STORE OPERATIONS MANUAL
• เพ่มิ ยอดซ้ือ/ขาย
ลกั ษณะเป็ นหีบ/ห่อ
สินคา้ ขนาดใหญ่ (BIG SIZE) เช่น น้าเป๊ ปซ่ี 32 ออนซ์
สินคา้ เป็นชุด (JUMBO MEAL)
• การใหข้ อ้ เสนอพเิ ศษ
คูปองลดราคา
สินคา้ ราคาพเิ ศษ (ซ้ือแบบมีเง่ือนไข)
• จดั รายการในช่วงที่ยอดขายต่า (OFF-PEAK PERIOD)
2. LOCAL STORE PROMOTION
จากการวเิ คราะห์ขอ้ มูลพบวา่ ลกู คา้ ท่ีจะมีการใชบ้ ริการร้านสะดวกซ้ือ เป็ นดงั น้ี
ลกู คา้ ส่วนใหญเ่ ป็ นลูกคา้ ประเภท WALK-IN
TRADE ZONE มีรัศมี 10 นาที
80% ของลูกคา้ ใชเ้ วลาเดินทาง 5 – 10 นาที
โดยใช้ Local Store Management (LSM) จะแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ
1. NEW STORE
คือ การส่งเสริมการขายท่ีใชส้ าหรับสาขาเปิ ดใหม่ เพือ่ เป็ นการแนะนาใหช้ ุมชนรูจ้ กั และเขา้ มาใชบ้ ริการ ซ่ึงจะแบ่งตาม
ลกั ษณะของร้าน ดงั น้ี :
ในแหลง่ ชุมชน
ร้านคีออส (KIOSK) อาคารสานกั งาน
สถาบนั การศึกษา
สถาบนั อื่นๆ เช่น โรงพยาบาล
ร้านในสถานีบริการน้ามนั
โดยใชว้ ธิ ีการดาเนินการดงั น้ี :
1.1 การบริหารผลิตภณั ฑ์ โดยเลือกสินคา้ ที่จะนามาจดั รายการตามลกั ษณะของร้าน เช่น ของกินสาหรบั ร้านในอาคาร
สานกั งาน เป็ นตน้
1.2 กิจกรรม ณ จุดขาย
- แจกของ สินคา้ ฟรี
- ชิมฟรี
- การโฟน
- เกมส์
เอกสารน้ีเป็ นลขิ สิทธ์ิของ บริษทั ซนั สโตร์ 2002 จากดั หา้ ม1จ0า1หน่าย หรือเผยแพร่ เพื่อประโยชนท์ างธุระกิจ
STORE OPERATIONS MANUAL
-
1.3 การกระตุน้ การขาย
- การจดั แสดง/โชว์ (DISPLAY)
- สินคา้ ราคาพิเศษ
1.4 การสร้างความสมั พนั ธก์ บั ชุมชน
- รถแห่
- แจกของ
- จดั ประกวด
- แจกทุนการศึกษา
- บริจาคสมทบทุน
- ร่วมกิจกรรมต่างๆ กบั ชุมชน
2. SPECIAL STORE PROMOTION
คือ การส่งเสริมการขายที่จดั เฉพาะร้านสาขาที่มีเหตุการณ์พิเศษเกิดข้ึน เช่น
- ยอดขายไม่เป็นไปตามเป้าหมาย
- ยอดขายตก
- มีคู่แข่งเปิ ดในบริเวณเดียวกนั
โดยจะใชว้ ธิ ีการดาเนินการ ดงั น้ี :
2.1 เพ่มิ จานวนลูกคา้ โดย
- เพ่มิ ส่ือในทอ้ งถ่นิ เช่น โปสเตอร์ รถแห่
- แจกสินคา้ ตวั อยา่ ง
2.2 เพม่ิ ยอดซ้ือ/ขาย
- จดั รายการพเิ ศษเป็ นหีบห่อ เช่น ขายเป็นโหล เป็ นตน้
- สินคา้ ราคาพิเศษ
2.3 สร้างการทดลองใชใ้ หแ้ ก่ลูกคา้ ที่ไม่เคยใชบ้ ริการ
- คูปอง
- ใหเ้ ง่ือนไขพเิ ศษ
- สินคา้ ราคาพเิ ศษ
- เพ่มิ ประสิทธิภาพของส่ือ
- การออกแบบ
- การกระจายส่ือ
2.4 การจดั กิจกรรม ณ จุดขาย
- การโฟนบริเวณหนา้ ร้าน
- การจดั แสดง/โชว์ สินคา้ ท่ีจดั รายการ เช่น สินคา้ ต้งั กอง เป็ นตน้
เอกสารน้ีเป็ นลขิ สิทธ์ิของ บริษทั ซนั สโตร์ 2002 จากดั หา้ ม1จ0า2หน่าย หรือเผยแพร่ เพอ่ื ประโยชนท์ างธุระกิจ
STORE OPERATIONS MANUAL
ควำมสำคัญของกำรส่ งเสริมกำรขำย
การส่งเสริมการขายเป็ นสิ่งสาคญั มากที่จะทาใหบ้ ริษทั ประสบความสาเร็จ ดว้ ยเหตผุ ลดงั ตอ่ ไปน้ี
• เป็ นการสร้างทศั นคติดา้ นบวกเกี่ยวกบั ผลิตภณั ฑใ์ หก้ บั ผบู้ ริโภค การใหผ้ ลประโยชน์กบั ลกู คา้ ดว้ ยวธิ ีการต่างๆ ทา
ใหล้ ูกคา้ เกิดความรู้สึกวา่ บริษทั ไมเ่ อาเปรียบตนเอง
• เพ่อื ดึงดดู ลูกคา้ ใหเ้ ขา้ มาชมสินคา้ ใหม้ ากข้ึน ซ่ึงจะมผี ลกระทบโดยตรงตอ่ ผลิตภณั ฑท์ ี่มีการส่งเสริมการขาย และ
ผลกระทบทางออ้ มตอ่ ผลิตภณั ฑอ์ ่ืนท่ีอยใู่ นร้านดว้ ย
• เพอื่ แสดงวา่ ร้านมีการปรับปรุงอยเู่ สมอ
• เพอื่ ต่อสูแ้ ละเอาชนะคู่แขง่ โดยการจูงใจตา่ งๆ
• ทาใหผ้ ลิตภณั ฑเ์ คล่ือนยา้ ยสู่ผบู้ ริโภคไดร้ วดเร็วข้นึ เช่น การแถมสินคา้ จะทาใหจ้ านวนผซู้ ้ือเพมิ่ มากข้ึน ทาให้
สินคา้ เคลื่อนยา้ ยมากข้ึน
• เร่งรัดใหใ้ หต้ ดั สินใจซ้ือ เพราะวา่ การส่งเสริมการขายเป็ นกิจกรรมท่ีกาหนดไว้ เท่ากบั เป็นการเร่งรัดใหล้ ูกคา้
ตดั สินใจซ้ือ
• เป็ นผลประโยชนห์ รือคุณคา่ พเิ ศษท่ีบริษทั มอบใหก้ บั ลูกคา้ เช่น การชิงโชค การแถม จึงเป็ นกิจกรรมท่ีสามารถ
สร้างความพงึ พอใจใหก้ บั ลูกคา้ ไดด้ ีกวา่ วธิ ีอ่ืน
• จะช่วยแกป้ ัญหาสินคา้ มเี หลือมากเกินไป เท่ากบั เป็นวธิ ีช่วยระบายสินคา้ ท่ีต่ากวา่ คุณภาพ หรือเป็ นสินคา้ ท่ีลา้ สมยั
• เป็ นการติดตอ่ สื่อสารและใหป้ ระโยชนก์ บั ลูกคา้ เท่ากบั เป็ นการสร้างภาพพจน์และศรัทธาตอ่ บริษทั ใหเ้ กิดข้ึน
• สามารถติดตามและวดั ผลไดง้ ่ายกวา่ การโฆษณา เช่น วดั จากจานวนของแถม ถา้ ของแถมหมดแสดงวา่ สินคา้ ขายดี
และการส่งเสริมการขายไดผ้ ล
วธิ ีกำรส่งเสริมกำรขำย
1. กำรลดรำคำ เป็ นวธิ ีการส่งเสริมการขายที่ง่าย และไมย่ งุ่ ยากในการเตรียมแผนงานมากนกั แตก่ ารลดราคาจะมีผลในระยะยาว
เช่น จะทาใหม้ ีการตดั ราคากนั ในระหวา่ งคู่แขง่ ซ่ึงการส่งเสริมการขายดว้ ยวธิ ีน้ี ถือวา่ มีประสิทธิภาพมากพอสมควร
เนื่องจากจะช่วยกระตนุ้ ใหล้ ูกคา้ ลองใช้ หรือซ้ือมากกวา่ ปกติ
ข้อดขี องกำรลดรำคำ
- จะช่วยเพ่ิมยอดขายที่ตกต่าใหส้ ูงข้ึนได้
- เป็ นวธิ ีการส่งเสริมการขายท่ีสามารถควบคุมการขายได้ ทราบยอดขายได้
ข้อเสียของกำรลดรำคำ
- จะกระทบกระเทือนต่อภาพพจนข์ องสินคา้ เพราะอาจทาใหล้ กู คา้ ไม่แน่ใจวา่ สินคา้ ท่ีแทจ้ ริง
แลว้ มีมลู ค่าเป็ นเท่าใด เมื่อลดราคาคร้ังหน่ึงแลว้ ลูกคา้ กอ็ ยากที่จะทาใหก้ ารลดราคาอีก โดย
การคอยโอกาสเท่าน้นั
เอกสารน้ีเป็ นลิขสิทธ์ิของ บริษทั ซนั สโตร์ 2002 จากดั หา้ ม1จ0า3หน่าย หรือเผยแพร่ เพ่อื ประโยชนท์ างธุระกิจ
STORE OPERATIONS MANUAL
- ในช่วงที่ไมม่ ีการลดราคา อาจทาใหย้ อดจาหน่ายไมด่ ี หลงั จากกลบั สู่สภาวะการขายปกติ
เน่ืองจากลกู คา้ เกิดความรู้สึกวา่ สินคา้ น้นั เป็นสินคา้ ท่ีควรจะมีราคาถูกเพราะคุณภาพต่า
2. กำรแลกซื้อ โดยการนาชิ้นส่วน หรือคูปองของสินคา้ (ตามกาหนด) บวกเงินเพิ่มแลว้ นาไปแลกของแถม คือ แถมหน่ึงส่วน
ซ้ือหน่ึงส่วน
ข้อดขี องกำรแลกซื้อ
- ใหผ้ ลทนั ที
- เป็ นการชกั จูงกระตุน้ ท่ีค่อนขา้ งมีน้าหนกั เพราะลกู คา้ เลง้ เห็นผลประโยชน์
- ลูกคา้ ไมต่ อ้ งใชค้ วามพยายาม ไม่ตอ้ งเส่ียง ไมต่ อ้ งรอ
- สามารถแสดงของแถมใหล้ ูกคา้ เห็นได้
- เป็ นการสนบั สนุนการนาสินคา้ ใหมอ่ อกสู่ตลาด
ข้อเสียของกำรแลกซื้อ การทากิจกรรมตอ้ งใชเ้ วลาในการวางแผนระยะยาว เพราะจะตอ้ งคานวณปริมาณของแถมที่จะ
- ผลิตหรือสง่ั ทา
เป็ นการส่งเสริมการขายท่ีตอ้ งใชเ้ งินทุนสูงในการสงั่ ทาของแถม หากเป็ นของแถมราคาถูก
- ลูกคา้ จะไมส่ นใจ
มีข้นั ตอนในการจดั การเพ่มิ ข้ึน ในการติดตอ่ VENDOR และการออกวางจาหน่ายสินคา้
-
3. กำรแจกของแถม โดยการนาชิ้นส่วน หรือคูปองแลกของแถมชิ้นตอ่ ชิ้นตามกาหนด
หลกั สาคญั ในการเลือกของแถม
- ของแถมน้นั จะตอ้ งสมั พนั ธ์กบั ตวั สินคา้ ท่ีขาย ไมค่ วรมีลกั ษณะขดั แยง้ กนั และไมท่ าใหเ้ สีย
ภาพพจนข์ องสินคา้
- เป็ นของท่ีจดั หามาไดง้ ่าย ไมเ่ สียคา่ ใชจ้ ่ายสูง
- ไม่เป็ นของที่แตกหกั ง่าย หรือมีกล่ินท่ีน่ารังเกียจ
- เป็ นของท่ีมีคุณค่าในสายตาของลกู คา้ นาไปใชไ้ ดง้ ่าย ไม่จาเป็นจะตอ้ งมีราคาสูงเสมอไป
- ไมน่ าความยงุ่ ยากมาใหร้ ้านสาขาภายหลงั เช่น การรับประกนั คุณภาพ การซ่อมแซม ฯลฯ
- จะตอ้ งมีจานวนเพยี งพอ และสะดวกต่อการจดั หา
4. กำรใช้คูปองแลกซื้อ/กำรสะสมคูปอง เป็นบตั รที่กาหนดขอ้ เสนอในการนาใบคูปองไปแลกซ้ือ เพื่อใหล้ ูกคา้ กลบั มาซ้ือสินคา้
อีก โดยอาจกาหนดวา่ จะเป็นสินคา้ ใดในรูปแบบของแถม โดยจดั ทาข้ึนเป็ นบตั รพิเศษเพ่อื แนบไปกบั สินคา้ หรือพมิ พล์ งใน
ข่าวสารการโฆษณา รวมท้งั การจดั พมิ พเ์ ป็ นบตั รแจกจ่ายใหบ้ ุคคลทว่ั ไป เพอื่ ชกั จูงใหม้ าทาการซ้ือสินคา้
เอกสารน้ีเป็ นลขิ สิทธ์ิของ บริษทั ซนั สโตร์ 2002 จากดั หา้ ม1จ0า4หน่าย หรือเผยแพร่ เพื่อประโยชนท์ างธุระกิจ
STORE OPERATIONS MANUAL
ข้อดขี องคูปอง
- ช่วยใหล้ ูกคา้ ทดลองใชส้ ินคา้ ใหม่ หรือใชผ้ ลิตภณั ฑเ์ ดิมที่ไดร้ ับการปรับปรุงคุณภาพ
คุณสมบตั ิใหด้ ีข้ึนแลว้
- สร้างความผกู พนั ที่จะใหล้ กู คา้ มาซ้ือสินคา้ ยหี อ้ น้นั ตลอดไป
- เป็ นการส่งเสริมการขายวธิ ีหน่ึงท่ีมีความคลอ่ งตวั มาก
ข้อเสียของคูปอง ในบางคร้ังคูปองจะทาหนา้ ที่คลา้ ยเงินสด อาจมีผทู้ าการปลอมแปลง หรือเกิดการทจุ ริตข้ึนได้
- จึงควรมีมาตรการที่รัดกมุ
ช่วงเวลาท่ีลูกคา้ จะนาคูปองมาใชอ้ าจใชเ้ วลานาน
- ไมเ่ หมะสาหรบั สินคา้ ท่ีมีอตั ราการหมนุ เวยี นต่า
- ระบุขอ้ เสนอของคูปองตอ้ งแจง้ มลู คา่ ในรูปตวั เงิน หรือปริมาณ/ขนาดของสินคา้
-
5. กำรชิงโชค ลูกคา้ มีสิทธิไดร้ ับรางวลั โดยการเส่ียงโชคได้ แตต่ อ้ งปฏิบตั ิตามเง่ือนไขที่กาหนด ทาไดโ้ ดยลกู คา้ ซ้ือสินคา้ แลว้
ทาการส่งชิ้นส่วน หรือคูปองไปยงั สถานที่ ตามระยะเวลาที่กาหนด หรือมกั จะมีการแขง่ ขนั เขา้ มาเกี่ยวขอ้ งดว้ ย และมีการจบั
ฉลากเลือกผโู้ ชคดีใหเ้ ป็นผูไ้ ดร้ ับรางวลั ท่ีกาหนด โดยมหี ลกั การจดั ชิงโชครางวลั ดงั น้ี :
- ไม่กาหนดหรือมอบรางวลั เป็นเงินสด
- จะตอ้ งระบุรายละเอียดของรางวลั เงื่อนไข กติกา และวธิ ีการร่วมชิงโชค
- กาหนดระยะเวลาเริ่มตน้ – สิ้นสุดของการจดั
- แจง้ รายละเอียดเกี่ยวกบั วนั เวลา สถานท่ี ท่ีจดั ชิงโชค จบั รางวลั
- การจบั ชิ้นส่วนผทู้ ี่จะไดร้ บั รางวลั จะตอ้ งเปิ ดใหส้ าธารณะชนเขา้ ชมได้
- มีการประกาศรายช่ือผทู้ ี่ไดร้ บั รางวลั ใหท้ ราบโดยทวั่ กนั
ข้อดขี องกำรชิงโชค
- สามารถกาหนดรางวลั ใหเ้ ป็นที่น่าสนใจ โนม้ นา้ วจิตใจลกู คา้ ได้
- สามารกาหนดคา่ ใชจ้ ่ายท่ีแน่นอนได้
- ไมม่ ีปัญหาในเร่ืองหีบห่อ ง่ายกวา่ การจดั ของแถม
- สามารถกระตนุ้ การซ้ือสินคา้ ไดซ้ ้าแลว้ ซ้าอีก
- เป็ นที่ไดร้ ับความนิยม และยอมรบั
ข้อเสียของกำรชิงโชค
- แนวโนม้ คา่ ใชจ้ ่ายเก่ียวกบั ของรางวลั จะเพม่ิ สูงข้นึ ตลอดเวลา
- อาจตอ้ งใชก้ ารโฆษณาสนบั สนุน
- ในทศั นะของลูกคา้ มองวา่ ไม่ไดร้ บั ผลประโยชน์/ของตอบแทนโดยทนั ที เพราะจะตอ้ งรอให้
ครบถึงกาหนดการจบั ชิ้นส่วนเสียก่อน
- ใชเ้ วลาในการวางแผนการจดั ชิงโชค ชิงรางวลั
เอกสารน้ีเป็ นลิขสิทธ์ิของ บริษทั ซนั สโตร์ 2002 จากดั หา้ ม1จ0า5หน่าย หรือเผยแพร่ เพ่อื ประโยชนท์ างธุระกิจ
STORE OPERATIONS MANUAL
กำร DISPLAY สินค้ำจัดรำยกำรส่งเสริมกำรขำย
การจดั DISPLAY สินคา้ จดั รายการส่งเสริมการขายมี 3 ประเภท คอื
1. กำรต้งั กอง PROMOTION
คือการจดั กองโชวส์ ินคา้ ต้งั กอง โดยเนน้ การจดั วางสินคา้ ใหเ้ ป็นระเบียบสวยงาม ในตาแหน่งท่ีลูกคา้ สามารถมองเห็นได้
ชดั เจน และคานึงถึงความสมั พนั ธ์ การจดั วาง ระดบั ความสูงของการจดั ต้งั กอง ซ่ึงทาใหล้ กู คา้ เกิดความตอ้ งการซ้ือมากข้ึน
โดยทว่ั ไปสินคา้ ที่มกั ใชจ้ ดั รายการจะเป็ นสินคา้ กลุ่มท่ีผบู้ ริโภคมีความตอ้ งการสูงเป็ นพิเศษ บริโภคแลว้ หมดอยา่ งรวดเร็ว
เช่น น้าปลา เครื่องดื่มอดั ลมแบบกระป๋ อง เป็ นตน้
2. กำรจดั SHELF PROMOTION
คือการจดั วางสินคา้ ที่จดั รายการส่งเสริมการขายบนช้นั ที่กาหนดโดยเฉพาะ แยกต่างหากจากช้นั อ่ืน เพอ่ื เป็ นจุดส่งเสริมการ
ขาย ซ่ึงเหมาะสาหรับสินคา้ ที่ผบู้ ริโภคตอ้ งการใชใ้ นชีวติ ประจาวนั และมีขนาดไมใ่ หญม่ าก เช่น แชมพู ยาสีฟัน เป็ นตน้
นอกเหนือจากสินคา้ ที่จดั รายการแลว้ จะมีการใชพ้ ้นื ที่สาหรับจดั วางสินคา้ ใหมท่ ี่น่าสนใจ เพ่ือทดลองวางขายในร้าน ซ่ึงจะ
เป็ นขอ้ มูลในการตดั สินใจสาหรบั ฝ่ ายจดั ซ้ือต่อไป
3. กำรจดั BASKET PROMOTION
คือการส่งเสริมการขายบริเวณดา้ นหนา้ เคาน์เตอร์แคชเชียร์ บนตะกร้าพลาสติก โดยสินคา้ ที่จดั รายการมกั เป็ นสินคา้ ชิ้นเลก็ ๆ
ซ่ึงลกู คา้ ซ้ือโดยไม่ไดเ้ จาะจงมาซ้ือโดยเฉพาะ (IMPULSE PRODUCT) เป็ นการสร้างยอดขายใหร้ ้านอีกทางหน่ึง
สื่อทใี่ ช้ในกำรส่งเสริมกำรขำย
วตั ถุประสงค์
1. สร้างความเป็ น CONVENIENCE STORE ในการตรึงใจผบู้ ริโภค
2. เพ่อื ใหก้ ลุ่มเป้าหมาย รู้จกั และจดจาช่ือ “SUNSTORE” ไดอ้ ยา่ งแม่นยา
3. เพือ่ ใหก้ ลุ่มเป้าหมายนึกถึงและเลือกใชบ้ ริการของ “SUNSTORE”
4. เพ่ือเสริมภาพพจนท์ ี่ดีของ “SUNSTORE”
เอกสารน้ีเป็ นลขิ สิทธ์ิของ บริษทั ซนั สโตร์ 2002 จากดั หา้ ม1จ0า6หน่าย หรือเผยแพร่ เพ่อื ประโยชนท์ างธุระกิจ
STORE OPERATIONS MANUAL
กลยทุ ธ์กำรโฆษณำ
1. เนน้ การโฆษณาสาหรับรณรงคส์ ่งเสริมการขาย เพือ่ สร้าง AWARENESS และเกิดการขาย
2. ใชก้ ารโฆษณาทางโทรทศั น์ และวทิ ยุ เป็ นส่ือหลกั ในการสร้าง AWARENESS และบอกถึงผลประโยชน์/คุณค่าตอบแทนท่ี
ตอ้ งการใหก้ ลมุ่ เป้าหมายทราบในระยะเวลาอนั รวดเร็ว
3. การใชอ้ ุปกรณ์ช่วยขาย ณ จุดขาย (P.O.P.) ในรูปแบบต่างๆ เพ่ือใหเ้ กิด IMPACT กบั กล่มุ เป้าหมายโดยตรง
4. ใชค้ วามตอ่ เน่ืองของแผนงานโฆษณา และการใชส้ ่ือในรูปแบบตา่ งๆ สนบั สนุนซ่ึงกนั และกนั
กำรใช้สื่อโฆษณำ แบ่งตามการผลิตได้ ดงั น้ี :
1. สื่อภายในบริษทั (IM-HOUSE) จะผลิตส่ือในลกั ษณะตา่ งๆ เช่น
- แบนเนอร์
- โมบาย
- โปสเตอร์
- เคานเ์ ตอร์การ์ด
- SHELF CARD
- ป้ายต้งั กอง
- อปุ กรณ์ช่วย ณ จุดขาย (P.O.P.)
- ธงราว, ธงญี่ป่ ุน
ข้อดี
1. สามารถผลิตงานไดร้ วดเร็ว เหมาะกบั กรณีที่ตอ้ งการส่งเสริมการขายเร่งด่วน
2. ใชง้ บประมาณไมส่ ูงนกั
3. การประสานงานไมซ่ บั ซอ้ น ผเู้ กี่ยวขอ้ งเขา้ ใจ CONCEPT ของงานเป็นอยา่ งดี เพราะมีความรู้เกี่ยวกบั ตวั ผลิตภณั ฑอ์ ยแู่ ลว้
กำรวำงแผนส่งเสริมกำรขำย
1. การ Promote Brand สู่สงั คม
1.1 การวางรูปแบบร้านใหเ้ ขา้ กบั ความนิยมของกลมุ่ ผบู้ ริโภค
1.2 การโฆษณาประชาสมั พนั ธต์ ่างๆ และกิจกรรมการตลาด
1.3 การกาหนดพ้นื ที่ Promotion ของร้านสาขาในการวางผงั ร้าน เพ่ือใหส้ อดคลอ้ งกบั แผนการส่งเสริมการขาย โดย
แบ่งเป็ น
1.3.1 พ้นื ท่ีเพ่ือการจดั กิจกรรมการตลาด
1.3.2 พ้นื ท่ีเพอื่ เพิ่มยอดขาย
1.3.3 พ้ืนท่ีจดั แสดงสินคา้ แนะนา หรือสินคา้ ลดราคา
1.3.4 พ้ืนท่ีจดั แสดงข่าวสารเก่ียวกบั สินคา้ และข่าวสารของบริษทั
เอกสารน้ีเป็ นลิขสิทธ์ิของ บริษทั ซนั สโตร์ 2002 จากดั หา้ ม1จ0า7หน่าย หรือเผยแพร่ เพื่อประโยชนท์ างธุระกิจ
STORE OPERATIONS MANUAL
1.4 การจดั รายการส่งเสริมการขาย เป็ นแผนรายปี ซ่ึงอาจปรับเปลี่ยนในรายละเอียดไดบ้ า้ งตามสถานการณ์ โดยเนน้
เก่ียวกบั
1.4.1 สินคา้ ปกติ : ส่วนลดตามสีของป้ายราคา
1.4.2 กิจกรรมการตลาด : ประจาเดือน และในช่วงเทศกาล
กจิ กรรมกำรตลำดอำจมลี กั ษณะ ดงั ต่อไปนี้
- การใหส้ ่วนลด หรือ การใหส้ ินคา้ สมนาคุณ
- สินคา้ ราคาพเิ ศษ หรือ จดั ชุดสินคา้ ที่สามารถใชร้ ่วมกนั
- แจกคูปองแลกสินคา้ หรือบริการ
- สะสมแตม้ จากยอดซ้ือ เพ่อื ใชแ้ ลกสินคา้ /ส่วนลดสินคา้ /ส่วนลดการบริการ
2. การวเิ คราะห์ยอดขายของร้าน
2.1 วเิ คราะหจ์ ากรายงานยอดขายในชว่ งที่ไม่มีกิจกรรมพิเศษ
2.2 วเิ คราะห์จากยอดขายในช่วง Promotion
2.3 วางแผนการตลาดเพือ่ เพ่ิมผลกาไรในร้านสาขา
2.3.1 วเิ คราะห์สินคา้ ที่ขายจาก Report การขาย
2.3.2 วางแผนบริหารสินคา้ ร่วมกบั ฝ่ ายปฏิบตั ิการ สาหรับร้านสาขาแต่ละสาขา
2.3.3 วางแผนการบริหารพ้นื ที่เพ่อื การขายและบริการ
2.3.4 เสนอแนะการปรับปรุงการบริการในร้านสาขา
2.4 จดั ส่งแบบฟอร์ม เพ่อื ใหร้ ้านสาขากรอกขอ้ มูลดา้ นการตลาด เพ่ือนาขอ้ มลู มาวเิ คราะห์สาหรับสาขาน้นั ๆ
3. แกไ้ ขปัญหาต่างๆ เก่ียวกบั สินคา้ และกิจกรรมการตลาด
3.1 ปัญหาเกี่ยวกบั สินคา้
3.1.1 ราคาขายผิดปกติ, ราคาสูงไป, ราคาต่าไป
3.1.2 ร้านสาขาไม่มีความรู้เกี่ยวกบั สินคา้
3.2 ปัญหาเก่ียวกบั กิจกรรมการตลาด
3.2.1 ร้านสาขาไมเ่ ขา้ ใจข้นั ตอน และวธิ ีการจดั การ
3.2.2 ร้านสาขาไม่มีสินคา้ จดั รายการ
3.2.3 ร้านสาขาไม่ไดร้ ับสื่อในการจดั Promotion
กำรจดั รำยกำรส่งส่งเสริมกำรขำย มขี ้นั ตอนกำรเตรียมกำรเรื่องอปุ กรณ์และสินค้ำ ดงั นี้
1. ฝ่ ายการตลาดจะกาหนดแผนการส่งเสริมการขายของร้านสาขาล่วงหนา้ 1 ปี และแต่ละไตรมาส โดยอาจมีการปรับเปล่ียนใน
รายละเอียด เพ่อื ความเหมาะสมกบั สภาวะตา่ งๆ ในช่วงน้นั
2. ก่อนถึงกาหนดจดั รายการแตล่ ะรายการ ฝ่ ายการตลาดจะส่งเอกสารช้ีแจงรายละเอียด และข้นั ตอนการจดั รายการน้นั ๆ ไปยงั
ร้านสาขา เพือ่ ใหจ้ ดั เตรียม ดงั น้ี
เอกสารน้ีเป็ นลขิ สิทธ์ิของ บริษทั ซนั สโตร์ 2002 จากดั หา้ ม1จ0า8หน่าย หรือเผยแพร่ เพ่อื ประโยชนท์ างธุระกิจ
STORE OPERATIONS MANUAL
- จดั เตรียมสินคา้ ท่ีกาหนดอยา่ งชา้ 1 สปั ดาห์ ก่อนถึงช่วงจดั รายการ เพ่ือใหม้ ีสินคา้ จดั รายการเตรียมไวก้ ่อน
- จดั เตรียมพ้ืนที่สาหรับติดต้งั ส่ือโฆษณา อนั ไดแ้ ก่ โปสเตอร์, โปรชวั ร์, แผน่ ป้ายตา่ งๆ ฯลฯ
- จดั เตรียมอปุ กรณ์ในการจดั แสดงสินคา้ (Display) ป้ายราคา Sale ฯลฯ
- จดั เตรียมพ้นื ที่ Promotion ตามเอกสารท่ีไดร้ ับแจง้ จากฝ่ ายการตลาด
- ผจู้ ดั การร้านจะตอ้ งซกั ซอ้ มวธิ ีการ และเทคนิคการขายกบั พนกั งานประจาสาขาใหข้ ้นึ ใจ เพอื่ ใหพ้ ร้อมในการบริการ
ลกู คา้
3. ในระยะก่อนหนา้ กาหนดจดั รายการ ใหจ้ ดั การตดิ ส่ือโฆษณา, ป้าย ฯลฯ ระบุระยะเวลาจดั รายการ
4. ในวนั ก่อนหนา้ กาหนดรายการ 1 วนั ใหจ้ ดั เตรียมสินคา้ , ติดป้ายราคา Sale (ถา้ มีการลดราคา) และจดั Display ใหพ้ ร้อม
สาหรับการจดั รายการวนั รุ่งข้นึ
5. ราคาขายในช่วงจดั รายการจะถกู ส่ง Modem มาจากสานกั งานใหญ่ โดยฝ่ าย MIS (คอมพวิ เตอร์) ซ่ึงจะมีผลในวนั เร่ิมรายการ
6. ระหวา่ งการจดั รายการทางร้านสาขา (ผจู้ ดั การร้าน) จะตอ้ งดูแล ดงั น้ี
- ใหม้ ีสินคา้ จดั รายการอยา่ งเพียงพอ
- ถา้ มีสินคา้ สมนาคุณตอ้ งดูแลใหม้ เี พยี งพอ
- ติดตามจานวน/ยอดขายทุกวนั เพอ่ื สงั่ ซ้ือสินคา้ ไดท้ นั โดยบนั ทึกในแบบฟอร์ม
- ควบคุมพนกั งานประจาร้านใหป้ ฏิบตั ิ และบนั ทึกการขายอยา่ งถกู ตอ้ ง
7. เม่ือเสร็จสิ้นการจดั รายการ ทางร้านสาขาจะตอ้ งสรุปผลการขายท่ีบนั ทึกในคอมพวิ เตอร์ ลงในแบบฟอร์มรายงานสรุปผล
การจดั รายการ และนาส่งฝ่ ายการตลาด
8. ขอใหท้ างร้านสาขาปลดป้าย, โปสเตอร์, สื่อตา่ งๆ ฯลฯ ออก และนาคืนฝ่ ายการตลาด
กำรรำยงำนข้อมูลทำงด้ำนกำรตลำด
เนื่องจากร้านสาขาแต่ละร้านอยใู่ นทาเลที่แตกต่างกนั ท้งั ในดา้ นกลมุ่ เป้าหมาย, กาลงั ซ้ือ ฯลฯ ขอ้ มลู การตลาดใน
ทอ้ งถ่ินจึงเป็ นขอ้ มลู ท่ีจาเป็นตอ้ งไดม้ าเพ่ือประกอบการวเิ คราะห์ยอดขายของสาขาน้นั ๆ
ขอ้ มูลท่ีผจู้ ดั การสาขาตอ้ งควบคุมใหม้ ีการบนั ทึก และรวบรวมจดั ส่งมายงั ฝ่ ายการตลาด ไดแ้ ก่
1. รายงานจานวนลกู คา้ เขา้ ร้าน/ชว่ั โมง โดยรายงานในรายงานการปฏิบตั ิงานประจาวนั และเมื่อครบรอบเดือนรวบรวมส่ง
มายงั ฝ่ ายการตลาด
2. รายงานสรุปผลการจดั รายการ Promotion จดั ทาทุกวนั ในระยะ Promotion ส่งทนั ทีเม่ือจบรายการ Promotion
3. การรวบรวมขอ้ คิดเห็นจากลกู คา้ เกี่ยวกบั สินคา้ การขาย และบริการ
4. หากในบริเวณใกลเ้ คียงมีร้านคู่แขง่ ทางร้านสาขาสามารถหาขอ้ มูล ในดา้ นราคา และกิจกรรมการตลาดของร้านคูแ่ ข่ง
รายงานมายงั ฝ่ ายการตลาดได้
เอกสารน้ีเป็ นลขิ สิทธ์ิของ บริษทั ซนั สโตร์ 2002 จากดั หา้ ม1จ0า9หน่าย หรือเผยแพร่ เพอ่ื ประโยชนท์ างธุระกิจ
STORE OPERATIONS MANUAL
กำรให้ข้อคดิ เห็น และข้อเสนอแนะต่ำงๆ
ในกรณีท่ีร้านสาขามีขอ้ คิดเห็น ในดา้ นสินคา้ ราคา ร้านคา้ รายการส่งเสริมการขาย ฯลฯ สามารถเสนอแนะขอ้ คิดเห็น
ต่างๆ มายงั ฝ่ ายการตลาด เพ่อื ปรับปรุงคุณภาพ และการบริการ โดยรวมใหด้ ียงิ่ ข้ึน และเพอ่ื ปรับปรุงร้านสาขาของคุณเองให้
เหมาะสมกบั กลมุ่ เป้าหมายในแตล่ ะทอ้ งถ่ิน
กำรจัดเรียงสินค้ำ
การจดั เรียงสินคา้ จะตอ้ งมีความสมั พนั ธก์ บั ชนิด ลกั ษณะของสินคา้ ท้งั น้ีโดยหลกั การที่กล่าวไวข้ า้ งตน้ ทางฝ่ าย
การตลาดจะตอ้ งพจิ ารณาถึงประโยชนจ์ ากการใชพ้ ้นื ที่สูงสุด ภายใตพ้ ้นื ฐานหลกั การของร้าน SUNSTORE สินคา้ ท่ีจดั เรียงไว้
บนช้นั วางสินคา้ จะตอ้ งสะดดุ ตา เห็นไดช้ ดั เจนและเป็ นระเบียบ ดงั น้นั ผจู้ ดั การร้านจะตอ้ งหมน่ั ตรวจตราสารวจการจดั วางสินคา้
และเหมาะสมกบั ประเพณีและธรรมเนียมของทอ้ งถนิ่ น้นั ๆ
กำรจดั เรียงสินค้ำ
โดยคานึงถึงหลกั ดงั น้ี
1. การคดั เลือกสินคา้
คดั เลือกสินคา้ ที่มีสลากสินคา้ ชดั เจนครบถว้ น สินคา้ ไมเ่ สียรูปทรงหรือชารุด แตกหกั งอ บุบ ดูวนั หมดอายุ
ของสินคา้ เป็ นหลกั
2. การวาง SUB – LINE
เป็ นการจดั ตาแหน่งของสินคา้ ในแต่ละกลุ่มในร้านใหต้ รงกบั พฤตกิ รรมผบู้ ริโภคและแนวคิดของร้าน เช่น
เนน้ ประเภทอาหารและเคร่ืองด่ืม
3. การจดั กลุ่มสินคา้
เพอ่ื ความสะดวกในการจดั กลุม่ ของสินคา้ ใหเ้ ป็นหมวดหมู่ และสะดวกในการเชค็ ยอดขายของสินคา้ วา่ มี
ปริมาณการขายมากนอ้ ยเพยี งใด
4. การจดั เรียงตาม SCHEMATIC
สินคา้ ต่างๆ ท่ีวางจาหน่ายในร้านไดถ้ กู แบ่งหมวดหมู่ตามลกั ษณะการดาเนินการร้านสะดวกซ้ือ และ
พฤติกรรมผบู้ ริโภค สินคา้ ที่มีลกั ษณะคลา้ ยกนั วางรวมอยดู่ ว้ ยกนั สินคา้ ท่ีเกี่ยวขอ้ งกนั จะวางไวใ้ กลๆ้ กนั
ท้งั น้ีเพื่อสะดวกในการเลือกซ้ือของลกู คา้ และช่วยใหพ้ นกั งานสามารถจดั เติมสินคา้ ไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว โดยมี
หลกั การจดั เรียงดงั น้ี
• ใหเ้ รียงสินคา้ เป็ นแนวเสน้ ตรงตามริมดา้ นนอกของช้นั วางสินคา้ (FRONTING)
• จดั เรียงสินคา้ โดยหนั ฉลากสินคา้ ออกดา้ นหนา้ หากฉลากสินคา้ มี 2 ดา้ นใหห้ นั ดา้ นท่ี
เหมือนกนั ออกดา้ นหนา้ เสมอ
• หมนุ เวยี นสินคา้ “มาก่อน ขายก่อน fist-in first-out
• จดั เรียงสินคา้ ตามประเภท และชนิดตามกาหนดไว้
เอกสารน้ีเป็ นลิขสิทธ์ิของ บริษทั ซนั สโตร์ 2002 จากดั หา้ ม1จ1า0หน่าย หรือเผยแพร่ เพ่ือประโยชนท์ างธุระกิจ
STORE OPERATIONS MANUAL
• ทาความสะอาดช้นั วางสินคา้ ทุกคร้ังก่อนเติมสินคา้
• ติดป้ายราคาใหถ้ กู ตาแหน่ง และตรงตามราคาท่ีระบุใน PRICE BOOK
• หลงั จากจบรายการส่งเสริมการขาย จะตอ้ งเปลี่ยนราคาสินคา้ ใหเ้ ป็นปกติ
SCHEMATIC (สกเี มตกิ ) คืออะไร
คือการจดั ตาแหน่งหนา้ สุดของสินคา้ (แถว) ใหไ้ ดป้ ระสิทธิภาพสูงสุดตอ่ การขาย และเป็ นประโยชนต์ อ่ การจดั เก็บ
ขอ้ มูล และเป็ นการเปลี่ยนแปลงของสินคา้ และเพอ่ื ใหส้ าขามีลกั ษณะการจดั เรียงสินคา้ เป็ นรูปแบบมาตรฐานเดียวกนั และง่ายตอ่
การทางานของทุกฝ่ ายท่ีเกี่ยวขอ้ ง
ประโยชน์ของกำรมี SCHEMATIC
• ช่วยในการจดั เรียงสินคา้ ใหเ้ พยี งพอตอ่ การขาย โดยใหส้ ินคา้ ทุกตวั สามารถมีพ้ืนท่ีขาย คือจะมี SCHEMATIC ตาม
ปริมาณการขายของแต่ละตวั สินคา้
• เป็ นการควบคุมไม่ใหส้ ินคา้ เปล่ียนตาแหน่งการจดั เรียง และจะมี SHELF CARD เป็ นตวั ควบคุมตาแหน่งของ
สินคา้ ทุกตวั
• สามารถบอกตาแหน่งของสินคา้ วา่ สินคา้ ตวั ใดอยใู่ น SHELF ไหน
• เป็ นตวั กาหนด ITEM ของสินคา้
• สะดวกในการจดั เรียง และบอกตาแหน่งของสินคา้ วา่ สามารถมีการจดั เรียงไดก้ ี่แถว
• สะดวกในการสงั่ ซ้ือ เพราะเป็ นตวั บ่งใหท้ ราบวา่ สินคา้ ใดขายดี หรือขายไมด่ ี หรือสินคา้ ใดที่ขาดหายไปจาก
SCHEMATIC
• ทาใหก้ ารจดั เรียงสินคา้ ดูเป็ นระเบียบสวยงาม น่าซ้ือ น่าสนใจตอ่ ผบู้ ริโภค และเพอ่ื ใหผ้ บู้ ริโภคไม่สบั สน เม่ือ
ลูกคา้ เขา้ มาในร้าน SUNSTORE ร้านใด ก็จะเป็ นรูปแบบเดียวกนั หมดทุกสาขา
• ใชใ้ นการเปรียบเทียบและเปล่ียนแปลงขอ้ มลู สินคา้
• เม่ือมี SCHEMATIC ทาใหพ้ นกั งานทุกคนสามารถจดั เรียงสินคา้ เป็ นไปในมาตรฐานเดียวกนั
• ทาใหก้ ารบริหารพ้นื ท่ีขายมีประสิทธิภาพสูงสุดต่อการขาย
เอกสารน้ีเป็ นลิขสิทธ์ิของ บริษทั ซนั สโตร์ 2002 จากดั หา้ ม1จ1า1หน่าย หรือเผยแพร่ เพือ่ ประโยชนท์ างธุระกิจ
STORE OPERATIONS MANUAL
กำรอ่ำนรำยละเอยี ดของ SCHEMATIC
64
เนสกำแฟ เอก็ ซ์ตร้ำ
ขวด
200 g 107.-
2*1*5
64 = รหสั สินค้ำ
200 g = นำ้ หนักสินค้ำ
107.- = รำคำสินค้ำ
2*1*5 = จำนวนขำของสินค้ำทจ่ี ดั เรียง
2= ควำมกว้ำงหน้ำจดั เรียง
1= กำรวำงสินค้ำในแนวสูง
5= กำรวำงสินค้ำในแนวลกึ
เอกสารน้ีเป็ นลิขสิทธ์ิของ บริษทั ซนั สโตร์ 2002 จากดั หา้ ม1จ1า2หน่าย หรือเผยแพร่ เพ่อื ประโยชนท์ างธุระกิจ
STORE OPERATIONS MANUAL
สินค้ำและกำรจดั เรียง
ประเภทสินคา้ (Types of Merchandise) เนื่องจาก SUNSTORE เป็นร้านจาหน่ายสินคา้ อปุ โภค - บริโภค และเนน้
ความสาคญั ในเร่ืองของคุณภาพสินคา้ เป็ นอยา่ งยงิ่ ดงั น้นั เราจึงเสนอสินคา้ ท่ีมีคุณภาพ ในราคายตุ ิธรรม เมื่อเปรียบเทียบกบั คู่แขง่
ในธุรกิจเดียวกนั นอกจากน้ียงั ใหค้ วามสาคญั การคดั เลือกสินคา้ ท่ีจะนามาจาหน่าย ซ่ึงเราสามารถแยกประเภทของสินคา้ ไดเ้ ป็น 4
ชนิด ดงั น้ี
1. สินค้ำพืน้ ฐำน (Basic Merchandise)
สินคา้ พ้ืนฐาน หมายถึงสินคา้ ที่มีไวจ้ าหน่ายใหล้ กู คา้ ทุกวนั ลูกคา้ มาเลือกซ้ือสินคา้ เหลา่ น้ีจากร้านของเราเป็นประจา ดงั น้นั
สินคา้ พ้ืนฐานตอ้ งเป็ นสินคา้ ท่ีมีอยใู่ นสาขา และพร้อมจาหน่ายทุกวนั ถา้ ลกู คา้ มาซ้ือสินคา้ พ้ืนฐานแตไ่ มม่ ีจาหน่าย ลกู คา้ ก็
จะไมม่ าซ้ือสินคา้ ของเราอีกตอ่ ไป สินคา้ พ้ืนฐานควรจะ
- มีพร้อมจาหน่ายเสมอ
- มีท่ีจดั เรียงแน่นอน
สินคา้ ท่ีไมใ่ ช่ปัจจยั พ้นื ฐาน (Non-Basic Merchandise)
ตามแนวคิดเกี่ยวกบั ตวั สินคา้ สามารถใหค้ าจากดั ความของสินคา้ ที่ไมใ่ ช่ปัจจยั พ้ืนบานได้ ดงั น้ี คือ เป็ นสินคา้ แฟชนั่ , สินคา้
แปลก ท่ีขาดความจาเป็นในการใชส้ อย
2. สินค้ำตำมฤดูกำล (Seasonal Merchandise)
สินคา้ ตามฤดูกาล คือสินคา้ ท่ีจะขายไดม้ ากในช่วงระยะเวลาหน่ึงของปี เท่าน้นั
สินคา้ ตามฤดูกาลยงั สามารถแบ่งออกไดเ้ ป็ น 3 ชนิด
- ตามวนั สาคญั (Event Seasonal)
สินคา้ เหล่าน้ีจะอยใู่ นช่วงวนั สาคญั ทางปฏิทิน
- ตามฤดูกาล (Major Merchandise)
สินคา้ ประเภทน้ีจะสมั พนั ธ์กบั ฤดูกาลต่างๆ ไดแ้ ก่ ฤดูฝน, ฤดูหนาว, ฤดูร้อน
- สินคา้ หลกั ตามฤดูกาล (Basic Seasonal)
สินคา้ ประเภทน้ีคือสินคา้ พ้นื ฐานท่ีเราจาหน่ายอยแู่ ลว้ ตลอดปี แตย่ อดขายจะสูงใน
ช่วงเวลาท่ีมีวนั สาคญั หรือในฤดบู างฤดู
3. สินค้ำโปรโมชั่น (Promotion Merchandise)
สินคา้ โปรโมชนั่ คือสินคา้ ที่สมั พนั ธก์ บั เหตกุ ารณ์น้นั ๆ ในความคดิ ของลูกคา้ สินคา้ โปรโมชนั่ สามารถแบ่งเป็น
- สินคา้ พ้นื ฐาน (มีจาหน่ายทุกวนั ) หรือไม่ใช่กไ็ ด้
- ซ้ือไวใ้ ชใ้ นเทศกาลพเิ ศษ
- ซ้ือเพราะการจดั เรียงสินคา้ ท่ีดึงดูดใจ
เอกสารน้ีเป็ นลิขสิทธ์ิของ บริษทั ซนั สโตร์ 2002 จากดั หา้ ม1จ1า3หน่าย หรือเผยแพร่ เพ่อื ประโยชนท์ างธุระกิจ
STORE OPERATIONS MANUAL
4. สินค้ำใหม่ (New Product)
สินคา้ ใหม่ คือ สินคา้ ที่ผลิตออกมาโดยการเปลี่ยนรูปแบบ ประเภท ยหี อ้ ขนาด ท่ีไม่เหมือนเดิม เป็นคร้ังแรก และเป็ นสินคา้
ที่เพิ่งมีวางจาหน่ายในทอ้ งตลาด และสาขา
กำรจัดเรียงสินค้ำ (เพมิ่ เติม)
เน้ือหาในบทน้ีไดจ้ ดั ทาข้ึนเพ่อื ใชเ้ ป็ นคาแนะนา และช้ีแนะแนวทางสาหรับผจู้ ดั การ และพนกั งานประจาร้านใหมใ่ น
การจดั เรียงสินคา้ เพอื่ ที่จะสามารถปฏิบตั ิหนา้ ท่ีในส่วนของตนไดถ้ กู ตอ้ งเม่นยา ส่วนสาหรับพนกั งานท่ีกาลงั ทางานอยู่ เน้ือหา
บทน้ีจะทาใหเ้ ขาทางานไดอ้ ยา่ งมที กั ษะและไดม้ าตรฐาน
วตั ถุประสงค์ของกำรจัดเรียงสินค้ำ
หลกั การจดั เรียงสินคา้ น้นั ทาใหพ้ นกั งานผมู้ หี นา้ ท่ีจดั เรียงสินคา้ มีความเขา้ ใจที่ดีข้ึนในหวั ขอ้ น้ี และสามารถจดั เรียง
สินคา้ ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ
ข้อดี
1. ช่วยใหเ้ ขา้ ใจหลกั การจดั เรียงสินคา้ ดีข้นึ และการติดป้ายที่เหมาะสม
2. ใชพ้ ้นื ท่ีวา่ งอยา่ งมีประสิทธิภาพสูงสุด
3. ปฏิบตั ิงานถกู ตอ้ ง
4. เพม่ิ ประสิทธิผลในการทางาน
5. ลดเวลาการทางาน
หลกั กำรจดั เรียง
การจดั เรียงสินคา้ เป็นงานท่ีทา้ ทาย ระบบการจดั เรียงสินคา้ จึงมบี ทบาทที่สาคญั อยา่ งมากต่อการขาย
เป้ำหมำย
- เพมิ่ ปริมาณการขายและผลกาไร
- ใหค้ วามสะดวกสบายแก่พนกั งานโดยตรง
- สร้างบรรยากาศและความประทบั ใจที่ดีสาหรับลกู คา้
- รักษาการควบคุมคุณภาพสินคา้ และลดความสูญเสีย
- ไมท่ าใหส้ ินคา้ ขาดสตอ็ ก
เอกสารน้ีเป็ นลขิ สิทธ์ิของ บริษทั ซนั สโตร์ 2002 จากดั หา้ ม1จ1า4หน่าย หรือเผยแพร่ เพ่อื ประโยชนท์ างธุระกิจ
STORE OPERATIONS MANUAL
อะไรคือกำรบริหำรพื้นทวี่ ่ำงของกำรจดั เรียงสินค้ำ
การบริหารพ้นื ท่ีวา่ งของการจดั เรียงสินคา้ คือ การแบง่ พ้นื ที่วา่ งสาหรับสินคา้ และจดั กลมุ่ ไวใ้ นร้าน วตั ถุประสงค์
เพื่อที่จะเพิ่มปริมาณการขายใหไ้ ดผ้ ลกาไรสูงสุด และช่วยลกู คา้ ในการซ้ือสินคา้ ใหเ้ ป็ นไปอยา่ งสะดวกสบาย และมีประสิทธิภาพ
ข้อดขี อง “ประสิทธภิ ำพของกำรบริหำรพืน้ ทว่ี ่ำง”
สำหรับลูกค้ำ
1. ช่วยลูกคา้ เห็นสินคา้ ไดง้ ่ายข้ึน
2. ตดั สินใจซ้ือง่ายข้ึน และเร็วข้ึน
3. ลกู คา้ จะไดส้ ินคา้ ท่ีตอ้ งการ เพราะสินคา้ มีอยใู่ นสาขาเสมอ
สำหรับสำขำ
1. เพิม่ ปริมาณการขาย และเพม่ิ ผลกาไรสูงสุด
2. มีโอกาสในการขายสินคา้ มากข้ึน
3. พนกั งานทางานไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ในเวลาท่ีส้นั ลง
4. รักษาคุณภาพและมาตรฐานของสินคา้
5. ลดสินคา้ ขาดสตอ็ กเพอ่ื เพ่มิ โอกาสในการขาย
6. สร้างบรรยากาศท่ีดี และจดั วางสินคา้ เป็ นระเบียบ
อะไรคือส่ิงทขี่ ำดไม่ได้ก่อนกำรจัดเรียงสินค้ำ
1. กล่มุ สินค้ำ
สามารถจดั แสดงสินคา้ แต่ละรายการตามลาดบั ตามลกั ษณะของสินคา้ น้นั ๆ
2. ประเภทของสินค้ำ
สินคา้ ส่วนมาก คือสินคา้ ที่มีปริมาณมาก ซ่ึงจะถูกวางเป็ นปริมาณมากบนช้นั วางสินคา้ การจดั เรียงสินคา้ บนช้นั ตอ้ งคานึงถึง
ชนิด สินคา้ ขนาด น้าหนกั สี ตลอดจนรูปลกั ษณ์ของสินคา้ ความแตกต่างของประเภทสินคา้ มีผลอยา่ งมากต่อการแบ่งพ้นื ท่ี
วา่ ง ตาแหน่งที่เหมาะสม อุปกรณ์ท่ีใชใ้ นการจดั เรียงสินคา้
3. กำรจดั แบ่งพื้นทจี่ ดั เรียง
การจดั แบ่งพ้นื ท่ีขายมีความสมั พนั ธอ์ ยา่ งมากกบั ตาแหน่งของสินคา้ ท่ีเหมาะสม
เอกสารน้ีเป็ นลขิ สิทธ์ิของ บริษทั ซนั สโตร์ 2002 จากดั หา้ ม1จ1า5หน่าย หรือเผยแพร่ เพือ่ ประโยชนท์ างธุระกิจ
STORE OPERATIONS MANUAL
หลกั ในกำรจดั แบ่งพื้นทจี่ ดั เรียง
จดั ตามการแบ่งสินคา้ เป็นกล่มุ ๆ โดยใชพ้ ้นื ฐานทว่ั ๆ ไป ดงั น้ี
1. สินคา้ ท่ีขายดีอนั ดบั ตน้ ๆ (Best Selling Item) จะใชพ้ ้ืนที่ในการจดั เรียงมากที่สุด
2. สินคา้ ตามยอดขายของสินคา้ น้นั ๆ เพือ่ จะช่วยในการบริหารพ้ืนท่ีขายใหม้ ีประสิทธิภาพสูงสุด โดยดูจากยอดขายเป็ นหลกั
3. จดั เรียงสินคา้ ที่ขายดีในตาแหน่งท่ีลกู คา้ มองเห็น
4. การบริหารพ้นื ที่โดย ใชช้ ้นั วางสินคา้ ใหไ้ ดป้ ระโยชน์สูงสุด เพอื่ ใหส้ ินคา้ ท่ีตรงกบั ความตอ้ งการของลกู คา้ ไดถ้ กู จดั เรียงได้
ครบทุกรายการ
หมำยเหตุ : - ไม่จาเป็ นท่ีแต่ละตอน (Section) ของช้นั ตอ้ งอยใู่ นระดบั เดียวกนั เพราะแต่ละตอนของช้นั น้นั ใชจ้ ดั สินคา้ ประเภท
และขนาดตา่ งกนั จะดีข้ึนถา้ แตล่ ะส่วนของช้นั สามารถปรับไดต้ ามความเหมาะสมสินคา้ ทุกอยา่ งตอ้ งแสดงใหเ้ ป็นระเบียบ และ
ไมค่ วรวางสินคา้ มากจนเกินไปตอ้ งคานึงถึงน้าหนกั ดว้ ย
กำรจดั เรียงสินค้ำ Promotion
สินคา้ Promotion คือสินคา้ ที่เสนอใหล้ ุกคา้ ในราคาต่ากวา่ ปกติ ควรจดั เรียงใหล้ ูกคา้ เห็นไดช้ ดั เจน และตอ้ งเปลี่ยนทุก
คร้ังที่มีการเปล่ียน Promotion โดยตอ้ งมีราคาและชื่อสินคา้ ท่ีเด่นชดั
กำรตดิ ป้ำย
ป้ายที่ดึงดูด และใหข้ อ้ มลู ครบถว้ นจะช่วยร้านสาขาของคุณโดย
1. เพ่มิ ยอดขายเพราะลูกคา้ สามารถหาสินคา้ ไดง้ ่าย โดยเฉพาะสินคา้ Promotion และ New Item
ป้ายที่ใหข้ อ้ มลู เกี่ยวกบั สินคา้ ที่ดี เป็ นพ้ืนฐานของการขายปลีกท่ีทากาไร การติดป้ายที่เหมาะสม จะเพ่ิมยอดขายและ
ปรับปรุงภาพลกั ษณ์ของร้าน ป้ายที่ดึงดูดจะเพม่ิ ท้งั สินคา้ ในแต่ละสาขา และบรรยากาศในการซ้ือสินคา้ เราใชก้ ารติดป้าย
เพอ่ื บอกถึง
- ชุดสินคา้ ส่งเสริมการขาย (Promotion)
- ชุดสินคา้ ใหม่ (New Item)
- ชุดสินคา้ พิเศษ (Special)
- ชุดสินคา้ โฆษณา (Advertising Item)
กำรกำหนดรำคำสินค้ำ เพ่อื ทราบผลตอบจากการลงทุนน้นั อยา่ งแน่นอนชดั เจน
เพ่อื แบ่งส่วนตลาด
วตั ถุประสงค์ เป็ นการเตรียมพร้อมกบั สภาวะการแข่งขนั
• เพื่อสร้างกาไรสูงสุด
•
•
•
เอกสารน้ีเป็ นลขิ สิทธ์ิของ บริษทั ซนั สโตร์ 2002 จากดั หา้ ม1จ1า6หน่าย หรือเผยแพร่ เพ่อื ประโยชนท์ างธุระกิจ
STORE OPERATIONS MANUAL
องค์ประกอบกำรต้งั รำคำสินค้ำ
1. ปัจจยั ภายในพจิ ารณาจากนโยบายของบริษทั วตั ถปุ ระสงคข์ องการตลาดท่ีจะกาหนดให้ กลมุ่ สินคา้ น้นั ได้ GP กี่เปอร์เซ็นต์
ซ่ึงจะตอ้ งคานึงถึงตน้ ทนุ สินคา้
2. ปัจจยั ภายนอกเช่น สภาวะการแข่งขนั ลกั ษณะของตลาด ความตอ้ งการของลูกคา้ (อปุ สงค)์ และสภาวะแวดลอ้ มอ่ืนๆ
สิ่งทต่ี ้องคำนงึ ถึงในกำรกำหนดรำคำ
1. ราคาตน้ ทุนของสินคา้
2. นโยบายของฝ่ ายบริหาร
3. ประเภทของตลาดที่แตกตา่ งกนั เช่น ซุปเปอร์มาร์เก็ต หรือร้านสะดวกซ้ือ ฯลฯ
โดยปกติแลว้ ฝ่ ายจดั ซ้ือจะเป็ นผแู้ จง้ การเปลี่ยนแปลงราคาสินคา้ (PRICE CHANGE) ใหท้ างร้านไดท้ ราบล่วงหนา้ และ
ทางร้านจะตอ้ งทาการแกไ้ ขในสมุดบนั ทึกราคาสินคา้ (PRICE BOOK) ตามใบเปลี่ยนแปลงราคาท่ีกาหนดไว้ ท้งั น้ีเพื่อเป็ น
มาตรฐานเดียวกนั สาหรับร้าน SUNSTORE ทุกแห่ง
เอกสารน้ีเป็ นลิขสิทธ์ิของ บริษทั ซนั สโตร์ 2002 จากดั หา้ ม1จ1า7หน่าย หรือเผยแพร่ เพ่อื ประโยชนท์ างธุระกิจ
STORE OPERATIONS MANUAL
กระบวนกำรส่ังซื้อ
หน้ำทห่ี ลกั ของงำนจดั ซื้อ
ฝ่ ายจดั ซ้ือมีหนา้ ท่ีรับผิดชอบเก่ียวกบั กระบวนการจดั ซ้ือสินคา้ โดยมีหนา้ ท่ีหลกั ดงั น้ี :
1. เลือกสรรสินคา้ ที่มีคุณภาพ และตรงกบั ความตอ้ งการของลูกคา้
2. ติดต่อผขู้ าย บริษทั ผผู้ ลิต/จาหน่ายสินคา้ ที่ไดค้ ดั เลือกตามมาตรฐานคุณภาพที่กาหนด เพ่อื วางขายในร้าน
3. เจรจาต่อรองราคาใหไ้ ดร้ าคาตน้ ทุนที่ต่าที่สุด และตกลงเง่ือนไขการสง่ั และการส่งสินคา้ ใหต้ รงตามเวลาที่กาหนด
หากผขู้ ายส่งสินคา้ ลา่ ชา้ หรือไม่ตรงตามเง่ือนไข ฝ่ ายจดั ซ้ือจะตอ้ งเป็นผดู้ าเนินการติดตามสินคา้ ใหเ้ ป็นไปตาม
ขอ้ ตกลง
4. ฝ่ ายจดั ซ้ือมีหนา้ ที่สารวจราคาสินคา้ จากบริษทั คู่แข่ง เพ่ือเปรียบเทียบ และนามาเป็ นขอ้ มูลในการเจรจาตอ่ รองกบั
บริษทั คูค่ า้ ใหไ้ ดร้ าคา และเง่ือนไขท่ียตุ ิธรรม และเป็ นขอ้ มลู ประกอบการตดั สินใจ
คณุ สมบัตขิ องนักจดั ซื้อ
นกั จดั ซ้ือควรมีประสบการณ์ หรือผา่ นงานดา้ นการขายมาบา้ ง ซ่ึงจะเป็ นขอ้ ไดเ้ ปรียบในการเจรจาต่อรอง และจะตอ้ ง
เป็ นผทู้ ่ีสนใจใฝ่ หาความรู้เกี่ยวกบั สินคา้ และราคา คน้ ควา้ ในส่ิงท่ีตนรับผดิ ชอบ ซ่ึงจะช่วยใหก้ ารจดั ซ้ือมีประสิทธิภาพ
มากยงิ่ ข้ึน ดงั น้นั นกั จดั ซ้ือจึงควรมีคุณสมบตั ิ ดงั น้ี :
1. จะตอ้ งเป็นผทู้ ่ีมคี วามซื่อสตั ย์ จงรักภคั ดีตอ่ บริษทั และมจี รรยาบรรณต่อวชิ าชีพ เนื่องจากนกั จดั ซ้ือจะตอ้ งเป็ นผู้
ตดั สินใจเลือกสง่ั สินคา้ ที่ตอ้ งการวางขายในร้าน ซ่ึงจะตอ้ งต่อรองราคาตน้ ทนุ ใหไ้ ดต้ ่าที่สุด โดยไมค่ านึงถึง
ผลประโยชนท์ ี่แต่ละ VENDOR เสนอให้ และประการสาคญั ที่เป็ นหวั ใจของนกั จดั ซ้ือ คือ จะตอ้ งรักษาขอ้ มลู
ต่างๆ ใหเ้ ป็ นความลบั
2. เป็ นผมู้ ีความสามารถในการเจรจาต่อรอง ซ่ึงเป็ นคุณสมบตั ิที่สาคญั อีกประการหน่ึงของนกั จดั ซ้ือ เพราะจะตอ้ ง
เจรจาตอ่ รองใหไ้ ดส้ ินคา้ ในราคาตน้ ทุนที่ต่าที่สุด รวมถึงเงื่อนไขระบบการสงั่ ซ้ือ และส่งสินคา้ การใหส้ ่วนลด
ระยะเวลาการใหส้ ินเชื่อ (CREDIT) ตลอดจนการจดั สินคา้ ส่งเสริมการขาย
3. มีความสามารถในการคานวณ เพราะจะตอ้ งคานวณตน้ ทนุ กาไร ภาษีซ้ือ ภาษีขาย ภาษีมลู ค่าเพ่ิม ใหไ้ ดอ้ ยา่ ง
ถกู ตอ้ ง
4. เป็ นผทู้ ่ีพร้อมที่จะเรียนรู้ มคี วามเขา้ ใจในระบบงาน และขอ้ มูล เพอ่ื นามาประกอบการตดั สินใจ ดงั น้ี :
4.1 การบริหารผลิตภณั ฑข์ องร้านสะดวกซ้ือ เพ่ือประกอบการตดั สินใจในการซ้ือสินคา้ เขา้ มาวางขายในร้าน
เพอ่ื ใหไ้ ดผ้ ลกาไรสูงสุด
4.2 ระบบคลงั สินคา้ พ้ืนท่ี และการจดั เกบ็ สินคา้
4.3 นโยบายของฝ่ ายบริหาร
4.4 สภาวะการเงินของบริษทั เพือ่ เป็ นขอ้ มลู ประกอบการตดั สินใจในการสงั่ ซ้ือ และขอระยะเวลาขอสินเชื่อ
(CREDIT)
5. เป็ นผใู้ ฝ่ หาความรู้ เก่ียวกบั สภาวะตา่ งๆ พฒั นาตนใหท้ นั กบั เหตกุ ารณ์ และการเปลี่ยนแปลงของธุรกิจคา้ ปลีก ท่ีมี
การแขง่ ขนั ตลอดเวลา อาทิ
เอกสารน้ีเป็ นลิขสิทธ์ิของ บริษทั ซนั สโตร์ 2002 จากดั หา้ ม1จ1า8หน่าย หรือเผยแพร่ เพ่ือประโยชนท์ างธุระกิจ
STORE OPERATIONS MANUAL
5.1 สภาวะการตลาด ภาวะเศรษฐกิจ
5.2 อตั ราภาษี การจดั เก็บภาษี
5.3 บริษทั ผผู้ ลติ ตวั แทนจาหน่ายสินคา้ ประเภทตา่ งๆ ความสามารถในการผลิต ตลอดจนขอ้ มลู ของบริษทั ซ่ึง
สามารถนามาประกอบการตดั สินใจ การตรวจสอบสถานที่ของผขู้ าย ก็เป็ นอีกวธิ ีที่จะทาใหท้ ราบขอ้ มูลได้
เช่นกนั จึงเป็ นความจาเป็นที่นกั จดั ซ้ือจะตอ้ งมีขอ้ มูลของแหลง่ ซ้ือ แหลง่ ขาย ซ่ึงไดม้ าจากแหลง่ ที่ตา่ งๆ เช่น
สมุดโทรศพั ท์ งานแสดงสินคา้ นิทรรศการ เอกสารโฆษณา หนงั สือพิมพ์ หรือวารสาร เป็ นตน้
5.4 ความเคล่ือนไหว ความสามารถของคูแ่ ขง่ หรือผซู้ ้ือรายอื่นๆ เพอ่ื การตอ่ รองอตั ราส่วนลด และเง่ือนไข
5.5 ขา่ วสารการพฒั นาผลิตภณั ฑส์ ินคา้ ใหม่ในทอ้ งตลาด
หลกั ของงำนจัดซื้อ
หลกั ในกำรสั่งซื้อทนี่ กั จดั ซื้อจะต้องคำนึงถงึ
1. ปริมำณตรงตำมควำมต้องกำร (RIGHT QUANTITY)
นกั จดั ซ้ือจะตอ้ งสง่ั ซ้ือในปริมาณท่ีเหมาะสม ตรงกบั ท่ีแตล่ ะร้านสง่ั โดยคานึงถึงพ้นื ท่ีการจดั เก็บในคลงั สินคา้ แมว้ า่ จะ
สามารถตอ่ รองไดใ้ นราคาตน้ ทุนต่า กไ็ ม่ควรสงั่ ซ้ือคราวละมากๆ เน่ืองจากตอ้ งเกบ็ สินคา้ ไวเ้ ป็นเวลานาน อาจทาใหส้ ินคา้
เสื่อมคุณภาพ หรือสง่ั ซ้ือนอ้ ยเกินไป ไม่เพยี งพอต่อการสงั่ จากร้านสาขา ทาใหเ้ สียโอกาสในการขาย
2. กำหนดเวลำ (RIGHT TIME)
ผผู้ ลิต/ตวั แทนจาหน่ายจะตอ้ งสามารถส่งสินคา้ ใหต้ รงเวลาท่ีกาหนด หากเป็ นช่วงเทศกาลควรสงั่ สินคา้ ใหต้ รงกบั ฤดูกาลท่ี
จะตอ้ งจาหน่าย หรือตรงกบั ความตอ้ งการของลกู คา้ เช่น เทศกาลปี ใหม่ ควรสงั่ สินคา้ ประเภท เหลา้ เบียร์ เพิม่ ข้ึน เป็ นตน้
3. รำคำ (RIGHT PRICE)
นกั จดั ซ้ือจะตอ้ งเลือกสินคา้ ที่จะสง่ั ไดใ้ นราคายตุ ิธรรม ซ่ึงมิไดห้ มายถึงราคาตน้ ทุนต่าเพียงอยา่ งเดียว จะตอ้ งคานึงถึง
คุณภาพขิงสินคา้ ดว้ ย กล่าวคือราคาท่ียตุ ิธรรมสามารถสงั่ ซ้ือไดใ้ นราคาตน้ ทุนที่จะสามารถต้งั ราคาขายไดใ้ นราคาท่ีลูกคา้ มี
ความพึงพอใจ และทางบริษทั ไดก้ าไรจากการขายสินคา้ น้นั ดว้ ย
4. คุณภำพ (RIGHT QUALITY)
นกั จดั ซ้ือจะตอ้ งเลือกสรรสินคา้ ท่ีมีคุณภาพ ซ่ึงไมจ่ าเป็ นตอ้ งเป็ นสินคา้ ที่มีราคาแพงเสมอไป
5. สถำนท่ี (RIGHT PLACE)
นกั จดั ซ้ือจะตอ้ งมีหนา้ ท่ีจดั ซ้ือสินคา้ มาจาหน่ายใหส้ อดคลอ้ งกบั ทาเลท่ีต้งั และตรงกบั ความตอ้ งการของกล่มุ ผบู้ ริโภคน้นั ๆ
เอกสารน้ีเป็ นลขิ สิทธ์ิของ บริษทั ซนั สโตร์ 2002 จากดั หา้ ม1จ1า9หน่าย หรือเผยแพร่ เพอ่ื ประโยชนท์ างธุระกิจ
STORE OPERATIONS MANUAL
โครงสร้ำงกล่มุ สินค้ำ
ประเภทของกล่มุ สินค้ำ (CATEGORY)
จะแบ่งกลุ่มสินค้ำออกเป็ น 15 กลุ่ม ใช้รหัส 01 – 15 แทนกลุ่มสินค้ำ ดังนี้ :
01 สินค้ำประเภท เบยี ร์ ไวน์ เหล้ำ
02 สินค้ำประเภท นำ้ อดั ลม นำ้ ด่ืม นำ้ แร่
03 สินค้ำประเภท บุหรี่ ไฟแช็ค
04 สินค้ำประเภท นำ้ ผลไม้ เคร่ืองดื่ม JET SRAY
05 สินค้ำประเภท ลูกอม ช๊อคโกแลต
06 สินค้ำประเภท นม ไอศกรีม แหนม หมูยอ กุนเชียง
07 สินค้ำประเภท ขนมปัง ขนมขบเคีย้ ว
08 สินค้ำประเภท สินค้ำบริโภค
09 สินค้ำประเภท สินค้ำอุปโภค
10 สินค้ำประเภท ไอศกรีม
11 สินค้ำประเภท อำหำรพร้อมปรุง (ประเภทอุ่นร้อน)
12 สินค้ำประเภท อำหำรพร้อมปรุง (ประเภทแช่เยน็ )
13 สินค้ำประเภท กำแฟร้อน นำ้ อดั ลม (เคร่ืองกด) FCB
14 สินค้ำประเภท สินค้ำทไี่ ม่รวมภำษีมูลค่ำเพมิ่
15 สินค้ำประเภท สินค้ำแลกซื้อ
เอกสารน้ีเป็ นลขิ สิทธ์ิของ บริษทั ซนั สโตร์ 2002 จากดั หา้ ม1จ2า0หน่าย หรือเผยแพร่ เพ่อื ประโยชนท์ างธุระกิจ
STORE OPERATIONS MANUAL
โครงสร้ำงกล่มุ สินค้ำและรหัสสินค้ำ
SUB CATEGORY หมายถึง ประเภทของสินคา้ ที่จดั ยอ่ ยรองลงมาจาก 15 กลุม่
CASH CODE หมายถึง รหสั ท่ีใชเ้ ป็ นขอ้ มูลป้อนเขา้ เครื่องแคชเชียร์ หรือที่เรียกวา่ รหสั สินคา้ (PLU)
PROMOTION CODE หมายถึง รหสั สินคา้ สาหรับสินคา้ ส่งเสริมการขาย
DESCRIPTION หมายถึง รายละเอียดของสินคา้ ในแตล่ ะกลุม่
ตวั อย่ำง
CODE CATEGORY SUB CASH PROMOTION DESCRIPTION
CATEGORY CODE CODE
01 เบยี ร์/ไวน์/เหล้ำ เบยี ร์ 01 101-119 เบยี ร์ทุกชนิด
ดงั น้นั นอกเหนือจากหนา้ ที่หลกั ของนกั จดั ซ้ือท่ีไดก้ ลา่ วขา้ งตน้ แลว้ ยงั มีหนา้ ท่ีเพม่ิ เติมจากการแบ่งกลุม่ สินคา้ ที่ได้
รับผดิ ชอบ ดงั น้ี :
1. ดูแลยอดขายของสินคา้ แต่ละกล่มุ สินคา้
2. ควบคุมกาไร (GP) ของสินคา้ ทุกรายการในแตล่ ะกลมุ่
3. จดั หาสินคา้ ใหม่มาเพ่ิมในร้าน
4. จดั รายการส่งเสริมการขาย
5. ยกเลิกสินคา้ รายการที่ไม่ดี หรือปริมาณยอดขายต่า
6. แกป้ ัญหาเมื่อมีสินคา้ เกินสตอ็ ก
7. แกป้ ัญหาเมื่อมีสินคา้ ขาดสตอ็ ก
8. ขายคืนสินคา้ เก่า หรือคืนสินคา้ ใหบ้ ริษทั ผผู้ ลิต/ตวั แทนจาหน่าย
เอกสารน้ีเป็ นลิขสิทธ์ิของ บริษทั ซนั สโตร์ 2002 จากดั หา้ ม1จ2า1หน่าย หรือเผยแพร่ เพ่อื ประโยชนท์ างธุระกิจ
STORE OPERATIONS MANUAL
ตำรำงแสดงกลุ่มและรหัสสินค้ำ
CATEGORY SUB CATEGORY CASH PROMOTION DESCRIPTION
CODE CODE
CODE NAME CODE NAME 101-119 เบียร์ทุกชนิด
01 เครื่องด่ืมหมกั จากผลไม้ เช่นไวน์
01 BEER, WINE 01 BEER 02 201-219 เหลา้ ตา่ งประเทศ ยกเวน้ เหลา้ ไทย
03 301-319 สปายคูลเลอร์คลบั
LIQUOR 02 WINE 04 401-419 เหลา้ อื่นๆ เช่น เหลา้ จีน, วอ้ คกา้
05 501-519 น้าอดั ลม เช่น โคก๊ , เป๊ ปซี่
03 LIQUOR 51 601-619 น้าด่ืม, น้าแร่, น้าตาลสด, เคร่ืองด่ืมชู
52 กาลงั , ซุปไก่, กาแฟกระป๋ อง
04 WINE COOLER 701-719 บุหร่ีนอก
58 ไฟแช็ค
05 OTHER LIQUOR 59 801-819 JET SPRAY น้า OJ
TOUCH JET SPRAY น้า PUNCH
02 SOFT 51 CARBONATED 2041-2044 JET SPRAY เช่น กาแฟเยน็ , นมเยน็ ,
TOUCH ช็อคโกแลตเยน็
DRINKS 52 SPARKING WATER 2045-2050 ลุกอมทุกประเภท, ของเล่น, เยลลี่
71 ช็อคโกแลตทกุ ประเภท
03 TOBACCO 58 IMPORT CIGARATTE 72 นม UHT,นมเปร้ียว UHT,นมถว่ั เหลือง
75 นมเปร้ียว,ชีส,นมพลาสเจอร์ไรซ์,โยเกิร
PRODUCT 59 LIGHTER 76 ไอศกรีม, น้าแขง็
77 แหนม,หมยู อ,กนุ เชียง,เนย
04 COLD 26 NON-CARBONATED 78 ขนมปังแผ่น,แยมโรล,เค้ก (ขนมปังสด)
79 ขนมไทย,ขนมแห้ง เช่น ถัว่ ตดั ,โมจิ
DRINK JUICE 80 ค้กุ ก,ี้ บสิ กติ ,แครกเกอร์,เวเฟอร์
81 มันฝรั่งทอดกรอบ
JET SPRAY 82 ปลำหมกึ เส้น,แผ่น,ปลำเส้น
83 ขนมจำพวกถ่วั ,เมลด็ แตงโม,ผลไม้แห้ง
05 CANDY 71 CANDY BAR 84 ขนมขบเคยี้ วทที่ ำจำกข้ำวโพด
85 ผกั กำดกระป๋ อง,ผลไม้กระป๋ อง
72 CHOCOLATE นำ้ ผลไม้กระป๋ อง
61 ผงซุป,ซุปก้อน,โจ๊ก
06 MILK, 75 FLAVOUR MILK กำแฟ ครีมเทยี ม ผงชง นำ้ ตำล ไมโล
62 ชำไทย, ชำนอก
DAIRY 76 FLAVOUR BY PRODUCT 63 บะหม่ีกงึ่ สำเร็จรูป,วุ้นเส้น,
64 มกั กะโรนี,สปำเกต็ ตี้
DELI 77 FROZEN ICE-CREAM 65
78 DELI PRODUCT
07 BAKED & 79 BREAD & BUNS
SNACK 80 PASTRIES
FOODS 81 COOKIES
82 CHIPS
83 MEAT SNACK
84 NUT & SEEDS
85 OTHER SALT SNACK
08 GROCERIES 61 CANNED FRUIT
VEGETABLE
62 FLAVOUR SOUP
63 COFFEE
64 TEA
65 NOODLE&SPAGHETE
เอกสารน้ีเป็ นลขิ สิทธ์ิของ บริษทั ซนั สโตร์ 2002 จากดั หา้ ม1จ2า2หน่าย หรือเผยแพร่ เพ่อื ประโยชนท์ างธุระกิจ
STORE OPERATIONS MANUAL
CATEGORY SUB CATEGORY CASH PROMOTION DESCRIPTION
CODE NAME CODE NAME CODE CODE
08 GROCERIES 66 CANNED MEAT&DINNER 66 801-819 ปลากระป๋ อง,อาหารกระป๋ อง
67 SEASONING&CONDIMENT 67 เครื่องปรุงตา่ งๆน้าปลา,ซอส,เกลือ,ผงชู
รส,น้ามนั ,กะปิ ,น้าพริกเผา,น้าตาลทราย
68 BAKING PRODUCT 68 แป้งทาอาหาร-ขนม,ลูกเกด,แยม,สงั ขยา
69 GROCERIES-OTHER 69 นมผง,นมขน้ หวาน
09 NON-FOODS 06 OIL 06 901-919 น้ามนั เคร่ือง
07 CLEANING SUPPLIES 07 ผงซกั ฟอก,น้ายา,สเปรยป์ รับอากาศ
สเปรยร์ ีดผา้ ,กอ้ นดบั กลิ่น
08 PAPER GOODS 08 ผา้ อนามยั ,กระดาษชาระ,ผา้ ออ้ ม,สาลี
09 FEMINE HYGIENE 09 กิ๊บหวแี ปรง,ผา้ ขนหนู,เส้ือยดื ,ถุงน่อง
10 PHONE CARD 10 บตั รโทรศพั ท์
11 FILM & BATTERIES 11 601-619 ฟิ ลม์ ,ถ่านไฟ,เคร่ืองใชค้ รัวเรือน
SUNDRY & AUTOMATIC & อุปกรณ์ประดบั รถยนต,์ เคร่ืองเขียน
STATIONERY
12 SHAMPOO&SOAP&FOAM 12 แชมพ,ู สบ,ู่ โฟมลา้ งหนา้ ,แป้งทกุ
13 TOOTH PASTE & TOOTH 13 ประเภทยาสีฟัน,แปรงสีฟัน,ยาบว้ น
BRUSH, MOUTH WASH & ปาก,ใบมีดครีมโกนหนวด
SHAVING
14 SKIN CARE, SUNTAN 14 701-719 โลชน่ั ,ยาใส่ผม,ครีมกนั แดด,โรลออน
15 HEAL ACHES 15 ยารักษาโรคทุกชนิด
16 GREETING CARDS/OTHER 16 การ์ดอวยพร อื่นๆ
17 CASSETTE TAPE 17 เทปเพลง
10 FROZEN 22 SOFT SERVE & YOGURT TOUCH 1001-1019 ไอศครีมเหลวซอฟเสริฟ
DESSERT 2001-2003
22 SUNDAE TOPING/OTHER 22 ช็อคโกแลตราดไอศครีม, อลั มอนดโ์ รย
2004-2010 OPEN หนา้ ไอศครีม
11 PREPARE 31 HAMBURGERS TOUCH 1101-1119 แฮมเบอร์เกอร์ไก่,หมู,เน้ือ
FOOD 2021-2020
ITEM (IN 32 HOTDOGS TOUCH ไส้กรอก
WARMER) 2029-2034
33 CHIKEN 33 OPEN อาหารประเภทไก่
2035
เอกสารน้ีเป็ นลขิ สิทธ์ิของ บริษทั ซนั สโตร์ 2002 จากดั หา้ ม1จ2า3หน่าย หรือเผยแพร่ เพื่อประโยชนท์ างธุระกิจ
STORE OPERATIONS MANUAL
CATEGORY SUB CATEGORY CASH PROMOTION DESCRIPTION
CODE
CODE NAME CODE NAME CODE
34
11 PREPARE 34 WARMER TEST-ITEM 2036 OPEN พิซซ่า,พาย,เฟรนซฟ์ ราย
35
FOOD ITEM 2037
TOUCH
(IN 35 BAKERY 2038 OPEN เบเกอร์ร่ี
TOUCH
WARMER) 2039
38
36 POP CORN 2040 ขา้ วโพดควั่
39
37 DONUT 2011-2019 โดนทั
55
38 DIMSUM OPEN ชุดติ่มซา
56
39 WARMER OTHER 57 OPEN อื่นๆ
TOUCH
12 COLD/PREP 28 PREPARED 2061-2065 1210-1219 อาหารท่ีมีอายสุ ้นั เช่น เก๊ียวซ่า,ขา้ ว
TOUCH 1301-1319 กล่อง,ขนมสด,ผลไมด้ อง
ARED FOOD 90 อาหารจาพวกแซนวิช
อาหารประเภทสลดั
56 SANWICH 91
92 กาแฟร้อน,ชาร้อน,โกโกร้ ้อน
57 SALAD
93
13 DISPENSED 28 HOT DISPENSED 94
95
DRINK 96
28 COLD DISPENSED น้า POST MIX,FCB
สินคา้ บริโภคท่ีไม่มี VAT เช่น ขา้ วสาร
14 PRODUCT 90 NON-VAT GROCERIES 1401-1419 ,ไข่ไก่,เครื่องเทศ ฯลฯ
นมรสจืด,พร่องมนั เนย UHT
NON-VAT นมรสจืด,พร่องมนั เนย,พลาสเจอร์ไรซ์
(อายสุ ้นั ในตู้ DAIRY)
91 NON-VAT MILK ผลไมส้ ด,ผกั สด
เหลา้ ไทย
92 NON-VAT PASTEURIZE บหุ ร่ีไทย
นิตยสาร,หนงั สือพมิ พ์
93 FRUIT & VEGETABLE
94 THAI LIQUOR
95 THAI CIGARETTES
96 MAGAZINES &
NEWSPAPER
15 PREMIUM 97 PREMIUM 97 1501-1519 ของแลกซ้ือ
เอกสารน้ีเป็ นลขิ สิทธ์ิของ บริษทั ซนั สโตร์ 2002 จากดั หา้ ม1จ2า4หน่าย หรือเผยแพร่ เพ่อื ประโยชนท์ างธุระกิจ
STORE OPERATIONS MANUAL
กำรตรวจสอบสินค้ำคงคลงั (สินค้ำคงเหลือในร้ำนสำขำ) (Inventory Control)
กำรบริหำรสินค้ำคงคลงั
นบั เป็ นงานท่ีมีความสาคญั อยา่ งยง่ิ ในการดาเนินธุรกิจคา้ ปลีก
การบริหารสินคา้ คงคลงั ท่ีดีมีประสิทธิภาพ จะทาใหร้ ้านคา้ ของทา่ นมีสินคา้ ขายโดยไมเ่ กิดขาดแคลน และทาใหไ้ ม่ตอ้ งสตอ็ ก
สินคา้ ไวใ้ นร้านมากเกินไป อีกท้งั ยงั สมารถตรวจสอบการสูญหายของสินคา้ จากการทุจริตไดร้ ะดบั หน่ึง ดงั น้นั จึงตอ้ งมีการ
ตรวจสอบสินคา้ คงคลงั เพือ่ เป็นการป้องกนั ความบกพร่องในการบริหารสินคา้ คงคลงั เพื่อเป็นการป้องกนั ความบกพร่องในการ
บริหารสินคา้ คงคลงั ซ่ึงจะทาใหเ้ กิดความเสียหายในงานธุรกิจคา้ ปลีก ดงั ตอ่ ไปน้ี
สตอ็ กสินคา้ มากเกินไป มีผลทาให้
- ตน้ ทุนการดาเนินงานในส่วนตน้ ทุนสินคา้ คงคลงั สูง/ขาดเงินทนุ หมุนเวยี น
- สินคา้ คา้ งเก่าไม่เป็ นที่นิยมของลกู คา้
- สินคา้ หมดอายุ
- เสียเวลาในการดูแล จดั เรียง
สตอ็ กสินคา้ นอ้ ยเกินไป มีผลทาให้
- ไม่มีสินคา้ ขาย
- เสียลูกคา้ เนื่องจากลกู คา้ ไปหาซ้ือสินคา้ จากร้านอ่ืน
- ยอดขายตก
ไม่สามารถประเมินความสูญเสียของสินคา้ ได้ เน่ืองจากไมอ่ าจตรวจสอบสตอ็ กท่ีถกู ตอ้ ง มีผลทาให้
- ประเมินผลการดาเนินงาน (กาไร-ขาดทนุ ) ผดิ พลาด
- มีโอกาสเกิดการทุจริตจากพนกั งานในร้านไดง้ ่าย
- ไมท่ ราบวา่ เกิดการสูญหายของสินคา้ และไมอ่ าจป้องกนั การสูญหายในคร้ังตอ่ ๆ ไป
วตั ถุประสงค์ของกำรตรวจนับสินค้ำ
1. เพือ่ เป็นขอ้ มลู การจดั ซ้ือ ซ่ึงตอ้ งประมวลผลจาก
- ยอดขายของสินคา้ น้นั
- ภาวะตลาด/การคาดการณ์ความเคล่ือนไหวของสินคา้ ตามนโยบายการตลาด
- ประมาณการยอดขายตามฤดูกาล/แฟชน่ั
เอกสารน้ีเป็ นลิขสิทธ์ิของ บริษทั ซนั สโตร์ 2002 จากดั หา้ ม1จ2า5หน่าย หรือเผยแพร่ เพ่ือประโยชนท์ างธุระกิจ
STORE OPERATIONS MANUAL
2. เพอื่ ใชเ้ งินทุนในการสง่ั สินคา้ ใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุด ในธุรกิจคา้ ปลีกมีการแบ่งกลุ่มสินคา้ ตามความถี่ของการเคลื่อนไหว
ดงั น้ี :
20 % เป็นสินคา้ ที่ขายดี FAST – MOVING ซ่ึงคดิ เป็ น 80% ของยอดขายซ่ึงตอ้ งมี INSTOCK 100% หรือมากที่สุด
80% เป็นสินคา้ ที่ขายชา้ SLOW – MOVING ซ่ึงจะคิดเป็น 20% ของยอดขาย
ดงั น้นั สินคา้ พวกที่ขายดี FAST – MOVING ควรมีสินคา้ คงคลงั ใหเ้ พียงพอในการขาย
เช่นสินคา้ TOP 50% และ TOP 100 รายการ ตอ้ งมีการติดตามใหม้ ขี ายอยา่ งเพียงพอ และต่อเนื่อง
สินคา้ ท่ีขายชา้ SLOW – MOVING ควรมีสินคา้ คงคลงั ใหน้ อ้ ยที่สุด
สินคา้ ที่ขายไม่ได้ NO – MOVING อาจนามาลดราคา หรือจดั รายการส่งเสริมการขายวธิ ีอื่นๆ
3. เพ่ือปรับปรุงผลกาไร เมื่อมีการควบคุมสินคา้ คงคลงั ที่ถูกตอ้ งเหมาะสม จะทาใหต้ น้ ทุนการดาเนินงานไม่สูงเกินไป มีสินคา้
ขายเพยี งพอ ไมเ่ สียลูกคา้ ซ่ึงจะมผี ลกาไรมากข้ึน
4. เป็ นการบริการใหล้ กู คา้ ไดส้ ินคา้ ตามท่ีตอ้ งการ ตามชนิด แบบ ขนาด สี ฤดูกาล แฟชนั่ และกาลเวลา
5. เพ่อื ทาใหส้ ินคา้ ขายง่ายข้นึ เนื่องจากการบริหารสินคา้ คงคลงั ตอ้ งปรับปรุงตามสภาวะตลาด ดงั น้นั จะทาใหไ้ ดส้ ินคา้ ที่ส่งผล
ใหข้ ายมีประสิทธิภาพมากข้ึน
หลกั เกณฑ์ในกำรพจิ ำรณำปริมำณสินค้ำคงคลงั
1. ใหม้ ีสตอ็ กนอ้ ยท่ีสุดเพื่อลดตน้ ทนุ สินคา้ คงเหลือ
2. สตอ็ กสินคา้ ที่มีอยตู่ อ้ งมากเพยี งพอที่จะจาหน่ายในร้านจนถึงงวดการส่งสินคา้ คร้ังตอ่ ไป โดยอาศยั ขอ้ มลู ทางการตลาด
เพื่อใหก้ ารบริหารสินคา้ คงคลงั เป็ นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ ผจู้ ดั การสาขา, ผชู้ ่วยผจู้ ดั การสาขา จะตอ้ งสามารถตรวจสอบ
และวเิ คราะหร์ ายงานตอ่ ไปน้ีไดโ้ ดยเร็ว
- ปริมาณสินคา้ คงเหลือแตล่ ะรายการ
- รายการสินคา้ ขายดี ของร้านสาขาน้นั ๆ
- จานวนสินคา้ ที่ขายในช่วงเวลาหน่ึง
- ปริมาณยอดขาย (จานวนชิน้ ) ของสินคา้ ท่ีควรขายได้ ในช่วงจดั ทารายการส่งเสริมการขาย
ขอ้ มูลเหล่าน้ีจะไดม้ าจาก ระบบการบนั ทึกที่ละเอียด ถี่ถว้ น และประมวลอยา่ งถูกตอ้ งเมน่ ยา ซ่ึงหากใชบ้ ุคลากร จะตอ้ ง
เสียคา่ จา้ งแรงงานสูง และยงั อาจเกิดขอ้ ผิดพลาดในการทางานซ้าซอ้ น ดงั น้นั เครื่องคอมพวิ เตอร์ที่มีระบบการบนั ทึก และ
ประมวลผลท่ีดี จึงเขา้ มามีส่วนช่วยในงานน้ีอยา่ งมาก โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในธุรกิจคา้ ปลีก ซ่ึงมีรายการสินคา้ จานวนมากท่ีมีการ
ขาย และเคล่ือนไหวอยตู่ ลอดเวลา
เอกสารน้ีเป็ นลิขสิทธ์ิของ บริษทั ซนั สโตร์ 2002 จากดั หา้ ม1จ2า6หน่าย หรือเผยแพร่ เพอ่ื ประโยชนท์ างธุระกิจ
STORE OPERATIONS MANUAL
กระบวนกำรตรวจสอบสินค้ำคงคลงั
การตรวจสอบสินคา้ คงคลงั ในร้านคา้ ปลีก เพอ่ื ใหบ้ รรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์ ประกอบดว้ ยกระบวนการตา่ งๆ ดงั น้ี
1. การกาหนด MIN – MAX STOCK จานวนต่าสุด และ สูงสุดของสินคา้ ที่ตอ้ งมีในร้าน จะตอ้ งทราบปริมาณ Maximum
Stock และ Minimum Stock ของสินคา้ ท่ีจะตรวจสอบ Maximum Stock คือปริมาณสูงสุดของสินคา้ น้นั ท่ีควรมีอยใู่ นสตอ๊ ค
ใหเ้ พียงพอที่จะขายในระยะ 30 วนั MINIMUN STOCK คือ ปริมาณต่าสุดของสินคา้ น้นั ท่ีแสดงวา่ ควรจะสง่ั ซ้ือสินคา้ น้นั มา
โดยระบบสงั่ ชดเชยอตั โนมตั ิ เพมิ่ ไดแ้ ลว้ จึงควรมีปริมาณที่เพียงพอที่จะขายไดไ้ ม่ต่ากวา่ 2 รอบการส่งสินคา้ เช่น รอบการ
ส่ง 7 วนั ควรมีสินคา้ พอขายไดป้ ระมาณ 15 วนั
หลกั กำรในกำรกำหนด MIN – MAX STOCK มดี งั นี้
(จานวนต่าสุดและสูงสุดของสินคา้ ท่ีตอ้ งมใี นร้าน)
- สินคา้ FAST MOVING ตอ้ งมีอยใู่ นคลงั ของร้านใหพ้ อขายโดยมี MAX STOCK ท่ี 30 วนั และ MIN
STOCK ที่ 7 – 15 วนั
- สินคา้ SLOW MOVING จดั ใหม้ ีปริมาณนอ้ ย หรือมีเพียงเพ่อื แสดงใหเ้ ห็นวา่ มีสินคา้ รายการน้ี และเม่ือ
ขายไปแลว้ จึงรีบสง่ั ซ้ือมาทดแทน เน่ืองจากถา้ เป็ นสินคา้ เคล่ือนไหวชา้ มาก (ความถ่ีการขายนอ้ ย)
SLOW MOVING มาก การคานวณจากยอดขายในรอบ 15 – 30 วนั อาจไม่พบมียอดขาย
2. การตรวจนบั สินคา้ คงคลงั ในการบริหารจดั การร้านคา้ ปลีก การตรวจนบั สินคา้ คงคลงั เป็ นงานที่มีความสาคญั และจาเป็ น
อยา่ งยงิ่ จะทาใหท้ ราบถึงสภาวะการบริหารสินคา้ ในร้าน ดงั น้ี
- รายการสินคา้ ท่ีควรจะเพมิ่ ในรอบตอ่ ไปตามการขาย
- จานวนสินคา้ ที่ขาด หรือเกินจากยอดที่มีรายงานในคอมพิวเตอร์
- เม่ือพจิ ารณาเปรียบเทียบกบั ยอดขาย จะทราบวา่ ไดม้ ีการกกั ตนุ สินคา้ คงคลงั มากไปหรือไม่
- รายการสินคา้ ที่มีความเคล่ือนไหวนอ้ ย
- รายการสินคา้ ท่ีควร CN (ใกลห้ มดอาย,ุ ชารุด ฯลฯ)
แนวคดิ เร่ืองสินค้ำคงคลงั และระบบ
สินคา้ คงคลงั และระบบ เป็ นส่วนท่ีสาคญั มากในการดาเนินการภายในร้าน ถา้ ปฏิบตั ิตามนโยบาย และข้นั ตอนการทางาน
เก่ียวกบั สินคา้ คงคลงั และระบบอยา่ งถูกตอ้ งแลว้ จะทาใหเ้ กิดผลดีต่อร้านของคุณโดยจะช่วย
- เพ่ิมขีดความสามารถในการทากาไร
- ลดการสูญเสียของสินคา้ ภายในรา้ น
- ควบคุมระบบการเกบ็ สินคา้ และสินคา้ คงคลงั
เอกสารน้ีเป็ นลขิ สิทธ์ิของ บริษทั ซนั สโตร์ 2002 จากดั หา้ ม1จ2า7หน่าย หรือเผยแพร่ เพอ่ื ประโยชนท์ างธุระกิจ
STORE OPERATIONS MANUAL
-
- ทาใหก้ ารบริการลุกคา้ อยา่ งมีประสิทธิภาพ
ฝ่ ายคลงั สินคา้ เป็ นจุดควบคุมระบบภายในร้านของคุณ ท้งั รายงานสินคา้ และรายงายเคลื่อนไหวจากระบบดว้ ย เพือ่ ลด
ความผดิ พลาดในงาน และปกป้องทรัพยส์ ินร้านสาขา คุณตอ้ งสามารถใชร้ ายงานเหลา่ น้ี เพือ่ วเิ คราะห์งานไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง
ผรู้ ่วมงานในฝ่ ายควบคุมสินคา้ คงคลงั และผรู้ ่วมงานในร้านจะตอ้ งปฏิบตั ิตามมาตรการควบคุมอนั จาเป็นต่างๆ เพ่ือใหแ้ น่ใจวา่
ร้านสามารถทากาไรได้ ดงั น้นั สาขาตอ้ งมีหนา้ ที่
- ทาใหแ้ น่ใจวา่ ไดม้ ีการยดึ ถือ และปฏิบตั ิตามนโยบาย และข้นั ตอนการทางานตา่ งๆ
- เพ่ิมสานึกของพนกั งานประจาร้าน
- ตรวจสอบเรื่องสาคญั เกี่ยวกบั เร่ืองสาคญั เช่น การสุ่มตวั อยา่ ง, สินคา้ คงเหลือ, ยอดการขายสินคา้ ฯลฯ ทุกวนั
ซ่ึงจะแบ่งออกเป็นหวั ขอ้ ดงั น้ี
1. การสตอ็ กสินคา้ บนช้นั
คือ ปริมาณสินคา้ ที่อยบู่ นช้นั เป็นการสงั่ สินคา้ เพือ่ จดั ใหพ้ อเหมาะกบั ช้นั สินคา้ โดยรวมถึงการ Safety Stock ไวด้ ว้ ย โดย
เนน้ ท่ีการสตอ็ กสินคา้ ไวบ้ นช้นั เป็ นส่วนใหญ่ เพอ่ื สะดวกในการตรวจสอบจานวน และคุณภาพสินคา้
2. Safety Stock
คือปริมาณสงั่ สินคา้ เพอ่ื เผอื่ ไวโ้ ดยดูจากยอดขายในแต่ละรอบการสง่ั โดยมีปริมาณท่ีควรมปี ระมาณ 2 สปั ดาห์ ของในแต่ละ
รอบการสง่ั สินคา้
3. First-In-First-Out (FIFO)
คือการจดั เรียงสินคา้ โดยเนน้ ท่ีตวั สินคา้ ท่ีสง่ั เขา้ มาก่อนตอ้ งใหม้ ีการขายก่อน เพ่ือป้องกนั สินคา้ หมดอายุ และเก่าไมน่ ่าซ้ือ
4. การส่งสินคา้ และการรับสินคา้
เมื่อมีการส่งสินคา้ ณ จุดขายที่ร้านสาขา ตอ้ งปฏิบตั ิตามข้นั ตอน ดงั ต่อไปน้ี
- ตรวจสอบสินคา้ กบั ใบ Invoice 100%
- รับสินคา้ ตามใบสงั่ ซ้ือ
- พมิ พร์ ายงานการรับเขา้ ทนั ที
- ถา้ สินคา้ ไมค่ รบทา C/N ทนั ที
กำรโอนสินค้ำระหว่ำงสำขำ
- เพ่ือโอนและหมนุ เวยี นสินคา้ ใหเ้ พยี งพอจาหน่าย หรือจดั Promotion หรือสินคา้ แจกแถมสาหรบั ลูกคา้
- ตอ้ งไดร้ ับอนุมตั ิ โดยผจู้ ดั การฝ่ ายปฏิบตั ิการเท่าน้นั
- หา้ มมิใหโ้ อนสินคา้ ก่อนไดร้ ับอนุญาต
- ตอ้ งใชใ้ บโอนสินคา้ ระหวา่ งสาขาเท่าน้นั
เอกสารน้ีเป็ นลิขสิทธ์ิของ บริษทั ซนั สโตร์ 2002 จากดั หา้ ม1จ2า8หน่าย หรือเผยแพร่ เพอื่ ประโยชนท์ างธุระกิจ
STORE OPERATIONS MANUAL
วธิ ีกำรตรวจนับสินค้ำคงคลงั
1. การสุ่มนบั ดว้ ยตนเอง
ท่านสามารถสุ่มนบั จานวนสินคา้ ไดท้ ุกวนั โดยเปิ ดดูจานวนสินคา้ คงเหลือในสาขาจากเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ แลว้ นบั สินคา้ ที่มี
อยจู่ ริงเปรียบเทียบกบั ตวั เลขแสดงจานวนสินคา้ ในคอมพิวเตอร์ สินคา้ ท่ีน่าจะตรวจนบั ทุกวนั ไดแ้ ก่
1.1 สินคา้ ที่มีการขายบ่อยคร้ัง
1.2 สินคา้ ท่ีจานวนยอดขายสูง
1.3 สินคา้ ที่มีราคาต่อหน่วยสูง และขายไดง้ ่าย
2. การตรวจสอบสินคา้ หมดอายุ
2.1 ตรวจสอบจากวนั ที่ผลิตของแต่ละรุ่น
2.2 ตรวจสอบจากความเป็ นจริง คือ สินคา้ ที่รับมาก่อนควรจาหน่ายก่อน
2.3 ตรวจสอบสภาพการชารุดเสียหาย
เอกสารน้ีเป็ นลิขสิทธ์ิของ บริษทั ซนั สโตร์ 2002 จากดั หา้ ม1จ2า9หน่าย หรือเผยแพร่ เพอื่ ประโยชนท์ างธุระกิจ
STORE OPERATIONS MANUAL
อปุ กรณ์ต่ำงๆ ภำยในร้ำน (STORE EQUIPMENTS)
พนกั งานทุกคนจะตอ้ งมีความรู้จกั กบั อปุ กรณ์ทุกชนิดท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การปฏิบตั ิงานภายในร้าน พร้อมท้งั วธิ ีการใช้
อปุ กรณ์เหล่าน้ีอยา่ งถกู วธิ ี นอกจากน้ี พนกั งานทุกคนยงั ตอ้ งมีความรับผิดชอบในการทาความสะอาดและการบารุงรักษา อปุ กรณ์
ตา่ งๆ อีกดว้ ย
อปุ กรณ์สำคัญทเ่ี กย่ี วข้องกบั กำรปฏิบัติงำน มดี ังนี้
• เตาอบไมโครเวฟ (MICROWAVE OVEN)
• เครื่องทาน้าแขง็ (ICE MAKER)
• เคร่ืองจ่ายน้าแขง็ (ICE DISPENSER)
• เคร่ืองจ่ายน้าอดั ลม (POST MIX)
• เครื่องจ่ายน้าผลไม,้ เคร่ืองดื่มเยน็ (DISPENSED DRINK)
• เคร่ืองจ่ายน้า SNAFFY (FROZEN CARBONATE BEVERAGE)
• เคร่ืองยา่ งฮอทดอก (HOTDOG ROLLER GRILL)
• เครื่องทาความเยน็ ประเภทตา่ งๆ แบ่งเป็ น 2 ประเภท
1.1. อณุ หภมู ิปานกลาง (+4 ถึง +10 องศาเซนเซียส) มี
- ตแู้ ช่เคร่ืองดื่ม
1.2. อุณหภมู ิต่า (-18 ถึง –20 องศาเซนเซียส) มี
- ตูแ้ ช่น้าแขง็ ยนู ิต
- ตูไ้ อศกรีม
• ถาดช่องใส่ผกั สาหรับไสก้ รอก (CONDIMENT BAR)
• เคร่ืองบนั ทึกเงินสด (CASH REGISTER)
• AIR CONDITION
• ตคู้ วั่ ขา้ วโพด (POP CORN)
• ตพู้ ายอลั เฟรโด
• ตูน้ ่ึงซาลาเปา
เอกสารน้ีเป็ นลขิ สิทธ์ิของ บริษทั ซนั สโตร์ 2002 จากดั หา้ ม1จ3า0หน่าย หรือเผยแพร่ เพื่อประโยชนท์ างธุระกิจ
STORE OPERATIONS MANUAL
กำรตรวจอุปกรณ์และเคร่ืองมือต่ำงๆ
ก่อนเปิ ดร้าน ผจู้ ดั การร้านควรตรวจอปุ กรณ์ต่างๆ ดงั ต่อไปน้ี วา่ ทางานเป็นปกตหิ รือไม่ และอณุ หภูมิอยใู่ นช่วงปกติ
หรือไม่
1. ตเู้ ยน็ ต่างๆ ตรวจดูวา่ ทางานปกติหรือไม่ และอณุ หภมู ิอยใู่ นช่วงที่กาหนดหรือไม่
ตูแ้ ช่แขง็ (LOW TEMP) -18 ถึง –20 C
ตไู้ อศครีม -18 ถึง –20 C
ตูเ้ ก็บน้าแขง็ -18 ถึง –20 C
ตแู้ ช่เครื่องดื่ม 2 ถึง 6 C
โดยใหส้ งั เกต ขณะที่อุณหภมู ิคงที่แลว้ ในกรณีเครื่องหน่ึงเครื่องใดเสีย ใหย้ า้ ยสินคา้ เขา้ ไปเก็บยงั ตูท้ ่ีมีอณุ หภูมิ
ใกลเ้ คียง
2. เครื่องทาน้าแขง็ เชค็ ดูวา่ ต่อเขา้ กบั ท่อน้าแลว้ หรือยงั แลว้ ลองเสียบปลก๊ั ดูวา่ สามารถผลิตน้าแขง็ ไดต้ ามปกติ
หรือไม่ และกรณีที่จะเร่ิมผลิตน้าแขง็ ใหป้ ลอ่ ยน้าผา่ นเคร่ืองกรอง จนแน่ใจวา่ เครื่องกรองทางาน และไมม่ ีกล่ิน
คลอรีนในน้า
3. MICROWAVE กดป่ ุมต้งั เวลา เมื่อครบเวลาท่ีต้งั ไวแ้ ลว้ จะตอ้ งมีสญั ญาณดงั ข้ึน (ไมค่ วรทดสอบขณะที่ไมม่ ีสินคา้
อยจู่ ะทาใหเ้ ครื่องเสีย)
4. ROLLER GRILL ทดลองดูวา่ ROLLER ทุกแท่งสามารถหมุนได้ และใหค้ วามร้อนไดต้ ามปกติ และเชด็ ทาความ
สะอาดก่อนใช้ และระวงั การคีบไสก้ รอก อยา่ ใหม้ ีรอยขดู บนแท่ง ROLLER
5. เคร่ือง DISPENSED DRINK จะตอ้ งสามารถทาความเยน็ ได้ ท่อกลางเคร่ืองตอ้ งสามารถพน่ น้าได้ และเม่ือใชแ้ กว้
กดจะตอ้ งมีน้าไหลออกอยา่ งสม่าเสมอ หวั กดไม่คา้ งเมื่อไมก่ ดน้า น้าจะไม่ร่ัวออกมา
6. เครื่อง SNAFFY เมื่อกดออกมาแลว้ จะตอ้ งไมเ่ หลว หรือเป็ นน้า และจะตอ้ งออกสม่าเสมอ
7. เคร่ือง POST MIX ลองกดดูทุกหวั วา่ ใส่ SYRUP ถกู ตอ้ งหรือไม่ และจะตอ้ งมีคาร์บอนไดออกไซด์ (กา๊ ซ) ผสม
ออกมาพร้อมกบั SYRUP
เอกสารน้ีเป็ นลิขสิทธ์ิของ บริษทั ซนั สโตร์ 2002 จากดั หา้ ม1จ3า1หน่าย หรือเผยแพร่ เพอื่ ประโยชนท์ างธุระกิจ
STORE OPERATIONS MANUAL
วธิ ีดูแลรักษำอปุ กรณ์ภำยในร้ำนสำขำ
เครื่องขำยนำ้ อดั ลม ( POST – MIX )
กำรใช้และกำรบำรุงรักษำเครื่องโพสมกิ ซ์
กำรตรวจกำรทำงำนของเครื่อง
• ตรวจปลก๊ั ไฟฟ้าอยใู่ นตาแหน่งที่เสียบอยหู่ รือไม่ไม่ทิ้งตวั เครื่องโพสมิกซ์ และตวั ป้ัมคาร์บอนเนตเตอร์ (หมอ้ ผสม
โซดา)
• ตรวจดูน้าบริสุทธ์ิ หรือน้าท่ีต่อเขา้ เครื่อง ( น้าประปา ) วา่ ไหลหรือไม่
• ตรวจดูน้าเชื่อมในแต่ละถงั วา่ มีเพยี งพอหรือไมต่ อ่ การขาย พร้อมดว้ ยคาร์บอนไดออกไซดใ์ นท่อเหลือมากนอ้ ย
เพียงใด
• ตรวจดูหวั IN – 0UT อยใู่ นตาแหน่งท่ีถูกตอ้ งหรือไม่ หลุดหรือไม่
• ตรวจดูสายน้าบริสุทธ์ิ สายน้าเช่ือม สายคาร์บอนไดออกไซด์ พบั งอหรือไม่
• ตรวจดูวาลว์ น้า / วาลว์ ท่อ CO2 อยใู่ นตาแหน่งท่ีเปิ ดหรือไม่
• กดสมั ผสั ที่กา้ นวาลว์ แตล่ ะหวั วา่ ทางานปกตหิ รือไม่
เอกสารน้ีเป็ นลิขสิทธ์ิของ บริษทั ซนั สโตร์ 2002 จากดั หา้ ม1จ3า2หน่าย หรือเผยแพร่ เพอ่ื ประโยชนท์ างธุระกิจ
STORE OPERATIONS MANUAL
กำรบำรุงรักษำ
• หลงั จากการใชเ้ ครื่องควรถอดจ่าย และเกสรน้าเช่ือมออกทาความสะอาด และแช่น้าโซดาทิ้งไว้
• ทาความสะอาดสายส่งน้าเชื่อม หรือระบายสายต่าง ๆ ใหส้ ะอาดอยเู่ สมอดว้ ยการใชผ้ า้ ชุบเช็ดเพอื่ ป้องกนั หนูกดั
สาย และกลิ่นเหมน็ เปร้ียว
• ทาความสะอาดพ้ืนท่ีเกบ็ ถงั น้าเช่ือมใหส้ ะอาดรวมท้งั ถงั น้าเช่ือม และหวั ตอ่ ถงั
• ไมค่ วรวางของหรือวตั ถทุ ุกชนิดบนหลงั เคร่ือง
• ไม่ควรแกไ้ ขหรือปรับปรุงแตง่ เคร่ืองดว้ ยตนเองหรือผอู้ ่ืน ควรเรียกช่าง เม่ือเครื่องมปี ัญหาหรือ ผดิ ปกติ
กำรล้ำงเคร่ือง
• เตรียมน้ายาทาความสะอาดและน้ายาฆ่าเช้ือในถงั สะอาด 5 แกลลอน โดยผสมอยา่ งละใบ
• ถอดสายตา่ ง ๆ ออกจากระบบ ไลน่ ้าเชื่อมท่ีคา้ งออกโดยการไล่ดว้ ยแก๊ส
• ไล่น้าสะอาดผา่ นทางระบบทางหวั ตอ่ ถงั น้าเชื่อแตล่ ะหวั
• ไลร่ ะบบและแช่ระบบดว้ ยน้ายาทาความสะอาด ควรแช่ทิ้งไวอ้ ยา่ งนอ้ ย 15 นาที
• ลา้ งไล่น้ายาทาความสะอาดดว้ ยน้าสะอาดจนหมด
• ไลร่ ะบบและแช่ดว้ ยน้ายาฆ่าเช้ือคลอรีน ควรแช่ทิ้งไวอ้ ยา่ งนอ้ ย 15 นาที
• ลา้ งไลน่ ้าคลอรีน ดว้ ยน้าสะอาดจนหมด
• ลา้ งระบบดว้ ยแกส๊ แลว้ จึงตอ่ น้าเช่ือมเขา้ ระบบตามเดิม
• ไล่น้าเช่ือมทิ้งหวั ละ 5-6 ถว้ ย เพ่ือไลน่ ้าท่ีคา้ งอยู่
• ชิมน้าทุกหวั เพอื่ ทดสอบวา่ กลิ่น รส สีปกติ
กำรเปลย่ี นถงั นำ้ เชื่อมและถังแก๊ส
กำรเปลยี่ นถงั นำ้ เช่ือม
ควรเปลี่ยนเอาถงั เก่าออกโดยปลดที่หวั น้าเช่ือมก่อน ( หวั สีแดง หรือสีดา ) จากน้นั จึง ปลดหวั แก๊ส ( สีเทา ) ส่วนการใส่ให้
ใส่สีเทาก่อนคือหวั แก๊ส แลว้ จึงใส่หวั สีดาหรือสีแดงซ่ึงหมายถึงหวั น้าเชื่อม
วธิ ีการปลดหวั ออก ใหด้ ึงปลอกหวั สีดากดน้นั ข้ึนก่อนจึงจะสามารถดึงหวั กดออกไดแ้ ต่โดยทว่ั ไปเมื่อดึงปลอกข้ึนแลว้ หวั
กดจะเดง้ ออกมา เวลาใส่ใหด้ ึงปลอกข้ึนเช่นเดียวกนั แลว้ จึงใส่หวั ลง และปลอ่ ยปลอก
ข้อควรระวงั ควรใส่ใหถ้ กู ช้นั หวั กดสีเทา ( หมายถึงหวั แก๊สที่ข้วั ของถงั จะมีอกั ษรบอกวา่ ข้วั แกส๊
( หรือน้าเช่ือม ) ส่วนสีดาหรือสีแดง จะเป็ นหวั ของน้าเช่ือม
เอกสารน้ีเป็ นลิขสิทธ์ิของ บริษทั ซนั สโตร์ 2002 จากดั หา้ ม1จ3า3หน่าย หรือเผยแพร่ เพอ่ื ประโยชนท์ างธุระกิจ
STORE OPERATIONS MANUAL
กำรเปลย่ี นถงั แก๊ส
ปิ ดแก๊สใหส้ นิท และหมนุ ขอ้ ต่อออกดว้ ยเครื่องมือที่ทางบริษทั ฯ ใหไ้ วซ้ ่ึงจะแขวนติดอยกู่ บั อุปกรณ์การจ่ายแก๊ส และ
นุงใหมเ่ ขา้ มาใส่ ระวงั อยา่ ใหแ้ หวนพลาสติกท่ีอยใู่ นข้วั ตอ่ ตก หรือหลุดหายไปจะทาใหแ้ กส๊ ร่ัว เม่อื หมนุ แน่นแลง้ จึงปิ ดแก๊สจน
ซีลลวดขาด ถา้ หากมีรอยร่ัวท่ีวาลว์ ปิ ดเปิ ด ของถงั แกส๊ ใหห้ มนั เปิ ดจนสุดแลว้ จึงหมุนกลบั รอยร่ัวจึงจะหายไป
** ในกรณีท่ีใชแ้ กส๊ จนหมดถงั ใหไ้ ลร่ ะบบจนกวา่ โซดาจะซ่า แตถ่ า้ หากเปลี่ยนถงั ก่อนท่ีแก๊สจะหมด ไมจ่ าเป็ นตอ้ งไลร่ ะบบ
สามารถใชง้ าน ไดท้ นั ที ขอ้ สาคญั ถงั แก๊สจะตอ้ งอยู่ ในแนวต้งั เสมอ**
ข้อแนะนำในกำรเกบ็ รักษำขนย้ำยและเปลย่ี นถังก๊ำซ
• เก็บพงั ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ในที่ที่มีการถา่ ยเทอากาศสะดวก แหง้ และเยน็
• หลีกเล่ียงโอกาสที่จะเกิดการกดั กร่อนตอ่ ถงั คาร์บอนไดออกไซด์ โดยการเกบ็ รักษาในที่ปลอดจากการกดั กร่อน
• เก็บถงั ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ใหอ้ ยหู่ ่างจากลิฟท์ ทางเดิน หรือในที่ท่ีมีการสญั จร
• ควรปิ ดวาลว์ ใหแ้ น่นสนิทและป้องกนั การลม้ ของถงั ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
• ควรเก็บถงั ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ใหอ้ ยหู่ ่างจากแหลง่ ใหค้ วามร้อน,แสงแดดลมร้อนที่เป่ าออกมาจากตูเ้ ยน็ หรือ
แหล่งการลม้ ลง
• ควรยดึ ถงั ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ท้งั ถงั เตม็ และถงั เปล่าใหอ้ ยใู่ นตาแหน่งต้งั ตรงตลอดเวลา เพอ่ื ป้องกนั การลม้
ลง
• ไม่ควรวางถงั กา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์ ซอ้ น ๆ กนั เหมือนกบั ท่อนไม้
• ไมค่ วรเกบ็ ถงั ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ในท่ีที่มีอณุ หภมู เิ กินกวา่ 120 องศาฟาเรนไฮท์ และในท่ีท่ีมอี ุณหภูมิต่ากวา่
จุดเยอื กแขง็
ข้อแนะนำในระหว่ำงกำรขนย้ำย
• จะตอ้ งไมข่ นยา้ ยถงั กา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์ ท่ีมีรอยร่ัวซึมไม่วา่ จะมีก๊าซคาร์บอนไดออกไซดอ์ ยเู่ ตม็ ถงั หรือเพยี ง
บางส่วน
• วาลว์ ของถงั กา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์ ท้งั เตม็ และถงั เปล่า จะตอ้ งปิ ดอยา่ งแน่นสนิทในระหวา่ งการเคลื่อนยา้ ย
กำรดูแลรักษำควำมสะอำดประจำวนั
• การทาความสะอาดหวั จ่าย
- ภายหลงั การขายในแต่ละวนั ใหถ้ อดส่วนประกอบของหวั จ่าย ท้งั ส่วน ก. และ ส่วน ข. (ดูรูปประกอบ ) ออก
จากหวั เครื่อง
- ทาความสะอาดส่วนประกอบท้งั สองดว้ ยแปรงสีฟันและน้าอ่นุ เพอื่
- ลา้ งส่วนประกอบ ก. และส่วนประกอบ ข. อีกคร้ังดว้ ยน้าอนุ่ แลว้ จึงประกอบกลบั เขา้ ท่ีเดิม
- เริ่มทาการขายได้
• ลา้ งถาดและสายระบายน้าทิ้ง อยา่ งนอ้ ยวนั ละ 1 คร้งั
เอกสารน้ีเป็ นลขิ สิทธ์ิของ บริษทั ซนั สโตร์ 2002 จากดั หา้ ม1จ3า4หน่าย หรือเผยแพร่ เพ่ือประโยชนท์ างธุระกิจ
STORE OPERATIONS MANUAL
• ทุกคร้ังที่มีการเปล่ียนถงั น้าเชื่อม ควรจะตอ้ งลา้ งหวั จ้มั ในน้าอนุ่ เพือ่ ทาความสะอาดหวั จ้มั และเพอ่ื ช่วยใหก้ ารใส่
กลบั ง่ายดายข้ึน
• หมนุ เวยี นการใชน้ ้าเช่ือม ควรจะตอ้ งลา้ งหวั จ้มั ในน้าอนุ่ เพอื่ ทาความสะอาดหวั จ้มั และเพอื่ ช่วยใหก้ ารใส่กลบั
ง่ายดายข้ึน
• ในกรณีที่ตอ้ งมีการเปลี่ยนแปลงชนิดของน้าเชื่อม ใหแ้ ตกต่างไปจากชนิดเติม เช่น จากรูทเบียร์เป็นเป๊ ปซี่ จะตอ้ ง
แจง้ ทางบริษทั ฯ ใหม้ าทาการลา้ งระบบเพื่อกาจดั กลิ่น น้าเช่ือมเดิมเสียก่อน อยา่ ทาการเปล่ียนเองโดยเดด็ ขาด
ข้อควรปฏิบตั ิ ข้อพงึ ระวงั
• ไม่ควรวางสิ่งของไวข้ า้ งหนา้ หรือดา้ นบนของฝาครอบเคร่ือง เน่ืองจากจะใหก้ ารไหลเวยี นของอากาศไมส่ ะดวก
เครื่องอาจหยดุ ทางานเน่ืองจากร้อนจดั
• หา้ มกดหวั จ่ายน้าหวานเป็นเวลานาน ๆ เช่น เติมลงในขวด หรือถงั ขนาดใหญจ่ ะทาใหห้ วั จ่ายน้าหวานชารุดได้
• ไมค่ วรถอดปลกั ซไ์ ฟ เมื่อเลิกบริการ เคร่ืองโพสตม์ ิกซท์ างานเหมือนรู้เยน็ เคร่ืองจะตดั ไฟเอง เมื่อเครื่องเยน็
เพยี งพอ หากถอดปลกั ซไ์ ฟออกไวท้ ้งั คืนจะตอ้ งใชเ้ วลา 4-8 ชว่ั โมง กวา่ เคร่ืองจะเป็ นปกติ
• ไมค่ วรเปลี่ยนถงั น้าเชื่อมต่างชนิดกนั รสชาดจะเสียมาตรฐาน เพราะหวั จ่ายแตล่ ะหวั ไดป้ รับอตั ราการผสมไว
เฉพาะ สาหรับรสชาดของน้าแต่ละชนิด
• ไมค่ วรตกั น้าแขง็ คอยไว้ หรือกดน้าคอยไว้ น้าแขง็ ละลายคือตวั ทาลายรสชาด
• ระวงั เร่ืองน้า ใหม้ ีระดบั ส่งเขา้ เครื่องอยา่ งสม่าเสมอ ถา้ น้าขาด เคร่ืองป้ัมจะป้ัมไมห่ ยดุ ผลก็คือ ป้ัมน้าจะไมป่ ้ัมน้า
เขา้ เคร่ือง
เอกสารน้ีเป็ นลิขสิทธ์ิของ บริษทั ซนั สโตร์ 2002 จากดั หา้ ม1จ3า5หน่าย หรือเผยแพร่ เพือ่ ประโยชนท์ างธุระกิจ
STORE OPERATIONS MANUAL
กำรแก้ไขปัญหำเบือ้ งต้น
ปัญหำ สำเหตุ วธิ ีแก้ไข
1. โซดาไม่ออกทุกหวั มีแตน่ ้าเชื่อมมีเสียงแก๊ส
2. โซดาไมอ่ อกทุกตวั มีแต่น้าเชื่อมไม่มีเสียงแก๊ส ปลกั๊ ซ์เคร่ืองหลดุ หรือเครื่องไมไ่ ดเ้ สียบ ปิ ดวาลว์ แก๊ส เสียบปลก๊ั ซ์ไฟฟ้า เปิ ด
3. โซดาไม่ออกทุกหวั ไม่มีน้าเชื่อม ไมม่ ีเสียงแกส๊
ไฟฟ้า ไมเ่ ขา้ เคร่ือง วาลว์ น้าถกู ปิ ดระบบน้า วาลว์ น้ากดไลร่ ะบบที่หวั วาลว์ จ่ายจน
4. โซดาไม่ซ่า
ภายในร้านาไมไ่ หล น้าบริสุทธ์ิในถงั น้า มีน้าโซดาออกจึงเปิ ดแกส๊ และไล่
หมด ระบบโซดาทิ้งจน น้าซ่า
แกส๊ หมด สายโซดาจากป้ัมเขา้ เคร่ืองหกั งอ ถา้ แก๊สหมด หรือสายแกส๊ หกั งอ ให้
ใส่ระบบท่ีหวั จ่ายทิ้งประมาณ 1-2
เหยอื กจนกวา่ โซดาจะซ่า
ปลก๊ั ไฟหลดุ หรือไมไ่ ดเ้ สียบปลก๊ั ระบบ ในกรณีท่ีแกส๊ หมดใหเ้ ปลี่ยนใหม่
ไฟภายในเคร่ืองขดั ขอ้ ง ไมไ่ ดเ้ ปิ ดกญุ แจ และไล่ระบบจนกวา่ โซดาจะซ่า ส่วน
ลอ๊ คเคร่ือง แกส๊ หมด ในกรณีระบบไฟฟ้าภายในร้าน
ขดั ขอ้ ง เช่น ไฟตก หรือติดๆ ดบั ๆ ให้
ถอดปลกั๊ ไฟฟ้าออก แลว้ รอจนกวา่
ระบบไฟฟ้าจะปกติ จึงเสียบปลกั๊
ไฟฟ้าเพอื่ เดินเครื่องได้
แก๊สหมด เคร่ืองทางานหนกั เกิน ไมค่ วรวางของ หรือตากผา้ ไวบ้ นหลงั
ความสามารถ หรือระบายความร้อนไม่ได้ เคร่ือง ในกรณีแก๊สหมดใหป้ ฏิบตั ิ
หรือกดเครื่องดื่มไวน้ านเกินควร ตามขอ้ 3.
เอกสารน้ีเป็ นลิขสิทธ์ิของ บริษทั ซนั สโตร์ 2002 จากดั หา้ ม1จ3า6หน่าย หรือเผยแพร่ เพอ่ื ประโยชนท์ างธุระกิจ
STORE OPERATIONS MANUAL
เครื่อง FCB ( FROZEN CARBONATE BEVERAGE )
กำรตรวจสอบกำรทำงำนของเคร่ือง
• ในสภาวะที่เคร่ืองเดินปกติหนา้ จอ DISPLAY ของเครื่องจะโชวค์ าวา่ OFF1 OFF2 เท่าน้นั (หมายถึงกรณีที่
เคร่ืองหยดุ อย)ู่
• ตรวจดูวา่ CO 2 ใกลห้ มดหรือไม่ ถา้ ปริมาณแกส๊ เขา้ เขตสีเทาควรเปล่ียนถงั ใหม่
• ตรวจดูวา่ น้าเชื่อมหมดหรือไม่
• การบารุงรักษาความสะอาดและสภาพเรียบร้อย ( Cleanliness ND Condition )
• แผงดา้ นหนา้ เครื่อง
- ปราศจากฝ่ นุ และคราบน้าเชื่อม
- วาลว์ จ่ายน้าสามารถเปิ ด-ปิ ด ไดง้ ่ายและไม่รั่ว
- ที่จบั ของวาลว์ จ่ายน้าติดอยมู่ นั่ คงและไม่มีรอย
• ถาดรองน้าดา้ นหนา้ เคร่ือง
- มีตะแกรงวางบนถาด
- ไมม่ ีน้าขงั อยู่
• ไฟสญั ญาณ
- ทางานตามปกติ
เอกสารน้ีเป็ นลิขสิทธ์ิของ บริษทั ซนั สโตร์ 2002 จากดั หา้ ม1จ3า7หน่าย หรือเผยแพร่ เพือ่ ประโยชนท์ างธุระกิจ
STORE OPERATIONS MANUAL
• ท่อยางถา่ ยเทน้าดา้ นหนา้ เคร่ือง
- ไม่มีน้าเชื่อมไหลท่วมออกมา
หมำยเหตุ เมื่อน้าเชื่อมไหลท่วมออกมาแสดงวา่ เกิดการรั่วบริเวณกา้ นหมนุ ดา้ นในสีของน้าเช่ือมบ่งใหท้ ราบวา่ เกิดการร่ัวขา้ งใน
ไดใ้ หเ้ รียกช่างมาซ่อม
1. ความสะอาดภายนอกเครื่องโดยทว่ั ไป
2. เครื่อง FCB น้ีควรใหช้ ่างมาทาความสะอาด และลา้ งดว้ ยน้ายา
Sanitized ทุก ๆ 90 วนั
ถงั นำ้ เช่ือม ( Syrup Tanks )
1. ความสะอาด
- บริเวณดา้ นบนของถงั ไม่ควรมีฝ่ นุ หรือคราบน้าเช่ือม
2. การเปล่ียนถงั น้าเช่ือมโดยใชเ้ วลานอ้ ยท่ีสุด
- การติดต้งั สายตอ่ มน่ั คงแน่นหนา
- ไมม่ ีการร่ัวซึมของน้าเชื่อม
- สามารถถอดและใส่สายต่อไดโ้ ดยง่าย
หมำยเหตุ การเปล่ียนถงั น้าเชื่อมทุกคร้ังตอ้ งลา้ งหวั ของสายต่อดว้ ยน้าร้อน เพ่ือความสะดวกในการถอดและใส่สายตอ่
โดยง่าย
ถงั ก๊ำซ CO2 ( CO2 Tanks )
1. ควรคลอ้ งโซ่บริเวณส่วนกลางของถงั ติดกบั กาแพงไว้
2. เครื่องบงั คบั แรงดนั อากาศ
- แรงดนั อากาศของถงั CO2 อยรู่ ะหวา่ ง 400 psi
หมำยเหตุ เมื่อหนา้ ปัดบอกแรงดนั ต่ากวา่ 400 psi แสดงวา่ ก๊าซคงหมด และควรเปล่ียนใส่ถงั ใหม่
- ตวั เครื่องมีแรงดนั อากาศ 80 psi
3. ควรเปิ ดวาลว์ ของถงั CO2 โดยหมนุ เปิ ด-ปิ ดจนสุดทุกคร้ัง
หมำยเหตุ กา๊ ซ CO2 อาจร่ัวบริเวณวาลว์ ได้ หากขอ้ ตอ่ ไมเ่ ชื่อมกนั สนิท
4. สายตอ่ น้าเชื่อมและสายต่อกา๊ ซ CO2 ( Syrup And CO2 Hoses )
- สายต่อท้งั 2 ชนิด ไมค่ วรคดงอ และไม่ควรแขวนสายไวก้ บั กาแพง
- สายตอ่ น้ีควรส้นั พอดี ความยาวควรเผอ่ื ไวใ้ หพ้ อกบั การเปล่ียนถงั น้าเช่ือมได้ สะดวกเท่าน้นั
เอกสารน้ีเป็ นลขิ สิทธ์ิของ บริษทั ซนั สโตร์ 2002 จากดั หา้ ม1จ3า8หน่าย หรือเผยแพร่ เพื่อประโยชนท์ างธุระกิจ
STORE OPERATIONS MANUAL
หลงั จำกหยดุ เครื่อง FCB ควรทำอะไรบ้ำงดงั นี้
1. ลา้ งทาความสะอาดถาดน้าทิ้ง
2. ทาความสะอาดบริเวณเครื่องภายนอก
3. ทาความสะอาดฟิ ลเตอร์กรองอากาศ 3 วนั ตอ่ 1 คร้ัง
กำรแก้ปัญหำเบื้องต้นของเคร่ือง FCB
• DISPLAY โชวค์ าวา่ OFF1 , OFF2 หมายถึงระบบเครื่องหยดุ ทางานใหก้ ด AUTO1 , AUTO2 เพ่ือใหเ้ ครื่องทางาน
• DISPLAY โชวค์ าวา่ WASH1,WASH2 ถา้ หยดุ เครื่องใหก้ ด OFF1 , OFF2 ถา้ ตอ้ งการเดินเครื่อง ต่อใหก้ ด
AUTO1 , AUTO2 ( WASH 1 , WASH 2 ปกติแลว้ จะใชเ้ ฉพาะช่วงใน กรณีลา้ งระบบเคร่ืองน้นั
• DISPLAY โชวค์ าวา่ FILL1 , FILL2 ใหก้ ด AUTOBLEND1,AUTOBLEND2 จนคาวา่ FILL จะหายไป
• DISPLAY โชวค์ าวา่ CO2 OUT หมายถึงแก๊สหมด ในกรณีน้ีเคร่ืองจะหยดุ ทางานใหเ้ ปล่ียนแกส๊ ใหมเ่ ครื่องจะ
ทางานโดยอตั โนมตั ิ ถา้ หากเปล่ียนแลว้ เครื่องไมท่ างานใหก้ ด AUTO1 , AUTO2 ท้งั น้ีคาวา่ CO2 OUT จะหายไป
จาก DISPLAY
• DISPLAY โชวค์ าวา่ SYRUP1 , SYRUP2 หมายถึง SYRUP ของช่องท่ี 1,2 หมดใหเ้ ปลี่ยน SYRUP ใหม่ ถา้ หาก
คาวา่ SYRUP1 , SYRUP2 ไม่หายใหก้ ด FILL1 , FILL2 จนกวา่ คาวา่ SYRUP จะหาย เคร่ืองจะโชวค์ าวา่ FILL
จากน้นั จึงกดAUTOBLEND1 AUTOBLEND2
• DISPLAY โชวค์ าวา่ H2O OUT หมายถึงแรงกดดนั น้าไมเ่ พียงพอ (หมายถึงแรงกดน้าภายในตนั )ใหแ้ กไ้ ขระบบ
น้าภายในร้าน เช่น ปิ ดวาลว์ น้าหรือไม่ ปลกั๊ ของป้ัมน้าหลดุ หรือไม่ หรือมิฉะน้นั ใหต้ ามช่างประปาเชค็ ระบบน้า
ภายในร้านจนหวา่ คาวา่ H2O OUT จะหาย ปกติเครื่องตอ้ งการแรงดนั ที่ 12 PSI ถา้ ต่ากวา่ น้ีจะไม่มีการแขง็ ตวั
( หมายถึงมีคาวา่ H2O OUT โชว์ )
• DISPLAY โชวค์ าวา่ อื่น ๆ เช่น MOTOR1 , MOTOR22 , ERROR1 , ERROR 2
SENSOR1 , SENSOR2 หรืออื่น ๆ นอกเหนือจากที่กลา่ วมาใหก้ ด ERROR RESET ถา้ ไมห่ ายใหแ้ จง้ ช่างบริการ
* ในกรณีที่น้าหวานเขา้ ไม่เตม็ ช่องใหส้ งั เกตท่ี DISPLAY มีคาวา่ FILL โชวห์ รือไม*่
ถา้ มีใหก้ ด AUTOBLEND1หรือAUTOBLEND2 แลว้ ดึงห่วงระบายอากาศตรงช่องจ่าย หนา้ เคร่ือง ถา้ หากไมม่ ี FILL โชว์
ใหด้ ึงไดท้ นั ทีจนกวา่ น้าจะเตม็ กระบอก ( ขอ้ ควรระวงั ควรดึงห่วงระบายอากาศอยา่ งชา้ )
ข้อห้ำมของ FCB ในกำรปรับแต่ง
• หา้ มถอดฝาพลาสติกหนา้ เคร่ือง FCB นอกจากช่างบริการ
• หา้ มปรับระบบโปรแกรมใดๆ ของ FCB ทุกกรณี นอกจากช่างบริการ
• หา้ มกดเดินเครื่องหลงั จากท่ีเครื่องหยดุ ทางานในระบบ SLEEP TIME ช่างบริการเป็ นผปู้ รบั ระบบไว้
• ไม่ควรกด CANCEL DEFROST เม่ือเครื่องอยใู่ นระบบ ละลาย (DEFROST) ควรปลอ่ ยใหเ้ ป็ นไปตามระบบเครื่อง
• อยา่ ปรับแต่งระบบเครื่องภายในอาจทาใหเ้ คร่ืองเกิดความเสียหาย และมีอนั ตรายถึงชีวติ
เอกสารน้ีเป็ นลิขสิทธ์ิของ บริษทั ซนั สโตร์ 2002 จากดั หา้ ม1จ3า9หน่าย หรือเผยแพร่ เพ่ือประโยชนท์ างธุระกิจ
STORE OPERATIONS MANUAL
ตู้แช่เคร่ืองดื่ม
ข้อควรระวงั และควำมปลอดภยั ในกำรใช้งำน
• ปิ ดประตทู ุกคร้ังเม่ือไมใ่ ชง้ าน เพ่ือป้องกนั ไม่ใหค้ วามเยน็ รั่วไหล เพราะจะทาให้ เครื่องทาความเยน็ ทางานหนกั
เกินไป
• หา้ มใชส้ ิ่งของกระแทก หรือชนประตูตแู้ ช่ เพราะบานประตูอาจเสียหายได้
• หา้ มนาอุปกรณ์และสิ่งของวางบนหลงั ตแู้ ช่ อาจจะไปกระทบท่อนายาทาใหเ้ กิดแตก และเสียหายได้
• หา้ มนาอปุ กรณ์และสิ่งของวางบงั ในส่วนของแผงคอยลร์ ้อนและคอยลเ์ ยน็ (รังผ้งึ และพดั ลม) เพราะตอ้ งการให้
ระบายอากาศไดด้ ี
• หา้ มหมนุ และปรับแผงหนา้ ปัดโดยพละการ จะทาใหร้ ะบบอตั โนมตั ิและการทางานของเครื่องทาความเยน็ ผดิ ปกติ
และเกิดความเสียหาย
• การเรียงสินคา้ พยายามระมดั ระวงั อยา่ ใหไ้ ปกระทบหลอดไฟ เพราะอาจทาใหแ้ ตกเกิดอนั ตรายได้
• การทาความสะอาดพ้ืนตูแ้ ช่ หา้ มใชน้ ้าเทราด ควรใชแ้ ปรงพลาสตกิ จุ่มน้าที่ผสมผงซกั ฟอกขดั บริเวณพ้ืนตู้ แลว้ ใช้
ผา้ เชด็ ใหแ้ หง้
• หากมีปัญหาผดิ ปกติอยา่ งอน่ื โปรดแจง้ ช่างซ่อมบารุง
เอกสารน้ีเป็ นลขิ สิทธ์ิของ บริษทั ซนั สโตร์ 2002 จากดั หา้ ม1จ4า0หน่าย หรือเผยแพร่ เพ่อื ประโยชนท์ างธุระกิจ
STORE OPERATIONS MANUAL
เคร่ืองทำนำ้ แข็งเกลด็ (ICE MAKER)
ข้อควรระวงั และกำรรักษำเครื่องทำนำ้ แข็งเกลด็
1. ไมค่ วรนาอุปกรณ์ หรือเครื่องมือท่ีทาใหเ้ กิดความร้อนมาวางต้งั ใกลเ้ คร่ืองทาน้าแขง็ จะทาใหน้ ้าแขง็ ออกนอ้ ยลง
2. กรณีที่เครื่องไมท่ างานใหต้ รวจดวู า่ กระแสไฟเขา้ เคร่ืองหรือไม่ ปลายเทอร์โมสตทั ถกู น้าแขง็ หุม้ ไวห้ รือไม่
3. ใหต้ รวจดูระบบน้าวา่ ไหลเขา้ ถงั เกบ็ หรือไม่ ถา้ น้าไมเ่ ขา้ จะทาใหเ้ ครื่องไม่ทางาน
4. กรณีที่เครื่องทาน้าแขง็ ออกนอ้ ย ใหต้ รวจดูวา่ มีส่ิงใดบงั ลมที่ระบายความร้อย หรือมีการอดุ ตนั ท่ีแผงคอนเดนเซอร์ และพดั
ลมระบายความร้อน ทางานหรือไม่
5. ดูแลรักษาเครื่องทาน้าแขง็ อยเู่ สมอ
6. ในกรณีไฟฟ้าดบั หรือไฟฟ้าขดั ขอ้ งควรปิ ดสวทิ ช์ หรือถอดปลกั๊ ออกทนั ที
7. หา้ มฉีด หรือสาดน้าเขา้ เคร่ืองทาน้าแขง็ เด็ดขาด
8. ควรลา้ งเครื่องกรองน้าอยา่ งนอ้ ยเดือนละ 1 คร้ัง
เอกสารน้ีเป็ นลขิ สิทธ์ิของ บริษทั ซนั สโตร์ 2002 จากดั หา้ ม1จ4า1หน่าย หรือเผยแพร่ เพือ่ ประโยชนท์ างธุระกิจ
STORE OPERATIONS MANUAL
เครื่องปรับอำกำศ – AIR
ข้อควรระวงั และควำมปลอดภัยในกำรใช้งำน
• เปิ ดสวทิ ซ์ควบคุมปรับ เทอร์โมสตทั อยตู่ าแหน่ง 60 ๐F หา้ มปรบั ไปมา
• ทาความสะอาดลา้ งฟิ ลเตอร์ดา้ นหลงั สปั ดาห์ละ 1 คร้ัง โดยถอดออกมาลา้ งโดยใชน้ ้าฉีด
• ไมค่ วรวางส่ิงของกีดขวางทาง ช่องระบายความร้อน และช่องจ่ายความเยน็
• อยา่ เปิ ดประตหู นา้ ร้าน และหลงั รา้ นทิ้งไว้ เพราะจะทาใหค้ วามเยน็ ร่ัวไหล
• แอร์มีแตล่ มร้อนไมม่ ีลมเยน็ ควรปิ ดเครื่องทนั ที
• หากมีปัญหาผดิ ปกติอยา่ งอื่น โปรดแจง้ ช่างซ่อมบารุง
เอกสารน้ีเป็ นลขิ สิทธ์ิของ บริษทั ซนั สโตร์ 2002 จากดั หา้ ม1จ4า2หน่าย หรือเผยแพร่ เพอื่ ประโยชนท์ างธุระกิจ
STORE OPERATIONS MANUAL
เครื่องขำยนำ้ ผลไม้ (JUICE DISPENSER)
ลกั ษณะโดยทวั่ ไปของเคร่ืองแบบ 3 โถ ประกอบด้วย
• ตวั เคร่ืองส่วนล่าง ซ่ึงหมายถึงส่วนท่ีทาความเยน็ 3 อนั
• ตวั เคร่ืองส่วนบน ประกอบดว้ ยส่วยต่างๆ ของเคร่ืองดงั ตอ่ ไปน้ี 3 อนั
3 อนั
• ท่อพน่ (SPRAY TUBE) 3 ใบ
• กระบอกป้ัม (PUMP HOUSING) 3 อนั
• ใบพดั (IMPELLA) 3 ชิ้น
• ถงั ผลิตภณั ฑ์ (BOWL) 3 อนั
• ฝาครอบถงั ผลิตภณั ฑ์ (BOWL COVER) 3 อนั
• ประเกน็ ยางใตฝ้ าถงั (BOWL GASKET) 3 อนั
• ประเกน็ ยางกนั ซึมดา้ นหนา้ ถงั (BOWL SPOUT GASKET) 3 ชุด
• กา้ นกด (PUSH HANDLE)
• หลอดยาง (PINCH TUBE)
• ถาดรองน้า (DRIP TRAY)
ระบบกำรทำงำนของเคร่ือง
• ตวั ท่อจะทาความเยน็ ใหท้ ่อความเยน็ เยน็ ลง
• ตวั ใบพดั (IMPELLA) จะป่ันน้าผา่ นกระบอกปั๊ม (PUMP HOUSING) ซ่ึงครอบอยบู่ นทอ่ ทาความเยน็ และผา่ น
อุณหภูมิของน้าจะลดลง
• เมื่อน้าผา่ นท่อทาความเยน็ อณุ หภูมิของน้าจะลดลง
\
เอกสารน้ีเป็ นลิขสิทธ์ิของ บริษทั ซนั สโตร์ 2002 จากดั หา้ ม1จ4า3หน่าย หรือเผยแพร่ เพ่ือประโยชนท์ างธุระกิจ
STORE OPERATIONS MANUAL
• น้าจะไหลเวยี นจนกระทง่ั อณุ หภมู ิของน้าเท่ากบั อณุ หภูมิของท่อทาความเยน็ เทอร์โมสตทั ก็จะตดั การทางานของ
คอมเพรสเซอร์ออก
• ถา้ อณุ หภูมิของน้าสูงข้ึนตวั เทอร์โมสตทั กจ็ ะทาการทางานของคอมเพรสเซอร์ใหท้ าความเยน็ อีกคร้ัง ซ่ึงระบบกจ็ ะ
หมนุ เวยี นลกั ษณะน้ีเร่ือยไป
วธิ ีประกอบส่วนต่ำงๆ ของเคร่ืองเข้ำด้วยกนั
1. ใหว้ างเครื่องกบั พ้นื เรียบๆ และสะอาดในตาแหน่งที่คว่าโถลง
2. เตรียมประเก็นรองโถท้งั 3 อนั มาตรวจดูความเรียบร้อยอีกคร้ังหน่ึงวา่ ชารุดหรือไม่ ถา้ หากชารุดใหเ้ ปลี่ยนอนั ใหม่ ใชม้ ือ
จบั ประเก็นและคอ่ ยจดั ใหล้ งตาแหน่งท่ีแนบกบั ขอบโถพอดี
3. ใหห้ งายโถข้ึนโดยส่วนที่ใส่ประเก็นเสร็จแลว้ จะตอ้ งอยดู่ า้ นล่าง โดยใหส้ ่วนท่ีมขี ีดกาหนดระดบั ของน้า และส่วนท่ีปิ ด –
เปิ ด น้าอยดู่ า้ นหนา้ เสมอ (สงั เกตไดจ้ ากในโถ) คอ่ ยๆ วางโถลงบนแท่นรบั โถแลว้ กดโถลงไปใหไ้ ดร้ ะดบั สามารถดูไดจ้ าก
ดา้ นลา่ งในโถตอ้ งกดลงใหส้ นิทกบั ตวั เครื่อง เพ่ือใหง้ ่ายต่อการปรบั ระดบั ของโถควรจะเอาประเก็นจุ่มน้าสะอาดเสียก่อน
4. ประกอบปลอกรองใบพดั ใส่กบั ชุดใบพดั แลว้ สวมลงไปท่ีแกนซ่ึงอยทู่ ่ีส่วนกลางของกน้ โถ จดั ใหอ้ ยใู่ นตาแหน่งที่เหมาะสม
ท่ีสุด คือ ไม่เอียงหรือเบ้ียว โดยที่วางส่วนที่มีครีบอยดู่ า้ นบน แลว้ ลองหมุนใบพดั ป้ัมดว้ ยมือ จะตอ้ งหมุนไดร้ าบเรียบไม่เกิด
สะดุด หรือเกิดเสียงดงั
5. ประกอบหลอดสาหรับท่อน้ากบั ฝาครอบป้ัม แลว้ ครอบลงไปที่ตวั ใบพดั ของป้ัม และจดั ใหอ้ ยกู่ ่ึงกลางของโถตรงตาแหน่งที่
ใบพดั ของป้ัมต้งั อยู่ การติดต้งั ฝาครอบน้ีใหห้ ลอดน้าอยดู่ า้ นหนา้ เสมอ และเวลาใส่ฝาครอบสงั เกตลอ็ คของฝาครอบ ซ่ึงอยู่
ตรงตาแหน่งท่ีต้งั หลอดน้า และท่ีกน้ โถ จะมีป่ ุมปรับลอ็ คของฝาครอบน้ีพอดี
6. วธิ ีใส่คลิปลอ็ คฝาป้ัมน้ี จะตอ้ งใส่ใหแ้ น่น และถกู ตอ้ งตามตาแหน่งซ่ึงจะมีรูลอ็ ค 2 จงั หวะ จะสงั เกตไดจ้ ากลอ็ ค ซ่ึงขนาด
ของรูตา่ งกนั เมื่อสวมคลิปลงไปบนแกนลอ็ คใหเ้ ล่ือนคลิปลอ็ คน้ี ใหล้ อ็ คติดอยกู่ บั แกนลอ็ คแลว้ หมนุ ไปทางขวามือ (ตาม
เขม็ นาฬิกาจนสนิท และแน่นจะรู้สึกไดจ้ ากเสียงดงั คริ๊ก และจะหมุนไมไ่ ป อาจจะแน่นนิดหน่อยในบางคร้ัง) ทิศทางการ
ลอ็ คดูตามเคร่ืองหมายลูกศรท่ีพมิ พต์ ิดอยบู่ นคลิปลอ็ คถา้ ใส่กลบั กนั จะลอ็ คไมไ่ ด้
7. เมื่อประกอบตามข้นั ตอนน้ีแลว้ เตมิ น้าสะอาดลงไปในโถนิดหน่อยแลว้ เสียบปลก๊ั ลองเดินเคร่ืองดู ถา้ มีไฟไม่ครบตาม
กาหนด หา้ มใชเ้ คร่ือง เพราะอาจจะทาใหต้ วั เครื่องเสียหายได้ (อยา่ เดินเคร่ืองโดยไมม่ ีน้าในโถเดด็ ขาด เพราะจะทาให้
ชิ้นส่วนของป้ัมชารุดได)้
8. การถอดโถออกมาลา้ งหลงั จากใชแ้ ลว้ น้นั ใหด้ ูข้นั ตอน และจดจาชิ้นส่วนตา่ งๆ ตอบประกอบ โถวา่ มีชิ้นส่วนอะไรบา้ ง และ
ใหจ้ ดจาตามลาดบั วา่ อนั ไหนก่อนหลงั เพือ่ หลีกเล่ียงความเสียหาย อนั อาจเกิดกบั ชิ้นส่วนของเครื่องได้ สงั เกตดูความเยน็
หลงั จาก 40 นาที ถา้ ปริมาณน้าในโถมาก ก็จะเยน็ ชา้ ถา้ น้าในโถนอ้ ยก็จะเยน็ เร็ว ควรปิ ดฝาโถก่อนเดินเครื่องทุกคร้ัง
เอกสารน้ีเป็ นลขิ สิทธ์ิของ บริษทั ซนั สโตร์ 2002 จากดั หา้ ม1จ4า4หน่าย หรือเผยแพร่ เพื่อประโยชนท์ างธุระกิจ
STORE OPERATIONS MANUAL
ข้อควรสังเกตหลงั จำกเริ่มเดนิ เคร่ือง
1. มีน้าในโถรั่วออกมาหรือไม่ ถา้ มีควรตรวจดูใหแ้ น่ชดั วา่ รั่วมาจากจุดไหน อยา่ งเช่น จากวาลว์ ปิ ด – เปิ ด หรือกน้ โถ ถา้ เป็น
จากวาลว์ ปิ ด – เปิ ด ใหล้ องตรวจดูตรงตวั วาลว์ ปิ ด – เปิ ด ดูวา่ มีอะไรติดอยหู่ รือไม่ หรือวาลว์ อยใู่ นตาแหน่งท่ีถูกตอ้ งหรือไม่
ถา้ มีใหท้ าความสะอาด และแกไ้ ขใหว้ าลว์ อยใู่ นตาแหน่งท่ีถูกตอ้ ง และปิ ดสนิท
2. ปั๊มควรจะเดินเรียบ และมีน้าพน่ ข้ึนมาทวั่ โถดา้ นบน ถา้ ปั๊มผดิ ปกติ หรือฝาปิ ดลอ็ คไม่แน่น น้าจะไม่ข้ึน และไมเ่ ยน็ ในกรณี
เกิดเสียงดงั ใหป้ ิ ดเคร่ืองก่อนดึงปลก๊ั ออกจากเตา้ เสียบไฟ และตรวจเช็คดูวา่ มีเสียงดงั มาจากไหน ถา้ ดูแลว้ ไมม่ ีอะไรขดั ขอ้ ง
มาก ใส่ชิ้นส่วนที่ถอดออกมาดูกลบั เขา้ ท่ีเดิม
กำรทดสอบก่อนใช้งำน
• ทดสอบระบบทาความเยน็ ก่อนประกอบชุดปั๊มมีวธิ ีดงั น้ี
- เสียบปลกั๊ เครื่อง
- เปิ ดสวทิ ชค์ วามเยน็
- ใหส้ งั เกตหรือใชม้ ือจบั ท่ีคอยลว์ า่ มีความเยน็ หรือไมก่ รณีคอยลเ์ ยน็ ไมม่ ีความเยน็ ใหแ้ จง้ ช่างบริการ และหา้ ม
เทเครื่องด่ืมโดยเดด็ ขาด
• ทดสอบระบบการไหลเวยี นของน้ามีวธิ ีดงั น้ี
- ประกอบถงั ผลิตภณั ฑแ์ ละชิ้นส่วนที่เกี่ยวขอ้ งท้งั หมด
- เติมน้าใส่ถงั ผลิตภณั ฑพ์ อประมาณ
- เปิ ดสวทิ ชค์ วามเยน็
- เปิ ดสวทิ ช์ SPRAY (สวทิ ชก์ ารไหลเวยี นของเคร่ืองดื่ม)
- ใหส้ งั เกตระบบ SPRAY ถา้ ปกติใหถ้ ่ายน้าออก
- ในกรณีไม่ SPRAY ใหท้ าการแกไ้ ขในหวั ขอ้ วธิ ีการแกไ้ ขเบ้ืองตน้ หรือโทรแจง้ ช่างบริการ
ข้อควรระวงั ในกำรใช้งำน
• สถานที่ติดต้งั เคร่ืองตอ้ งห่างจากผนงั และอุปกรณ์อื่นๆ ประมาณ 15-20 ซม.
• ตอ้ งทาความสะอาดเครื่องและชิน้ ส่วนทุกชิ้นทุกวนั
• ตอ้ งแน่ใจวา่ ชิ้นส่วนทุกชิ้นไดป้ ระกอบถกู ทุกข้นั ตอน
• ตอ้ งแน่ใจวา่ เครื่องด่ืมท่ีใส่ลงไป ผลิตภณั ฑไ์ ดล้ ะลายเป็ นเน้ือเดียวกนั
• หา้ มเทเครื่องด่ืมท่ีร้อนลงไปในถงั เครื่องด่ืม
• ทุกคร้ังที่มีเคร่ืองด่ืมอยใู่ นถงั ตอ้ งเปิ ดสวทิ ชค์ วามเยน็ และสวทิ ช์ SPRAY ไวต้ ลอด
• ถา้ เคร่ืองดื่มเหลืออยปู่ ริมาณนอ้ ยใหเ้ ปิ ดแต่สวทิ ชค์ วามเยน็ ไวอ้ ยา่ งเดียว
• หา้ มใหน้ ้าเขา้ ไปภายในตวั เครื่อง
เอกสารน้ีเป็ นลิขสิทธ์ิของ บริษทั ซนั สโตร์ 2002 จากดั หา้ ม1จ4า5หน่าย หรือเผยแพร่ เพ่อื ประโยชนท์ างธุระกิจ
STORE OPERATIONS MANUAL
• หา้ มตอ่ ปลก๊ั เครื่องใชไ้ ฟฟ้าหลายตวั ในปลก๊ั เสียบตวั เดียวกนั
• ทุกคร้ังท่ีระบบไฟมีปัญหาใหป้ ิ ดสวทิ ชค์ วามเยน็ ไวท้ ุกคร้ัง
• กรณีเคร่ืองดื่มหมด 1 ถงั ถา้ ไมต่ อ้ งการจาหน่ายใหใ้ ส่น้าพอประมาณไวท้ ุกคร้ังและเปิ ดสวทิ ช์ SPRAY ไวด้ ว้ ย (ถงั
ที่เหลือยงั จาหน่ายอย)ู่
กำรทำควำมสะอำดโถ และชิน้ ส่วนต่ำงๆ
การถอดโถออกมาลา้ งจะตอ้ งกระทาดว้ ยความรอบคอบ และระมดั ระวงั เพราะชิ้นส่วนบางอยา่ งอาจสูญหายได้ ควร
จดั เตรียมภาชนะที่กวา้ งพอสมควร เพ่อื ความสะดวกในการท่ีจะรวบรวมใส่ชิ้นส่วนท่ีถอดออกมาแลว้ ไดท้ ้งั หมด และทาความ
สะอาดในบริเวณท่ีมีแสงสวา่ งเพยี งพอ เม่ือลา้ งส่วนต่างๆ แลว้ ใหต้ รวจดูชิน้ ส่วนท่ีถอด ออกมาวา่ ครบหรือไม่ และไม่ควรจะทา
ความสะอาดชิ้นส่วนในอ่างหรือท่อระบายน้าท่ีไมม่ ีฝาปิ ด เพราะชิ้นส่วนอาจลื่นหลดุ ลงไปได้ ควรจะทาความสะอาดในภาชนะท่ี
เตรียมไว้ และก่อนเทน้าทิ้งควรตรวจดูใหแ้ น่ใจก่อนวา่ มีอะไรหลงเหลืออยบู่ า้ ง จากน้นั ประกอบชิ้นส่วนต่างๆ เขา้ ดว้ ยกนั
ตามลาดบั สาหรับการใชง้ านในคร้ังต่อไป
เอกสารน้ีเป็ นลขิ สิทธ์ิของ บริษทั ซนั สโตร์ 2002 จากดั หา้ ม1จ4า6หน่าย หรือเผยแพร่ เพอื่ ประโยชนท์ างธุระกิจ
STORE OPERATIONS MANUAL
ตู้ค่วั ข้ำวโพด (POP CORN)
ส่วนประกอบของเคร่ือง
1. ตขู้ า้ วโพด
2. หมอ้ ควั่ ขา้ วโพด
ระบบกำรทำงำนของเครื่อง
เครื่องไดผ้ า่ นการตรวจและติดต้งั ระบบไฟฟ้าตามแรงและกาลงั การใชไ้ ฟดงั น้นั กรุณาอยา่ ใชไ้ ฟฟ้าท่ีต่างจาก
กาลงั ไฟฟ้าท่ีกาหนดมาจะทาใหเ้ คร่ืองเกิดการเสียหายเครื่องจะตอ้ งใชก้ าลงั ไฟ 220 V. โดยท่ีแผน่ แสดงกาลงั ไฟท่ีมีสายดินดว้ ย
จึงจะใหค้ วามปลอดภยั ไดก้ ่อนที่จะเร่ิมใชง้ าน ตอ้ งตรวจดูวา่ ไดใ้ ส่ถาดลิน้ ชกั ท่ีรองเศษขา้ วโพดคว่ั อยใู่ นช่องถูกตอ้ งเรียบร้อย
สวทิ ชท์ ุกตวั จะตอ้ งอยใู่ นตาแหน่งปิ ด (OFF) ไม่ใชง้ านก่อนแลว้ จึงเริ่มตน้ ตามข้นั ตอนตอ่ ไปน้ี
1. กดสวทิ ช์ WARMER ไปอยใู่ นตาแหน่ง ON ไฟในตูจ้ ะสวา่ งข้ึน และแผงอนุ่ ขา้ วโพดดา้ นล่างของตจู้ ะเริ่มทางาน
2. กดสวทิ ช์ KETTLE ไปอยใู่ นตาแหน่ง ON สวทิ ชน์ ้ีเป็นตวั ควบคุมความร้อน ของหมอ้ คว่ั ขา้ วโพด ซ่ึงความร้อนน้ี
ไดต้ ้งั มาจากโรงงานแลว้
3. กดสวทิ ช์ MOTER ไปอยใู่ นตาแหน่ง ON มอเตอร์กวนขา้ วโพดจะทางานเพ่อื ป้องกนั ขา้ วโพดที่กาลงั ควั่ อยใู่ นหมอ้
ซ่ึงเป็ นการป้องกนั ไม่ใหเ้ กิดการไหมเ้ กิดข้ึน
4. ถว้ ยตวงขา้ วโพด และเกลือไดม้ าพร้อมกบั เครื่องแลว้ ตวงเนยขาว ½ ถว้ ยตวง ตามระดบั ที่ถว้ ยตวง ใส่ในหมอ้ ควั่
และตวงขา้ วโพดดิบ 6 OZ. และเกลือ ½ ชอ้ นชา ควรจะปรับขนาดของเกลือ
5. เมื่อเสียงของขา้ วโพดแตก เริ่มเงียบลง ใหป้ ลดหมอ้ คว่ั เทลงมาทนั ที โดยหมนั ท่ีจบั หมนุ ตามเขม็ นาฬิกาประมาณ
90 องศา จากน้นั ใชผ้ า้ หรือกระดาษชาระมาเชด็ ตวั หมอ้ ขา้ วโพดท้งั ดา้ นในและดา้ นนอกใหส้ ะอาด
6. ปิ ดสวทิ ช์ OFF หมอ้ คว่ั ทนั ทีท่ีเห็นวา่ พอแลว้
เอกสารน้ีเป็ นลขิ สิทธ์ิของ บริษทั ซนั สโตร์ 2002 จากดั หา้ ม1จ4า7หน่าย หรือเผยแพร่ เพ่ือประโยชนท์ างธุระกิจ
STORE OPERATIONS MANUAL
กำรทำควำมสะอำดและข้อควรระวงั ในกำรใช้งำน
กำรดูแลรักษำทำควำมสะอำด
1. ควรทาความสะอาดหมอ้ อบขา้ วโพดทุกคร้ังขณะที่หมอ้ ควั่ ยงั อนุ่ อยู่ เพ่ือป้องกนั มิใหเ้ กิดการสะสมของเนยและ
เกลือที่ตกคา้ งอยู่
2. ท่ีตกั ขา้ วโพด ควรลา้ งดว้ ยน้ายาทาความสะอาดก่อนใชท้ ุกๆ วนั
3. ขา้ วโพดท่ีแตกไมห่ มดตอ้ งนาแออกจากหมอ้ ควั่ ขา้ วโพดก่อนที่จะอบคร้ังตอ่ ไป
4. ก่อนทาความสะอาด
- นาขา้ วโพดท่ียงั คา้ งอยใู่ นตูอ้ อกมา แต่วธิ ีที่ดีท่ีสุด คือช่วงท่ีขา้ วโพดขายหมดแลว้
- ใชฟ้ องน้าชุบน้ายาทาความสะอาด เชด็ ใหท้ ว่ั ท้งั ภายในและภายนอกตใู้ หท้ วั่ ถึง
- ใชผ้ า้ นุ่มๆ ชุบน้าบิดพอหมาดๆ แลว้ เชด็ ซ้าอีกคร้ังถา้ ยงั ไม่หมดคราบน้ายาใหท้ าซ้าอีกคร้ัง
5. หากเกิดคราบมนั ภายนอกหมอ้ คว่ั และฝาปิ ดควรใชน้ ้ายาสาหรับเชด็ แสตนเลส เช็ดในขณะท่ีหมอ้ เยน็
กำรดูแลรักษำ
1. ทาความสะอาดเครื่องทุกคร้ังหลงั ใช้
2. ตรวจเชค็ การเสียบปลก๊ั ไฟฟ้าใหแ้ น่นหนา และจะตอ้ งตอ่ สายดินดว้ ยทุกคร้ัง
3. ไม่ควรใหส้ ่วนของ COMPRESSOR หน่วยทาความร้อน แผงวงจรเกี่ยวกบั อีเลคโทรนิคส์ต่างๆ ของเครื่องถูกน้า
โดยเดด็ ขาด
4. ไมค่ วรเก็บขา้ วโพดท่ีควั่ เสร็จแลว้ ไวใ้ นอุณหภมู ิต่ากวา่ 150 องศาฟาเรนไฮน์
ข้อห้ำม
1. อยา่ สมั ผสั บริเวณที่มีป้ายบอก “CAUTION HOT”
2. ไมค่ วรใหน้ ้าถกู COMPRESSOR และวงจรอีเลคโทรนิคส์ต่างๆ
3. หา้ มนาหมอ้ คว่ั ขา้ วโพดออกมาลา้ งทาความสะอาดโดยเด็ดขาด
4. การถอดหมอ้ คว่ั ขา้ วโพด ควรใหห้ มอ้ คว่ั เยน็ ก่อน หรือใชถ้ งุ มอื กนั ความร้อนถอดโดยการปิ ดสวทิ ชไ์ ฟท้งั หมด
ก่อนแลว้ ถอดชุดสายพว่ งหมอ้ โดยการหมุนคลายฝาลอ็ คหมนุ ท่ีจบั มือไป 90 องศา ใหห้ มอ้ หลดุ ลงมาแลว้ ถอดเขม็
เสียบลอ็ คหมอ้ กบั ขา แลว้ คอ่ ยดึงหมอ้ ออกมาและส่ิงสาคญั ที่สุดหมอ้ ควั่ จะตอ้ งไม่ถูกกบั น้า ในส่วนของสายทา
ความร้อนโดยเด็ดขาด
5. อยา่ เปิ ดสวทิ ช์ ON ของหมอ้ ควั่ และมอเตอร์กวนขา้ วโพด ในขณะที่ไม่ไดใ้ ชง้ านโดยเด็ดขาด
6. อยา่ ใหห้ มอ้ ควั่ หรือส่วนที่ทาใหเ้ กิดความร้อนของหมอ้ ควั่ ถูกน้าเป็ นอนั ขาด
7. หา้ มควั่ ขา้ วโพดแหง้ เปล่าๆ โดยไมม่ ีเนย
8. เคร่ืองน้ี กาหนดใหใ้ ชก้ บั ไฟบา้ นเพยี งอยา่ งเดียว (A/C) เท่าน้นั
9. ช่องระบายลมดา้ นบนของเคร่ืองจะตอ้ งเปิ ดโล่งโดยไมม่ ีอะไรมาปิ ดบงั ไมเ่ ช่นน้นั ตวั มอเตอร์จะเสียหาย
เอกสารน้ีเป็ นลขิ สิทธ์ิของ บริษทั ซนั สโตร์ 2002 จากดั หา้ ม1จ4า8หน่าย หรือเผยแพร่ เพ่อื ประโยชนท์ างธุระกิจ
STORE OPERATIONS MANUAL
ข้อควรระมดั ระวงั
1. เม่ือพนกั งานใชอ้ ปุ กรณ์ท่ีตกั เนย ปาดท่ีปากหมอ้ ซ่ึงในขณะน้นั หมอ้ มีความร้อนอยู่ จะทาใหเ้ นยละลาย และไหล
ลงไปในหมอ้ ช้นั ใน และจะสะสมภายในกน้ หมอ้ เม่ือสะสมมากเขา้ จะทาใหไ้ ฟช๊อตหมอ้ คว่ั อาจจะเกิดไฟไหมไ้ ด้
วธิ ีทถ่ี ูกต้อง
1. ใหพ้ นกั งานใชอ้ ปุ กรณ์ตกั เนย ปาดที่ปากหมอ้ ภายใน ใหป้ าดข้ึนอยา่ ปาดลงเดด็ ขาด
2. การคว่ั ขา้ วโพดแต่ละคร้ังพนกั งานควรที่จะเชด็ ทาความสะอาดหมอ้ คว่ั ทุกคร้ังท่ีควั่ เสร็จ
3. ไมค่ วรวางของหนกั ไวบ้ นหลงั ตู้ เพราะจะทาใหห้ ลงั ตูแ้ อ่นไปติดกบั ใบพดั มอเตอร์เกียร์ ทาใหม้ อเตอร์ไมห่ มนุ
“เวลาท่ีคว่ั ขา้ วโพดทุกคร้ังพนกั งานจะตอ้ งอยตู่ ลอดเวลาอยา่ ปล่อยไว้ เพราะเวลาขา้ วโพดแตกหมดแลว้ หมอ้ ยงั ทาความร้อนอยู่
ถา้ ขา้ วโพดท่ีคว่ั ภายในหมอ้ ไม่ไดเ้ ทออก จะทาใหข้ า้ วโพดไหม้ ซ่ึงจะทาใหห้ มอ้ เสียหายได”้
เอกสารน้ีเป็ นลิขสิทธ์ิของ บริษทั ซนั สโตร์ 2002 จากดั หา้ ม1จ4า9หน่าย หรือเผยแพร่ เพือ่ ประโยชนท์ างธุระกิจ
STORE OPERATIONS MANUAL
เครื่องย่ำงไส้กรอก (ROLLER GRILL)
ข้อแนะนำกำรปฏบิ ัติ และข้นั ตอนกำรทำงำน
เครื่องยา่ งไสก้ รอกจะถูกแบ่งออกเป็ น 2 ลกั ษณะเฉพาะของการควบคุมความร้อน ป่ ุมควบคุมดา้ นขวาควบคุมการปรุง
อาหารส่วนหลงั 5 แกน และป่ ุมควบคุมซา้ ยมือ ควบคุมการปรุงอาหารส่วนหนา้ 5 แกน ไฟสญั ญาณไดแ้ ยกออกจากป่ ุมควบคุม
แต่ละตวั ซ่ึงสามารถมองเห็นไดช้ ดั เจน ถา้ ส่วนหน่ึงส่วนใดส่วนหน่ึง หรือท้งั สองส่วนทางาน ในแตล่ ะส่วนท่ีถกู ควบคุมโดย
แสดงความหมายของสวทิ ชท์ ี่สามารถหมุนปรับความร้อน ณ ตาแหน่ง ปิ ด – เปิ ด สูง – กลาง – ต่า
ณ ตาแหน่งปานกลางจะอยใู่ นระดบั ความร้อนปกติจะไม่ร้อนจนเกินไปในการทางานข้นั ตน้
กำรปรับอุณหภูมิ
เมื่อหมุนป่ ุมปรบั อณุ หภมู ิตามท่ีตอ้ งการแลว้ ไฟหนา้ ปัดจะติดจนกระทงั่ อุณหภมู ิสูงข้ึนเท่าที่กาหนดจากน้นั ไฟจะดบั
ตวั ควบคุมอุณหภมู ิจะคอยรักษาอณุ หภูมิใหค้ งท่ีสม่าเสมอ ถา้ ตอ้ งการปิ ดกระแสไฟใหห้ มุนป่ ุมไปทางซา้ ย
หากตอ้ งการใหไ้ สก้ รอกมีความนุ่มและดูน่ารับประทานใหห้ มนุ ป่ มุ อณุ หภูมิไปท่ี 135 องศาฟาเรนไฮน์ การเร่งใหอ้ ณุ หภูมิสูงกวา่
น้ีหรือการนาไสก้ รอกที่ยา่ งแลว้ นากลบั มายา่ งซ้าอีก จะทาใหไ้ สก้ รอกเกิดรสชาดที่ไมอ่ ร่อย และผิวของไสก้ รอกจะแหง้ ไม่น่า
รับประทาน การกาหนดอุณหภมู ิใหส้ ูงกวา่ ท่ีควรทาน้นั จะไมเ่ พิ่มความเร็วในการทาใหเ้ กิดความร้อนแต่จะทาใหอ้ ณุ หภมู ิท่ีสูงข้นึ
เท่าน้นั ไสก้ รอกควรเก็บไวใ้ นตเู้ ยน็ จนกระทงั่ พร้อมท่ีจะใช้
ระยะเวลาการปรุง จะตอ้ งข้ึนอยกู่ ลบั อณุ หภูมิท่ีเริ่มตน้ และปริมาณของสินคา้ เพอ่ื ใหไ้ ดผ้ ลดี ควรปฏิบตั ิดงั น้ี
1. ช่วงที่ใชง้ านหนกั ควรต้งั ป่ ุมควบคุมไว้ ณ ตาแหน่ง HIGH และจะเติมเร่ือยๆ
2. ช่วงปกติ ควรต้งั ป่ ุมควบคุมไว้ ณ ตาแหน่ง HIGH เมื่อยา่ งไสก้ รอกแลว้ เปลี่ยนอุณหภมู ิไปยงั MEDIUM ตาม
ตอ้ งการ
3. ก่อนท่ีไสก้ รอกจะร้อน ณ ตาแหน่ง LOW ใหห้ มุนความร้อนไปที่ HIGH สาหรับปรุงตามตอ้ งการ
เอกสารน้ีเป็ นลิขสิทธ์ิของ บริษทั ซนั สโตร์ 2002 จากดั หา้ ม1จ5า0หน่าย หรือเผยแพร่ เพือ่ ประโยชนท์ างธุระกิจ