The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานวิจัยเชิงพื้นที่ สพป.ชม.3

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานวิจัยเชิงพื้นที่ สพป.ชม.3

รายงานวิจัยเชิงพื้นที่ สพป.ชม.3

รายงานการวิจยั เชงิ พนื้ ที่

ข้อเสนอเชงิ นโยบายการจดั การศึกษา
ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 3

สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

รายงานการวจิ ยั เชิงพ้ืนท่ี
เรอ่ื ง ขอ้ เสนอเชงิ นโยบายการจดั การศึกษา
ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19)
สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3

คณะผวู้ จิ ัย
สานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 3

สานักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต 3
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
2564



ประกาศคุณูปการ

รายงานวิจัยฉบับนี้ สาเร็จลุล่วงด้วยดี ด้วยการให้แนวคิด ให้คาปรึกษา แนะนา และ
สนับสนุนอย่างดีย่ิง จาก ดร.อนุกูล ศรีสมบัติ ผู้อานวยการสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 และ ดร.พิเศรษฐ์ ไชยสุภา รองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 คณะผู้วิจัย ขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงไว้ ณ ท่ีน้ี
นอกจากน้ี ขอขอบพระคุณ ผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารจัดการ ด้านการจัดการเรียนรู้และด้าน
การดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียนทกุ ทา่ น ท่ไี ด้กรุณาให้ข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 3 จนทาให้งานวจิ ัยครงั้ นีส้ มบรู ณ์ และมคี ณุ คา่

ขอขอบคณุ ผู้อานวยการโรงเรียน ครวู ชิ าการ คณะครูของโรงเรียนในสังกัดทุกท่านที่ให้ความ
ร่วมมือในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ซ่ึงเป็นประโยชนต์ อ่ การวิจัย รวมถึงให้ขอ้ เสนอแนะ เพ่ือให้งานวิจัยมี
ความสมบูรณ์มากยิ่งขึน้

ขอขอบคุณ ผู้ประสานงานการวิจัยระดับเขตพื้นที่การศึกษา คณะวิจัยของสานักงาน
เขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 ทุกคน ทเ่ี ปน็ พลงั การขับเคลื่อนที่สาคัญ ทั้งให้ความ
ร่วมมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลโรงเรียนทุกอาเภอ วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล ระดมความคิด
สรุปผลการวจิ ัยให้สาเรจ็ ลุลว่ งไปด้วยดี รวมถงึ ใหก้ าลังใจในการวิจัยนเี้ ป็นอย่างดียงิ่

คณะวจิ ัย
สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3



ชอื่ เร่อื ง ขอ้ เสนอเชิงนโยบายการจัดการศกึ ษาในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือ
ไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาเชยี งใหม่
ชอ่ื ผู้วจิ ยั เขต 3
หนว่ ยงาน คณะวจิ ยั ของสานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3
ปีท่ีพิมพ์ สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 3
2564

บทคดั ยอ่

การวิจัยครั้งน้ี มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพ่ือวิเคราะห์สภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
ในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 2) เพื่อพัฒนาแนวทางการจัด
การศึกษาของสถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3
3) เพ่ือจดั ทาข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 (Covid-19) ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 มีขั้นตอน
การดาเนินงานวิจัยแบ่งออกเป็น 3 ข้ันตอน คือ ข้ันตอนที่ 1 การวิเคราะห์สภาพการจัดการศึกษา
ของสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 ในสถานการณ์การ
แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ขั้นตอนที่ 2 การประชุมระดมความคิด
(Brainstorming) นาผลการวิเคราะห์ในขั้นตอนท่ี 1 มาประชุมระดมความคิดของคณะวิจัย เพ่ือ
กาหนดแนวทางการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสถานศึกษาทุกลักษณะ ในด้านการบริหารจัดการเรียนรู้
และการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ขั้นตอนที่ 3 การสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญ (Connoisseurship) เพื่อ
จดั ทาขอ้ เสนอเชงิ นโยบายการจดั การศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 (Covid-19) ในระดับสานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 กลุ่มผู้ให้ข้อมูล
เปน็ ผบู้ ริหารสถานศกึ ษาจานวน 154 คน ผู้เชี่ยวชาญ จานวน 15 คน เครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัย ได้แก่
แบบสอบถาม ประเด็นการประชมุ ระดมความคดิ และแบบวิเคราะห์การสัมมนาผู้เช่ียวชาญ

ผลการวิจัย พบว่า
1. สภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนลักษณะต่าง ๆ ด้านการบริหารจัดการ ด้านการ
จดั การเรยี นรู้ และดา้ นการดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี น

1.1 สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 มีสถานศึกษาท้ังหมด
จานวน 154 แหง่ แบง่ ตามลกั ษณะของสถานศึกษา ประกอบดว้ ย

1.1 สถานศกึ ษาขนาดเลก็ จานวน 41 แหง่
1.2 สถานศกึ ษาขนาดกลาง จานวน 92 แหง่
1.3 สถานศึกษาขนาดใหญ่ จานวน 8 แห่ง
1.4 สถานศกึ ษาขนาดใหญ่พเิ ศษ จานวน 1 แหง่
1.5 สถานศกึ ษาทีเ่ ป็นโรงเรียนคณุ ภาพระดบั ประถมศึกษา จานวน 12 แหง่
1.2 รูปแบบการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษาขนาดเล็กในสถานการณ์การแพร่
ระบาดโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 ดงั น้ี



2.1 สถานศกึ ษาที่จัดการเรียนการสอนแบบ ON-HAND มจี านวน 154 แห่ง
2.2 สถานศึกษาท่จี ดั การเรยี นการสอนแบบ ON-DEMAND มจี านวน 94 แห่ง
2.3 สถานศกึ ษาทจ่ี ดั การเรียนการสอนแบบ ONLINE มีจานวน 95 แห่ง
1.3 สภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
มีความคล้ายคลึงกันของสถานศึกษาทุกลักษณะ เนื่องจากมีบริบทใกล้เคียงกัน คือ ครูและบุคลากร
ทางการศกึ ษามคี วามมุ่งมน่ั ในการจัดการศึกษา มีการปรับเปลี่ยนวิธีการสอน รวมถึงพัฒนาตนเองให้
สามารถจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน โดยจัดการเรียนการสอนในรูปแบบ
On Hand เป็นหลัก และเสริม On Demand และOn Line ให้นักเรียนท่ีมีความพร้อม มีการระดม
ทรัพยากรจากชมุ ชน และหนว่ ยงานที่เก่ียวขอ้ ง
2. แนวทางการจดั การศกึ ษาเพ่อื พฒั นาโรงเรยี นทุกลักษณะในการบริหารจัดการ การจัด
การเรียนรู้ และการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียน
2.1 ด้านการบริหารจัดการ เน้นการบริหารแบบมีส่วนร่วม มีการจัดประชุมชี้แจงให้ครู
และบุคลากรปฏิบัติงานตามมาตรการป้องกันและควบคุมสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) อย่างเคร่งครัด ประชาสัมพันธ์ แนะนาและเชิญชวนให้ครูและ
บุคลากรทางการศึกษาทุกคนเข้ารับวัคซีน ส่งเสริม สนับสนุนให้ครูและบุคลากรพัฒนาตนเองอย่าง
ต่อเนื่อง มีการนิเทศ กากับ ติดตาม และให้คาปรึกษา ร่วมกันปรับแผนการใช้จ่ายงบประมาณและ
ขออนุมัติการใช้งบประมาณจากคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ดาเนินการเบิกจ่าย
งบประมาณต่างๆ ให้ถูกต้องตามระเบียบของทางราชการ ประสานขอรับความช่วยเหลือจากชุมชน
และหน่วยงานทเ่ี กย่ี วข้อง
2.2 ด้านการจัดการเรียนการสอน ครูผู้สอนจัดการเรียนการสอนในรูปแบบ On Hand
เป็นหลัก และเสริม On Demand และOn Line ให้นักเรียนที่มีความพร้อม ครูผู้สอนควรออกแบบ
และจัดทาใบงานโดยวเิ คราะหเ์ ชอื่ มโยงตวั ชว้ี ดั ที่ตอ้ งรแู้ ละควรรู้ เนน้ สาระการเรยี นรู้พ้ืนฐานเปน็ หลกั
นัดหมายให้ผู้ปกครองมารับเอกสารใบงานตามเวลาที่ผู้ปกครองสะดวก จัดตารางเรียนให้มีความ
ยืดหยนุ่ เพ่อื ให้นักเรยี นเขา้ ถงึ การเรียนแบบ ON-LINE ใหม้ ากทส่ี ดุ
2.3 ด้านการดูแลช่วยเหลือนักเรียน สร้างความตระหนักในการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ด้านการเรียนรู้ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) จัดทา
แบบคัดกรอง จัดกลุ่ม วิเคราะห์นักเรียนเป็นรายบุคคล เยี่ยมบ้านนักเรียน จัดหาทุนการศึกษา มอบ
เงนิ คา่ อาหารกลางวนั แจกอาหารเสริม (นม) เพอ่ื ให้ความช่วยเหลือนักเรยี นและผปู้ กครองในเบื้องต้น
มีการติดต่อประสานงานกับหน่วยงานในชุมชนเพื่อช่วยกันดูแลสอดส่องป้องกันการแพร่ระบาดของ
โรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 ดว้ ยการสง่ ตอ่ ข้อมลู ข่าวสารทเี่ ป็นปัจจุบัน
3. ข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา
เชียงใหม่ เขต 3 แบ่งออกเปน็ 3 นโยบาย คอื
1. นโยบายและแนวทางการบริหารจัดการศึกษาของสถานศึกษาในสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ยึดปัจจัยการบริหาร 4M ตามบริบทโดยเน้น



ความปลอดภัยด้านบุคคล ได้แก่ การสร้างเข้าใจเก่ียวกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรสั โคโรนา 2019 (Covid-19) การประชาสมั พนั ธ์การฉีดวัคซีน กาส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาให้
ครูและบุคลากรทางการศึกษามีทักษะด้านการใช้เทคโนโลยี เพ่ือการจัดการเรียนรู้ ด้านงบประมาณ
ได้แก่ การปรับแผนการใช้จ่ายงบประมาณ การเบิกจ่ายให้ถูกต้องตามระเบียบของทางราชการ
การกากับและติดตามการใช้จ่ายงบประมาณ การระดมทรัพยากรจากชุมชนหรือหน่วยงานอ่ืน
ด้านวัสดุอุปกรณ์และสิ่งอานวยความสะดวก ได้แก่ การจัดหาและพัฒนาสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ท่ีใช้ใน
การจดั การเรยี นการสอนและดา้ นการจัดการ ได้แก่ การกาหนดนโยบาย แผน มาตรการและการสร้าง
เครือขา่ ยกับภาครัฐ หนว่ ยงาน เอกชน ผปู้ กครอง ชุมชน

2. นโยบายและแนวทางการจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาคุณภาพผู้เรียนของสถานศึกษาใน
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ได้แก่ การทาความเข้าใจ
กับผู้ปกครอง การจัดทาคู่มือการเรียนและการปฏิบัติตนสาหรับนักเรียน แ ละผู้ปกครอง
การสารวจความพร้อมในการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบต่างๆ การจัดสรรงบประมาณและ
สนับสนุนทรัพยากรการจัดการเรียนรู้ ให้เพียงพอเหมาะสมกับบริบท ความต้องการจาเป็น
การออกแบบการเรียนรู้เชิงบูรณาการโดยวิเคราะห์เช่ือมโยงตัวช้ีวัดที่ต้องรู้และควรรู้ การจัดการ
เรียนรู้แบบผสมผสานตามความเหมาะสมและบริบทของนักเรียน ความยืดหยุ่นในการจัดการเรียนรู้
และการวัดประเมินผล โดยเน้นการประเมินตามสภาพจริง การส่งเสริม สนับสนุนให้ครูพัฒนาตนเอง
พฒั นานวัตกรรมการจัดการศึกษาโดยใช้กระบวนการวิจัย การส่งเสริมให้นักเรียนมีวินัยในการเรียนรู้
ด้วยตนเอง การส่งเสรมิ ใหน้ ักเรียนมคี วามฉลาดรใู้ นการใช้สอ่ื เทคโนโลยี (Digital Literacy)

3. นโยบายและแนวทางการดูแลช่วยเหลือนักเรียนของสถานศึกษาในสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ได้แก่ การสร้างความตระหนักใน
การดูแลช่วยเหลือนักเรียนด้านการเรียนรู้ การแต่งต้ังคณะกรรมการดาเนินงานการดูแลช่วยเหลือ
นักเรียน โดยมีภาคีเครือข่าย การคัดกรองนักเรียน การเยี่ยมบ้านเพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียน
รายบุคคล การส่งเสริม สนับสนุนทุนและปัจจัยพ้ืนฐานท่ีจาเป็น การติดตามการเรียน/ตรวจสอบ
การเรียนของนักเรียนร่วมกับผู้ปกครอง การติดต่อประสานงานกับหน่วยงานในชุมชน เพื่อช่วยกัน
ดูแลสอดส่องป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ด้วยการส่งต่อข้อมูลข่าวสาร
ทีเ่ ป็นปัจจุบนั



สารบญั

ประกาศคณุ ปู การ หน้า
บทคัดยอ่ ก
สารบัญ ข
สารบญั ตาราง จ
สารบญั ภาพ ช
บทท่ี 1 บทนา ซ

ความเปน็ มา และความสาคัญของปญั หา 1
วัตถปุ ระสงค์การวจิ ยั 4
ขอบเขตการวจิ ัย 4
กรอบแนวคิดการวิจยั 5
นิยามศพั ท์เฉพาะ 6
ประโยชน์ท่ีไดร้ ับ 7
บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกย่ี วข้อง
แนวคดิ เกี่ยวกบั การบรหิ ารจดั การศึกษา 9
แนวคดิ เก่ยี วกบั การจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (Covid-19) 14
แนวคดิ เก่ยี วกับระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรียน 36
แนวคดิ เก่ยี วกบั การจดั ทาขอ้ เสนอเชิงนโยบาย 47
งานวิจยั ท่ีเกี่ยวข้อง 50
บรบิ ทของสานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 3 52
บทท่ี 3 วิธีดาเนนิ การวิจยั
ข้นั ตอนท่ี 1 การวิเคราะห์สภาพการจดั การศึกษาในสถานการณ์การแพร่ 60
ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ของสถานศึกษา
ในสังกดั สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 3 61
ขน้ั ตอนท่ี 2 การพัฒนาแนวทางการจดั การศึกษาในสถานการณก์ ารแพร่
ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ของสถานศกึ ษา 62
ในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 3
ขนั้ ตอนที่ 3 การจดั ทาขอ้ เสนอเชิงนโยบายการจัดศึกษาในสถานการณ์
การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (Covid-19) ของ
สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3



สารบัญ (ตอ่ )

บทที่ 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล หนา้
ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์สภาพการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ของสถานศึกษา 64
สงั กัดสานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 3
ตอนท่ี 2 ผลการพัฒนาแนวทางการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ 82
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ของสถานศึกษา
สังกัดสานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 3 99
ตอนท่ี 3 ผลการจดั ทาข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาใน
สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 104
ในระดบั สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 116
120
บทท่ี 5 สรุปผล อภิปรายผลและขอ้ เสนอแนะ 123
สรุปผลการวิจยั
อภปิ รายผล 127
ข้อเสนอแนะ 131
134
บรรณานกุ รม
ภาคผนวก 150
153
ภาคผนวก ก รายชื่อผูเ้ ช่ียวชาญและหนังสอื ขอความอนุเคราะห์ 157
ภาคผนวก ข รายชื่อผเู้ ขา้ ร่วมประชมุ ระดมความคดิ
ภาคผนวก ค เครื่องมอื ในการเก็บรวบรวมข้อมลู
ภาคผนวก ง สาเนาคาสง่ั แตง่ ตงั้ คณะวจิ ยั ของสานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา

ประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3
ภาคผนวก จ ภาพกิจกรรมการทาวจิ ัย
คณะผูว้ จิ ัย



สารบญั ตาราง

ตาราง หน้า
1 นโยบายและวิธีการจดั การศึกษา และความคาดหวังในการจัดการเรียนร้ขู อง 20
มณฑลของ ประเทศแคนาดา 54
2 แสดงจานวนโรงเรียนในสงั กดั และนอกสงั กดั สานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษา 54
ประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 55
3 แสดงจานวนโรงเรียนขนาดเลก็ จาแนกรายอาเภอ 56
4 แสดงจานวนนกั เรียนจาแนกตามระดับท่ีจัดการเรยี นการสอน 57
5 แสดงจานวนขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสังกัดสานกั งานเขตพ้นื ท่ี
การศึกษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 3 57
6 แสดงการเปรยี บเทยี บผลการประเมิน (NT) ปี 2560-2563 ระดับชน้ั
ประถมศึกษาปที ี่ 3 สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 3 57
7 แสดงการเปรยี บเทียบผลการทดสอบวดั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน (O-Net)
ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 6 ปกี ารศกึ ษา 2562-2563 สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา 59
ประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 65
8 แสดงการเปรยี บเทยี บผลการทดสอบวดั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน (O-Net) 65
ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2562-2563 สานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษา
ประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 3
9 การวิจยั เชงิ นโยบายเพอื่ จัดทาขอ้ เสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาใน
สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (Covid-19)
ระดบั สานักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3
10 แสดงข้อมลู พ้ืนฐานของสานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่
เขต 3 จาแนกตามลักษณะของโรงเรยี น และประเภทของโรงเรียน
11 แสดงจานวนโรงเรียนในสงั กัด ท่ีใช้รูปแบบการจัดการเรยี นการสอน 5 On
ในชว่ งสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 จาแนกตามขนาด

ซ หนา้

สารบัญภาพ 5
40
ภาพ 41
1 กรอบแนวคิดของการวจิ ัยเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์ 42
45
การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) 46
2 การดาเนินงานระบบดแู ลช่วยเหลือนกั เรียน
3 การดาเนินงานร้จู ักนกั เรยี นเป็นรายบุคคล
4 การดาเนินการคัดกรองนักเรียน
5 การดาเนินงานสง่ ต่อภายใน
6 การดาเนินงานส่งต่อภายนอก

บทที่ 1
บทนา

1.1 ความเปน็ มาและความสาคญั
การระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ได้เร่ิมต้นขึ้นในเดือนธันวาคม

พ.ศ. 2562 โดยพบครั้งแรกในนครอู่ฮนั่ เมืองหลวงของมณฑลหเู ป่ย์ สาธารณรัฐ ประชาชนจีน ซ่ึงเป็น
เมืองท่ีมีประชากรมากท่ีสุดในภาคกลางของประเทศจีน กว่า 19 ล้านคน วันที่ 30 ธันวาคม 2562
สานักงานสาธารณสขุ เมืองอ่ฮู ่ัน มณฑลหูเป่ย์ได้ออกประกาศเป็นทางการ พบโรคปอดอักเสบไม่ทราบ
สาเหตุ ซึ่งมีความเก่ียวข้องกับตลาดอาหารทะเลท่ีเมืองอู่ฮั่น โดยสาเหตุที่เป็นไปได้มากท่ีสุดในการ
ติดต่อสู่คน คือการสัมผัสกับเน้ือสัตว์ประเภทต่างๆ ที่วางขายในตลาด และเนื่องจากเมืองอู่ฮ่ันเป็น
เมืองใหญท่ มี่ ีประชาชนอย่หู นาแนน่ จงึ ทาให้การระบาดแพรก่ ระจายไปอย่างรวดเร็ว มีผู้ป่วยหนักและ
ผเู้ สียชีวติ จานวนมาก หลังจากพบการระบาดของเช้ือไวรัสสายพันธุ์ใหม่ในเมืองอู่ฮ่ัน ประเทศจีนและ
องค์การอนามัยโลก ได้ออกมาระบุว่า ไวรัสชนิดดังกล่าว คือ SARS-CoV-2 เรียกว่า COVID-19
(ย่อมาจาก CO แทน corona, VI แทน virus, D แทน disease และ 19แทน 2019) ตามการ
ประกาศชื่ออย่างเป็นทางการท่ีใช้เรียก โรคทางเดินหายใจท่ีเกิดจากไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019
ขององค์การอนามัยโลก และพบการแพร่เชื้อจากคนสู่คน ผ่านละอองฝอยขนาดเล็ก (aerosol)
องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ประกาศให้การระบาดน้ีเป็นภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหว่าง
ประเทศ (Public Health Emergency of International Concern – PHEIC) ในวันท่ี 30 มกราคม
2563 ต่อมาได้พบผ้ปู ่วยยนื ยันในหลายประเทศท่วั โลก

สาหรบั ประเทศไทย จากสถานการณก์ ารระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้ระบาด
ไปทั่วโลก กรมควบคุมโรค ได้เปิดศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (Emergency Operation Center:
EOC) ตั้งแต่ 4 มกราคม 2563 เพ่ือตอบโต้การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และเร่ิมคัด
กรองหาผู้ติดเชื้อที่ช่องทางเข้าออกประเทศ ประเทศไทย พบผู้ติดเช้ือรายแรกเป็นนักท่องเท่ียวจีนท่ี
เดินทางเข้าประเทศไทยเม่ือวันท่ี 12 มกราคม 2563 ภายในเวลา 2 สัปดาห์และเม่ือวันท่ี 31
มกราคม พ.ศ.2563 ประเทศไทยมีรายงานผู้ป่วยชาวไทยรายแรก อาชีพขับรถแท็กซี่ ซ่ึงไม่เคยมี
ประวัติเดินทางไปต่างประเทศ แต่มีประวัติขับรถแท็กซี่ให้บริการกับผู้ป่วยชาวจีน ในระยะต่อมา
จานวนผู้ป่วยได้เพิ่มขึ้นต่อเน่ืองอย่างช้า ๆ ท้ังผู้ป่วยท่ีเดินทางมาจากต่างประเทศ และผู้ป่วยท่ีติดเช้ือ
ภายในประเทศ กระทรวงสาธารณสุขจึงได้ออกประกาศในราชกิจจานุเบกษา โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่
วันที่ 1 มนี าคม พ.ศ. 2563 กาหนดให้โรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 หรือ COVID -19 เปน็ โรคติดต่อ
อันตราย ลาดบั ท่ี 14 ตามพระราชบญั ญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 เพ่ือประโยชน์ในการเฝ้าระวังป้องกัน
และควบคมุ โรคติดต่ออนั ตราย ในระยะต่อมาไดพ้ บการแพรร่ ะบาดใหญ่ โดยเป็นการติดเชอ้ื เปน็ กลุ่ม
ก้อน (Cluster) คือ การแพร่ระบาดในสนามมวย และสถานบันเทิง ในพื้นท่ีกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็น
พน้ื ที่ทม่ี ีการรวมกลุ่มคนจานวนมากและมีความแออัด ประกอบกับในระยะดังกล่าวมีการประกาศปิด
เมืองในพืน้ ท่กี รุงเทพมหานคร เกิดการเคลอื่ นย้ายของประชากรออกไปยังจังหวัดต่าง ๆ ทาให้ผู้สัมผัส
เชื้อกระจายออกไปยังต่างจังหวัด จนทาให้ยอดผู้ติดเช้ือของประเทศไทยเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วตั้งแต่
กลางเดือนมีนาคม เป็นต้นมาเป็นเหตุให้รัฐบาลต้องยกระดับ การบริการจัดการสถานการณ์การแพร่

2

ระบาดของโรค COVID-19 ในประเทศไทย ให้อยู่ในวงจากัด โดยส่ังการให้ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ
และหนว่ ยงานของรฐั ปฏบิ ตั ิหน้าที่รว่ มกัน ภายในขอบเขตอานาจหน้าที่ ตามกฎหมาย และจัดต้ังศูนย์
บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.) เมื่อวันที่ 12 มีนาคม
พ.ศ. 2563 การยกระดับมาตรการในการเฝ้าระวัง และควบคุมการแพร่ระบาดของ COVID-19ใน
ประเทศไทย กระทรวงสาธารณสุขได้กาหนดมาตรการเร่งด่วนในการป้องกันวิกฤตการณ์ จากโรคติด
เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โดยผ่านความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี และขอให้ส่วนราชการ หน่วยงาน
ของรัฐ และเอกชนทุกแห่งดาเนินการตามมาตรการดังกล่าวให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรมโดยมาตรการ
ดังกล่าว แบ่งออกเป็น 2 มาตรการสาคัญ ประกอบด้วย 1) การป้องกันและสกัดกั้นการนาเชื้อเข้าสู่
ประเทศไทย 2) การยบั ยง้ั การระบาดภายในประเทศของกระทรวงสาธารณสุข

จากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ได้มีการระบาด
อย่างรุนแรงทั่วประเทศ ทาให้มีจานวนผู้ติดเช้ือกระจายไปท่ัวทุกพ้ืนที่ในประเทศและมีจานวนเพ่ิม
สูงข้ึนอย่างรวดเร็ว และเกิดสภาวะหยุดชะงักและไม่สามารถดาเนินภารกิจต่าง ๆให้เป็นไปอย่าง
ราบร่ืนได้ ท้ังในด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม การท่องเท่ียว รวมถึงระบบการศึกษาซึ่ง
เปน็ กลไกหรือเครอื่ งมอื สาคญั ในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มีความรู้ความสามารถและความพร้อม
ในทุก ๆ ด้าน เพ่ือเป็นกาลังพลสาคัญในการพัฒนาประเทศในอนาคตท่ีได้รับผลกระทบไม่สามารถ
ดาเนินภารกิจหรือสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่างปกติ เกิดผลกระทบเป็นวงกว้างท้ังในส่วน
ของโรงเรียน สถานศึกษา ครู บุคลากรทางการศึกษา นักเรียน และผู้ปกครอง ซึ่งไม่สามารถ
คาดการณไ์ ด้วา่ การระบาดของโรคดังกล่าวจะส้ินสุดลงเม่ือใด ซึ่งหน่วยงานหลักท่ีเกี่ยวข้องในการวาง
มาตรการเพ่ือแก้ไขปัญหาดังกล่าว กระทรวงศึกษาธิการได้มีความพยายามท่ีจะหาแนวทางในการ
แก้ไขปัญหา โดยนาระบบเทคโนโลยี Digitalization มาใช้เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนการสอน
ผ่านเครอื ข่ายไร้สาย การเรียนรู้ผ่านเครอื ขา่ ยของ DLTV แต่มีปัญหาตามมามากมายโดยเฉพาะการใช้
เทคโนโลยีดิจิทัลในการศึกษาเรียนรู้ ซึง่ ในประเทศไทยเรานนั้ ยังคงมคี วามเหลอื่ มล้ากันในส่วนของการ
เข้าถึงดจิ ิทลั หรืออปุ กรณ์ดิจทิ ัลอยู่มาก จงึ เกดิ ประเดน็ ปัญหาในสว่ นของความเหล่อื มล้าในการเข้าถงึ
การศกึ ษาและสอ่ื การเรยี นรู้ทางการศึกษา และความเหลอ่ื มลา้ ดงั กลา่ วมแี นวโน้มท่ีจะทาให้เกิดปัญหา
มากย่ิงข้ึน อาทิ เกิดความเหล่ือมล้าระหว่างนักเรียนที่ไม่สามารถเข้าถึงเทคโนโลยีได้กับนักเรียนท่ี
สามารถเข้าถึงเทคโนโลยีได้ ความเหล่ือมล้าในการเข้าถึงสื่อการเรียนรู้ในมิติต่าง ๆ แต่หากพิจารณา
ให้ลึกไปกวา่ นนั้ ความเหลื่อมลา้ ท่เี กิดข้ึนไมใ่ ช่แค่ความเหล่ือมล้าทางเทคโนโลยี แตเ่ นอ่ื งจากการศึกษา
มีองค์ประกอบและโครงสร้างมากมาย ซ่ึงไม่ได้เก่ียวกับเทคโนโลยีดิจิทัลเพียงอย่างเดียว ถึงแม้ว่า
นักเรียนสามารถเข้าถึงเทคโนโลยีดิจิทัลได้ก็ตาม แต่ถ้าหากกระทรวงศึกษาธิการ สานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษา หรือสถานศึกษา ประกาศว่าให้นักเรียนสามารถเรียนที่บ้านผ่านหลักสูตรออนไลน์ ซึ่งก็ไม่
แน่ใจได้ว่านักเรียนจะมีสมาธิจดจ่อกับแบบเรียนออนไลน์หรือตั้งใจเรียนผ่านระบบออนไลน์เหมือนที่
เรยี นในห้องเรียนกับครูหรือไม่ ซ่ึงในส่วนนี้ผู้ปกครองจะคอยดูแลนักเรียน โดยเฉพาะเด็กเล็กปัญหาท่ี
ตามมาอีกประเด็นคือ หากผู้ปกครองจะต้องคอยดูแลนักเรียนในการเรียนออนไลน์อยู่ตลอดเวลาแล้ว
นัน้ จะส่งผลต่อหนา้ ทภี่ าระการงานของผ้ปู กครองได้เช่นเดยี วกนั การใช้เทคโนโลยดี ิจิทลั เพ่ือการศึกษา
และการเรียนรู้ผ่านเครือข่ายของ DLTV นั้น จะต้องพิจารณาถึงหลักความเหมาะสมว่าผู้เรียนในช่วง
ชน้ั ใดท่ีเหมาะกับการเรยี นในรูปแบบดงั กล่าว ซึ่งในระดบั ปฐมวัยและระดับประถมศึกษาน้ัน ยังคงเป็น

3

เร่ืองใหม่และผู้เรียนจะยังไม่พร้อมที่จะรับการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ นอกจากน้ี ในส่วน
ของสื่อการเรียนการสอนและครูผู้ท่ีทาหน้าที่ในการจัดการศึกษาผ่านระบบออนไลน์ดังกล่าว ก็ควร
ต้องเปน็ สอ่ื การเรียนการสอนท่ที นั สมัย มีความถูกต้องในเร่ืองของเน้ือหาสาระการเรียนรู้ และมีความ
เหมาะสมในแต่ละชว่ งวัยดว้ ย

สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 ได้ตระหนักและเล็งเห็นถึง
ความสาคัญของปัญหาจากการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ท่ีส่งผล
กระทบต่อระบบการจัดการศึกษาของชาติอย่างมาก การระบาดของเช้ือดังกล่าวส่งผลต่อระบบ
การศึกษาและกระบวนการในการจัดการศึกษาเป็นอย่างมาก ต้ังแต่เชื้อไวรัสเร่ิมมีการระบาดใน
ประเทศจีนเมื่อปลายปี 2562 จนถึงปัจจุบัน ซึ่ง UNESCO รายงานว่ารัฐบาล 191 ประเทศท่ัวโลก
ประกาศปิดสถานศึกษาทั้งประเทศ มีผู้เรียนได้รับผลกระทบกว่า 1.5 พันล้านคน (มากกว่าร้อยละ
90 ของผู้เรียนทั้งหมด) สาหรับประเทศไทยสถานการณ์การระบาดเกิดขึ้นในช่วงสถานศึกษาข้ัน
พ้ืนฐาน ปิดภาคเรียน โดยในช่วงต้นเดือนเมษายน คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบให้เลื่อนวันเปิดเทอม
ภาคเรียนท่ี 1 ไปเป็นวันท่ี 1 กรกฎาคม 2563 ประเทศไทยจึงมีโอกาสทบทวนบทเรียนจาก
ต่างประเทศเพ่ือเตรียมตัวให้พร้อมในการจัดการเรียนการสอนรูปแบบใหม่ท่ีสอดรับกับมาตรการ
ป้องกันการระบาด พร้อมกับเตรียมมาตรการต่าง ๆ เพื่อรองรับและป้องกันไม่ให้ผู้เรียนได้รับ
ผลกระทบจากรูปแบบการเรียนการสอนที่เปล่ียนไป อีกทั้งหน่วยงานที่มีส่วนเก่ียวข้องในทุกระดับท้ัง
กระทรวงศึกษาธิการ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สานักงานศึกษาธิการจังหวัด ผู้ว่าราชการจังหวัด
สถานศกึ ษา ครู ผปู้ กครอง และภาคส่วนตา่ ง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องจะต้องเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา
ดังกล่าว เพื่อให้การจัดการศึกษาของซาติในช่วงสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 (Covid-19) สามารถเดินหน้าไปได้อยา่ งเปน็ รปู ธรรมมากท่ีสุด สาหรับการเปิดเทอมภาคเรียนท่ี
1 น้ัน ในสถานการณ์ความเป็นจริงท่ีเกิดขึ้น ทุกสถานศึกษาในทุกพ้ืนที่ไม่มีความจาเป็นที่จะต้องเปิด
เทอมพร้อมกัน เพื่อจัดการศึกษาพร้อมกันทั้งประเทศ แต่ผู้บริหารในทุกระดับอาจต้องพิจารณาถึง
ความเหมาะสมว่า สถานศึกษาใดมีความพร้อมในการจัดการศึกษาและไม่มีการแพร่ระบาดของเชื้อ
ไวรัสดังกล่าว ก็สามารถจัดการศึกษาได้ตามความเหมาะสม แต่ทั้งนี้ต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไขและ
หลักการตามที่กระทรวงสาธารณสุขกาหนด โดยเฉพาะในเร่ืองของ Social Distancing และชีวิตวิถี
ใหม่ (New Normal ที่ต้องมีการให้ความรู้ในเร่ืองดังกล่าวพร้อมกันไปด้วย จากสถานการณ์ข้างต้น
และสภาพปัญหาท่ีเกิดข้ึนกับระบบการศึกษาในช่วงปัจจุบัน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 พิจารณาแล้วเห็นว่าเพื่อให้ปัญหาดังกล่าวได้รับการแก้ไขได้อย่างเป็น
รูปธรรม จึงเห็นควรที่จะต้องมีการพิจารณาศึกษาแนวทางในการแก้ไขปัญหาเรื่องดังกล่าว เพื่อให้
ได้มาซึ่งข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเร่งด่วน ซ่ึงจะเป็นกลไกสาคัญในการแก้ไขปัญหาในการบริหาร
การจัดการศึกษาในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19)
ท่ีเหมาะสมกับสงั คมไทยตอ่ ไป

4

1.2 วัตถปุ ระสงค์ของการวิจยั
1) เพอื่ วเิ คราะห์สภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในสังกดั สานักงานเขตพื้นท่ี

การศึกษาประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต 3
2) เพือ่ พัฒนาแนวทางการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในสงั กดั สานกั งานเขตพื้นที่

การศกึ ษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3
3) เพอื่ จัดทาข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของสานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 3

1.3 ขอบเขตของการวจิ ยั

การวิจยั คร้ังนี้ ผวู้ ิจยั ไดก้ าหนดขอบเขตการวจิ ัย ดงั นี้

1) ขอบเขตด้านเนือ้ หา

ขอบเขตดา้ นเนอื้ หาของการวจิ ยั คร้งั นี้ ประกอบด้วย

1.1) ด้านการบรหิ ารจัดการ

1.2) ด้านการจดั การเรียนรู้

1.3) ด้านการดแู ลและช่วยเหลือนักเรยี น

2) ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง

ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้กาหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่างตามขั้นตอนในการวิจัย 3

ขน้ั ตอน ดังน้ี

ขั้นท่ี 1 กลุ่มผใู้ ห้ขอ้ มูลทใี่ ช้ในการวิเคราะหส์ ภาพการจัดการศึกษา เป็นผู้บริหารโรงเรียน

สงั กัดสานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 3 แบ่งรายละเอยี ด ดังนี้

1.1 โรงเรียนขนาดเล็ก จานวน 42 โรงเรียน

1.2 โรงเรยี นขนาดกลาง จานวน 101 โรงเรียน

1.3 โรงเรยี นขนาดใหญ่ จานวน 9 โรงเรยี น

1.4 โรงเรยี นขนาดใหญ่พเิ ศษ จานวน 1 โรงเรียน

1.5 โรงเรยี นคณุ ภาพระดับประถมศกึ ษา จานวน 1 โรงเรยี น

ข้ันท่ี 2 กลุ่มผู้ให้ข้อมูลที่ใช้ในการพัฒนาแนวทางการจัดการศึกษาของโรงเรียนในสังกัด

สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 คือทีมนักวิจัยของสานักงานเขตพื้นท่ี

การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 จานวน 21 คน ซ่ึงประกอบด้วยผู้บริหารโรงเรียน

ศึกษานิเทศกแ์ ละครผู สู้ อน

ข้ันท่ี 3 กลุ่มผู้เชี่ยวชาญท่ีใช้ในการจัดทาข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในระดับ

สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 จานวน 15 คน ได้มาจากการเลือกแบบ

เจาะจง แบง่ เปน็ 3 ด้าน ตามคุณสมบัติทกี่ าหนดไว้ ดงั น้ี

3.1 ด้านการบริหารจัดการ เป็นผู้บริหารการศึกษาและผู้บริหารสถานศึกษา ท่ีมีวุฒิ

การศึกษาไม่ต่ากวา่ ปริญญาโท ดา้ นการบรหิ ารการศกึ ษา จานวน 5 คน

3.2 ด้านการจัดการเรียนรู้ เป็นศึกษานิเทศก์ที่มีประสบการณ์ด้านการบริหารจัดการ

หลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ และครผู ูส้ อนท่มี ผี ลงานการจดั การเรยี นการสอนที่เปน็ เลศิ จานวน 5 คน

5

3.3 ด้านการดูแลและช่วยเหลือนักเรียน เป็นศึกษานิเทศก์ที่มีประสบการณ์ด้าน
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนและผู้บริหารสถานศึกษาที่มีผลงานเป็นเลิศด้านการดูแลและช่วยเหลือ
นักเรียน จานวน 5 คน

1.4 กรอบแนวคดิ ของการวิจัย
คณะผู้วิจัยได้ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี งานวิจัยที่เก่ียวข้องเกี่ยวกับกระบวนการในการจัดทา

ขอ้ เสนอเชงิ นโยบายของวโิ รจน์ สารรัตนะ (2556, หน้า 42-50) โดยการศึกษาสภาพการจัดการศึกษา
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ตามบริบทของ
สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 ทั้ง 3 ด้าน ประกอบด้วย ด้านการบริหาร
จัดการ ด้านการจัดการเรียนรู้และด้านการดูแลและช่วยเหลือนักเรียน แล้วนามาสร้างเป็นกรอบ
แนวคดิ ของการวจิ ยั ดงั ภาพประกอบ 1

ส ภ า พ ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า ข้ อ เ ส น อ เ ชิ ง น โ ย บ า ย
ขนาดเล็ก กลาง ใหญ่ ใหญ่พิเศษและโรงเรียน ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ใ น
คุณภาพ ระดับประถมศึกษา ในสถานการณ์ ส ถ า น ก า ร ณ์ ก า ร แ พ ร่
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ร ะ บ า ด ข อ ง โ ร ค ติ ด เ ช้ื อ
(Covid-19) ในด้านการบริหารจัดการ ด้าน ไ ว รั ส โ ค โ ร น า 2019
การจัดการเรียนรู้และด้านการดูแลและช่วยเหลือ (Covid-19) ระดับ
นกั เรียน ส า นั ก ง า น เ ข ต พ้ื น ท่ี
การศึกษาประถมศึกษา
แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการบริหารจัดการ เชียงใหม่ เขต 3
ในสถานศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (Covid-19) ในดา้ น
การบริหารจัดการ ด้านการจัดการเรียนรู้และ
ดา้ นการดูแลและช่วยเหลือนกั เรียน

แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาข้อเสนอ
เชิงนโยบายในสถานศึกษาในสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(Covid-19)

ภาพประกอบ 1 กรอบแนวคิดของการวิจัยเชงิ นโยบายการจดั การศกึ ษาในสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19)

6

1.5 นิยามศพั ท์เฉพาะ
ข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา หมายถึง การแตก

นโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 ด้านการบริหารจัดการ ด้านการจัดการ
เรียนรู้ และด้านการดูแลและช่วยเหลือนักเรียน ออกเป็นโครงการหรือแผนงานย่อย ให้มีลักษณะ
เฉพาะเจาะจงของหลักการ เหตผุ ล วตั ถปุ ระสงค์ กลยุทธก์ ารดาเนนิ งาน งบประมาณ และผลที่คาดว่า
จะไดร้ บั

การบรหิ ารจัดการ หมายถึง การอานวยการ กากบั ทิศทาง และควบคุมให้โรงเรียนสามารถ
ขับเคลื่อนดาเนินการจัดการศึกษาไปด้วยดี ท้ังด้านบุคลากร (Man) วิธีการ (Management) วัสดุ
อปุ กรณ์ สงิ่ อานวยความสะดวก (Material) และงบประมาณ (Money)

การจัดการเรียนรู้ หมายถึง กระบวนการ เทคนิค หรือวิธีการที่ครูนามาใช้เพ่ือให้ผู้เรียนเกิด
การเรียนรู้ในรูปแบบต่างๆ ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-
19) ดังน้ี

1) ออนไซต์ (ON-SITE) หมายถึง การเปิดทาการเรียนการสอนตามปกติ หรือ
การเรียนท่ีสถานศึกษาดาเนินการได้ในกรณีที่สถานศึกษาอยู่ในพ้ืนที่ปลอดภัย โดยปฏิบัติตาม
มาตรการสาธารณสุขและประกาศของศูนยค์ วบคุมโรคตดิ ตอ่ และโรคระบาดของจังหวัดอย่างเคร่งครัด
และมีมาตรการรองรับเว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) และได้รับการอนุมัติจากศูนย์
ควบคมุ โรคตดิ ตอ่ และโรคระบาดของจังหวดั

2) ออนแอร์ (ON-AIR) หมายถึง การเรียนรู้ผ่าน DLTV (Distance Learning
Television) หรือการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม โดยมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมใน
พระบรมราชปู ถัมภ์ ท้งั การออกอากาศตามตารางและการเรยี นยอ้ นหลัง เปน็ การจัดการเรียนการสอน
แบบทางเดียว ผ่านระบบส่ือสารช่องทางหลักโดยส่งสัญญาณครูผู้สอนต้นทางมาจาก โรงเรียนวังไกล
กังวล อาเภอหัวหนิ จังหวัดประจวบคีรขี ันธ์

3) ออนไลน์ (ON-LINE) หมายถึง การเรียนรู้ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต เป็นวิธีการ
ถ่ายทอดเน้ือหา รูปภาพ วิดีโอ การใช้สื่อหลายๆประเภท(Multimedia) ร่วมกับการสนทนา
แลกเปล่ียนความคิดเห็นผ่านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และเทคโนโลยีสมัยใหม่ โดยใช้โปรแกรมการ
ประชุมออนไลน์ตา่ งๆ ได้ เชน่ โปรแกรม Zoom โปรแกรม Google Meeting Hangout เป็นต้น

4) ออนดมี านด์ (ON-DEMAND) หมายถึง การเรียนรู้ผ่านแอพพลิเคช่ันต่าง ๆ ที่
ครู และนักเรยี นตกลงใชร้ ว่ มกัน สง่ สัญญาณ DLTV ผา่ นเครอื ขา่ ยอนิ เตอร์เน็ต (NEW DLTV) เป็นการ
จัดการเรียนการสอนแบบทางเดียวมีครูสอนจากต้นทาง สามารถเชื่อมต่อเครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้ทั้ง
อนิ เตอรเ์ น็ตบา้ นและมือถือ ผูเ้ รยี นสามารถรบั ชมซ้าและยอ้ นหลังได้

5) ออนแฮนด์ (ON-HAND) หมายถึง การเรยี นร้ทู ่บี ้านโดยครูจัดทาเอกสาร หรือ
ใบงานให้กับนักเรียน ซ่ึงอาจเป็นลักษณะแบบเรียนสาเร็จรูป การให้แบบฝึกหัด ให้การบ้านไปทาที่
บา้ น โดยมคี รูออกไปเยย่ี มบา้ นนกั เรยี นเป็นคร้ังคราว หรือให้ผู้ปกครองทาหน้าท่ีเป็นครูคอยช่วยเหลือ
เพ่ือใหน้ กั เรียนสามารถเรียนไดอ้ ย่างต่อเนื่อง

7

การดูแลและช่วยเหลือนักเรียน หมายถึง การส่งเสริม สนับสนุน การป้องกัน และการ
แก้ปัญหาให้แก่ผู้เรียนให้ได้รับการเรียนรู้ พัฒนาความรู้ ทักษะและคุณลักษณะ การวัดประเมินผล
การส่งผ่าน ผู้เรียนเรียนต่อในระดับสูงขึ้น และความปลอดภัยในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (Covid-19)

1.6 ประโยชน์ทีไ่ ดร้ บั
1.ได้ทราบสภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา

ประถมศกึ ษาเชยี งใหม่ เขต 3 ในดา้ นการบรหิ ารจัดการ การจดั การเรยี นรู้ และการดูแลและช่วยเหลือ
นกั เรยี น

2.ได้ข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัส
โคโรนา 2019 ประกอบดว้ ย นโยบาย และแนวทางการศกึ ษาของโรงเรียน ในด้านการบริหารจัดการ
การจัดการเรยี นรู้ และการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี น

บทที่ 2
เอกสารและงานวิจยั ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง

ในการวิจัยข้อเสนอเชิงนโยบายการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติด
เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) คณะผู้วิจัยได้ศึกษาแนวคิดและความรู้พ้ืนฐานจากเอกสารและ
งานวิจัยต่าง ๆ ที่เก่ียวกับแนวคิดการจัดการศึกษา และการจัดทาข้อเสนอเชิงนโยบายในสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือ ไวรัสโคโรนา 2019 เป็นพื้นฐานในการสร้างความรู้ความเข้าใจและ
กาหนดกรอบเบ้อื งต้นของการวจิ ยั โดยไดศ้ ึกษาสาระสาคัญในประเดน็ ตอ่ ไปนี้

1. แนวคดิ เก่ยี วกับการบรหิ ารจัดการศึกษา
1.1 ความหมายของการบรหิ ารจัดการศึกษา
1.2 ภารกิจการบรหิ ารสถานศึกษา
1.3 กระบวนการบรหิ ารจัดการศกึ ษา
1.4 ปัจจัยสาคญั สาหรบั การบรหิ ารจดั การศกึ ษา

2. แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส
โคโรนา 2019

2.1 แนวคดิ และหลักการเกีย่ วกบั การจดั การศึกษาในสถานการณ์เร่งด่วนหรือสถานการณ์
วิกฤติ

2.2 นโยบายและแนวทางการจัดการเรียนรู้ของต่างประเทศในสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019

2.3 นโยบายแนวทางการจดั การศกึ ษาของประเทศไทยในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

3. แนวคดิ เกยี่ วกบั ระบบดแู ลช่วยเหลอื นักเรียน
3.1 ความหมายของระบบดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี น
3.2 ความสาคญั ของระบบดูแลช่วยเหลอื นกั เรียน
3.3 วัตถปุ ระสงคข์ องระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี น
3.4 วธิ กี ารดาเนนิ งานระบบดแู ลช่วยเหลือนกั เรียน
3.5 องคป์ ระกอบของระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียน
3.6 ผลสาเร็จของระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรียน

4. แนวคิดเก่ยี วกับการจดั ทาขอ้ เสนอเชิงนโยบาย
4.1 ความหมาย ความสาคญั ของข้อเสนอเชิงนโยบาย
4.2 ลักษณะสาคญั ของข้อเสนอเชิงนโยบายหรอื องค์ประกอบของข้อเสนอเชิงนโยบาย
4.3 กระบวนการจัดทาข้อเสนอเชงิ นโยบาย

5. งานวจิ ยั ทเ่ี กีย่ วข้อง
6. บริบทของสานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 3
โดยมรี ายละเอียดตา่ งๆ ดังนี้

9

1. แนวคิดเกี่ยวกบั การบริหารจดั การศกึ ษา
1.1 ความหมายของการบริหารจัดการศึกษา
การบริหารจัดการเป็นกระบวนการทางสังคมของมนุษย์ท่ีจาเป็นอย่างหน่ึงในการ

ดาเนินงานทกุ ชนดิ ใหส้ าเรจ็ ลุลว่ งไป บังเกิดความก้าวหนา้ และความม่ันคงในสังคม ในปัจจุบันองค์การ
หรือหน่วยงานต่าง ๆ ต้องพึ่งการบริหารอยู่มาก ในกิจกรรมของมนุษย์ ไม่มีสิ่งใดสาคัญไปกว่าการ
บริหารหรือการจัดการ ซึ่งคาว่า "การบริหาร" หรือ "การจัดการ" เป็นคาที่มีความหมายเหมือนกัน
ในภาษาอังกฤษมักใช้เรียก 2 คา คือ Administration และ Management อย่างไรก็ตามได้มีผู้ให้
ความหมายและแนวคิดของ "การบริหารจดั การ" ไวห้ ลายทศั นะพอสรุปได้ดังนี้

สมยศ นาวีการ (2540, หน้า 18) กล่าวว่า การบริหารจัดการ หมายถึง กระบวนการ
ของการวางแผน การจัดองค์กร การมีส่วนร่วมและการควบคุมกาลังความพยายามของสมาชิกของ
องคก์ รและการใชท้ รพั ยากรอน่ื ๆ เพื่อความสาเรจ็ ของเปาู หมายท่กี าหนดไว้

ศิรพิ ร พงศ์ศรโี รจน.์ (2540, หน้า 1) กล่าวว่า การบริหารการจัดการคอื งานของหัวหน้า
หรือผนู้ าที่จะตอ้ งทาเพ่ือใหก้ ล่มุ ต่าง ๆ ทีม่ คี นหม่มู ากอยรู่ วมกนั และร่วมกันทางานเพ่ือวัตถุประสงค์ที่
ต้ังใจไว้จนสาเร็จผลโดยได้ประสิทธิภาพ กล่าวอย่างง่าย ๆ การบริหาร คือการทาให้งานสาเร็จลงได้
โดยอาศยั ผอู้ ื่นเปน็ ผทู้ าใหส้ าเร็จน่นั เอง

ศิริพงษ์ ลดาวัลย์ ณ อยุธยา (2540, หน้า 1) กล่าวว่า งานบริหารจัดการ หมายถึง
กิจการทเ่ี กีย่ วกบั การจดั การดาเนินงาน ให้มีการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนในองค์กร ท้ังน้ีเพื่อให้
งานขององคก์ รสาเร็จตามวัตถปุ ระสงคท์ ีว่ างไว้

ศิริพร พงศ์ศรีโรจน์. (2543, อ้างถึงใน อุทิศ สมใจ, 2555, หน้า 19) กล่าวว่า การ
บรหิ ารจดั การเปน็ ศลิ ปะในการดาเนินงานร่วมกันของกลุ่มบุคคล ซง่ึ ทาหนา้ ที่ในองค์การ โดยทาหน้าท่ี
เก่ียวกับการวางแผน การจัดองค์การ การจัดคนเข้าทางาน การส่ังการ และการควบคุมกิจการ ให้
ดาเนนิ การบรรลุวัตถปุ ระสงคต์ ามนโยบายขององค์การ ด้วยความประหยดั และมีประสทิ ธิภาพ

จิระภา สขุ เกษม (2547, อ้างถึงใน อุทิศ สมใจ, 2555, หน้า 19) ให้ความหมายของการ
บริหารจัดการวา่ เปน็ กระบวนการจัดกรและการใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ที่มีอยู่อย่างจากัดให้เกิดประโยชน์
สูงสุดหรือเพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กาหนดข้ึนไว้ล่วงหน้าให้ประสบความสาเร็จ ซึ่งประกอบด้วย
ปัจจัยดังน้ี 1) คน (Man) คือ ปัจจัยพื้นฐานอันดับแรกและเป็นปัจจัยท่ีมีความสาคัญอย่างยิ่งในการ
ดาเนินงานให้ประสบผลสาเร็จ 2) เงิน (Money) คือ เงินสด หรือทรัพย์สิน ให้หมายถึง เงินกู้ด้วย ซึ่ง
เปน็ สิ่งจาเปน็ ในการซื้อท่ีดิน ก่อสร้างอาคาร 3) วัสดุอุปกรณ์ (Machine) คือ เครื่องช่วยอานวยความ
สะดวกในการประกอบธุรกิจเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และ 4) เคร่ืองจักร (Machine) คือ อุปกรณ์
หลักในการผลติ สินคา้ เพ่ือใช้ปฏบิ ัตงิ านให้เกดิ ประโยชน์สูงสุดและคมุ้ ค่า

สรุปไดว้ ่า การบรหิ ารจัดการ หมายถงึ การใช้ความรทู้ เี่ ปน็ ศาสตร์และศิลป์ในการดาเนิน
กิจกรรม โดยนาเอาทรัพยากรการบริหาร คือ บุคลากร งบประมาณ วัสดุอุปกรณ์และการจัดการ มา
ใช้อย่างเป็นกระบวนการ มีระบบระเบียบแบบแผน เพื่อสามารถดาเนินงานให้บรรลุเปูาหมายอย่างมี
ประสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ล

สาหรับการบริหารการศึกษา ได้มีนักการศึกษาท่ีเป็นบุคคลสาคัญหลายท่านได้แสดง
ทัศนะไวอ้ ยา่ งหลากหลาย ดังนี้

10

กู๊ด (Go๐d, 1973, หน้า 14) ได้กล่าวไว้ว่า การบริหารการศึกษา หมายถึง การวินิจฉัย
สั่งการการควบคุมและการจัดการเก่ียวกับงานหรือกิจการสถานศึกษา ทั้งการบริหารธุรกิจใน
สถานศกึ ษาและการดาเนนิ การที่เกีย่ วกับบคุ ลากรทง้ั หมดในสถานศกึ ษา ตลอดจนกิจกรรมที่เก่ียวข้อง
กบั นกั เรียนโดยตรง เช่น การเรียนการสอน การแนะแนว กจิ กรรมเสริมหลักสตู ร

ฮอย และมิสเกล (Hoy and Miskel, 2001, หน้า 437 - 438) กล่าวว่า การบริหาร
การศึกษา หมายถึง กระบวนการที่มุ่งไปสู่จุดหมายที่กาหนดไว้ด้วยองค์ประกอบหลายประการ เช่น
การตัดสนิ ใจ แรงจงู ใจ ภาวะผู้นา โดยการบริหารต้องคานึงถึงผลกระทบที่จะตามมาและสภาพการณ์
ทีเ่ กดิ ข้ึนในอนาคต

หวน พินธุพันธ์ (2548, หน้า 50) กล่าวว่า การบริหารการศึกษา หมายถึง กิจกรรม
ต่างๆ ที่บุคคลหลายคนร่วมมือกันดาเนินการ เพื่อพัฒนาเด็ก เยาวชน ประซาชน หรือสมาชิกของ
สังคมในทุก ๆ ด้าน เช่น ความสามารถ ทัศนคติ พฤติกรรม ค่านิยม หรือคุณธรรม ท้ังในด้านสังคม
การเมืองและเศรษฐกิจ เพ่ือให้บุคคลดังกล่าวเป็นสมาชิกที่ดีและมีประสิทธิภาพของสังคม โดย
กระบวนการตา่ ง ๆ ทัง้ ทเ่ี ปน็ ระเบยี บแบบแผน และไม่เป็นระเบียบแบบแผน

ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ และวิบูลย์ โตวณะบุตร (อ้างถึงในพระครูสังฆรักษ์ ไชยรัตน์ชยรต
โน, 2558, หนา้ 322) กล่าวถึง การบริหารการศึกษาไว้ว่า หมายถึง กิจกรรมต่าง ๆ ที่บุคคลหลายคน
รว่ มกันดาเนินการเพื่อพัฒนาสมาชิกของสังคมในทุก ๆ ด้าน นับแต่บุคลิกภาพ ความรู้ ความสามารถ
เจตคติ พฤตกิ รรม คณุ ธรรม เพอื่ ใหม้ ีค่านยิ มตรงกับความต้องการของสังคมโดยกระบวนการต่าง ๆ ที่
อาศัยควบคุมส่ิงแวดล้อมให้มีผลต่อบุคคล และอาศัยทรัพยากร ตลอดจนเทคนิคต่าง ๆ อย่าง
เหมาะสม เพ่ือให้บุคคลพัฒนาไปตรงตามเปูาหมายของสังคมที่ตนดาเนินชีวิตอยู่ โดยอาศัยปัจจัย
สาคัญการบริหารท่ีสาคัญมี 4 อย่าง ท่ีเรียกว่า 4 Ms ได้แก่ 1) คน (Man) 2) เงิน (Money) 3) วัสดุ
ส่ิงของ (Materials) 4) การจัดการ (Management) การบริหารการศึกษาจึงเป็นสาขาวิชาที่มีการ
จัดการอย่างเป็นระบบระเบียบ คือ มีหลักเกณฑ์และทฤษฎีท่ีพึงเชื่อถือได้อันเกิดจากการค้นคว้าเชิง
วิทยาศาสตร์ เพื่อประโยชน์ในการบริหาร โดยลักษณะนี้การบริหารจึงเป็นศาสตร์(Science) เป็น
ศาสตร์สงั คม ซงึ่ อยกู่ ลุ่มเดียวกนั กับวชิ าจิตวิทยา สงั คมวทิ ยาและรัฐศาสตร์ แต่ถ้าพิจารณาการบริหาร
ในลักษณะของการปฏบิ ตั ทิ ีต่ อ้ งอาศัยความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และทักษะของผู้บริหารแต่
ละคนที่จะทางานให้บรรลุปูาหมาย ซ่ึงเป็นการประยุกต์เอาความรู้ หลักการและทฤษฎีไปปรับใช้ใน
การปฏิบัติงานเพ่ือให้เหมาะสมกับสถานการณ์และสิ่งแวดล้อม การบริหารก็จะมีลักษณะเป็นศิลป์
(Arts)

สรุปได้ว่า การบริหารการศึกษา หมายถึง กระบวนการหรือกิจกรรมต่าง ๆ ที่บุคคล
หลายคนร่วมมอื กนั ดาเนนิ การอยา่ งมรี ะบบ ระเบียบ กฎเกณฑ์ มีการประสานความร่วมมือกันภายใน
องค์การโดยใชป้ จั จยั หรือทรพั ยากรการบริหารและเทคนิคต่าง ๆ อย่างเหมาะสม ด้วยการประยุกต์ใช้
ศาสตรแ์ ละศลิ ป์ทางการบรหิ ารจัดการรว่ มได้อย่างกลมเกลยี ว เพื่อใหบ้ รรลุวตั ถุประสงค์และเปูาหมาย
ท่ีกาหนดไว้ร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดต่อสมาชิกและองค์การตามเปูาหมายและนโยบายของ
การศึกษา ส่วนการบริหารจัดการศึกษา หมายถึง การจัดการศึกษาที่สามารถประยุกต์ให้ศาสตร์และ
ศิลป์ของการบริหารจัดการร่วมกันได้ โดยการประยุกต์แนวทางการบริหารที่เหมาะสมกับทรัพยากร
และสอดคล้องกับนโยบาย ผู้บริหารการศึกษาจะต้องเป็นผู้นาทางวิชาการ พัฒนาตนเองตลอดเวลา

11

และต้องรับการประเมินเป็นระยะและการรู้จักนาหลักการทฤษฎีทางการบริหารท้ังเก่าและใ หม่มา
ประยุกต์ใช้ในการวางแผนการจัดการเรียนการสอน การประสานงานให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ตาม
นโยบายและแผนท่ีวางไว้ และพัฒนาการศึกษาให้มีคุณภาพอย่างต่อเน่ือง มีเทคนิคในการจัดการด้าน
บุคคลากรและแก้ปัญหาอุปสรรคให้ลุล่วง ตลอดจนการรวมพลังพัฒนางานให้เจริญก้าวหน้าภายใต้
ทรัพยากรอันเหมาะสม เพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุดต่อสมาชิกและองค์การตาม
เปาู หมายและนโยบายของการศึกษา

1.2 ภารกจิ การบริหารสถานศึกษา
การพิจารณาถึงขอบข่ายอานาจหน้าท่ีและความรับผิดชอบในแต่ละด้านในที่นี้ เป็นการ

พิจารณาโดยใช้แนวทางจากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ และยังมีผู้กล่าวถึงภารกิจการบริหาร
สถานศึกษา ดังนี้

จอมพงศ์ มงคลวนิช (2555, หน้า 29-32,63) กล่าวถึงภารกิจทางการบริหาร
สถานศึกษาว่า เอ็ดเวิร์ด ดับเบิลยู สมิท (Edward W. Smith) ได้แบ่งงานของผู้บริหารการศึกษาไว้ 7
ประการด้วยกัน คือ 1) งานวิชาการ 2) งานบุคคล 3) งานกิจการนักเรียน 4) งานการเงิน 5) งาน
อาคารสถานที่ 6) งานสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน 7) งานธุรการ จากผลงานของเอ็ดเวิร์ด ดับเบิล
ยูสมิท จึงกล่าวได้ว่า ภารกิจทางการบริหารการศึกษาหรืองานบริหารการศึกษาโดยท่ัวไปครอบคลุม
การบรหิ ารงาน 1) วิชาการ 2) งานธุรการ 3) งานบคุ คล 4) งานกิจการนักเรียน นักศึกษา 5) งานด้าน
ความสัมพันธ์ชุมชน การจะพัฒนาคนให้มีคุณภาพได้นั้นจะต้องมีการดาเนินการในการเรียนการสอน
การจัดกิจกรรม การวัดผล การจัดอาคารสถานที่และพัสดุครุภัณฑ์ การสรรหาบุคคลมาดาเนินการ
หรือ ทาการสอนในสถาบันการศึกษา การปกครองผู้เรียนเพื่อให้ผู้เรียนเป็นคนมีวินัย และอื่น ๆ ซ่ึง
การดาเนินงานเหลา่ นีร้ วมเรียกว่า ภารกิจทางการบริหารการศึกษา หรือ งานบริหารการศึกษา โดยมี
จุดมงุ่ หมายเพ่ือการพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี น

ภารดี อนันต์นาวี (2555, หน้า 279 - 319) ได้กล่าวถึง ภารกิจทางการบริหาร
สถานศึกษาว่า สถานศึกษาจะต้องมีการดาเนินกิจการหรือบริหารงาน 4 งาน ได้แก่ 1) งานวิชาการ
เพื่อให้สถานศึกษาบริหารงานด้านวิชาการได้โดยอิสระคล่องตัว รวดเร็ว และสอดคล้องกับความ
ต้องการของผู้เรียน สถานศึกษา ชุมชน และท้องถิ่น จัดการศึกษาได้มาตรฐานและมีคุณภาพ
สอดคล้องระบบประกันคุณภาพการศึกษาและการประเมินภายนอกเพื่อพัฒนาตนเอง พัฒนา
หลักสตู รและกระบวนการเรียนรู้โดยยดื ผเู้ รียนเป็นสาคัญ ประสานความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาของสถานศึกษาและของบุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงานและสถาบันอ่ืน ๆ อย่าง
กว้างขวาง 2) งานงบประมาณ เพ่ือให้สถานศึกษาบริหารงานด้านงบประมาณมีความเป็นอิสระ
คล่องตัวโปร่งใสตรวจสอบได้ ได้ผลลัพธ์ ผลผลิต สามารถบริหารจัดการทรัพยากรท่ีได้อย่างเพียงพอ
และมีประสิทธิภาพ 3) งานบริหารบุคคล เพื่อดาเนินงานด้านการบริหารงานบุคคลถูกต้อง รวดเร็ว
เปน็ ไปตามหลกั ธรรมาภบิ าล สง่ เสรมิ ใหบ้ คุ ลากรมีความรู้ความสามารถ มจี ิตสานึกในการปฏิบัติหน้าท่ี
ตามหลักการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ 4) งานบริหารทั่วไป เพื่อให้สถานศึกษาบริหารสนับสนุน
ส่งเสริม ประสานงาน และอานวยให้การปฏิบัติงานของสถานศึกษาเป็นไปด้วยความเรียบร้อย มี
ประสิทธิภาพ ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ข่าวสารและผลงานของสถานศึกษาต่อสาธารณชนที่จะ
ก่อใหเ้ กดิ ความรู้ ความเข้าใจ เจตคติท่ดี ี เล่ือมใสศรัทธา และใหก้ ารสนบั สนุน

12

สรุปไดว้ ่า ภารกิจการบรหิ ารสถานศึกษามี 4 งาน คือ 1) งานวิชาการ ได้แก่ การจัดการ
ศึกษาได้มาตรฐานและมีคุณภาพ สอดคล้องระบบประกันคุณภาพการศึกษา และการประเมิน
ภายนอกเพ่ือพัฒนาตนเอง พัฒนาหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ มีการ
ประสานความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา และของบุคคล ครอบครัว
องค์กร หน่วยงาน และสถาบันอ่ืน ๆ 2) งานงบประมาณ ได้แก่ การจัดการงบประมาณมีความเป็น
อิสระ คล่องตัว โปร่งใสตรวจสอบได้ ได้ผลลัพธ์ ผลผลิต สามารถบริหารจัดการทรัพยากรที่ได้อย่าง
เพียงพอและมีประสิทธิภาพ 3) งานบริหารบุคคล ได้แก่ การดาเนินงานบุคคลถูกต้อง รวดเร็วเป็นไป
ตามหลักธรรมาภิบาล ส่งเสริมให้บุคลากรมีความรู้ความสามารถ มีจิตสานึกในการปฏิบัติหน้าท่ีตาม
หลักการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธ์ิ 4) งานบริหารทั่วไป ได้แก่ กรสนับสนุน ส่งเสริมประสานงานและ
อานวยให้การปฏบิ ตั ิงานของสถานศกึ ษาเปน็ ไปดว้ ยความเรยี บร้อยมีประสิทธภิ าพ

1.3 กระบวนการบริหารจัดการ
การบริหารจัดการเป็นกระบวนการที่มีข้ันตอนต่อเนื่องกัน การบริหารท่ีดีจึงต้องอาศัย

กระบวนการบริหารเป็นหลกั การ กระบวนการบริหารที่นิยมกันมากที่สดุ และสามารถนามาใช้เป็นหลัก
ในการบรหิ ารงานทัว่ ๆ ไป คอื กระบวนการบริหารของลูเธอร์ กูล่ิค (Luthur Gulick) มีองค์ประกอบ
และช้ันตอน 7 ขั้น รวมเรียกว่า "POSDCORB" (อ้างถึงใน สันติ บุญภิรมย์, 2552, หน้า 50) ซึ่งเป็น
ลกั ษณะขององคป์ ระกอบกระบวนการ ดังนี้

1) การวางแผนงาน (Planning) หมายถึง การจัดวางโครงการ แผนปฏิบัติงาน และ
วิธีการปฏิบัติงานไว้ล่วงหน้า ผู้จัดการองค์กรต้องวางแผนงานทุกขั้นตอนของการปฏิบัติงาน เพราะ
แผนงานจะเป็นแนวทางปฏิบัติทั้งองค์กร ซ่ึงประกอบด้วยแผนงานหลักและแผนงานย่อย แผนงาน
ต้องมีลักษณะยดื หยุ่น

2) การจัดหน่วยงาน (Organizing) หมายถึง การกาหนดโครงสร้างอานาจหน้าที่การ
แบ่งสว่ นงาน และการจัดสายงานเพื่อใหก้ ารปฏิบัตงิ านเปน็ ไปตามวัตถปุ ระสงค์

3) การจัดตัวบุคคล (Staffing) หมายถึง การบริหารงานด้านบุคลากร ได้แก่ การจัดการ
สรรหาและพัฒนาบุคลากร การเลื่อนขั้น เล่ือนตาแหน่ง การส่งเสริมขวัญ และสวัสดิการ และการ
เสริมสร้างบรรยากาศในการทางาน คนเป็นทรัพยากรทสี่ าคัญทสี่ ุดที่ส่งผลให้งานสาเรจ็ หรอื ลม้ เหลว

4) การอานวยการ (Directing หมายถงึ การวินิจฉัยสัง่ การ การควบคุมบังคับบัญชาและ
การควบคมุ ดแู ลการปฏบิ ตั งิ านของผูบ้ ริหารในฐานะหัวหนา้ หนว่ ยงาน หัวหน้าตอ้ งมอบหมายหน้าที่ให้
ลูกน้องแตล่ ะคนตามลาดับโดยใหส้ ัมพนั ธแ์ ละสอดคล้องกับความรับผิดชอบแต่ละตาแหน่งประกาศใช้
ระเบียบให้ปฏิบัติตามมีการตดั สินใจสงั่ การอย่างถูกต้องรวดเรว็

5) การประสานงาน (Coordinating) หมายถึง การประสานกิจกรรมต่าง ๆ ของ
หน่วยงาน เพอ่ื ให้เกิดมีการรว่ มมอื ทด่ี ีและนาไปสูจ่ ดุ หมายปลายทางเดียวกัน

6) การรายงาน (Reporting) หมายถึง การรายงานผลการปฏิบัติงานของบุคลากรระดับ
ต่าง ๆในหน่วยงาน เพื่อให้ผู้บริหารและสมาชิกหน่วยงานได้รับทราบความเคล่ือนไหวและความ
คืบหนา้ ของกิจการอยา่ งสม่าเสมอ

7) การบริหารงบประมาณ (Budgeting) หมายถึง การจัดทางบประมาณ การจัดทา
บัญชีการใช้จ่ายเงนิ และการควบคมุ ตรวจสอบทางด้านการเงินและทรัพย์สิน

13

สรุปได้ว่า การบริหารจัดการการศึกษา หมายถึง การดาเนินงานของกลุ่มบุคคลซ่ึงอาจ
เป็นการดาเนินงานของผู้บริหารร่วมกับครูหรือบุคลากรในโรงเรียน หรือผู้บริหารร่วมกับกลุ่มบุคคล
ชุมชน ร่วมมือกันพัฒนาคนให้มีคุณภาพซึ่งการจะพัฒนาคนให้มีคุณภาพได้นั้น จะต้องมีการ
ดาเนินการในการเรียนการสอน การจัดกิจกรรม การจัดอาคารสถานท่ีและพัสดุครุภัณฑ์การสรรหา
บคุ คลมาทาการสอน โดยมจี ดุ มุ่งหมายเพ่อื การพฒั นาผู้เรยี น

1.4 ปัจจยั สาคญั สาหรับการบรหิ ารจัดการศกึ ษา
ในการจัดการศึกษาทุกประเภทโรงเรียนหรือสถานศึกษา ซึ่งเป็นองค์กรทางการศึกษา

ระดบั ฐานลา่ งสุดที่มบี ทบาทสาคัญในการดาเนนิ ภารกจิ สรา้ งสรรค์ คือ จดั การศึกษาเพ่ือพัฒนาคนโดย
อาศัยกระบวนการบริหารจัดการที่ดี มีกลไกของการพฒั นาทส่ี อดคล้องสัมพันธ์กันอย่างเป็นระบบและ
เกิดขึ้นโดยความร่วมมือร่วมแรงร่วมใจจากบุคคลในทุก ๆ ฝุายที่เก่ียวข้องทั้งภายในและภายนอก
โรงเรียน ในการบริหารจัดการทรัพยากรในการบริหาร (Resources) (สุรศกั ด์ิ ปุาแฮ, 2543, อ้างถึงใน
พระครสู ังฆรักษ์ ไชรตั น์ชยรตโน, 2558, หนา้ 323) และนกั การศึกษา ได้แสดงทัศนะไว้ ดงั นี้

สมคิด บางโม (2546, หน้า 60) ได้กล่าวถึงปัจจัยการบริหาร ซึ่งมีองค์ประกอบท่ีสาคัญ
ดังต่อไปน้ี

1. คนหรือบุคคล (Man) เป็นปัจจัยสาคัญของการบริหารงาน หน่วยงานหรือองค์การ
ต่าง ๆ จาเป็นต้องมีคนท่ีปฏิบัติงาน ผลงานที่ดีจะออกมาได้ต้องประกอบด้วยบุคคลที่มีคุณภาพและมี
ความรบั ผดิ ชอบต่อองค์การหรอื หนว่ ยงานน้ัน ๆ

2. เงิน (Money) หน่วยงานจาเป็นที่จะต้องมีงบประมาณเพื่อการบริหารงานหากขาด
งบประมาณการบริหารงานของหน่วยงานก็ยากทจี่ ะบรรลเุ ปาู หมาย

3. ทรัพยากรหรือวตั ถุ (Material) การบรหิ ารจาเปน็ ต้องมีวัสดอุ ปุ กรณห์ รือทรพั ยากรใน
การบริหารหากหน่วยงานขาดวัสดอุ ุปกรณ์หรือทรัพยากรในการบริหารแล้วก็ย่อมจะเป็นอุปสรรคหรือ
กอ่ ให้เกิดปญั หาในการบรหิ ารงาน

4. การบริหารจัดการ (Management) เป็นภารกิจของผู้บริหารหรือผู้บังคับบัญชา
โดยตรง คอื เปน็ กลไกและตัวประสานท่ีสาคัญท่ีสุดในการประมวล ผลักดันและกากับปัจจัยต่าง ๆ ทั้ง
3 ประการใหส้ ามารถดาเนนิ ไปได้โดยมปี ระสิทธภิ าพ จนบรรลุเปูาหมายของหนว่ ยงานตามทีต่ อ้ งการ

เสกสิฐ เล้ากิจเจริญ (2550, หน้า 7 – 8) มีความเห็นสอดคล้องกันว่า หลักการ 4M's
เป็นปัจจยั ทส่ี าคญั ต่อการบริหารจดั การศกึ ษา ได้แก่

1. ด้านบุคลากร หมายถึง ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และบุคลากรทางการศึกษา ซ่ึงเป็น
ผู้ทาหน้าท่ีให้บริการหรือปฏิบัติงานเก่ียวเนื้องกับการจัดกระบวนการเรียนการสอน การนิเทศการ
บริหารการศึกษาในสถานศึกษาเป็นผู้จัดหาและใช้ทรัพยากรการบริหารอื่น ๆ ไม่ว่าจะเป็นเงินวัสดุ
อุปกรณ์ และการจัดการเพื่อนาสถานศึกษาไปสู่ความเจริญก้าวหน้า บุคลากรจะต้องมีความรู้สามารถ
ในการบรหิ ารจดั การในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เพื่อให้การดาเนินงานจัดการเรียนการสอนของ
สถานศึกษามีคุณภาพสาเรจ็ ตามวตั ถปุ ระสงค์ทวี่ างไวอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพและประสทิ ธิผล

2. ด้านงบประมาณ หมายถงึ แผนการเงนิ ของโรงเรยี นทจ่ี ดั ทาข้นึ โดยการกาหนดรายรับ
รายจ่ายของงานโครงการต่าง ๆ ท่ีจะดาเนินการ เพ่ือให้การจัดสรรทรัพยากรเป็นไปอย่างมี
ประสิทธิภาพ ในการบริหารจัดการเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอนของสถานศึกษา

14

จะตอ้ งมกี ารจดั สรรทรพั ยากรและบริหารงานงบประมาณอย่างมีคุณภาพ เพื่อจัดหา พัฒนา ปรับปรุง
ซอ่ มแซม และใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์อย่างประหยัด เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพการเรียน
การสอนสูงสุด

3. ด้านวัสดุอุปกรณ์ หมายถึง การจัดสื่อการเรียนการสอน และนวัตกรรมท่ีมีคุณภาพ
และเพียงพอต่อการเรียนการสอน โดยมีระบบการจัดหาและบารุงรักษาที่มีประสิทธิภาพพร้อมทั้งมี
การบรกิ ารและส่งเสริมการใชอ้ ย่างท่ัวถึงและเป็นระบบ การบริหารงานวัสดุอุปกรณ์ที่ดีจะนาไปสู่การ
บริหารจัดการเทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์เพอ่ื การดาเนินงานและการจัดการเรียนการสอนที่มีคุณภาพ ทา
ให้การใช้วัสดุอุปกรณ์เป็นไปอย่างเหมาะสมและเกิดคุณค่าตรงกับความต้องการของผู้บริหาร ครูและ
นักเรยี น

4. ด้านการจัดการ หมายถึง กิจกรรมต่าง ๆ ท่ีกลุ่มบุคคลร่วมกันดาเนินการเพ่ือพัฒนา
สมาชิกของสังคมในทุก ๆ ด้าน นับต้ังแต่บุคลิกภาพ ความรู้ ความสามารถ พฤติกรรมและคุณธรรม
เพื่อให้มีค่านิยมตรงกันกับความต้องการของสังคมโดยกระบวนการต่าง ๆ ท่ีอาศัยการควบคุม
สง่ิ แวดล้อมให้มีผลตอ่ บคุ คล และอาศยั ทรัพยากรตลอดจนเทคนิคต่าง ๆ อยา่ งเหมาะสม เพื่อให้บุคคล
พฒั นาไปตรงตามเปูาหมายของสงั คมท่ตี นดาเนินชีวิตอยู่ การจัดการท่ีเหมาะสมและคานึงถึงบุคลากร
งบประมาณ วัสดุอุปกรณ์จะทาให้เกิดการจัดสรรทรัพยากรอย่างมีคุณภาพและนาไปสู่การพัฒนา
รปู แบบการบริหารจดั การเทคโนโลยีและการสื่อสารตามเปูาหมายท่วี างไว้

ชาญชัย อาจินสมาจาร (2545, อ้างถึงใน พระครูสังฆรักษ์ ไชยรัตน์ชยรตโน, 2558,
หน้า 324) ได้กล่าวว่า ผู้บริหารจะต้องสามารถใช้ทรัพยากรหรือปัจจัยทางการ บริหาร
(Administrative Resources) ทสี่ าคัญมอี ยอู่ ยา่ งน้อย 4 ประการ คือ คน (Man) เงิน (Money) วัสดุ
(Materials) และวิธีปฏิบัติงาน (Management) ไม่ว่าจะเป็นองค์กรใด ๆ ย่อมมีความจาเป็นต้องใช้
ทรัพยากรหรือปจั จยั นเี้ ป็นเครื่องมือในการบริหารหรือจัดการ ซ่ึงนิยมเรียกว่า หลัก 4 M's โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งทางภาคธุรกิจ ทรพั ยากรทางการบรหิ าร หรือปจั จยั ทางการบริหารท่ีนิยมกันมี 7 ประการ คือ
คน (Man) เงิน (Money) วัสดุ (Materials) วิธีปฏิบัติงาน (Management of Method) ตลาด
(Market) เคร่อื งจกั ร (Materials) และขวัญและกาลังใจ (Morale) ซง่ึ เรยี กวา่ 7 M's

สรุปได้ว่า ปัจจัยท่ีสาคัญของการบริหารการศึกษาจะประสบความสาเร็จ ต้องอาศัย
บุคลากร (Man) ที่มีความสามารถ มีงบประมาณ (Money) สนับสนุนดาเนินงาน มีวัสดุอุปกรณ์
(Material) ตามความต้องการ และมรี ะบบบรหิ ารจดั การ (Management) ท่ดี ี

2. แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา
2019 (Covid-19)

2.1 แนวคิดและหลกั การเกี่ยวกับการจดั การศกึ ษาในสถานการณ์เร่งด่วนหรือสถานการณ์
วิกฤติ

ท่ามกลางการเปล่ียนแปลงในสถานการณ์ที่ไม่คาดคิดที่จะเกิดข้ึนในสถานศึกษา
สถานการณ์ เหล่านี้อาจเกิดจากพฤติกรรมของนักเรียนท่ีก่อให้เกิดอุบัติเหตุท้ังภายในและภายนอก
โรงเรียน หรืออาจเกดิ จากภยั พบิ ัติต่าง ๆ ที่ไม่คาดคิดว่าจะเกิดขึ้น ปัจจุบันการแพร่ระบาดของโรคติด
เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ส่งผลให้สถาบันการศึกษาในประเทศต่าง ๆ ท่ัวโลกได้ปิดทาการลงชั่วคราว

15

เพื่อปูองกันการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ซึ่งการปิดสถานศึกษาดังกล่าวได้ส่งผล
กระทบต่อนักเรียน ร้อยละ 60 ทั่วโลก (UNESCO, 2020) ซ่ึงการเกิดเหตุการณ์ท่ีไม่คาดคิดจน
กอ่ ให้เกิดสถานการณ์วกิ ฤติ จาเป็นอย่างยิ่งที่สถานศึกษาจะต้องมีมาตรการ ในการเตรียมความพร้อม
เพอื่ รองรับสถานการณท์ ี่ไมอ่ าจคาดเดาได้

1) การเตรยี มความพร้อมสาหรบั เหตกุ ารณท์ ไ่ี ม่คาดคดิ
สถานการณ์ท่ีไม่คาดคิดว่าจะเกิดข้ึนในโรงเรียนส่งผลให้เกิดปัญหาท้ังทางด้าน

ร่างกาย และทางด้านจิตใจของนักเรียน CS & A International (2019) กล่าวว่า สถานการณ์ท่ีไม่
คาดคิด ทก่ี ่อใหเ้ กดิ วกิ ฤตนิ ้ันจะมีปจั จยั สาคญั ที่ขึ้นอยู่กับ 3 เสาหลกั (Three pillars) ประกอบดว้ ย

1) กระบวนการจัดการทีม่ คี ุณภาพและผ่านการทดสอบวา่ ใช้ได้จรงิ
2) สมรรถนะของบคุ ลากรหรอื ทมี บุคลากร
3) การตัดสินใจในระดับบริหารท่ีมีจากฐานของประสบการณ์ท่ีพบเจอทั้ง 3
ประการจะต้องทางานแบบสอดประสานเพ่ือให้ได้ผลลัพธ์ท่ีสมดุลและลดความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นได้
อย่างมีประสทิ ธิภาพ
ซ่ึง Lichtenstein, Schonfeld and Kline (1994) ได้กล่าวว่า การปูองกัน
ปัญหาที่อาจเกิดข้ึนจะต้องพิจารณาทั้ง 2 ส่วนไป พร้อม ๆ กัน ท้ังการเตรียมการ การปูองกัน และ
การดูแลในสถานการณ์วิกฤติ ซ่ึง Lichtenstein et al. (1994) ได้เสนอรูปแบบการปูองกันและดูแล
ในสถานการณว์ กิ ฤติ โดยการกาหนดแผนและแนวทางเป็นระดับ 3 ระดับ ต้ังแต่ระดับกระทรวง/ภาค
ระดับเขตพน้ื ท่ี และระดับของโรงเรยี น ดงั น้ี
1) ทมี ทางานแกว้ ิกฤติระดับกระทรวง/ระดับภาค ประกอบด้วย ผู้แทนจากระดับ
เขตพน้ื ที่ และผู้เช่ยี วชาญในแต่ละสาขาภายนอกโรงเรียน
2) ทีมทางานแก้วิกฤติระดับเขตพ้ืนที่ ประกอบด้วย ผู้บริหารและภาคส่วนท่ีมี
ความ รบั ผดิ ชอบสาหรบั การแกไ้ ขปญั หาวิกฤติ ซึ่งจะต้อง

2.1) เป็นผู้กาหนดแนวทางโดยประยุกต์นโยบายและคาแนะนาท่ีได้รับ
จากทีมทางาน แก้วกิ ฤตริ ะดบั กระทรวง/ระดับภาค

2.2) พัฒนาทีมงานในระดับเขตพ้ืนที่ให้มีสมรรถภาพเพียงพอในการ
แกไ้ ขปัญหา

2.3) จดั ตัง้ คณะทางานระดับโรงเรียนทมี่ คี วามสามารถ
2.4) สร้างความสัมพันธ์ระหว่างทีมท างานแก้วิกฤติระดับเขตพื้นท่ีและ
คณะทางานระดับ โรงเรยี น
2.5) ติดต่อประสานงานเพื่อมอบหมายภารกิจให้กับโรงเรียนและชุมชน
ท่ามกลางปัญหา วกิ ฤติท่ีเกดิ ข้นึ
3) ทีมทางานแก้วิกฤติระดับโรงเรียน ถือเป็นความรับผิดชอบสูงสุดของ
โรงเรียนในการนาแผนการจัดการในภาวะวิกฤติไปปฏิบัติเพ่ือแก้ปัญหาท่ีเกิดข้ึน ผู้บริหารโรงเรียน
จะต้องมีหน้าที่ในการ คัดสรรคนที่มีความสามารถในการกาหนดทิศทางและสนับสนุนให้บุคลากรใน
โรงเรียนรวมท้ังชุมชนแก้ไข ปัญหาวิกฤติไปด้วยกัน ซ่ึงทีมทางานแก้วิกฤติระดับโรงเรียนจะมีบทบาท
สาคญั ในการประสานการให้คาแนะนาการเตรียมการกับสื่อ การติดต่อส่ือสารกับบุคลากรในโรงเรียน

16

และชุมชน และอาจมีการวางแผนการควบคุมมวลชนในบางกรณีที่เกิดวิกฤติร้ายแรง โดยทีมทางาน
แก้วกิ ฤติระดับโรงเรียนควรมีการกาหนดขั้นตอนในการวางแผนและการเตรยี มการสาหรับสถานการณ์
วิกฤติ ดังน้ี

3.1) การกาหนดทีมทางานแกว้ ิกฤตริ ะดบั โรงเรยี น
3.2) การอบรมสมรรถนะของสมาชกิ ของทีมทางานแก้วิกฤตริ ะดับโรงเรยี น
3.3) การกาหนดแผนการแกไ้ ขปญั หาวกิ ฤติซง่ึ เกี่ยวข้องกบั

3.3.1) การกาหนดความรับผิดชอบของทมี บรหิ ารในสภาวะวิกฤติ
3.3.2) การกาหนดการติดต่อประสานงานที่รวดเรว็ แก่ทมี ทางานแกว้ กิ ฤติ
3.3.3) การจดั ทาทะเบยี นรายช่ือบคุ ลากรท่ีไดร้ บั การอบรมในแตล่ ะด้าน
มาโดยเฉพาะ เชน่ การทา CPR, การปฐมพยาบาลเบอ้ื งต้น นักจติ วิทยา ฯลฯ
3.3.4) การกาหนดขั้นตอนและรายละเอียดในแต่ละสถานการณ์วิกฤติ
เชน่ เสน้ ทาง การหนภี ัย ฯลฯ
3.3.5) การกาหนดแบบฟอร์มจดหมายในการติดต่อประสานงาน
กับผ้ปู กครอง ในกรณีวิกฤติ
3.4) การทบทวนแผนงานการแกป้ ญั หาวกิ ฤติอยา่ งสมา่ เสมอ
3.5) การตรวจสอบอปุ กรณ์ฉุกเฉินใหพ้ ร้อมใช้งานได้ตลอดเวลา
2) ความสาคญั ของการเตรียมการป้องกัน
ระบบของการรับมือกับสถานการณ์วิกฤติที่ดีไม่ใช่เพียงแค่การจัดทาระบบในเชิง
รุกเท่านั้น แต่ควรมีจุดเน้นท่ีเน้นการปูองกัน สาหรับการเตรียมการปูองกันสามารถดาเนินการได้ใน
หลายระดับ ดังน้ี (Lichtenstein et al., 1994, 24)
1) การเตรียมการในระดับห้องเรียนท่ีจะรับมือกับสถานการณ์วิกฤติ คือ
การท่คี รสู ร้างความสัมพันธ์ท่ีดีและความไว้วางใจซ่ึงกันและกันกับนักเรียน การให้ข้อมูลที่ถูกต้องและ
เหมาะสม แก่นักเรียน การปรับหลักสูตรที่เน้นเนื้อหาที่จาเป็น การจัดการความเครียด รวมไปถึง
การส่งเสริม ความปลอดภัยให้กับนักเรียน ทั้งความปลอดภัยภายในโรงเรียน ภายนอกโรงเรียน และ
การให้ความรู้ เกี่ยวกับสุขอนามัยท่ีดี รวมทั้งการส่งเสริมความไว้วางใจและการสนับสนุนจากชุมชน
และผปู้ กครอง เพือ่ เตรยี มพรอ้ มกบั การรบั มอื ในสถานการณว์ กิ ฤติ
2) การเตรียมการระดับโรงเรียน คือจะต้องมีการเตรียมการบารุงรักษา
ระบบที่มีอยู่ อย่างต่อเนื่อง ทีมจัดการวิกฤติของโรงเรียนจะต้องทบทวนและปรับปรุงแผนการจัดการ
วิกฤติทุกปีและ มีการฝึกข้ันพ้ืนฐานในการรับมือกับสถานการณ์วิกฤติ เช่น การฝึกอบรมเบ้ืองต้น
การใช้เทคนิคในการให้คาปรึกษาแก่นักเรียนในภาวะวิกฤติ การเตรียมวิธีการประสานงานด้าน
การจัดการสุขภาพจิตกับชุมชน และหน่วยงานต่าง ๆ รวมทั้งการจัดระบบข้อมูลเพื่อให้แน่ใจว่ามี
การสารองข้อมูลที่เพยี งพอในการจัดการ อย่างทันท่วงทีในกรณที ี่เกิดภาวะวกิ ฤติ
3) การเตรยี มการระดบั เขตพื้นท่ี ซ่ึงจะต้องมีคณะกรรมการระดับพื้นที่และ
มีการจัดต้ัง ศูนย์ปูองกันและรับมือกับวิกฤติที่จะเกิดขึ้นกับโรงเรียนในระดับภูมิภาค ( Regional
School Crisis Prevention and Response Center) ที่มีความร่วมมือกันในการให้บริการประเภท
ต่าง ๆ รวมท้ัง เป็นแหล่งข้อมูลสาหรับการประสานงานกับศูนย์ภูมิภาคอื่น ๆ จะเห็นได้ว่า กลยุทธ์

17

โดยรวมในการรับมือกับสถานการณ์วิกฤติจะมีลักษณะท่ีมี ความสมดุลระหว่างการปูองกัน การ
แทรกแซง และปฏิกิริยาที่จะเกิดข้ึนในสถานการณ์วิกฤติ ดังนั้น สถานศึกษาและหน่วยงานท่ีมีหน้าที่
รับผิดชอบจะต้องเตรียมพร้อมสาหรับส่ิงที่ไม่คาดคิดที่อาจะเกิดข้ึน ซ่ึงเม่ือเกิดวิกฤติข้ึน หน่วยงาน
ทางการศึกษาก็จะพร้อมท่ีจะให้บริการผู้เรียนอย่างดีที่สุดโดยรับรู้และ ตอบสนองความต้องการทาง
จติ ใจของนักเรยี น ซงึ่ การเตรยี มความพร้อมในลักษณะนี้จะช่วยฟื้นฟู ความสามารถในการเรียนรู้และ
เพม่ิ พนู ทกั ษะการเผชิญปัญหาและพัฒนาการทางสังคมให้กบั ผู้เรยี นได้ เปน็ อยา่ งดี

นอกจากนี้ มีนักวิชาการหลายท่านที่เสนอแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการปรับตัว
ต่อสถานการณ์วกิ ฤตทิ เี่ กิดข้ึนเพื่อเตรยี มพร้อมสาหรับสง่ิ ท่ีไม่คาดคดิ ทีอ่ าจจะเกดิ ข้ึน ดังน้ี

Roy (อ้างถึงใน, Roy & Andrews, 1999,หน้า 25) กล่าวถึงการปรับตัวเป็น
กระบวนการและ ผลลัพธ์ท่บี คุ คลบรู ณาการการรับร้แู ละความรสู้ กึ เข้ากับสิ่งแวดล้อมให้กลมกลืน โดย
Roy ใช้แนวคิดจากทฤษฎรี ะบบมาอธบิ ายระบบการปรับตัวของบุคคลว่า บุคคลเป็นเหมือนระบบการ
ปรับตัวที่มีความเป็นองค์รวม (Holistic adaptive system) และเป็นระบบเปิด ประกอบด้วย สิ่ง
นาเขา้ (Input) กระบวนการ เผชญิ ปัญหา (Coping process) สง่ิ นาออก (Output) และกระบวนการ
ปูอนกลับ (Feedback process) แต่ละส่วนน้ีจะทางานสัมพันธ์กันเป็นหนึ่งเดียว โดยเม่ือสิ่งเร้าท่ีเกิด
จากการเปล่ยี นแปลงของส่งิ แวดล้อม ทงั้ ภายนอกและภายในผ่านเข้าสรู่ ะบบการปรับตัว จะกระตุ้นให้
บุคคลมีการปรับตัวตอบสนองต่อสิ่งเร้านั้น โดยใช้กระบวนการเผชิญปัญหา 2 กลไก คือ กลไกการ
ควบคมุ และกลไกการคดิ รู้ กลไกทง้ั สองน้ีจะทางานควบคกู่ นั เสมอ ส่งผลให้บุคคลแสดงพฤติกรรมการ
ปรับตัวออกมา 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย ด้านอัตมโนทัศน์ ด้านบทบาทหน้าท่ี และด้านการพ่ึงพา
ระหวา่ งกนั ผลลพั ธ์การปรบั ตัวมี 2 ลกั ษณะ คือ ปรับตัวได้ และ ปรับตัวไม่มีประสิทธิภาพ โดยสิ่ง
นาออกจากระบบน้ีจะปูอนกลับไปเป็นส่ิงนาเข้าระบบเพื่อการปรับตัวท่ี เหมาะสมต่อไป ท้ังน้ี
ความสามารถในการปรบั ตัวของแต่ละบุคคลจะแตกต่างกันโดยข้ึนอยู่กับความรุนแรง ของสิ่งเร้า และ
ระดับความสามารถในการปรับตัวของบุคคลในขณะน้ัน

Rogers (1972, หน้า 32) ผู้นาทฤษฎีวา่ ดว้ ยตน และทฤษฎกี ารให้คาปรึกษาแบบ
ผู้รับคาปรึกษา เป็นศูนย์กลาง เขาได้พิจารณาการปรับตัวในแง่ของการปรับตัวภายในตนเองโดยเขา
เชื่อว่ามนุษย์ทุกคน เป็นศูนย์กลางของประสบการณ์ต่าง ๆ รอบตัวซ่ึงเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา
ส่วนหนึ่งของประสบการณ์ ท่ีบุคคลได้รับรู้และมีการปฏิสัมพันธ์กับผู้อ่ืน รวมท้ังการประเมินผลจาก
การมีปฏิสัมพันธ์นั้นก่อให้เกิดตัวเรา (Self) หรือ “โครงสร้างของตน” ข้ึนมาเป็นการรับรู้เก่ียวกับตน
ในดา้ นต่าง ๆ เชน่ บุคลกิ ลักษณะ ความสามารถของตน บทบาทตา่ งๆ ของตนในการเกี่ยวข้องกับผู้อื่น
และส่ิงแวดล้อม ทัศนคติและค่านิยมต่าง ๆ ของตัวเรา ประสบการณ์ที่แต่ละบุคคลได้รับจึงมีส่วน
สาคญั ในการกาหนดบุคลิกภาพของบคุ คล ใหแ้ ตกต่างกัน โดยท่ีแต่ละคนจะเข้าใจและรู้จักโลกส่วนตัว
ของเขาได้ดีที่สุด บุคคลท่ีปรับตัวได้ คือ บุคคล ที่เป็นตัวของตัวเอง เข้าใจและยอมรับตนเอง และ
ผู้อ่ืนรวมทั้งสามารถรับรู้ประสบการณ์ต่าง ๆ ตามความเป็นจริง นาประสบการณ์น้ันมาจัดให้
สอดคล้องกับโครงสร้างหรือบุคลิกลักษณะของตนอย่างไม่ขัดแย้งหรือบิดเบือน มีการรับรู้และ
ความคิดเก่ียวกับตนเองในทางบวก ส่วนบุคคลท่ีปรับตัวไม่ได้ จะมีความขัดแย้งระหว่าง ความคิด
เก่ียวกับตนกับประสบการณ์ที่เกิดขึ้นมาใหม่อย่างมาก ทาให้เกิดความตึงเครียด วิตกกังวล สับสน ไม่
แน่ใจ สูญเสียความเป็นตัวของตวั เองและมคี วามคิดเห็นเก่ยี วกบั ตนจะเปน็ ไปในทางลบ

18

Havighurst (1953, หน้า 56) มองการปรับตัวในแง่ของการเรียนรู้งานตาม
พฒั นาการของชีวิตเขา มีความเห็นว่า พัฒนาการของชีวิตในแต่ละวัยนั้น แต่ละบุคคลมีงานประจาวัย
ท่ีต้องเรียนรู้ควบคู่กันไปถ้าบุคคลสามารถพัฒนางานประจาวันได้สาเร็จก็จะเป็นบุ คคลที่มีความสุข
และสามารถพัฒนางานประจาวัย ในขั้นต่อไปได้สาเร็จด้วย ในทางตรงกันข้ามงานในช่วงวัยใดไม่
ประสบผลสาเร็จจะทาให้บุคคลนั้นไม่มี ความสุข และพัฒนางานประจาวัยในช่วงต่อไปได้ยากลาบาก
ดังน้ันบุคคลท่ีมีการปรับตัวได้ในทัศนะของ Havighurst จึงหมายถึง บุคคลท่ีประสบความสาเร็จใน
การเรียนร้แู ละพัฒนางานประจาให้ผ่านพน้ ได้ดว้ ยดี

Williamson (1950, หน้า 45) ผู้นาทฤษฎีการให้คาปรึกษาแบบนาทางมีความ
เช่ือว่ามนุษย์ มี สติปัญญาและเหตุผล ตลอดจนมีแนวโน้มที่จะพัฒนาตนเองได้ แต่การท่ีจะพัฒนาได้
นน้ั ต้องอาศัยความชว่ ยเหลือจากผู้อ่ืน โดยเฉพาะสังคมท่ีแวดล้อมเขาอยู่ การท่ีบุคคลมีปฏิสัมพันธ์กับ
บคุ คลอ่นื ในสังคมจะทาให้เขามองเหน็ และรู้จักตนเองในด้านตา่ ง ๆ เช่น ความรู้ ความสามารถ ความ
สนใจ คา่ นยิ มและ ทศั นคติความต้องการและเปาู หมายที่เขาเลือก ในขณะเดียวกันก็ได้เรียนรู้จากผู้อ่ืน
ได้รับรู้ประสบการณ์ สังคมในด้านต่าง ๆ เช่น ค่านิยมทางสังคม มาตรฐานและข้อจ ากัดทางสังคม
ปัญหาต่าง ๆ ในสังคม ตลอดจนวิธีการที่จะจัดการแก้ไขท้ังทางตรงและทางอ้อม จากความเช่ือ
ดงั กลา่ ว Williamson จึงสรปุ ว่า บคุ คลสามารถปรบั ตวั ได้ถ้ามคี วามรคู้ วามเข้าใจในตนเองรวมท้ังการ
รจู้ กั และการเขา้ ใจสงั คม

3) แนวคิด/ข้อเสนอแนะของนักวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการสอนใน
ภาวะวกิ ฤต

มีนักวชิ าการไดใ้ หข้ อ้ เสนอแนะทเี่ กี่ยวขอ้ งไว้หลากหลายประเด็น สรปุ ได้ดงั นี้
นักวิจัยจากสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) ภูษิมา ภิญโญ
สินวัฒน์ (2563, หน้า 78) ได้ให้ ข้อเสนอแนะ / แนวทางการดาเนินการ “การจัดการเรียนการสอน
อย่างไรในสถานการณ์โควิด-19 จากบทเรียนต่างประเทศสู่การจัดการเรียนรู้ของไทย” สรุปใจความ
สาคัญ ดังนี้ กระชับหลักสูตร เพิ่มความยืดหยุ่นของโครงสร้างเวลาเรียน ปรับรูปแบบการเรียนรู้ท่ี
หลากหลาย และยกระดับการประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับสถานการณ์โควิด - 19
และสื่อสาร ให้ผู้เก่ียวข้องทุกภาคส่วนรับรู้ โดยดาเนินการปรับหลักสูตรให้กระชับควบคู่ไปกับ
จัดลาดบั ความสาคัญของ เน้ือหา ผอ่ นคลายตวั ชีว้ ัดและโครงสรา้ งเวลาเรยี น มกี ารออกแบบหน่วยการ
เรยี นรู้ และแผนการจดั การเรยี นรู้ ทเี่ หมาะสม มกี ารประเมนิ เพ่อื พัฒนาการเรียนรู้ เพ่ิมความชัดเจน
ในการสื่อสารแกค่ รูและผู้ปกครองเกย่ี วกบั เน้อื หาท่ีจาเป็นของแต่ละช่วงวัย มีการจัดทาคู่มือหลักสูตร
ฉบับย่อสาหรับผู้ปกครอง เปิดโอกาสให้ครูมีอิสระ ในการจัดการเรียนรู้ ตามความเหมาะสม
ศึกษานิเทศก์ทาหน้าที่เป็นโค้ชให้แก่ครู โดยให้คาแนะนา การจัดการเรียนรู้ท่ีเหมาะกับบริบทและ
สถานการณ์ของพืน้ ท่ี ตลอดจนโรงเรยี นตอ้ งให้ความรู้แก่นักเรยี น ในการปอู งกันตนเองจากโรคระบาด
ซึ่งองค์กรอนามัยโลกได้จัดทาคู่มือไว้แล้ว นอกจากนี้ ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชน และภาคประชา
สังคม ที่มีความเช่ียวชาญด้านระบบการเรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ เข้ามามีส่วนร่วมพัฒนาการจัดการ
เรียนรู้ รวมถึงส่งเสริมสนับสนุนเคร่ืองมือและเทคโนโลยี ท่ีทันสมัย หลากหลาย เหมาะสม และตอบ
โจทยค์ วามต้องการของผู้เรียนยุคใหม่

19

นักวิชาการจาก EDUCA กชกร มั่นคงเจริญกิจ (2562) ได้นาเสนอบทความหัวข้อ
“ครูผู้สร้าง การเรียนรู้ในสถานการณ์แห่งชีวิต” สามารถสรุปใจความสาคัญได้ดังน้ี จากสถานการณ์
การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และสถานการณ์ต่าง ๆ ท่ีอาจเกิดข้ึนใน
อนาคต นาไปสูค่ าถามสาคญั ทีว่ า่ “ครูจะสามารถจดั การเรียนรู้เพ่ือเตรียมความพร้อมในการ รับมือใน
สถานการณ์ฉุกเฉินหรือส่งผลต่อความปลอดภัยของชีวิตได้อย่างไร” โดยการปรับเน้ือหาและ ต้ัง
คาถามเกี่ยวกับบทเรียนใหม่เพื่อสร้างความตระหนักต่อสถานการณ์ต่าง ๆ ออกแบบกิจกรรมการ
เรียนรู้ เพ่ือให้นักเรียนสามารถใช้ทักษะชีวิตได้อย่างเช่ียวชาญในสถานการณ์ที่เหมาะสม ยกตัวอย่าง
เชน่ ในรายวิชากิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน ครูฝกึ ฝนให้ผู้เรียนมีทักษะในการเอาตัวรอด การปฐมพยาบาล
การอ่านแผนที่ การผูกเงื่อน ฯลฯ สร้างการเรียนรู้เพื่อแก้ไขปัญหาและปูองกันผลกระทบที่จะเกิดกับ
ผู้เรียนในสถานการณ์ ต่าง ๆ มีการมอบหมายเจ้าหน้าท่ี/ทีมงานเพื่อสนับสนุนวิชาการ จัดการเรียน
การสอนในรายวิชาทวั่ ไป เพื่อใหน้ ักเรียนในพื้นท่ีดังกล่าวสามารถติดตามบทเรียนได้เม่ือสถานการณ์ดี
ข้ึน และเจ้าหน้าท่ี/ทีมสนับสนุน เฉพาะหน้า (Smart Support Team) เพ่ือจัดการเรียนรู้ผ่าน
กิจกรรมเกี่ยวกับการจัดการตนเองเมื่อเกิดสถานการณ์ต่าง ๆ รวมท้ังจัดกิจกรรมการปรึกษาเพ่ือปรับ
สภาพจิตใจของนกั เรียนในภาวะวิกฤตต่าง ๆ

นักวิเคราะห์การศึกษา ของสภาเศรษฐกิจโลก (World Economic Forum: WEF)
(2563) ไดเ้ สนอแนะแนวทางแห่งอนาคตเพ่อื เปล่ยี นวธิ ีให้การศึกษาแกค่ นรนุ่ ใหม่ สรปุ สาระดังน้ี

1) การให้ความรู้ แก่พลเมืองโลกท่ีเชื่อมโยงถึงกันเป็นเร่ืองสาคัญของโลกในทศวรรษ
โดยเช่ือมโยงความแตกตา่ ง กา้ วขา้ ม ขอบเขตทมี่ แี ตเ่ ดมิ ให้เข้าใจและสรา้ งความร่วมมือกันได้

2) นิยามบทบาทใหม่ของครูผู้สอน/นักการศึกษาให้ ชัดเจน โดยทบทวนและเปลี่ยน
บทบาทของครูผู้สอน/นักการศึกษาท่ีเหมาะสมกับรูปแบบการเรียนรู้ในศตรวรรษท่ี 21 ซึ่งการเรียนรู้
ผ่านช่องทางออนไลน์ต่างๆ ครูจาเป็นต้องเปล่ียนจากการบรรยายให้ความรู้ เป็นผู้สนับสนุนให้เกิด
การเรยี นรู้ เพอื่ พฒั นาผเู้ รยี นใหเ้ ป็นคนรนุ่ ใหม่ท่ีมีคณุ ภาพ

3) สอนทักษะชีวิตสาหรับ อนาคต นั่นคือ ความคิดสร้างสรรค์ การสื่อสาร และ
ความสามารถในการท างานร่วมกับผู้อ่ืน การสร้างความฉลาดทางอารมณ์ การทางานได้หลากหลาย
และทักษะในการสร้างเอกภาพของทีม

4) ปลดลอ็ ก เทคโนโลยี โดยการแสวงหาส่งิ ใหม่ ๆ ทแี่ ตกต่างจากรูปแบบเดมิ ที่ยืดหยนุ่
ตอ่ การเขา้ ถึงความรขู้ องผเู้ รียนทั่วโลก สร้างกระบวนการเรยี นการสอนใหม่ ๆ ทไ่ี ม่เคยมมี าก่อน
ตง้ั แตร่ ะดับปฐมวัยจนถงึ ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 โรงเรียนเปน็ สถานที่
อันดบั แรกทีถ่ ูกประกาศปิด สง่ ผลใหน้ ักเรียนและครูต้องปรบั วิธกี ารเรยี นเปลีย่ นวิธกี ารสอนรูปแบบ
ใหม่ โดยแนวทาง การเรยี นการสอนในรูปแบบใหมต่ ้องใช้ระบบเทคโนโลยีเขา้ มาชว่ ยอานวยความ
สะดวกการจดั การเรียน การสอนในรูปแบบออนไลน์ ระบบเทคโนโลยีจงึ กลายเปน็ เครอ่ื งมือสาคัญท่ี
ระบบการศกึ ษาในหลายประเทศนามาใชใ้ นสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคเชอ้ื ไวรัสโคโรนา
2019 ประเทศไทยเองก็นาวธิ กี ารเรียน การสอนออนไลนม์ าใช้เพือ่ ให้โรงเรียนตา่ ง ๆ สามารถ
ดาเนนิ การจัดการเรียนการสอนตามหลกั สูตรที่กระทรวงศึกษาธิการได้วางไว้

20

2.2 นโยบายและแนวทางการจัดการเรียนรู้ของต่างประเทศในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (Covid-19)

1) นโยบายและแนวทางการจัดการเรียนรู้ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติด
เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 ในประเทศแคนาดา

เมื่อประสบกับการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ในประเทศ
แคนาดา มีระยะเริ่มแรกของการแพร่ระบาดรัฐบาลของแคนาดา ในแต่ละมณฑลมีการสั่งปิดโรงเรียน
เพื่อปูองกันการแพร่ระบาดของเช้ือไวรัส ซึ่งในระยะต่อมาได้มีการวางระบบโดยใช้การศึกษาทางไกล
ผา่ นอินเทอรเ์ นต็ ไม่ว่าจะเป็นการอบรมสมั มนาผ่านเวบ็ การจัดทาวิดโี อการสอน การจัดประสบการณ์
การเรยี นรแู้ บบออนไลน์ รวมทั้งการสนับสนุนทรัพยากรการศึกษาแบบให้เปล่ากับครู ผู้ปกครองและ
นักเรียน ในขณะเดียวกัน นักการศึกษาช้ันนาจากท่ัวโลก มีการแชร์บล็อคและการเผยแพร่บทความ
ในประเด็นท่ีน่าสนใจทั้งในสื่อสังคมออนไลน์ เช่น Facebook หรือส่ือสังคมอื่น ๆ เพื่อเป็นการ
แลกเปล่ียนประสบการณ์ รวมท้ังแลกเปลี่ยนความสาเร็จผ่านการเรียนรู้ในรูปแบบทางไกลอย่าง
หลากหลายวธิ ี (Osmond-Johnson, Campbell & pollock, 2020)

ในขณะท่ี People for Education (2020) ได้สารวจระบบการศึกษาของแคนาดาที่
ตอบสนองการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 โดยได้เปรียบเทียบนโยบายและวิธีจัด
การศึกษา และความคาดหวังในการจัดการเรียนรู้ (Learning expectations) ระหว่างเกิดการแพร่
ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 แตล่ ะมณฑล ปรากฏดงั ตาราง 1

ตาราง 1 นโยบายและวิธกี ารจดั การศกึ ษา และความคาดหวงั ในการจัดการเรียนรู้ของมณฑลของ

ประเทศแคนาดา

มณฑล นโยบายและการจัดการศึกษา ความคาดหวังในการจัดการเรยี นรู้

(Educational policy / (Learning expectations)

approaches)

British Columbia นกั เรียนสามารถเลือกลักษณะการเขา้ ครดู าเนินการจดั การเรียนรู้ และ

เรียนในลักษณะบางเวลา (part time การมสี ่วนร่วมของผปู้ กครองหรอื

basis) หรอื ไม่ โดยเรม่ิ ในระยะท่ี 3 ของ ผดู้ ูแลเด็กจะขน้ึ อยู่กบั อายุและ

แผนงานการกลับเข้าหอ้ งเรียน ความสารมารถของเดก็ และเวลาที่

ผู้ปกครองหรือผดู้ ูแลเด็กจะสามารถ

เขา้ มามีส่วนร่วมกับโรงเรียน

Alberta โรงเรยี นถูกสัง่ ปดิ ทาการตลอดการศึกษา - K-3: เรยี น 5 ชั่วโมงต่อสัปดาห์

ซึ่งกลับมาเปิดเรียนอีกครง้ั ในปีการศึกษา - Gr. 4-6: เรียน 5 ช่วั โมงตอ่
2020 สปั ดาห์

- Gr. 7-9: เรยี น 10 ช่ัวโมงตอ่

สัปดาห์

- Gr. 10-12: เรยี น 3 ชั่วโมงตอ่

21

มณฑล นโยบายและการจดั การศึกษา ความคาดหวังในการจัดการเรียนรู้
Saskatchewan
Manitoba (Educational policy / (Learning expectations)

Ontario approaches)
Quebec
สปั ดาห์ ตอ่ 1 ภาคการศกึ ษา

โรงเรียนถกู ส่งั ปดิ ทาการตลอดการศึกษา - การจดั การเรยี นรู้ขึ้นอยกู่ บั การ

โดยโรงเรยี นเปิดทาการอีกครั้ง สาหรบั ตัดสนิ ใจของโรงเรียนรวมทงั้ การ

นักเรียนระดบั ปฐมวยั ถึงมธั ยมตอนต้น ติดต่อสือ่ สารกบั ผปู้ กครอง

โดยจดั เป็นการเรียนรรู้ ายบคุ คล - กระทรวงศึกษาธิการร่วมทางาน

กบั โรงเรยี นและครูในการจดั

โครงการตามหลักสตู รการสอน

เสริมผา่ นวิธกี ารเรยี นทางไกล

- การเรยี นรู้ในห้องเรียนถูกยกเลิกจนถงึ - K-4: เรียน 5 ชวั่ โมงตอ่ สปั ดาห์

ส้นิ ปกี ารศึกษา โรงเรยี นจะเปิดให้สาหรับ - Gr. 5-8: เรยี น 10 ชว่ั โมงตอ่ สัปดาห์

บคุ ลากรและหลักสูตรพเิ ศษเทา่ น้นั - Gr. 9-12: เรียน 3 ชัว่ โมงต่อ

- ครแู ละนักเรยี นอาจจะพบปะกันไดใ้ น สัปดาห์ตอ่ หนงึ่ ภาคการศึกษา

ลักษณะกลุ่มเล็ก ๆ หรอื พบในลักษณะตัว

ตอ่ ตวั เพ่ือการประเมนิ ผลการเรียนของ

นกั เรียน รวมทงั้ โรงเรยี นไดส้ นับสนนุ

คลนิ กิ ให้คาปรึกษา

- โรงเรียนยังคงถกู สั่งให้ปดิ ทาการตลอดปี - K-3: เรยี น 5 ช่วั โมงตอ่ สปั ดาห์

การศกึ ษาที่เหลืออยู่ - Gr. 4-6: เรียน 5 ชั่วโมงตอ่

- มีแผนในการเปดิ เรียนอีกคร้ังในช่วงภาค สัปดาห์
ฤดใู บไม้รว่ ง ซ่ึงจะประกาศเปิดโรงเรยี น - Gr. 7-9: เรียน 10 ชั่วโมงตอ่
ก่อนส้นิ ปีการศกึ ษาน้ี
สัปดาห์

- Gr. 10-12: เรยี น 3 ช่วั โมงตอ่

สปั ดาห์ ตอ่ 1 ภาคการศึกษา

- โรงเรียนประถมศึกษาบางแห่งจะ - การเปดิ โรงเรยี น (L'Ecole

กลบั มาเปิดอกี ครงั้ ในวันท่ี 11 พฤษภาคม Ouverte /The Open School)

ยกเวน้ ในเขต GreaterMontreal area เปน็ การใหท้ างเลอื ก

- โรงเรียนมธั ยมและขนั้ เตรยี ม - การใช้เครือ่ งมือในการเรียนแบบ

มหาวทิ ยาลยั หรือวฒุ ิบตั รวิชาชีพ ทางไกลจะขึ้นอยู่กับการตัดสินใจ

(CEGEPs – ซง่ึ มีเฉพาะในมณฑล ของผูป้ กครองและนักเรียน

Quebec) จะปิดจนถึงฤดูใบไมร้ ว่ ง - มีการใช้ Tele-Quebec ซึง่ เปิด

- การกลับมาเข้าเรยี นของนักเรียนระดบั ทาการจัดการเรยี นรแู้ บบออนไลน์

ประถมศกึ ษาจะเป็นทางเลือกให้กบั ทางโทรทัศน์ โดยมเี น้ือหาการสอน

22

มณฑล นโยบายและการจัดการศกึ ษา ความคาดหวังในการจดั การเรยี นรู้

New Brunswick (Educational policy / (Learning expectations)

Prince Edward approaches)
Island
ผปู้ กครองในการตัดสินใจวา่ จะให้นักเรยี น ทัง้ ในระดับปฐมวัย ระดบั

เรียนท่ีบา้ นหรือจะสง่ นักเรียนมาที่ ประถมศกึ ษา และระดบั

โรงเรียนตลอดทโี่ รงเรียนส่งั ปิดทาการ มัธยมศึกษา รวมทง้ั เนื้อหาสาหรบั

- ในวนั ที่ 1 กรกฎาคม 2020 นักเรยี น ผปู้ กครองด้วยเช่นกัน

ระดบั

มัธยมศกึ ษาบางคนอาจเขา้ เรียนในชัน้

เรยี นภาคฤดูร้อนเปน็ การสว่ นบคุ คล หรือ

อาสาสมคั ร หรือตามคาแนะนาของครู

- โรงเรียนปิดทาการจนถงึ อย่างนอ้ ยเดือน - K-2: เรยี น 5 ชวั่ โมงต่อสปั ดาห์

กนั ยายน - Gr. 3-5: เรยี น 5 ชว่ั โมงต่อ

- ครูจะกลบั มาทาการสอนในวนั ท่ี 1 สัปดาห์

มิถุนายน และวนั ท่ี 5 มิถนุ ายน เพือ่ ทา - Gr. 6-8: เรียน 10 ชวั่ โมงต่อ

การสรปุ งานของปีการศกึ ษา 2020 และ สัปดาห์

วางแผนสาหรบั ภาคฤดใู บไม้ร่วง - G. 9-10: เรยี น 12.5 ชวั่ โมงต่อ

- นกั เรียนจะปดิ การเรียนการสอนจนถงึ สปั ดาห์

หลังการเรียนภาคฤดรู ้อน - G. 11-12: เรียน 12.5 ชั่วโมงต่อ

- การจดั การเรยี นร้สู าหรบั เด็กปฐมวัย สปั ดาห์

และการอานวยความสะดวกสาหรับการ

ดแู ลเด็กจะเปิดประมาณวนั ที่ 19

พฤษภาคม และส่งเอกสารแนวทางการ

ดูแลเด็กไปยังผปู้ กครองทีบ่ ้าน

- โรงเรยี นยังคงถูกสั่งให้ปิดทาการตลอด ประถมศกึ ษา: 60 นาทีต่อวัน

ปกี ารศึกษา มัธยมศกึ ษาตอนตน้ : 90 นาทตี อ่ วนั

- โรงเรียนบางแห่งเปิดทาการใหก้ บั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย: 2 ช่ัวโมงตอ่
นักเรยี นซึ่งจะไดร้ ับการดแู ลจาก สัปดาหต์ อ่ ภาคการศึกษา
ศนู ย์บริการนกั เรยี น (Student หมายเหต:ุ ที่ปรึกษาและ
Services) นกั จติ วทิ ยาของโรงเรียนจะ
ใหบ้ รกิ าร ให้คาปรึกษากบั นักเรยี น

ท่ตี อ้ งการความชว่ ยเหลอื รวมทงั้

โรงเรียนได้ริเร่ิมจัดโครงการ

ช่วยเหลอื ครอบครวั ของนกั เรยี นท่ี

ประสบกับปญั หาการขาดแคลน

อาหารด้วย

23

มณฑล นโยบายและการจัดการศึกษา ความคาดหวังในการจดั การเรยี นรู้
Nova Scotia (Educational policy / (Learning expectations)
Newfoundland approaches)
& Labrador - K- Gr. 6: เรียน 5 ชัว่ โมงต่อสัปดาห์
Yukon -โรงเรยี นรัฐบาลในปกี ารศึกษา - Gr. 7-9: เรียน 10 ชั่วโมงต่อสปั ดาห์
2019/2020 จะปดิ ทาการในวันท่ี 5 - Gr. 10-12: เรียน 3 ชั่วโมงตอ่
Northwest มถิ นุ ายน 2020 สปั ดาหต์ อ่ ภาคการศกึ ษา
Territories - โรงเรียนปดิ ทาการอยา่ งไม่มีกาหนด - แผนการจดั การศึกษาและการ
- แผนการเปิดโรงเรยี นยงั ไม่ได้ถกู กาหนด เรยี นการสอนจะเปลี่ยนเป็นการ
ในแนวทางการจัดการศึกษาของมณฑล สอนแบบออนไลน์ และครูจะใช้การ
สอนโดยผา่ น Google Classroom
- โรงเรียนปดิ ทาการตลอดปีการศกึ ษา และ Google Meet
ทเี่ หลอื โดยจะปฏบิ ตั ติ ามแนวทาง "A - แตล่ ะโรงเรยี นจะมีแผนการ
Path Forward: Yukon's plan for จดั การเรียนรทู้ ี่บ้าน (at-home
lifting COVID-19 restrictions" ของ learning plans) โดยพิจารณาจาก
มณฑล บรบิ ททีเ่ ป็นเอกลักษณ์ของแต่ละ
ชุมชนท่โี ณงเรยี นต้ังอยู่
- โรงเรียนปิดทาการตลอดปีการศึกษาที่ - การจดั การเรยี นรู้ทบี่ ้าน (at
เหลอื โดยจะปฏิบัตติ ามแนวทาง ระยะท่ี home learning) มวี ธิ กี ารเรยี นรู้
1 Emerging Wisely: Path to Eased อย่างหลากหลาย เช่น การเรียนรู้
Public Health Restrictions ของ แบบดิจิทลั และออนไลน์ (digital
มณฑล and online learning) การเรยี นรู้
โดยใช้กระดาษเป็นหลกั หรอื
โทรศพั ท์เป็นหลัก(phone or
paper-based learning)
หรือทางเลือกอนื่ ๆ
- K-6: เรยี น 5 ชวั่ โมงต่อสปั ดาห์
- Grades 7-9: เรียน 10 ชวั่ โมงต่อ
สปั ดาห์
- Grades 10-12: เรียน 3 ชว่ั โมง
ตอ่ สัปดาห์ต่อภาคการศึกษา
- หนว่ ยงานทางการศึกษาแต่ละ
หน่วยงานและโรงเรียนจะช่วยกัน
พัฒนาแผนงานที่ตอบสนองต่อ
ความตอ้ งการของชมุ ชน
- K-3: เรียน 3 ชว่ั โมงต่อสปั ดาห์

24

มณฑล นโยบายและการจดั การศึกษา ความคาดหวังในการจัดการเรียนรู้
Nunavut (Educational policy / (Learning expectations)
approaches)
- Grades 4-6: เรยี น 5 ชัว่ โมงตอ่
- โรงเรียนปิดทาการตลอดปีการศกึ ษาท่ี สัปดาห์
เหลือ โดยจะปฏบิ ตั ติ าม “Nunavut’s - Grades 7-9: เรยี น 7 ช่ัวโมงต่อ
Path: moving forward during สัปดาห์
COVID-19” ของมณฑล - Grades 10-12: เรียน 3 ช่วั โมง
ตอ่ สัปดาห์ต่อภาคการศกึ ษา
- สาหรับครอบครวั นักเรียนที่ไมม่ ี
อินเทอรเ์ นต็ สามารถทางานผ่าน
ใบงานและการสนับสนนุ อนื่ ๆ
ตามท่ีสามารถทาได้
- ครูจะพัฒนาการเรียนรแู้ บบ
สาเร็จรปู ใหน้ ักเรียนสามารถเรียนที่
บ้าน ซงึ่ การเรยี นรแู้ บบสาเร็จรูป
อาจแตกต่างกนั สาหรับนักเรยี นแต่
ละคน ซึง่ อาจเปน็ ใบงาน
ใบกจิ กรรมทเ่ี ป็นชิ้นงานหรือใบงาน
ทีผ่ ่านอิเล็คทรอนิกส์

จะเห็นได้ว่าการจัดการเรียนรู้ตามระบบการศึกษาของประเทศแคนาดาระหว่าง
เกิดการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จะมีนโยบายและวิธีการจัดการศึกษา และ
ความคาดหวัง ในการจดั การเรยี นรู้ของแต่ละมณฑลที่อาจเหมือนกันหรือแตกต่างกันในบางประเด็น
ทัง้ นข้ี ึน้ อยู่กับการตดั สินใจของมณฑล ถึงแม้ว่านโยบายและวิธีจัดการศึกษาจะแตกต่างกัน แต่ส่ิงหนึ่ง
ที่เหมือนกัน คือ เจตนารมณ์ที่ให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ในสถานการณ์วิกฤติ และโรงเรียนจะมี
โครงการใหค้ วามช่วยเหลอื ผูป้ กครองในการเกิดปัญหาในการดารงชวี ติ

2) นโยบายและแนวทางการจัดการเรียนรู้ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติด
เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 ในประเทศฟินแลนด์

ในระหว่างการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 เป็นส่ิงท่ีสาคัญและ
จาเป็นมากสาหรับรัฐบาลประเทศฟินแลนด์ ที่จะต้องมุ่งเน้นที่การปูองกันการติดเชื้อและการ
แพร่กระจายของเช้ือไวรัส Finnish National Agency for Education (2020) ได้กล่าวว่า รัฐบาล
ฟินแลนด์ได้ตัดสินใจท่ีจะดาเนินการแก้ไขปัญหาสถานการณ์การจัดการศึกษาจากการประเมินของ
หน่วยงานด้านสุขภาพ ซ่ึงการตัดสินใจ ได้ถูกยกระดับการแก้ไขปัญหาตั้งแต่ปลายเดือนเมษายน โดย
เร่ิมดาเนินการในระดับปฐมวัย และในระดับประถมศึกษา ต่อมาเม่ือต้นเดือนพฤษภาคม จึงยกระดับ

25

การแก้ไขปัญหาในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย ระ ดับอาชีวศึกษา
สถาบันอุดมศกึ ษา และการศกึ ษาแบบเสรี

ส่วนหนึ่งของการแก้ไขปัญหา คือ รัฐบาลประเทศฟินแลนด์ได้ให้คาแนะนาแก่
โรงเรยี น ในการจัดการศึกษาทางไกลจนกว่าจะสิน้ สุดภาคการศกึ ษา รวมท้งั คาแนะนาสาหรับโรงเรียน
เก่ียวกับวิธีการทางานโดยคานึงถึงความปลอดภัยเป็นสาคัญ แม้ว่าในขณะน้ันยังมีโรงเรียนบางแห่งที่
ยังคงเปิดสอนอยู่ และจากการแถลงข่าวของรัฐบาลที่ระบุว่า ประสบการณ์ที่เกิดขึ้นทั้งในระดับ
นานาชาติและระดับประเทศ แสดงให้เห็นว่า การเผยแพร่การติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในกลุ่มเด็ก
ด้วยกันจะไม่รุนแรงเท่าระดับผู้ใหญ่ และเด็กไม่ใช่แหล่งท่ีมาของการติดเช้ือ จากข้อมูลดังกล่าว
โรงเรยี นยงั คงเปดิ เรยี นโดยยึดความปลอดภยั สาหรบั เด็กและบคุ ลากรของโรงเรียนเปน็ สาคัญ และไม่มี
เหตุผลท่ีจะบังคับใช้พระราชบัญญัติการใช้อานาจฉุกเฉินที่เก่ียวข้องกับการศึกษาในระยะนั้น ดังน้ัน
การจัดการศึกษาระดับปฐมวัย รวมถึงระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้น ยังคงมีการจัดการ
เรียนการสอนอย่างต่อเน่ือง ในลักษณะที่ควบคุมและค่อยเป็นค่อยไปอย่างไรก็ตาม รัฐบาลแนะนาว่า
ในระดับมหาวิทยาลัย โรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย สถาบันฝึกอบรมวิชาชีพ การศึกษาผู้ใหญ่และ
สถาบนั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐานสาหรบั ผู้ใหญ่ ยังคงเปิดสอนต่อไปได้จนกว่าจะสิ้นสุดภาคการศึกษา และ
โรงเรยี นสามารถตัดสนิ ใจดว้ ยตนเองในการจดั การเรียนการสอนตามความเหมาะสม

การจัดการเรียนการสอนและแนวทางในการสนับสนนุ การจัดการศึกษาของโรงเรียน
กระทรวงการศึกษาและวัฒนธรรม และสถาบันเพื่อสุขภาพและสวัสดิการของ
ประเทศฟินแลนด์ไดท้ าความเขา้ ใจและใหค้ าแนะนาสาหรับผู้ให้บรกิ ารการศึกษา โดยระบุว่า นักเรียน
ในทกุ ระดับรวมถึงบุคลากรในโรงเรียนไมค่ วรจะไปโรงเรียนหากมีอาการที่แสดงถึงความเป็นไปได้ที่จะ
เจ็บปุวย รวมทั้งคาแนะนาเพ่ิมเติมที่เก่ียวข้องกับการหลีกเส่ียงการสัมผัสทางกายท่ีไม่จาเป็น การจัด
สถานที่สอนให้กว้างขวางกว่าปกติ เวลาหยุดพักของนักเรียนและม้ืออาหารของโรงเรียนจะต้องจัดให้
ภายในบริเวณห้องเรียนหรือกลุ่มของนักเรียนเอง บุคลากรจะถูกจัดให้สอนเฉพาะกลุ่ม ไม่มีการสอน
ข้ามกลุ่ม รวมทั้งจะต้องมีข้อปฏิบัติและแนวทางด้านสุขอนามัยอย่างเคร่งครัด ซึ่งโรงเรียนแต่ละแห่ง
สามารถตดั สินใจในการจัดการท่เี ปน็ กรณีพิเศษนอกเหนือจากน้ีด้วยตนเอง
นอกจากนี้ หน่วยงานเพื่อการศึกษาแห่งชาติของฟินแลนด์ (EDUFI) ได้ออกแนวทาง
ปฏบิ ัติสาหรับการเรียนไปจนถึงส้นิ สุดภาคเรยี นและสาหรบั ในภาคเรยี นถดั ไปหากสถานการณ์ยังคงอยู่
ซ่งึ แนวทางปฏิบตั ิของ EDUF จะเป็นส่วนที่เกยี่ วข้องกับการประเมินนักเรียน การสนับสนุนการเรียนรู้
และบริการสวัสดิการนักเรียน รวมทั้งมีการให้คาแนะนาเกี่ยวกับวิธีจัดการกับสถานการณ์ที่นักเรียน
ขาดเรยี น นอกจากนี้ ยงั มแี นวปฏิบัตเิ พิ่มเตมิ สาหรับการมาเรียนของนกั เรียน ดงั นี้
1) การหลกี เลีย่ งการสมั ผัสทางร่างกาย
โรงเรียนได้กาหนดให้มีการหลีกเสี่ยงการสัมผัสทางกาย ซ่ึงหมายความว่าไม่ควรจัด
กิจกรรมใหญ่ที่มีคนร่วมกิจกรรมจานวนมาก และนอกเหนือจากเด็กและบุคลากรครูแล้ว ห้ามมิให้
บคุ คลภายนอกเขา้ มาใช้สถานท่ภี ายในโรงเรียนและศูนย์การศึกษาปฐมวัยและพ้ืนที่โดยรอบ ซึ่งแต่ละ
โรงเรียนจะกาหนดแนวทางปฏิบัติที่เหมาะสมกับสถานการณ์ของตนเองและมีการให้คาแนะนาแก่
ผ้ปู กครอง

26

2) การปฏบิ ตั กิ ิจกรรมในพ้ืนทีท่ มี่ บี ริเวณกว้างขวาง
ครูและบุคลากรควรจัดพื้นที่ในการทากิจกรรมกับนักเรียนระดับปฐมวัย และระดับ
ประถมศึกษา โดยให้จัดพ้ืนที่ท่ีมีบริเวณระยะห่างเพียงพอและกว้างขวางเพ่ือปูองกันการสัมผัสและ
การตดิ เชอ้ื ได้โดยง่าย และไมค่ วรมกี ารเปลย่ี นกลุ่มในการจัดการเรยี นการสอน ควรทางานกับกลุ่มเดิม
ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและในวิชาเลือก หากมีความจาเป็นที่จะต้องจัดการเรียนการสอนเป็น
กลมุ่ ครูจะต้องจดั ระยะห่างใหม้ ากพอกับบริเวณทมี่ ีความกว้างขวางมาก
3) กรณีทเ่ี ด็กปวุ ยจะถูกหา้ มไมใ่ ห้ไปโรงเรียนและได้รบั การตรวจสอบจากเจ้าหน้าที่ท่ี
เกี่ยวขอ้ ง
ในกรณที ่ีมีนกั เรียนหรอื บุคลากรของโรงเรียนเจ็บปุวยจะต้องถือเป็นมาตรการที่จะต้องคัด
แยกนกั เรยี นหรอื บุคลากรออกจากพื้นท่ีของโรงเรียน หากนักเรียนเจ็บปุวยต้องติดต่อผู้ปกครองมารับ
กลับบ้าน รวมท้ังจะต้องหลีกเส่ียงการสัมผัสใกล้ชิดกับท่ีปุวยโดยรักษาระยะห่างทางกายภาพให้
เพียงพอ ผู้ท่ีติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 ต้องอยู่ห่างจากโรงเรียนและได้รับการดูแลอย่างน้อยเจ็ดวัน
นับจากเร่ิมมีอาการ และดูแลอย่างต่อเนื่องจนกว่าจะไม่มีการแสดงอาการอย่างน้อยสองวันก่อนกลับ
เขา้ มาเรียนตามปกติ
3) นโยบายและแนวทางการจัดการเรียนรู้ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติด
เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 ในสาธารณรัฐประชาชนจนี
ในการจัดการเรียนรู้ของสาธารณรัฐประชาชนจีนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ได้มีการดาเนินการเป็นระดับ ประกอบด้วย การดาเนินการระดับ
รัฐบาล การดาเนินการระดับมณฑล แนวนโยบายและแนวการปฏิบัติของภาคสังคมและองค์กร
ภาคเอกชน และการจัดทาแผนปฏิบัติการและแนวปฏิบัติสาหรับการศึกษาระดับปฐมวัยในระดับ
โรงเรียน ดังนี้ (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization, 2020)
1) การดาเนินการของรัฐบาลต่อการจัดการกับสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติด
เชื้อไวรสั โคโรนา 2019

1.1) รฐั บาลได้มีการจดั ตัง้ สานักงานผู้นาแห่งชาติกระทรวงศกึ ษาธิการทันที เพ่ือ
ตอบสนองตอ่ การระบาดโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 ของโดย Dengfeng Wang ผูอ้ านวยการฝุาย
กีฬาสุขภาพ และศิลปะการศึกษาของกระทรวงศึกษาธกิ ารและเปน็ ผเู้ ชี่ยวชาญดา้ นจิตวิทยาคลนิ ิก
สานกั งานผู้นาแหง่ ชาติกระทรวงศกึ ษาธิการได้รบั มอบหมายภารกจิ ทีเ่ ก่ยี วกบั การดแู ลเร่ืองการ
ปอู งกันไวรัสโดยรวมทีเ่ กย่ี วข้องกับการศึกษาทงั้ หมด รวมถึงการออกแบบและกาหนดแนวทางการ
จัดการด้านสุขภาพ การจดั ระเบยี บสาหรับ ภาคการศึกษาใหม่ และเสรมิ สรา้ งให้มกี ารตรวจสอบและ
กากบั ดูแลด้านสุขศึกษาและการปูองกันโรคในขณะเดยี วกนั รัฐบาลในระดับภูมิภาคและระดบั ท้องถ่นิ
กไ็ ด้มีการจดั ต้งั หนว่ ยงานทเี่ กี่ยวข้อง เพ่อื การประสานงานกบั สานกั งานผู้นาแห่งชาติ
กระทรวงศกึ ษาธิการ

1.2) การสร้างกรอบนโยบายเพื่อควบคุมและปูองกันการแพร่ระบาดของโรคติด
เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 โดยศูนย์ควบคุมและปูองกันโรคแห่งสาธารณรัฐประซาชนจีนได้ประกาศและ
กาหนดนโยบายที่เกี่ยวข้องกับมาตรการเฉพาะเกี่ยวกับกระบวนการกากับดูแลและกล ไกการทางาน

27

โดยมีเอกสารทั้งสิ้น 15 ฉบับ ซึ่งมีเอกสาร 2 ฉบับเกี่ยวข้องโดยตรงกับการปูองกันและควบคุมการ
แพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 สาหรับผตู้ งั้ ครรภแ์ ละเด็ก

1.3) การเผยแพร่แนวทางการปูองกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือ
ไวรสั โคโรนา 2019 ในโรงเรยี น โดยสานักงานการศึกษาแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิการเพ่ือตอบสนอง
ต่อการแพร่ระบาดของโรคติดดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 ซึ่งมหาวิทยาลัยปักก่ิงได้จัดผู้เช่ียวชาญ 29 คน
ผู้เช่ียวชาญด้านสุขภาพและความเป็นอยู่ของการศึกษาระดับอนุบาล (ซ่ึงให้บริการเด็กอายุ 36 ปี)
และผู้เช่ียวชาญจากสถาบันควบคุมและปูองกันโรคทุกระดับการศึกษา รวมทั้งผู้เช่ียวชาญระดับ
วิทยาลัยและมหาวิทยาลัยได้ร่วมกันกาหนดแนวทางการปูองกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรค
ติดเช้ือไวรัส โคโรนา 2019 ในโรงเรียนอนุบาล ซึ่งเน้ือหาในเอกสารดังกล่าวสามารถดาวน์โหลด
เนื้อหาบน WeChat ซ่ึงเป็นแพลตฟอร์มเครือข่ายโซเซียลท่ีใหญ่ที่สุดในสาธารณรัฐประชาชนจีน
เพื่อให้ผู้คนที่เกี่ยวข้องสามารถเข้าถึงได้ทุกท่ีทุกเวลา สาหรับเน้ือหาในเอกสารประกอบด้วย 1)
หลักการสาหรับการควบคุมและปูองกันโรค 2) เปูาหมายและการนาไปใช้ 3) ข้อมูลพื้นฐานเก่ียวกับ
โรคการเตรยี มความพร้อมสาหรับโรงเรียน และ 5) การกาหนดการเปิดเรียนใหม่ ประกอบด้วย ความ
รับผดิ ชอบของครูและบุคลากรการจดั การชน้ั เรยี น และประเดน็ สาคัญท่เี กยี่ วข้องกับผู้ปกครอง

1.4) การเผยแพรค่ มู่ ือการปูองกันและควบคมุ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 ในภาษาตา่ งประเทศ เพ่ืออานวยความสะดวกในการส่ือสารกับผู้ปุวยท่ีพูดเฉพาะภาษา
มณฑลหูเปย กระทรวงศึกษาธิการร่วมกับคณะกรรมการกิจการภาษาแห่งรัฐและมหาวิทยาลัยหลาย
แห่ง ได้รว่ มมือกันในการพัฒนาคู่มือการปูองกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส โคโร
นา 2019 เป็นภาษามณฑลหูเปุย และกระทรวงศึกษาธิการได้พัฒนาคู่มือดั งกล่าวเป็น
ภาษาต่างประเทศ โดยแปลเป็นภาษาต่างประเทศถึง 8 ภาษา ได้แก่ ภาษาเกาหลี ภาษาญี่ปุน ภาษา
ฟารซ์ ี ภาษาอติ าเลียน ภาษาอารบคิ ภาษาสเปน ภาษาโปรตุเกส และภาษาอังกฤษ

2.3 นโยบายและแนวทางการจัดการเรียนรู้ของประเทศไทยในสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (Covid-19)

1) นโยบาย แนวคิด หลกั การในการจัดการเรยี นรใู้ นสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019

จากการท่ีประชุมคณะรัฐมนตรี เม่ือวันอังคารที่ 7 เมษายน 2563 มีมติรับทราบ
การเล่ือนเปิดเทอมจากวันท่ี 16 พฤษภาคม เป็นวันที่ 1 กรกฎาคม 2563 จึงจาเป็นต้องวางแนว
ทางการจัดการเรียนการสอนภายใต้สถานการณ์วิกฤติการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา
2019 ในทุกระดับชั้นและทุกประเภท โดยกระทรวงศึกษาธิการได้มีการกาหนดแนวนโยบายเพื่อให้
การจัดการเรียนการสอน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 ให้
สามารถเกิดข้ึนได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดเท่าท่ีสภาพแวดล้อมจะอานวยให้บนพื้นฐาน 6 ข้อ ดังนี้
(กระทรวงศึกษาธิการ, 2563)

1) จัดการเรียนการสอน โดยคานึงถึงความปลอดภัยสูงสุดของทุกคนที่เก่ียวข้อง
“การเปิดเทอม” หมายถึง การเรียนที่โรงเรียนหรือการเรียนท่ีบ้าน ท้ังนี้การตัดสินใจจะข้ึนอยู่กับผล
การประเมินสถานการณ์ อยา่ งใกลช้ ิด

28

2) อานวยการให้นักเรียนทุกคน สามารถเข้าถึงการเรียนการสอนได้ แม้จะไม่
สามารถ ไปโรงเรียนได้

3) ใช้ส่ิงท่ีมีอยู่แล้วให้เกิดประโยชน์สูงสุด เช่น การเสนอขอช่องดิจิทัล TV จาก
กสทช. ทั้งหมด 17 ช่อง เพือ่ ใหน้ กั เรียนทกุ ระดับชนั้ สามารถเรียนผ่าน DLTV ได้ ทั้งนี้ ไม่มีการลงทุน
เพอื่ จดั ซอ้ื อปุ กรณใ์ ด ๆ เพม่ิ เติมโดยไม่จาเปน็ ซ่ึง กสทช.อนุมัติแล้วให้เริ่มออกอากาศ 16 พฤษภาคม
น้ี เป็นเวลา ไม่เกิน 6 เดือน หรือถ้าสามารถกลับมาดาเนินการสอนได้ตามปกติก็ให้หยุดทดลอง
ออกอากาศ แบง่ เป็น ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาพ้นื ฐาน (สพฐ.) จานวน 15 ช่อง เป็นของ
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) จานวน 1 ช่อง และเป็นของสานักงานส่งเสริม
การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) จานวน 1 ช่อง โดยให้ออกอากาศแบบความ
คมชัดปกติ (SD)

4) ตัดสินใจนโยบายต่าง ๆ บนพื้นฐานของการสารวจความต้องการ ท้ังจาก
นักเรียน ครู และโรงเรียน ไม่คิดเอง โดยให้การจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพสูงสุดเป็นท่ีต้ัง
และกระทรวง จะสนับสนนุ เครื่องมือและอุปกรณต์ ามความเหมาะสมของแตล่ ะพื้นที่

5) ปรับปฏิทินการศึกษาของไทยให้เอื้อต่อการ “เรียนเพื่อรู้” ของเด็กมากขึ้น
รวมท้ังมีการปรับตารางเรียนตามความเหมาะสม โดยเวลาที่ชดเชยจะคานึงถึงภาระของทุกคนและ
การไดร้ บั ความรู้ ครบตามช่วงวัยของเดก็

6) บุคลากรทางการศกึ ษาทุกท่าน จะได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง และทาให้ท่าน
ไดร้ บั ผลกระทบเชงิ ลบจากการเปลยี่ นแปลงน้อยทส่ี ดุ

2) แนวทาง วิธีการและรูปแบบ/สภาพการจัดการเรียนรู้ในสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019

กระทรวงศึกษาธิการ (2563) ได้ออกแบบการเรียนการสอนในสถานการณ์การ
แพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 โดยมรี ายละเอยี ดดงั น้ี

1) รูปแบบการเรียนการสอนออกแบบให้สอดคล้องกับความปลอดภัยของพื้นท่ี
โดยมีการเรียนรู้แบบ onsite ในพื้นที่ที่มีความปลอดภัยสามารถไปโรงเรียนได้ ขณะที่พื้นที่ไม่
ปลอดภัยจะมีการเรียนรู้หลักผ่านทางการ on-air ของมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระ
บรมราชูปถัมภ์ และ มีการเรียนรู้เสริมผ่านระบบ online โดยกาหนดการจัดการเรียนรู้ 3 รูปแบบ
ดงั น้ี

1.1) การเรียนท่ีโรงเรียน (On Site) การเรียนผ่านทีวี (On Air) ใน 4 ระบบ
ได้แก่ ระบบดาวเทียม (Satellite) ทั้ง KU-Band (จานทึบ) ช่อง 186–200 และ C-Band (จานโปร่ง)
ช่อง 337–351 ระบบดิจิทัลทีวี (Digital TV) ช่อง 37–51 ระบบเคเบิ้ลทีวี (Cable TV) และระบบ
IPTV การเรียนผ่านอินเทอร์เน็ตและแอปพลิเคชัน (ONLINE) ใน 4 ช่องทาง ได้แก่DEEP : Digital
Education Excellence Platform DLTV YouTube บน Smartphone/Tablet

2) นโยบายหลกั ที่นามาใช้ คือ เพม่ิ เวลาพัก ลดการประเมินและงดกิจกรรมต่าง ๆ
ท่ีไม่จาเป็น โดยเนน้ เรียนเฉพาะวิชากล่มุ สาระหลัก เพื่อให้นักเรียนผ่อนคลายลง ซึ่งนักเรียนมีเวลาพัก
ในภาคเรยี นท่ี 1/2563 จานวน 17 วัน และในภาคเรียนที่ 2/2563 จานวน 37 วนั รวมท้ังส้ิน 54 วัน
ฉะนั้นภาคเรียนท่ี 1/2563 เรยี นต้ังแต่ 1 กรกฎาคม -13 พฤศจกิ ายน 2563 เป็นเวลา 93 วัน แล้วปิด

29

ภาคเรียน 17 วัน ส่วนภาคเรียนท่ี 2/2563 เรียนตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2563 - 9 เมษายน 2564 เป็น
เวลา 88 วัน แล้วปิดภาคเรียน 37 วัน ต้ังแต่วันที่ 10 เมษายน 2564 ซ่ึงจะมีเวลาเรียนรวมทั้งส้ิน
181 วัน ส่วนเวลาที่ขาดหายไป 19 วัน จาก 200 วัน ให้แต่ละโรงเรียนสอนชดเชย ดังนั้น การเปิด
เทอมปีการศึกษาหน้า จะกลับมาปกตใิ นวันจนั ทรท์ ่ี 17 พฤษภาคม 2564

3) การเตรียมพร้อมในด้านระบบการเรียนรู้ทางไกลและระบบออนไลน์ จะเร่ิม
ทดสอบ ต้ังแต่วันที่ 18 พฤษภาคมนี้เป็นต้นไป เพ่ือเตรียมความพร้อมให้มากที่สุด ในกรณีท่ีวันท่ี 1
กรกฎาคม 2563 ไมส่ ามารถเปิดเทอมท่ีโรงเรียนได้

4) กระทรวงศึกษาธิการจะเป็นผู้สนับสนุนการเรียนการสอนทางไกล ในสัดส่วน
80% เพื่อให้ทุกคนสามารถเข้าถึงการเรียนขั้นพ้ืนฐานได้ อีกร้อยละ 20 หรือมากกว่า ให้ทางโรงเรียน
และ คุณครู ในแตล่ ะพน้ื ทพ่ี ิจารณาออกแบบตามความเหมาะสม

5) การเรียนผ่านการสอนทางไกล จะใช้ทีวิดิจิทัล และ DLTV เป็นหลัก ซ่ึงได้รับ
การ อนุเคราะห์ส่ือจากมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยมีดิจิทัล
แพลตฟอร์มของกระทรวงศึกษาธิการ หรือ DEEP และการเรียนการสอนแบบโต้ตอบออนไลน์เป็นสื่อ
เสรมิ

ทัง้ นี้ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐานได้กาหนดแนวทางการจัดการ
เรียนการสอนทางไกลในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 โดยดาเนินการ
จัดประชุมทางไกลในวันที่ 7 พฤษภาคม 2563 เพ่ือสร้างความเข้าใจ ถึงแนวทางการจัดการเรียนการ
สอนทางไกลและเตรียมพร้อมสาหรับการเปิดภาคเรียน โดยได้กาหนด แนวทางการจัดการเรียนการ
สอนระบบทางไกล แบง่ เปน็ 4 ระยะ ดังน้ี

ระยะที่ 1 การเตรยี มความพรอ้ ม (7 เมษายน – 17 พฤษภาคม 2563)
สารวจความพร้อมในด้านอุปกรณ์การเขา้ ถึงอินเทอร์เน็ต ของนักเรียน ผู้ปกครอง
ครูและระบบการบริหารจัดการการเรียน การสอนรวมถึงขออนุมัติใช้ช่องรายการโทรทัศน์ในระบบ
ดิจิทัล จากสานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม
แห่งชาติ (กสทช.) เพ่ือจัดการเรียนการสอนต้ังแต่ระดับปฐมวัยถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย พร้อม
ขออนุมัติ เผยแพร่การเรียนการสอนจากห้องเรียนต้นทาง ในระดับปฐมวัยถึงระดับมัธยมศึกษา
ตอนต้น ของสถานีวิทยุโทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) จากมูลนิธิการศึกษาทางไกล
ผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ จัดทาสื่อวีดิทัศน์การสอน โดยครูต้นแบบระดับมัธยมศึกษา
ตอนปลาย จานวน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ และรวบรวมสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ใน OBEC Content
Center ชดุ โปรแกรมและ แพลตฟอร์มการเรียนรู้ครบวงจรของกระทรวงศึกษาธิการ เช่น Tutor ติว
ฟรี.com, e-Book เป็นต้น รวมถึงเตรียมโครงสร้างพื้นฐานด้านระบบเครือข่าย เพ่ือรองรับการ
ใหบ้ รกิ าร แพลตฟอรม์ การเรยี นรู้ ใหเ้ ช่ือมโยงกับระบบ Digital e-Learning ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ระยะท่ี 2 การทดลองจัดการเรยี นการสอนทางไกล (18 พฤษภาคม – 30 มิถุนายน
2563)
การทดลองจัดการเรียนการสอนทางไกล ในระดับปฐมวัยถึงระดับมัธยมศึกษา
ตอนต้น ผ่านช่องรายการโทรทัศน์ในระบบดิจิทัล โดยการเผยแพร่สัญญาณจากมูลนิธิการศึกษา
ทางไกล ผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ (DLTV) ในระดับปฐมวัยเน้นกิจกรรมเตรียมความ

30

พร้อมเดก็ และ ระดบั ประถมศึกษาถึงระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จานวน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ และ
ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ผ่านช่องรายการโทรทัศน์ในระบบดิจิทัลและระบบออนไลน์โดยครู
ต้นแบบด้วยเคร่ืองมือ การเรียนรู้ตาม ความเหมาะสมและบริบทของสถานศึกษา รวมท้ังเปิดศูนย์รับ
ฟังความคิดเห็นการเรียนการสอนทางไกล จากผู้ปกครอง ประชาชน และผู้เก่ียวข้อง เพ่ือเป็นแนว
ทางการปรับปรงุ และพัฒนา และประชาสัมพันธ์ สร้างการรับรู้ ความเข้าใจ แนะนาช่องทางการเรียน
ทางไกลให้กบั ผ้ปู กครองและผู้เกี่ยวขอ้ ง

ระยะท่ี 3 การจัดการเรียนการสอน (1 กรกฎาคม 2563 – 30 เมษายน
2564)

ได้วางแผนไว้สาหรับ 2 สถานการณ์ คือ สถานการณ์ที่ 1 กรณีที่สถานการณ์การ
แพร่ ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ยงั ไม่คลีค่ ลาย จะจัดการเรียนการสอนระดับปฐมวัยถึง
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ด้วยระบบทางไกลผ่าน DLTV และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ด้วยวีดิ
ทศั นก์ ารสอน โดยครูต้นแบบ และระบบออนไลน์ด้วยเครื่องมือการเรียนรู้ตามความเหมาะสมและ
บริบทของสถานศกึ ษา และสถานการณ์ที่ 2 กรณีที่สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโค
โรนา 2019 คล่ีคลาย จะจดั การเรียนการสอนปกติในโรงเรียน โดยให้เว้นระยะห่างทางสังคม (Social
Distancing) และมีแผนเตรียมการเพื่อรองรับสถานการณ์ฉุกเฉินต่าง ๆ โดยจะต้องได้รับการอนุมัติ
จาก คณะกรรมการศึกษาธิการจงั หวดั ซ่ึงมีผ้วู า่ ราชการจงั หวัดเป็นประธาน

ระยะที่ 4 การทดสอบและการศึกษาตอ่ (1 เมษายน – 15 พฤษภาคม 2564)
ประสานงานกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องกับการทดสอบและคัดเลือกเข้าศึกษาต่อ
คือ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เก่ียวกับระบบคัดเลือกเข้าศึ กษา
ในสถาบันอุดมศึกษา (TCAS GAT PAT) และ สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ เก่ียวกับการ
ทดสอบ O-net ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 และช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6
สาหรับการจัดการศึกษาสาหรับคนพิการและผู้ด้อยโอกาส ซึ่งรัฐมนตรีช่วยว่า
การกระทรวงศึกษาธิการ (คุณหญิงกัลยา โสภณพานิช) ดูแลรับผิดชอบ จัดทาแพลตฟอร์มของ
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารเพ่อื เปน็ เวทีเชอ่ื ม 176 หนว่ ยงาน และโยงคนพิการทั้งประเทศ ให้สามารถเข้าถึง
โอกาสทางการศึกษา การพัฒนาตนเองไดม้ ากขน้ึ ตามแนวทาง“ปรับบ้านเป็นห้องเรียน เปลี่ยนพ่อแม่
เปน็ ครู”
โดยแพลตฟอร์มน้ีจะสามารถทาให้พ่อแม่ ผู้ปกครองเรียนรู้วิธีการดูแลพัฒนา
ผู้เรียนที่พิการตามแบบต่าง ๆ ต่อไปได้ ทั้งยังสามารถบรรจุส่ือการเรียนการสอนออนไลน์ การให้
คาปรึกษา แนะนา และเร่ืองอ่ืน ๆ ไปยังหน่วยงาน สถานศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ได้ด้วย
ท้ังนี้ แพลตฟอร์มของโรงเรยี นทจ่ี ดั การศึกษาพิเศษ คอื เมอื่ ค้นหาเข้าไปก็จะทราบข้อมูล ว่าจังหวัดน้ีมี
คนพกิ ารประเภทใดบ้าง มีก่ีคน บา้ นอยทู่ ไ่ี หน เป็นตน้ โดยดาเนินการได้แล้ว 3 จังหวดั และ จะขยาย
ผลให้ครบทกุ จงั หวดั
3) นโยบายและแนวทางการจดั การเรียนการสอนของประเทศไทยในสถานการณ์การ
แพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 ปกี ารศกึ ษา 2564
สุวิทย์ บึงบัว (2564) ได้สรุปในการประชุมทางไกลเพ่ือช้ีแจงแนวทางการจัดการ
เรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และมาตรการการ

31

ช่วยเหลือบรรเทาภาระค่าใช้จ่ายนักเรียน โดยมีรูปแบบการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การ
แพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 ดงั น้ี

1) รปู แบบ On Site On Air On Demand Online On Hand
2) ผสมผสาน 2 รูปแบบ การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน 2 รปู แบบ
3) ผสมผสาน 3 รูปแบบ การจัดการเรยี นการสอนแบบผสมผสาน 3 รูปแบบ
4) ผสมผสาน 4 รูปแบบการจดั การเรียนการสอนแบบผสมผสาน 4 รูปแบบ
5) ผสมผสาน 5 รูปแบบการจดั การเรยี นการสอนแบบผสมผสาน 5 รปู แบบ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ได้กาหนดรูปแบบการจัดการเรียน
การสอน ในช่วงเปิดภาคเรียนไว้เพ่ือเป็นทางเลือกของนักเรียน ผู้ปกครองและครู ในรูปแบบหลัก 3
ลักษณะดงั น้ี
1) การจัดการเรียนการสอนแบบปกติท่ีโรงเรียน โดยโรงเรียนต้องปฏิบัติตาม
มาตรการท่ี ศูนย์บริหารสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.) อย่าง
เครง่ ครัด รปู แบบ On Site
2) การจัดการเรียนการสอนทางไกล รูปแบบการจัดการเรียนการสอนต่าง ๆ ได้แก่
On Air On Demand Online และOn Hand
3) รปู แบบการจัดการเรยี นแบบผสมผสานหลายรูปแบบ ระหวา่ งรปู แบบการจัดการ
เรียนการสอนแบบปกติท่ีโรงเรียน กับรูปแบบการจัดการเรียนการสอนทางไกลอื่นๆ รูปแบบ
ผสมผสาน

3.1) การจัดการเรยี นการสอนแบบปกติทโี่ รงเรียน (On–site)
แบบที่ 1 มาโรงเรียนทกุ ระดับชนั้ เฉพาะโรงเรยี นเลก็ จานวนนกั เรยี นไม่มาก
แบบที่ 2 แบ่ง 2 กลุ่มมาเชา้ กับ มาบ่าย
แบบท่ี 3 แบ่ง 2 กลุม่ สลับวนั มาเรียนวนั เว้นวัน
แบบที่ 4 แบ่ง 3 กลมุ่ สลับวันมาเรยี น 1 วนั เว้น 2 วัน
โดยมีจุดเนน้ ในการจดั การเรียนการสอนรูปแบบ On Site ดงั น้ี
1) การจัดการเรียนการสอนแบบปกติท่ีโรงเรียน เรียนกับครูต่อหน้า เน้น

ปฏิสมั พนั ธ์
2) ระมัดระวังการเกิดคลัตเตอร์โรงเรียน สวมหน้ากากอนามัย ตรวจ

อุณหภมู ิ เวน้ ระยะหา่ ง ยกเลิกกจิ กรรมกล่มุ หรือ สลบั เวลา/วัน ลดจานวนนักเรียนแต่ละชั้น ควบคุม
การเข้าออก ฯลฯ

3) ปรบั รปู แบบในหอ้ งเรียน จัดตารางเรยี นใหม่ ใช้หลักสูตรท่ียืดหยุ่น ปรับวิธี
การสอน การทดสอบและประเมิน ตามบรบิ ทและตามความจาเปน็

4) เน้นการสอ่ื สารกบั ผู้ปกครอง
3.2) การจดั การเรียนการสอนทางไกล (Distance-Learning)

1) On Air การจัดการเรียนการสอนผา่ นระบบโทรทัศน์ ใช้สัญญาณดาวเทียม
KU-Band และระบบเคเบ้ลิ ทีวี

32

2) Online การจัดการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต การจัด
กิจกรรมการเรียนรแู้ บบถา่ ยทอดสดระหว่างครูและนกั เรียน

3) On Demand การเรียนร้ผู ่านเว็บไซต์ DLTV / YouTube และDLTV
4) On Hand การนาหนังสือเรียน แบบฝึกหัด ใบงาน และสื่อการเรียนรู้
อ่ืน ๆ ไปใหน้ ักเรียนได้เรียนรทู้ บี่ ้าน
3.3) รปู แบบการจัดการเรียนแบบผสมผสานหลายรูปแบบ
โรงเรียนที่จัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน (Blended Learning) ท้ัง
รูปแบบปกติที่โรงเรียน On Site และรูปแบบการเรียนการสอนทางไกลอื่น ๆ โดยนอกเหนือจากที่
กล่าวมาตามสถานการณ์รายวัน ราย 14 วัน หรืออื่น ๆ โดยทั้งน้ีจะต้องคานึงถึงความปลอดภัยของ
นกั เรยี นและครเู ปน็ สาคัญ

4) ผลกระทบจากการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือ
ไวรสั โคโรนา 2019

องค์การทุนเพ่ือเด็กแห่งสหประชาชาติ หรือยูนิเซฟ (United Nations Children's
Fund - UNICEF) (2563) ได้ทาการสารวจผลกระทบของสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือ
ไวรัสโคโรนา 2019 ต่อเด็กและเยาวชนในประเทศไทย พบว่า เด็กและเยาวชนกว่า 8 ใน 10 คน มี
ความวิตกกงั วลเกี่ยวกับปัญหาการเงินของครอบครัว ซึ่งเป็นประเด็นที่เด็กและเยาวชนกังวลมากท่ีสุด
เนื่องจากพ่อแม่ผู้ปกครองไม่สามารถทางานได้ตามปกติ อันเป็นผลมาจากการปิดตัวของธุรกิจต่าง ๆ
ตลอดจนการถูกเลิกจ้าง การสารวจน้ีจัดทาโดยองค์การยูนิเซฟ ร่วมกับสภาเด็กและเยาวชนแห่ง
ประเทศไทย โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ และกองทุนประชากรแห่ง สหประชาชาติ โดยเป็น
การสารวจคร้ังแรกที่มุ่งศึกษาผลกระทบของสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 ต่อเด็กและเยาวชนในประเทศไทย และ ทาความเข้าใจเก่ียวกับความต้องการท่ีแท้จริงของพวก
เขา โดยเก็บข้อมูลผ่านแบบสอบถามออนไลน์ระหว่างวันที่ 27 มีนาคม ถึง 6 เมษายน จากเด็กและ
เยาวชนจานวน 6,771 คนท่ัว ประเทศ ซ่ึงส่วนใหญ่อายุ 15-19 ปี ผลสารวจยงั พบว่า

เด็กและเยาวชนกว่า 7 ใน 10 คน กล่าวว่า สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติด
เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ส่งผลกระทบต่อสภาพจิตใจ โดยพวกเขามีความเครียดวิตกกังวลและเบ่ือ
หน่าย นอกจากนี้ เด็กและเยาวชนเกินคร่ึง รู้สึกกังวลด้านการเรียน การสอบ และโอกาสใน
การศึกษาต่อเนื่อง จากการปิดโรงเรียนเป็นระยะเวลานาน ในขณะที่ร้อยละ 7 รู้สึกกังวลเก่ียวกับ
ปญั หาความรุนแรงในครอบครัว เช่น การทะเลาะกนั ของผู้ปกครองและการทาร้ายร่างกาย

นายโธมัส ดาวิน ผู้แทนองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติประเทศไทยกล่าวว่า
“ผลสารวจน้ีช้ีให้เห็นชัดเจนว่าวิกฤติคร้ังนี้ส่งผลกระทบมากมายหลายด้านต่อเด็ก ๆ และเยาวชน
หลายกลมุ่ โดยเด็กและเยาวชนต่างมีความเครียด ความกลัวและวิตกกังวล ไม่ต่างจากผู้ใหญ่ เวลาน้ี
ครอบครัวถือเป็นพลังสาคัญท่ีจะช่วยให้เด็ก ๆ จัดการกับสภาวะเหล่านี้ได้ พวกเขาควรได้รับความรัก
ความเอาใจใสใ่ นช่วงเวลานม้ี ากกวา่ ทเ่ี คย”

ในขณะเดียวกัน ดร.วาสนา อิ่มเอม รักษาการหัวหน้าสานักงานกองทุนประชากร
แห่งสหประชาชาติ ประจาประเทศไทย กล่าวว่า “การสารวจแสดงให้เห็นว่าร้อยละ 36 ของเยาวชน
และวยั รนุ่ กว่า 6,700 คนท่ีตอบแบบสอบถามระบุว่ามผี ู้สูงอายุที่มีอายุมากกว่า 60 ปีอยู่ที่บ้าน นี่เป็น

33

โอกาสท่ีดีทจ่ี ะให้เยาวชนและวยั รนุ่ เป็น ผูพ้ ลกิ วิกฤตใิ หเ้ ปน็ โอกาสผา่ นกจิ กรรมแบบเว้นระยะห่างทาง
สังคมที่สนับสนุนด้านสุขภาพและจิตใจให้แก่ผู้สูงอายุซึ่งเป็นกลุ่มคนท่ีอยู่ในภาวะท่ีเส่ียงที่สุดในช่วง
การระบาดของโควิด 19 ผ่านทางการสร้างความรู้และการตระหนักรู้ในเร่ือง การดูแลสุขภาพของ
ตนเองและปูองกนั การเปน็ พาหะในช่วงนี้”

ผลสารวจยังได้สะท้อนให้เห็นถึงความต้องการของเด็กและเยาวชนในด้านความ
ต้องการ เรียนรู้ออนไลน์เพื่อเสริมความรู้และทักษะระหว่างที่โรงเรียนปิดและต้องอยู่แต่ในบ้าน โดย
พบวา่ สง่ิ ทเ่ี ดก็ และเยาวชนอยากเรียนเพิ่มเติมมากที่สุด คือ ภาษาอังกฤษ รองลงมาคือ ความรู้ เสริม
ในวิชาที่กาลังเรียนอยู่ในปัจจุบัน ในขณะที่ เด็ก 1 ใน 4 คนระบุว่าอยากเรียนรู้เพิ่มเติม เกี่ยวกับการ
จดั การกับความเครียดและโรคซมึ เศรา้

นางสาวสภุ าพชิ ญ์ ไชยดิษฐ์ ประธานสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย กล่าวว่า
“ภาครัฐต้องใหค้ วามสาคญั เรง่ ดว่ นกับปญั หาสุขภาพจิตของเด็กและเยาวชนทั้งในช่วงการแพร่ระบาด
และหลังสถานการณ์ ตลอดจนให้ความใส่ใจเด็กและเยาวชนในแต่ละช่วงวัย เพราะเด็ก ทุกคนควร
ได้รับการปกปูองคุ้มครองแม้อยู่ที่บ้าน เด็ก ๆ ควรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้เหมาะสมกับ
พฒั นาการและช่วงวยั ”

นอกจากนี้ นายเรอโนด์ เมแยร์ ผู้แทนโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ กล่าวว่า
“วิกฤติการแพร่ระบาดของโควิด 19 เป็นมากกว่าวิกฤติทางสุขภาพ แต่มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจและ
สังคมต่อทุกคน โดยเฉพาะกลุ่มคนท่ีเปราะบางเช่นเด็กและเยาวชน แต่เยาวชนเองก็มีศักยภาพ
มากมายทจ่ี ะเป็นผู้สร้าง การเปล่ียนแปลง พวกเขามีพลัง มุ่งมั่น และมีทักษะด้านเทคโนโลยีท่ีจะ
มาช่วยหาแนวทางใหม่ ๆ ด้านดิจิทัล ดังน้ัน การสนับสนุนเยาวชนจึงเป็นสิ่งจาเป็นมาก ไม่ เพียงแต่
ปกปูองพวกเขาจากโควิด 19 เท่าน้ัน แต่ยังเป็นการช่วยเพ่ิมศักยภาพต่อการรับมือกับของวิกฤติ และ
ช่วยสรา้ งสงั คมแหง่ การมสี ว่ นรว่ ม ย่ังยนื และเขม้ แข็งต่อไป”

ท้ังนี้องค์การทุนเพ่ือเด็กแห่งสหประชาชาติได้เรียกร้องให้รัฐบาลในประเทศต่าง ๆ
เสริม มาตรการคมุ้ ครองทางสังคมเพอื่ ชว่ ยเหลอื กลุ่มประชากรท่ีเปราะบางเพ่ือบรรเทาผลกระทบของ
วิกฤติโควิด-19 ท่ีมีต่อเด็กและครอบครัว พร้อมส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนสามารถเข้าถึงการ เรียนรู้
ออนไลน์ การศึกษาทางไกล ตลอดจนบริการให้คาปรึกษาเยียวยาจิตใจและบริการทาง สุขภาพจิต
สาหรับวัยร่นุ

นอกจากนี้ ภูมิศรัณย์ ทองเลี่ยมนาค (2563) ได้กล่าวถึงผลกระทบของ COVID-19
ต่อระบบการศึกษาของโลกและประเทศไทยในมุมมองทางเศรษฐศาสตร์ จากสถานการณ์การแพร่
ระบาด ของ COVID-19 ซ่ึงทาให้เด็กนักเรียนจานวนกว่า 1.57 พันล้านคน จากกว่า 188 ประเทศ
หรือคิดเป็น 91.3% ของผู้เรียนจากท่ัวโลก จาต้องออกนอกโรงเรียนและหันไปสู่การศึกษานอก
ห้องเรียนในรูปแบบต่าง ๆ รวมถึงนักเรียนในประเทศไทย จานวน 13 ล้านคน ตั้งแต่ระดับปฐมวัยไป
จนถึงอดุ มศกึ ษา ซ่ึงวา่ กันว่า เป็นปรากฏการณ์ที่ไม่เคยเกิดข้ึนมาก่อนนับตั้งแต่สงครามโลกคร้ังท่ีสอง
เปน็ ต้นมา ทาให้เกิดผลกระทบ ทางการศึกษาและพัฒนาการของนักเรียนจากการปิดโรงเรียน รวม
ไปถึงผลกระทบทางเศรษฐกิจท่เี กดิ ขน้ึ กบั ครอบครวั ของนกั เรยี นและอาจรวมถึงผลกระทบทางสุขภาพ
ของครอบครัวท้งั ทางกายและจิตด้วย โดยผลกระทบคงเกิดกับเด็กทุกกลุ่มแต่น่าจะมีความรุนแรงเป็น
พิเศษต่อนักเรียนในกลุ่มยากจน ครอบครัว เปราะบาง มีปัญหาความรุนแรง ยาเสพติด นักเรียนกลุ่ม

34

การศึกษาพิเศษ นักเรียนผู้พิการ ผู้มีความบกพร่อง ทางการเรียนรู้ในด้านต่าง ๆ ท่ีต้องการการดูแล
จากครูอย่างใกล้ชิด เด็กท่ีต้องพ่ึงพาอาหารม้ือเช้าหรือกลางวันจากโรงเรียน สาหรับเด็กกลุ่มน้ีใน
ประเทศไทยพบว่ามี ร้อยละ 21.5 หรือประมาณ 2.4 ล้านคน ที่ตกอยู่ ภายใต้สภาวะความยากจน
หลายมิติ

ภูมิศรัณย์ ทองเล่ียมนาค (2563, หน้า 56) ได้กล่าวถึงผลกระทบของ COVID-19
ต่อระบบการศึกษาของโลกและประเทศไทยในมุมมองทางเศรษฐศาสตร์ โดยพบว่า มีผลกระทบต่อ
ผเู้ รยี น ดงั นี้

1) ผลกระทบจากการปิดเรียนอันยาวนาน งานวิจัยที่ผ่านมาได้เคยทาการศึกษาถึง
ผลกระทบของการที่ต้องปิดโรงเรียน หรือเปิดเรียนล่าช้า พบว่าการที่นักเรียนต้องอยู่บ้านนาน ๆ จะ
ส่งผล ทาให้การเรียนรู้ของนักเรียนถดถอยลง โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กยากจนท่ีไม่มีโอกาสเข้าถึงแหล่ง
เรยี นรนู้ อก โรงเรียน และการทีเ่ ดก็ ต้องออกจากโรงเรียนประมาณ 6 สัปดาห์ อาจจะทาให้ความรู้ของ
เขาหายไปถึงครึ่ง ปีการศึกษาซ่ึงสภาวะการถดถอยของทุนมนุษย์ (human capital) อาจจะนาไปสู่
การถดถอยของการ เตบิ โตทางเศรษฐกจิ ของประเทศได้ นอกจากน้ันยังมีงานวิจัยในลักษณะของการ
วิเคราะห์ผลกระทบของต้นทุนและประโยชน์ จากการปิดโรงเรียน เช่น การที่พ่อแม่ต้องมาอยู่บ้าน
ดูแลบุตร โดยเฉพาะพ่อแม่ท่ีเป็นบุคลากร ทางการแพทย์ซึ่งอาจจะส่งผลต่ออุปทานของกาลังคนท่ี
จาเป็น มีงานวิจัยท่ีพบว่าการปิดโรงเรียน ในสหรัฐอเมริกา 1 เดือน ส่งผลกระทบต่อ GDP ของ
ประเทศ ถงึ รอ้ ยละ 0.1- ร้อยละ 0.3

2) การวิเคราะห์เรื่องความเหล่ือมล้าของการเข้าถึงทรัพยากรทางการศึกษา รวมถึง
ผลลัพธ์ของการเรียนรู้แบบออนไลน์ พบว่าการเรียนรู้ที่เป็นที่นิยมของสถานศึกษาในยุค COVID-19
คือการ เรียนผ่านระบบออนไลน์ แต่ก็มีปัญหาในบางมิติ ในด้านของความเหลื่อมล้าดิจิทัล (digital
divide) ไม่ว่าจะเป็นการเข้าถึงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ สัญญาณอินเทอร์เน็ต ทักษะความรู้ของครูและ
ผู้ปกครองในการช่วย สนับสนุน ปัญหาการใช้เวลาหน้าจอมากเกินไป ข้อมูลจากการสารวจของ
OECD ต่อเด็กกลุ่มอายุ 15 ปี ทั่วโลกในปี 2018 พบว่า ในประเทศไทย นักเรียนอายุ 15 ปีมากกว่า
ร้อยละ 30 ไม่มีห้องส่วนตัวหรือพ้ืนที่ เงียบๆ ในการทาการบ้าน (ประเทศพัฒนาแล้วมีเด็กท่ีขาด
แคลนพ้ืนท่ีเรียนน้อยกว่าร้อยละ 15) ทั้งนี้ นักเรียนไทยเพียงร้อยละ 59 มีเคร่ืองคอมพิวเตอร์สาหรับ
ใช้ในบา้ น (ในขณะที่สหรัฐฯ ยุโรป นักเรียน มากกว่าร้อยละ 85 มีคอมพิวเตอร์) โดยเฉพาะเด็กไทยที่
กล่มุ ที่อยใู่ นเศรษฐกจิ ฐานะยากจนท่ีสุด มเี พียงรอ้ ยละ 55 ทม่ี ีพ้ืนทท่ี างานในบ้าน และเพียงแค่ร้อยละ
17 มีคอมพิวเตอร์ไว้ใช้งาน แต่อย่างไรก็ตาม ร้อยละ 86 ของเด็กไทยมีโทรศัพท์สมาร์ตโฟน แม้แต่
เด็กไทยกลุ่มยากจนท่ีสุด ยังมีถึงร้อยละ 79 ท่ีมีมือถือแบบใช้ อินเทอร์เน็ตได้ ดังน้ัน การถ่ายทอด
ความรู้ผ่านทางมือถืออาจจะเป็นอีกช่องทางท่ีเหมาะสมกับเด็กไทย อย่างไรก็ตาม ไม่ควรคาดหวังว่า
การเรียนแบบออนไลน์จะสามารถมาช่วยเติมเต็มได้อย่างสมบูรณ์แบบมากนัก เพราะมีงานวิจัยว่า
แม้แต่โรงเรียนที่เน้นเฉพาะทางออนไลน์ในสหรัฐอเมริกา (virtual charter school) ยังมีผลลัพธ์ของ
การจัดการศึกษาที่ไม่น่าพอใจเท่าไรนักหากเทียบกับการเรียนแบบผสมผสานหรือใช้ ห้องเรียนเป็น
หลกั ในกรณขี องไทยอาจจะใช้ช่องทางอนื่ ๆ เช่น โทรทัศน์การศกึ ษา วิทยุการศึกษา การจัดสรรวัสดุ
อุปกรณ์เพือ่ การเรยี น (box set) เป็นทางเลือกทอ่ี าจจะสามารถเข้าถงึ เดก็ กล่มุ ด้อยโอกาส ได้เชน่ กนั

35

3) การให้เงินอุดหนุนที่สถานศึกษา ศูนย์เด็กเล็ก และแนวทางการช่วยเหลืออื่น ๆ
ในปัจจุบันหลายประเทศได้เร่งบรรเทาความเดือดร้อนของนักเรียนและผู้ปกครองในด้านต่าง ๆ เช่น
การให้เงินอุดหนุนเงนิ ลงไปท่ศี ูนยพ์ ฒั นาเดก็ เล็กในระดับปฐมวัย โรงเรียน หรือมหาวิทยาลัย การดูแล
เร่ืองอาหาร และโภชนาการแก่เด็กที่ต้องการ การแจกหรือให้ยืมอุปกรณ์ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์มือ
ถอื เครือ่ งสง่ สญั ญาณ WiFi แบบมือถือ ให้แก่นักเรียนในกลุ่มยากจนที่ไม่มีอุปกรณ์การศึกษา การ
ให้ความช่วยเหลือในเร่ืองของ การให้คาปรึกษาต่าง ๆ หรือนักจิตวิทยา แก่เด็กหรือพ่อแม่ การ
ประสานความร่วมมือกับ สถานีโทรทัศน์ วิทยุ ไปรษณีย์ ในเรื่องของการส่งผ่านบทเรียนหรืออุปกรณ์
การเรียนต่าง ๆ

ในขณะเดียวกัน เสาวณี จันทะพงษ์ และทศพล ต้องหุ้ย (2020) ได้เสนอบทความ
เรื่อง “ผลกระทบ วิกฤติ COVID-19 กับเศรษฐกิจโลก: This Time is Different.” ในเว็บไซต์ของ
ธนาคารแห่งประเทศไทย โดยให้ข้อมูลว่าสาขาธุรกิจของไทยท่ีจะได้รับผลกระทบมากท่ีสุดคือสาขา
ด้านการทอ่ งเท่ยี ว โดยจะสญู เสยี รายได้ในรอบ 6 เดอื นของการระบาดไม่น้อยกว่า 2.5 แสนล้านบาท
นอกจากนี้ผู้เขียนยังได้อ้างถึงรายงาน ของ World Economic Forum (2020) ที่นาเสนอกรณีศึกษา
ของจีนที่พบว่า การระบาดของโควิด-19 ทาให้เห็นพัฒนาการหลายอย่างอาทิ 1) ความร่วมมือ
ระหว่างรัฐบาลและเอกชนในการจัดการวิกฤติ โควิด-19 ท่ีมีความโปร่งใส รับฟังความเห็นของ
ประชาชนผ่าน Social Media 2) การดาเนินมาตรการทางเศรษฐกิจ การเงินและการคลังที่รวดเร็ว
เพื่อลดผลกระทบ 3) โอกาสใหม่ ๆ ของภาคธุรกิจ โดยวิกฤติคร้ังนี้ช่วยให้ เกิดการใช้ประโยชน์จาก
เทคโนโลยี มีการให้บริการแก่ผู้บริโภคทางออนไลน์มากข้ึนทั้งการคา้ การศึกษา และธุรกจิ บันเทงิ

นอกจากน้ี Di Pietro and Others (2020) ได้สังเคราะห์วรรณกรรมและข้อมูลที่อยู่
ในฐานของ คณะกรรมาธิการยุโรป เสนอเป็นรายงานเชิงเทคนิคของศูนย์วิจัยร่วม เรื่อง “The likely
impact of COVID-19 on education: Reflections based on the existing literature and
recent international datasets.” ได้ผลการวิจัยท่ีสรุปให้เห็นถึงผลกระทบหลัก 2 ประการ คือ 1)
ผลกระทบต่อความสูญเสียต่อ การเรียนรู้ ซ่ึงมีเหตุปัจจัยมาจากการมีเวลาในการเรียนรู้ที่ไม่เพียงพอ
ความเครียดในการเรียนรู้ วิถีการสร้างปฏิสัมพันธ์ของผู้เรียนที่เปลี่ยนแปลงไป และการขาดแรงจูงใจ
ในการเรียน และ 2) สภาวะทางเศรษฐกิจและสังคมที่ก่อให้เกิดความไม่เท่าเทียมกันในการเรียนรู้ ซ่ึง
จาแนกเป็น 2.1) ปัจจัยท่ีเกิดการสนับสนุนจากผู้ปกครองที่ไม่ใช่เรื่องการเงิน ซึ่งได้แก่ ทักษะการ
เรียนรู้ของผู้ปกครอง ทักษะของผู้ปกครองท่ีไม่เก่ียวกับการเรียนรู้ การมีเวลาให้กับลูก ๆ 2.2) ปัจจัย
เกี่ยวกับทรัพยากรทางการเงินของผู้ปกครอง ซ่ึงได้แก่ การมีอุปกรณ์ดิจิทัลท่ีบ้าน การจัดให้บ้านมี
บรรยากาศของการเรียน การให้โภชนาการท่ีเหมาะสม และการสนับสนุนกิจกรรมท่ีนอกเหนือจาก
การเรียนของโรงเรียน 2.3) ปัจจัยเก่ียวกับการเข้าร่วมของโรงเรียน ซ่ึงได้แก่ ความพร้อมเรื่อง
อปุ กรณด์ ิจิทลั ของโรงเรียน และทักษะด้านดจิ ิทัลของครู และทกั ษะดา้ นดจิ ทิ ลั ของนักเรียน

36

3. แนวคิดเกยี่ วกับระบบดแู ลและช่วยเหลือนักเรียน
3.1 ความหมายของระบบดูแลและชว่ ยเหลอื นักเรียน
ไดม้ ผี ใู้ หค้ วามหมายของระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียนไว้ดังน้ี
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน (2552, หน้า 12 - 13) การดูแลช่วยเหลือ

นักเรียน คือ การส่งเสริมพัฒนาปูองกันช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาเพื่อให้นักเรียนได้พัฒนาเต็ม
ศักยภาพ มีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ มีภูมิคุ้มกันทางจิตใจท่ีเข้มแข็ง คุณภาพชีวิตท่ีดี มีทักษะการ
ดารงชีวิต และรอดพันจากวิกฤตต่าง ๆ ได้อย่างปลอดภัย ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนเป็น
กระบวนการดาเนินงานดูแลช่วยเหลอื นกั เรียนท่มี ขี ้ันตอนชัดเจน

ระบบดแู ลช่วยเหลือนกั เรยี น หมายถงึ กระบวนการดาเนินงานดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น
อย่างเปน็ ระบบ มีขน้ั ตอน มคี รทู ี่ปรึกษาเปน็ บุคลากรหลักในการดาเนินงาน โดยการมีสว่ นรว่ มของ
บคุ ลากรทุกฝุายท่เี กี่ยวข้องทง้ั ภายในและภายนอกสถานศึกษา อันได้แก่ คณะกรรมการสถานศกึ ษา
ผู้ปกครอง ชมุ ชน ผู้บริหาร และครทู ุกคน มวี ธิ ีการและเคร่ืองมือทีช่ ัดเจน มีมาตรฐานคุณภาพ และมี
หลักการทางานทีต่ รวจสอบได้

อาไพ มาศศิริทรัพย์ (2548, อ้างถึงใน ธนพงษ์ ศักดิ์ศรีวัน, 2558. หน้า 43) ได้ให้
ความหมายไว้ว่า ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนเป็นกระบวนการให้การช่วยเหลือนักเรียนให้ดารงชีวิต
อยู่ในสังคมอย่างมีความสุขตามอัตภาพของตนเอง โดยการพัฒนาตนเองให้มีคุณภาพชีวิต ที่ดีข้ึน
เพือ่ ให้นักเรียนสามารถปรบั ตัวได้ดขี ึ้น

กรมสุขภาพจิต (2547, หน้า 15) ได้ให้ความหมายไว้ว่า ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
เปน็ กระบวนการดาเนินงานดแู ลช่วยเหลือนักเรียนอย่างมีขนั้ ตอน พรอ้ มดว้ ยวธิ กี าร และเครื่องมือการ
ทางานท่ีชัดเจน โดยมีครูท่ีปรึกษาเป็นบุคลากรหลักในการทางานดังกล่าว และมีการประสานความ
ร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับครูท่ีเก่ียวข้อง หรือ บุคลากรภายนอก รวมทั้งการสนับสนุนส่งเสริมจากทาง
โรงเรียนเพ่ืออานวยความสะดวก ซึ่งทางด้านวัสดุอุปกรณ์ การบริหารจัดการการดูแลช่วยเหลือ
หมายถึง การส่งเสริม การปูองกัน แก้ไขปัญหา โดยมีวิธีการและเครื่องมือสาหรับครูท่ีปรึกษาและ
บุคลากรทเี่ กีย่ วข้อง เพือ่ ใช้ในการดาเนนิ งานพัฒนานกั เรียนใหม้ คี ุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ และปลอด
จากสารเสพตดิ

สมศักด์ิ สุติบุตร (2551, อ้างถึงใน ศราวุฒิ แก้วอาจ, 2558, หน้า 16) ได้ให้ความหมาย
ไว้ว่าระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนเป็นการท่ีโรงเรียนดาเนินงานเพื่อส่งเสริม ปูองกัน และแก้ปัญหา
เก่ียวกบั นกั เรียนอย่างเปน็ ระบบ มีข้ันตอน มีวิธีการ และเคร่ืองมือ โดยการประสานความร่วมมือของ
ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเพ่ือช่วยเหลือนักเรียนให้ได้รับการพัฒนาในทุก ๆ ด้าน ทั้งในด้านร่างกายสติปัญญา
อารมณ์ มีคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สามารถอยู่ร่วมกับคนในสังคมได้อย่าง
มีความสุข

สรุปได้ว่า ความหมายของระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน เป็นกระบวนการร่วมกับ
คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน ผู้บริหาร ในการส่งเสริม ปูองกัน และแก้ไขปัญหาของ
นักเรียนอย่างมีขั้นตอน มีระบบวิธีการ และเคร่ืองมือท่ีชัดเจน มีมาตรฐานคุณภาพ และหลักฐานการ
ทางานที่ตรวจสอบได้ โดยความร่วมมือจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพ่ือช่วยให้นักเรียนได้มีความประพฤติ

37

คุณธรรม จริยธรรม ท่ีดีงามเป็นแบบอย่างแก่บุคคลท่ัวไป สามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมี
ความสขุ

3.2 ความสาคญั ของระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียน
การพัฒนานักเรียนให้เป็นบุคคลที่มีคุณภาพท้ังทางด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา

ความสามารถ มีคุณธรรม จริยธรรม และมีวิถีชีวิตที่เป็นสุขตามที่สังคมมุ่งหวัง โดยผ่านกระบวนการ
ทางการศึกษาน้นั นอกจากจะดาเนินการด้วยการส่งเสริมสนับสนุนนักเรียนแล้ว การปูองกัน และการ
ช่วยเหลือแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ทเ่ี กดิ ข้ึนกับนกั เรยี นกเ็ ป็นสิ่งสาคญั ประการหน่ึงของการพัฒนา เนื่องจาก
สภาพสงั คมท่เี ปล่ียนไปอย่างมาก ท้ังด้านการสื่อสารเทคโนโลยีต่าง ๆ ซ่ึงนอกจากจะส่งผลกระทบต่อ
ผู้คนในเชิงบวกแล้ว ในเชิงลบก็มีปรากฎเช่นกนั เปน็ ต้นวา่ ปญั หาเศรษฐกจิ ปัญหาการระบาดของสาร
เสพติด ปัญหาการแข่งขันในรูปแบบต่าง ๆ ปัญหาครอบครัว ซ่ึงก่อเกิดความทุกข์วามวิตกกังวล
ความเครียด มีการปรับตัวท่ีไม่เหมาะสมหรืออื่น ๆ ท่ีเป็นผลเสียต่อสุขภาพสุขภาพกายของทุกคนที่
เกี่ยวข้อง ดังนั้น ภาพความสาเร็จที่เกิดจากการพัฒนานักเรียนให้เป็นไปตามความมุ่งหวังนั้น จึงต้อง
อาศัยความร่วมมือจากผู้เก่ียวข้องทุกฝุายทุกคน โดยเฉพาะบุคลากร ครูทุกคนในโรงเรียน ซึ่งมีครูที่
ปรกึ ษาเป็นหลกั สาคญั ในการดาเนินการต่าง ๆ เพอ่ื การดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างใกล้ชิด ด้วยความ
รักและเมตตาที่มีต่อศิษย์ และภาคภูมิใจในบทบาทท่ีมีส่วนสาคัญต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ
เยาวชนใหเ้ ตบิ โตงอกงาม เปน็ บคุ คลทมี่ ีคณุ ค่าของสงั คมต่อไป (กรมสุขภาพจิต, 2547, หน้า 12)

กรมสุขภาพจิตและสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงตระหนักถึง
ความสาคัญที่จะต้องมีระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน เพ่ือให้มีกระบวนการทางานเป็นระบบ
มีความชัดเจน มีการประสานความร่วมมือของผู้เก่ียวข้องทุกฝุาย ทั้งในโรงเรียนและนอกโรงเรียน
รวมทั้งมีวิธีการ กิจกรรม และเคร่ืองมือต่าง ๆ ที่มีคุณภาพ ในการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอันจะส่งผล
ให้ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนประสบความสาเร็จ โดยมีแนวคิดหลักในการดาเนินงาน ดังน้ี
(กรมสขุ ภาพจิต, 2547, หน้า 15)

1. มนุษย์ทุกคนมีศักยภาพที่จะเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ตลอดชีวิต เพียงแต่ใช้เวลา
และวธิ กี ารที่แตกตา่ งกนั เนอื่ งจากแต่ละคนมีความเป็นปัจเจกบุคคล ดังน้ันการยึดนักเรียนเป็นสาคัญ
ในการพฒั นาเพ่ือดูแลช่วยเหลือ ท้งั ด้านการปอู งกนั การแก้ปญั หา หรอื การส่งเสรมิ จึงเปน็ สง่ิ จาเป็น

2. ความสาเร็จของงาน ต้องอาศัยการมีส่วนร่วม ท้ังการร่วมใจ ร่วมคิด ร่วมทาของทุก
คนท่ีมีส่วนเก่ียวช้อง ไม่ว่าจะเป็นบุคลากรโรงเรียนในทุกระดับ ผู้ปกครอง หรือชุมชน (สานักพัฒนา
สขุ ภาพจติ กรมสุขภาพจติ . 2547. หนา้ 1 - 2)

ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนจะประสบความสาเร็จได้ ผู้รับผิดชอบในการดาเนินงาน
ตอ้ งมคี วามเชื่อ ดงั น้ี (สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาชน้ั พ้นื ฐาน, 2547, หน้า 3)

1. นักเรยี นทุกคนตอ้ งการความรัก ความเข้าใจ การให้อภัย การให้โอกาส อยากเป็นคน
ดี มปี ญั ญา และมีความสุข

2. นกั เรียนทุกคนมีศักยภาพท่ีจะเรียนรู้และพัฒนาตนเองให้ตลอดชีวิต เพียงแต่ใช้เวลา
และวธิ กี ารท่แี ตกต่างกัน

3. ความสาเร็จของงานต้องอาศัยการร่วมแรงร่วมใจ ร่วมคิด ร่วมกระทาของทุกคนที่มี
ส่วนเกี่ยวข้องการพัฒนาคุณภาพนักเรียนให้เป็นบุคคลที่มีคุณภาพท้ังทางด้านร่างกาย จิตใจ

38

สติปัญญา ความสามารถ มีคุณธรรม จริยธรรม และมีวิถีชีวิตท่ีเป็นสุขตามท่ีสังคมมุ่งหวังน้ัน
มีความสาคัญและจาเป็นอย่างย่ิงท่ีจะต้องปฏิบัติการเชิงรุกในการปูองกัน แก้ไข และพัฒนาเด็ก
เพื่อให้สามารถต่อสู้เอาชนะภัยคุกคามเด็กและเยาวชนท่ีนับวันจะรุนแรงมากขึ้น ด้วยเหตุผลตาม
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2545)
(กระทรวงศึกษาธกิ าร, 2545, หนา้ 5 -7) กาหนดให้การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพ่ือพัฒนาคนให้เป็น
มนษุ ยท์ ี่สมบูรณ์ทงั้ ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรม และวัฒนธรรมในการ
ดารงชีวิต สามารถอยู่กับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข (มาตรา 6) และการจัดการศึกษาต้องยืดหลักว่า
ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญท่ีสุด
กระบวนการจดั การศกึ ษาตอ้ งส่งเสริมใหผ้ ู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาตแิ ละเตม็ ศักยภาพ

สรุปได้ว่า ความสาคัญของระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีการพัฒนานักเรียนให้เป็น
บุคคลทม่ี คี ุณภาพท้งั ทางด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความสามารถ มีคุณธรรม จริยธรรม และมีวิถี
ชีวิตท่ีเป็นสุขตามที่สังคมมุ่งหวัง นอกจากจะดาเนินการด้วยการส่งเสริมสนับสนุนนักเรียนแล้ว การ
ปอู งกัน และการช่วยเหลือแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกดิ ข้นึ กบั นักเรียนกเ็ ปน็ สง่ิ สาคัญประการหน่ึงของการ
พฒั นา และระบบการดูแลช่วยเหลอื นักเรยี น ต้องมกี ระบวนการทางานอยา่ งเป็นระบบ มีความชัดเจน
มีการประสานความร่วมมือของผู้เกี่ยวข้องทุกฝุาย ทั้งในโรงเรียนและนอกโรงเรียน รวมทั้งมีวิธีการ
กจิ กรรม และเครอ่ื งมือตา่ ง ๆ ทมี่ ีคณุ ภาพ ในการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอันจะส่งผลให้ระบบการดูแล
ช่วยเหลอื นกั เรยี นประสบความสาเรจ็

3.3 วตั ถปุ ระสงคข์ องระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรยี น
ไดม้ ผี กู้ าหนดวัตถปุ ระสงคข์ องระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี นมดี ังนี้
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (2547, หน้า 4) การดาเนินการดูแล

ช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียนนน้ั มวี ัตถปุ ระสงค์ดังนี้
1) เพื่อให้โรงเรียนมีระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีมีระบบวิธีการ และเคร่ืองมือท่ีมี

คุณภาพและมมี าตรฐานสามารถตรวจสอบได้
2) เพ่ือส่งเสริมให้ครูประจาชั้นและที่ปรึกษา บุคลากรในโรงเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน

หน่วยงาน และองคก์ รภายนอก มสี ว่ นรว่ มในการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
3) เพ่ือให้นักเรียนได้รับการช่วยเหลือและส่งเสริมพัฒนาเต็มตามศักยภาพ เป็นคนท่ี

สมบรู ณท์ ัง้ ดา้ นร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปญั ญา
สรุปได้ว่า ในการดาเนินการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนจะต้องดาเนินการให้เป็น

ระบบมีวิธีการและเคร่ืองมือที่มีคุณภาพสามารถตรวจสอบได้ นอกจากน้ีทางโรงเรียนจะต้องดูแล
ช่วยเหลือและส่งเสริมนักเรียนให้เกิดการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ เป็นคนท่ีสมบูรณ์ทั้งด้านร่างกาย
อารมณ์ สังคม และสติปญั ญา เพ่ือช่วยใหน้ ักเรียนสามารถดารงชีวติ อยใู่ นสังคมไดอ้ ย่างมีความสขุ

3.4 วธิ ีการดาเนนิ งานระบบดูแลช่วยเหลอื นกั เรียน
การดาเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนระดับสถานศึกษา การดาเนินงานของ

สถ า น ศึ ก ษ า เ พื่ อ ใ ห้ก า ร ดู แ ล ช่ ว ย เ ห ลื อนั ก เ รี ย น ไ ด้ บ ร ร ลุ ผ ล แ ล ะส อ ด ค ล้ อ ง ตา ม เ จ ต น า ร ม ณ์ ข อ ง
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พุทธศักราช
2545 มวี ิธีการดาเนินการดังนี้

39

สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาชน้ั พืน้ ฐาน (2547, หนา้ 5) ไดใ้ หแ้ นวทางการดาเนนิ
งานระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี น ดังน้ี

1) ศึกษาสร้างความรู้ความเข้าใจในกระบวนการของระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ใหก้ บั บคุ ลากรในสถานศกึ ษาเพอ่ื วางแผนการดาเนินการ

2) แต่งตั้งคณะกรรมการรับผิดชอบขึ้น 3 ทีม ได้แก่ ทีมคณะกรรมการอานวยการ ทีม
คณะกรรมการประสานงาน และทมี คณะกรรมการดาเนนิ การ

3) อบรมบุคลากรที่รับผิดชอบในสถานศึกษาดาเนินการประชุมเพื่อกาหนดบทบาทของ
คณะกรรมการทง้ั 3 ชุด

3.1) จัดทาโครงการแผนปฏิบัติงาน ปฏิทินปฏิบัติงานตามระบบการดูแลช่วยเหลือ
นักเรียนใหเ้ ปน็ แนวทางเดียวกนั

3.2) แต่งต้ังครูที่ปรึกษาประจาชั้นเรียน หรือกลุ่มนักเรียน ให้มีหน้าท่ีดูแลช่วยเหลือ
นกั เรียน ฝุายปกครอง หรอื ฝาุ ยกจิ การนักเรียนคอยดูแลควบคุมกากับติดตามและประเมินผลงานของ
ครูทป่ี รึกษา

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาชั้นพ้ืนฐาน (2547, หน้า 5) กล่าวว่า การพัฒนา
กระบวนการดาเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างมีระบบให้เกิดข้ึนต่อเน่ื องและมีความ
เข้มแข็ง ซึ่งผู้บริหารสถานศึกษาจะต้องบูรณาการแนวคิดวิธีการบริหารเชิงระบบคุณภาพหรือวงจร
คณุ ภาพเดมมิ่ง (Deming Cycle: P-D-C-A) ในการบรหิ ารงานระบบการดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรียนเพ่ือให้
เกิดมาตรฐานการดาเนินงานที่เสริมสร้างการพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียนตามพระราชบัญญัติการศึกษา
แห่งชาตพิ ทุ ธศักราช 2542 และทแ่ี ก้ไขเพ่มิ เติม (ฉบับท่ี 2) พทุ ธศกั ราช 2545 ดงั นี้

1) ข้ันการเตรียมการและวางแผนดาเนินงาน (Planning) เป็นชั้นที่มีการแต่งตั้ง
คณะกรรมการวเิ คราะห์สภาพความพร้อมพื้นฐานของโรงเรยี นและจดั ทาแผนปฏบิ ตั ิการ

2) ชน้ั การปฏิบัติตามแผน (Doing) เป็นขั้นที่มีการสร้างความตระหนัก และความเข้าใจ
กับบุคลากรในโรงเรียนแล้วดาเนินการตามแผนปฏิบัติงานท่ีจัดทาข้ึน โดยเฉพาะการดาเนินงานของ
ครูทป่ี รกึ ษา ในกระบวนการดแู ลชว่ ยเหลือนักเรียนทัง้ 5 ประการ

3) ขั้นการกากับติดตาม ประเมิน และรายงาน (Checking) เป็นข้ันท่ีมีการติดตาม
ประเมินผลเพอ่ื ทบทวนการดาเนนิ งานทผี่ ่านมา

4) ข้นั การปรบั ปรงุ ดาเนินการให้ได้มาตรฐาน (Acting) เปน็ ชน้ั ทม่ี ีการนาผลการประเมิน
คุณภาพภายในมาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดยมีการจัดทา
รายงานผลการดาเนนิ งานเพ่อื เป็นขอ้ มูลสารสนเทศในการพัฒนาต่อไป

5) ข้ันตอนการดาเนินงานประกันคุณภาพภายในโรงเรียนเกี่ยวกับระบบดูแลช่วยเหลือ
นกั เรยี น การดาเนินงานประกนั คุณภาพภายในโรงเรียนเก่ยี วกับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนได้ใช้
หลักการบรหิ ารจัดการอยา่ งเปน็ ระบบ (PDCA) ดังภาพประกอบ 2

40

ภาพประกอบ 2 การดาเนนิ งานระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรียน
3.5 องค์ประกอบของระบบดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียน

องคป์ ระกอบของระบบดแู ลช่วยเหลือนกั เรียน เปน็ กระบวนการดาเนนิ งานทม่ี ี
องคป์ ระกอบสาคัญ 5 ประการ ดังน้ี (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน, 2547, หนา้ 36)

1. การรจู้ กั นกั เรยี นเป็นรายบุคคล
การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคลเป็นวิธีการสาคัญท่ีจะช่วยให้ครูทราบถึง จุดแข็ง

จุดอ่อนของนักเรียนแต่ละคน โดยใช้เครื่องมือที่หลากหลาย ซึ่งต้องเลือกวิธีการและเครื่องมือหรือ
เทคนิคต่าง ๆ เพ่ือประสิทธิภาพในการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล และสามารถนาไปวางแผนให้การ
ชว่ ยเหลือปูองกนั และสง่ เสรมิ พัฒนาการของนกั เรียนแตล่ ะคนได้อย่างเหมาะสม

ชนั้ ตอนการปฏิบัติการรูจ้ ักนักเรยี นเป็นรายบคุ คลมีข้นั ตอนการปฏิบัตทิ โี่ รงเรียน
จะต้องดาเนินการ ดังน้ี (กรมสุขภาพจิต, 2547, หน้า 53)

1) จัดครูทป่ี รึกษาให้เหมาะสมกับนักเรยี นแตล่ ะกล่มุ ในสัดส่วน ครู : นักเรียน คือ
1 : 20 - 25 คน


Click to View FlipBook Version