกราคม-ปมท‚ ิถ่ี ุน1า9ยฉนบ2ับ5ท65ี่ 1)

Abstract

This paper provides a comprehensive appraisal of the
consumer protection law and policy surrounding the act of
reselling tickets in Thailand. Football ticket resale in Thailand will
be assessed, firstly, through the lens of legal analysis of Thai
consumer protection law and policy. Secondly, there will be
increased appreciation and awareness of how consumer protection
law in the Thai legal system applies to football ticket resale in
Thailand. We attempt to develop a comprehensive understanding
of modern consumer rights and responsibilities in relation to goods,
services and advertisements in the act of reselling tickets. We also
look at the possible ways of increasing consumer protection in
Thailand's sports businesses and industries.

KeyWords:

Resale of Football Tickets, Consumer Protection,
Consumer Law, Thailand

94 มวหาราวสิทายราสลหัยวธริทรยมาศกาสาตรรว์ ทิ ยาลัยสหวิทยาการ

บทน�ำ

การละเล่นกีฬาไม่เพียงเป็นกิจกรรมเสริมสร้างสุขภาพอนามัยที่อยู่คู่
กับมนุษยชาติมาช้านานเท่านั้น ในขณะเดียวกันการละเล่นกีฬาท่ีมีระเบียบ
แบบแผนทแ่ี นน่ อนภายใตก้ ฎกตกิ าอนั เปน็ มาตรฐานสากลยอ่ มท�ำใหก้ ารละเลน่
กีฬากลายมาเป็นกิจกรรมการแข่งขันกีฬาที่มีระบบแบบแผนเป็นไปในทิศทาง
เดียวกัน ซ่ึงนักกีฬาที่ร่วมกิจกรรมการแข่งขันกีฬาจะต้องเรียนรู้วิธีการละเล่น
หรือได้รับการถ่ายทอดวิธีการละเล่นกีฬา อีกท้ังนักกีฬาอาจน�ำความรู้ที่ส่ังสม
หรือได้รับมาถ่ายทอดให้นักกีฬาคนอื่น ๆ หรือนักกีฬากลุ่มอื่น ๆ ต่อไป ซ่ึง
นักกีฬาที่ร่วมกิจกรรมการแข่งขันกีฬาอาจรวมกลุ่มกันฝึกซ้อมกีฬา ควบคู่ไป
กบั พยายามสร้างคณุ คา่ ของนกั กีฬาในระดับปัจเจกบคุ คลหรอื กลุ่มนกั กีฬาเพ่ือ
ให้สาธารณชนยอมรับนับถือในตวั ตนหรอื กลมุ่ ของตน ในท�ำนองทนี่ ักกฬี าเป็น
ปจั เจกบคุ คลหรอื กลมุ่ นกั กฬี าสามารถละเลน่ กฬี าดว้ ยความรคู้ วามสามารถเปน็
อย่างดี โดยยึดม่ันในกฎกติกาของการแข่งขันกีฬาอย่างมีระเบียบแบบแผน
ที่เปน็ สากล เมอ่ื สาธารณชนยอมรับนับถอื ในความสามารถของตวั นักกีฬาหรือ
กลุ่มนักกีฬาแล้ว (Crouch, 2015) สาธารณชนบางส่วนก็อาจกลายมาเป็น
ผู้ติดตามรับชมการแข่งขันกีฬา (spectator) หรือผู้สนับสนุนการแข่งขันกีฬา
(supporter) (Stander & Zyl, 2016) อีกทั้งผตู้ ดิ ตามรบั ชมการแข่งขันกฬี า
หรอื ผสู้ นบั สนนุ การแขง่ ขนั กฬี าเหลา่ นอี้ าจตดั สนิ ใจเลอื กซอื้ ผลติ ภณั ฑห์ รอื เลอื ก
รบั บรกิ ารจากธรุ กจิ อตุ สาหกรรมทม่ี สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี กบั นกั กฬี าหรอื กลมุ่ นกั กฬี า
โดยมงุ่ หวงั วา่ จะไดร้ บั ผลติ ภณั ฑห์ รอื ไดร้ บั บรกิ ารทเ่ี กย่ี วขอ้ งสมั พนั ธก์ บั นกั กฬี า
สโมสรกฬี าหรอื ผจู้ ดั การแขง่ ขนั กฬี าในฐานะผดู้ �ำเนนิ ธรุ กจิ กฬี ากค็ าดหวงั วา่ จะ
ได้ผลิตสินค้าหรือให้บริการแก่ผู้ติดตามรับชมการแข่งขันหรือผู้สนับสนุน
การแขง่ ขนั กฬี า เพอ่ื น�ำมาซง่ึ ผลประโยชนท์ างเศรษฐกจิ และท�ำก�ำไรไดม้ ากทส่ี ดุ
เท่าท่จี ะเปน็ ไปได้ (Van Der Burg, 2014)

95(มกราคม-ปมีทิถี่ ุน1า9ยฉนบ2บั 5ท65ี่ 1)
การแขง่ ขนั กฬี าในยคุ ปจั จบุ นั ประกอบดว้ ยกจิ กรรมอยา่ งหนง่ึ ทเี่ กยี่ วขอ้ ง
สัมพันธ์กับการผลิต จัดจ�ำหน่าย ค้าส่ง ค้าปลีก รวมทั้งด�ำเนินกิจกรรมแลก
เปลยี่ นสนิ คา้ ทไี่ มเ่ ปน็ ตวั ตนหรอื สนิ คา้ ทจี่ บั ตอ้ งสมั ผสั ไมไ่ ด้ เพอื่ ตอบสนองความ
ต้องการของลูกค้า สร้างความประทับใจและความพึงพอใจให้กับลูกค้าที่มา
ใช้บริการ โดยภายในหน่วยงานหรือธุรกิจน้ัน ๆ มีการน�ำทรัพยากรที่มีอยู่
มาผสมผสานกันอย่างมีระบบ มีระเบียบเป็นไปตามกฎเกณฑ์ เพื่อตอบสนอง
ความต้องการของประชาชนหรือผู้บริโภค ในขณะเดียวกันธุรกิจอุตสาหกรรม
กีฬา (sports businesses and industries) ก็เฉกเช่นเดียวกันกับธุรกิจ
อตุ สาหกรรมอน่ื ๆ ทมี่ กี ารผลติ สนิ คา้ กฬี า (sports product) หรอื จดั ใหม้ บี รกิ าร
(sports service) เพ่ือตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคในท้องตลาด
(Zhang, Kim, Mastromartino, Qian & Nauright, 2018) ซ่ึงธุรกิจ
อุตสาหกรรมกีฬาบางส่วนก็เลือกผลิตสินค้าและจัดให้มีบริการเฉพาะอย่างที่
สามารถตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคกลุ่มที่เป็นผู้ชื่นชอบกีฬาหรือ
ผู้ตดิ ตามรับชมการแข่งขันกฬี า (Coutinho da Silva & Luzzi Las Casas,
2017) ในขณะเดยี วกนั ผบู้ รโิ ภคกลมุ่ ดงั กลา่ วกอ็ าจไดร้ บั อรรถประโยชนจ์ ากการ
ใช้สินค้าหรือรับบริการจากธุรกิจอุตสาหกรรมกีฬา ซ่ึงโดยทั่วไปธุรกิจ
อุตสาหกรรมกีฬามักผลิตสินค้าหรือจัดให้มีบริการโดยมีต้นทุนต�่ำท่ีสุดเพ่ือให้
สามารถผลิตสินค้าหรือให้บริการที่ตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริโภค
สูงสุดเท่าที่จะเป็นไปได้ อีกทั้งธุรกิจอุตสาหกรรมกีฬาก็มักกระจายสินค้าหรือ
บริการของตนให้เข้าถึงผู้บริโภคที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย (target customer)
ท่ามกลางการแข่งขันทางการค้าระหว่างธุรกิจอุตสาหกรรมกีฬา (sports
marketing competition) ทที่ วคี วามรนุ แรงมากยงิ่ ขนึ้ ธรุ กจิ อตุ สาหกรรมกฬี า
พยายามสรา้ งกลยทุ ธท์ างการตลาด (sports marketing strategy) ใหก้ บั สนิ คา้
และบริการของตนเอง เพื่อให้ผู้บริโภคหันมาเลือกใช้สินค้าหรือรับบริการใน

96 วมหาราวสิทายราสลหัยวธรทิ รยมาศกาสาตรรว์ ิทยาลัยสหวิทยาการ
ธุรกจิ อตุ สาหกรรมของตน (Woratschek & Strobel, 2009) อีกทัง้ สโมสรกฬี า
หรือผู้จัดการแข่งขันกีฬายังพยายามสร้างทีมกีฬาของตนเองหรือท�ำให้การ
แขง่ ขนั กฬี าทตี่ นเองเปน็ ผจู้ ดั สามารถตอบสนองตอ่ อารมณ์ ความคดิ ความรสู้ กึ
และความช่นื ชอบ ท�ำใหผ้ บู้ ริโภคในธุรกจิ อตุ สาหกรรมกีฬามพี ฤติกรรมติดตาม
รับชมข่าวสารเกี่ยวกับนักกีฬาอาชีพของสโมสรกีฬา (professional sports
player) หรอื ตดิ ตามความเคลอ่ื นไหวการแขง่ ขนั กฬี ากฬี าอาชพี (professional
sport league) ที่ตนเองชื่นชอบ ทั้งยังอาจสง่ อิทธพิ ลต่อการรบั ข้อมลู ข่าวสาร
เกยี่ วกบั นกั กฬี า การแขง่ ขนั กฬี าหรอื กจิ กรรมกฬี าอน่ื ๆ อกี ดว้ ย (Conn, 1999)
ทงั้ นก้ี ลไกราคา (price mechanism) หรอื กลไกตลาด (market mechanism)
ในท้องตลาดธุรกิจอุตสาหกรรมกีฬาอาจท�ำให้ราคาสินค้าหรือบริการในตลาด
ธุรกิจอุตสาหกรรมกีฬาเกิดการเปล่ียนแปลงปรับตัวตามอุปสงค์และอุปทาน
ในทางตรงกันข้ามหากธุรกิจอุตสาหกรรมกีฬาใช้อ�ำนาจผูกขาดเหนือตลาด
(monopoly power) (Ross, 1989) ด�ำเนนิ กิจกรรมทางเศรษฐกจิ ของตนเอง
ในท�ำนองท่ีเป็นการเอารัดเอาเปรียบผู้บริโภค รวมไปถึงปกปิดข้อมูลท่ีจ�ำเป็น
ทีผ่ ูบ้ รโิ ภคพงึ รับทราบเกีย่ วกับคณุ ภาพและปริมาณของสนิ ค้าหรือลักษณะของ
การให้บริการ โดยเฉพาะอย่างย่ิงข้อมูลด้านความปลอดภัยเกี่ยวกับสินค้าและ
การใหบ้ รกิ ารทอ่ี าจกอ่ ใหเ้ กดิ ความเสย่ี งทจี่ ะเกดิ ผลกระทบในดา้ นลบหรอื กอ่ ให้
เกิดอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย อนามัยและทรัพย์สินของผู้บริโภคแล้ว เช่นนี้
ถือได้ว่าผู้บริโภคถูกเอารัดเอาเปรียบหรือสิทธิผู้บริโภคถูกล่วงละเมิดจาก
ผู้ผลิต รวมท้ังอ�ำนาจผูกขาดเหนือตลาดดังกล่าวอาจถูกใช้ควบคุมตลาดธุรกิจ
อตุ สาหกรรมกฬี าของสโมสรกฬี าอาชพี ทม่ี คี วามมงั่ คง่ั ทางเศรษฐกจิ หรอื ผจู้ ดั การ
แขง่ ขนั กฬี าอาชพี ทที่ รงอทิ ธพิ ลสามารถก�ำหนดราคาสนิ คา้ หรอื บรกิ ารในตลาด
ธุรกจิ อตุ สาหกรรมกีฬาได้

การด�ำเนินกิจกรรมในธุรกิจอุตสาหกรรมกีฬาในประเทศไทยย่อมมี

97(มกราคม-ปมีทิถี่ ุน1า9ยฉนบ2ับ5ท65่ี 1)
การน�ำสนิ คา้ หรอื บรกิ ารจากสโมสรกฬี าอาชพี ผจู้ ดั การแขง่ ขนั กฬี าอาชพี ผผู้ ลติ
ผลติ ภณั ฑก์ ฬี าและผใู้ หบ้ รกิ ารดา้ นกฬี าอนื่ ๆ ไปสผู่ บู้ รโิ ภคหรอื ผใู้ ชบ้ รกิ ารธรุ กจิ
อุตสาหกรรมกีฬาน้ัน ๆ เพื่อให้ธุรกิจอุตสาหกรรมกีฬาในประเทศไทยบรรลุ
วตั ถปุ ระสงคข์ องการด�ำเนนิ กจิ กรรมเพอื่ กจิ กรรมดา้ นการแขง่ ขนั กฬี า ควบคไู่ ป
กบั การแสวงหาก�ำไรกบั ผลประโยชนท์ างเศรษฐกจิ ยอ่ มท�ำใหธ้ รุ กจิ อตุ สาหกรรม
กีฬาในประเทศไทยใช้วิธีการต่าง ๆ เพื่อให้ผู้บริโภคหรือผู้ใช้บริการธุรกิจ
อุตสาหกรรมของตนเองได้รับความพึงพอใจ อย่างไรก็ตามความล้มเหลวของ
ตลาด (market failure) จากปจั จยั ทเ่ี กดิ ขน้ึ ไมว่ า่ จะเกดิ จากการผกู ขาดในตลาด
ข้อจ�ำกัดของผู้บริโภคในการเข้าถึงข้อมูลของสินค้าและบริการ (access of
consumers to adequate information) และความปลอดภัยผู้บริโภค
(consumer safety) (Ross, 1989) อาจน�ำไปสกู่ ารสรา้ งการคา้ ท่ีไม่เป็นธรรม
กับผู้บริโภค ท�ำให้ผู้บริโภคถูกเอารัดเอาเปรียบจากผู้ผลิต โดยผู้ผลิตมักอาศัย
ความได้เปรียบท่ีเหนือกว่าผู้บริโภคมาเป็นช่องเอารัดเอาเปรียบผู้บริโภคสินค้า
และบรกิ ารในตลาดธุรกิจอตุ สาหกรรมกีฬา เหตนุ ้ีเองรัฐจึงต้องใชอ้ �ำนาจที่มีอยู่
เขา้ มาแทรกแซงเพอ่ื คมุ้ ครองผูบ้ ริโภคในตลาดธุรกิจอุตสาหกรรมกีฬา ในขณะ
เดียวกันรัฐพึงต้องรับรองหรือคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคในท้องตลาดท่ัวไป พร้อม
กบั ออกบทบญั ญตั กิ ฎหมายเรยี กรอ้ งใหผ้ ผู้ ลติ กระท�ำการหรอื งดเวน้ กระท�ำการ
บางอย่างเพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ตัวผู้บริโภคทั่วไป ในทางเดียวกันรัฐพึงต้อง
รบั รองหรอื คมุ้ ครองสทิ ธผิ บู้ รโิ ภคในทอ้ งตลาดธรุ กจิ อตุ สาหกรรมกฬี า พรอ้ มกบั
ออกบทบัญญัติกฎหมายเรียกร้องให้ผู้ผลิตกระท�ำการหรืองดเว้นกระท�ำการ
บางอย่างเพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ตัวผู้บริโภคในธุรกิจอุตสาหกรรมกีฬาด้วย
น่ันหมายความว่าผู้บริโภคในธุรกิจอุตสาหกรรมกีฬาก็สามารถบริโภคสินค้า
ท่ีปลอดภัยและบริการที่เป็นธรรม รวมท้ังได้รับการคุ้มครองภายใต้กฎหมาย
คุม้ ครองผู้บรโิ ภค (Consumer Law) (Rich, 2016)

98 มวหาราวสิทายราสลหัยวธริทรยมาศกาสาตรรว์ ทิ ยาลัยสหวทิ ยาการ
ธุรกิจอุตสาหกรรมกีฬามีความส�ำคัญอย่างยิ่งยวดในทางเศรษฐกิจ

(economic significance) ทง้ั ในแงข่ องการผลติ สนิ คา้ และใหบ้ รกิ ารทเี่ กยี่ วขอ้ ง
กับการละเลน่ กีฬาและการแข่งขนั กีฬา (Mihai, 2015) อาทิ ธรุ กิจจ�ำหนา่ ยต๋ัว
เข้าชมการแขง่ ขนั กฬี า (match ticket) ธุรกิจสอื่ สารมวลชนทางกีฬา (sports
media) ธรุ กจิ จ�ำหนา่ ยเสอื้ ผา้ และของทรี่ ะลกึ ของทมี กฬี า (sports jersey and
merchandise) อนั น�ำไปสู่ประโยชน์ทางเศรษฐกจิ (economic benefit) โดย
เฉพาะอย่างย่งิ เมือ่ ธุรกิจเกย่ี วกับกฬี าหรือการแขง่ ขนั กีฬา ในลักษณะทจี่ ัดใหม้ ี
บรกิ ารหรอื การอ�ำนวยความสะดวกอยา่ งหนง่ึ อยา่ งใดตอ่ ผบู้ รโิ ภคในตลาดธรุ กจิ
อตุ สาหกรรมกฬี า อยา่ งไรกต็ ามธรุ กจิ เกย่ี วกบั กฬี าหรอื การแขง่ ขนั กฬี าบางอยา่ ง
เป็นกิจกรรมที่เป็นการขายสินค้าหรือจัดให้มีบริการด้านต่าง ๆ โดยมีผล
ตอบแทนในการจ�ำหนา่ ยสนิ ค้าหรือด�ำเนนิ การอยา่ งหน่งึ อย่างใด ซง่ึ ทางผู้ผลิต
สินค้าหรือผู้ให้บริการในธุรกิจอุตสาหกรรมกีฬาอาจเป็นผู้ด�ำเนินการจัดให้มี
สนิ ค้าหรือบรกิ ารด้านต่าง ๆ เก่ยี วกบั กีฬาหรือการแข่งขนั กีฬาด้วยตนเอง หรือ
อาจแตง่ ตั้งตวั แทนจ�ำหนา่ ยหรือตัวแทนให้บรกิ ารอยา่ งเป็นทางการ (officially
appointed) ในการจ�ำหนา่ ยผลิตภณั ฑ์หรือใหบ้ ริการบางอยา่ งไดเ้ ชน่ เดียวกนั
ทั้งน้ีธุรกิจเก่ียวกับกีฬาหรือการแข่งขันกีฬาอาจรวมถึงตัวแทนขนาดเล็กท่ีท�ำ
หน้าที่จ�ำหน่ายสินค้าหรือให้บริการอย่างหนึ่งอย่างใดเพ่ือให้ได้มาซ่ึงก�ำไรหรือ
ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ

การจ�ำหนา่ ยตั๋วชมการแข่งขนั กฬี า (ticket sale) เปน็ การด�ำเนนิ ธุรกจิ
กฬี าอยา่ งหนง่ึ ทผี่ ขู้ าย (ticket seller) จ�ำหนา่ ยตวั๋ ชมการแขง่ ขนั กฬี าใหแ้ กผ่ ซู้ อ้ื
(ticket buyer) และผู้ซ้ือช�ำระราคาตั๋วชมการแข่งขันกีฬานั้นแก่ผู้ขาย
(Késenne & Pauwels, 2006) ในปจั จบุ นั สโมสรกฬี าหรอื ผจู้ ดั การแขง่ ขนั กฬี า
อาจแต่งต้ังให้ผู้ประกอบการรายหน่ึงรายใดเป็นตัวแทนจ�ำหน่ายหรือตัวแทน
ผใู้ หบ้ รกิ ารโดยชอบดว้ ยกฎหมายเพอื่ ด�ำเนนิ ธรุ กจิ จ�ำหนา่ ยตว๋ั ชมการแขง่ ขนั กฬี า


Click to View FlipBook Version