The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมเล่มการวิจัยชั้นเรียนพร้อมหน้าปก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tantiwa1999, 2022-01-23 23:23:08

รวมเล่มการวิจัยชั้นเรียนพร้อมหน้าปก

รวมเล่มการวิจัยชั้นเรียนพร้อมหน้าปก

การวจิ ยั ชนั้ เรยี น (Classroom Research)
: กระบวนการสรา้ งความรเู้ พอื่ ใชพ้ ฒั นาการเรยี นการสอน

ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.จตภุ มู ิ เขตจตั รุ สั
คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่

(เอกสารภายใตโ้ ครงการบรกิ ารวชิ าการสรา้ งความเขม้ แขง็
ดา้ นการวจิ ยั ชนั้ เรยี น สำ� หรบั ครปู ระจำ� การในภมู ภิ าคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื

ประจำ� ปงี บประมาณ 2562)

i

ค�ำน�ำ

หนังสือการวิจัยช้ันเรียน : กระบวนการสร้างความรู้เพื่อใช้พัฒนา
การเรียนการสอนเล่มนี้ เป็นผลผลิตจากโครงการบริการวิชาการสร้าง
ความเขม้ แขง็ ดา้ นการวจิ ยั ชน้ั เรยี น สำ� หรบั ครปู ระจำ� การในภมู ภิ าคตะวนั ออก
เฉยี งเหนอื ประจำ� ปงี บประมาณ 2562 ของมหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ มเี ปา้ หมาย
เพื่อบริการความรู้เชิงวิชาการสู่ชุมชนและสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
(Professional Learning Community) ดา้ นการวจิ ยั สำ� หรบั ครแู ละผสู้ นใจ
ทวั่ ไป

หนงั สอื เลม่ น้ีไดร้ วบรวมแนวคิด ความรู้ดา้ นการวิจยั การออกแบบ
การวจิ ยั และการเขยี นรายงานวจิ ยั ชนั้ เรยี น ดว้ ยภาษาและรปู แบบทพี่ ยายาม
ไม่ให้เป็นวิชาการมากนัก เพ่ือให้เป็นความรู้ท่ีเหมาะสมกับการน�ำไปใช้ของ
กลุ่มครูอาจารย์ที่จะน�ำไปออกแบบการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
ท่ีเชื่อมโยงกับประเด็นปัญหาทางด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ในช้ันเรยี นของตนเอง นอกจากนย้ี ังมีตัวอยา่ งงานวิจัยเชงิ ปฏิบตั กิ ารของครู
ผู้ท่ีได้ด�ำเนินการแล้วประสบความส�ำเร็จให้ได้ศึกษาเพื่อน�ำไปปรับใช้หรือ
ตอ่ ยอดความคดิ และที่ส�ำคัญในหนงั สอื เลม่ น้ยี ังมีสว่ นท่เี ปน็ สมุดบนั ทกึ วจิ ยั
(Classroom Research Note) ท่ีอยู่ท้ายเล่ม เพ่ือเป็นการฝึกปฏิบัติการ
ในการออกแบบงานวิจยั ของตนเองไดอ้ กี ด้วย

หวงั เปน็ อยา่ งยง่ิ วา่ หนงั สอื เลม่ นจ้ี ะเปน็ ประโยชนต์ อ่ ผศู้ กึ ษาคน้ ควา้
และน�ำไปใช้ประโยชนไ์ ดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพสูงสดุ

ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.จตุภูมิ เขตจัตรุ ัส
มถิ ุนายน 2562

อเี มลติดต่อ: [email protected]
โทรศพั ท์ 08-2539-1539

การวิจัยชั้นเรียน (Classroom Research):
กระบวนการสร้างความรู้เพื่อใช้พัฒนาการเรียนการสอน

iii

การวิจยั ของครูเปน็ กระบวนการสรา้ งวฒั นธรรมคุณภาพ
ในโรงเรียนที่จะเปน็ สว่ นส�ำคญั ชว่ ยพัฒนา
ศกั ยภาพครูในการจัดการเรยี นรูแ้ ละ

สร้างการเปลยี่ นแปลงท่ดี ีให้เกิดขึ้นกับนกั เรยี น
ตลอดจนการพฒั นาวชิ าชพี อยา่ งตอ่ เน่ือง

การวิจัยชั้นเรียน (Classroom Research):
กระบวนการสร้างความรู้เพื่อใช้พัฒนาการเรียนการสอน

v

สารบญั

หน้า
ตอนท่ี 1 บริบทการเปล่ียนแปลงทางการศกึ ษากับการวจิ ยั ของครู 1
● การศกึ ษาช้ันเรยี น (Lesson Study) 7
● ความสำ� คญั ของการวจิ ัยชั้นเรียน (Classroom Research) 10
● ความจ�ำเปน็ ท่คี รูตอ้ งทำ� วิจยั 11
● การวจิ ัยในบรบิ ทโรงเรียน 14
● กระบวนการวจิ ยั 18
● กระบวนการจดั การเรียนรทู้ ่ีใช้กระบวนการวิจยั เป็นฐาน 19

ตอนท่ี 2 ขัน้ ตอนดำ� เนินงานวิจัยช้ันเรยี น 23
ขั้นตอน 1. การก�ำหนดปญั หาวิจัย 23
ขน้ั ตอน 2. การตง้ั วัตถุประสงคแ์ ละชือ่ เร่ืองวิจัย 31
ขน้ั ตอน 3. การพัฒนานวตั กรรม 35
ขน้ั ตอน 4. การเลือกประเภทของการวิจัย 44
ขน้ั ตอน 5. การกำ� หนดตัวอยา่ ง (Sampling Design) 59
ขน้ั ตอน 6. การออกแบบเครื่องมอื วจิ ัย 62
ขัน้ ตอน 7. การเลือกวิธีการวิเคราะหข์ อ้ มูล 69
ข้นั ตอน 8. การเขยี นรายงานวิจยั 78
82
● คณุ ภาพของงานวจิ ยั 84
● เกณฑ์การพจิ ารณาคณุ ภาพของงานวจิ ัยช้นั เรียน

การวิจัยชั้นเรียน (Classroom Research):
กระบวนการสร้างความรู้เพื่อใช้พัฒนาการเรียนการสอน

vi หน้า
86
สารบญั (ตอ่ ) 86
97
106
125
ตอนท่ี 3 ตัวอย่างงานวิจยั 154
● ตวั อยา่ งงานวจิ ยั เรอื่ งท่ี 1 195
● ตัวอยา่ งงานวจิ ยั เร่ืองที่ 2 197
● ตวั อย่างงานวจิ ัยเรือ่ งที่ 3 197
● ตัวอย่างงานวิจยั เรอ่ื งท่ี 4 198
ตอนที่ 4 ตัวอยา่ งเครื่องมือวิจัย และหัวข้อวจิ ยั 198
ตอนท่ี 5 สมุดบนั ทกึ วิจยั 199
201
1. ช่ือเร่อื งวิจัยและช่อื ครูนกั วิจัย 202
2. เหตผุ ลที่ตอ้ งทำ� งานวจิ ัยเรื่องน้ี 203
3. วัตถปุ ระสงค์ของงานวจิ ัย 205
4. เป้าหมายที่ต้องการแก้ไขปญั หา 207
5. วธิ ีการที่น�ำมาใชแ้ กไ้ ขปัญหา (นวัตกรรม) 208
6. คณุ ครูจะมีวิธีดำ� เนนิ การวิจยั อยา่ งไรบา้ ง 211
7. แผนจัดการเรียนรู้
8. บันทกึ จากการสะทอ้ นผล (Reflection)
9. สรุปผลการพฒั นาผ้เู รียน
10. สิ่งทคี่ รูนกั วิจยั ได้เรยี นรู้ จากการทำ� งานวิจัย
● บรรณานกุ รม
● ประวตั ผิ เู้ ขยี น

1

ตอนที่ 1 บรบิ ทการเปลย่ี นแปลงทางการศกึ ษากบั การวจิ ยั ของครู

การจดั การศกึ ษาในศตวรรษที่ 21 (คศ. 2001 – 2100) มงุ่ เนน้ การ
จดั การเรยี นรตู้ ามสภาพจรงิ (Authentic Learning) เชอื่ มโยงกบั สถานการณ์
ในชวี ติ ประจำ� วนั ของผเู้ รยี น หรอื สถานการณใ์ นโลกความจรงิ (Real World)
เพ่ือเตรียมผู้เรียนให้มีทักษะในศตวรรษที่ 21 ท่ีพร้อมท�ำงานในอนาคต
กลุ่มขบั เคลือ่ นสำ� คัญในเร่อื งนี้คอื กลุม่ ภาคหี ุน้ ส่วนเพ่ือทกั ษะศตวรรษที่ 21
(Partnership for 21st Century Skills, 2009) ไดเ้ สนอกรอบของการจดั การ
ศึกษาในศตวรรษที่ 21 ประกอบด้วย 2 สว่ นสำ� คัญ ส่วนท่ี 1 ผลการเรียนรู้
ของผ้เู รียน (Student Outcomes) ประกอบดว้ ย 3 ส่วน ไดแ้ ก่ การเรยี น
ในสาระวชิ าหลกั (Core Subjects) ทตี่ อ้ งมคี วามสามารถในการอา่ นออก เขยี นได้
คดิ คำ� นวณได้ คณุ ลกั ษณะสำ� คญั ทผี่ เู้ รยี นตอ้ งมี ไดแ้ ก่ ความตระหนกั เกย่ี วกบั โลก
ความเขา้ ใจและปฏบิ ตั เิ ปน็ ในดา้ นการเงนิ เศรษฐกจิ ธรุ กจิ และผปู้ ระกอบการ
ความเป็นพลเมืองท่ีดี การด�ำเนินชีวิตให้เป็นผู้มีสุขภาพดี การรู้เรื่อง
ด้านสิ่งแวดล้อม ทักษะส�ำคัญท่ีผู้เรียนต้องมี ได้แก่ ทักษะการเรียนรู้และ
นวตั กรรม ทักษะดา้ นขอ้ มลู สารสนเทศ ส่ือ และเทคโนโลยี ทกั ษะด้านชวี ิต
และอาชพี ส่วนที่ 2 ระบบสนบั สนุนการจดั การศึกษา (Support Systems)
ได้แก่ มาตรฐานและการประเมินผล (Standard and Assessments)
หลกั สตู รและวธิ กี ารสอน (Curriculum and Instruction) การพฒั นาวชิ าชพี
ให้แก่ครแู ละผู้บริหาร (Professional Development) และสภาพแวดลอ้ ม
ทางการเรยี นรู้ (Learning Environments) ดังภาพท่ี 1

การวิจัยชั้นเรียน (Classroom Research):
กระบวนการสร้างความรู้เพื่อใช้พัฒนาการเรียนการสอน

2

ภาพท่ี 1 กรอบแนวคดิ การจดั การศกึ ษาในศตวรรษท่ี 21

ทมี่ าภาพ: พรี ะ พนาสภุ น (2557)

ลกั ษณะการจดั การศกึ ษาในศตวรรษท่ี 21
ภาพรวมของการจดั การศึกษา การจดั การศกึ ษาในศตวรรษที่ 21
จะมีความยืดหยุ่น สร้างสรรค์ ท้าทาย และซับซ้อน เป็นการศึกษาที่จะ
ท�ำใหโ้ ลกเกดิ การเปลีย่ นแปลงอยา่ งรวดเรว็ อย่างเต็มไปดว้ ยสิง่ ทา้ ทาย และ
ปัญหา รวมท้ังโอกาสและส่ิงที่เป็นไปได้ใหม่ๆ ที่น่าต่ืนเต้น โรงเรียนใน
ศตวรรษที่ 21 จะเปน็ โรงเรยี นทม่ี หี ลกั สตู รแบบยดึ โครงงานเปน็ ฐาน (project
-based curriculum) เปน็ หลกั สตู รท่ใี ห้นักเรยี นเกีย่ วข้องกบั ปัญหาในโลก
ที่เป็นจริง เป็นประเด็นที่เก่ียวข้องกับความเป็นมนุษย์ และค�ำถามเกี่ยวกับ
อนาคตเชิงวฒั นธรรม สังคม และสากล
ภาพของโรงเรียน จะเปลี่ยนจากการเป็นส่ิงก่อสร้างเป็นภาพ
ของการเปน็ ศนู ยร์ วมประสาท (nerve centers) ทไ่ี มจ่ ำ� กดั อยแู่ ตใ่ นหอ้ งเรยี น
แต่จะเช่ือมโยงครู นักเรียนและชุมชน เข้าสู่ขุมคลังแห่งความรู้ทั่วโลก
ครูเองจะเปล่ียนจากการเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ไปเป็นผู้สนับสนุนช่วยเหลือ

3
ใหน้ กั เรยี นสามารถเปลยี่ นสารสนเทศเปน็ ความรู้ และนำ� ความรเู้ ปน็ เครอ่ื งมอื
สกู่ ารปฏบิ ตั แิ ละใหเ้ ปน็ ประโยชน์ เปน็ การเรยี นรเู้ พอื่ สรา้ งความรู้ และตอ้ งมี
การสรา้ งวัฒนธรรมการสืบคน้ (create a culture of inquiry)

ภาพของการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 การให้การศกึ ษาตามทฤษฎี
การเรียนรู้ของบลูม (Bloom´s Taxonomy of Learning) จะเปล่ียนไป
เนน้ ทกั ษะการเรยี นรขู้ นั้ ทส่ี งู ขนึ้ (higher order learning skills) โดยเฉพาะ
ทักษะการประเมินค่า (evaluating skills) จะถูกแทนท่ีโดยทักษะการน�ำ
เอาความรใู้ หมไ่ ปใช้อย่างสรา้ งสรรค์ (ability to use new knowledge in
a creative way) ในอดีตที่ผ่านมา นักเรียนไปโรงเรียนเพ่ือใช้เวลาในการ
เรียนรายวิชาต่างๆ เพ่ือรับเกรด และเพื่อให้จบการศึกษา แต่ในปัจจุบัน
จะพบปรากฏการณใ์ หมท่ แ่ี ตกตา่ งไป เชน่ การเรยี นการสอนทชี่ ว่ ยใหน้ กั เรยี น
ไดเ้ ตรียมตวั เพื่อใชช้ ีวิตในโลกท่ีเป็นจรงิ (life in the real world) เนน้ การ
ศึกษาตลอดชีวิต (lifelong learning) ด้วยวิธีการสอนที่มีความยืดหยุ่น
(flexible in how we teach) มกี ารกระตุน้ และจงู ใจใหผ้ ู้เรยี นมีความเป็น
คนเจ้าความคิดเจ้าปัญญา (resourceful) ท่ียังคงแสวงหาการเรียนรู้แม้จะ
จบการศึกษาออกไป

ภาพของหลกั สตู ร ในศตวรรษที่ 21จะเปน็ หลกั สตู รทเ่ี นน้ คณุ ลกั ษณะ
เชงิ วพิ ากษ์ (criticalattributes)เชงิ สหวทิ ยาการ(interdisciplinary) ยดึ โครงงาน
เป็นฐาน (project-based) และขบั เคลอ่ื นด้วยการวจิ ัย (research-driven)
เช่อื มโยงท้องถิ่นชมุ ชนเขา้ กับภาค ประเทศ และโลก ในบางโอกาสนกั เรยี น
สามารถรว่ มมอื (collaboration) กบั โครงงานตา่ งๆ ไดท้ วั่ โลก เปน็ หลกั สตู ร
ทเี่ นน้ ทกั ษะการคดิ ขน้ั สงู พหปุ ญั ญา เทคโนโลยแี ละมลั ตมิ เี ดยี ความรพู้ นื้ ฐาน
เชิงพหุส�ำหรับศตวรรษท่ี 21 และการประเมินผลตามสภาพจริง รวมทั้ง
การเรยี นรจู้ ากการใหบ้ รกิ าร (service) กเ็ ปน็ องคป์ ระกอบทสี่ ำ� คญั หลกั สตู ร

การวิจัยช้ันเรียน (Classroom Research):
กระบวนการสร้างความรู้เพื่อใช้พัฒนาการเรียนการสอน

4
และการสอนจะมีลักษณะท้าทายส�ำหรับนักเรียนทุกคน และค�ำนึงถึงความ
แตกต่างระหว่างบุคคล หลักสูตรจะไม่เน้นการยึดต�ำราเป็นตัวขับเคลื่อน
(textbook-driven) หรอื แบบแยกสว่ น (fragmented) เชน่ ในอดตี แตจ่ ะเปน็
หลกั สตู รแบบยดึ โครงงานและการบรู ณาการ การสอนทกั ษะและเนอื้ หาจะไม่
เป็นจุดหมายปลายทางเชน่ ท่ีเคยเปน็ มา แต่นกั เรียนจะต้องมกี ารเรียนรูผ้ า่ น
การวจิ ยั และการปฏบิ ตั ใิ นโครงงาน การเรยี นรจู้ ากตำ� ราจะเปน็ เพยี งสว่ นหนง่ึ
เทา่ นน้ั ความรู้ (knowledge) จะไมห่ มายถงึ การจดจำ� ขอ้ เทจ็ จรงิ หรอื ตวั เลข
แตจ่ ะเปน็ สง่ิ ทเี่ กดิ ขน้ึ จากการวจิ ยั และการปฏบิ ตั โิ ดยเชอื่ มโยงกบั ความรแู้ ละ
ประสบการณ์เก่าท่ีมีอยู่ ทักษะและเนื้อหาท่ีได้รับจะเกี่ยวข้องและมีความ
จำ� เปน็ ตอ่ การปฏบิ ตั ใิ นโครงงาน จะไมจ่ บลงตรงทกี่ ารไดร้ บั ทกั ษะและเนอ้ื หา
แล้วเท่าน้ัน ทักษะท่ีคาดหวังส�ำหรับศตวรรษที่ 21 ที่เรียนรู้ผ่านหลักสูตร
ทเ่ี ปน็ สหวทิ ยาการ บรู ณาการ ยดึ โครงงานเปน็ ฐาน และอนื่ ๆ ดงั กลา่ วจะเนน้
เรอื่ ง 1) ทกั ษะการเรยี นรแู้ ละนวตั กรรม (learning and innovation skills) 
2) ทักษะชีวิตและอาชีพ (life and career skills) ทักษะสารสนเทศ
สอื่ และเทคโนโลยี (information, media and technology skills) ทคี่ าดหวงั
ว่าจะเกิดข้ึนได้จากความร่วมมือ (collaboration) ในการท�ำงานเป็นทีม
การคิดเชิงวิพากษ์ (critical thinking) ในปัญหาท่ีซับซ้อน การน�ำเสนอ
ด้วยวาจาและด้วยการเขียน การใช้เทคโนโลยี ความเป็นพลเมืองดี
การฝึกปฏิบตั อิ าชีพ การวิจยั และการปฏบิ ัติสิ่งต่างๆ ทก่ี ล่าวมาขา้ งต้น

ภาพของครู ครูจะมีความส�ำคัญในการออกแบบการจัดการเรียนรู้
ที่มุ่งให้เกิดคุณภาพผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 และเสริมสร้างความผูกพันต่อ
การเรยี นให้กบั ผู้เรยี น (Student Engagement) ให้เกดิ ขึ้น (วจิ ารณ์ พานิช,
2556) ดงั นี้ (1) ครคู วรทำ� ใหผ้ เู้ รยี นเหน็ คณุ คา่ ของสงิ่ ทต่ี นกำ� ลงั เรยี น (2) ครคู วร
จัดห้องเรียนเพื่อสร้างความหวังว่า หากผู้เรียนมานะพยายาม ผู้เรียน

5
จะประสบความสำ� เรจ็ (3) ครคู วรมยี ทุ ธศาสตรแ์ ละการกระทำ� เพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี น
เรยี นจากการลงมอื ทำ� (4) ครคู วรสรา้ งความเปน็ ชมุ ชนในหอ้ งเรยี นใหเ้ กดิ ขน้ึ
(5) ครคู วรทำ� ใหผ้ เู้ รยี นไดร้ บั การทา้ ทายพอดี ไมย่ ากไมง่ า่ ยเกนิ ไป (5) ครคู วร
ท�ำให้ผ้เู รียนได้เรยี นแบบองคร์ วม ทัง้ ความรูค้ วามคิด (Cognitive Domain)
ทกั ษะ/กระบวนการ (Psychomotor Domain) และคณุ ลกั ษณะ (Affective
Domain)

ภาพของผู้เรียน ผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 จะต้องรู้สึกเป็นเจ้าของ
การเรยี นรขู้ องตนเอง ปจั จยั สำ� คญั ทจี่ ะทำ� ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ ความรสู้ กึ เปน็ เจา้ ของ
การเรียนรู้ของตนเองมีหลายองค์ประกอบ ดังนี้ (1) ผู้เรียนมีส่วนร่วมและ
ปฏสิ มั พนั ธก์ บั การเรยี นรู้ (student engagement) (2) ผเู้ รยี นสามารถเรยี นรู้
โดยกำ� กับตนเองได้ (self-regulated learning) (3) ผู้เรยี นสามารถเรียนรู้
โดยการนำ� ตนเองได้ (self-directed learning) (4) ผ้เู รียนสามารถประเมนิ
ตนเอง (self-assessment) เพือ่ ใช้พัฒนาการเรียนร้ขู องตนเอง (5) ผูเ้ รียน
มคี วามเขา้ ใจความคดิ ของตนเองวา่ ตนรอู้ ะไร (metacognitive knowledge)
รวู้ ่าตนทำ� อะไรได้ (metacognitive skills) รูว้ า่ ตนรู้อะไรบ้างเกย่ี วกบั ความ
สามารถในการคิดของตน (metacognitive experience) ซึ่งจะช่วยให้
ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงความรู้ที่จ�ำเพาะเอาไปใช้ในสถานการณ์ใหม่
ที่แตกตา่ งกนั ได้

ภาพของห้องเรียน จะขยายกลายเป็นชุมชนท่ีใหญ่ขึ้น (greater
community) นักเรียนมีคุณลักษณะเป็นผู้ช้ีน�ำตนเองได้ (self-directed)
มีการท�ำงานทั้งอย่างเป็นอิสระและอย่างร่วมมือกับคนอ่ืน บรรยากาศการ
เรียนรู้จะเป็นส่ิงส�ำคัญมากท่ีช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนแสดงศักยภาพออกมา
อย่างเต็มที่ มีพื้นที่แสดงออกอย่างสร้างสรรค์ ครูผู้สอนจะต้องเปิดโอกาส
ใหผ้ เู้ รยี นเปน็ ครซู งึ่ กนั และกนั กลา่ วคอื ใหน้ กั เรยี นรว่ มมอื กนั หรอื ชว่ ยเหลอื กนั

การวิจัยชั้นเรียน (Classroom Research):
กระบวนการสร้างความรู้เพ่ือใช้พัฒนาการเรียนการสอน

6
เรยี นรู้ (Collaborative Learning) ใหป้ ระเมนิ ผลการเรยี น และใหค้ ำ� แนะนำ�
ป้อนกลับซึ่งกันและกัน (Peer Feedback) เพราะการเรียนรู้ที่ดีท่ีสุด
คือการสอนคนอน่ื ผเู้ รยี นท่ตี ้องเป็นครใู หก้ ับผ้อู น่ื เขาตอ้ งมีการพฒั นาตวั เอง
(Wiliam, D. ,2011: วิจารณ์ พานิช, 2557: ซาโต มานาบ,ุ 2559) รวมทัง้
รว่ มกนั สรา้ งความรสู้ กึ เปน็ ชมุ ชนการเรยี นรู้ (Learning Community) ภายใน
หอ้ งเรียน

ภาพของสื่อสนับสนุนการเรียนรู้ ครูผู้สอนจะต้องใช้ส่ือและ
เทคโนโลยมี าสนบั สนนุ การเรยี นรู้ (Digital Learning) เชน่ การเรยี นการสอน
ออนไลน์ e-learning จัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อและยืดหยุ่นต่อการเรียนรู้
ไดท้ กุ ทีท่ กุ เวลา (Flipped Classroom) สง่ เสริมใหผ้ ู้เรยี นไดแ้ สดงศกั ยภาพ
ของตนเองออกมาอย่างเต็มที่

กลา่ วโดยสรุป เมอื่ การจดั การศกึ ษาส�ำหรบั ศตวรรษท่ี 21 มีความ
เปล่ียนแปลงท้ังวิธีการจัดการเรียนการสอนของครู การพัฒนาช้ันเรียน
ท่เี อ้อื ตอ่ การเรยี นรขู้ องนักเรียน การปรบั เปลยี่ นการเรยี นร้ทู ีไ่ ปไกลกว่าการ
ไดร้ ับความรู้แบบง่ายๆ ไปสู่การเนน้ พัฒนาทกั ษะและทศั นคติ ทกั ษะการคดิ
ทักษะการแก้ปัญหา ทักษะองค์การ ทัศนคติเชิงบวก ความเคารพตนเอง
นวตั กรรม ความสรา้ งสรรค์ ทกั ษะการสอ่ื สาร ทกั ษะและคา่ นยิ มทางเทคโนโลยี
ความเชื่อม่ันตนเอง ความยืดหยุ่น การจูงใจตนเอง และความตระหนักใน
สภาพแวดลอ้ ม และทส่ี ำ� คญั คอื ความสามารถใชค้ วามรอู้ ยา่ งสรา้ งสรรค์ (the
ability to handle knowledge effectively in order to use it creatively)
ถอื เปน็ ทกั ษะทส่ี ำ� คญั จำ� เปน็ สำ� หรบั การเปน็ นกั เรยี นในศตวรรษท่ี 21 ถอื เปน็
ส่ิงท่ีท้าทายในการที่จะพัฒนาการเรียนรู้เพื่ออนาคต ให้นักเรียนมีทักษะ
ทัศนคติ ค่านิยม และบุคลิกภาพส่วนบุคคล เพื่อเผชิญกับอนาคตด้วยภาพ
ในทางบวก (optimism) ทีม่ ีท้ังความสำ� เรจ็ และมคี วามสุข

7
การศกึ ษาชน้ั เรยี น (Lesson Study)

การศกึ ษาชน้ั เรยี นเปน็ วธิ ีการพฒั นาวชิ าชพี ครทู เี่ กดิ ขนึ้ มานานและ
เรม่ิ ตน้ ในประเทศญปี่ นุ่ แลว้ ขยายแนวคดิ ออกไปทว่ั โลก สำ� หรบั ประเทศไทย
ผรู้ เิ รมิ่ ในการนำ� แนวทางนมี้ าใชใ้ นโรงเรยี นเปน็ ทา่ นแรกคอื ไมตรี อนิ ทรป์ ระสทิ ธ์ิ
(2546 อา้ งถงึ ใน นฤมล อนิ ทรป์ ระสทิ ธ,ิ์ 2552) นฤมล อนิ ทรป์ ระสทิ ธิ์ (2552)
ไดเ้ ขยี นบทความเพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั การศกึ ษาชน้ั เรยี น (Lesson
Study) ไวว้ ่า การศกึ ษาช้ันเรียนเปน็ นวัตกรรม (Innovation) ท่เี ป็นวธิ ีการ
(Method) หลกั ในการพฒั นาวชิ าชพี ครใู นประเทศญป่ี นุ่ ทเี่ กดิ ขน้ึ เมอื่ รอ้ ยกวา่ ปี
ทผ่ี ่านมา และไดร้ บั การยอมรับตลอดมาวา่ เปน็ วธิ ีการทท่ี ำ� ให้การสอนดีขึน้
อยา่ งยงั่ ยนื มนั่ คง เปน็ แนวทางการพฒั นาวชิ าชพี ครทู ี่ เปน็ การปรบั ปรงุ การสอน
ดว้ ยตวั ของครเู อง (Teacher-led instructional improvement) และเปน็ วธิ กี าร
ที่ครูเป็นผู้ผลักดันให้เกิดการปรับปรุงการสอนด้วยตัวของครูเอง ไม่ต้อง
รอผู้เช่ียวชาญจากภายนอก โดยจุดประสงค์หลักหรือจุดเน้นก็คือนักเรียน
(Student-focused) ดังนนั้ การน�ำ​แนวทางนม้ี าใชใ้ นการพัฒนาวิชาชพี ครู
จึงก่อให้เกดิ ประโยชน์อย่างมากต่อการสอนของครู ไมว่ ่าจะเป็นด้านเนอื้ หา
วิธีการสอนและต่อการเรียนรู้ของนัก เรียน (Lewis,2002; Lewis and
Berry,2006; Shimizu, 2006; Isoda, 2006; Wang, 2006)

ค�ำ​วา่ “การศึกษาชนั้ เรียน” น้เี ป็นคำ� ​ที่ศูนยว์ ิจยั คณิตศาสตรศึกษา
มหาวิทยาลัยขอนแก่นได้คิดข้ึนมาเพื่ อใช้แ ทนค�ำ​ภาษาอังกฤษว่า Lesson
Study โดยคำ� ​นเ้ี ป็นค�ำ​ทใ่ี ช้แทนคำ� ​ว่า jugyokenkyu ในภาษาญป่ี ุ่นค�ำ​วา่
jugyokenkyu ประกอบด้วยคำ� 2 ค�ำ คอื jugyo ซง่ึ หมายถึง ชั้นเรยี น กับ
kenkyu ซงึ่ หมายถงึ การศกึ ษา (study) หรอื การทำ� ​วจิ ยั (research) (Yoshida,
2004) การศกึ ษาชนั้ เรยี น จงึ มคี วามหมายตามตวั อกั ษรวา่ การศกึ ษาหรอื วจิ ยั
หอ้ งเรยี น แตต่ ามความหมายตามวฒั นธรรมของญป่ี นุ่ ทแ่ี ทจ้ รงิ นนั้ เมอ่ื ครญู ปี่ นุ่

การวิจัยช้ันเรียน (Classroom Research):
กระบวนการสร้างความรู้เพ่ือใช้พัฒนาการเรียนการสอน

8
ต้องการสอนนักเรียนด้วยนวัตกรรมการศึกษาช้ันเรียน ส่ิงที่ครูท�ำ​ก็คือ
เขาจะเขา้ รว่ มในกระบวนการทส่ี รา้ งไว้อยา่ งดี ซ่ึงประกอบด้วยการอภปิ ราย
เกย่ี วกบั แผนการสอน (Lessons) ทพี่ วกเขาวางแผนและสงั เกตการสอนรว่ มกนั
แผนการสอนดงั กลา่ วน้เี รียกวา่ kenkyujugyo ซึ่งเป็นค�ำ​ทก่ี ลบั กันกับค�ำ​วา่
jugyokenkyu และแปลตามตวั ว่า ศึกษา หรือ วจิ ยั บทเรียน หรอื กลา่ วให้
เฉพาะเจาะจงลงไป บทเรยี นในความหมายของญป่ี นุ่ มคี วามหมายเฉพาะลงไปวา่
เปน็ สง่ิ ทคี่ นใดคนหนงึ่ ศกึ ษา (The object of one’s study) การศกึ ษาบทเรยี น
หรือการศึกษาชั้นเรียน คือการ “ศึกษา” ด้วยการด�ำเนินตาม ข้ันตอนใน
การพยายามเพอ่ื บรรลุจุดมงุ่ หมายของการวจิ ัยท่ีครูทุกคนเลือกว่าจะทำ� งาน
รว่ มกนั (เชน่ การทำ� ความเขา้ ใจวา่ จะทำ� ​อยา่ งไรจงึ จะสง่ เสรมิ นกั เรยี นใหเ้ ปน็
ผู้เรียนท่สี ามารถเรยี นรู้อยา่ งเป็นอสิ ระ) (นฤมล อินทรป์ ระสทิ ธิ์,2552)

นฤมล อนิ ทรป์ ระสทิ ธิ์ (2552) ไดส้ งั เคราะหแ์ ละสรปุ ขนั้ ตอนของการ
ศกึ ษาชัน้ เรยี นไว้ 5 ขนั้ ตอน ดังน้ี ขนั้ ตอนที่ 1 ครูในกลุม่ การศึกษาชน้ั เรยี น
รว่ มกนั ทำ� ​แผนการจดั การเรยี นรู้ ขนั้ ตอนที่ 2 นำ� ​แผนการจดั การเรยี นรไู้ ปใช้
และสงั เกตชัน้ เรยี น ขัน้ ตอนที่ 3 สะท้อนผลช้นั เรียน ข้นั ตอนที่ 4 สรปุ ผล
การเรยี นรู้ของครู ขัน้ ตอนท่ี 5 ปรับแผนการจดั การเรยี นรู้ โดยในขนั้ ตอน
แตล่ ะขั้นตอนมกี ารดำ� เนนิ การดังนี้

ข้ันตอนท่ี 1 ครูในกลุ่มการศึกษาช้ันเรียนร่วมกันท�ำแผนการ
จดั การเรยี นรเู้ พอ่ื ใชใ้ นภาคเรยี นหนงึ่ ภาคเรยี นใหแ้ ลว้ เสรจ็ ในชว่ งโรงเรยี นปดิ
อาจใชเ้ วลา 2-3 วนั โดยควรอยู่ภายใตก้ ารแนะนำ� ​ของผู้เช่ยี วชาญ ภายนอก
(นักวิจัยจากมหาวทิ ยาลยั หรือศึกษานิเทศก)์ สว่ นกจิ กรรม การต้งั เป้าหมาย
ซงึ่ อยใู่ นขนั้ ตอนที่ 1 ของกระบวนการการศกึ ษาชน้ั เรยี นทค่ี รญู ปี่ นุ่ ใชส้ ามารถ
ปรบั เปลย่ี นโดยการใหค้ รยู ดึ จดุ มงุ่ หมายใหญข่ องโรงเรยี นเปน็ หลกั เนอื่ งจาก
อาจเป็นกจิ กรรมทีส่ ลบั ซับซอ้ นเกินไป

9
ข้ันตอนที่ 2 น�ำแผนการจัดการเรียนรู้ไปใช้และสังเกตช้ันเรียน
ครใู นกลมุ่ ทไ่ี ดร้ บั เลอื กจากเพอื่ นในกลมุ่ ใหเ้ ปน็ ผสู้ อนนำ� ​แผนการจดั การเรยี นรู้
ไปใชใ้ นขณะทค่ี รคู นอน่ื ในกลมุ่ อยา่ งนอ้ ย 1 คน สงั เกตชน้ั เรยี นและจดบนั ทกึ
ปรากฏการณท์ ง้ั หมดท่เี กิดขึ้นในชน้ั เรียน
ขั้นตอนที่ 3 สะท้อนผลช้ันเรียน โดยผู้บริหารและครูทุกคนใน
โรงเรียนร่วมกิจกรรมการ สะทอ้ นผลชนั้ เรยี น ซึง่ จดั สปั ดาหล์ ะหนึ่งครัง้ หลงั
เลิกเรียนของวนั ใดวันหนึ่ง
ขน้ั ตอนที่ 4 สรปุ ผลการเรยี นรขู้ องครโู ดยครู ทำ� ​ภาคเรยี นละ 1 ครง้ั
หลังส้ินสุดภาคเรยี นแต่ละภาค
ขั้นตอนท่ี 5 ปรับแผนการจัดการเรียนรู้ เป็นการปรับแผนการ
จัดการเรียนรแู้ ละสอนใหมอ่ กี คร้งั หนึ่ง เป็นกจิ กรรมท่ที ำ� ​เมือ่ จบปีการศึกษา
โดยให้ครูน�ำแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีเคยใช้แล้วเม่ือปีการศึ กษาท่ีแล้ว
มาอภิปรายถึงข้อดีขอ้ เสียแลว้ ปรับเพ่อื นำ� ​ไปสอนใหมใ่ นปีการศึกษาต่อไป
ส่วนการเขียนรายงานที่ประกอบด้วยแผนการจัดก ารเรียนรู้ข้อมูล
ของนักเรยี นและสะท้อนว่าไดเ้ รยี นรู้อะไร ในชว่ งแรกครยู งั ไมจ่ �ำเปน็ ตอ้ งท�ำ​
เน่ืองจากอาจเป็นภาระของครูมากเกินไป แต่เม่ือโรงเรียนด�ำเนินกิจกรรม
ในกระบวนการการศกึ ษาชนั้ เรยี นไปไดร้ ะยะหนงึ่ ผอู้ ำ� นวยการควรสนบั สนนุ
ใหค้ รเู ขยี นรายงานเพราะการเขยี นรายงานจะเปน็ ประโยชนต์ อ่ ตวั ครอู ยา่ งมาก
ในแง่ที่ครูจะได้สะท้อนผลการเรียนรู้ของตนเ อง รวมท้ังเป็นหลักฐานและ
ผลงานในการทำ� งานของครูทสี่ ามารถน�ำ​ไปใช้ประโยชน์เชงิ วิชาชพี ตอ่ ไป
กล่าวโดยสรุป การศึกษาช้ันเรียนเป็นกิจกรรมเช่นเดียวกับ
กระบวนการของวิจัยที่ต้องด�ำเนินการอย่างเป็นร ะบบและต่อเน่ืองโดยตัว
ครูเองในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ให้ มีประสิท ธิภาพและเกิดประโยชน์
สงู สุดต่อตัวนกั เรยี น

การวิจัยช้ันเรียน (Classroom Research):
กระบวนการสร้างความรู้เพ่ือใช้พัฒนาการเรียนการสอน

10

ความสำ� คญั ของวจิ ยั ชน้ั เรยี น
การวิจยั ชน้ั เรยี น (Classroom Research) เปน็ วจิ ัยทางการศึกษา

รปู แบบหนงึ่ ทม่ี งุ่ คน้ หาคำ� ตอบ คำ� อธบิ าย แนวทางการแกไ้ ขสถานการณป์ ญั หา
ที่เกิดข้ึนในช้ันเรียน และการลงมือปฏิบัติของครูเพื่อแก้ไขปัญหาหรือ
พัฒนาผู้เรียนในด้านผลสัมฤทธ์ิ คุณลักษณะ พฤติกรรม และทักษะ
กระบวนการ มีการด�ำเนินการอย่างเป็นระบบต่อเนื่อง และเชื่อถือได้
พร้อมทั้งมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลการวิจัยท่ีได้อย่างสร้างสรรค์เพื่อสร้าง
ชมุ ชนการเรยี นรวู้ ชิ าชพี (Professional Learning Community) ครทู ท่ี ำ� วจิ ยั
เพ่อื พฒั นาการเรียนการสอน จงึ อาจเรียกไดว้ ่าเป็น “ครูนักวิจยั ”

การวิจยั ชัน้ เรยี นมีเป้าหมายสงู สุดท่ีการพัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รยี น และ
ผลพลอยไดค้ ือการพฒั นาตนเองของครูผ้สู อน สรปุ ความส�ำคัญของการวจิ ยั
ไดด้ ังนี้

1. ช่วยพัฒนาผู้เรียนด้านผลสัมฤทธ์ิ ทักษะกระบวนการ และ
คุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์

2. ช่วยท�ำให้เกิดการปรับปรุงพัฒนาคุณภาพของกระบวนการ
จัดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง (Continuous Quality Improvement)
ที่เป็นประโยชน์ท้ังตัวผู้เรียนและผู้สอน โดยเกิดการเปล่ียนแปลงผ่าน
กระบวนการวจิ ัย

3. ชว่ ยใหค้ รมู วี ถิ ชี วี ติ การทำ� งานอยา่ งเปน็ ระบบ เหน็ ภาพของงาน
ตลอดแนว มีการตัดสินใจทมี่ คี ุณภาพ ช่วยพฒั นาไปสู่ความเปน็ ครูมืออาชพี
(Professional Teacher)

4. เป็นการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Professional Learning
Community)ทีเ่ กิดจากการแลกเปลีย่ นเรียนร้อู งคค์ วามรขู้ องการวจิ ยั

5. น�ำไปสู่การสร้างวัฒนธรรมคุณภาพ (Quality Culture)
ภายในองค์กรที่มีความรู้เป็นฐานของการพัฒนา (Knowledge-based
development)

21 ถือเป็ นสิ่งท่ีทา้ ทายในการท่ีจะพฒั นาการเรียนรู้เพื่ออนาคต ให้นกั เรียนมีทกั ษะ ทศั นคติ ค่านิย
บุคลิกภาพส่วนบุคคล เพื่อเผชิญกับอนาคตด้วยภาพในทางบวก (optimism) ที่มีท้ังความสาเร็จ
ความสุข
11

กการาทรท่ีต้ตี่ออ้งมงมอี องี คง์คคคว์ าวมารมู้ทรท่ี้ถู กูถ่ี สกู รส้ารงา้ ขงึน้ขนึ้อยอ่ายงา่ เหงเมหามะาสะมสกมับกผบั ู้เผรียเู้ รนยี (นA(pAppropprroiaptreidatKendowledge)
Knowledด้gวeยก) รดะว้ บยวกนรกะาบรทวน่ีเชกื่อาถรือทแีเ่ลชะอื่ ตถรอืวแจสลอะบตไรดว้จจสึงอจาบเปไ็ดน้ อจยึง่าจงำ�ยเิ่งปส็นาหอรยับา่ ชงยั้น่ิงเรสีย�ำนหขรอบั งครูในยคุ ปัจจุบัน
ชน้ั เรียนของครูในยคุ ปจั จบุ ัน

การศึกษาช้ันเรียน (Lesson Study)
ความกาจรำ� ศเึปกษน็ าทชคี่้นั รเรตู ียอ้ นงเทป็ำ�นววจิ ธิ ยัีการพฒั นาวชิ าชีพครูที่เกิดข้ึนมานานและเริ่มตน้ ในประเทศญ่ีป่ ุนแล

แนวคิดออกไเปหทตวผุ่ั โลลเชกิงสนาโหยบรับายปรกะฎเทหศมไาทยยผแูรล้ ิเะริ่รมะใเนบกยี าบรนทาี่คแรนูตวอ้ทงาทงน�ำว้ีมิจายัใชม้ใดีนังโนรง้ี เรียนเป็ นท่าน
ไมตรี อินทร์ป1ร.ะ สพิทรธะ์ิ (ร2า54ช6บอัญา้ งญถึงัตใินกานรฤศมึกลษอาินแทหร์ป่งรชะาสติทิแธห์ิ,2่ง5ช52า)ตนิ ฤพม.ลศอ. ิน2ท5ร4์ป2ระสิทธ์ิ (2552) ไ
บทคแวกา้ไมขเพพ่ือิมใเตหิม้เกิด(ฉคบวาับมทเขี่ 3า้ ใ)จพเก.ี่ศยว. ก2ับ5ก5า3รศกึก�ำษหานชด้ันใเหรีย้คนรูต(้อLeงsทso�ำnวิจSัยtuเdพy่ือ) พไวัฒว้ น่าาการศึกษาช้ันเรี
นวตั กการรรจมัด(กInาnรoเรvียatนioกnา) รทสี่เปอ็นวิธ(มีกาาตรร(าMทe่ีth3o0d)) หแลลกั ะใหนค้การรูใชพ้กฒั านราววิจิชัยาเชปีพ็นคกรจิูใกนรปรรมะเทศญี่ป่ ุนที่เกิด
ร้อยกาวรา่ เปรี ทยี ี่ผนา่ รนขู้ มอางแนลักะเไรดยี ร้นับแกลาะรคยรอูม(มรับาตรลาอทด่ีม2า4วา่ (5เป)็)นวธิ ีการท่ีทาให้การสอนดีข้ึนอยา่ งยงั่ ยนื มน่ั
แนวทางการ2พ.ฒั นมาาวติชราฐชาีพนควริูชทาี่ เชป็ีพนกคารรู ปครุรับุสปภราุงกก�ำาหรนสดอนใหด้ผ้วู้ทยต่ีจัวะขปอฏงิบคัตรูเิงอางน(ใTนeacher-led instru
impวroิชvาeชmีพenคtร) ูตแล้อะงมเปีม็ นาวติธรีกฐาารนทคี่ควราูเปม็ นรู้ดผ้าผู นล“กั กดานั รใวหิจ้เัยกิทดกาางรกปารับศึกปษรุงาก”ารเสปอ็นนหดนว้ ึ่งยใตนวั ของครูเอง ไม
ผูเ้ ช่ีมยวาชตารญฐาจนากคภวามยนรขู้ออกงโคดรยู (จมุดาปตระฐสานงควชิ์หาลชักพี หทราืองจกุดาเรนศ้นกึ กษ็คาือ)นสักาเรียะนคว(Sาtมudรeแู้ nลt-ะfocused) ดงั น้ัน
แนวใทนามงานต้ีมราฐใาชนใ้ คนวกาามรรพู้“ฒั กนาราวจิชยัาชทีพางคกราูจรึงศกกึ ่อษใาห”เ้ กนิดี้ คปรอะบโยคชลนมุ ์อ”ยกา่ างรมวาจิกยัตใอ่ นกชาน้ัรเสรอยี นข”องครู ไม่วา่ จะเป

“การฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารวจิ ยั ” และ“การใชก้ ระบวนการวจิ ยั ในการแกป้ ญั หา” ดว้ ย
และครูต้องมีสมรรถนะ “สามารถท�ำวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและ
พัฒนาผเู้ รยี น”

3. มาตรฐานของหลกั สตู รปรญิ ญาทางการศกึ ษาวา่ ตอ้ งใหบ้ ณั ฑติ
ผ่านการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาไม่น้อยกว่า 1 ปี และผ่านเกณฑ์
การประเมนิ ปฏบิ ตั กิ ารสอนดงั คณะกรรมการครุ สุ ภากำ� หนดไวท้ ง้ั (1) การฝกึ
ปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน และ (2) การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา
ในสาขาวิชาเฉพาะ ซึง่ การปฏิบัติการสอนดังกลา่ ว กำ� หนดใหต้ อ้ งฝกึ ทักษะ
และมสี มรรถนะในดา้ น “การท�ำวิจยั ในโรงเรียนเพ่ือพัฒนาผเู้ รยี น”

การวิจัยชั้นเรียน (Classroom Research):
กระบวนการสร้างความรู้เพ่ือใช้พัฒนาการเรียนการสอน

12
4. มาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอก ส�ำนักงานรับรอง

มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) องค์การมหาชน
ก�ำหนดมาตรฐานคุณภาพครูในด้านการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียน
เป็นส�ำคัญอย่างมีประสิทธิภาพไว้ว่า ในการปฏิบัติงานสอนน้ัน ครูจะต้อง
ท�ำกิจกรรม 7 กจิ กรรม ดังนี้

1) การวิเคราะหห์ ลกั สตู ร
2) การวเิ คราะห์ผู้เรียนเป็นรายบคุ คล
3) การจดั กิจกรรมการเรยี นร้ทู ห่ี ลากหลาย
4) การใช้เทคโนโลยีเป็นแหล่งและสื่อการเรียนรู้ของตนเอง
และนกั เรียน
5) การวัดและประเมินผลตามสภาพจริงอย่างรอบด้านเน้น
องค์รวมและเนน้ พัฒนาการ
6) การใชผ้ ลการประเมนิ เพอื่ แกไ้ ข ปรบั ปรงุ และพฒั นาการจดั
การเรียนการสอนเพอื่ พฒั นาผู้เรยี นใหเ้ ต็มศกั ยภาพ
7) การใช้การวิจัยปฏิบัติการในการพัฒนานวัตกรรม
เพอ่ื พฒั นาการเรยี นรขู้ องนกั เรยี นและการสอนของตนเอง
5. มาตรฐานการประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา (ส�ำนัก
ทดสอบทางการศึกษา, 2559) โดยเฉพาะมาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัด
การเรยี นการสอนทเี่ นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำ� คญั ทม่ี จี ดุ เนน้ หนง่ึ ทใี่ หผ้ เู้ รยี นไดเ้ รยี นรู้
โดยใชก้ ระบวนการวจิ ยั อยา่ งเปน็ รปู ธรรมและตอ่ เนอื่ ง รวมทงั้ การตรวจสอบ
และประเมินความรู้ความเข้าใจของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และ
มีประสิทธิภาพ โดยประเมินผู้เรียนจากสภาพจริงมีข้ันตอนตรวจสอบและ
ประเมนิ อยา่ งเปน็ ระบบใชเ้ ครอื่ งมอื และวธิ กี ารวดั และประเมนิ ผลทเ่ี หมาะสม
กับเป้าหมาย และการจัดการเรียนการสอน นักเรียนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

ค่านิยมทางเทคโนโลยี ความเช่ือม่ันตนเอง ความยืดหยุ่น การจูงใจตนเอง และความตระห
สภาพแวดล้อม และท่ีสาคญั คือความสามารถใช้ความรู้อย่างสร้างสรรค์ (the ability to handle know

effectively in order to use it creatively) ถือเป็ นทกั ษะที่สาคญั จาเป็ นสาหรับการเป1็ น3นกั เรียนในศตว

21 ถือเป็ นส่ิงที่ทา้ ทายในการที่จะพฒั นาการเรียนรู้เพ่ืออนาคต ให้นักเรียนมีทกั ษะ ทศั นคติ ค่านิย

บุ คลมิ กีสภ่วานพรส่ว่ วมนในบกุ คาครลวัดเพแ่ื อลเะผปชริ ญะกเมับินอผนลาคตตลดอ้วดยจภนาพใหใน้ข้อทมางูลบยว้อกนก(oลpับtimแกis่ผmู้เ)รทียี่ มนี ท้ ังความส าเร็ จ
ความแสลุขะผเู้ รยี นน�ำไปใช้พฒั นาตนเอง

ความเปน็ ดกค้าวรไยรทมกทู ี่ตร่วมี่ ะ้อ่างุ่ บงจหมวะวนอีดงั งกก้วคาาย์ครรเทวหพา่ีเชตฒัมื่อุผรนู้ถทลาือ่ีถเทชแกู ศ่ีลิงสษินะรต้ายโยงรย์ ขวบอ่ ึจน้ ามสอยตอยใอ้่บาดงงไทเกหด่ีใา้ มหจราึงเ้คะหจรสาน็ ูตเมปผ้อก็นลงับอกทผยา�ำู้เ่ารรวงีพยยิจนฒั่ิงัยส(นAาดาหp้ควpรrยัณุบoจชpภิต้ัrนาiวaเพริtญีeยผdนญเู้ รKขายี nอณนoงwคlรeูใdนgeย)คุ ปัจจุบัน
ทย่ี ง่ั ยนื แมจ้ ะมกี ารบงั คบั ดว้ ยระเบยี บแตด่ ว้ ยหวั ใจของครนู กั พฒั นายอ่ มตอ้ งการเหน็

การศกึกาษราเปชล้ันย่ี เนรแียปนล(งLในeชssน้ั oเnรยี Sนtทu่ดีdยีy่งิ)ขนึ้ กวา่ เดมิ

การศึกษาช้นั เรียนเป็นวธิ ีการพฒั นาวชิ าชีพครูท่ีเกิดข้ึนมานานและเร่ิมตน้ ในประเทศญี่ป่ ุนแล
แนวคิดออกไปทว่ั โลก สาหรับประเทศไทยผูร้ ิเร่ิมในการนาแนวทางน้ีมาใช้ในโรงเรียนเป็ นท่านแ
ไมตรี อินทร์ประสิทธ์ิ (2546 อา้ งถึงใน นฤมล อินทร์ประสิทธ์ิ,2552) นฤมล อินทร์ประสิทธ์ิ (2552) ไ
บทความเพื่อให้เกิดความเข้าใจเก่ียวกบั การศึกษาช้ันเรียน (Lesson Study) ไวว้ ่า การศึกษาช้ันเรีย
นวตั กรรม (Innovation) ท่ีเป็ นวิธีการ (Method) หลกั ในการพฒั นาวิชาชีพครูในประเทศญ่ีป่ ุนที่เกิด
ร้อยกวา่ ปี ท่ีผา่ นมา และไดร้ ับการยอมรับตลอดมาวา่ เป็ นวิธีการที่ทาให้การสอนดีข้ึนอยา่ งยง่ั ยนื มน่ั ค
แนวทางการพัฒนาวิชาชีพครูที่ เป็ นการปรับปรุงการสอนด้วยตวั ของครูเอง (Teacher-led instru
improvement) และเป็ นวิธีการท่ีครูเป็ นผูผ้ ลกั ดนั ให้เกิดการปรับปรุงการสอนดว้ ยตวั ของครูเอง ไม่
ผูเ้ ชี่ยวชาญจากภายนอก โดยจุดประสงค์หลักหรือจุดเน้นก็คือนักเรียน(Student-focused) ดงั น้ัน
แนวทางน้ีมาใชใ้ นการพฒั นาวชิ าชีพครูจึงก่อใหเ้ กิดประโยชน์อยา่ งมากต่อการสอนของครู ไม่วา่ จะเป

ทมี่ าภาพ : สถาบนั วจิ ยั และพฒั นาวชิ าชพี ครู สำ� หรบั อาเซยี น มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่

การวิจัยชั้นเรียน (Classroom Research):
กระบวนการสร้างความรู้เพื่อใช้พัฒนาการเรียนการสอน

14

การวจิ ยั ในบรบิ ทโรงเรยี น
สธุ รี ะ ประเสรฐิ สรรพ์ (2552) ไดน้ ำ� เสนอเรอ่ื งราวเรอื่ งเลา่ ทเ่ี กยี่ วกบั

วิจัยกับการศึกษาในบริบทโรงเรียนในหนังสือชุด “วิจัย..พลังเปล่ียนการ
เรยี นร”ู้ โดยทา่ นอาจารยส์ ธุ รี ะไดไ้ ปบรรยายใหค้ รโู รงเรยี นมธั ยมในโครงการ
ยวุ วจิ ยั ยางพารา ทจี่ งั หวัดนครศรธี รรมราช เม่ือวนั ท่ี 25 พฤษภาคม 2549
ผู้เขียนได้คัดลอกสาระส�ำคัญบางตอนในหนังสือซึ่งน่าจะเป็นประเด็น
ที่นา่ สนใจและประโยชนก์ ับคุณครใู นโรงเรียน ดงั น้ี

วิจัยกับการเรยี นในโรงเรยี น
เวลาพูดเรื่องถึงการท�ำวิจัย หลายคนกลัวตั้งแต่ต้น เพราะว่าไม่รู้
จะเขยี นขอ้ เสนอโครงการ อยา่ งไรดี ไมร่ จู้ ะหาโจทยอ์ ะไรมาทำ� นคี่ อื ความกลวั
ของคณุ ครู เรอ่ื งวจิ ยั ขอใหม้ องภาพใหม่ แลว้ จะเขา้ ใจวา่ วจิ ยั ไมใ่ ชเ่ รอื่ งใหญโ่ ต
เกินก�ำลังของครูและนักเรียน ก่อนอื่นอย่าคิดว่าวิจัยเป็นงานของคน
จบปริญญาเอกหรืออาจารย์ในมหาวิทยาลัย แต่ต้องเชื่อว่า วิจัยเป็นเรื่องท่ี
ทกุ คนท�ำได้ ถา้ เรียนรู้หลกั ของมนั
ความรู้มาจากการค้นหาหรือท่ีเรียกว่า “วิจัย” ท้ังนั้น ความรู้
ทป่ี รากฏในหนงั สอื เรยี น แมแ้ ตช่ นั้ ป. 1 กล็ ว้ นไดม้ าจากกระบวนการทำ� วจิ ยั
แต่การศึกษาของเราไม่มีการวิจัย เพราะเราหลงคิดไปเองว่าการศึกษา
เป็นการเรียนจากหนังสือ ให้นักเรียนรู้จากการเรียน ไม่ได้รู้จากการหาเอง
ดังนั้น เมื่อหัดให้อ่านออกเขียนได้แล้ว ต่อไปก็เรียนจากการอ่านและจ�ำ
แลว้ ใชก้ ารเขยี นสำ� หรบั ทดสอบวา่ จำ� ทอ่ี า่ นไดโ้ ดยไมไ่ ดฝ้ กึ ใหค้ น้ หาความรเู้ อง
จาก “กระบวนการวิจัย” เลย ท่ีครูมอบหมายงานให้ค้นหาความรู้
จากห้องสมุดนัน้ คอื ใหไ้ ปหาอา่ นและจ�ำมาบอก
ความรู้จากการเรียนน้ันมีแต่จะเรียวลง คุณครูเรามีความรู้อยู่เต็ม
100 ครั้นเมื่อเราไปเรียนกับครูเราได้มา 80 เพราะครูมีขีดจ�ำกัดในการ
ถา่ ยทอด สว่ นผเู้ รยี นกม็ ขี ดี จำ� กดั ในการรบั ไดม้ า 80 เปอรเ์ ซน็ ตน์ ถ่ี อื วา่ เกง่ มาก
จบได้เกรด 4 ได้เกียรตินิยม เมื่อเอาไปสอนรุ่นต่อไปจะเหลือ 64

15

รุ่นต่อไปเหลือ 51 มันจะเรียวลงเร่ือยๆ จะเห็นว่าถ้าไม่ขวนขวายหาต่อ
เพียง 3 รุ่นก็เหลือครึ่งเดียวเท่าน้ัน แต่ถ้ารู้เพราะหาเอง ความรู้จะงอกเงย
และอยทู่ น เพราะมคี วามเขา้ ใจมาเสรมิ แรง ทส่ี ำ� คญั คอื เมอ่ื “รวู้ ธิ หี าความร”ู้
แลว้ ตอ่ ไปเราจะหาความรทู้ สี่ งู ขน้ึ ไปเองไดง้ า่ ย การเรยี นกบั การวจิ ยั กเ็ หมอื น
กับเอาปลาหรอื เอาเบ็ดตกปลาไปใหเ้ ขาน่ันเอง

ถ้าการศึกษาในโรงเรียนมีวิจัยแทรกอยู่ ก็จะท�ำให้นักเรียนรู้วิธีการ
หาความร้แู ละสนกุ การวิจยั ของนกั เรยี นทีท่ �ำร่วมกับครูควรเปน็ ส่ิงทีเ่ กิดขึน้
นานแลว้ ทพี่ ดู วา่ ครกู บั ศษิ ยเ์ ปน็ ผเู้ รยี นไปดว้ ยกนั กพ็ ดู กนั มานานแลว้ แตว่ ธิ คี ดิ
ในสังคมไทยจะเป็นอีกอย่างหน่ึง คือ ครูจะต้องเป็นผู้รู้ บอกไม่รู้ไม่ได้
อายนักเรียน แต่การวิจัย ถ้าหากร่วมกันตั้งโจทย์ ก็จะเป็นการเริ่มด้วยการ
รับว่าครูยังไม่รู้ แล้วจะร่วมกันหาความรู้กับนักเรียน เราจึงต้องปลดปล่อย
ทศั นคตทิ ่ผี ดิ โดยการร่วมกันต้งั โจทย์กอ่ น

ครกู ับการทำ� วิจยั
ระบบการศึกษาปัจจุบันแม้จะส่งเสริมให้ครูท�ำวิจัย แต่ปัญหาใหญ่
ในการให้ทุนครูท�ำวิจัยคือดูเหมือนท�ำเป็น แต่ท�ำไม่เป็น และท�ำไม่ถูก
ท่ีกล่าวว่าดูเหมือนท�ำเป็นน้ันคือ รู้จักค�ำว่า “สมมุติฐาน” “ตัวแปรต้น”
“ตัวแปรตาม” ฯลฯ แต่เม่ือพิจารณา “วิธีท�ำ” แล้ว เหมือนกับท�ำไม่เป็น
ออกแบบการทดลองไม่เป็น ไม่ทราบว่าควรท�ำแค่ไหน อย่างไร กล่าวได้ว่า
เรียนทฤษฏีมาแต่ปฏิบัติมีปัญหา และดูเหมือนในระบบการศึกษาของ
ครูไมม่ ใี คร guide ใหด้ ้วย เหตุที่ท�ำไม่ถกู มี 2 ประการ คอื 1) ส่งิ แวดลอ้ ม
หรอื บริบทไม่ครบ 2) ไมใ่ หค้ วามสำ� คัญกบั “กระบวนการ”
การวิจยั ทดี่ ีจะต้องอยูใ่ นบริบทจรงิ ดังน้ัน เรื่องทีน่ ่าทำ� ทสี่ ดุ คือทำ�
เรอ่ื งทอี่ ยรู่ อบโรงเรยี น หากพนื้ ทเี่ ปน็ นากท็ ำ� เรอื่ งเกย่ี วกบั นา หากโรงเรยี นอยู่
ในชมุ ชนสวนยางกท็ ำ� เรอื่ งยางพารา ชมุ ชนทอผา้ กท็ ำ� เรอื่ งผา้ วจิ ยั ในโรงเรยี น
จะตอ้ งใช้ปญั หาใกล้ตวั มาท�ำ เราจะไดเ้ ขา้ ใจเงือ่ นไขความเป็นจรงิ นกั เรียน
จะไดร้ สู้ กึ วา่ วจิ ยั เปน็ เรอื่ งใกลต้ วั อยใู่ นชวี ติ ประจำ� วนั รแู้ ลว้ มปี ระโยชน์ ใชไ้ ด้

การวิจัยช้ันเรียน (Classroom Research):
กระบวนการสร้างความรู้เพ่ือใช้พัฒนาการเรียนการสอน

16

หากเป็นการวิจัยหาความรู้เรื่องสังคมวัฒนธรรม จะยังสร้างความผูกพันกับ
ท้องถ่ินอีกด้วย ที่ผ่านมาครูมักจะท�ำวิจัยในบริบทการท�ำงานของครู เช่น
ทำ� เร่อื ง “ปจั จัยทท่ี �ำใหน้ ักเรยี นมสี ัมฤทธิผลในการเรยี นวิชา...” รู้แล้วเอาไป
ใช้ปรับปรุงการสอนหรือไม่นั้นอาจไม่สนใจ สนใจแต่ว่าเอาไปเสนอขอเล่ือน
ต�ำแหน่งได้ไหมเท่าน้ันเอง สมมติว่าเลื่อนได้ แต่นักเรียนก็ยังเรียนไม่รู้เร่ือง
แล้วการศกึ ษาจะพัฒนาได้อยา่ งไร? อกี 2 ปี ครคู นใหมก่ ท็ �ำเรอื่ งคลา้ ยๆ กนั
นี้อกี นกั เรยี นจึงกลายเปน็ “วสั ดงุ านวิจยั ” ของครู

วิจัยเป็นกระบวนการหาความรู้ เราจึงต้องให้นักเรียนเข้าใจ
“กระบวนการ” ต้ังแตก่ ารตง้ั โจทยก์ ารเขา้ ใจความส�ำคัญของปญั หา การหา
คำ� ตอบ โดยต้องโยงกบั ความเปน็ จรงิ ทใ่ี กลต้ ัวนักเรียน หากสำ� เร็จจนเขาเอา
ไปใช้ได้จะย่ิงดี เพราะท�ำให้เขาเห็นประโยชน์จากงานวิจัยและเห็นว่าสนุก
ท้าทาย เพื่อสร้างความชอบ อยากรู้ (มีฉันทะในการวิจัย) มีความเชื่อม่ัน
(มีศรัทธาในการวจิ ัย)

หากท�ำวิจัยให้ถูกดังข้างต้นเสียแล้ว ต่อไปโรงเรียนก็จะเป็นแหล่ง
ความรู้ของชุมชน มีปัญหาอะไรถามครูได้ ครูเป็นผู้มีความรู้ท่ีชุมชนพ่ึงได้
สมัยก่อนวัดคือแหล่งความรู้ของชุมชน ใครๆ ก็ให้ความเคารพหลวงพ่อ
อยากจะรู้อะไรก็ไปหาความรู้ที่วัด วัดกับพระเป็นแหล่งรวบรวมต�ำรา
ยาโบราณ การกดจุด การนวด หมอดู สะเดาะเคราะห์ มีครบหมด ฉะนน้ั
เราต้องท�ำให้โรงเรียนเป็นแหล่งที่ชุมชนนึกถึงเม่ือมีปัญหา ท้องถ่ินก็จะมี
ความผกู พนั กบั โรงเรยี นและจะนำ� ไปสูก่ ารอุปการะโรงเรียนดว้ ย

วิจยั กบั การพัฒนานกั เรยี น
การทำ� วิจยั เปน็ การฝกึ ให้คน “หาความรู้ใหเ้ ปน็ ” ด้วยตวั เอง วจิ ยั
จะฝึกตรรกะในการตั้งข้อสงสัย ถ้าเรามีนิสัยเป็นนักวิจัย เมื่อเราพบเห็น
ส่ิงใดผิดปกติเราจะสงสัยในเหตุ เห็นนักเรียนน่ังหลับก็จะถามหาสาเหตุ
แทนท่ีจะโทษนักเรียนว่าไม่ต้ังใจเรียนอย่างเดียว เรายังถูกฝึกให้รู้จัก
การวางแผน รู้จักสร้างความสัมพันธ์ของตัวแปร รู้จักชั่งน�้ำหนัก ให้ความ

17
ส�ำคัญกับตัวแปร การรู้จักตัวแปรท�ำให้วางแผนวิจัยได้เหมาะสม ทักษะนี้
จะชว่ ยวางแผนการงานอืน่ ได้อีกมาก เพราะคิดเปน็ เหตุเปน็ ผล

แตผ่ มมขี อ้ สงั เกตวา่ งานวจิ ยั ทคี่ รทู ำ� สว่ นมากจะมตี วั แปรตน้ ตวั แปร
ตามมากมายเกนิ ควร อาจจะตอ้ งการแสดงวา่ คดิ ไดค้ รบถว้ น แตห่ ารไู้ มว่ า่ ตอ้ ง
ท�ำงานมากเกินจ�ำเป็น ถ้าเราฝึกจากงานวิจัยให้ดี เราจะรู้จักส่ิงท่ีพอเพียง
พอดี มีนยั ส�ำคัญ และจะได้งานดที ีส่ ุดในสภาวการณ์ท่ีเรามที รัพยากรจำ� กดั
อยา่ งนเ้ี ขาเรยี กวา่ มปี ระสทิ ธภิ าพ คอื ทำ� นอ้ ยทสี่ ดุ แตไ่ ดข้ องทใี่ ชไ้ ด้ เหมาะสม
แต่วิจัยไม่ใช่แค่มีโจทย์ มีวิธีการท�ำเท่านั้น เราต้องวิเคราะห์ข้อมูลและ
สังเคราะห์ออกมาเป็นความรูด้ ว้ ย ส่งิ แรกท่ีได้จากการวิจยั คือข้อมลู แต่หาก
ไม่รู้วิธแี ปลข้อมูลให้เปน็ ความรู้ งานวิจยั เราก็ได้แคข่ อ้ มูล จะมคี �ำถามตอ่ ว่า
“แลว้ ไง? แล้วไง? แลว้ ไง?” อีกมากมาย

การได้ความรู้คือเป้าหมายของการท�ำวิจัย “ความรู้” คือ
รู้ความเป็นเหตุเป็นผลของปัจจัย (ตัวแปรต้นเป็นเหตุ ตัวแปรตามเป็นผล)
เมอ่ื รู้ถงึ สาเหตุอยา่ งนี้ เขาเรยี กว่ารถู้ งึ “กลไก” ไม่ใช่ร้แู ค่ “ปรากฏการณ”์
รู้ปรากฏการณ์ คอื รู้ว่า “แอปเป้ลิ ตกใส่หวั เพราะมนั หลดุ จากขั้ว” แตร่ ู้กลไก
คือ รู้ว่า“แอปเปิ้ลหลุดจากขั้วแล้วท�ำไมไม่ลอยอยู่ที่เดิม?” ความรู้ที่ได้อีก
อย่างหนึ่ง คือ ร้วู า่ ขอ้ สงสยั หรอื สมมุตฐิ านของเรานน้ั ถูกหรือผิด นักวิจัยเมือ่
เชยี่ วชาญแลว้ จะตง้ั สมมตุ ฐิ านไดแ้ มน่ ยำ� ซงึ่ หมายถงึ การคาดการณไ์ ดถ้ กู ตอ้ ง
ตอ่ ไปการใชช้ ีวติ ทา่ มกลางความเปลยี่ นแปลงก็จะง่ายข้ึน

จากข้อเขียนดังกล่าว เป็นหลักคิดสะกิดเตือนใจให้กับครูอาจารย์
ที่ก�ำลังจะพัฒนาผู้เรียนโดยการวิจัยเป็นฐาน ซ่ึงเป็นการเตรียมพร้อม
Mind Set ในการท�ำวิจัยชั้นเรียนของครูอาจารย์เพื่อปรับการเรียนเปลี่ยน
การสอนน�ำไปสู่การพฒั นาผู้เรียนให้ได้รบั ประโยชนส์ งู สดุ และย่งั ยืนต่อไป

การวิจัยชั้นเรียน (Classroom Research):
กระบวนการสร้างความรู้เพื่อใช้พัฒนาการเรียนการสอน

18

กระบวนการวจิ ยั
ครูนักวิจัยทุกคนควรทราบถึงกระบวนการวิจัย ซ่ึงเป็นวิธีการ

สร้างความรู้ท่ีมีลักษณะส�ำคัญคือ ใช้ระเบียบวิธีการทางวิทยาศาสตร์
(Scientific Method) ซึง่ มีขั้นตอนส�ำคัญ ดังตอ่ ไปนี้

1. ก�ำหนดปัญหาวิจยั หรอื หวั ขอ้ วิจัย (a research topic)
2. ก�ำหนดวตั ถุประสงคข์ องการวิจยั (research purposes)
3. ก�ำหนดขอบเขตการวิจัย และ/หรือสมมติฐาน (research
framework/research hypothesis)
4. ออกแบบการวิจัย (research design)
4.1 ออกแบบการไดม้ าซงึ่ กลมุ่ ตวั อยา่ ง/กลมุ่ เปา้ หมาย (sampling
techniques)
4.2 ออกแบบเคร่อื งมอื วิจัย (research tool)
4.3 ออกแบบการวิเคราะห์ข้อมูล (data analysis)
5. เก็บรวบรวมขอ้ มูล (data collection)
6. วิเคราะห์ข้อมูลและการแปลผล (data analysis and data
interpretation)
7. เขยี นรายงาน (reporting the findings)
8. ตพี มิ พเ์ ผยแพร่ (publishing)
ในการจัดการเรียนรู้ของครูสามารถใช้กระบวนการวิจัยร่วมได้
(Teaching as Researching) โดยมีเป้าหมายเพ่ือปรับปรุงพัฒนาทั้งต่อ
นกั เรยี นและตอ่ ตวั ครเู อง ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากตวั อยา่ งกระบวนการจดั การเรยี นรู้
ดังตอ่ ไปนี้

19

กระบวนการจดั การเรยี นรทู้ ใ่ี ชก้ ระบว1น4การวจิ ยั เปน็ ฐาน
กระบวนการจดั กเมารอ่ื เพรียจิ นารู้ณทใี่ าชใ้กนรระะบบวบนกการเวรจิ ยี ัยนเปก็ นารฐสานอนทเ่ี นน้ กระบวนการ จะพบวา่

คเมร่ืูอผพู้สิจอารนณสาาในมราะรบถบดก�าำรเเนรียินนกาารรสวอิจนัยทร่ีเน่ว้นมกกระันบกวับนกขาั้นรตจะอพนบกวา่ารครดูผ�ำูส้ เอนนินสกามาารรจถัดาเนินการ
วจิ ยั ร่วมกกานั รกเบรั ยีข้นันตกอานรกสาอรดนาใเนนินปกการตจิไดัดก้ าดรงัเรแียผนนกาภราสพอนทใ่ี น3ปกติได้ ดงั แผนภาพท่ี 2

ขั้นเตรยี มการ ขั้นดาเนินการ ขั้นประเมินผล

วิจยั ข้นั นาเขา้ สู่บทเรียน ทกั ษะกระบวนการ

สารวจและวเิ คราะหค์ วาม ขั้นปฏบิ ตั กิ จิ กรรม เน้นการใช้ วิจยั
ต้องการของนกั เรยี น การเรยี นการสอน คาถาม
การประเมนิ ผล
กาหนดวตั ถปุ ระสงค์ ขน้ั สรุป ใช้ลีลาการพดู การเรียนการสอน
การเรยี นการสอน การกระทาเพ่ือเร้าใจ

วิเคราะหล์ าดับเนอ้ื หา มีการเสรมิ แรง
นกั เรยี น
กาหนดแนวทางการเรียน
การสอนตามการสอน
ท่ีเนน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคัญ

หรอื กระบวนการ

กาหนดส่ือการเรยี นการสอน

กาหนดการวดั และประเมนิ ผล

เขียนแผนการสอน ขอ้ มูลยอ้ นกลบั เพอ่ื ปรบั ปรงุ

แผแนผภานพภทา่ี 2พรทะบ่ี 3บกราะรบเรบียนกกาารรเสรยอี นนทกี่เานรน้ สกอรนะบทวเี่ นนกน้ ากรรร่วะมบกวบั นกการาทราวจิ ยั
(พิมพพ์ นั ธร์ว่เดมชกะบัคุปกตา์รแทละำ� พวจิะเยัยาว์ ยนิ ดีสุข, 2549)

(พมิ พพ์ นั ธ์ เดชะคปุ ต์ และพะเยาว์ ยนิ ดสี ขุ , 2549)

ในการจดั การเรียนรู้ของครูสามารถใช้กระบวนการวิจยั ร่วมได้ (Teaching as Researching) โดยมี
เป้าหมายเพื่อปรับปรุงพฒั นาท้งั ต่อนกั เรียนและต่อตวั ครูเอง ดงั จะเห็นไดจ้ ากตวั อยา่ งกระบวนการจดั การ
เรียนรู้ท่ีใชก้ ระบวนการวจิ ยั ตอ่ ไปน้ี
กระบวนการจัดการเรียนรู้ 5 ข้นั ตอน (5 STEPs)กร(พะบมิวนพกพ์ากรนาัสรรธว้าิจ์งเัยคดชวชั้นามะเรรคียู้เพนุป่ือต(ใCช,์ ้พl2aัฒs5s5นr8oากo)าmรเรRียeนsกeาaรrสcอhน):
1) ระบุคาถาม

20
กระบวนการจดั การเรยี นรู้5 ขน้ั ตอน (5 STEPs) (พมิ พพ์ นั ธ์ เดชะคปุ ต,์

2558)
1. ระบคุ ำ� ถาม
1.1 สังเกตสงิ่ เรา้ เพ่อื เกิดความสงสัย
1.2 ตง้ั ค�ำถามส�ำคญั /ค�ำถามหลัก
1.3 คาดคะเนค�ำตอบ/ตั้งสมมตฐิ าน
2. แสวงหาสารสนเทศ
2.1 วางแผนเพ่ือรวบรวมขอ้ มลู
2.2 รวบรวมขอ้ มลู ทงั้ หมดดว้ ยการทดลอง หรอื วธิ เี กบ็ ขอ้ มลู ตา่ งๆ
2.3 วิเคราะหแ์ ละส่ือความหมายข้อมูล
3. สร้างความรู้
3.1 อภปิ รายเพอื่ สร้างคำ� อธบิ ายดว้ ยตวั นกั เรยี นเอง
3.2 เชื่อมโยงความรู้สูค่ �ำอธบิ ายทถี่ กู ต้องโดยครู
4. สื่อสาร
4.1 เขียนเพอ่ื เสนอความรู้ท่ไี ด้จากการสร้างดว้ ยตนเอง
4.2 น�ำเสนอดว้ ยวาจาหน้าชน้ั เรียนหรอื ในสถานที่ต่างๆ
5. ตอบแทนสังคม
5.1 นำ� ความรไู้ ปใชห้ รอื ประยกุ ตค์ วามรไู้ ปใชใ้ นสถานการณใ์ หม่
5.2 สรา้ งผลงานหรอื ภาระงานเพอ่ื บรกิ ารสังคม
กระบวนการเรยี นรู้ 5 ขนั้ ตอนเปน็ วธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ (Scientific

Method) ร่วมกับทักษะการสื่อสาร และทักษะการประยุกต์ความรู้ ได้ผล
งานไปตอบแทนสังคมเป็นการสรา้ งคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ใหก้ ับผเู้ รียน

การปรับกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นการวิจัยจึงไม่เป็น
เรื่องยากอีกต่อไป เมื่อครูวางแผนการจัดการเรียนรู้ ด�ำเนินการ
ตามแผน ตรวจสอบผลที่เกิด สะท้อนความคิดต่อแผนที่จัด
ปรบั ปรงุ แผนทำ� ซำ�้ ตรวจสอบผลยนื ยนั จนสามารถสรา้ งเปน็ ขอ้ สรปุ
ความรู้ ก็จะเกิดผลงานวิจยั ในช้ันเรยี นได้ในทีส่ ุด



23

ตอนท่ี 2 ขนั้ ตอนการดำ� เนนิ งานวจิ ยั ชน้ั เรยี น

ทขแ่คี ท้ันวรตกอรแนใทกหกนาาค้รตกรดั้งอวาาแอาเรตกนมห่อแินนบสองา้บาำ�กนก2คาวแ1ริจญับว-ัย2ิจชบ6ัยน้ัดชกเน้ังัราเียแรรนยีผวนนจิสายัภหชารับนั้พคเทรรูมยี่ีีก4จินกสรรำ� มห8รขบั ั้นคตอรนนู ทกั ีค่ ววรจิ ใยัห้คมวกีามจิ สกาครญั รมดังแ8ผนขภนั้ าพตทอี่ 4น

การกาหนด การเขยี น
ปัญหาวจิ ัย รายงานวจิ ยั

การตัง้ การพัฒนา การเลอื ก การกาหนด การ การเลอื ก
วตั ถปุ ระสงค์ นวัตกรรม ประเภทของ กล่มุ ตวั อยา่ ง ออกแบบ วิธีวิเคราะห์
และชือ่ วจิ ัย เคร่ืองมอื วิจัย
การวิจยั ข้อมูล

แผนภาพทแผ่ี น4ภาลพ�ำทด่ี 4ับลขาดนั้ บั ตข้ันอตนอนกกาารรดดาเำ�นเนิ นงาินนวงจิ ายั นช้ันวเิจรียัยนช้นั เรยี น

ขขั้นนั้ ตตออนนที่ ท1 ี่ก1ารกกาาหนรดกปำ� ญั หหนาวดจิ ัยปัญหาวจิ ยั
นั้นเป็นเชก่น่อกนใดอ่อื่นขนลณออะงทใ่ืนห่ีค้คุลณุณคอครงรูสูลใออหนงลน้คอึกงุณทสบังคทเกวรตนูดลดูจูซอะิวพ่างเบนหวตึก่าุกาทสรภณบา์ทพที่เทกว่ีเิดปนข็น้ึนดปในัญูซขหิณวาะ่กาจาเัดรหจกัดาตรกุเการรียาเนรรีกยณานรกส์ทาอรนี่สเขกออนิดงเคกขุณิด้ึนขค้ึนรู
ในมาขกมณายะแจลัะดเกกิดาขร้ึนเตรลียอดนเวกลาาใรนสขณอะนทข่ีคุณอคงรคูสอุณนคหรากูนเรั้นาลเปอง็นจาเแชน่นกแใยดกปัญขหณาอะอทกมี่คาุณแลค้วจระูสพบอวน่ามี
มลลเอารักยี กงษนณสมขอะังางตเลผย่ากักเู้งรแษๆตยี กณลนดนั ะะดเูจทชังเ่นะ่ีนก1้ีพอิดปา่ บัญนขไวหึ้นมาอ่่าตเอกกล่ียสวเอภขกยีดับานกเพไวามรท่เลปเรา่ีน็เียปไในมนร็นเ่ ขู้ขข้าปอใณงจัญผเนู้เะรห้อื ียทหานา่ีคกปเุรณาัญียรนหคจชารล้าัดักูสบกษวอณากนเระลนเขี้เรไกหมีย่ียไ่ าดวนข้กเ้กอปเง็นรากตรับา้นผสลลออสัมนงฤจเทก�ำธิิ์ทดแาขนงกึ้นการ
แยกปญั ลักหษาณอะอท่ีก2มปาัญแหลาเว้ก่ียจวะกพับทบักวษ่าะกมาลีรปกั ฏษิบัตณิงาะนตขอา่ งงผๆู้เรกียนัน ดเชัง่นนกี้ารใช้คอมพิวเตอร์ การเล่นกีฬา
เกทกา่ียไ่ี มรวเ่พลขึงน่ ปอ้ดลรนงกัะตลกสษรงกัณีบั คเปษะ์ผผ็นทณลลต่ี 3กน้สะรปปมัะทัญญัทฤ่ีหบห1ทาขาเลอธปกักงทิ์่ียปษญั วัาณญกหงะหับกนาคา้อีลุณาเาักกรลจษเสกัย่ี ณร่งษวผยีะณลนกนใะี้อหบัทขาผ้ ่ีพจกอู้เรสึงาียงป่งนผรผรลขะเเู้ ราตสรด่งอยียี ทคกนนกั์ขาษอรรจะงเขู้ ชผัทดู้อเก่จีน่ราาียงเรปนอผเรน็ า่เ้ีูยหไรนดนรยีื้อกไอานมารจอส่ ปเอรอนียญั กแกไลหดเะขา้วค่าลยีุณเปกันล็นักษไพษมฤณณตเ่ ปะิกะขรนน็ รอมงี้
ไมผเู้ ่เรขยี นา้ ใในจอนเนาคอื้ ตหได้า เรียนช้า บวกเลขไม่ได้ เป็นต้น
ต่อไปคุณคคุณรลูจคักะรตูคษ้องงนณทึกาอะกอทากรี่แเล2ลือ้วกปวป่าัญปัญัญหหาหมาาาทเทก่ีเกาีย่วิดิจขวัยึ้นกทใ้ังนบั นหี้กท้อ่องักนเรจษียะนเะลขกืออกางคครุณุณปคคฏรรูจูขบิะณตัตะ้อนงงิ ที้เาปาน็นกาปขรัญวอิเหคงารใผานะเู้ลหรัก์สียษภณนาพะปเใดชัญ่นหขั้นา
กขาอรงผใชู้เร้ีคยนอกม่อนพเพิวรเาตะอปรระ์ โยกชานร์ขเอลงก่นารกทีฬาเาช่นนก้ีจาะรช่วเลยค่นุณดคนรูรตะบรุปี ัญเปหา็นทตี่สา้นคัญปที่สัญุดมหาทาาลวักิจัยษไดณ้ เมะื่อนได้ี ้
อเปาลญั อืจหกสใาชแง่ ้รลผปู ว้ แลเรบใาบกหใ็สดผ้ าใมน้เู ารกรายี ถรรนทะาบขวกุ ิจาลยั ดมุ่ ตผทลู้รักอ่วมดษวจิจนะัยคทไวดรีจ่ ว้ ท่า�ำามเวบี ปิจุคัยน็ครละไกดดลบั ุ้่มใดใดเบช้า่นงรเะชด่นบั นบกั คุ เครลียนกลคุ่มรผู หูม้ รีสอื ่วโนรเงกเรี่ยยี วนขอ้ ง และควร

การเลอื กปญั หามาทาวจิ ัย
โจทย์แรกที่คุณครูนักวิจยั จะต้องคิดคือ ปัญหาอะไรที่สามารถนามาทาวิจัยได้ สิ่งที่คุณครูต้องคานึงถึง

คือปัญหาเหล่านั้นจะต้องเป็นปัญหาท่ีอาจส่งผลกระทบต่อผู้เรียนในด้านการเรียนรู้ ทักษะการปฏิบัติและ

การวิจัยชั้นเรียน (Classroom Research):
กระบวนการสร้างความรู้เพื่อใช้พัฒนาการเรียนการสอน

24

ลกั ษณะท่ี 3 ปัญหาเก่ยี วกบั คณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค์ของผู้เรยี น
หรืออาจเรียกได้ว่าเป็นพฤติกรรมท่ีไม่พึงประสงค์ ผลกระทบของปัญหา
ลักษณะน้ีอาจส่งผลต่อการจัดการเรียนการสอนและคุณลักษณะของผู้เรียน
ในอนาคตได้

คณุ ครคู งนกึ ออกแลว้ วา่ ปญั หาทเ่ี กดิ ขน้ึ ในหอ้ งเรยี นของคณุ ครขู ณะนี้
เปน็ ปญั หาในลกั ษณะใด ขน้ั ตอ่ ไปคณุ ครจู ะตอ้ งทำ� การเลอื กปญั หามาทำ� วจิ ยั
ทง้ั นกี้ อ่ นจะเลอื กคณุ ครจู ะตอ้ งทำ� การวเิ คราะหส์ ภาพปญั หาของผเู้ รยี นกอ่ น
เพราะประโยชนข์ องการทำ� เชน่ นจ้ี ะชว่ ยคณุ ครรู ะบปุ ญั หาทส่ี ำ� คญั ทส่ี ดุ มาทำ�
วิจัยได้ เม่ือได้ปัญหาแล้วเราก็สามารถระบุกลุ่มผู้ร่วมวิจัยได้ว่ามีบุคคลกลุ่ม
ใดบ้าง เช่น นักเรียน ครูผมู้ สี ่วนเก่ียวขอ้ ง และควรเลอื กใชร้ ูปแบบใดในการ
ทำ� วิจัย ตลอดจนควรท�ำวิจัยระดบั ใด เชน่ ระดับบคุ คล กลมุ่ หรอื โรงเรยี น

การเลอื กปัญหามาทำ� วจิ ยั
โจทยแ์ รกทคี่ ณุ ครนู กั วจิ ยั จะตอ้ งคดิ คอื ปญั หาอะไรทสี่ ามารถนำ� มา
ทำ� วจิ ยั ได้ สง่ิ ทคี่ ณุ ครตู อ้ งคำ� นงึ ถงึ คอื ปญั หาเหลา่ นนั้ จะตอ้ งเปน็ ปญั หาทอ่ี าจ
ส่งผลกระทบต่อผู้เรียนในด้านการเรียนรู้ ทักษะการปฏิบัติและคุณลักษณะ
ท่ีพึงประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่งปัญหาเป็นช่องว่างระหว่างการปฏิบัติจริง
และจุดมุ่งหมายของการจัดการเรียนการสอนหรือสภาวะท่ีไม่พึงประสงค์
ที่คุณครูต้องการหาวิธีแก้ไขและพัฒนา คุณครูจะต้องวิเคราะห์ให้ได้ว่าส่ิงท่ี
ยังไปไม่ถึงจุดมุ่งหมายน้ันคืออะไร ปัญหาการวิจัยจะต้องมีความลึกซึ้งและ
ใช้กระบวนการที่เป็นระบบในการแก้ไขปัญหา ถ้าเป็นปัญหาท่ีครูสามารถ
แก้ไขปัญหาได้ในขณะน้ันเลยโดยไม่ต้องอาศัยกระบวนการท่ีเป็นระบบก็ไม่
นา่ สนใจในการนำ� มาทำ� วจิ ยั ในชน้ั เรยี นลกั ษณะของปญั หาในชน้ั เรยี นทค่ี ณุ ครู
ควรน�ำมาใช้เปน็ หวั ข้อในการศึกษาน้ันควรมลี กั ษณะดงั ตอ่ ไปน้ี

25
1. ตอ้ งเปน็ ปญั หาทค่ี ณุ ครพู บจรงิ ๆ ในการจดั การเรยี นการสอน
เพราะถอื วา่ เปน็ สทิ ธแิ ละการตดั สนิ ใจของคณุ ครเู อง และกลา่ วไดว้ า่ ไมม่ ใี คร
ท่ีเขา้ ใจสภาพปัญหาในชั้นเรียนไดด้ เี ทา่ กบั คณุ ครูแลว้ ถงึ แม้จะมนี ักวิชาการ
ท่ีมีความสามารถมาแนะน�ำให้ท�ำวิจัยแบบน้ันแบบนี้ แต่ก็ไม่สามารถเข้าใจ
ในบรบิ ทของปญั หาไดด้ เี ทา่ กบั ตวั ของคณุ ครเู อง นอกจากนก้ี ารนำ� ปญั หานนั้
มาศึกษาต้องเออื้ ตอ่ การจดั การเรยี นการสอนด้วย
2. ต้องมีความชัดเจนและแน่ใจว่าเป็นปัญหาที่แท้จริง คุณครู
ต้องแน่ใจว่าปัญหาที่เกิดข้ึนน้ันเป็นปัญหาท่ีแท้จริง เกิดขึ้นบ่อยๆ โดยอาจ
ตรวจสอบด้วยวิธีการหลายๆอย่างเพ่ือยืนยันสภาพปัญหาที่เกิดขึ้น เช่น
สอบถามจากนักเรียนโดยตรง เพ่ือนนักเรียน เพื่อนครู ผู้ปกครอง หรือใช้
แบบสอบถาม เป็นต้น
3) ปญั หาตอ้ งไมเ่ กดิ จากการตดั สนิ ตามความคดิ ของตวั คณุ ครเู อง
คุณครูควรระบุปัญหาที่เป็นพฤติกรรมท่ีแสดงออกของนักเรียนแล้ววิจัยว่า
เป็นเพราะเหตุใด ตัวอยา่ งเช่น นักเรียนไม่สง่ การบ้าน ครเู ลยคิดวา่ นักเรยี น
คนน้ีไมม่ คี วามรบั ผิดชอบ จดุ น้ีเปน็ การสร้างอคตขิ องครทู ่ีมตี ่อนักเรยี นและ
ตีตราบาปให้กับนักเรียนคนนี้ ปัญหาวิจัยท่ีคุณครูควรระบุคือ นักเรียนมี
พฤติกรรมไม่ส่งการบ้าน แล้วคุณครูค่อยวิเคราะห์ต่อไปว่าเหตุใดนักเรียน
ถงึ มีพฤติกรรมเช่นนั้น
4) ตอ้ งสอดคลอ้ งกบั ความถนดั ความสนใจ และศกั ยภาพในการ
ท�ำวจิ ยั ของครู ปัญหาการวิจัยที่เกิดขน้ึ ต้องอยใู่ นวิสยั ของครทู ีจ่ ะท�ำได้ไม่ใช่
สิ่งที่ครูท�ำไม่ได้ อาจจะท�ำให้เสียเวลาเปล่าในการท�ำวิจัยเนื่องจากงานวิจัย
ไม่ส�ำเร็จ และครูเองจะต้องประมาณความสามารถของตนเองว่าสามารถ
ทำ� งานใดใหส้ ำ� เร็จได้เพียงใด ดังนั้นศักยภาพของครจู ึงเปน็ ส่ิงทีต่ ้องค�ำนึงถงึ
ดว้ ยเชน่ กนั ศกั ยภาพในทน่ี หี้ มายถงึ ความสามารถในการทำ� วจิ ยั หรอื ควบคมุ

การวิจัยช้ันเรียน (Classroom Research):
กระบวนการสร้างความรู้เพ่ือใช้พัฒนาการเรียนการสอน

26
งานวจิ ยั ในชนั้ เรยี น ครอู าจจะแกไ้ ขปญั หาหรอื ไมไ่ ดเ้ ปน็ ผแู้ กไ้ ขปญั หาเดก็ ดว้ ย
ตนเอง แต่สามารถทำ� ให้ผอู้ ืน่ มาชว่ ยในการแก้ไขปญั หา ลกั ษณะเช่นน้ถี อื วา่
ครูมีศักยภาพที่จะควบคุมงานวิจัยเช่นกัน การวิจัยจึงต้องเป็นความร่วมมือ
(Collaborative) ระหวา่ งผู้ที่เหน็ ความส�ำคัญในการพัฒนานกั เรยี นหรอื ผูท้ ่ี
มสี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี กบั นกั เรยี น เชน่ ผบู้ รหิ าร นกั เรยี น ผปู้ กครอง เพอื่ นครหู รอื
นกั วชิ าการและผู้เชีย่ วชาญ เป็นตน้

5) ต้องมีความสัมพันธ์หรือเป็นต้นเหตุของปัญหาอ่ืนๆ ในการ
เลอื กปญั หาวจิ ยั นน้ั ครจู ะตอ้ งมขี อ้ มลู ของสภาพปญั หาทเี่ กดิ ขน้ึ และแนน่ อน
ว่ามีหลายปัญหาด้วยกัน การเลือกปัญหาใดปัญหาหนึ่งน้ัน การพิจารณา
ความเชื่อมโยงและเป็นเหตุเป็นผลกับปัญหาอื่นจะช่วยให้ครูเลือกปัญหา
ที่มาแก้ไขได้อย่างถูกต้องและตรงประเด็น และต้องวิเคราะห์ว่ามีความ
เช่ือมโยงระหว่างปญั หาหรือไม่ และถ้ามีแลว้ ปญั หาสมั พันธก์ นั อย่างไร และ
ปัญหาได้รับอิทธิพลจากปัญหาใด ส่งผลกระทบต่อปัญหาอื่นอย่างไร เม่ือ
เราทราบความสัมพันธ์ที่เกิดข้ึน ครูต้องเลือกปัญหาท่ีก่อให้เกิดปัญหาอื่นๆ
มาแก้ไข เพราะเมื่อแก้ไขส�ำเร็จแล้วนอกจากจะเป็นการขจัดปัญหานั้นแล้ว
ผลท่ีตามมาคือ ปัญหาอื่นๆ ก็จะถูกตัดวงจรการเกิดด้วย เรียกว่า
ยงิ กระสนุ นดั เดียวไดน้ กหลายตัวเลยทีเดียว

การวิเคราะห์สภาพปัญหาของผู้เรียน การวิเคราะห์สภาพปัญหา
ของผู้เรียน เป็นส่ิงส�ำคัญและจ�ำเป็นส�ำหรับครูในการตัดสินใจว่าจะเลือก
ปัญหาใดมาท�ำวิจัย เพื่อให้เกิดความเข้าใจ เข้าถึงและสามารถแก้ปัญหา
ท่ีเกิดข้ึนได้ตรงจุด การวิเคราะห์สภาพปัญหาจึงเป็นการตีวงของปัญหา
ให้แคบและมีความชัดเจนข้ึน สุวิมล ว่องวาณิช (2547) ได้เสนอแนวทาง
ในการวเิ คราะหส์ ภาพของปญั หาผเู้ รยี นโดยตง้ั คำ� ถามใหค้ ณุ ครตู อบเกยี่ วกบั
สภาพปญั หาที่เกิดขน้ึ ดงั นี้

27
1. สภาพปัญหาหรอื ปรากฏการณท์ ีเ่ กิดขึ้นคืออะไร
2. ปญั หาท่เี กดิ ขึ้นเปน็ ของใคร
3. ปัญหานีส้ ่งผลกระทบต่อใครบ้าง
4. เมอ่ื เปรยี บเทยี บกบั ปญั หาอน่ื ทเ่ี กดิ พรอ้ มกนั ปญั หาใดสำ� คญั กวา่
5. ปญั หาทีเ่ กดิ ขน้ึ อย่างหลากหลายนน้ั เช่ือมโยงกนั อยา่ งไร
6. ใครคอื ผทู้ ม่ี สี ่วนรบั ผดิ ชอบตอ่ ปัญหาน้นั
เมื่อคุณครูสามารถตอบค�ำถามได้ท้ัง 6 ข้อแล้วอาจเขียนบันทึกไว้
ค�ำตอบท่ีได้น่าจะเป็นแนวทางหนึ่งที่ช่วยให้เข้าใจสภาพปัญหาได้ดียิ่งขึ้น
และสามารถเลือกปัญหามาท�ำวิจัยได้ คุณครูต้องฝึกปฏิบัติเป็นประจ�ำ
ช่วงแรกอาจเกิดความล�ำบากในการวิเคราะห์บ้าง คุณครูอาจขอค�ำปรึกษา
จากเพื่อนครูหรือผู้เช่ียวชาญได้ เมื่อฝึกฝนวิเคราะห์สภาพปัญหาบ่อยครั้ง
แล้วความช�ำนาญกจ็ ะเกดิ ขึน้ เม่ือเจอปญั หาครั้งต่อไปจะเกิดความเชือ่ มโยง
โดยอัตโนมัตแิ ละท�ำใหเ้ ข้าใจสภาพปญั หาได้ง่ายยง่ิ ขึ้น
การตั้งคำ� ถามการวจิ ยั
เม่ือคุณครูได้ปัญหามาท�ำวิจัยแล้ว ส่ิงท่ีต้องคิดต่อไปก็คือ
การตงั้ คำ� ถามการวจิ ยั คำ� ถามการวจิ ยั เปน็ ประโยคหรอื ขอ้ ความทเี่ ขยี นขน้ึ มา
เพอื่ คน้ หาคำ� ตอบในปรากฏการณข์ องปญั หาทเี่ กดิ ขนึ้ นน่ั เอง คำ� ถามการวจิ ยั
สามารถชท้ี ศิ ทางหรอื แนวทางในการวจิ ยั ได้ กลา่ วคอื คำ� ถามการวจิ ยั มคี วาม
ส�ำคัญในเชิงหลักการก�ำหนดกระบวนการและระเบียบวิธีวิจัย ในการท�ำ
วจิ ยั ทา้ ยสุดแล้วผู้วิจยั จะต้องตอบคำ� ถามการวจิ ัยให้ครบงานวิจยั จึงจะถือว่า
ประสบผลส�ำเร็จ การตั้งค�ำถามการวิจัยในช้ันเรียนจะต้องมีความจ�ำเพาะ
เจาะจงสังเกตได้ สามารถส�ำรวจและกระท�ำการวิจัยได้ ค�ำถามที่ใช้ใน
การวจิ ยั ในชน้ั เรยี นอาจแบง่ เปน็ 2 ลกั ษณะ ตามแนวคดิ ของ สวุ มิ ล วอ่ งวาณชิ
(2547) ดังนี้

การวิจัยชั้นเรียน (Classroom Research):
กระบวนการสร้างความรู้เพ่ือใช้พัฒนาการเรียนการสอน

28
คำ� ถามระดับที่ 1 เปน็ ค�ำถามระดบั พ้ืนฐาน เปน็ ค�ำถามท่มี ีความมงุ่

หมายตอบว่า ใคร ทำ� อะไร และได้ผลอยา่ งไร และเมือ่ พิจารณาค�ำถามการ
วิจัยประเภทน้ี เป็นค�ำถามท่ีสังเกตผลจากกระบวนการวิจัยท่ีไม่มีความซับ
ซ้อนอะไรตัวอยา่ งคำ� ถามวจิ ัย เชน่ “ใครเปน็ ผู้ที่ได้รบั การยอมรบั ในช้ันเรยี น
มากทสี่ ดุ ” “เดก็ ชายแดงมีพฤติกรรมกา้ วรา้ วอย่างไรบ้าง”

คำ� ถามระดบั ที่ 2 เปน็ คำ� ถามทมี่ คี วามลกึ ซงึ้ และซบั ซอ้ นกวา่ คำ� ถาม
เบอ้ื งต้น เปน็ การศกึ ษาความรู้สึกของผู้ร่วมวจิ ยั ในชั้นเรยี นต่อปรากฏการณ์
ที่เกิดข้นึ เชน่ “นักเรียนมีความรู้สกึ อยา่ งไรตอ่ การประเมนิ ตนเอง”

คำ� ถามการวจิ ยั ระดบั ทส่ี องนอี้ าจจะตอ่ จากคำ� ตอบทไี่ ดจ้ ากการถาม
ด้วยคำ� ถามระดับที่ 1 ได้ด้วยเช่น “นกั เรียนในช้นั เรยี นชอบการประเมินผล
การเรยี นรู้แบบใด (ค�ำถามระดบั ท่ี 1) ทำ� ไมจงึ เปน็ เชน่ นน้ั ” (ค�ำถามระดบั ท่ี
2) หลักในการตั้งค�ำถามการวิจัยในช้ันเรียนนั้นค�ำตอบที่ได้จะต้องเน้น
กระบวนการพฒั นาตัวผู้เรียนและครผู ู้ท�ำวิจัยเอง ทง้ั ในดา้ นเนอื้ หาท่ีทำ� และ
กระบวนการวจิ ยั ควรยกเวน้ คำ� ถามทต่ี อบเพยี งวา่ ใชห่ รอื ไม่ เพราะเมอ่ื ทราบ
คำ� ตอบแล้วกไ็ มส่ ามารถแก้ไขหรอื ท�ำอะไรได้ ตัวอย่างการตัง้ คำ� ถาม เช่น

ค�ำถามท่ีควรปรับปรงุ เชน่ นักเรยี นมาสายกค่ี น ใครมาสายบา้ ง
ค�ำถามที่ถูกต้อง เช่น ท�ำไมนักเรียนถึงมาโรงเรียนสาย จะมีวิธี
การอย่างไรในการแก้ไขปัญหาพฤติกรรมการมาโรงเรียนสาย นักเรียน
มคี วามรู้สึกอย่างไรต่อการแกไ้ ขปญั หาดว้ ยวธิ กี ารลงโทษ
ปรากฏการณ์หรือสภาพปัญหาหนึ่งๆ ท่ีเกิดข้ึนคุณครูอาจเกิด
ค�ำถามการวิจัยหลายค�ำถาม แล้วจะต้องเลือกค�ำถามใดมาใช้ในการวิจัย
น�ำมาใช้ก่ีค�ำถาม ข้อแนะน�ำส�ำหรับคุณครูคือ ค�ำถามการวิจัยจะต้องเน้น
การใช้ข้อมูลที่มีอยู่ในห้องเรียน โดยไม่ต้องไปเก็บข้อมูลจากใหม่จนกระทบ
ต่อการเรียนการสอนจะต้องเป็นค�ำถามท่ีส่งเสริมความคิดในระดับสูง ไม่ใช่
ค�ำถามท่ตี อ้ งการคำ� ตอบเพยี งแคร่ ู้เฉยๆ แตต่ ้องน�ำไปสู่การพัฒนาและใชผ้ ล

29
การวิจัยได้ สว่ นจ�ำนวนคำ� ถามก็ขน้ึ อยกู่ ับความเหมาะสมและความสามารถ
ของคุณครู แต่ควรให้อยู่ในความสามารถในการควบคุมงานวิจัยได้ จากที่
กลา่ วมาคณุ ครคู วรฝกึ ฝนการตงั้ คำ� ถามการวจิ ยั ใหเ้ ปน็ ระบบ มคี วามนา่ สนใจ
มีความท้าทายต่อการท�ำวิจัยต้องเป็นเรื่องท่ีส�ำคัญต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน
กิจกรรมการต้ังค�ำถามการวิจัยนี้ยังเป็นการส่งเสริมและพัฒนากระบวนการ
คิดของครอู กี ด้วยทางหน่งึ

การวเิ คราะหห์ าสาเหตขุ องปัญหา
ขั้นตอนนี้จะช่วยให้คุณครูรู้ว่าสภาพปัญหาท่ีเกิดขึ้นมาจากสาเหตุ
อะไรเม่ือทราบสาเหตุแล้วก็มุ่งแก้ที่สาเหตุน้ันได้โดยตรง การวิเคราะห์หา
สาเหตขุ องปญั หาจะตอ้ งกระทำ� อยา่ งระมดั ระวงั เพราะวา่ เมอื่ กำ� หนดสาเหตุ
ผิดแล้วจะท�ำให้แก้ไขไม่ถูกต้อง การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาอาจจะ
ใชห้ ลายวิธีเช่นเดียวกันกับการระบุสภาพของปัญหา เช่น การสอบถามจาก
นักเรียน เพ่อื นครู ผปู้ กครอง หรอื ใชก้ ารสงั เกตสิ่งทเ่ี กิดขึ้น ใชก้ ารทดสอบ
หรือแบบส�ำรวจ แลว้ นำ� ข้อมูลมาวิเคราะห์เปรยี บเทยี บ สนับสนนุ ซ่ึงกนั และ
กัน เพ่ือยืนยันถึงสาเหตุของปัญหาท่ีแท้จริงข้อควรระวังในการระบุสาเหตุ
ของปญั หาคอื ครจู ะตอ้ งรวบรวมขอ้ มลู อยา่ งเพยี งพอเพอ่ื การระบสุ าเหตขุ อง
ปญั หา เนอื่ งจากปรากฏการณท์ ส่ี งั เกตนนั้ เปน็ เพยี งพฤตกิ รรมหรอื ขอ้ มลู ทเ่ี รา
ไดม้ าเพยี งดา้ นเดยี ว บางครง้ั อาจจะไมใ่ ชส่ าเหตทุ แ่ี ทจ้ รงิ กไ็ ดเ้ ชน่ เดก็ ชายแดง
ไมช่ อบอา่ นหนงั สอื เมอื่ สอบถามจากผปู้ กครองแลว้ พบวา่ ทบี่ า้ นไมม่ หี นงั สอื
เลย ครูจึงสรุปว่าท่เี ดก็ ชายแดงไม่ชอบอ่านหนงั สอื เพราะไมม่ ีหนงั สอื ใหอ้ า่ น
การสรปุ แบบนไี้ มส่ มเหตสุ มผลเทา่ ทคี่ วรเพราะไดร้ บั ขอ้ มลู มาจากแหลง่ เดยี ว
ซึง่ สาเหตทุ ี่แท้จรงิ น้ันอาจมีสาเหตอุ น่ื รว่ มดว้ ย เช่น อ่านหนงั สอื ไม่ออก ต้อง
ชว่ ยพอ่ แมท่ ำ� งานบ้าน เป็นต้น

การวิจัยชั้นเรียน (Classroom Research):
กระบวนการสร้างความรู้เพื่อใช้พัฒนาการเรียนการสอน

30
กล่าวโดยสรุป คุณครูควรพิจารณาถึงสาเหตุของสภาพปัญหาที่แท้

จริงอย่าด่วนสรุปจากปรากฏการณ์ที่เห็นเพียงเล็กน้อย เพราะจะท�ำให้ครู
หลงทางในการวจิ ยั เม่อื แก้ไขปัญหาไปไม่ถูกทางแล้วกจ็ ะเกิดความสูญเปล่า
ในการทำ� วจิ ยั ในชั้นเรียนหรือเกาไมถ่ กู ท่คี ันนน่ั เอง

การวิเคราะหห์ าวิธีการแก้ไขปัญหา
เมอ่ื คณุ ครไู ดค้ ำ� ถามการวจิ ยั และสาเหตขุ องปญั หาแลว้ ขนั้ ตอ่ ไปคอื
คณุ ครูจะตอ้ งวเิ คราะห์หาวิธกี ารแกไ้ ขปัญหา วธิ ีการแกไ้ ขปญั หาในชัน้ เรียน
ทพี่ บบอ่ ย คอื การสรา้ งนวตั กรรมทงั้ ทเ่ี ปน็ วสั ดุ อปุ กรณ์ ชดุ ฝกึ วธิ กี ารสอน และ
วิธีการปรับพฤติกรรมวิธีการแก้ไขปัญหาที่น�ำมาใช้จะต้องมีความเหมาะสม
สามารถแกไ้ ขปญั หาไดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ คณุ ครอู าจศกึ ษาวธิ กี ารแกไ้ ขปญั หาจาก
เอกสารงานวจิ ยั ผู้เชี่ยวชาญ เพือ่ นครดู ้วยกัน หรืออาจร่วมกลุม่ กนั เป็นเครือ
ขา่ ยวจิ ยั ในชนั้ เรยี น เพอ่ื ประสานความรว่ มมอื ในกจิ กรรมตา่ งๆทเี่ กยี่ วกบั การ
วิจัย ดังนั้นคุณครูจะต้องอ่านและศึกษาให้มากแล้วสรุปพร้อมกับท�ำบันทึก
ความรู้เรื่องวิธีการแก้ไขปัญหาผู้เรียนในลักษณะท่ีแตกต่างกันเพื่อสามารถ
นำ� มาใช้ไดใ้ นคร้งั ต่อไป

31
ขั้นตอนท่ี 2 การตั้งวัตถปุ ระสงค์และช่ือเรือ่ งวิจัย

วตั ถุประสงคก์ ารวิจยั เปน็ ขอ้ ความท่แี สดงวา่ เราต้องการจะท�ำอะไร

เพ่ือตอบค�ำถามการวิจัยวัตถุประสงค์การวิจัยจึงต้องเขียนตามล�ำดับและ

เป็นขน้ั ตอน จะช่วยชล้ี ำ� ดับการวจิ ัยของครไู ด้ถกู ตอ้ ง โดยเขียนเป็นประโยค
บอกเลา่ ไมค่ วรเขยี นเปน็ ประโยคคำ� ถาม เขยี นถงึ สง่ิ ทตี่ อ้ งการทำ� จรงิ ๆ ไมใ่ ช่
เขยี นสงิ่ ทตี่ อ้ งการใหเ้ กดิ สง่ิ ทคี่ วรปรบั ปรงุ ของวตั ถปุ ระสงคท์ พ่ี บบอ่ ยในงาน
วจิ ยั ในชนั้ เรยี นคอื การเขยี นวตั ถปุ ระสงคใ์ นรปู แบบสงิ่ ทตี่ อ้ งการใหเ้ กดิ ไมใ่ ช่
ส่ิงที่จะกระทำ� ในงานวจิ ัย

การเขียนวัตถุประสงค์ต้องสอดคล้องกับค�ำถามการวิจัย
วัตถุประสงค์การวิจัย ครอบคลุมตัวแปรและประเด็นท่ีต้องการศึกษา
ไมค่ วรแยกยอ่ ยจนเกนิ ไปมคี วามชดั เจนและชใี้ หเ้ หน็ ความสมั พนั ธข์ องตวั แปร
การเขียนวัตถุประสงค์การวิจัยที่ดีจะต้อง SMART ได้แก่ มีความเฉพาะ
เจาะจง (Specific) สามารถวัดได้ (Measurable) ด�ำเนินการให้ส�ำเร็จได้
(Attainable) ตรงกบั สภาพความเป็นจริง (Realistic) และแสดงถงึ ช่วงเวลา
(Time - Bound) ตวั อย่างการเขยี นวตั ถปุ ระสงค์แสดงไดด้ ังนี้

วัตถุประสงค์ทีค่ วรปรบั ปรงุ
- เพอ่ื สง่ เสรมิ การเรยี นรขู้ องนกั เรยี น (ไมท่ ราบวา่ สง่ เสรมิ คอื อะไร
ไม่ชดั เจน)
- เพ่ือให้นักเรียนมีทัศนคติท่ีสูงขึ้น (วัดยาก คลุมเครือ และเป็น
สิ่งท่คี าดหวังในการทำ� วจิ ยั ไมใ่ ช่สิง่ ทจี่ ะท�ำ)
- เพ่ือใหผ้ ูเ้ รียนมคี ุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ (คลุมเครือ ไม่ชดั เจน
วดั ไมไ่ ด้ ไมเ่ ฉพาะเจาะจงในคำ� วา่ คณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ และ
เป็นสง่ิ ท่ีคาดหวงั ในการท�ำวจิ ัย ไม่ใช่สง่ิ ทจ่ี ะท�ำ)

การวิจัยชั้นเรียน (Classroom Research):
กระบวนการสร้างความรู้เพ่ือใช้พัฒนาการเรียนการสอน

32
วัตถุประสงคท์ ี่ถกู ต้อง
- เพ่ือสร้างและหาประสิทธิภาพของชุดการสอนเร่ืองโรคติดต่อ

(บอกวา่ จะทำ� อะไร มคี วามเฉพาะเจาะจงวา่ ชดุ การสอนเรอื่ งโรค
ติดต่อตรงสภาพความเป็นจริงและสามารถวัดได้จากการท่ีมี
ชดุ การสอนและวดั ประสทิ ธภิ าพ)

- เพื่อแก้ไขปัญหาพฤติกรรมการมาโรงเรียนสายของนักเรียน
ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 จำ� นวน 6 คน (มคี วามชดั เจนวา่ ตอ้ งการ
แก้ไขปัญหา วัดได้ และเปน็ สงิ่ ทจ่ี ะทำ� )

การตง้ั ชอื่ เร่อื งวิจัย
ช่ือเรื่องวิจัยเปรียบเสมือนหน้าตาหรือรูปร่างภายนอกท่ีคนจะเห็น
จากงานวิจัยของครูเป็นล�ำดับแรก การเขียนชื่อเร่ืองการวิจัยในชั้นเรียน
จะตอ้ งองิ วัตถุประสงค์และเนอื้ หาที่ทำ� มีลกั ษณะเขยี นเป็นประโยคบอกเลา่
และแสดงให้เหน็ ถงึ ความสัมพันธข์ องตัวแปร ใชภ้ าษาท่ชี ัดเจน ไมฟ่ ุ่มเฟือย
ไม่ซ้�ำซ้อนกัน ไม่กว้างหรือแคบเกินไปจนไม่ได้สาระ การต้ังชื่อเร่ืองวิจัย
จะตอ้ งประกอบดว้ ย 4 องคป์ ระกอบ คอื จดุ มงุ่ หมาย ตวั แปร กลมุ่ เปา้ หมาย
และวธิ ีการ/นวัตกรรมทนี่ ำ� มาศกึ ษาหรอื แกไ้ ขปญั หา โดยมรี ายละเอียดของ
แต่ละองคป์ ระกอบดงั นี้
1. จดุ ม่งุ หมายการวิจัย
การก�ำหนดจุดมุ่งหมายการวิจัยควรระบุว่าต้องการจะท�ำอะไร
โดยอาจจะอิงจากวัตถุประสงค์ของการวิจัยก็ได้ จุดมุ่งหมายในการวิจัย
ท่ีพบบ่อยในงานวิจัยในช้ันเรียนประกอบด้วยค�ำหลักต่อไปน้ีคือ การแก้ไข
การพัฒนาการแกป้ ญั หา การศึกษา การเปรียบเทยี บ เปน็ ตน้

33
2. ตวั แปร
ในการวจิ ยั มกั จะมกี ารกลา่ วถงึ “ตวั แปร” อยเู่ สมอ ซง่ึ ความหมาย
ของตัวแปรคือ คุณลักษณะท่ีสามารถแปรค่าได้หลายค่า คุณลักษณะนั้น
อาจจะเปน็ วัตถุ ส่ิงของ เหตกุ ารณ์ หรอื สถานท่ี เปน็ ตน้ หรอื อาจจะกล่าว
ได้ว่าเป็นส่ิงท่ีเรามุ่งสนใจศึกษาอยู่นั่นเอง เช่นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ความสามารถในการอา่ นออกเสยี งของนกั เรยี น โดยคณุ ครอู าจจะสนใจศกึ ษา
ตัวแปรเพียงตัวเดียวหรือมากกว่า 1 ตัวแปรก็ได้ ข้ึนอยู่กับปัญหาการวิจัย
ดังนั้นจึงอาจกล่าวได้ว่าการวิจัยในช้ันเรียนเป็นกระบวนการศึกษาตัวแปร
น่ันเอง ตัวแปรมีการจัดแบ่งไว้หลายประเภท ในท่ีน้ีจะแบ่งประเภทตาม
ความสมั พันธ์ของตวั แปร ซง่ึ เป็นแบบท่ีรู้จกั กนั โดยทั่วไปในการวจิ ยั ชัน้ เรียน
ดงั น้ี
1) ตวั แปรตน้ หรอื ตวั แปรอสิ ระ (Independent Variable)
เป็นตัวแปรท่ีมีอทิ ธพิ ลหรอื สง่ ผลตอ่ ตวั แปรอื่น
2) ตวั แปรตาม (Dependent Variable) เป็นตวั แปรผลท่ี
เกดิ ขน้ึ จากการส่งผลของตวั แปรอิสระ
3) ตวั แปรแทรกซอ้ น (Extraneous Variable) เปน็ ตวั แปร
อิสระที่ไม่ต้องการศึกษาหรือไม่ได้เลือกมาศึกษาผล ซึ่งอาจมีผลกระทบ
ต่อผลการวิจัยหากคณุ ครไู ม่ได้ควบคมุ หรือก�ำจดั ออกไป
4) ตวั แปรแทรกสอด (Intervening Variable) เปน็ ตวั แปร
ทส่ี อดเขา้ มาคน่ั กลางระหวา่ งตวั แปรอสิ ระและตวั แปรตาม โดยทอี่ าจจะไดร้ บั
อทิ ธพิ ลจากตวั แปรอสิ ระกอ่ นแลว้ จงึ สง่ ผลตอ่ ตวั แปรตาม ตวั แปรแทรกสอด
ผวู้ ิจยั มิได้ค�ำนงึ ถึงไว้ล่วงหนา้ แตถ่ า้ ควบคมุ หรอื ออกแบบการวจิ ัยให้ดผี ้วู ิจยั
อาจนำ� ตวั แปรแทรกสอดมาอธิบายได้

การวิจัยช้ันเรียน (Classroom Research):
กระบวนการสร้างความรู้เพ่ือใช้พัฒนาการเรียนการสอน

34
เพอ่ื ความชดั เจนตอ่ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั ตวั แปรจะขอยกตวั อยา่ ง

งานวิจัยเรื่อง “การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของ
นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5 ด้วยการใช้วิธีการสอนต่างกัน” ดังแผนภาพ
กรอบแนวคิดการวิจยั ดังนี้

วิธกี ารสอน (3 วิธ)ี ความพงึ พอใจ

ความเหนือ่ ยหนา่ ย

พ้นื ฐานความรเู้ ดิม

จากแผนภาพแสดงความสมั พนั ธต์ ามช่ือเรือ่ งพบวา่ ตัวแปรตน้
จากแผนภาพหแรสอื ดตงวั คแวปารมอสสิ ัมรพะันคอืธ์ตวาธิ มกี ชาื่อรสเรอ่ือนงพซบงึ่ มวี่า3 ตวัธวิ หีแปรอืรตแ้นปหรครือา่ ไตดัว้ แ3ปครา่ อติสวั รแะปครือตวามิธีการสอน ซ่ึงมี
รือ แปรค่าได้ 3คือค่าคตวัวาแมปพรึงตพาอมใคจือ แคตว่คามวพามึงพรู้เอดใิมจเปแต็น่คตวัวาแมปรรู้เดแิมทเรปก็นซต้อัวนแทป่ีอรแาจทจระกทซ้�อำในหท้ ่ีอาจจะทาให้
งพอใจมีค่าแตคกวตา่ามงพกังนึ พรอะใหจวม่าคี งา่ใชแ้กตากรตสา่ องกนนั ทร้ังะห3ววา่ ิธงีใตชัวก้ แารปสรอแนททรง้ักส3อวดธิ คี ตือวั แคปวราแมทเหรกนสื่ออยดหน่ายเมื่อสอน
การทต่ี า่ งกนั อาคจือจะคทวาใาหมเ้ เกหิดนค่ือวายมหเนหน่าย่ือยเมหื่อนส่าอยตน่าดง้วกยนั วดิธว้ ีกยารที่ต่างกันอาจจะท�ำให้เกิด
3) กลุ่มเปา้ หคมวาายมเหนอื่ ยหนา่ ยตา่ งกันด้วย
แมปกลต4ก็นวะ)ัวล่าผแอุ่มว้รู กกยเว่ธิ ล้ปไา่มีกขุ่งม้าวาสไหตจิรปภัวมหัยสาอมารูป่พแขกแเยยือิใปรชปลอา่าลเนะ้าปรงก่ะงัญะวชหทตแ็ลนแกัตหาม�กำนมุ่กกากกาวาป้ตไรล้ไรทรยิจม3 ญัขใวัุ่มรัยเ่ีชเ่ตนอ.สนกมหน ใ้ค้อยอภนื่อิดทาักากกา่งกงาขชเน่ีวกองลลจจรพ้ึ้ันน่าาาม่าุ่มุีายากปเรกมศกเกเนรวลปปับัญัายนียลทจิุ่มา้ศา้ผกนักกี้หยัี่หคเหึกู้เาษายปเารรมรชษมรังณ้ีายทูทอางิทเาาหนี่ปยเวา้าะยหากมชิขเวง็นขวปริดาอาิจอจิอกอืน็ยกขิังยงัยงาแจาเก้ึนคเกรในพรกาลนรทกา่ืออกไ้ืู่อผมุ่รชับ�ำขางกวู้พสนั้นวจจผปิจลิจอกััฒเเาู้เัญรัยุร่มัยนเรกียยรนีใตแียหภลนยีนกาับวนักาานชวยอบยขษสา่ั้นทังยใรอ่ณงเเกคี่น่าป่วรเงลรสงะมหีย็นคทไูมุ่ขรนม้อกปริตมำ�อือูเงผาสวปวังเรทู้สแู่จิปรอก็นที่คีอยยัลยราการเนนะระา่ พวาูผวงชแขภิรจอ่ืู้วิจากกอสายั ิจพัยก้ปางย่งแัยใฒัรรตเัใญบนสถในนนชบชรือนหหไคา้ิมั้นรวอมา้ำอ�ว่่าสเก่ตวรมกผพงง่จ้อา่ยีเู้เเมาัฒการรสงนรือกีอยียลรนวเทนปนมิมานุ่ิาจี่คศ้ี็นัยรัยกเผูชกาู้วิงารจิวรสยัิชอ่งถ้าาเสกงอื รอวาิมิง่าร
เป็นการระบุวเป่าเ็นรผารู้จว่ะมใชว้วิจิธยั ีกมาใิ ชรใ่กดล่มุหตรัวืออนยวา่ ัตงกรรมอะไรมาส่งเสริมพัฒนา หรือแก้ไขปัญหา ในงานวิจัย
ยนทพี่ บบอ่ ยคือสอื่ การสอน วธิ ีการจดั การเรยี นรู้ และวิธกี ารปรบั พฤตกิ รรม
กล่าวโดยสรุป หลักการต้ังชื่อเรื่องวิจัยจะต้องประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ คือ จุดมุ่งหมาย ตัวแปร
าหมาย และวธิ กี าร/นวตั กรรมท่ีนามาใช้ ดังตวั อย่างการต้งั ชอื่ เร่อื งวิจยั ในช้ันเรียนต่อไปนี้

35
4. วิธกี ารหรอื นวตั กรรมทนี่ ำ� มาศึกษาหรอื แกไ้ ขปัญหา
เป็นการระบุว่าเราจะใช้วิธีการใด หรือนวัตกรรมอะไร
มาส่งเสริมพัฒนา หรือแก้ไขปัญหา ในงานวิจัยในช้ันเรียนท่ีพบบ่อยคือ
สอื่ การสอน วิธีการจดั การเรียนรู้ และวิธกี ารปรับพฤติกรรม
กล่าวโดยสรุป หลักการตั้งชื่อเร่ืองวิจัยจะต้องประกอบด้วย
4 องคป์ ระกอบ คอื จดุ มงุ่ หมาย ตวั แปร กลมุ่ เปา้ หมาย และวธิ กี าร/นวตั กรรม
ท่ีน�ำมาใช้ ดงั ตัวอย่างการต้ังช่อื เรือ่ งวิจยั ในชั้นเรยี นตอ่ ไปนี้
“การพัฒนาพฤติกรรมการเข้าแถวซื้ออาหารของนักเรียน
ชน้ั อนุบาลโดยใช้การเสรมิ แรง”
ช่ืองานวิจัยข้างต้นมีความสมบูรณ์ ประกอบด้วยจุดมุ่งหมาย
ในการวิจัย ซ่ึงก็คือ “การพัฒนา” ตัวแปรที่สนใจศึกษาคือ “พฤติกรรม
การเขา้ แถวซอ้ื อาหาร” กลมุ่ เปา้ หมายคอื “นกั เรยี นชน้ั อนบุ าล” และวธิ กี าร
ท่นี �ำมาศึกษา คอื “การเสรมิ แรง” นอกจากนีค้ ณุ ครูอาจตอ้ งคำ� นึงถึงการใช้
ค�ำอย่างไรที่จะสร้างความสนใจใหก้ บั ผูอ้ ่านด้วย เรื่องการต้งั ชอ่ื งานวิจยั อาจ
จะต้องฝกึ ฝนจนเกดิ ความช�ำนาญต่อไป
ขั้นตอนที่ 3 การพัฒนานวัตกรรม
ส�ำหรับช้ันเรียนของครูนักวิจัยที่ต้องใช้หรือพัฒนานวัตกรรมข้ึน
มาใชใ้ นการแกไ้ ขปญั หาผูเ้ รยี นหรือการพฒั นาการเรยี นการสอน โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งนวัตกรรมการเรียนรู้ท่ีเป็นการปรับเปล่ียนหรือพัฒนาตัวกระตุ้น
หรือส่ือการเรยี นรู้ และ/หรอื การปรบั เปล่ยี นหรอื พฒั นากระบวนการเรยี นรู้
ของผูเ้ รียนทสี่ ร้างสรรคข์ ึ้นใหม่ ไม่มีใครเคยทำ� มาก่อน เพ่ือท�ำใหผ้ ูเ้ รียนเกิด
การเรียนรู้ผ่านระบบประสาทสัมผัส ระบบประสาทมอเตอร์ ระบบสมอง
เกี่ยวกับความจ�ำ ความรู้สึกและอารมณ์ ยังผลให้เกิดปัญญาและจิตปัญญา

การวิจัยช้ันเรียน (Classroom Research):
กระบวนการสร้างความรู้เพ่ือใช้พัฒนาการเรียนการสอน

36
ซ่ึงสามารถน�ำไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจ�ำวันและการทำ� งานตา่ งๆ ใหส้ ำ� เร็จ
ลลุ ว่ งไปได้

ประเภทของการใชน้ วตั กรรมการศึกษา
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้มีบทบัญญัติ
ที่เก่ียวข้องกับเทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรมการศึกษาไว้หลายมาตรา
มาตราท่ีส�ำคัญ คือ มาตรา 67 รัฐต้องส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนา
การผลติ และการพฒั นาเทคโนโลยเี พอื่ การศกึ ษา รวมทง้ั การตดิ ตาม ตรวจสอบ
และประเมนิ ผลการใชเ้ ทคโนโลยเี พอื่ การศกึ ษา เพอ่ื ใหเ้ กดิ การใชท้ ค่ี มุ้ คา่ และ
เหมาะสมกบั กระบวนการเรียนรขู้ องคนไทยและในมาตรา 22 “การจัดการ
ศกึ ษาตอ้ งยดึ หลกั วา่ ผเู้ รยี นทกุ คนมคี วามสามารถเรยี นรแู้ ละพฒั นาตนเองได้
และถือว่าผู้เรยี นมคี วามส�ำคัญท่สี ุด กระบวนการจดั การศึกษาตนเองได้และ
ถือว่าผู้เรียนมีความส�ำคัญท่ีสุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้
ผูเ้ รยี นสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเตม็ ตามศักยภาพ” การดำ� เนนิ การ
ปฏริ ปู การศกึ ษาใหส้ ำ� เรจ็ ไดต้ ามทรี่ ะบไุ วใ้ นพระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ
พ.ศ. 2542 ดังกล่าว จ�ำเป็นต้องท�ำการศึกษาวิจัยและพัฒนานวัตกรรม
การศึกษาใหม่ๆ ท่ีจะเข้ามาช่วยแก้ไขปัญหาทางการศึกษาทั้งในรูปแบบ
ของการศกึ ษาวจิ ยั การทดลองและการประเมนิ ผลนวตั กรรมหรอื เทคโนโลยี
ท่ีน�ำมาใช้ว่ามีความเหมาะสมมากน้อยเพียงใด นวัตกรรมท่ีน�ำมาใช้ท้ังที่
ผ่านมาแล้วและที่จะมีในอนาคตมีหลายประเภทขึ้นอยู่กับการประยุกต์ใช้
นวัตกรรมในด้านต่างๆ ในที่น้ีจะขอกล่าวคือ นวัตกรรม 5 ประเภท คือ
(1) นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร (2) นวัตกรรมการเรียนการสอน
(3) นวัตกรรมสือ่ การสอน (4) นวัตกรรมการประเมินผล และ (5) นวัตกรรม
การบริหารจดั การ ดังรายละเอียดตอ่ ไปน้ี

37
1. นวตั กรรมทางด้านหลักสูตร
นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร เป็นการใช้วิธีการใหม่ๆ ในการ
พัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมในท้องถิ่นและตอบสนอง
ความต้องการสอนบุคคลให้มากข้ึน เน่ืองจากหลักสูตรจะต้องมี
การเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอเพื่อให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าทางด้าน
เทคโนโลยีเศรษฐกิจและสังคมของประเทศและของโลก นอกจากนี้
การพัฒนาหลักสูตรยังมีความจ�ำเป็นที่จะต้องอยู่บนฐานของแนวคิดทฤษฎี
และปรัชญาทางการจัดการสัมมนาอีกด้วย การพัฒนาหลักสูตรตามหลัก
การและวิธีการดังกล่าวต้องอาศัยแนวคิดและวิธีการใหม่ๆ ท่ีเป็นนวัตกรรม
การศึกษาเข้ามาช่วยเหลือจัดการให้เป็นไปในทิศทางที่ต้องการ นวัตกรรม
ทางดา้ นหลักสูตรในประเทศไทย ได้แก่ การพัฒนาหลักสูตรดงั ตอ่ ไปน้ี
1) หลกั สูตรบรู ณาการ เป็นการบรู ณาการส่วนประกอบของ
หลักสูตรเข้าด้วยกันทางด้านวิทยาการในสาขาต่างๆ การศึกษาทางด้าน
จริยธรรมและสังคม โดยมุ่งให้ผู้เรียนเป็นคนดี สามารถใช้ประโยชน์จาก
องคค์ วามรใู้ นสาขาตา่ งๆ ใหส้ อดคล้องกบั สภาพสงั คมอยา่ งมจี ริยธรรม
2) หลักสูตรรายบุคคล เป็นแนวทางในการพัฒนาหลักสูตร
เพื่อการศึกษาตามอัตภาพ เพื่อตอบสนองแนวความคิดในการจัดการศึกษา
รายบคุ คล ซงึ่ จะตอ้ งออกแบบระบบเพอื่ รองรบั ความกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยี
ด้านต่างๆ
3) หลักสูตรกิจกรรมและประสบการณ์ เป็นหลักสูตร
ท่ีมุ่งเน้น กระบวนการในการจัดกิจกรรมและประสบการณ์ให้กับผู้เรียน
เพอ่ื นำ� ไปสคู่ วามสำ� เรจ็ เชน่ กจิ กรรมทสี่ ง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นมสี ว่ นรว่ มในบทเรยี น
ประสบการณ์การเรยี นรจู้ ากการสืบคน้ ดว้ ยตนเอง เปน็ ตน้

การวิจัยชั้นเรียน (Classroom Research):
กระบวนการสร้างความรู้เพ่ือใช้พัฒนาการเรียนการสอน

38
4) หลักสูตรท้องถ่ิน เป็นการพัฒนาหลักสูตรที่ต้องการ

กระจายการบรหิ ารจดั การออกสทู่ อ้ งถนิ่ เพอ่ื ใหส้ อดคลอ้ งกบั ศลิ ปวฒั นธรรม
สิ่งแวดล้อมและความเป็นอยู่ของประชาชนท่ีมีอยู่ในแต่ละท้องถ่ิน แทนที่
หลกั สตู รในแบบเดิมท่ีใช้วิธกี ารรวมศูนยก์ ารพฒั นาอยู่ในสว่ นกลาง

2. นวตั กรรมการเรยี นการสอน
เป็นการใช้วิธีระบบในการปรับปรุงและคิดค้นพัฒนาวิธีสอน
แบบใหม่ๆ ท่ีสามารถตอบสนองการเรียนรายบุคคล การจัดการเรียนรู้
แบบเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม การเรียนรู้
แบบแก้ปัญหา การเรียนรู้เชิงรุก (Active learning) การพัฒนาวิธี
จัดการเรียนรู้จ�ำเป็นต้องอาศัยวิธีการและเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาจัดการ
และสนับสนุนการเรียนการสอน ตัวอย่างนวัตกรรมท่ีใช้ในการเรียน
การสอน ได้แก่ การสอนแบบโมดูล (Module Teaching)  การสอน
แบบกลุ่มสัมพันธ์ (Group Process Teaching) การสอนซ่อมเสริม
(Remedial Teaching) การสอนโดยเพ่ือนสอนเพ่ือน (Peers Teaching)
การเรียนแบบศูนย์การเรียน (Learning Center) การสอนแบบบูรณาการ
(Integrative Techniques) การสอนแบบสบื สวนสอบสวน (Inquiry Method)
การสอนโดยใช้ชุดการเรียนการสอน (Instructional Package) การสอน
โดยให้ทางบ้านดูแลการฝึกปฏิบัติ (Home Training) การจัดการเรียนรู้
แบบใช้โครงงานเป็นฐาน (Project Based Learning) การเรียนผ่าน
เครือข่ายคอมพวิ เตอร์และอินเทอร์เนต็ เป็นต้น
3. นวตั กรรมสอื่ การสอน
เนื่องจากมีความก้าวหน้าของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เครือข่ายและเทคโนโลยี โทรคมนาคม ท�ำให้นักการศึกษา
พยายามน�ำศักยภาพของเทคโนโลยีเหล่าน้ีมาใช้ในการผลิตสื่อการเรียนการ

39
สอนใหม่ๆ จ�ำนวนมากมาย ท้ังการเรียนด้วยตนเองการเรียนเป็นกลุ่มและ
การเรยี นแบบมวลชน ตลอดจนสอ่ื ทใ่ี ชเ้ พอ่ื สนบั สนนุ การฝกึ อบรม ผา่ นเครอื
ขา่ ยคอมพิวเตอร์ ตวั อย่างนวตั กรรมส่อื การสอน ได้แก่

- คอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน (CAI)
- มัลติมเี ดยี (Multimedia)
- การประชุมทางไกล (Teleconference)
- ชุดการสอน (Instructional Module)
- วดี ที ัศนแ์ บบมปี ฏสิ มั พันธ์ (Interactive Video)
- การออกแบบสง่ิ แวดลอ้ มการเรียนรโู้ ดยใช้เทคโนโลยี
(Learning Environment Design)
4. นวตั กรรมทางดา้ นการประเมนิ ผล
เปน็ นวตั กรรมทใ่ี ชเ้ ปน็ เครอ่ื งมอื เพอื่ การวดั ผลและประเมนิ ผลได้
อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและทำ� ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ รวมไปถงึ การวจิ ยั ทางการศกึ ษา
การวจิ ยั สถาบัน ดว้ ยการประยุกตใ์ ช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์มาสนบั สนุนการ
วดั ผล ประเมินผลของสถานศกึ ษา ครู อาจารย์ ตวั อย่าง นวตั กรรมทางด้าน
การประเมนิ ผล ไดแ้ ก่
- การพฒั นาคลงั ขอ้ สอบ (items bank)
- การสร้างแบบสอบวินิจฉยั ทางปัญญา
(Cognitive diagnostic test)
- การทดสอบทางคอมพิวเตอร์แบบปรับเหมาะ
(Computerized Adaptive Testing)
- การใชค้ อมพิวเตอรใ์ นการตัดเกรด
- ฯลฯ

การวิจัยช้ันเรียน (Classroom Research):
กระบวนการสร้างความรู้เพื่อใช้พัฒนาการเรียนการสอน

40

5. นวัตกรรมการบริหารจัดการ
เป็นการใช้นวัตกรรมท่ีเก่ียวข้องกับการใช้สารสนเทศมาช่วย
ในการบริหารจัดการ เพื่อการตัดสินใจของผู้บริหารการศึกษาให้มี
ความรวดเร็วทันเหตุการณ์ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกนวัตกรรม
การศกึ ษาทนี่ ำ� มาใชท้ างดา้ นการบรหิ ารจะเกย่ี วขอ้ งกบั ระบบการจดั การฐาน
ขอ้ มลู ในหนว่ ยงานสถานศกึ ษา เชน่ ฐานขอ้ มลู นกั เรยี น นกั ศกึ ษา ฐานขอ้ มลู
คณะอาจารย์และบุคลากร ในสถานศึกษา ด้านการเงิน บัญชี พัสดุ และ
ครภุ ณั ฑ์ ฐานขอ้ มลู เหลา่ นต้ี อ้ งการออกระบบทส่ี มบรู ณม์ คี วามปลอดภยั ของ
ข้อมูลสูง นอกจากน้ียังมีความเกี่ยวข้องกับสารสนเทศภายนอกหน่วยงาน
เช่น ระเบยี บปฏบิ ตั ิ กฎหมาย พระราชบัญญัติ ท่เี กี่ยวกับการจัดการศึกษา
ซ่ึงจะต้องมีการอบรม เก็บรักษาและออกแบบระบบการสืบค้นที่ดีพอ
ซง่ึ ผบู้ รหิ ารสามารถสบื คน้ ขอ้ มลู มาใชง้ านไดท้ นั ทตี ลอดเวลา การใชน้ วตั กรรม
แต่ละด้านอาจมีการผสมผสานท่ีซ้อนทับกันในบางเร่ือง ซ่ึงจ�ำเป็นต้องมี
การพฒั นารว่ มกนั ไปพรอ้ มๆ กนั หลายดา้ น การพฒั นาฐานขอ้ มลู อาจตอ้ งทำ�
เปน็ กลุม่ เพอ่ื ให้สามารถน�ำมาใช้รว่ มกนั ได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
ข้ันตอนในการหาประสิทธิภาพของนวัตกรรมการเรยี นการสอน
นวัตกรรมท่ีครูนักวิจัยสร้างขึ้น มีข้ันตอนในการหาประสิทธิภาพ
อยา่ งงา่ ยๆ ดงั น้ี
1. การหาประสทิ ธภิ าพของนวตั กรรมเบอื้ งตน้ ควรใหผ้ เู้ ชย่ี วชาญ
ด้านการเรียนการสอนในวิชาน้ันๆ ตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อหาและ
การสื่อความหมาย โดยน�ำนวัตกรรมท่ีสร้างข้ึน พร้อมแบบประเมินท่ีมี
แนวทางหรอื ประเดน็ ในการพจิ ารณาคณุ ภาพใหผ้ เู้ ชย่ี วชาญประเมนิ คณุ ภาพ
2. น�ำข้อมูลท่ีได้จากข้อ 1 ซึ่งเป็นข้อแนะน�ำจากผู้เชี่ยวชาญ
มาพจิ ารณาปรบั ปรุง แก้ไข หลงั จากน้นั จงึ นำ� นวตั กรรมท่สี รา้ งขนึ้ ไปทดลอง
กับผู้เรียนกลุ่มเล็กๆ อาจเป็น 1 คน 3 คน 5 คน หรือ 10 คน แล้วแต่

41

ความเหมาะสม โดยให้ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมหรือฝึกปฏิบัติตามข้ันตอน
ที่ระบุไว้แล้วมีการเก็บคะแนนระหว่างปฏิบัติและคะแนนหลังการทดลองใช้
นวัตกรรม เพือ่ หาประสิทธิภาพของนวัตกรรมตามหลกั การ

3. น�ำผลการทดลองใช้นวัตกรรมจากผู้เรียนกลุ่มเล็กตามข้อ 2
มาปรับปรงุ ขอ้ บกพรอ่ งอกี ครัง้ หนงึ่ ก่อนนำ� ไปใช้จริงกับกลุ่มนักเรียนที่สอน

การพสิ ูจน์ประสทิ ธภิ าพของนวัตกรรมการเรียนการสอน
การหาประสทิ ธภิ าพนวตั กรรมโดยทว่ั ไปจะใชท้ ดลองกบั ผเู้ รยี นกลมุ่
หน่งึ ตามความเหมาะสมซงึ่ สามารถใชว้ ธิ ีการหาประสทิ ธิภาพไดด้ งั ต่อไปนี้
1. วิธีบรรยายเปรียบเทียบสภาพก่อนและหลังการใช้นวัตกรรม
จากการทดลองใชก้ บั กลมุ่ เล็กๆ โดยมีการบันทึกหรอื เก็บขอ้ มูลทไ่ี ด้จากการ
วัดผลผู้เรียนด้วยเคร่ืองมือต่างๆ ทั้งก่อนและหลังการใช้นวัตกรรมแล้วจึง
น�ำข้อมูลเหล่านั้นมาประกอบการบรรยายเชิงคุณภาพเพื่อแสดงให้เห็นว่า
หลงั การใชน้ วตั กรรมแลว้ ผเู้ รยี นมกี ารพฒั นาเพมิ่ ขน้ึ เปน็ ทนี่ า่ พอใจมากนอ้ ย
เพยี งใด
2. วิธีนิยามตัวบ่งช้ีท่ีแสดงผลลัพธ์ท่ีต้องการ แล้วเปรียบเทียบ
ข้อมูลกอ่ นใช้กับหลงั ใช้นวตั กรรม เชน่ ก�ำหนดผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนวิชา
วทิ ยาศาสตร์ (ว 306) เรื่อง พลังงานไฟฟา้ ไว้เปน็ ร้อยละ 60 แสดงวา่ หลงั
จากใช้นวัตกรรมแล้วนักเรียนทุกคนที่เป็นกลุ่มทดลองจะต้องผ่านเกณฑ์
ทีก่ �ำหนดไวค้ ือร้อยละ 60 จึงจะถอื วา่ นวัตกรรมนนั้ มปี ระสทิ ธภิ าพ
3. วิธีค�ำนวณหาอัตราส่วนระหว่างร้อยละของจ�ำนวนนักเรียน
ทคหะ่ีสมแอานยบคนแวบเตาบ็มมทวทด่า่ีกสก�ำอ�ำหบหนอนดิงดเเกเกกณณณฑฑฑ์ก์ผ์กา่าารนรผเผก่า่าณนนไฑไวว์ท้ ้แี่(กPล�ำ2้วห) นเตดช้อไ่นงวม้ P(ีจP1�ำ1น): วPตน2่อผ=ู้เรร้อีย8ยน0ละ8:ข06อ%0ง
คขอะแงจน�ำนนเวตนม็ ผ(ู้เPร2ีย)นจทึงจ้ังหะมมีปดรผะ่าสนิทเกธณิภาฑพ์ (P1) และต้องผ่าน 60% ของจ�ำนวน

การวิจัยชั้นเรียน (Classroom Research):
กระบวนการสร้างความรู้เพ่ือใช้พัฒนาการเรียนการสอน

42

4) วิธีหาประสทิ ธิภาพของนวัตกรรมโดยใชส้ ตู ร ผEู้ส1ร/้าEงน2 วัตกรรม
การหาประสิทธิภาพของนวัตกรรมโดยวิธีนี้
จหะรตือ้อง9ก0�ำ/ห90นดโดEย1ทแ่ัวลไะปนEิย2มไกว�ำ้ลห่วนงหดนเก้าณก่อฑน์อทยดู่ใลนอชง่วนงวัต7ก0ร%รม- เช่น 80/80
90% ท้ังน้ี
แล้วแตค่ วามเหมาะสมของนวตั กรรมและการวัดความสามารถของผู้เรยี น
จากการใโชดน้ ยวทัต่ี ก รEร1 มค(ือPrคo่าcเeฉsลs่ี)ยร้อยละของคะแนนเต็มระหว่างการปฏิบัติ
E2 คอื คา่ เฉลยี่ รอ้ ยละของคะแนนเตม็ หลงั การใชน้ วตั กรรม
(Outcome)

ตัวอย่าง ครูผู้สอนสร้างนวัตกรรมชิ้นหนึ่งต้องการหาประสิทธิภาพโดย
กำ� หนดเกณฑป์ ระสิทธิภาพไวเ้ ปน็ 80/80 ผลการทดลอง

รายการ คะแนนเตม็ คะแนนเฉลยี่
1. คะแนนจากการทำ� แบบฝกึ หดั ระหวา่ งเรยี น A = 90 x 1 = 74

2. คะแนนจากการทำ� แบบทดสอบหลงั เรยี น B = 40 x 2 = 35

จากสตู ร

E1 = x 1 ×100
A

x 1 คือ คะแนนเฉลย่ี ทำ� แบบฝึกระหวา่ งเรียน
A คือ คะแนนเต็มของแบบฝกึ ระหว่างเรียน

43

E2 = x 2 ×100
B

x 2 คือ คะแนนเฉลย่ี การท�ำแบบทดสอบหลงั เรยี น
B คือ คะแนนเตม็ ของแบบทดสอบหลงั เรียน

ดงั น้นั แทนคา่ ได้

E1 = 7940 X 100 = 82.22
E2 = 4305 X 100 = 87.50

เกณฑ์ประสิทธิภาพท่ีต้ังไว้ 80/80 ผลการทดลองใช้นวัตกรรม
คำ� นวณได้ 82.22 / 87.50

สรปุ ไดว้ า่
ประสทิ ธภิ าพของนวตั กรรมสงู กวา่ เกณฑท์ ต่ี ง้ั ไวแ้ สดงวา่ นวตั กรรมน้ี

มปี ระสิทธภิ าพ สามารถน�ำไปใชใ้ นการเรียนการสอนได้จริง

การวิจัยช้ันเรียน (Classroom Research):
กระบวนการสร้างความรู้เพื่อใช้พัฒนาการเรียนการสอน

44

ขนั้ ตอนที่ 4 การเลอื กประเภทของการวจิ ยั
ในช้ันเรียนครูสามารถน�ำประเภทของการวิจัย (Research Type)

มาใช้ในชั้นเรียนได้หลากหลายแบบตามเป้าหมายของการค้นหาค�ำตอบ
เก่ียวกับตัวแปรต่างๆ ของผู้เรียนเพื่อน�ำมาใช้บรรยาย อธิบาย ท�ำนาย
และควบคุม ซ่ึงแต่ละประเภทมีลักษณะส�ำคัญร่วมกันคือ มีระเบียบวิธีการ
ทเ่ี ปน็ ขนั้ ตอน กระบวนการทที่ ำ� อยา่ งเปน็ ระบบ ทำ� อยา่ งตอ่ เนอื่ ง ตรวจสอบ
ยืนยันผลได้ มีความน่าเชื่อถือ หรือที่เรียกว่าใช้ “วิธีการทางวิทยาศาสตร์
(Scientific Method)”

ตารางท่ี 1 ประเภทของการวจิ ยั

ประเภทของการวจิ ยั เปา้ หมายของการวจิ ยั สถานการณข์ องครู ตวั อยา่ งคำ� ถามวจิ ยั
ครูต้องการทราบขอ้ มลู 1) ผเู้ รยี นมรี ะดบั ความ
1. การวจิ ยั เชิงสำ� รวจ ม่งุ ส�ำรวจขอ้ เท็จจรงิ เก่ยี วกับตวั ผเู้ รียนเพื่อนำ� พงึ พอใจตอ่ การจดั การ
(Survey Research) ความคดิ เห็น สภาพ ไปใชใ้ นการวางแผนการ เรียนร้ขู องครผู ู้สอนอยูใ่ น
เกย่ี วกับตัวแปรตา่ งๆ จดั การเรยี นรู้ ระดบั ใด
ของผูเ้ รยี น ในสภาพ 2) ผเู้ รยี นมีรูปแบบการ
ปัจจุบัน ครตู ้องการคน้ หาคำ� เรยี นรู้ (learning style)
อธบิ าย ความเกย่ี วข้อง อะไรบา้ ง
2. การวิจัยเชงิ บรรยาย มุ่งค้นหาคำ� อธบิ าย ของตวั แปรต่างๆของ 1) ท�ำไมนักเรียนจงึ มี
(Descriptive Research) ปรากฏการณท์ ี่เกดิ ขึน้ กับ ผู้เรยี น เช่น สาเหตุ รูปแบบการเรียนรู้
ผู้เรียนในแง่มมุ ของความ ผลลัพธ์ และแนวทางการ แตกตา่ งกัน
เกี่ยวข้องตวั แปรต่างๆ แกไ้ ขปัญหาผู้เรยี น 2) การจดั การเรยี นรู้แบบ
ของผเู้ รียน ครูสังเกตเห็นวา่ นักเรยี น โครงงานทใี่ หช้ มุ ชนมสี ว่ น
บางคนมพี ฤติกรรมทีเ่ ป็น ร่วม ควรมรี ูปแบบและ
3. การวิจัยกรณศี กึ ษา ม่งุ ท�ำความเข้าใจเกย่ี วกบั ปัญหาในช้ันเรยี นทคี่ รู ลกั ษณะอยา่ งไร
(Case Study Research) พฤติกรรม ความคิด ต้องแกไ้ ข หรือมีนักเรยี น 1)ทำ� ไมเดก็ ชาย A
การกระท�ำ ของผูเ้ รยี น บางคนท่มี ผี ลการเรยี นรู้ จึงมีพฤตกิ รรมหนีเรยี น
รายบคุ คลทมี่ ีเป้าหมาย ท่นี ่าสนใจทส่ี ามารถนำ� 2) เหตุใดเดก็ หญงิ D
ของการศกึ ษาชดั เจน มาเป็นแบบอย่างใหก้ ับ จงึ ชอบเรยี นวิชาศิลปะ
เพ่ือนนักเรียนคนอนื่ ได้ และทำ� ผลงานออกมาได้
อยา่ งดเี ย่ยี ม


Click to View FlipBook Version