The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by selflearningjor1, 2021-04-20 05:39:17

รายงานประจำปี2563

รายงานประจำปี2563

Keywords: รายงานประจำปี2563

สรุปผลการไกลเ่ กลย่ี ของศาลในเขตอานาจสานกั งานอธบิ ดีผ้พู ิพากษาภาค ๑
เดือนมกราคม - ธนั วาคม ๒๕๖๓
(คดีผู้บรโิ ภค กล่มุ ศาลจังหวัด)

ท่ี ศาล จานวนคดี ยกมา รับใหม่ ร้อยละของคดเี ข้าสู่ รวมคดที เี่ ข้าสู่ จานวนคดี ร้อยละของ ทนุ ทรัพยท์ ไ่ี กลเ่ กลย่ี สาเร็จ
ทเ่ี ข้าสศู่ าล ระบบไกลเ่ กลย่ี ระบบไกลเ่ กลย่ี ทไ่ี กลเ่ กลย่ี สาเร็จ คดไี กลเ่ กลยี่ สาเร็จ

1 ศาลจังหวดั ชัยนาท 3,251 6 221 6.80 227 217 95.59 114,456,535.92
2 ศาลจังหวดั ธญั บุรี 15,949 33 2,468 15.47 2,501 2448 97.88 485,905,849.32
3 ศาลจังหวดั นนทบุรี 4,861 1895 2,827 58.16 4,722 1965 41.61 24,421,385,327.17
4 ศาลจังหวัดปทุมธานี 5,539 167 17.35 1,128 931 82.54 339,790,696.21
5 ศาลจังหวดั พระนครศรีอยุธยา 2,372 890 961 45.66 1,973 881 44.65 761,917,824.02
6 ศาลจังหวดั ลพบุรี 1,055 177 1,083 46.54 432 64.67 472,369,032.10
7 ศาลจังหวัดสงิ ห์บุรี 2,266 469 45.81 668 850 56.40 240,875,338.33
8 ศาลจังหวัดสระบุรี 1,219 22 491 42.66 1,507 515 95.02 380,773,177.71
9 ศาลจังหวัดสมทุ รปราการ 4,098 660 1,038 28.28 1070 58.82 1,362,853,047.70
10 ศาลจังหวัดอ่างทอง 2,498 370 50.72 542 1125 68.72 236,672,134.33
11 ศาลจังหวดั ชัยบาดาล 1,163 174 520 49.18 1,819 528 70.78 143,355,907.95
44,271 4,863 1,159 28.48 1,637 10,962 62.75 28,960,354,870.76
รวม 1,267
746
572 17,470
12,607

สรุปผลการไกล่เกลย่ี ของศาลในเขตอานาจสานักงานอธบิ ดีผู้พิพากษาภาค ๑
เดอื นมกราคม - ธันวาคม ๒๕๖๓
(คดีผู้บรโิ ภค กลุม่ ศาลแขวง)

ท่ี ศาล จานวนคดี ยกมา รับใหม่ ร้อยละของคดเี ข้าสู่ รวมคดที เ่ี ข้าสู่ จานวนคดี ร้อยละของ ทนุ ทรัพย์ทไ่ี กลเ่ กลย่ี สาเร็จ
ทเ่ี ข้าสศู่ าล ระบบไกลเ่ กลย่ี ระบบไกลเ่ กลย่ี ทไ่ี กลเ่ กลย่ี สาเร็จ คดไี กลเ่ กลยี่ สาเร็จ

1 ศาลแขวงดสุ ติ 1,567 322 334 21.31 656 352 53.66 39,893,226.24
2 ศาลแขวงธนบุรี 9,205 20 1,828 19.86 1,848 1,822 98.59 196,117,706.13
3 ศาลแขวงนนทบุรี 18,028 0 6,246 34.65 6,246 6,227 99.70 657,919,435.94
4 ศาลแขวงปทุมวัน 178 94.86 26.47 21,370,027.24
5 ศาลแขวงพระนครใต้ 545 1540 517 21.01 695 184 33.39 86,138,911.01
6 ศาลแขวงพระนครเหนือ 4,318 457 907 24.84 2,447 817 82.32 336,469,781.81
7 ศาลแขวงพระนครศรีอยุธยา 11,113 0 2,761 18.91 3,218 2,649 100.00 158,582,975.74
8 ศาลแขวงลพบุรี 9,067 0 1,715 45.96 1,715 1,715 100.00 217,544,171.22
9 ศาลแขวงสมทุ รปราการ 4,854 0 2,231 13.01 2,231 2,231 86.80 233,503,312.82
10 ศาลแขวงดอนเมอื ง 19,217 8 2,500 35.35 2,500 2,170 99.72 197,066,266.49
11 ศาลแขวงสระบุรี 5,100 0 1,803 38.88 1,811 1,806 100.00 221,510,415.64
11 ศาลแขวงบางบอน 5,744 419 2,233 39.74 2,233 2,233 80.92 218,933,231.95
5,262 2,944 2,091 26.77 2,510 2,031 86.22 2,585,049,462.23
รวม 94,020 25,166 28,110 24,237

รายงานประจาปี ๒๕๖๓ หนา้ | ๔๘

แผนภมู ิแทง่ : แสดงสรปุ ผลการไกลเ่ กลย่ี และประนอมข้อพิพาท
กลมุ่ ศาลจังหวดั (คดแี พ่ง) ประจาปี ๒๕๖๓

ระหวา่ งวันที่ ๑ มกราคม – ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๓

2500 2123
2000
1500 1714
1000
500 1328

0 1026 จำนวนคดี
คดีเขำ้ ไกลเ่ กลย่ี
703 707 669 ผลไกลเ่ กลยี่
164 607 531
472 413146
339 326 232029 229 289
94 12128 122 181710 80 140 139 74 72
51 39
40

แผนภูมิแทง่ : แสดงสรปุ ผลการไกลเ่ กลย่ี และประนอมขอ้ พิพาท
กลมุ่ ศาลแขวง (คดแี พ่ง) ประจาปี ๒๕๖๓

ระหว่างวันท่ี ๑ มกราคม – ๓๑ ธนั วาคม ๒๕๖๓

2500 2008 2298 1750
2000 1735 1688 1625
1500
1000 1067 1045 955951 932 จำนวนคดี
500 คดีเขำ้ ไกลเ่ กลี่ย
690 681671 817 ผลไกลเ่ กลยี่
0 402 307275 500 514
640
328
146 226 452 282383
343
164164 271 181 178 237203
149

รายงานประจาปี ๒๕๖๓ หนา้ | ๔๙

แผนภมู แิ ทง่ : แสดงสรุปผลการไกล่เกลย่ี และประนอมขอ้ พิพาท
กลมุ่ ศาลเยาวชนและครอบครัว (คดแี พ่ง) ประจาปี ๒๕๖๓
ระหวา่ งวันที่ ๑ มกราคม – ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๓

200 197 175
180 163 167

160

140 123 129
124
120
96
100 83 86 75 9391 จำนวนคดี
80 67 คดีเขำ้ ไกลเ่ กลี่ย
60 59 76 71 ผลไกลเ่ กลีย่
60 45

40 2724 23 35 29 37
20 12
20

0

รายงานประจาปี ๒๕๖๓ หนา้ | ๕๐

แผนภมู แิ ทง่ : แสดงสรุปผลการไกลเ่ กลย่ี และประนอมข้อพิพาท
กลมุ่ ศาลจังหวดั (คดอี าญา) ประจาปี ๒๕๖๓

ระหว่างวนั ที่ ๑ มกราคม – ๓๑ ธนั วาคม ๒๕๖๓

600 544
500

400

300 จำนวนคดี
คดีเขำ้ ไกลเ่ กลี่ย
223
169146
200 149

100 83 58
17
1916 25 15 46 11 8 42 25 14 7 55
16
0

แผนภูมิแทง่ : แสดงสรปุ ผลการไกลเ่ กลย่ี และประนอมข้อพิพาท
กลมุ่ ศาลแขวง (คดีอาญา) ประจาปี ๒๕๖๓

ระหว่างวนั ที่ ๑ มกราคม – ๓๑ ธนั วาคม ๒๕๖๓

1000 947
900
800 665
700
600 495 425 479 จำนวนคดี
500 297 338 326 354 339 338
400
300 คดีเขำ้ ไกลเ่ กล่ยี
200
100 109 134 134
78 78
0 2 2 3838 31 29
66

รายงานประจาปี ๒๕๖๓ หน้า | ๕๑

แผนภูมแิ ทง่ : แสดงสรุปผลการไกล่เกลยี่ และประนอมขอ้ พิพาท
กล่มุ ศาลเยาวชนและครอบครวั (คดีอาญา) ประจาปี ๒๕๖๓
ระหว่างวันที่ ๑ มกราคม – ๓๑ ธนั วาคม ๒๕๖๓

12 11

10

8 จำนวนคดี
คดีเขำ้ ไกลเ่ กล่ยี
6

6

4

4

2 1
00 00 00 00 00 0 0
00

0

รายงานประจาปี ๒๕๖๓ หน้า | ๕๒

16000 แผนภมู แิ ท่ง : แสดงสรปุ ผลการไกล่เกลยี่ และประนอมข้อพิพาท
14000 กล่มุ ศาลจงั หวัด (คดผี ้บู รโิ ภค) ประจาปี ๒๕๖๓
12000 ระหวา่ งวันที่ ๑ มกราคม – ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๓
10000
8000 15949
6000
4000 4722 5539 4098 จำนวนคดี
2000 4861 คดีเขำ้ ไกลเ่ กลี่ย
ผลไกลเ่ กลย่ี
0 3251 2501
227 2448 1965 1192381237129878311056564832226165087510219545215 2498
217 18119070163171251163745628

แผนภมู ิแท่ง : แสดงสรปุ ผลการไกลเ่ กลย่ี และประนอมขอ้ พิพาท
กลมุ่ ศาลแขวง (คดีผบู้ ริโภค) ประจาปี ๒๕๖๓

ระหวา่ งวนั ที่ ๑ มกราคม – ๓๑ ธนั วาคม ๒๕๖๓

20000 19217
18000
16000 18028
14000
12000 11113
10000
8000 9205 9067 จำนวนคดี
6000 6246 คดีเขำ้ ไกลเ่ กล่ีย
4000 ผลไกลเ่ กล่ีย
2000 6227 3218 4854 5100 5744 5262

0 1848 4318 2649 1715 2231 2502017018118106 22232333 2510
1566576 1822 2447 1715 2231 2031

352 546595184 817

รายงานประจาปี ๒๕๖๓ หนา้ | ๕๓

สรปุ งบประมาณทไี่ ดร้ บั ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
ของสานักศาลยุตธิ รรมประจาภาค ๑

รายงานประจาปี ๒๕๖๓ หน้า | ๕๔

สรุปงบประมาณท่ีไดร้ บั ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
ของสานกั ศาลยตุ ิธรรมประจาภาค ๑

รายการ รับ ผลการใช้จา่ ยเงิน คงเหลอื
(บาท) (บาท)
โครงการ 813,126.90
โครงการเพมิ่ ศกั ยภาพข้าราชการฝ่ายตลุ าการศาลยุตธิ รรม 6,478,572.00 4,200,055.10 21,910.00
1,465,390.00 239,000.00
- โครงการเพม่ิ ศกั ยภาพศาล 432,000.00 2,247,500.00
- โครงการท่สี านักงานอธิบดผี พู้ พิ ากษาภาค 1 เป็นผจู้ ัด 239,000.00 410,090.00 3,321,536.90
โครงการส่งเสริมการเรียนรภู้ าษาตา่ งประเทศ 2,800,000.00 -
โครงการแข่งขันตอบปัญหากฎหมายเน่ืองในวันรพี 9,949,572.00
โครงการสนับสนุนทุนการศกึ ษา 552,500.00
6,628,035.10
รวม

สรุปงบประมาณท่ไี ดร้ บั จดั สรรประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
ของสานักศาลยุตธิ รรมประจาภาค ๑

รายการ รับ ผลการใช้จ่ายเงิน คงเหลอื
(บาท) (บาท) (บาท)
งานประจา
กจิ กรรมพจิ ารณาพิพากษาคดี 772,400.00 312,000.00 460,400.00
- คา่ ใช้จ่ายดา้ นบริหารจัดการ
กจิ กรรมประชาสมั พนั ธง์ านศาลยุตธิ รรม 130,000.00 975.00 129,025.00
- คา่ ใช้จ่ายดา้ นบริหารจัดการ
กจิ กรรมสนบั สนนุ การพจิ ารณาพิพากษาคดแี ละบริหารทวั่ ไป 7,584,100.00 7,073,411.88 510,688.12
- คา่ ใช้จ่ายดา้ นบุคลากร 5,004,000.00 3,526,838.83 1,477,161.17
- คา่ ใช้จ่ายดา้ นบริหารจัดการ
กจิ กรรมจา้ งเหมารักษาความสะอาด 720,000.00 719,675.00 325.00
- คา่ ใช้จ่ายดา้ นบริหารจัดการ 14,210,500.00 11,632,900.71 2,577,599.29

รวม

รายงานประจาปี ๒๕๖๓ หน้า | ๕๕

สรุปงบประมาณท่ไี ดร้ บั จัดสรรประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
ของสานักศาลยตุ ธิ รรมประจาภาค ๑

รายการ รับ ผลการใช้จ่ายเงิน คงเหลอื

งบลงทนุ (บาท) (บาท) (บาท)
กจิ กรรมจัดซอ้ื ครุภัณฑ์
- เครอ่ื งรับสง่ วทิ ยุ 115,000.00 115,000.00 -
115,000.00 115,000.00 -
รวม

สรปุ ภาพรวมของหน่วยงานในสานกั ศาลยุติธรรมประจาภาค ๑
รายงานรายไดแ้ ผน่ ดนิ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

ประเภทรายได้ รหัสรายได้ รายไดแ้ ผน่ ดนิ ทจี่ ดั เกบ็ รายไดแ้ ผน่ ดนิ ทนี่ าสง่ คลงั รายไดค้ า้ งนาสง่ คลงั

รายได้จากการขายครภุ ัณฑ์ 649 2,537,089.00 2,537,089.00 -
รายได้จากการขายสินทรพั ย์ไม่มีตัวตน 649 - - -
รายได้ค่าขายของเบ็ดเตล็ด 642 -
รายได้ค่าซื้อเอกสารจดั ซ้ือจดั จา้ ง 645 290,269.50 290,269.50 -
รายได้จากแสตมป์ฤชากร 801 10,000.00 10,000.00 -
รายได้จากค่าปรบั อ่ืน 810 421,004,773.58 421,004,773.58 12,817.00
รายได้เงินชดเชยจากการผิดสัญญาการศึกษาและดูงาน 816 1,234,838.25 1,222,021.25 -
รายได้จากการรบิ ทรพั ย์สินและการชดเชยค่าเสียหาย 815 -
รายได้ค่าธรรมเนยี มการบรกิ ารอื่น 670 - - -
รายได้เงินเหลือจา่ ยปีเก่า 811 17,013.00 17,013.00 -
รายได้ที่ไม่ใช่ภาษีอ่ืน 830 33,234.00
รายได้ดอกเบี้ยเงินฝากท่ีสถาบันการเงิน 821 500.00 500.00 0.14
213,007.10 213,007.10 46,051.14
รวมทง้ั สนิ้ (บาท) 55,558,543.79 55,525,309.79
299,355.68 299,355.54
481,165,389.90 481,119,338.76

รายงานประจาปี ๒๕๖๓ หน้า | ๕๖

สานักศาลยตุ ธิ รรมประจาภาค ๑
สรุปภาพรวมของหน่วยงานในสงั กดั สานักศาลยุติธรรมประจาภาค ๑

รายงานเงินกลางวางศาล ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

ลาดับที่ รายการ ยอดคงเหลือ เงินกลางท่ไี ด้รบั เงินกลางท่จี า่ ยคืน คงเหลือ
ณ สิ้นปี พ.ศ.2563 - - -
1 สานักศาลยตุ ธิ รรมประจาภาค 1
-

2 ศาลจังหวดั ชัยนาท 27,561,500.10 27,144,995.09 32,605,337.59 22,101,157.60

3 ศาลแขวงดสุ ติ 72,309,868.63 46,544,968.43 43,864,074.71 74,990,762.35

4 ศาลจังหวดั ธญั บรุ ี 195,804,838.21 294,787,554.09 314,292,675.04 176,299,717.26

5 ศาลแขวงธนบุรี 70,427,200.62 46,090,407.93 46,429,976.49 70,087,632.06

6 ศาลจังหวดั นนทบรุ ี 325,264,928.54 519,366,030.29 577,914,656.04 266,716,302.79

7 ศาลแขวงนนทบุรี 115,833,572.44 79,464,247.37 62,736,470.61 132,561,349.20

8 ศาลเยาวชนและครอบครวั จังหวดั นนทบรุ ี 4,325,867.79 7,215,312.00 7,501,695.58 4,039,484.21

9 ศาลจังหวดั ปทมุ ธานี 49,360,228.90 53,615,868.31 51,774,783.24 51,201,313.97

10 ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวดั ปทุมธานี 3,413,191.97 3,475,107.00 3,329,195.30 3,559,103.67

11 ศาลแขวงปทมุ วนั 41,390,397.94 23,314,505.19 35,875,588.98 28,829,314.15

12 ศาลแขวงพระนครใต้ 161,214,159.74 63,904,122.49 75,322,495.08 149,795,787.15

13 ศาลแขวงพระนครเหนือ 339,787,948.29 123,329,679.50 114,309,556.66 348,808,071.13

14 ศาลจังหวดั พระนครศรอี ยุธยา 71,411,936.82 285,543,968.86 294,298,711.14 62,657,194.54

15 ศาลแขวงพระนครศรีอยุธยา 30,213,420.90 36,569,658.17 32,528,893.97 34,254,185.10

16 ศาลเยาวชนและครอบครวั จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา 824,342.00 964,650.00 1,060,920.00 728,072.00

17 ศาลจังหวดั ลพบุรี 43,111,749.33 44,533,208.63 52,785,884.38 34,859,073.58

18 ศาลแขวงลพบรุ ี 12,774,448.62 17,514,552.79 17,472,607.29 12,816,394.12

19 ศาลจังหวดั สงิ ห์บรุ ี 20,723,579.74 28,256,113.61 28,292,881.39 20,686,811.96

20 ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวดั สงิ หบ์ ุรี 545,602.00 198,550.00 276,115.00 468,037.00

21 ศาลจังหวดั สระบุรี 55,496,367.92 61,195,256.72 66,010,367.39 50,681,257.25

22 ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวดั สระบรุ ี 855,420.00 1,233,339.00 1,201,664.00 887,095.00

23 ศาลจังหวดั สมุทรปราการ 192,875,191.58 136,647,825.88 130,238,835.87 199,284,181.59

24 ศาลแขวงสมุทรปราการ 152,896,323.89 103,391,196.33 80,562,838.24 175,724,681.98

25 ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวดั สมุทรปราการ 10,582,845.83 7,284,690.50 6,177,550.10 11,689,986.23

26 ศาลจังหวดั อา่ งทอง 45,027,713.27 37,375,184.88 44,036,460.68 38,366,437.47

27 ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวดั อา่ งทอง 336,825.00 370,732.00 331,702.00 375,855.00

28 ศาลเยาวชนและครอบครวั จังหวดั ลพบุรี 1,769,009.00 1,358,885.00 1,694,484.00 1,433,410.00

29 ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวดั ชยั นาท 111,810.00 654,710.00 687,480.00 79,040.00

30 ศาลจังหวดั ชัยบาดาล 14,045,243.49 24,115,059.61 27,148,419.08 11,011,884.02

31 ศาลแขวงดอนเมือง 47,578,575.52 25,995,508.23 41,853,801.94 31,720,281.81

32 ศาลแขวงสระบรุ ี 19,153,806.70 21,532,463.98 21,704,000.63 18,982,270.05

33 ศาลแขวงบางบอน 2,291,917.00 13,856,440.91 11,784,999.36 4,363,358.55

รวม 2,129,319,831.78 2,136,844,792.79 2,226,105,121.78 2,040,059,502.79

รายงานประจาปี ๒๕๖๓ หน้า | ๕๗

ระเบยี บวาระการประชุม
คณะอนุกรรมการบรหิ ารศาลยตุ ธิ รรมประจาภาค ๑

รายงานประจาปี ๒๕๖๓ หนา้ | ๕๘

ระเบยี บวาระการประชมุ
คณะอนกุ รรมการบรหิ ารศาลยตุ ธิ รรมประจาภาค ๑

คร้ังที่ ๑/๒๕๖๓
วันจันทรท์ ี่ ๒๗ มกราคม ๒๕๖๓
ณ หอ้ งประชุม ๑ ชั้น ๔ สานักงานอธบิ ดีผพู้ ิพากษาภาค ๑ กรงุ เทพมหานคร
-------------------------------
ระเบยี บวาระท่ี ๑ เรื่องท่ปี ระธานแจ้งให้ท่ีประชมุ ทราบ
ระเบียบวาระท่ี ๒ เร่ืองรบั รองรายงานการประชมุ ครัง้ ที่ ๖/๒๕๖๒
วนั ที่ ๒๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๒
ระเบียบวาระที่ ๓ เร่อื งเพื่อทราบ
๓.๑ รายงานผลการบริหารจัดการคดีของศาลในเขตอานาจ
อธิบดีผู้พิพากษาภาค ๑ (เดือนมกราคม – ธันวาคม ๒๕๖๒)
๓.๒ รายงานผลการปฏบิ ัติงานและการบรหิ ารจัดการสานวนคดี
๓.๒.๑ รายงานคดคี ้างพิจารณาเกนิ ๒ ปี และการบริหารจัดการ

คดคี ้างพิจารณาเกนิ ๒ ปี
๓.๒.๒ รายงานคดีค้างพิจารณาเกิน ๒ ปี แต่ไม่เกิน ๒ ปี
๓.๓ การติดตามผลการจัดพิ มพ์ คาพิ พากษาหรือคาส่ังของศาลช้ันต้น
ตามระเบียบราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม ว่าด้วยกรอบ
ระยะเวลาที่เหมาะสมในการจัดพิ มพ์ คาพิ พากษาหรือคาสั่งของ
ศาลชัน้ ต้น พ.ศ. ๒๕๖๒
๓.๔ การติดตามผลการปฏิบัติงานตามนโยบายประธานศาลฎีกา
ของศาลในสังกัดเก่ียวกับการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพขั้นพ้ื นฐาน
ของผูต้ อ้ งหาและจาเลย
๓.๕ การรายงานคดีของศาลเยาวชนฯ ในสังกัดภาค ๑ กรณีใช้
ม า ต ร ก า ร พิ เ ศ ษ ต า มม า ต ร า ๙ ๐ แ ล ะ ม า ต ร า ๑ ๓ ๒ แ ห่ง
พระราชบัญญตั ศิ าลเยาวชนฯ พ.ศ. ๒๕๕๓
ระเบยี บวาระที่ ๔ เรอ่ื งเพ่ือพิจารณา
๔.๑ ปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงานเก่ียวกับการอ่านคาพิ พากษา
หรือคาสั่งของศาลสูงในลักษณะการประชุมทางจอภาพ พ.ศ. ๒๕๖๒
ของศาลในสังกัดภาค ๑
๔.๒ การนากระบวนการไกล่เกลี่ยข้อพิ พาทก่อนฟ้องมาใช้ในศาล
ของศาลในสังกัดภาค ๑
๔.๓ การปรบั ปรุงบญั ชอี ตั ราโทษในคดยี าเสพติดใหโ้ ทษ
ระเบียบวาระที่ ๕ เรอ่ื งอ่นื ๆ

รายงานประจาปี ๒๕๖๓ หนา้ | ๕๙

ระเบียบวาระการประชุม
คณะอนุกรรมการบรหิ ารศาลยุตธิ รรมประจาภาค ๑

ครัง้ ที่ ๒/๒๕๖๓
วนั จนั ทร์ท่ี ๒๓ มีนาคม ๒๕๖๓
ณ หอ้ งประชุม ๑ ช้ัน ๔ สานักงานอธิบดผี ูพ้ ิพากษาภาค ๑ กรงุ เทพมหานคร
-------------------------------
ระเบียบวาระท่ี ๑ เรอ่ื งที่ประธานแจ้งให้ที่ประชมุ ทราบ
๑.๑ วาระโยกย้ายของผู้พิ พากษาหัวหน้าศาลในเขตอานาจอธิบดี
ผ้พู ิพากษาภาค ๑
๑.๒ คณะขับเคล่ือนนโยบายการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพขน้ั พ้ืนฐาน
ของประชาชนลงพ้ืนที่ศาลจงั หวดั ธญั บรุ ี
ระเบียบวาระที่ ๒ รับรองรายงานการประชมุ ครั้งท่ี ๑/๒๕๖๓ วันท่ี ๒๗ มกราคม ๒๕๖๓
ระเบียบวาระที่ ๓ เร่ืองเพ่ือทราบ
๓.๑ รายงานผลการบริหารจัดการคดีของศาลในเขตอานาจอธิบดี
ผูพ้ ิพากษาภาค ๑ (เดอื นมกราคม – กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๓)
๓.๒ รายงานผลการปฏิบัติงานและการบริหารจดั การสานวนคดี
๓.๒.๑ รายงานคดคี ้างพิจารณาเกิน ๒ ปี และการบริหารจดั การ

คดคี ้างพิจารณาเกนิ ๒ ปี
๓.๒.๒ รายงานคดีคา้ งพิจารณาเกนิ ๑ ปี แต่ไมเ่ กนิ ๒ ปี
๓.๓ ข้อสงั เกตในการตรวจสานวนและรา่ งคาพิพากษา
ระเบยี บวาระท่ี ๔ เรือ่ งเพ่ือพิจารณา
๔.๑ การดาเนินการขับเคลื่อนนโยบายการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
ขน้ั พ้ืนฐานของประชาชน
๔.๒ การบริหารจัดการงานคดี ระบบงานธุรการและการนาระบบ
เทคโนโลยีมาใชใ้ นการบริหารงานศาลในสังกดั ภาค ๑
ระเบยี บวาระที่ ๕ เรอื่ งอื่น ๆ

รายงานประจาปี ๒๕๖๓ หนา้ | ๖๐

ระเบยี บวาระการประชุม
คณะอนกุ รรมการบรหิ ารศาลยุตธิ รรมประจาภาค ๑

ครง้ั ท่ี ๓/๒๕๖๓
วนั จนั ทร์ท่ี ๒๑ พฤษภาคม ๕๖๓
โดยระบบการประชุมทางไกลผ่านจอภาพ

-------------------------------
ระเบียบวาระท่ี ๑ เรอ่ื งท่ปี ระธานแจ้งให้ท่ีประชมุ ทราบ

๑.๑ ผู้พิ พากษาหัวหน้าศาลย้ายมาดารงตาแหน่งในวาระโยกย้าย
๑ เมษายน ๒๕๖๓

ระเบียบวาระท่ี ๒ รบั รองรายงานการประชมุ ครั้งท่ี ๒/๒๕๖๓
วนั ท่ี ๒๖มนี าคม ๒๕๖๓

ระเบียบวาระท่ี ๓ เรอื่ งเพื่อทราบ
๓.๑ การอา่ นคาพิพากษาหรือคาส่ังศาลฎีกาในคดอี าญาท่ศี าลฎีกา
๓.๒ รายงานสถติ ผิ ลแหง่ คาพิพากษาหรอื คาสง่ั ของศาลสูง
๓.๓ รายงานสถิติการอ่านคาพิ พากษาหรือคาส่ังของศาลสูง
ในลกั ษณะการประชุมทางจอภาพ
๓.๔ รายงานผลการบริหารจัดการคดีของศาลในเขตอานาจอธิบดี
ผพู้ ิพากษาภาค ๑ (เดือนมกราคม – เมษายน ๒๕๖๓)
๓.๕ รายงานผลการปฏบิ ัตงิ านและการบรหิ ารจัดการสานวนคดี
๓.๕.๑ รายงานคดคี า้ งพิจารณาเกิน ๒ ปี และการบริหารจดั การ
คดคี า้ งพิจารณาเกนิ ๒ ปี
๓.๕.๒ รายงานคดคี า้ งพิจารณาเกิน ๑ ปี แตไ่ มเ่ กนิ ๒ ปี
๓.๖ รายงานการบริหารจัดการคดีภายใต้สถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙
๓.๗ การส่งเอกสารในสานวนความที่คู่ความอุทธรณ์ไปยัง
ศาลอุทธรณภ์ าค ๑ โดยวธิ ีการทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์

ระเบียบวาระท่ี ๔ เรอ่ื งเพ่ือพิจารณา
๔.๑ การดาเนินการยกระดับการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพข้ัน

พ้ื นฐานของผู้ต้องหาหรือจาเลย
๔.๒ พิ จารณาแนวทางในการจ่ายเงินสินบนแก่ผู้แจ้งความนาจับ

และเงนิ รางวัลแกเ่ จ้าหน้าที่ผจู้ บั ผถู้ ูกปลอ่ ยชั่วคราวโดยศาลที่หลบหนี
ระเบยี บวาระที่ ๕ เรื่องอืน่ ๆ

รายงานประจาปี ๒๕๖๓ หนา้ | ๖๑

ระเบียบวาระการประชมุ
คณะอนกุ รรมการบรหิ ารศาลยตุ ิธรรมประจาภาค ๑

ครง้ั ท่ี ๔/๒๕๖๓
วนั ศกุ ร์ท่ี ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๖๓
ณ ห้องประชมุ ๑ ชัน้ ๔ สานกั งานอธิบดผี พู้ ิพากษาภาค ๑ กรงุ เทพมหานคร
-------------------------------
ระเบียบวาระท่ี ๑ เรือ่ งทป่ี ระธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
ระเบียบวาระท่ี ๒ รบั รองรายงานการประชมุ คร้งั ที่ ๓/๒๕๖๓
วันท่ี ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๖๓
ระเบยี บวาระท่ี ๓ เรอ่ื งเพ่ือทราบ
๓.๑ แผนงานการจัดโครงการอบรม/สัมมนาของสานักงานอธิบดี
ผู้พิพากษาภาค ๑
๓.๒ รายงานสถิติผลแหง่ คาพิพากษาหรือคาสั่งของศาลสูง
๓.๓ รายงานสถิติการอ่านคาพิ พากษาหรือคาส่ังของศาลสูง
ในลกั ษณะการประชมุ ทางจอภาพ
๓.๔ รายงานผลการบริหารจัดการคดีของศาลในเขตอานาจอธิบดี
ผพู้ ิพากษาภาค ๑ (เดอื นมกราคม – มถิ ุนายน ๒๕๖๓)
๓.๕ รายงานผลการปฏิบตั งิ านและการบริหารจัดการสานวนคดี
๓.๕.๑ รายงานคดีคา้ งพิจารณาเกนิ ๒ ปี และการบรหิ ารจัดการ

คดีคา้ งพิจารณาเกิน ๒ ปี
๓.๕.๒ รายงานคดคี า้ งพิจารณาเกนิ ๑ ปี แตไ่ มเ่ กนิ ๒ ปี
๓.๖ รายงานการดาเนินการยกระดับการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
ขนั้ พ้ืนฐานของผตู้ ้องหาหรือจาเลย (ศาลจังหวัดและศาลแขวง)
๓.๗ ข้อสังเกตจากการรายงานการปลดทาลายสานวนความและ
เอกสารประจาปี ๒๕๖๓
๓.๗.๑ สานวนยังไมป่ ลดทาลายกรณีศาลสงั่ จาหนา่ ยคดี
๓.๗.๒ กรณีสานวนหาไม่พบ
๓.๗.๓ กรณเี งินกลางค้างจา่ ย
๓.๗.๔ กรณีเอกสารท่ีจะตอ้ งจดั เกบ็ ไวใ้ นสานวน
๓.๗.๕ การจัดทาบัญชีการปลดทาลายสานวนความ
ระเบียบวาระที่ ๔ เร่อื งสบื เน่อื ง
๔.๑ พิ จารณาแนวทางในการจ่ายเงินสินบนแก่ผู้แจ้งความนาจับ
และเงินรางวัลแกเ่ จา้ หน้าทผ่ี ูจ้ บั ผถู้ กู ปลอ่ ยชั่วคราวโดยศาลทห่ี ลบหนี

รายงานประจาปี ๒๕๖๓ หน้า | ๖๒

-๒-
ระเบยี บวาระที่ ๕ เรอ่ื งเพื่อพิจารณา

๕.๑ การดาเนนิ การตามโครงการ “ศาลยุตธิ รรมห่วงใย ฝ่าภัยโควิด”
๕.๑.๑ การลดค่าใช้จา่ ย เพ่ิมการบริการ
๕.๑.๒ การคมุ้ ครองสทิ ธิเสรภี าพและลดการคุมขังท่ีไมจ่ าเปน็
๕.๑.๓ การไกล่เกล่ยี ออนไลน์

๕.๒ แนวทางการปลอ่ ยช่ัวคราวผู้ตอ้ งหาหรอื จาเลยในสถานการณ์
การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙

๕.๓ การบริหารจัดการคดีในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค
ตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Coronavirus Disease : COVID -19)

ระเบียบวาระท่ี ๖ เร่ืองอ่ืน ๆ

รายงานประจาปี ๒๕๖๓ หนา้ | ๖๓

ระเบยี บวาระการประชมุ
คณะอนุกรรมการบรหิ ารศาลยตุ ิธรรมประจาภาค ๑

ครง้ั ที่ ๕/๒๕๖๓
วนั ศกุ ร์ท่ี ๑๘ กนั ยายน ๒๕๖๓
ณ หอ้ งประชมุ ๑ ชั้น ๔ สานักงานอธบิ ดผี ู้พิพากษาภาค ๑ กรงุ เทพมหานคร
-------------------------------
ระเบยี บวาระท่ี ๑ เรื่องท่ีประธานแจ้งใหท้ ่ีประชมุ ทราบ
ระเบียบวาระที่ ๒ รับรองรายงานการประชุม ครง้ั ท่ี ๔/๒๕๖๓
วันที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๖๓
ระเบียบวาระท่ี ๓ เรื่องเพ่ือทราบ
๓.๑ สรุปผลการสัมมนาเรื่อง “การบริหารงานศาลในสังกัดภาค ๑
เพื่อม่งุ ผลสมั ฤทธิ์ขององค์กรศาลยตุ ธิ รรม” การประชมุ กลุ่มย่อย
๓.๑.๑ การบรหิ ารจดั การคดี
๓.๑.๒ การสนับสนนุ การพิจารณาคดี
๓๑.๓ การปรับเปลี่ยนการบริหารงานธุรการและการบริการ

ประชาชนในรูปแบบ new normal
๓.๑.๔ การนาเทคโนโลยมี าใชใ้ นการปฏิบัติงาน
๓.๑.๕ การจัดหนว่ ยงานให้เปน็ มติ รกบั สิง่ แวดลอ้ ม
๓.๒ แจง้ ผลการประเมนิ การปฏิบตั ริ าชการ รอบที่ ๑/๒๕๖๓
๓.๓ รายงานผลการประเมนิ การปฏบิ ตั ริ าชการ รอบที่ ๒/๒๕๖๓
๓.๔ รายงานสถิติผลแห่งคาพิพากษาหรอื คาสัง่ ของศาลสงู
๓.๕ รายงานสถิติการอ่านคาพิ พากษาหรือคาส่ังของศาลสูงใน
ลักษณะการประชุมทางจอภาพ
๓.๖ รายงานผลการบริหารจัดการคดีของศาลในเขตอานาจอธิบดี
ผ้พู ิพากษาภาค ๑ (เดอื นมกราคม – สิงหาคม ๒๕๖๓)
๓.๗ รายงานผลการปฏบิ ัติงานและการบริหารจดั การสานวนคดี
๓.๗.๑ รายงานคดีค้างพิจารณาเกิน ๒ ปี และการบรหิ ารจดั การ

คดคี ้างพิจารณาเกิน ๒ ปี
๓.๗.๒ รายงานคดคี ้างพิจารณาเกิน ๑ ปี แตไ่ มเ่ กนิ ๒ ปี
ระเบยี บวาระที่ ๔ เรอ่ื งเพื่อพิจารณา
๔.๑ การยกระดับการใช้มาตรการทางานบริการสังค มหรือ
สาธารณประโยชนแ์ ทนคา่ ปรับ
ระเบียบวาระท่ี ๕ เรอ่ื งอืน่ ๆ

รายงานประจาปี ๒๕๖๓ หน้า | ๖๔

ระเบียบวาระการประชมุ
คณะอนกุ รรมการบรหิ ารศาลยตุ ธิ รรมประจาภาค ๑

คร้งั ที่ ๖/๒๕๖๓
วนั ศุกร์ท่ี ๒๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓
ณ ห้องประชุม ๑ ชน้ั ๔ สานักงานอธิบดผี ูพ้ ิพากษาภาค ๑ กรงุ เทพมหานคร

-------------------------------
ระเบยี บวาระท่ี ๑ เรือ่ งทีป่ ระธานแจ้งใหท้ ่ีประชมุ ทราบ
ระเบียบวาระที่ ๒ เรอื่ งรับรองรายงานการประชมุ คร้งั ที่ ๕/๒๕๖๓

วันท่ี ๑๘ กันยายน ๒๕๖๓
ระเบียบวาระท่ี ๓ เร่ืองเพ่ือทราบ

๓.๑ แนะนาผู้บริหารสานักงานอธิบดีผู้พิ พากษาภาค ๑ และผู้พิ พากษา
หัวหน้าศาลและการมอบหมายให้รองอธิบดีผู้พิ พากษาภาค ๑
ใหค้ าแนะนาแกศ่ าลในสังกัด

๓.๒ การปฏบิ ตั ริ าชการตามนโยบายประธานศาลฎีกา
๓.๓ การประเมินผลการปฏิบัติราชการของศาลในสังกัดภาค ๑

ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๓ รอบท่ี ๒
๓.๔ กาหนดตรวจราชการศาลในสังกดั ภาค ๑
๓.๕ รายงานผลการบรหิ ารจัดการคดขี องศาลในเขตอานาจอธบิ ดี

ผูพ้ ิพากษาภาค ๑ (เดอื นมกราคม – ตุลาคม ๒๕๖๓)
๓.๖ รายงานผลการปฏบิ ัตงิ านและการบรหิ ารจัดการสานวนคดี

๓.๖.๑ รายงานคดีคา้ งพิจารณาเกิน ๒ ปี และการบริหารจัดการ
คดีคา้ งพิจารณาเกนิ ๒ ปี

๓.๖.๒ รายงานคดคี า้ งพิจารณาเกิน ๑ ปี แต่ไมเ่ กิน ๒ ปี
๓.๗ การเตรียมความพร้อมของศาลในเขตอานาจอธิบดีผู้พิ พากษา

ภาค 1 ในการเลือกตงั้ สมาชิกสภาท้องถ่ินหรือผูบ้ ริหารท้องถนิ่
ระเบยี บวาระท่ี ๔ เรอื่ งเพื่อพิจารณา

๔.๑ การบริหารจัดการคดีความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงแห่ง
ราชอาณาจักรและความผิดฐานฝ่าฝืนข้อกาหนดตามพระราช
กาหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕๔๘
ของศาลในเขตอานาจอธบิ ดผี ู้พิพากษาภาค ๑

๔.๒ แนวทางการบริหารจดั การคดขี องศาลในสงั กัดภาค ๑
๔.๓ การประสานความร่วมมือระหว่างศาลแรงงานภาค ๑ กับศาล

ในเขตอานาจอธิบดีผู้พิพากษาภาค ๑
ระเบียบวาระที่ ๕ เร่อื งอน่ื ๆ

รายงานประจาปี ๒๕๖๓ หนา้ | ๖๕

แผนงานกิจกรรม / โครงการ
ประจาปี พ.ศ. ๒๕๖๓

รายงานประจาปี ๒๕๖๓ หนา้ | ๖๖

แผนงานโครงการ/กจิ กรรม ดา้ นพั ฒนาทรพั ยากรบุคคล
ประจาปี พ.ศ. ๒๕๖๓

วัน/เดอื น/ปี โครงการ/กจิ กรรม สถานทดี่ าเนินการ

๑๖ - ๑๗ ศลิ ปะการเป็นหวั หนา้ งานเพ่ือเพ่ิม โรงแรมริชมอนด์
กรกฎาคม ๒๕๖๓ ประสทิ ธภิ าพในการทางาน จังหวดั นนทบุรี

๓๐ – ๓๑ การสรา้ งแรงจูงใจเพ่ือพัฒนา โรงแรมริชมอนด์
กรกฎาคม ๒๕๖๓ การทางานใหม้ ปี ระสิทธิภาพ จงั หวัดนนทบุรี

๙ สงิ หาคม ๒๕๖๓ การขบั เคล่อื นนโยบายประธาน โรงแรมรชิ มอนด์
ศาลฎกี าในการยกระดับการคุม้ ครอง จงั หวดั นนทบรุ ี
สิทธเิ สรภี าพขนั้ พ้ืนฐาน ของผูต้ อ้ งหา
หรอื จาเลย และการนาเทคโนโลยีมา
สนับสนนุ การอานวยความยตุ ธิ รรม

๑๔ สิงหาคม ๒๕๖๓ เทคนิคการใช้จิตวิทยาในการให้ โรงแรมกรงุ ศรรี ิเวอร์
คาปรกึ ษา แนะนาและการปรบั เปล่ยี น จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา
พฤตกิ รรมเด็ก เยาวชนและครอบครัว

๒๒ – ๒๓ คุณธรรมและจริยธรรมในการทางาน เดอะไพรเวซ่ี รีสอร์ท แอนด์
สิงหาคม ๒๕๖๓ เป็นทมี สปา จังหวดั ประจวบครี ีขนั ธ์

๒๗ – ๒๘ โครงการเพิ่ มประสิทธิภาพ โรงแรมกรงุ ศรรี ิเวอร์
สงิ หาคม 2563 การปฏบิ ตั งิ านบังคบั คดีผ้ปู ระกนั จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา

๔-๕ การบริหารงานของศาลในสังกดั ภาค ๑ โรงแรมกรุงศรรี ิเวอร์
กนั ยายน ๒๕๖๓ เพ่ือมุ่งสผู่ ลสัมฤทธิ์ขององค์กรศาล จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา
ยุติธรรม

รายงานประจาปี ๒๕๖๓ หน้า | ๖๗

โครงการดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประจาปี พ.ศ. ๒๕๖๓



การพั ฒนาระบบบริหาร
สานวนคดีศาลในเขตอานาจ

อธบิ ดผี ูพ้ ิพากษาภาค ๑



การพัฒนาระบบบรหิ าร
จัดการผ้ใู ช้งานระบบ

KTB Corporate Online



การปรบั ปรุงระบบเครอื ข่าย
ภายในสานักศาลยุติธรรม

ประจาภาค ๑



การพัฒนาระบบหนงั สอื เวยี น
อเิ ลก็ ทรอนิกส์



การบรหิ ารจัดการ

ขอ้ มลู ข่าวสารภายใน

สานักศาลยุติธรรมประจาภาค ๑

ดว้ ยระบบไลนแ์ อปพลเิ คชัน

(Line Application)

รายงานประจาปี ๒๕๖๓ หน้า | ๖๘

ภาพกิจกรรม

รายงานประจาปี ๒๕๖๓ หนา้ | ๖๙

ศิลปะ

การเปน็ หวั หน้างาน
เพ่ื อเพิ่ มประสทิ ธภิ าพ

ในการทางาน

รายงานประจาปี ๒๕๖๓ หนา้ | ๗๐

การสรา้ งแรงจงู ใจ

เพื่ อพั ฒนา
ประสิทธภิ าพ

รายงานประจาปี ๒๕๖๓ หนา้ | ๗๑

การขบั เคลอื่ นนโยบายประธานศาลฎกี า

ยกระดับการคมุ้ ครองสทิ ธเิ สรภี าพข้ันพ้ื นฐานของผู้ต้องหา หรอื จาเลย
และการนาเทคโนโลยมี าสนับสนนุ การอานวยความยุติธรรม

รายงานประจาปี ๒๕๖๓ หนา้ | ๗๒

เทคนคิ การใชจ้ ิตวิทยาในการให้คาปรกึ ษา
แนะนาและการปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมเด็ก

เยาวชนและครอบครัว

รายงานประจาปี ๒๕๖๓ หนา้ | ๗๓

คุณธรรม
และจริยธรรม

ในการทางานเป็นทีม

รายงานประจาปี ๒๕๖๓ หนา้ | ๗๔

โครงการ
เพิ่ มประสิทธิภาพ

การปฏิบัตงิ าน
บังคบั คดผี ู้ประกัน

รายงานประจาปี ๒๕๖๓ หนา้ | ๗๕

การบริหารงานของ

ศาลในสงั กดั ภาค

เพื่ อม่งุ สผู่ ลสัมฤทธข์ิ อง
องคก์ รศาลยุตธิ รรม

รายงานประจาปี ๒๕๖๓ หน้า | ๗๖

ตรวจราชการศาลในจงั หวดั สมทุ รปราการ

รายงานประจาปี ๒๕๖๓ หนา้ | ๗๗

ตรวจราชการศาลในจังหวดั ลพบุรี

รายงานประจาปี ๒๕๖๓ หนา้ | ๗๘

ตรวจราชการศาลในจงั หวดั ปทมุ ธานี

รายงานประจาปี ๒๕๖๓ หนา้ | ๗๙

ตรวจราชการศาลแขวงดสุ ิต

รายงานประจาปี ๒๕๖๓ หน้า | ๘๐

ตรวจราชการศาลแขวงปทมุ วัน

รายงานประจาปี ๒๕๖๓ หนา้ | ๘๑

ตรวจราชการศาลในจังหวดั อา่ งทอง

รายงานประจาปี ๒๕๖๓ หนา้ | ๘๒

ตรวจราชการศาลในจงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา

รายงานประจาปี ๒๕๖๓ หน้า | ๘๓

ตรวจราชการศาลในจังหวดั นนทบรุ ี

รายงานประจาปี ๒๕๖๓ หนา้ | ๘๔

คาพิ พากษาศาลฎีกา

รายงานประจาปี ๒๕๖๓ หน้า | ๘๕

คาพิ พากษาศาลฎีกาที่ 39/2563

โจทก์คงมีแต่ร้อยตารวจเอก อ. และร้อยตารวจเอก ธ. ผู้ร่วมจับกุม
เป็นพยานเบิกความทานองเดียวกันว่า พยานโจทก์ท้ังสองร่วมกันจับกุมนาย ผ.
พร้อมยดึ เมทแอมเฟตามนี ที่จะนามาจาหนา่ ยใหแ้ ก่ผมู้ ีช่อื ไวเ้ ป็นของกลาง สอบถาม
นาย ผ. ให้การรับว่าได้รบั เมทแอมเฟตามีนมาจากจาเลยให้มาจาหน่าย พยานโจทก์
ทั้งสองจึงเป็นเพียงพยานบอกเล่ามีน้าหนักน้อย แม้โจทก์จะมีร้อยตารวจเอก ล.
พนักงานสอบสวนเป็นพยานเบิกความว่า ได้สอบคาให้การนาย ผ. ไว้ โดยนาย ผ.
ให้การว่าตนรับเมทแอมเฟตามีนของกลางมาจากจาเลยเพ่ื อนาไปส่งมอบให้แก่
ผู้มีช่ือตามบันทึกคาให้การของนาย ผ. แต่คาให้การดังกล่าวถือว่าเป็นคาซัดทอด
ของผู้ร่วมกระทาความผิด และเป็นพยานบอกเล่า ซึ่งต้องห้ามมิให้รบั ฟงั ทั้งจาเลย
ไม่มีโอกาสถามค้านถ้อยคาของนาย ผ. เม่ือคาเบิกความของพยานโจทก์และ
พยานหลักฐานของโจทก์ข้างต้นล้วนเป็นพยานบอกเล่าซึ่งมีน้าหนักน้อยและมีพิ รุธ
แล้ว กรณีจึงไม่เข้าข้อยกเว้นที่จะรับฟงั โดยลาพั งได้ตามประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความอาญา มาตรา 226/3 และมาตรา 227/1 ประกอบพระราชบัญญัติ
วิธีพิ จารณาคดียาเสพติด พ.ศ. 2550 มาตรา 3 พยานหลักฐานที่โจทก์นาสืบ
มายังมีความสงสัยตามสมควรว่าจาเลยรว่ มกบั นาย ผ. กระทาความผดิ หรอื ไม่

รายงานประจาปี ๒๕๖๓ หน้า | ๘๖

คาพิ พากษาศาลฎีกาที่ 127/2563

ตามรายงานการตรวจพิ สูจน์รถกระบะได้รับความเสียหายด้านหน้ามาก
พอสมควร บริเวณกันชนหน้าหน้ากากหน้าแตกหัก และฝากระโปรงหน้าบุบยุบ
ส่วนรถจักรยานยนต์ได้รับความเสียหายบริเวณบังโคลนล้อหลงั ไฟท้ายแตกหัก และวง
ล้อหลังแตกหัก นาย น. เบิกความว่า เม่ือยิงปืนแล้วได้ขับรถหนีด้วยความเร็วประมาณ
120 กิโลเมตรต่อช่ัวโมง และขณะท่ีถูกชนก็มีความเร็วเช่นเดียวกัน ส่วนโจทก์ร่วมก็เบิก
ความวา่ ขบั รถหนดี ้วยความเร็วประมาณ 100 กิโลเมตรตอ่ ชวั่ โมง จาเลยที่ 3 เบกิ ความ
ว่าขณะท่ีรถกระบะชนท้ายรถจักรยานยนต์นั้น รถกระบะมีความเร็วประมาณ 80 ถึง 90
กิโลเมตรต่อช่ัวโมง เชื่อได้ว่าการที่ทั้งสองฝ่ายขับรถไล่ติดตามกันมา ฝ่ายที่ขับรถหนีก็
ต้องใช้ความเร็วเพื่ อหลบหนี ส่วนฝ่ายติดตามก็ใช้ความเร็วเพ่ื อติดตามให้ทัน บ่งชี้ว่ารถ
ทง้ั สองคันต้องใชค้ วามเรว็ สงู มากไม่ต่ากวา่ ความเร็วที่พยานแต่ละคนเบกิ ความมาและรถ
กระบะต้องใช้ความเร็วสูงกว่าจึงชนท้ายรถจักรยานยนต์และก่อให้เกิดความเสียหายแก่
ส่วนหน้าของรถกระบะได้เช่นนั้น การชนอย่างรุนแรงทาให้นาย น. กระเด็นตกจากรถไป
กระแทกที่กระโปรงหน้ารถกระบะแล้วตกลงท่ีพ้ื นหมดสติไป ส่อแสดงให้เห็นเจตนาของ
จาเลยที่ 1 ตั้งแตแ่ รกทีจ่ ะขับรถพุ่งเข้าชนท้ายรถของนาย น. และหากนาย น. กระเด็นตก
ลงท่ีพื้ นในระยะหน้ารถกระบะอาจทาให้รถกระบะทับร่างของนาย น. ถึงแก่ความตาย
ก็มีโอกาสเป็นได้อีกด้วย ดังน้ี จาเลยที่ 1 ย่อมเล็งเห็นผลได้ว่าการกระทาของจาเลยท่ี 1
อาจทาให้นาย น. ถึงแก่ความตายได้ แม่จะรับฟงั ได้ว่า จาเลยที่ 1 ไม่ได้ขับรถถอยหลัง
เพื่ อจะทับนาย น. ให้ถึงแก่ความตาย ท้ัง ๆ ท่ีมีโอกาสท่ีจะกระทาได้ ก็ไม่ทาให้ความผิด
ของจาเลยที่ 1 เปล่ียนแปลงไป เพราะเจตนาโดยเล็งเห็นผลนั้นมุ่งถึงลักษณะแห่งการ
กระทาและผลของการกระทาที่อาจเกิดข้ึนเป็นหลัก มิได้มุ่งถึงเจตนาของผู้กระทาเป็น
หลัก จึงฟงั ได้ว่าจาเลยที่ 1 มีเจตนาฆ่านาย น. ปญั หาท่ีต้องวินิจฉัยตามฎีกาของจาเลย
ที่ 1 ว่าการกระทาของจาเลยที่ 1 เป็นการกระทาโดยบันดาลโทสะหรือไม่ ข้อเท็จจริงได้
ความว่า ก่อนเกิดเหตุจาเลยที่ 1 ได้ขับรถกระบะเบียดรถจักรยานยนต์ของนาย น.
เม่ือนาย น. ใช้อาวุธปืนยิงจาเลยที่ 1 ก็ได้เล้ียวรถและขับไล่ตามรถจักรยานยนต์
ของนาย น. พฤติการณ์ดังกล่าวเป็นการที่จาเลยที่ 1 สมัครใจวิวาทและจาเลยท่ี 1
เป็นฝ่ายก่อเหตุขึ้นก่อนจึงไม่อาจถือได้ว่าจาเลยที่ 1 ถูกข่มเขงอย่างร้ายแรงด้วยเหตุอัน
ไม่เปน็ ธรรม จงึ ไมอ่ าจอา้ งเหตบุ ันดาลโทสะได้

รายงานประจาปี ๒๕๖๓ หนา้ | ๘๗

คาพิ พากษาศาลฎีกาที่ 162/2563

ศาลอุทธรณ์ภาค 1 พิ พากษาแก้เป็นว่า ให้รอการลงโทษไว้ 3 ปี
การที่จะพิจารณาว่า คดีใดต้องห้ามฎีกา ในปัญหาข้อเท็จจริงหรือไม่น้ัน ต้องถือ
โทษท่ีศาลลงแก่จาเลยเป็นรายกระทงไป เมื่อศาลชั้นต้นพิ พากษาว่าจาเลยมี
ความผิดรวม 6 กระทง แต่ละกระทงลงโทษจาคุก 2 ปี โดยไม่รอการลงโทษ
ศาลอุทธรณ์ภาค 1 พิพากษาแก้ให้ลงโทษปรับอีกกระทงละ 5,000 บาท รวม 6 กระทง
เป็นเงิน 30,000 บาท กับให้รอการลงโทษและคุมความประพฤติจาเลย เป็นกรณี
ที่ศาลอุทธรณ์ภาค 1 ยังคงลงโทษจาเลยในแต่ละกระทงจาคุกไม่เกิน 2 ปี
และปรับไม่เกิน 40,000 บาท จึงต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง ตามประมวล
กฎหมายวิธีพิ จารณาความอาญา มาตรา 219 เม่ือโจทก์ฎีกา ให้ลงโทษจาคุก
จาเลยโดยไม่รอการลงโทษ อันเป็นฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง ไม่ปรากฏว่าโจทก์
มีการปฏิบัติตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิ จารณาความอาญา
มาตรา 221 การทศ่ี าลชัน้ ตน้ มีคาสั่งรับฎีกาของโจทก์จงึ ไมช่ อบ

รายงานประจาปี ๒๕๖๓ หนา้ | ๘๘

คาพิ พากษาศาลฎกี าที่ 258/2563

ความผิดฐานเข้าไปยึดถือ ครอบครองท่ีดินของรัฐซ่ึงเป็นสาธารณ
สมบัติของแผ่นท่ีดินที่ประชาชนใช้ร่วมกันหรือที่ใช้เพื่ อประโยชน์ของแผ่นดิน
โดยเฉพาะตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 9 และ 108 ทวิ วรรคสอง
เป็นความผิดที่มีขึ้นตั้งแต่จาเลยเข้ายึดถอื ครอบครองและยังคงมีอยู่ตลอดเวลาท่ี
จาเลยครอบครอง แม้ความผิดฐานนี้เป็นความผิดที่มีระวางโทษจาคุกไม่เกิน 3 ปี
หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาทหรือท้ังจาท้ังปรับ ซึ่งมีอายุความ 10 ปี นับแต่วัน
กระทาความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 95 (3) วรรคแรก ก็ตาม
แต่เมื่อข้อเท็จจริงได้ความว่าขณะท่ีโจทก์ฟอ้ ง จาเลยยังคงยึดถือครอบครอง
ท่ีดินบริเวณสันเขื่อนของอ่างเก็บน้าห้วยซับเหล็กอยู่ แม้จาเลย จะครอบครองมา
นานเกิน 10 ปี คดีของโจทก์ข้อหาความผิดตามประมวลกฎหมายท่ีดิน มาตรา 9
และ 108 ทวิ วรรคสอง ก็ไมข่ าดอายคุ วาม

ท่ีดินจาเลยยึดถือครอบครอง คือท่ีดินริมถนนสันเขื่อนอ่างเก็บน้า
ห้วยซับเหล็กที่จาเลยสร้างเป็นอาคารขายอาหาร อาคารโรงรถ อาคารพั กอาศัย
ริมน้าและแพลอยน้าสาหรับนั่งรับประทานอาหารลักษณะและสภาพของท่ีดิน
บริเวณดังกล่าว จังหวัดลพบุรี ประกาศให้บริเวณอ่างเก็บน้าห้วยซับเหล็กเป็น
แหล่งทอ่ งเทีย่ ว ประชาชนทวั่ ไปย่อมสามารถเข้าใชป้ ระโยชน์รอบบริเวณอ่างเกบ็ นา้
ห้วยซับเหล็กได้ ท้ังน้าในอ่างเก็บน้ายังใช้เพื่ อการเกษตรและสุขาภิบาลโคกตูม
เป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินที่ประชาชนใช้ร่วมกัน และใช้เพ่ื อประโยชน์ของ
แผ่นดินโดยเฉพาะ ตามประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ มาตรา 1304 (2)
และ (3) แม้ตามหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงเอกสารหมาย จ.6 ระบุว่าที่ดิน
บริเวณอ่างเก็บน้าห้วยซับเหล็กเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินประเภทใช้เพื่ อ
ประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะเพี ยงอย่างเดียวก็ตามหาทาให้ท่ีดินดังกล่าว
ไม่เป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินท่ีประชาชนใช้ร่วมกันไม่ การท่ีจาเลยยึดถือ
ครอบครองท่ดี นิ จึงเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายทีด่ ิน

รายงานประจาปี ๒๕๖๓ หนา้ | ๘๙

คาพิ พากษาศาลฎกี าที่ 385/2563

โจทกม์ ีรอ้ ยตารวจโท ด. และดาบตารวจ ศ. ผ้จู บั กุมเบิกความทานอง
เดียวกันยืนยันว่า ขณะตรวจค้นและจับกุมนางสาว ข. นั้น จากการสอบนางสาว
ข. ได้ความว่า นางสาว ข. รับจา้ งจาเลยไปรับเมทแอมเฟตามีนจากชายไม่ทราบชื่อ
จริง และชื่อสกุล นางสาว ข. แจ้งหมายเลขโทรศัพท์ของจาเลยและชายไม่ทราบ
ชื่อ จากการตรวจสอบข้อมูลการใช้โทรศัพท์เคล่ือนที่ของนางสาว ข. พบรายการ
โทรศัพท์เข้าและออกระหว่างนางสาว ข. กับจาเลยและชายไม่ทราบชื่อดังกล่าว
ภาพถ่ายข้อมูลการใช้โทรศัพท์เม่ือนาภาพจาเลยจากข้อมูลทะเบียนราษฎรให้
นางสาว ข. ดูก็ยืนยันว่าจาเลยเป็นคนท่ีว่าจ้างให้นางสาว ข. ไปรับเมทแอมเฟตา
มีน ในช้ันสอบสวนนางสาว ข. ให้การรับสารภาพ ในฐานะผู้ต้องหาตามบันทึก
คาให้การต่อหน้าทนายความซึ่งได้ลงชื่อไว้ในบันทึกคาให้การและนางสาว ข. ยังให้
การในฐานะพยานโดยให้การยืนยันข้อเท็จจริงดังกล่าวข้างต้นเจือสมกับคาเบิก
ความของรอ้ ยตารวจโท ด. และดาบตารวจ ศ. นางสาว ข. เบกิ ความดว้ ยวา่ ตนให้
การดังกล่าวด้วยความสมัครใจ มิได้ถูกข่มขู่หรือบังคับแต่อย่างใด ประกอบกับ
จาเลยเองเป็นญาติกบั นอ้ งเขย ของนางสาว ข. และไมป่ รากฏว่าเคยมีสาเหตุโกรธ
เคืองกันมาก่อน จึงไม่มีเหตุน่าระแวงว่า นางสาว ข. จะให้การปรักปราจาเลยให้
ต้องรับโทษ อีกทั้งขณะให้การนางสาว ข. เพ่ิ งถูกจับกุม คงยังไม่ทันคิดที่จะป้ ัน
แต่งเร่ืองขึ้น จึงเช่ือว่าคาให้การในช้ันสอบสวนของนางสาว ข. ที่ว่าจาเลยเป็นผู้
ว่าจ้างให้นางสาว ข. ไปรับเมทแอมเฟตามีนเป็นความจริงยิง่ กว่าคาเบิกความของ
นางสาว ข. แม้คาให้การรับสารภาพในช้ันสอบสวนของนางสาว ข. เป็นคาซดั ทอด
ของผู้กระทาความผิดและเป็นเพี ยงพยานบอกเล่าก็ตาม แต่เป็นการเล่าถึง
รายละเอียดพฤติการณแ์ หง่ คดีและมใิ ชค่ าซัดทอดเพื่อให้ตนพ้นผิดแตอ่ ย่างใด ทงั้
เมื่อพิ เคราะห์ตามสภาพ ลักษณะ แหล่งท่ีมาและข้อเท็จจริงแวดล้อมของพยาน
ดังกล่าว น่าเช่ือว่าจะพิ สูจน์ความจริงได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิ จารณาความ
อาญามาตรา 226/3 วรรคสอง (1) คาให้การของนางสาว ข.จึงมีน้าหนัก
น่าเช่อื ถือและรับฟงั เป็นพยานหลักฐานได้

รายงานประจาปี ๒๕๖๓ หน้า | ๙๐

คาพิ พากษาศาลฎีกาที่ 510/2563

ปัญหาต้องวินิจฉัยต่อไปว่า จาเลยท่ี 2 กระทาความผิดฐานร่วมกัน
รับของโจรหรือไม่ เห็นว่า ความรับผิดทางอาญาน้ันไม่ได้เริ่มจากวันที่ผู้เสียหาย
ร้องทุกข์กล่าวโทษหรือวันท่ีเจ้าพนักงานตารวจเร่ิมดาเนินคดีกับผู้ต้องหาหรือ
จาเลยความรับผิดทางอาญานั้นเร่ิมจากวันที่เกิดการกระทาความผิด เมื่อได้ความ
ว่านาย ส. ส่งมอบรถยนต์ให้กับจาเลยที่ 2 เม่ือวันที่ 23 ธันวาคม 2553 แล้ว
ต่อมาวันท่ี 3 มีนาคม 2554 นาย ส. แจ้งความต่อพนักงานสอบสวนว่ารถยนต์
ดังกล่าวสูญหายพิเคราะห์ประกอบพฤติการณ์ของนาย ส. ที่นารถยนต์มามอบให้
จาเลยท่ี 2 พร้อมจดทะเบียนรถยนต์ปลอมแสดงถึงเจตนาของนาย ส. ในการ
ยักยอกทรัพย์จากเจ้าของ การท่ีนาย ส. นารถยนต์มามอบให้กับจาเลยที่ 2 ก่อน
แล้วจึงจะไปแจ้งความต่อพนักงานสอบสวนนั้น เช่ือว่าเป็นการกระทาตามขั้นตอน
ของการกระทาความผิดฐานยักยอกทรัพย์ เริ่มนับแต่นารถยนต์ออกจาหน่าย และ
เม่ือจาหน่ายรถยนต์แล้วจึงไปแจ้งความเร่ืองรถยนต์สูญหายเพ่ื อปกปิดการ
กระทาความผิด พฤติการณ์ของนาย ส. ชี้ให้เห็นว่านาย ส. มีเจตนาเบียดบังเอา
รถยนต์ของผู้เสียหายที่อยู่ในครอบครองของนาย ส. ไปโดยทุจริตมาต้ังแต่เร่ิม
การนารถยนต์มาส่งมอบให้กับจาเลยที่ 2 เป็นการกระทาความผิดที่เป็น
องคป์ ระกอบความผิดฐานรบั ของโจรแล้ว

รายงานประจาปี ๒๕๖๓ หนา้ | ๙๑

คาพิ พากษาศาลฎีกาที่ 1239/2563

ตามรูปเรื่องไม่มีเนื้อหาส่วนใดที่แสดงให้เห็นว่า ก่อนหรือขณะซ้ือที่ดินพิ พาท
ในการขายทอดตลาด โจทก์มีข้อมูลในเชิงลึกถึงขนาดทราบว่าจาเลยที่ 1 และท่ี 2 ได้
กรรมสิทธ์ิในท่ีดินพิ พาทโดยการครอบครองปรปักษ์ โดยโจทก์รับรู้แต่เพี ยงว่าข้อเท็จจริง
เรื่องการอยู่อาศัยในที่ดินพิ พาทของจาเลยท่ี 1 และที่ 2 เป็นข้อเท็จจริงที่มีอยู่จริงเท่าน้ัน
ประกอบกับโดยหลักแล้วก็ไม่มีกฎหมายใดบังคับให้โจทก์ต้องเข้าไปตรวจสอบก่อนว่าใคร
เป็นเจ้าของท่ีดินพิ พาทท่ีแท้จริง หรือต้องตรวจสอบว่าท่ีดินพิ พาทท่ีถูกนาออกขาย
ทอดตลาดมีสภาพหรือมีภาระอย่างไร เพราะเป็นการขายทอดตลาดท่ีดินตามคาสั่งเจ้า
พนกั งานพิทักษท์ รัพย์ในคดีลม้ ละลาย โจทกจ์ งึ ย่อมเชอ่ื โดยสจุ รติ ใจว่าเมือ่ ซื้อที่ดินพิพาทมา
จากการขายทอดตลาดแล้วจะต้องได้สิทธิในที่ดินพิ พาทที่ซ้ือมาน้ัน เม่ือจาเลยที่ 1 และที่ 2
ไม่อาจนาสืบให้ฟงั ได้ว่าโจทก์ซ้ือท่ีดินพิพาทมาโดยไม่สุจริตตามภาระการพิสูจน์ คดีจึงต้อง
ถือว่าโจทก์ ซ้ือท่ีดินพิ พาทมาโดยสุจริตและเป็นการซื้อโดยเสียค่าตอบแทน โจทก์จึงย่อม
ได้รับความคุ้มครองตามประมวลกฎหมายแพ่ งและพาณิชย์ มาตรา 1330 ว่า สิทธิในท่ีดิน
พิพาทของโจทก์ไม่เสียไป ถงึ แมภ้ ายหลงั จะพิสจู น์ได้ว่าท่ีดินพิพาทน้ันมิใช่ของลกู หน้ีตามคา
พิพากษาในคดลี ้มละลาย

แม้หากขอ้ เทจ็ จรงิ จะฟงั ไดต้ ามขอ้ สขู้ องจาเลยที่ 1 และที่ 2 ว่า จาเลยท่ี 1 และ
ที่ 2 ได้กรรมสิทธิ์ในท่ีดินพิ พาทโดยการครอบครองปรปักษ์มาต้ังแต่ก่อนโจทก์จดทะเบียน
รับโอนกรรมสิทธิ์ท่ีดินพิพาทเมื่อปี 2555 และจาเลยท่ี 1 และที่ 2 มิได้เป็นบริวารของลูกหน้ี
ตามคาพิ พากษา ในคดีล้มละลายก็ตาม แต่การได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์หรือทรัพย์สิทธิอัน
เกีย่ วกับอสังหารมิ ทรพั ยข์ องจาเลยที่ 1 และท่ี 2 เป็นการได้มาโดยทางอ่ืนนอกจากนิติกรรม
และยังมิได้จดทะเบียนให้เป็นไปตามกฎหมายจาเลยที่ 1 และท่ี 2 จึงไม่อาจยกเอาเหตุ
ดังกล่าวขึ้นเป็นข้อต่อสู้โจทก์ ซ่ึงเป็นบุคคลภายนอกผู้ได้สิทธิในท่ีดินพิ พาทมาโดยเสีย
ค่าตอบแทนและโดยสุจรติ และได้จดทะเบยี นสทิ ธิโดยสุจริตแล้วไดต้ ามประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณชิ ย์ มาตรา 1299 วรรคสอง

เมื่อโจทก์เป็นผู้ซื้อที่ดินพิ พาทมาจากการขายทอดตลาดตามคาสั่งเจ้า
พนักงานพิ ทักษ์ในคดีล้มละลายโดยสุจริต สิทธิของโจทก์ในที่ดินพิ พาทย่อมได้รับความ
คุ้มครองว่าไม่เสียไป ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1330 ซึ่งหมายถึงว่า
โจทก์มีสิทธิเหนือที่ดินพิ พาทดีกว่าบุคคลอื่น กล่าวคือโจทก์มีสิทธิยึดถือครอบครองทา
ประโยชน์และบรหิ ารจัดการทีด่ ินพิพาท ไดต้ าม

รายงานประจาปี ๒๕๖๓ หนา้ | ๙๒

คาพิ พากษาศาลฎกี าที่ 1239/2563 (ต่อ)

ประสงค์โดยปราศจากการรบกวนขัดขวางของจาเลยที่ 1 และท่ี 2 แม้ต่อมาก่อน
โจทก์ฟอ้ งคดีน้ี โจทก์ได้โอนที่ดินที่เป็นพื้นที่พิพาทส่วนที่ 2 และส่วนที่ 3 ให้เป็นท่ี
สาธารณประโยชน์ ก็ต้องถือว่า โจทก์ยังคงมีสิทธิยึดถือครอบครองทาประโยชน์
ในท่ีดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินเหนือกว่าจาเลยที่ 1 และที่ 2 ซ่ึงอยู่ใน
ฐานะราษฎรเช่นเดียวกับโจทก์ อีกทั้งพ้ืนท่ีพิพาทส่วนที่ 2 และส่วนที่ 3 ไม่ได้เป็น
สาธารณสมบัติของแผ่นดินมาต้ังแต่ด้ังเดิม แต่เพิ่ งเป็นสาธารณสมบัติของ
แผ่นดิน ในตอนท่ีโจทก์โอนที่ดินให้เป็นที่สาธารณประโยชน์ นอกจากนี้หลังจาก
โจทก์โอนพื้นที่พิพาทให้เป็นสาธารณประโยชน์แก่ทางราชการแล้ว โจทก์ยังมีภาระ
ผูกพันท่ีจะต้องดาเนินการปรบั ปรุงสาธารณสมบัติของแผ่นดินดงั กล่าวให้มีสภาพ
เป็นถนนคอนกรีตและก่อสร้างสาธารณูโภคต่าง ๆ ดังนี้ การที่จาเลยท่ี 1 และท่ี 2
ปลูกสิ่งปลูกสร้างรุกล้าพ้ื นที่พิ พาทและเข้าไปใช้ประโยชน์พื้ นที่พิ พาทอันเป็นการ
รบกวนขัดขวางโจทก์ในการบริหารจัดการพ้ื นท่ีพิ พาทส่วนที่ 2 และส่วนท่ี 3 ซ่ึง
เป็นสาธารณสมบัติของแผน่ ดนิ ทโ่ี จทกม์ ีสิทธเิ หนือกว่าจาเลยท่ี 1 และท่ี 2 จึงทาให้
เกิดความสียหายเป็นพิ เศษ แก่โจทก์และถือเป็นการกระทาละเมิดต่อโจทก์ โจทก์
จงึ มีอานาจฟอ้ งขบั ไลจ่ าเลยที่ 1 และที่ 2 กับมสี ทิ ธเิ รยี กค่าเสียหายได้

รายงานประจาปี ๒๕๖๓ หนา้ | ๙๓

คาพิ พากษาศาลฎกี าที่ 1502/2563

ระหว่างพิจารณาคดีของศาลช้ันต้น โจทก์แถลงยอมรับตามรายงานกระบวน
พิ จารณา ลงวันที่ 5 มีนาคม 2561 ว่า คดีอาญาหมายเลขดาที่ 4370/2560 ของศาล
จังหวดั สงขลา นางสาว ว. ได้นาเงนิ จานวน 85,000 บาท ไปวางต่อศาลเพื่อบรรเทาความ
เสียหายใหแ้ กโ่ จทก์คดีนี้ คงเหลือต้นเงินอีก 500 บาท พร้อมดอกเบ้ีย ข้อเท็จจริงจึงเปน็ ที่
ยุติแล้วว่า โจทก์ได้รับชาระค่าเสียหายจากการกระทาละเมิดจากนางสาว ว. แล้ว การท่ีศาล
อุทธรณ์วินิจฉัยให้จาเลยชาระเงินจานวนดังกล่าวให้แก่โจทก์อีก จึงเป็นการฝ่าฝืน
บทบญั ญัติแห่งกฎหมายว่าดว้ ยการรบั ฟงั พยานหลกั ฐานตามประมวลกฎหมายวธิ ีพิจารณา
ความแพ่ ง มาตรา 84 และไม่มีความเสียหายอันใดท่ีโจทก์จะมีสิทธิเรียกร้องให้จาเลยชดใช้
แก่โจทก์ได้อีก เห็นว่าการที่โจทก์แถลงรับต่อศาลช้ันต้นตามรายงานกระบวนพิ จารณา
ดังกลา่ ว มผี ลเท่ากับคู่ความรับกันแลว้ ในศาลว่า นางสาว ว. ไดน้ าเงินจานวน 85,000 บาท
ไปวางต่อศาลชาระค่าเสียหายให้แก่โจทก์คดีนี้ซ่ึงเป็นโจทก์ร่วมในคดีอาญาหมายเลขดาที่
4370/2560 ของศาลจังหวัดสงขลา ข้อเท็จจริงเป็นอันยุติตามคารับของคู่ความ ศาล
อุทธรณ์ไม่อาจวินิจฉัยเป็นอย่างอ่ืนได้ การท่ีศาลอุทธรณ์วินิจฉัยว่า การวางเงินของ
นางสาว ว. เป็นการวางเงินบรรเทาผลร้ายเพื่ อให้ศาลใช้ดุลพิ นิจลงโทษสถานเบาในคดี
ดังกล่าวไม่เกี่ยวกับคดีน้ี จึงไม่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิ จารณาความแพ่ ง มาตรา
84 (3) ประกอบพระราชบัญญัติวิธีพิ จารณา คดีผู้บริโภค พ.ศ. 2551 มาตรา 7 ปรากฏว่า
คดีอาญาหมายเลขดาที่ 4370/2560 ของศาลจังหวัดสงขลา นางสาว ว. ต้องรับผิดชาระ
ค่าเสียหายให้แก่โจทก์คดีนี้ซ่ึงเป็นโจทก์ร่วมในคดีดังกล่าวในมูลหนี้ละเมิด ส่วนคดีน้ีจาเลย
ต้องรบั ผดิ ชาระค่าเสียหายให้แก่โจทก์ในมูลหน้ีฝากทรพั ย์ แมจ้ าเลยและนางสาว ว. ไม่ไดเ้ ป็น
คู่ความในคดีเดียวกนั แตค่ ่าเสียหายที่นางสาว ว. และจาเลยตอ้ งรับผดิ เปน็ จานวนเดยี วกัน
ถือเป็นหน้ีอันจะแบ่งกันชาระมิได้ มีผลให้นางสาว ว. และจาเลยต้องรับผิดเช่น อย่างลูกหน้ี
ร่วมกัน ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 301 การที่นางสาว ว. วางเงินชาระ
ค่าเสียหายให้แก่โจทก์ ย่อมได้ประโยชน์แก่จาเลยด้วย ตามประมวลกฎหมายแพ่ งและ
พาณิชย์ มาตรา 292 วรรคหน่ึง จึงต้องนาเงินที่นนางสาว ว. วางชาระค่าเสียหายใน
คดีอาญาหมายเลขดาที่ 4370/2560 ของศาลจังหวัดสงขลา มาหักออกจากค่าเสียหายที่
จาเลยต้องรบั ผิดในคดีนี้ท่ศี าลอุทธรณ์ไม่นาเงินท่ี นางสาว ว. วางตอ่ ศาลมาหักออกจากหนี้
ทจ่ี าเลยจะตอ้ งรบั ผิดชาระแก่โจทก์ในคดีนี้ ศาลฎีกาไม่เห็นพ้องด้วย

รายงานประจาปี ๒๕๖๓ หนา้ | ๙๔

คาพิ พากษาศาลฎกี าที่ 1592/2563

ความผิดฐานก่อสร้างดัดแปลงอาคารโดยไม่ได้รับใบอนุญาตเกิดขึ้น
นับแต่วันก่อสร้างอาคารต่อเนื่องกันไปจนถึงวันปลูกสร้างอาคารเสร็จ อายุความ
ฟอ้ งร้องต้องเริ่มนับถัดจากวันที่ก่อสร้างดัดแปลงอาคารเสร็จลง ข้อเท็จจริงไม่
ปรากฏว่าจาเลยเริ่มก่อสร้างหรือดัดแปลงซุ้มหลังใดเสร็จลงต้ังแต่เม่ือใด คงรับ
ฟงั ได้เพียงว่าจาเลยกอ่ สร้างหรือดัดแปลงซุ้มเสร็จปี 2547 ซึ่งแม้ข้อเท็จจริงฟงั
ได้ว่าจาเลยจะซ่อมแซมปรับปรุงหลังคาซุ้มทุก 2 ปี แต่การเปลี่ยนหลังคาซึ่งมุง
ด้วยหญ้าแฝกเดิมที่หมดสภาพแล้วมุงใหม่ มิใช่เป็นการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง
ของซุ้ม แต่เป็นการซ่อมเปลี่ยนหลังคาเพ่ือปรับปรุงให้ซุ้มอยู่ในสภาพเดิมที่ใช้งาน
ได้เพ่ือรองรับนักท่องเท่ียว อันเป็นเพียงการซ่อมแซมส่ิงกอ่ สร้างเท่าน้ัน มิใช่การ
ก่อสร้างดัดแปลง หรือเคล่ือนย้ายอาคารที่จะต้องได้รับใบอนุญาตจากเจ้า
พนักงานท้องถ่ิน เมื่อโจทก์นาคดีมาฟอ้ งเกินกว่า 5 ปี นับแต่ปี 2547 ซึ่งเป็น
ช่วงเวลาที่จาเลยก่อสร้างอาคารเสร็จโดยไม่ได้รับอนุญาต คดีสาหรับความผิด
ฐานก่อสร้างอาคารโดยไม่ได้รับใบอนุญาตจากเจ้าพนักงานท้องถ่ิน และฐาน
ก่อสร้างอาคารเพื่อพาณิชยกรรมโดยไม่ได้รบั ใบอนุญาตจากเจา้ พนักงานท้องถน่ิ
จงึ ขาดอายุความ

เมื่อข้อเท็จจริงฟงั ได้ว่าที่ดินเกิดเหตุเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดนิ
ประเภท เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะ เป็นท่ีดินราชพัสดุ เป็นท่ีดินของรัฐ
และเป็นที่ดินที่อยู่ในเขตพระราชกฤษฎีกาหวงห้ามที่ดินเพ่ื อการจัดตั้งนิคมสร้าง
ตนเองจังหวัดลพบุรี ประชาชนไม่สามารถเข้ามาใช้ประโยชน์ได้เว้นแต่ได้รับ
อนุญาตจากนิคมสร้างตนเองจังหวัดลพ บุรี ดังน้ัน การที่จาเลยยึดถือ
ครอบครองและปลูกสร้างสิ่งปลูกสร้างโดยปราศจากเหตุอันจะอ้างตามกฎหมาย
ได้ ศาลฎีกาย่อมมีอานาจส่ังให้จาเลย คนงาน ผู้รับจ้าง ผู้แทนและบริวารของ
จาเลยออกไปจากทด่ี นิ ทเี่ กิดเหตไุ ด้

รายงานประจาปี ๒๕๖๓ หน้า | ๙๕

คาพิ พากษาศาลฎีกาที่ 2066/2563

โจทก์ฟอ้ งว่า เม่ือวันท่ี 7 มีนาคม 2539 นาย จ. ได้ทาสัญญากู้เงินจาก
ธนาคารกรุงเทพฯ พาณิชย์การ จากัด (มหาชน) ต่อมาธนาคารได้โอนสิทธิเรียกร้องใน
หนี้รายนี้แก่บรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย และในวันที่ 1 สิงหาคม 2555 บรรษัทบริหาร
สินทรัพยไ์ ทย ไดโ้ อนสทิ ธเิ รยี กรอ้ งดังกลา่ วแก่โจทก์ กอ่ นฟอ้ งโจทกม์ หี นังสอื บอกกล่าว
บังคับจานองและแจ้งการโอนสิทธิเรียกร้องไปยังนายจารึกทางไปรษณีย์ลงทะเบียน
และทางหนังสอื พิมพ์สายกลางรายวัน แตน่ าย จ.เพิกเฉย ทาใหโ้ จทก์ไดร้ ับความเสียหาย
นายจารึกถึงแก่ความตายแล้ว จาเลยในฐานะทายาทโดยธรรมของนายจารึกจึงมีหน้าท่ี
ต้องชาระหนแ้ี ก่โจทก์

หากจาเลยไม่ชาระหรอื ชาระไม่ครบให้ยึดทรัพย์จานองและทรัพย์สนิ อื่นของ
จาเลยออกขายทอดตลาดนาเงนิ ชาระหนีแ้ ก่โจทก์จนครบ

จาเลยขาดนดั ยืน่ คาใหก้ าร

ศาลชนั้ ต้นพิจารณาแล้วพิพากษายกฟอ้ ง

ศาลอทุ ธรณภ์ าค 1 แผนกคดผี บู้ รโิ ภค พิพากษายนื

ศาลฎีกาแผนกคดีผู้บริโภคตรวจสานวนประชุมปรึกษาแล้ว ข้อเท็จจริงรับ
ฟงั ได้ว่าเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2555 บรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทยได้ทาสัญญาโอน
สินทรัพย์คดีนใี้ หแ้ กโ่ จทก์และเมอ่ื วันท่ี 14 พฤษภาคม 2556 บรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย
ได้โอนสิทธิการรับจานองของ นาย จ. และโจทก์จดทะเบียนเป็นผู้รับจานองที่ดินโฉนด
เลขท่ี 18906 พร้อมส่ิงปลูกสร้าง เมื่อวันที่ 17 เมษายน 2558 นาย จ. ถึงแก่ความตาย
มีจาเลยเปน็ มารดา มฐี านะเปน็ ทายาทโดยธรรมของผตู้ าย

คดนี ีม้ ปี ญั หาที่ตอ้ งวนิ จิ ฉัยตามทโี่ จทก์ไดร้ บั อนุญาตใหฎ้ กี าว่า นาย จ. เปน็
หนี้โจทก์ตามฟอ้ งหรือไม่ เห็นว่า โจทก์เป็นสถาบันการเงิน จดทะเบียนเป็นบริษัทบริหาร
สินทรัพย์ตามพระราชกาหนดบริษัทบริหารสินทรัพย์ พ.ศ. 2541 มีวัตถุประสงค์ดาเนิน
กิจการรับซ้ือหรอื รับโอนสนิ ทรัพย์ด้อยคุณภาพจากสถาบันการเงิน โจทกม์ ีสญั ญากู้เงิน
เปน็ พยานหลกั ฐาน เมื่อวันท่ี 1 มนี าคม 2539

รายงานประจาปี ๒๕๖๓ หน้า | ๙๖

คาพิ พากษาศาลฎีกาท2ี่ 066/2563 (ตอ่ )

นาย จ. ทาสัญญากู้เงินกับธนาคารกรุงเทพฯ พาณิชย์การ จากัด (มหาชน)
ต่อมาธนาคารกรุงเทพฯ พาณิชย์การ จากัด (มหาชน) ได้โอนสินทรัพย์รวมถึงสิทธิ
เรียกร้องท่ีมีต่อนาย จ. ให้แก่บรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทยได้ทาสัญญาโอนสินทรัพย์รวมถึง
สิทธิเรียกร้องที่มีต่อนาย จ. ให้แก่โจทก์ ตามสัญญาโอนสินทรัพย์ โจทก์ได้จดทะเบียนเป็น
ผู้รับจานองที่ดินโฉนดเลขที่ดังกล่าว และโจทก์ได้บอกกล่าวกาณโอนสิทธิเรียกร้องให้นาย
จ. ทราบแล้ว เมื่อนาย จ. ถึงแก่ความตายจาเลยในฐานะทายาทยังมิได้ชาระหนี้และไถ่ถอน
จานอง อีกท้ังโจทก์ได้นาส่งต้นฉบับโฉนดท่ีดินดังกล่าวแก่เจ้าพนักงานบังคับคดีเพื่ อ
ดาเนินการขายทอดตลอดต่อไปแล้ว เม่ือโจทก์มีพยานเอกสารมาแสดงเป็นหลักฐาน
เชื่อมโยงสอดคล้องกันเป็นลาดับ ข้อเท็จจริงจึงรับฟงั ได้ว่านาย จ. ผู้จานองค้างชาระหนี้
เงนิ ตน้ เป็นเงนิ ตามทโี่ จทกฟ์ อ้ ง ฎกี าขอ้ นีข้ องโจทก์ฟงั ขนึ้

คดีมีปัญหาต้องวินิจฉัยต่อไปว่า นาย จ. ค้างชาระดอกเบี้ยจนถึงวันฟอ้ ง
ตามท่ีโจทก์ฟอ้ งหรือไม่ เห็นว่า โจทก์บรรยายฟอ้ งว่านับแต่นาย จ. กู้เงินจากธนาคาร นาย
จ. มิได้ชาระหนี้เป็นประจาทุกเดือนอันเป็นการผิดนัดผิดสัญญา ธนาคารมีสิทธิเรียกให้ชาระ
หน้ีทั้งหมดคืนได้ทันที โดยโจทก์มีการ์ดบัญชีลูกหน้ีและรายการคานวณภาระเงินต้นและ
ดอกเบ้ียค้างรับ มาแสดงว่า ณ วันท่ี 1 ตุลาคม 2555 จาเลยมีภาระหนี้เป็นดอกเบี้ยค้างรบั
1,978,181.56 บาท แต่เอกสารดังกล่าวเป็นเพียงเอกสารดังกล่าวเป็นเพียงเอกสารท่ีโจทก์
ทาขึ้นเอง ซึ่งมีอยู่เพียงสองแผ่นเพื่อแสดงว่าโจทก์คานวณดอกเบ้ียผิดนัดต่อจากยอดหน้ี
ค้างชาระเดิมของจาเลยนับแต่วันที่ 1 มกราคม 2556 ถึงวันท่ี 16 มิถุนายน 2559 แต่ไม่
ปรากฏรายละเอียดข้อเท็จจริงว่า นับแต่นาย จ. กู้ยืมเงินธนาคารกรุงเทพฯ พาณิชย์การ
เม่ือปี 2539 นาย จ. เริ่มผิดนัดชาระหน้ีมาตั้งแต่เม่ือใด ธนาคารเริ่มคานวณดอกเบี้ยผิดนัด
วันใด มีการคิดอัตราดอกเบี้ยผิดนัดในอัตราเท่าใด และการคิดคานวณดอกเบี้ยผิดนัด
ถูกต้องตามประกาศอัตราดอกเบ้ียสูงสุดของธนาคารกรุงเทพฯ พาณิชย์การ ในขณะนั้น
หรือไม่ ซึ่งข้อเท็จจริงดังกล่าวเป็นข้อเท็จจริงเก่ียวกับการให้บริการท่ีอยู่ในความรู้เห็น
โดยเฉพาะของธนาคารและโจทก์ซึ่งเป็นผู้ประกอบการธุรกิจ ภาระการพิสูจน์จึงตกแก่โจทก์
ตามพระราชบัญญัติวิธีพิ จารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ. 2551 มาตรา 29 เมื่อโจทก์มีภาระการ
พิสูจน์แตไ่ ม่อาจนาสืบพิสูจน์ข้อเท็จจริงตามทกี่ ลา่ วอา้ งได้ คดจี งึ รับฟงั ไม่ได้ว่า นาย จ. ผดิ
นดั ชาระหนีแ้ ละมยี อดดอกเบ้ยี คงค้างนบั ถึงวันฟอ้ ง อย่างไรก็ตาม

รายงานประจาปี ๒๕๖๓ หน้า | ๙๗


Click to View FlipBook Version