The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมเล่มการวิจัยชั้นเรียนพร้อมหน้าปก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tantiwa1999, 2022-01-23 23:23:08

รวมเล่มการวิจัยชั้นเรียนพร้อมหน้าปก

รวมเล่มการวิจัยชั้นเรียนพร้อมหน้าปก

145

ความเหมาะสมของวิธีการที่ใช้เป็นต้น ตัวอย่างเช่น นักเรียนยังไม่สามารถ
ให้เหตุผลได้ว่า กิจกรรมที่ได้ท�ำไปนั้นมีความเหมาะสมหรือไม่เหมาะสม
เพราะเหตุใด ในส่วนของการคิดแบบอภิปัญญาด้านการประเมินตนเอง
ในวงจรท่ี 2 ทมี่ คี ะแนนรอ้ ยละตำ�่ กวา่ ทผี่ วู้ จิ ยั กำ� หนดไวม้ เี หตสุ บื เนอื่ งมาจาก
การประเมนิ ตนเองนนั้ เปน็ การมองยอ้ นกลบั ไปทข่ี นั้ ตอนตา่ งๆ ในการวางแผน
การแก้ปัญหาเพ่ือตรวจสอบความถูกต้อง หากผู้เรียนไม่สามารถวางแผน
การแกป้ ญั หาได้ การประเมนิ ความสำ� เร็จตามเปา้ หมาย การพิจารณาความ
ถูกต้องของค�ำตอบการประเมินคุณค่าของวิธีการแก้ปัญหาที่ใช้การประเมิน
การเรยี งล�ำดับปญั หาและขอ้ ผิดพลาดท่ีพบ และการพจิ ารณาประสิทธภิ าพ
และความส�ำเร็จของการแก้ปัญหาก็จะไม่สามารถด�ำเนินการได้เช่นกัน
สอดคลอ้ งกบั แนวคิดของ Beyer[6] ทก่ี ล่าวถึงการประเมนิ ตนเอง ว่าเป็น
ความสามารถที่บุคคลรู้ว่าจะท�ำงานนั้นอย่างไร และเมื่อไร เพื่อให้งานนั้น
เกิดความส�ำเร็จสมบูรณ์ การประเมินตนเองจะส�ำเร็จหรือไม่ ขึ้นอยู่กับ
การควบคุมกระบวนการคิดและการเรียนรู้ของตนเองในการกระท�ำอะไร
อยา่ งใดอย่างหนงึ่ และมกี ารวางแผนกำ� หนดเป้าหมายทชี่ ดั เจนมาก่อนแลว้

ดังน้ันจะเห็นได้ว่าในวงจรที่ 2 จุดอ่อนด้านการวางแผนและ
การประเมินตนเองของนักเรียนมาจากการที่นักเรียนไม่สามารถวางแผน
ได้อย่างเป็นระบบเป็นข้ันตอน ท�ำให้นักเรียนยังขาดการคิดแบบอภิปัญญา
ถึงการประเมินความส�ำเร็จและความเหมาะสมของวิธีการท่ีเลือกใช้ได้
เม่ือการวางแผนความคิดไม่ชัดเจน ก็ส่งผลกระทบทำ� ให้การประเมินตนเอง
ไมม่ ปี ระสทิ ธภิ าพเทา่ ทคี่ วร และอกี สาเหตหุ นงึ่ ของปญั หาในการประเมนิ ตนเอง
อาจเกิดจากการขาดประสบการณ์ในการพบกับสถานการณ์จริงซ่ึงแนวทาง
การแก้ไขปัญหาดังกล่าวก็คือ ครูผู้สอนจ�ำเป็นต้องให้นักเรียนได้พบกับ
สถานการณห์ รอื การไดเ้ หน็ สภาพจรงิ มากขน้ึ กวา่ นสี้ อดคลอ้ งกบั ทศิ นา [16]
ทกี่ ล่าววา่ การคดิ แบบอภิปัญญาจะเกิดขึน้ ไดจ้ ำ� เปน็ ตอ้ งอาศยั องค์ประกอบ

การวิจัยช้ันเรียน (Classroom Research):
กระบวนการสร้างความรู้เพื่อใช้พัฒนาการเรียนการสอน

146
ท่ีจ�ำเป็นต่างๆ อาทิ ส่ิงเร้าหรือข้อมูลหรือเน้ือหา ที่กระตุ้นให้เกิดการคิด
และใช้ในการคิด การมีข้อมูลในการคิดอย่างเพียงพอช่วยให้การคิด
มคี วามรอบคอบข้นึ จะเหน็ ได้วา่ การที่นักเรียนสามารถเลือกวธิ ีการศึกษาได้
แตย่ งั ไมจ่ ดั เปน็ ระบบเปน็ ขน้ั ตอนเนอื่ งมาจากนกั เรยี นยงั ขาดการศกึ ษาวธิ กี าร
เหล่านั้นให้ละเอียดมากพอเมื่อนักเรียนเข้าใจวิธีการที่เลือกมาใช้ศึกษา
ก็จะท�ำให้สามารถวางแผนการศึกษาอย่างเป็นข้ันตอนได้เมื่อการวางแผน
มรี ะบบ งานจะประสบความสำ� เรจ็ หรอื ไมก่ ต็ าม นกั เรยี นกจ็ ะสามารถประเมนิ
ตนเองได้ว่าสิ่งที่ได้ท�ำไปนั้นมีสิ่งใดเป็นสาเหตุ หรือเป็นปัญหาอุปสรรคบ้าง
หรอื มปี ัจจยั ใดทส่ี ่งเสริมใหง้ านส�ำเร็จอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

ค�ำถามวิจัยข้อที่ 2 แนวปฏิบัติที่ดีในการจัดการเรียนรู้ตามหลัก
ไตรสกิ ขา เรอื่ ง ระบบนเิ วศและมนษุ ยก์ บั ความยงั่ ยนื ของสงิ่ แวดลอ้ ม ควรเปน็
อยา่ งไร เพอื่ ทำ� ใหน้ กั เรยี นเกดิ การพฒั นาการคดิ แบบอภปิ ญั ญา (ดงั ภาพท1ี่ )

ขนั้ ศลี ครคู วรมกี ารแสดงกริ ยิ าในการทกั ทายนกั เรยี น ดว้ ยความยม้ิ
แย้มแจ่มใส แสดงความเป็นกัลยาณมิตร มีการถามค�ำถามเพื่อกระตุ้นและ
เช่ือมโยงกับความส�ำคัญของเน้ือหาท่ีเรียน อาทิในเน้ือหาความหลากหลาย
ของระบบนเิ วศ อาจจะตั้งค�ำถามกบั นักเรยี นว่า ระหวา่ งท่นี ักเรียนเดินทาง
มาโรงเรียนนักเรียนได้สังเกตเห็นอะไรบ้างตามเส้นทางที่นักเรียนผ่าน เปิด
โอกาสใหน้ กั เรยี นทำ� กจิ กรรมทส่ี ง่ เสรมิ การคดิ วเิ คราะหจ์ ดั ระบบการคดิ ของ
ตนเอง มกี ารเสาะหาขอ้ มูลเพอื่ น�ำมาประกอบการตดั สนิ ใจดว้ ยตนเองได้แก่
การสนทนา อภปิ ราย เพือ่ น�ำเข้าสู่บทเรียน ใชก้ ายวาจา ไดอ้ ยา่ งสรา้ งสรรค์
มีวินัย และมีความรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าท่ี โดยครูตั้งกติกาว่า
หากนักเรียนคนใด มาเข้าเรียนตรงเวลา และไม่ส่งเสียงดังรบกวนเพื่อน
ก็จะมีคะแนนความตั้งใจพิเศษให้ (รวมอยู่ในคะแนนจิตพิสัย 10 คะแนน)
เปน็ การฝกึ ฝนอบรม ในดา้ นความประพฤตริ ะเบียบวินัย เปน็ พนื้ ฐานแก่การ

147
สรา้ งเสรมิ คณุ ภาพจติ ไดใ้ นขนั้ นเี้ ปน็ เพยี งการเตรยี มความพรอ้ มทางดา้ นกาย
และวาจาของนกั เรยี นใหเ้ ปน็ ระเบยี บเรียบร้อย จะเกดิ การพัฒนาอภิปัญญา
หรือไมข่ ึ้นอย่กู ับกจิ กรรมทค่ี รจู ดั ขึน้

ขั้นสมาธิครูให้นักเรียนรวบรวมจิตใจ และความคิดให้แน่วแน่ใน
จดุ เดยี วเรอ่ื งเดยี ว โดยใหน้ กั เรยี น นงั่ หลบั ตาแลว้ คดิ ทบทวนในสงิ่ ทนี่ กั เรยี น
ได้เรียนผ่านมาในรายวิชาน้ีจากน้ันให้หายใจเข้าหายใจออก อย่างช้าๆ
ในคาบแรกๆ จะใหท้ ำ� สมาธิ 30 วนิ าทใี นคาบต่อมาจงึ คอ่ ยๆ เพิ่มเปน็ 1-2
นาทีจะท�ำให้นักเรียน ตั้งใจท�ำกิจกรรมได้ดีมีจิตใจท่ีสงบลงเน่ืองจากใน
ข้ันสมาธิส่วนใหญ่จะเป็นข้ันของการท�ำกิจกรรม นักเรียนจึงเกิดการพัฒนา
การคิดแบบอภิปัญญา ด้านการตระหนักรู้เช่น ตัวอย่างกิจกรรมฉันเคยคิด
วา่ แต่ตอนน้ฉี นั รแู้ ลว้ ว่า (I used to think…but now I know) เทคนิคนี้
ท�ำให้นักเรียนได้ควบคุมการเรียนรู้ของตนเองเก่ียวกับการก�ำกับหน้าท่ีของ
ตนเองให้เป็นไปตามข้ันตอน และการเลือกวิธีปฏิบัติขั้นต่อไปอย่างเหมาะ
สม และท�ำให้นักเรียนทราบว่าการเรียนรู้ของตนเองมีจุดแข็งและจุดอ่อน
อยา่ งไร ควรแกไ้ ขอย่างไร ท�ำใหน้ ักเรยี นรูว้ า่ ตนเองเรยี นรู้สง่ิ ใด เปน็ การเปดิ
โอกาสให้นักเรียนได้ประเมินตนเองและสะท้อนความคิดเห็นต่อความรู้ใน
ปัจจุบันของตนเองว่ามีการเปลี่ยนแปลงหรือพัฒนาอย่างไรบ้าง เมื่อเปรียบ
เทยี บกับความรเู้ ดมิ เป็นต้น

ข้นั ปัญญา เปน็ ขั้นที่นกั เรียนสามารถตอบคำ� ถามได้ถูกต้อง อธบิ าย
แนวคดิ ไดโ้ ดยครตู อ้ งจดั กจิ กรรมทกี่ อ่ ใหเ้ กดิ ปญั ญาได้ 3ทางไดแ้ ก่สตุ มยปญั ญา
(จากการฟัง หรืออ่าน) จินตามยปัญญา (จากการคิดพิจารณา) และ
ภาวนามยปญั ญา (จากการปฏบิ ตั )ิ เชน่ สตุ มยปญั ญา จากกจิ กรรมทนี่ กั เรยี น
ออกมาน�ำเสนอ ข่าวเหตุการณ์การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติซ่ึงการฟัง
รวมท้ังการอ่าน เพื่อให้เกิดปัญญานี้จะต้องอยู่ในหลักการต่อไปน้ีตั้งใจฟัง

การวิจัยชั้นเรียน (Classroom Research):
กระบวนการสร้างความรู้เพ่ือใช้พัฒนาการเรียนการสอน

148

(มสี มาธ)ิ ฟงั หรอื อา่ นสง่ิ ทเี่ ปน็ สาระ รจู้ กั แยกแยะเนอื้ หา และสรปุ ใจความสำ� คญั
จินตามยปัญญา การน�ำเอาปัญญาในข้ันแรก มาพินิจพิจารณา ในการคิด
ท่ีจะให้เกิดปัญญาน้ีต้องคิดด้วยเหตุด้วยผล และคิดอย่างเป็นระบบ
เพ่ือจะได้ตอบค�ำถามได้อย่างถูกต้อง และภาวนามยปัญญา เป็นปัญญา
ทเ่ี กดิ จากการปฏบิ ตั จิ นรแู้ จง้ เหน็ จรงิ ดว้ ยตนเอง ซงึ่ ถอื วา่ เปน็ ปญั ญาทแ่ี ทจ้ รงิ
เกดิ จากกจิ กรรมที่นกั เรียนได้ลงมอื ปฏบิ ัติหาข่าวดว้ ยตนเอง มีการอ่านและ
วเิ คราะหข์ า่ วนนั้ ๆและทำ� ความเขา้ ใจอยา่ งลกึ ซงึ้ กอ่ นจงึ นำ� เสนอหนา้ ชน้ั เรยี น
ในข้ันปัญญาน้ี นักเรียนจะได้มีการแสดงความคิดเห็นการวิเคราะห์ผลงาน
ของตนเองและของกลุ่ม เพ่ือปรับปรุงผลงาน ท�ำให้นักเรียนเกิดการคิด
แบบอภิปัญญาด้านการประเมินตนเอง เช่น กิจกรรมค�ำแรก-ค�ำสุดท้าย
First word-Last word การใหน้ กั เรยี นพนิ จิ พจิ ารณาวา่ ภายหลงั การจดั การ
เรียนการสอนความคิดหรือความเข้าใจของตนเองมีการเปลี่ยนแปลงไป
จากเดิมหรือไม่ อย่างไร นักเรียนได้ตรวจสอบและเปรียบเทียบแนวคิด
ค�ำแรก ของตนเองในตอนต้นคาบ ถ้านักเรียนคิดว่าแนวคิดของตนเองไม่มี
การเปล่ียนแปลงนักเรียนอาจเขียนประโยคเดิมก็ได้หรือนักเรียน
อาจปรบั เปลย่ี นประโยคเดมิ ให้มรี ายละเอยี ดมากขนึ้ มคี วามซับซอ้ นมากขึ้น
หรอื เขียนเรยี บเรียงประโยคทั้งหมดใหมก่ ็ได้ เปน็ ต้น

สรปุ ผลการวจิ ยั
การจัดการเรียนรู้ตามหลักไตรสิกขาสามารถพัฒนาการคิด

แบบอภิปัญญาได้ นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยการคิดแบบอภิปัญญาในระดับ
ค่อนข้างสูง (70.35%, 73.20%) หากแยกพิจารณาแตล่ ะองคป์ ระกอบย่อย
ของการคิดแบบอภิปัญญา ได้แก่ การตระหนักรู้การวางแผน และการ
ประเมนิ ตนเอง พบวา่ เรอ่ื งระบบนเิ วศ นกั เรยี นมคี ะแนนเฉลยี่ เกนิ รอ้ ยละ 70

149
ในด้านการตระหนักรู้ (74.13%) และการวางแผน (71.22%) ส่วนเรื่อง
มนุษยก์ ับความยัง่ ยืนของสิง่ แวดลอ้ ม นักเรียนมีคะแนนเฉล่ียเกินรอ้ ยละ 70
ในด้านการตระหนักรู้ (84.74%) และพบว่า แนวปฏิบัติท่ีดีในการจัดการ
เรียนรูต้ ามหลกั ไตรสกิ ขาขนั้ ศลี ครูควรเตรียมความพรอ้ ม ทางด้านกายและ
วาจาของนักเรียนให้เป็นระเบียบเรียบร้อย ข้ันสมาธินักเรียนรวบรวมจิตใจ
และความคิดให้แน่วแน่ เพื่อให้มีจิตใจที่สงบลงพร้อมส�ำหรับท�ำกิจกรรม
ต่อไป และขนั้ ปัญญา ครคู วรจดั กจิ กรรมท่กี อ่ ให้เกดิ ปญั ญาได้ 3 ทาง ได้แก่
สุตมยปัญญา (จากการฟัง) จินตามยปัญญา (จากการคิดพิจารณา) และ
ภาวนามยปัญญา (จากการปฏิบตั ิ)

ดังนั้นแนวปฏิบัติที่ดีในการจัดการเรียนรู้ตามหลักไตรสิกขานี้
ถ้าผู้สอนยึดหลักการสอนตามหลักไตรสิกขา ซ่ึงมี 3 ส่วนคือ สอนให้เกิด
ความเข้าใจให้เกิดความเชื่อและเล่ือมใส นักเรียนเห็นคุณค่า เกิดศรัทธา
ในตวั ผสู้ อนและในตนเอง กจ็ ะมคี วามประพฤตทิ ถ่ี กู ตอ้ งดงี าม เกดิ เปน็ ผมู้ ศี ลี
นอกจากนกี้ จ็ ะเสรมิ สรา้ งกำ� ลงั ใจในการเรยี นใหก้ บั นกั เรยี น มจี ติ ใจทแี่ นว่ แน่
จดจ่อกับกิจกรรมท่ีได้ท�ำ เกิดเป็นสมาธิเกิดการเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็ว
ผ่านการฟัง การคิด และการลงมือปฏิบัติเกิดเป็นปัญญาได้เม่ือนักเรียน
มีปัญญาน�ำพาสู่การคิดท่ีเก่ียวกับการคิดแบบอภิปัญญาของตนเองได้รู้ว่า
ตนเองคิดสิ่งใดและสามารถหาเหตุผลในสิ่งที่ตนเองท�ำได้มีการตระหนักรู้
รู้จักการวางแผนและการประเมินตนเอง หรือเรียกว่า เป็นผู้มีการคิด
แบบอภปิ ัญญา

การวิจัยชั้นเรียน (Classroom Research):
กระบวนการสร้างความรู้เพื่อใช้พัฒนาการเรียนการสอน

ไตรสิกขา 150

ศีล ปญั ญา KKU Res J (GS) 14 (1) : January - March 2014

วธิ ีการจดั กจิ กรรม สมาธิ สุตมยปัญญา จนิ ตามยปญั ญา ภาวนามยปญั ญา
- ครแู สดงความเป็นกลั ยาณมติ ร (การฟัง) (การคิด) (การลงมอื ปฏบิ ตั )ิ
- ทากจิ กรรมส่งเสรมิ การคิดวิเคราะห์ เชน่ วิธีการจัดกจิ กรรม
สนทนา อภปิ ราย เพื่อนาเขา้ สู่บทเรยี น - ครใู ห้นักเรยี นทาจติ ใจใหต้ ้งั มนั่ เช่น น่งั สมาธเิ ริม่ จาก 30 วนิ าที คาบตอ่ มา วิธีการจดั กิจกรรม
- สร้างกติการ่วมกบั นักเรยี น ใหม้ ีความ เพ่มิ เปน็ 1-2 นาที - ครูจัดกจิ กรรมให้เกดิ การเรยี นรผู้ า่ นการฟงั เช่น การฟงั
เป็นระเบียบวินัย - ทากจิ กรรมตา่ งๆ เช่น ทาการสารวจพ้ืนท่จี รงิ ทาการทดลอง ศึกษาคน้ ควา้ เพอ่ื นๆนาเสนอขา่ ว ผา่ นการคดิ เชน่ เทคนคิ ฉันเคยคิดวา่ ..
จากใบงาน สื่อ IT วีดิทัศน์ ฯลฯ ตอนนีฉ้ ันรแู้ ล้ววา่ เทคนิคคาแรก-คาสุดท้าย ผ่านการลงมอื
-ในขัน้ นี้เป็นเพียงการเตรยี มความพรอ้ ม - ครใู ช้เทคนิคการจัดกลมุ่ บัตรคา เทคนิคการแปลความหมายแบบตรง ปฏบิ ัติ เชน่ กจิ กรรมวาดรูปส่อื ความหมาย สารวจระบบนิเวศ
ทางด้านกายและวาจาของนกั เรียนให้เปน็ ภายในโรงเรียน เปน็ ตน้
ระเบียบเรียบรอ้ ย เกิดการพฒั นาอภิปญั ญา
- จะเกดิ การพัฒนาอภปิ ญั ญาหรอื ไม่ขนึ้ อยู่ - จากเทคนคิ การจดั กลมุ่ บตั รคา นกั เรียนไดท้ ราบความรูเ้ ดิมของ เกดิ การพัฒนาอภิปัญญา
กบั กิจกรรมท่ีครจู ดั ขึน้ ตนเอง มีการกากบั จดุ ประสงค์ไว้ในใจ (ด้านการตระหนกั ร)ู้ - เม่ือนกั เรียนมสี มาธิ เกดิ การเรยี นรูไ้ ด้อย่างรวดเรว็ ผ่านการ
- จากเทคนิคการแปลความหมายแบบตรง นักเรยี นจะไดฝ้ ึก ฟัง การคดิ และการลงมือปฏบิ ัติก็จะเขา้ ใจแนวคดิ มกี าร
พจิ ารณาวา่ ควรใชว้ ธิ ใี ดในการสื่อความเข้าใจโดยใชภ้ าษาและตวั อยา่ ง กาหนดเป้าหมายจากกจิ กรรมทที่ า (ดา้ นการวางแผน)
ทีเ่ หมาะสมกบั ผ้ฟู ัง (ดา้ นการวางแผน) สามารถมองย้อนกลับไปเขา้ ใจถึงความคดิ ของตนเองจาก
เทคนิคท่ีครจู ดั ขน้ึ (ดา้ นการประเมนิ ตนเอง)

ภาพทภ่ี 1า พ สทร่ี 1ุปแสนรวุปปแฏนบิวปัตฏิทบิ ่ีดัตใี ทินีด่ กใี านรกจาัดรกจดัารกเารรยี เรนียรนตู้ ราตู้ มาหมหลลักักไตไตรรสสกิ กิ ขขาา ต่อการรพพัฒฒั นนาากการาครคิดิดแบแบบอบภอิปภญั ิปญัญาญา 69

151

ขอ้ เสนอแนะ
จากการจัดการเรียนรู้ตามหลักไตรสิกขา ต่อการพัฒนาการคิด

แบบอภิปัญญา เร่ือง ระบบนิเวศและมนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่4 พบว่า นักเรียนมีคะแนนการคิดแบบ
อภปิ ญั ญาเฉลย่ี เกินรอ้ ยละ 70 (ร้อยละ 70.35,73.20 ตามลำ� ดบั ) แสดงว่า
นักเรียนมีการคิดแบบอภิปัญญาในระดับค่อนข้างสูง หากแยกออก
มาพิจารณาในแต่ละด้านขององค์ประกอบย่อย ได้แก่ การตระหนักรู้
การวางแผน และการประเมินตนเอง พบว่าทั้ง 2 วงจรด้านการประเมิน
ตนเองนักเรียนยังมีคะแนนไม่ถึงร้อยละ70 ดังนั้นในการวิจัยคร้ังต่อไปควร
ศกึ ษากจิ กรรมทเี่ หมาะสม ทจ่ี ะชว่ ยสง่ เสรมิ ใหน้ กั เรยี นมคี ะแนนการคดิ แบบ
อภิปัญญาด้านการประเมินตนเองให้เกินร้อยละ 70 เช่น ควรมีการศึกษา
ตวั แปรทค่ี าดวา่ จะมสี ว่ นเกย่ี วขอ้ งหรอื สง่ ผลตอ่ ดา้ นการประเมนิ ตนเอง อาทิ
คุณลักษณะทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา และสังคม รวมท้ังบุคลิกภาพ
ของผู้คิด เป็นต้น เพื่อเป็นแนวทางในการส่งเสริมการคิดแบบอภิปัญญา
ด้านการประเมนิ ตนเอง ของนกั เรียนใหด้ ยี ่ิงขนึ้

เอกสารอา้ งองิ *
1. Worapat P, Nipon K. The Principles of Educational Adminis-

tration Baed Upon Buddha-Dhamma. J EDU BUU. 2007;18(2):
63-84. Thai.
2. SompongJ. Thailand newchildgrowth free from materialism,
sex, drugs. Bangkok: Witeetat; 2004. Thai.

*หมายเหตุ การเขยี นเอกสารอา้ งองิ ในรปู แบบแวนคเู วอร์ (Vancouver Referencing Style) เปน็ การ
ใชต้ วั เลขในขอ้ ความทอี่ ้างถงึ รายการท่เี รยี งลำ� ดบั เลขในรายการอ้างองิ

การวิจัยชั้นเรียน (Classroom Research):
กระบวนการสร้างความรู้เพ่ือใช้พัฒนาการเรียนการสอน

152
3. Phra Dhamapidok (P. A. Payutto). Buddhist teaching.

Bangkok:Sahatharmmik Publisher; 2001. Thai.
4. Flavell JH. Metacognition and cognitive monitoring: a new

area of cognitive developmental inquiry. AM PSYCHOL.1979;
34: 906–11.
5. Somsak P. Taking a student-centered. And Assessment.
Chiangmai: Sangsin; 2001. Thai.
6. Beyer BK. Practical Strategies for theTeaching of Thinking.
Boston: Allyn and Bacon, INC; 1987.
7. Garofalo J, Lester FK. Metacognition,cognitive monitoring,
and mathematical performance. J RES MATH EDUC. 1985;16:
163-76.
8. Dutsadee S. Comparison base on Trisik-kha approach in
teaching and Dhammasakaccha Religious and secular level,
grade seven. [master’s thesis]. Bangkok: Srinakharinwirot
University; 1981. Thai.
9. Suvit M, Aorathai M. Learn how tomanage. Bangkok: Pappim;
2002. Thai.
10. Griffiths AK, Grant BA. C. High School Students’Understanding
of Food Webs: Identification of a Learning Hierarchy and
Related Misconceptions. J RES SCI TEACH. 1985; 22(5): 421-36.
11. Jeravan K. Vantipa R. A Studyof Teaching Ecologyin Lower
Secondary Schools under the Project for Extension of
Educational Opportunity in Bangkok. KKU Res J. 2008; 13(11):
1332-44. Thai.

153
12. Waravan S. The Developmentof Students’ Metacognitive

Strategies and ScienceAchievement at Higher Secondary
School Level Through the Useof Trip RIPModel. [master’
sthesis]. Khon Kaen: Khon Kaen University; 2007.Thai.
13. Kemmis S, McTaggart R. The action research planner. Geelong:
Deakin University Press; 1988.
14. FernandezR,RodriguezLM,Casal-JimenezM.Relationshipbetween
Ecology Fieldwork and Student Attitudes toward Environment
Protection. J RES SCI TEACH. 1999; 36(4): 431-53.
15. Pimpan D. Science thinking. Bangkok: Qualityacademicinstitu-
tions;2001. Thai.
16. Tidsana K. Science teaching. Bangkok: Chulalongkorn
University Publisher;2010. Thai.

การวิจัยชั้นเรียน (Classroom Research):
กระบวนการสร้างความรู้เพ่ือใช้พัฒนาการเรียนการสอน

154

ตอนที่ 4 ตวั อย่างเครอ่ื งมือวิจัยและหัวข้องานวจิ ัย

การวเิ คราะหน์ กั เรยี นเปน็ รายบคุ คล

ครตู อ้ งเรยี นรู้ วเิ คราะห์ เพอ่ื รจู้ กั นกั เรยี นเปน็ รายบคุ คลใหเ้ พยี งพอ
ท่ีจะสามารถวางแผนจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ ดังตัวอย่าง
แนวทางการวเิ คราะหต์ อ่ ไปน้ี

คำ� ถามวจิ ยั การจดั เกบ็ ขอ้ มลู แหลง่ ขอ้ มลู วธิ กี ารจดั เกบ็ การวเิ คราะห์
ขอ้ มลู ขอ้ มลู

1) นกั เรยี นแตล่ ะคนมี เร่ือง/ด้านของขอ้ มลู 1) แหลง่ ขอ้ มูลเอกสาร 1) การบนั ทึก 1) SWOT analysis
ลกั ษณะสำ� คญั อยา่ งไร ทตี่ ้องการเกบ็ เชน่ ระเบียน สมดุ พก 2) การสังเกต 2) PMIA (Plus,
2) นักเรียนแตล่ ะคน 1) ภมู หิ ลงั ทาง ฯลฯ 3) การสมั ภาษณ์ Minus, Interesting
มีจุดน่าสนใจที่ควร ครอบครัว 2) แหล่งข้อมูลบุคคล 4) แบบสอบถาม point, Approach)
ได้รับการปรับปรงุ 2) ผลการเรียนรตู้ าม เช่น ครปู ระจำ� ชนั้ และ ฯลฯ
และพฒั นาในเร่ือง หลกั สูตร/NT ฯลฯ ครทู เี่ คยสอนนกั เรยี น
อะไรบา้ ง 3) พฒั นาการทุกด้าน ในปีการศึกษาทีผ่ ่าน
3) ครูควรออกแบบ (รา่ งกาย อารมณ์ มา ผ้ปู กครอง
จดั การเรียนรอู้ ยา่ งไร สงั คม จติ ใจ สติ เพ่ือนของนกั เรยี น
ให้สามารถพัฒนา ปัญญา ค่านยิ ม ฯลฯ) ตวั นกั เรยี นเอง ฯลฯ
คุณภาพของแต่ละคน 4. ความสนใจ 3) แหล่งข้อมูล
และทุกคนได้ใน ความถนัด ศักยภาพ เหตุการณ์ เช่น
เทอมน้ี และความต้องการ พฤตกิ รรมการเข้าแถว
จ�ำเป็น พฤตกิ รรมในหอ้ งเรียน
5) ปญั หา/ข้อจำ� กดั พฤติกรรมนอก
ห้องเรยี น ฯลฯ

ตวั อยา่ งเครอื่ งมอื ในการจดั เกบ็ ขอ้ มลู

ตัวอยา่ ง 1 : ข้อมูลเก่ียวกับผู้เรียนแต่ละคน ที่ครูควรเก็บเพื่อวิเคราะห์
นักเรยี นเป็นรายบคุ คล

ชอ่ื นกั เรยี น ภูมิหลงั พฒั นาการ ผลการเรยี นรู้ แนวทาง
ครอบครัว ในด้านต่างๆ 8 กลมุ่ สาระ การพัฒนา

1) ด.ช................... ............................... ............................. ............................. ............................
.............................. ............................... ............................. ............................. ............................

............................... ............................. ............................. ............................

2) ด.ช................... ............................... ............................. ............................. ............................
.............................. ............................... ............................. ............................. ............................

............................... ............................. ............................. ............................

3) ด.ช................... ............................... ............................. ............................. ............................
.............................. ............................... ............................. ............................. ............................

............................... ............................. ............................. ............................

4) ด.ญ.................. ............................... ............................. ............................. ............................
.............................. ............................... ............................. ............................. ............................

............................... ............................. ............................. ............................

5) ด.ญ.................. ............................... ............................. ............................. ............................
.............................. ............................... ............................. ............................. ............................

............................... ............................. ............................. ............................

6) ด.ญ.................. ............................... ............................. ............................. ............................
.............................. ............................... ............................. ............................. ............................

............................... ............................. ............................. ............................

156

ตวั อยา่ งเครอื่ งมอื ในการจดั เกบ็ ขอ้ มลู
ตวั อย่างที่ 2 : ข้อมูลเกี่ยวกับผู้เรียนแต่ละคน ท่ีครูเก็บเพ่ือวิเคราะห์
นกั เรยี นเปน็ รายบคุ คล

ผลการเรียนรู้ มาตรฐานดา้ นคุณภาพผู้เรียน ความ พฒั นา ด้าน
8 กลุม่ สาระ 12345678 สามารถด้าน การด้าน อนื่ ๆ
ตา่ งๆ

ชอ่ื นกั เรยี น ภมู หิ ลงั ภาษาไทย
ครอบครวั ค ิณตศาสต ์ร
ิวทยาศาสต ์ร
สังคม ึศกษา ศาสนาและ ัวฒนธรรม
สุข ึศกษา-พล ึศกษา

ิศลปะ
การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ภาษา ่ตางประเทศ
การ ิคด

การ ิวเคราะ ์ห
การ ่อาน
การเขียน

1) ด.ช............
......................
2) ด.ช............
....................
3) ด.ญ...........
..................
4) ด.ญ...........
......................

157

ตวั อยา่ งเครอื่ งมอื ในการจดั เกบ็ ขอ้ มลู

ตัวอยา่ ง 3 : การวิเคราะห์สารสนเทศของผู้เรียนเป็นรายบุคคลเพ่ือการ
พฒั นาแผนการจดั การเรยี นรทู้ ีเ่ นน้ ผู้เรยี นเปน็ ส�ำคัญ

ชอ่ื นักเรยี น จดุ เด่น จุดดอ้ ย จดุ ควรพฒั นา แนวทาง
การพัฒนา

1) ด.ช.................... ........................ ........................ ........................ ........................
.............................. ........................ ........................ ........................ ........................
........................ ........................ ........................
........................

2) ด.ช................... ........................ ........................ ........................ ........................
.............................. ........................ ........................ ........................ ........................
........................ ........................ ........................
........................

3) ด.ช................... ........................ ........................ ........................ ........................
.............................. ........................ ........................ ........................ ........................
........................ ........................ ........................
........................

4) ด.ญ................... ........................ ........................ ........................ ........................
.............................. ........................ ........................ ........................ ........................
........................ ........................ ........................
........................

5) ด.ญ.................. ........................ ........................ ........................ ........................
.............................. ........................ ........................ ........................ ........................
........................ ........................ ........................
........................

6) ด.ญ.................. ........................ ........................ ........................ ........................
.............................. ........................ ........................ ........................ ........................
........................ ........................ ........................
........................

การวิจัยช้ันเรียน (Classroom Research):
กระบวนการสร้างความรู้เพื่อใช้พัฒนาการเรียนการสอน

158

ตวั อยา่ งเครอ่ื งมอื ในการจดั เกบ็ ขอ้ มลู

ตวั อย่าง 4 : การวเิ คราะหก์ ลมุ่ ผเู้ รยี นเพอื่ การพฒั นาแผนการจดั การเรยี นรู้
ทเี่ นน้ ผู้เรยี นเป็นส�ำคญั

ชอ่ื นกั เรยี น จดุ เดน่ จดุ ดอ้ ย จดุ ควร แนวทาง
พัฒนา การพฒั นา

กลุ่มท่ี 1 ................. ................... .................. ..................
กลมุ่ ที่มคี วามพร้อมทกุ ด้านสงู ................. ................... .................. ..................
1) ด.ช. ...................................... ................. ................... .................. ..................
2) ด.ญ. ..................................... ................. ................... .................. ..................

กลมุ่ ท่ี 2 ................. ................... .................. ..................
กลุ่มที่มีความพรอ้ มปานกลาง ................. ................... .................. ..................
(คือกลุ่มทมี่ ีความพรอ้ มในบางเรอื่ ง) ................. ................... .................. ..................
1) ด.ช. ...................................... ................. ................... .................. ..................
2) ด.ญ. .....................................

กลุ่มท่ี 3 ................. ................... .................. ..................
กล่มุ ท่ไี มม่ ีความพร้อม ................. ................... .................. ..................
(คือกลมุ่ ทีม่ ีปญั หาในหลายเรื่อง) ................. ................... .................. ..................
1) ด.ช. ...................................... ................. ................... .................. ..................
2) ด.ญ. .....................................

159

ตัวอยา่ งเครอ่ื งมือที่ใชใ้ นการวจิ ยั ชั้นเรียน

แบบสอบถาม
คำ� ช้แี จง แบบสอบถามฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือรวบรวมความคิดเห็น
นักเรียนเกี่ยวกับการใช้ชุดฝึกทักษะการสังเกต ส�ำหรับใช้เป็น
ประโยชนต์ ่อการพฒั นาการเรยี นการสอนตอ่ ไป
ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู ทว่ั ไป

1. เพศ ( ) 1. ชาย ( ) 2. หญงิ
2. ระดับชัน้ ม. …………………………………
ตอนท่ี 2 ความคิดเห็นต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครูเรื่อง
ทกั ษะการสังเกต
ใหน้ กั เรยี นพจิ ารณารายการตอ่ ไปนี้ โดยใชข้ อ้ มลู ชว่ งทมี่ กี ารใชช้ ดุ ฝกึ
ทักษะการสังเกตในการเรียนการสอนที่ผ่านมา โดยท�ำเคร่ืองหมาย
ü ลงในช่องทต่ี รงกบั ความคดิ เหน็ ของนกั เรียนมากทีส่ ุด

ขอ้ ท่ี รายการ มากทส่ี ดุ ระดบั การปฏบิ ตั ิ นอ้ ยทส่ี ดุ
(5) มาก ปานกลาง นอ้ ย (1)
1 ครูมีกิจกรรมให้นักเรียนได้ทบทวน (4) (3) (2)
ความรแู้ ละประสบการณ์เดมิ

2 ครจู ดั กจิ กรรมให้นักเรยี นได้ปฏิบตั ิ
ทดลองจรงิ

3 ครกู ระตุน้ ให้นกั เรียนไดฝ้ กึ ทกั ษะ
การสังเกต

4 ครเู ปดิ โอกาสใหน้ กั เรยี นได้อภิปราย
ร่วมกนั

5 ครูจดั ใหน้ กั เรียนไดน้ �ำเสนอผลงาน
ฯลฯ

การวิจัยช้ันเรียน (Classroom Research):
กระบวนการสร้างความรู้เพ่ือใช้พัฒนาการเรียนการสอน

160

ตอนที่ 3 ความพงึ พอใจของนักเรยี น
ให้นักเรียนพิจารณารายการต่อไปน้ี แล้วแสดงความเห็นว่ามีความ

พงึ พอใจมากนอ้ ยเพยี งใดในแตล่ ะรายการ โดยทำ� เครอื่ งหมาย ü ลงในชอ่ ง
ทต่ี รงกบั ความร้สู กึ ของนกั เรียนมากท่สี ุด

ขอ้ ท่ี รายการ มากทสี่ ดุ ระดบั ความพงึ พอใจ นอ้ ยทส่ี ดุ
1 นกั เรยี นไดป้ ฏบิ ตั กิ จิ กรรมตา่ งๆ ตาม มาก ปานกลาง นอ้ ย

ขนั้ ตอนในชดุ ฝกึ ทกั ษะการสงั เกตดว้ ย
ความเขา้ ใจ
2 กิจกรรมในชดุ ฝึกทักษะการสังเกต
มเี วลาใหน้ กั เรยี นได้ฝกึ อย่างเหมาะสม
3 เนอ้ื หาสาระในชดุ ฝกึ ทกั ษะการสงั เกต
มปี ระโยชนต์ อ่ การเรยี นรขู้ องนกั เรยี น
4 นกั เรยี นสามารถน�ำเอาทักษะ
การสงั เกตไปใชใ้ นชีวติ ประจ�ำวนั
5 นักเรยี นมที ักษะการสงั เกตเพ่ิมข้นึ
หลังการใชช้ ดุ ฝึกทกั ษะการสังเกต

ฯลฯ

ตอนท่ี 4 ความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะหลงั การใชช้ ดุ ฝกึ ทกั ษะการสงั เกต
1. สิง่ ทนี่ กั เรยี นประทับใจมากที่สุด คอื
........................................................……………………………………………….……..
2. ส่งิ ทนี่ กั เรยี นตอ้ งการใหม้ ีการแกไ้ ขปรบั ปรุงในชดุ ฝกึ ทกั ษะการสงั เกต
........................................................……………………………………………….……..
3. สิ่งทน่ี กั เรยี นได้เกิดการเรียนร้แู ละน�ำไปใช้ประโยชน์มากท่สี ุด
........................................................……………………………………………….……..
4. สิ่งทนี่ ักเรยี นต้องการใหม้ กี ารพฒั นาการเรียนการสอนคือ
........................................................……………………………………………….……..

ฯลฯ

161

แบบสมั ภาษณ์

คำ� ชแ้ี จง แบบสัมภาษณ์ฉบับน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือใช้ในการรวบรวม
ความคดิ เหน็ ของนกั เรยี นเกยี่ วกบั การใช้ ชดุ ฝกึ ทกั ษะการสงั เกต
สำ� หรับใช้เป็นประโยชนใ์ นการพฒั นาการเรียนการสอน
ตอนท่ี 1 ข้อมลู ทว่ั ไป
ชอื่ –สกลุ ผถู้ กู สมั ภาษณ์……………………………………………………….
ระดบั ชน้ั ม. ………………โรงเรยี น ……………………………………………
ตอนท่ี 2 แบบสัมภาษณน์ ใี้ ช้สัมภาษณ์โดยครูผู้สอนหลังจากท่นี ักเรยี นได้
ใช้ชุดฝึกทักษะการสังเกตเสร็จสิ้นแล้ว โดยมีข้อค�ำถาม
ในการสมั ภาษณ์ดงั นี้

รายการขอ้ คำ� ถาม คำ� ตอบการสัมภาษณ์
1. นักเรียนได้ท�ำกิจกรรมอะไรบา้ งในชดุ ฝกึ ทกั ษะ
การสงั เกต

2. กจิ กรรมในชุดฝกึ ทักษะการสงั เกตมีความเหมาะสม
กบั การเรยี นรู้ของนักเรียนไหม?
3. นกั เรยี นคิดวา่ กิจกรรมในชดุ ฝกึ ทกั ษะการสงั เกตมี
ประโยชน์หรอื ไม่ อยา่ งไร?

4. นกั เรยี นจะนำ� ทักษะการสังเกตไปใชไ้ ด้ในโอกาส
ใดบ้าง?
5. นกั เรยี นคิดว่าหลังการใชช้ ุดฝกึ ทักษะการสังเกตน้ี
แล้วมีทักษะการสังเกตเพ่มิ ขนึ้ ไหม? อยา่ งไร?

ฯลฯ


ชอ่ื …………..………………………..ผสู้ มั ภาษณ์
สมั ภาษณเ์ วลา …………น. วนั ท่ี ……..เดอื น ……………พ.ศ. …………

การวิจัยชั้นเรียน (Classroom Research):
กระบวนการสร้างความรู้เพ่ือใช้พัฒนาการเรียนการสอน

162

แบบสงั เกต
แบบสังเกตการทดลองวิทยาศาสตร์ เร่ือง…………………วิชา..…………………
ช้ัน……...............

รายการ การเลอื กและ การทดลอง การบันทึก การสรปุ ผล การจัดเกบ็ คะแนน
กลมุ่ ท/่ี ชื่อ ใช้อุปกรณก์ าร ตามลำ� ดบั ผลการ การทดลอง อปุ กรณ์ รวม
ทดลอง
ทดลอง ข้นั ตอน

ตวั อยา่ งเกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
1. การเลือกและใช้อุปกรณก์ ารทดลอง

1 หมายถึง เลอื กใชอ้ ุปกรณใ์ นการทดลองยงั ไมเ่ หมาะสม
2 หมายถึง เลือกใช้อุปกรณ์การทดลองไดเ้ หมาะสม
3 หมายถึง เลือกใช้อุปกรณ์การทดลองได้เหมาะสม และ
ใช้อยา่ งคลอ่ งแคล่ว
4 หมายถึง เลือกใช้อุปกรณ์การทดลองไดเ้ หมาะสม ใช้อยา่ ง
คล่องแคลว่ และถกู ตอ้ ง
2. ฯลฯ

163

เกณฑก์ ารสรปุ ประเมนิ ผล

ดมี าก หมายถงึ ได้คะแนน ……..คะแนน ข้ึนไป
ด ี หมายถึง ไดค้ ะแนนระหวา่ ง ……. ถงึ …….คะแนน
พอใช้ หมายถงึ ไดค้ ะแนนระหวา่ ง ……. ถงึ …….คะแนน
ปรบั ปรงุ หมายถึง ได้คะแนนต่ำ� กวา่ ………. คะแนน

แบบวดั คณุ ลกั ษณะของผเู้ รยี น

ดา้ นความรบั ผดิ ชอบ

คะแนนผลการประเมนิ
ทำ� งาน วางแผน
ท่ี ชอ่ื - สกลุ ความรว่ มมือ เตม็ ความ การทำ� งาน ปฏบิ ตั ิงาน สง่ งาน ฯลฯ คะแนนรวม
ในหม่คู ณะ สามารถ ร่วมกัน อย่างจรงิ จัง ตามก�ำหนด

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน

1. ความร่วมมือกับหมู่คณะ
0 หมายถึง ไมใ่ หค้ วามรว่ มมอื ชอบขดั แยง้ และทะเลากบั ผอู้ น่ื เสมอ
1 หมายถึง ไมค่ อ่ ยเต็มใจร่วมมือกับผูอ้ ื่นมักมเี รอ่ื งขดั แยง้ เสมอๆ
2 หมายถึง ใหค้ วามร่วมมือกบั หมคู่ ณะไดด้ ี
3 หมายถงึ ให้ความรว่ มมือกบั หมคู่ ณะดแี ละเขา้ กบั ผูอ้ นื่ ได้ดี
4 หมายถึง ใหค้ วามรว่ มมือกบั ผู้อน่ื ดีมากและเตม็ ใจรับฟงั
ข้อคดิ เห็นจากผูอ้ น่ื

2. ทำ� งานเต็มความสามารถ (กำ� หนดเกณฑ์คล้ายกับข้อ 1)
ฯลฯ

การวิจัยช้ันเรียน (Classroom Research):
กระบวนการสร้างความรู้เพ่ือใช้พัฒนาการเรียนการสอน

164

เกณฑก์ ารสรปุ ประเมนิ ผล
ดีมาก หมายถึง ไดค้ ะแนน …………..…คะแนน ขึ้นไป
ด ี หมายถึง ไดค้ ะแนนระหวา่ ง ….. ถงึ ……คะแนน
พอใช้ หมายถึง ได้คะแนนระหวา่ ง ….. ถึง ……คะแนน
ปรับปรงุ หมายถงึ ได้คะแนนตำ�่ กวา่ ………….คะแนน

แบบวดั ทกั ษะปฏบิ ตั เิ ชงิ กระบวนการ

ที่ ชอ่ื - สกลุ ลกั ษณะการใช้เทอร์โมมิเตอร์ หมายเหตุ
1 การจับ การอ่าน การเก็บ
2
3

เกณฑ์การสงั เกตทกั ษะปฏิบตั กิ ารวดั การปฏบิ ตั ิเชิงกระบวนการการใช้
เทอรโ์ มมเิ ตอร์

1. การใช้เทอร์โมมิเตอร์จะต้องใช้ความระมัดระวังเน่ืองจาก
เทอร์โมมิเตอร์จะท�ำด้วยแก้วและภายในมีของเหลวท่ีบรรจุด้วยปรอทหรือ
แอลกอฮอล์ผสมสี

2. ขณะใช้เทอร์โมมิเตอร์ต้องไม่เอามือจับกะเปาะท่ีบรรจุของ
เหลวไว้ ก่อนจะใช้วัดอุณหภูมิในของเหลวต้องจับและสะบัดเทอร์โมมิเตอร์
เบาๆ ให้ปรอทหรอื แอลกอฮอลผ์ สมสีลงมาอยู่ในระดบั ในกระเปาะ

3. การอ่านเทอร์โมมิเตอร์ท่ีถูกต้องนั้น จะต้องให้เทอร์โมมิเตอร์
ตั้งอยู่ในแนวตรงถ้าอยู่ในของเหลวต้องให้กระเปาะจุ่มอยู่ในระดับพอเหมาะ
และอยู่ในระดับสายตาของผู้อ่านเสมอ เพ่ือป้องกันความผิดพลาดคลาด
เคลอื่ นในการอ่าน

4. เมื่อใช้เทอร์โมมิเตอร์เสร็จแล้วจะต้องล้างหรือเช็ดเบาๆ
เพอื่ ทำ� ความสะอาดและเก็บให้เรยี บร้อยในทเี่ กบ็

165

แบบวดั ทกั ษะปฏบิ ตั เิ ชงิ ผลงาน
มีลักษณะคล้ายกับการวัดปฏิบัติเชิงกระบวนการ แต่มีการก�ำหนด
เกณฑ์การให้คะแนน ในแต่ละรายการที่สังเกตหรือผลการปฏิบัติไว้ด้วย
เพ่อื ประเมนิ ใหค้ ะแนนและมีการจัดล�ำดบั เป็นเกรดตอ่ ไป

ตวั อยา่ งแบบบนั ทกึ คะแนนทกั ษะปฏบิ ตั ิ

ที่ ชอ่ื - สกลุ คะแนนผลการประเมนิ รวม

การใช้เทอร์โมมเิ ตอร์ ฯลฯ

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนทกั ษะปฏบิ ตั ิ
การใช้เทอร์โมมิเตอร์
1 หมายถงึ หยบิ จบั เทอรโ์ มมเิ ตอร์ดว้ ยความระมดั ระวงั
2. หมายถึง นอกจาก 1 แลว้ ต้องไมใ่ ชม้ อื จบั ทก่ี ระเปาะของ

เทอร์โมมิเตอร์ก่อนใช้วัดอุณหภูมิของเหลว
ตอ้ งสะบดั เทอรโ์ มมเิ ตอร์เบาๆ

3. หมายถึง นอกจาก 2 แลว้ ขณะใชว้ ดั อณุ หภมู ขิ องเหลวตอ้ ง
จุ่มเทอร์โมมิเตอร์ในของเหลวอยู่ในระดับ
เหนือกระเปาะได้พอเหมาะและตั้งตรงให้อ่าน
ไดใ้ นระดับสายตา

4 หมายถึง นอกจาก 3 แล้วเมื่อใช้เทอร์โมมิเตอร์แล้ว
ได้ท�ำความสะอาดและจัดเก็บเทอร์โมมิเตอร์ไว้
ในทเ่ี ก็บใหป้ ลอดภยั และเรยี บรอ้ ย

ฯลฯ

การวิจัยช้ันเรียน (Classroom Research):
กระบวนการสร้างความรู้เพื่อใช้พัฒนาการเรียนการสอน

166

เกณฑก์ ารประเมนิ ผลทกั ษะปฏบิ ตั ิ

ดมี าก ได้คะแนนรอ้ ยละ 80 ข้ึนไป
ดี ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ 70 – 79
พอใช้ ได้คะแนนรอ้ ยละ 60 – 69
ควรปรับปรงุ ไดค้ ะแนนต�่ำกว่าร้อยละ 60

แบบตรวจโครงงาน

รายการ การออกแบบ การเลอื ก ประโยชน์ การนำ� เสนอ เนื้อหาสาระ คะแนน
กลมุ่ ท/่ี ชอ่ื การทดลอง ใช้วสั ดุอุปกรณ์ ในการ ผลการทดลอง ในรายงาน รวม
นำ� ไปใช้

ตวั อยา่ งเกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
1. การออกแบบการทดลอง

1 หมายถงึ เขยี นข้ันตอนในการทดลองทีย่ ังไม่เป็นระบบ
อยา่ งชดั เจน
2 หมายถึง เขียนขน้ั ตอนในการทดลองทเี่ ปน็ ระบบชดั เจน
3 หมายถงึ เขยี นขน้ั ตอนในการทดลองทเ่ี ปน็ รายชัดเจน
และมีการเขยี นแผนภูมิแสดงขั้นตอนประกอบ
แต่ไมล่ ะเอียด
4 หมายถงึ เขียนขัน้ ตอนในการทดลองทเ่ี ปน็ รายชดั เจน
และมกี ารเขยี นแผนภมู ิแสดงขน้ั ตอนประกอบ
อย่างละเอยี ด
ฯลฯ

167

เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
ดมี าก หมายถงึ ไดค้ ะแนน …..... คะแนน ขึน้ ไป
ด ี หมายถึง ได้คะแนนระหวา่ ง ….. ถึง …….คะแนน
พอใช ้ หมายถึง ไดค้ ะแนนระหว่าง ….. ถึง …….คะแนน
ปรบั ปรงุ หมายถึง ได้คะแนนต่ำ� กว่า …………….คะแนน

แบบทดสอบ
1. แบบทดสอบประเภทเขียนตอบ (Supply Type)
1) แบบทดสอบอัตนัยไม่จ�ำกัดค�ำตอบ (Essay-Extended
Response)
2) แบบทดสอบอัตนัยจ�ำกัดค�ำตอบ (Essay-Restricted
Response)
3) แบบทดสอบตอบส้ัน (Short Answer)
4) แบบทดสอบเติมค�ำให้สมบูรณ์ (Completion)
2. แบบทดสอบประเภทเลอื กตอบ (Selection Type)
1) แบบทดสอบถูก-ผดิ (True-False)
2) แบบทดสอบจับคู่ (Matching)
3) แบบทดสอบหลายตัวเลอื ก (Multiple-Choice)

แนวทางการเขยี นคำ� ถามตามระดบั ขน้ั ของสมรรถภาพสมอง
ของแบบทดสอบหลายตวั เลอื ก

ชวาล แพรัตกุล (2520 อ้างถึงใน ไพศาล สุวรรณน้อย, 2558)
ได้น�ำเสนอตัวอย่างการถามตามท่ี Bloom (1956) ได้แบ่งระดับขั้น
ของสมรรถภาพสมองไว้ ดงั น้ี

การวิจัยชั้นเรียน (Classroom Research):
กระบวนการสร้างความรู้เพ่ือใช้พัฒนาการเรียนการสอน

168
1. คำ� ถามประเภทความรคู้ วามจำ�
1.1 ค�ำถามด้านความรู้ในเน้ือเรื่อง การถามถึงเร่ืองราวและ

ความจรงิ ความส�ำคญั ต่างๆ ของเนอ้ื หานั้น
1.1.1 ค�ำถามเก่ียวกับศัพท์และนิยาม ถามความหมาย

ของศัพท์ ค�ำจ�ำกัดความของค�ำและความหมายของสัญลักษณ์ หรือภาพ
อักษรย่อและเครอ่ื งหมายตา่ งๆ ในวิชานน้ั

- ถามชื่อ เชน่ ใครเป็นผู้ค้นพบจุลชวี ัน
- ถามคำ� แปล เชน่ ... มคี วามหมายเหมอื นกบั - ตรงกบั -
คลา้ ยกบั - ทำ� นองเดยี วกบั - ใกลเ้ คียงทีส่ ุดกับอะไร
- ถามความหมาย เช่น ยาที่มีภาพหัวกะโหลกและ
กระดูกไขวห้ มายความวา่ อะไร
- ถามตัวอย่าง เชน่ อาหารใดเปน็ พวกโปรตนี
- ถามตรงขา้ ม เชน่ ตึงตรงข้ามกบั ค�ำใด
1.12 คำ� ถามเกยี่ วกับสูตร กฎ ความจรงิ ความส�ำคญั
- ถามสูตร กฎ เช่น การหาพ้ืนท่ีของรูปส่ีเหลี่ยม
มุมฉาก ต้องใช้สตู รใด
- ถามเนื้อหา เช่น ลักษณะอาการใดท่ีแสดงว่า
ออกกำ� ลังกายมากเกินไป
- ถามขนาดจ�ำนวน เช่น ผิวหนังสว่ นใดบางทส่ี ุด
- ถามสถานที่ เชน่ อวยั วะใดดดู อาหารไปเลยี้ งรา่ งกาย
- ถามเวลา เช่น คนเราจะหยดุ เจริญเติบโตเม่อื อายกุ ป่ี ี
- ถามคณุ สมบตั ิ เชน่ เมอ่ื หลบั สนทิ หวั ใจทำ� งานอยา่ งไร
- ถามวตั ถปุ ระสงค์ เช่น เราฝึกหัดพลศกึ ษาไปท�ำไม
- ถามสาเหตุ และ ผลทเ่ี กิดขน้ึ เช่น การกลัน้ ปัสสาวะ
จะใหโ้ ทษแก่อวัยวะใดมาก

169
- ถามประโยชน์และคุณโทษ เช่น การเล่นฟุตบอล
ดกี ว่าการว่งิ เลน่ ในขอ้ ใด
- ถามหนา้ ท่ี เชน่ สมองเล็กท่ีท้ายทอย ทำ� หนา้ ท่ีอะไร
1.2 ค�ำถามด้านวิธีด�ำเนินการ ถามวิธีประพฤติปฏิบัติ และ
วิธดี �ำเนินการในกิจการงาน และเรือ่ งราวตา่ งๆ
1.2.1 ถามเก่ียวกบั ระเบยี บแบบแผน
- ถามแบบแผนแบบฟอร์ม เช่น ในห้องอาหารควร
ประดับด้วยภาพใด
- ถามธรรมเนยี ม ประเพณี วัฒนธรรม เช่น ข้อใดเปน็
มารยาทในการดูกฬี า
1.2.2 ถามเกีย่ วกบั ลำ� ดบั ข้นั และแนวโนม้
- ถามล�ำดับข้ัน เช่น การช่วยคนเป็นลมควรท�ำ
อะไรกอ่ น
- ถามแนวโน้ม เช่น โรคชนิดใดมีแนวโน้มสูงขึ้น
ในระยะ 2-3 ปีนี้
1.2.3 ถามเก่ยี วกบั การจดั ประเภท
- ถามชนดิ ประเภท เชน่ ปอดเป็นอวัยวะระบบใด
- ถามเข้าพวก เชน่ น้ำ� เหงือ่ มีลักษณะคลา้ ยกบั อะไร
- ถามต่างพวก เช่น อวยั วะชนดิ ใดเป็นคนละประเภท
กับหวั ใจ
1.2.4 ถามเกย่ี วกบั เกณฑ์ เชน่ การพกั ผ่อนที่ดมี ลี กั ษณะ
อย่างไร
1.2.5 ถามเกีย่ วกบั วิธีการ
- ถามวธิ ี เช่น ข้อใดเปน็ การกำ� จัดขยะท่ีผดิ วิธี

การวิจัยช้ันเรียน (Classroom Research):
กระบวนการสร้างความรู้เพื่อใช้พัฒนาการเรียนการสอน

170
- ถามการปฏิบัติ เช่น เมื่อใช้เทอร์โมมิเตอร์ตรวจไข้

จะตอ้ งปฏบิ ัติอย่างไร
- ถามเปรียบเทียบ เช่น วิธีช่วยหายใจวิธีใดที่มี

ประสทิ ธภิ าพมากท่ีสดุ
1.3 ค�ำถามด้านความรูร้ วบยอด
1.3.1 ถามเกี่ยวกับหลักวิชาและการขยายหลักวิชา

ถามให้บอกคติหรือหัวใจที่เป็นหลักวิชาของเรื่องราวนั้น ถามลักษณะ หรือ
คุณสมบัตทิ ่เี ป็นความจริงท่วั ไปของเรอ่ื งนนั้ หรอื ถามให้เอาคตหิ รือหลกั การ
นนั้ ไปเก่ียวขอ้ งกบั สภาพอน่ื อกี แหง่ หนึง่ เชน่ วิตามินและเกลอื แร่เหมือนกนั
ในเร่อื งใด ความเรว็ ในการเต้นของหวั ใจขึ้นอยกู่ บั อะไร

1.3.2 ถามเกยี่ วกบั ทฤษฎแี ละโครงสรา้ ง ถามเกยี่ วกบั คติ
และหลักการจากของหลายส่ิง หลายเนื้อหาท่ีสัมพันธ์กัน เป็นพวกเดียวกัน
และอยใู่ นสกลุ เดยี วกนั ด้วย เชน่ การชง่ั ตวง วัด มหี ลักการใดที่เหมือนกนั

2. คำ� ถามประเภทความเข้าใจ
เปน็ การถามความสามารถในการผสมแลว้ ขยายความรคู้ วามจำ�
ให้ไกลออกไปจากเดมิ อยา่ งสมเหตุสมผล
2.1 ค�ำถามด้านการแปลความ
1) ถามให้แปลความหมายของคำ� และขอ้ ความ
- ถามให้แปลความหมายของค�ำตามนัยของเร่ือง
เช่น ค�ำชี้แจง อ่านกลอนน้ีแล้วตอบค�ำถามข้อ 1-2
“ท่านเจ้าขาฉันพาลูกมาบวช ช่วยเสกสวดสอน
ใหเ้ ปน็ แก่นสาร”
(1) ค�ำวา่ “ท่าน” ในที่นห้ี มายถึงใคร
(ผมู้ ีอายุ - ผมู้ เี งิน - ผทู้ รงศีล - ผู้มีพระคุณ)

171

(2) ต้องการให้ผูใ้ ดเป็นแกน่ สาร
(ฉนั - เจา้ - ทา่ น - เดก็ )
- ถามให้แปลความหมายของกลุ่มค�ำ เช่น ท่ีว่า
เมืองไทยเป็น “อขู่ ้าวอูน่ �ำ้ ” น้ัน หมายความวา่ อะไร
(มอี าหาร - มที รัพยากรมาก - มีแม่นำ้� หลายสาย -
มีการเกษตรมาก - มีพื้นที่อดุ มสมบูรณ์)
- ถามใหย้ กตวั อยา่ งทแี่ ปลกใหม่ เชน่ สง่ิ ใดเปน็ สาธารณ
สมบัติ (ป้ายชื่อบ้าน - ป้ายถนน - ป้ายร้านค้า -
ปา้ ยโฆษณา)
- ถามให้เปรียบเปรย เช่น การกินอาหารเปรียบได้
กับข้อใด (การแก้รถยนต์ - การตีราคารถยนต์ –
การทดลองเครื่องยนต์ – การรักษาเคร่ืองยนต์ –
การตรวจสอบเครื่องยนต์)
2) แปลความหมายของภาพและสญั ลกั ษณ์
- ถามให้แปลความหมายของภาพและวัตถุส่ิงของ
เช่น ภาพน้ีเป็นตัวอย่างของอะไร (ความซุกซน -
ความหลงลืม - ความโง่เขลา - ความเลินเล่อ -
ความประมาท)
- ถามให้แปลความหมายของสัญลักษณ์ สูตร กฎ
กราฟ และตาราง เชน่ เครอื่ งหมายครฑุ หมายถงึ อะไร
(อ�ำนาจสูงสดุ - มฤี ทธิม์ าก ...)
- ถามใหแ้ ปลความหมายของพฤตกิ รรมและพฤตกิ ารณ์
เช่น การเต้นของชีพจรคือการกระเทือนของอะไร
(ปอด – หัวใจ – เส้นโลหิตด�ำ – เส้นโลหิตแดง -
ลมหายใจเขา้ )

การวิจัยชั้นเรียน (Classroom Research):
กระบวนการสร้างความรู้เพื่อใช้พัฒนาการเรียนการสอน

172
3) แปลถอดความ
- ให้ถอดความต่างลักษณะ เช่น ข้อใดคล้ายกับ

“นักปราชญ์รู้พลั้ง” ? (พ่อแมต่ ลี กู - ครูบวกเลขผิด -
นกั เรียนทะเลาะกนั – หวั หน้าชัน้ หนีโรงเรยี น)

- ให้ถอดความต่างภาษา เช่น ให้แปลความหมาย
ของคำ� และขอ้ ความจากภาษาหนง่ึ ไปเปน็ อกี ภาษาหนง่ึ
เชน่ จากภาษาไทยเปน็ ภาษาอังกฤษ

2.2 ค�ำถามด้านการตีความ
1) ตีความหมายของเร่ือง เช่น ผลการทดลองนี้
(การกระทำ� ,ปฏบิ ตั )ิ อาจสรุปได้เชน่ ไร? (- แสงเปน็ พลงั งาน)
2) ตคี วามหมายของขอ้ เทจ็ จริง เช่น “วัฒนาตอ้ งการ
ทดลองเกย่ี วกบั ชวี ิตของยงุ เขาจับยงุ 10 ตัว มาขังไวใ้ นกลอ่ งมุ้งลวด 2 วนั
ปรากฏวา่ ยงุ ตายไป 5 ตวั ”
- การทย่ี งุ ตาย แสดงใหเ้ หน็ สภาพของอะไร (การอดนำ�้
– อดอาหาร – ขาดอากาศ – กล่องเลก็ คับแคบ –
ไมท่ ราบสาเหต)ุ
- ท�ำไมยุงอีก 5 ตัวจึงไม่ตาย (แข็งแรง–อายุมาก–
ตัวโตกวา่ –เปน็ ยุงอายุนอ้ ย–ไม่ทราบสาเหตแุ น่ชัด)
2.3 ค�ำถามดา้ นการขยายความ
1) ขยายความแบบจนิ ตภาพเชน่ เหตกุ ารณ์(การกระทำ� น,้ี
เรอื่ งราวน้ี) เกิดข้นึ ท่ีไหน (...ในป่ า...)
2) ขยายความแบบพยากรณ์ เช่น เราอาจคาดเรื่อง
ตอนจบไดว้ ่าอยา่ งไร (...พระเอกได้แต่งงาน...)

173

3) ขยายความสมมติ เช่น ถา้ ใชน้ �้ำแข็งแทนน้�ำธรรมดา
ผลการทดลองจะเป็นเช่นไร (...พืชตาย...)

4) ขยายความแบบอนมุ าน เชน่ เมอ่ื เกดิ นำ้� ทว่ มในเมอื ง
นานๆ จะเกดิ โรคชนิดใดตามมา (โรคตา – โรคปอด
– โรคท้องรว่ ง – โรคไข้จับสัน)

3. คำ� ถามประเภทการนำ� ไปใช้
เปน็ การถามความสามารถในการนำ� เอาความรแู้ ละความเขา้ ใจ
ในเรอื่ งราวใดๆ ไปแก้ปัญหาที่แปลกใหม่ ท�ำนองน้นั ของเรือ่ งนนั้ ได้
3.1 ถามความสอดคล้องระหวา่ งหลกั วิชากับการปฏิบัติ
- ถามความสอดคล้องระหว่างหลักวิชากับตัวอย่างของจริง
เชน่ อาหารชนิดใดทำ� จากพชื ? (นมสด - ไข่ตุน่ – ลูกชน้ิ ปิง้
– ลอดช่อง) นักเรียนสามารถช่วยชาติได้โดยวิธีใด?
(ตงั้ ใจเรียน – ไปทำ� บญุ ทีว่ ัด – ชว่ ยงานพอ่ แม่ – เออื้ เฟือ้
คนชรา)
- ถามความสอดคล้องระหว่างตัวอย่างกับตัวอย่าง เช่น
ชาวนาขายข้าวเปลือกใช้วิธีการวัดอย่างเดียวกับการขาย
อะไร? (การขายไก่ – การขายผ้า – การขายกาแฟ –
การขายน้�ำตาล)
3.2 ถามขอบเขตของหลกั วชิ าและการปฏิบัติ
- ถามขอบเขตและเง่ือนไขของหลักวิชาและการปฏิบัติ
เช่น สูตรน้ี (กฎ, หลัก, คติ) ใช้ได้ดี (หรือเป็นจริง)
ในเรือ่ งใด ?
- ถามขอ้ ยกเวน้ ของหลกั วชิ าและการปฏบิ ตั ิ เชน่ อาหารทำ� ให้
ร่างกายเตบิ โตและดำ� รงชวี ติ อยู่ได้ ยกเวน้ กรณีใดตอ่ ไปน?้ี
(...อาหารไม่สะอาด - อาหารไม่มคี ณุ คา่ - กินมากๆ ...)

การวิจัยชั้นเรียน (Classroom Research):
กระบวนการสร้างความรู้เพ่ือใช้พัฒนาการเรียนการสอน

174
3.3 ถามใหอ้ ธบิ ายหลกั วิชา
- ถามใหอ้ ธบิ ายเรอื่ งราว ปรากฏการณแ์ ละการกระทำ� ตา่ งๆ

ตามหลักวิชาว่ามีเหตุผล หรือหลักวิชาใด เช่น เหตุใด
จงึ สบู นำ�้ มนั ขน้ึ ไดส้ งู กวา่ นำ้� ? (...เพราะนำ�้ มนั เบากวา่ นำ้� ...)

3.4 ถามให้แก้ปัญหา เป็นข้ันน�ำความรู้ไปใช้ในสภาพจริงกัน
โดยตรง โดยการตงั้ คำ� ถามเปน็ เรอื่ งราวหรอื เหตกุ ารณส์ มมตใิ ดๆ กไ็ ดแ้ ลว้ ให้
ตอบแกป้ ญั หาเหลา่ นน้ั ดว้ ยความคดิ ของตนเอง ไมม่ กี ารแนะสตู ร กฎหรอื แง่
คิดใดๆ ให้

- ถามให้แก้ปัญหาเฉพาะหน้า เช่น ถ้าขาดแคลนเนื้อสัตว์
ควรทดแทนด้วยอาหารชนิดใด? (ถ่ัว – งา – เผือก –
มัน – ขา้ วโพด)

- ถามให้แก้ปัญหาตามหลักวชิ า เชน่ เด็กผอมแกร็น ควรซื้อ
อะไรรับประทาน? (ถ่วั ตม้ – อ้อยควัน่ – มนั แกว)

3.4 ถามเหตุผลของการปฏิบัติเรื่องนั้นๆ ควรปฏิบัติอย่างไร
และเพราะเหตุใดจึงปฏบิ ัตเิ ชน่ นัน้

- ถามใหต้ รวจสอบแกไ้ ข เชน่ เรอื่ งนน้ั สงิ่ นค้ี วรทำ� อะไรกอ่ น
(หลัง) จึงจะถูกต้อง เพราะเหตุใด การปฏิบัติน้ี (วิธีท�ำ)
ยงั ผดิ สตู ร กฎ หรอื หลกั การใด เพราะอะไร?

- ถามใหว้ นิ จิ ฉัยคัดเลอื ก เช่น เดก็ ที่หายป่วยใหมๆ่ ควรออก
ก�ำลังโดยวิธีใด เพราะเหตุใด? (เดินเล่น เพื่อ
เหนื่อยนอ้ ย - กระโดดเชอื ก เพื่อให้กลา้ มเนื้อแข็งแรง)

4. ค�ำถามประเภทวิเคราะห์
เป็นการถามความสามารถในการแยกส่ิงส�ำเร็จรูปออกเป็นส่วน
ย่อยๆตามหลักการและกฎเกณฑ์ท่ีก�ำหนดให้ เพ่ือค้นหาความจริงต่างๆ
ทซ่ี อ่ นแฝงอย่ภู ายในเรื่องราวนน้ั

175

4.1 วิเคราะหค์ วามส�ำคัญ
- ถามใหว้ เิ คราะหช์ นดิ เชน่ การทดลองน้ี มลี กั ษณะใด? (เชอื่ ได้
- นา่ สงสยั - ยงั ไมร่ ดั กมุ - กำ� กวม) คำ� กลา่ วนเ้ี ปน็ ประเภทใด?
(ตัวอย่าง - ข้อเท็จจริง - ความเห็น) ข้อความน้ี
มีความบกพร่องชนิดใด? (ใช้ค�ำผิด - ไวยากรณ์ผิด -
สำ� นวนไม่ดี - เปรยี บเทียบผิด)
- ถามให้วิเคราะห์สิ่งส�ำคัญ เช่น ข้อความน้ี กล่าวถึงส่ิงใด
ทสี่ ำ� คญั ทสี่ ดุ ? เรอ่ื งนใี้ หค้ ติ (ความคดิ , คำ� สอน) วา่ อยา่ งไร?
ปจั จยั สำ� คญั ทมี่ อี ทิ ธพิ ลตอ่ เรอ่ื งน้ี คอื อะไร? ความมงุ่ หมาย
ส�ำคัญของเร่ืองนี้คืออะไร? ที่ท�ำเช่นนั้นเพื่อให้เกิดอะไร?
สงิ่ นี้มีประโยชนส์ ำ� คัญ (คณุ , โทษ) ในดา้ นใด?
- ถามให้วิเคราะห์เลศนัย เช่น ข้อความนี้ กล่าวเป็น
นัยพาดพิงถงึ ใคร? การทดลองนไี้ มผ่ ิด แตม่ แี นวโนม้ เช่นไร
(...ลำ� เอียง...)
4.2 วเิ คราะหค์ วามสมั พนั ธ์ เชน่ ขอ้ ความน้เี กยี่ วข้องโดยตรง
กบั อะไรมากทสี่ ดุ ความตอนใด กลา่ วถงึ สาเหตขุ องเรอ่ื ง เขาหวงั อะไรจากการ
กระท�ำเช่นนัน้ อะไรคอื ผลขน้ั ตน้ ของงานนี้
4.3 วิเคราะห์หลักการ
- วเิ คราะหโ์ ครงสรา้ ง เชน่ บอ่ สระ ทะเล มสี ง่ิ ใดแตกตา่ งกนั ?
(น้�ำ - รส - ใส – คล่ืน - ขนาด) แม่เหล็กธรรมชาติกับ
แมเ่ หล็กไฟฟา้ มีสิง่ ใดต่างกัน? (จำ� นวนขว้ั - แรงดดู ผลกั -
ความเขม้ ของสนาม)
- วเิ คราะหห์ ลกั การ เชน่ คำ� สรปุ น้ี ยงั ไมส่ มบรู ณเ์ พราะเหตใุ ด?
(..ถือว่าเด็กเก่งเท่ากัน..) ชาดกน้ีถือว่าการกระท�ำใด
เป็นเลิศ? (การให้ทาน – การอดกลน้ั - การสนั โดษ ...)

การวิจัยช้ันเรียน (Classroom Research):
กระบวนการสร้างความรู้เพ่ือใช้พัฒนาการเรียนการสอน

176
5. ค�ำถามประเภทสังเคราะห์
เป็นการถามความสามารถในการรวบรวมสิ่งต่างๆ ต้ังแต่สอง

ชนดิ ขน้ึ ไป เพอื่ ใหก้ ลายเปน็ สงิ่ สำ� เรจ็ รปู ขน้ึ ใหม่ ทมี่ ลี กั ษณะแปลกไปจากสว่ น
ประกอบยอ่ ยของเดมิ

5.1 สังเคราะห์ข้อความ
- สงั เคราะห์ข้อความโดยการพูด เชน่ ให้แสดงความคดิ เห็น
อสิ ระของตนตอ่ เรอื่ งราวทกี่ ำ� หนดให้ ชแ้ี จง ขยายความของ
เร่ืองใดๆ ให้กระจ่างชัดกว่าเดิม ให้สรุปสิ่งท่ีเป็นแก่นสาร
หวั ใจของเรอื่ งโดยภาษาของตนเอง หาขอ้ ยตุ จิ ากการอภปิ ราย
การวจิ ารณ์ เปรยี บเทยี บความดงี าม เดน่ ดอ้ ยของเรอื่ งตา่ งๆ
- สังเคราะห์ข้อความโดยการเขียน ให้เขียนตอบบรรยาย
เร่ืองราวต่างๆ เช่น ให้แสดงความคิดเห็นว่าเหมาะสม
หรือดีเลวเพียงใด ให้ขยาย สรุป และเปรียบเทียบส่ิงนั้น
กับอะไรอื่นอกี อยา่ งหนง่ึ
- สังเคราะห์ข้อความจากการแสดง ใช้รูปภาพ หรือ
วัตถสุ ิง่ ของ เสยี ง หรือ การแสดงเป็นต้นเรือ่ งโดยนำ� ส่งิ นนั้
มาให้ดู แล้วให้แต่ละคนพูดหรือเขียนบรรยายเร่ืองราว
ตามภาพทเ่ี หน็ นั้น หรอื ใหแ้ สดงความคิดเหน็ ต่อสิ่งนัน้
5.2 สังเคราะห์แผนงาน เปน็ การก�ำหนดแนวทางและข้นั ตอน
ของการปฏบิ ตั ิงานใดๆ ล่วงหนา้ เพอ่ื ให้การด�ำเนินงานราบร่ืน และบรรลุผล
ตรงตามเกณฑ์ และมาตรฐานที่กำ� หนดไว้ เช่น ควรใช้วิธใี ดตรวจสอบขั้นตน้
วา่ ดอกกหุ ลาบทเี่ ราซอื้ จากตลาดยงั มชี วี ติ อย?ู่ (...เมอ่ื แชน่ ำ�้ กา้ นจะยาวขน้ึ ...)
ในการทดลองหาความหนาแนน่ ของน�้ำแข็ง เราต้องระวังเรอื่ งใดเป็นพิเศษ?

177

5.3 สงั เคราะหค์ วามสมั พนั ธ์ เอาความสำ� คญั และหลกั การตา่ งๆ
มาผสมใหเ้ ปน็ เรอ่ื งเดยี วกนั ทำ� ใหเ้ กดิ เปน็ สงิ่ สำ� เรจ็ รปู ใหมๆ่ ทมี่ คี วามสมั พนั ธ์
แปลกไปจากเดิม เชน่ คนท่ีไมล่ ักขโมยเป็นคนดี แตถ่ า้ จะให้ดยี ิ่ง ขึ้น เขาจะ
ตอ้ งปฏบิ ตั อิ ะไรอกี ? (อาชพี สจุ รติ - ไมโ่ ลภมาก - มคี วามสตั ย์ ...) สตู รสำ� หรบั
หาพนื้ ทข่ี องรปู สามเหลย่ี มมาจากสตู รการหาพนื้ ทข่ี องรปู ใด? (สเ่ี หลยี่ มจตั รุ สั
– สเ่ี หลีย่ มผืนผ้า – สเี่ หลย่ี มดา้ นขนาน ...)

6. คำ� ถามประเภทประเมินคา่
เป็นการถามการตีราคาต่างๆ โดยสรุปอย่างมีหลักเกณฑ์ว่า
ส่ิงนน้ั มคี ณุ คา่ ดี - เลว หรอื เหมาะควรอย่างไร
6.1 ประเมนิ คา่ โดยเกณฑภ์ ายใน ประเมนิ สง่ิ ใดๆ โดยใชข้ อ้ เทจ็
จริงตา่ งๆ เท่าทป่ี รากฏอยู่ในเรือ่ งราวนัน้ เองมาเปน็ หลักในการพจิ ารณา
- ถามให้ประเมินความถูกต้องเท่ียงตรงของเร่ือง เช่น
ยกเอาสิ่งใดสง่ิ หนึ่งมาเป็นต้นเรอื่ ง แล้วถามว่า สอดคลอ้ ง
กบั เกณฑแ์ ละมาตรฐานเรอ่ื งนน้ั หรอื ไม?่ ไดผ้ ลตามเปา้ หมาย
มากน้อยเพียงใด? เชื่อถือได้มากน้อยเพียงใด? มีความ
เดน่ -ดอ้ ยเห็นชัดทส่ี ุดในดา้ นใด?
- ประเมนิ ความเปน็ เอกพนั ธข์ องเรอ่ื ง เชน่ ความตอนตน้ กบั
ตอนทา้ ยของเร่อื งนน้ั รบั กนั หรอื ขดั แยง้ กนั ?
- ประเมินความสมบูรณ์ ถูกต้องของข้อมูล เช่น มีความ
ถูกตอ้ ง เหมาะสม และเชอ่ื ถือได้เพียงใด?
- ประเมนิ ความเหมาะสม และประสทิ ธภิ าพของวธิ กี าร และ
การปฏิบัติ เชน่ วธิ ใี ดถกู ตอ้ ง ดี - เลว กวา่ วธิ ีอื่น ในแงใ่ ด?
- ประเมินความสมเหตุสมผลของผลลัพธ์ ผลสรุป ผลลัพธ์
เช่น ผลสรุปที่ได้ มีเหตุผลเพียงพอแล้วหรือไม่ เพียงใด
เพราะอะไร? การตีราคาเร่ืองนั้นโดยใช้เกณฑ์น้ันๆ

การวิจัยชั้นเรียน (Classroom Research):
กระบวนการสร้างความรู้เพ่ือใช้พัฒนาการเรียนการสอน

178

เขา้ จบั เปน็ การถกู ตอ้ งเหมาะสมหรอื ไม?่ การติ - ชม เหลา่ นน้ั
ควรรบั ฟงั หรือไม่ เพราะเหตุใด?

6.2 ประเมินค่าโดยเกณฑ์ภายนอก การตีราคาโดยใช้เกณฑ์
อ่ืนๆ ที่อยู่ภายนอกเร่ืองราวน้ัน แต่ทว่าสัมพันธ์กับเรื่องน้ัน มาเป็นหลักใน
การวินิจฉัยตดั สิน

- ประเมินโดยสรุป ถ้ายึดสิ่งนี้เป็นหลักจะต้องชี้ขาดว่า
เร่ืองน้ันผิด หรือถูก เพราะเหตุใด? ส่ิงน้ี (การกระท�ำนี้)
มีประโยชน์ตอ่ สังคมในด้านใด?

- ประเมินโดยเปรียบเทียบ สีดาดีกว่ารจนาในด้านใด?
รูปภาพแรกมีลักษณะใดเด่นชัดกว่ารูปภาพหลัง? (สี -
เส้น - แบบ - ความหมาย)

- ประเมนิ กบั มาตรฐานนาฬกิ าเรอื นนด้ี หี รอื ไม่(ดีเพราะเดนิ ตรง
กับสัญญาณวิทยุ) การกระท�ำน้ีสอดคล้องกับหลักการใด?
(สันโดษ - ประชาธิปไตย)

- ประเมินความเดน่ ดอ้ ย ความเห็นท่วี า่ ...... มีลักษณะเด่น
ในทางใด และด้อยในทางใด? ...... ถูกต้องดีในแง่ใด
แต่ผดิ ในแงใ่ ด?

เทคนคิ การประเมนิ ในชน้ั เรยี น (Classroom Assessment Techniques)
เป็นวิธีการ หลกั การ กระบวนการเพื่อใหไ้ ด้สารสนเทศในการน�ำไป

พัฒนาผู้เรียนตามเป้าหมายต่างๆท่ีต้องการให้เกิดข้ึน แบ่งเป็นกลุ่มเทคนิค
ตามเป้าหมายได้ดงั น้ี

179

1. กลมุ่ เทคนคิ ประเมนิ เพอื่ เตรยี มความพรอ้ มกอ่ นเรยี น

เทคนคิ วธิ กี าร
การลว้ งถามความรูเ้ ดิม ใช้ค�ำถามปลายเปิดสัน้ ๆ 2-3 คำ� ถาม ใชก้ อ่ นเรียนเรอ่ื ง
(Background knowledge probe) ใหม่ /หน่วยใหม/่ วชิ าใหม่ ในเร่อื งความรเู้ ดิม และ
การเตรยี มตวั เรียนของผ้เู รียน เช่น เคยเรียนวิชาใด
การตรวจสอบมโนทัศนผ์ ิด/เดิม ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับวิชานมี้ าบา้ ง ศัพทพ์ ื้นฐานที่เก่ยี วข้อง
(Misconception/ มอี ะไรบ้าง และนิยามว่าอะไร
Conception check) ผ้สู อนระบมุ โนทัศนท์ ่สี �ำคญั ที่เก่ยี วข้อง ถามผู้เรียน
จดุ สบั สน (Muddiest Point) ถึงความหมาย ขอบเขต หรือผู้สอนรวบรวมมโนทศั น์
ทผ่ี ิดๆของผเู้ รียน มาจัดทำ� เปน็ ข้อสอบ 4 ตัวเลือกให้
ผู้เรียนตอบ
ใหผ้ เู้ รยี นระบุประเด็นทต่ี นยงั ไมเ่ ขา้ ใจ หรอื สบั สน

2. กลุ่มเทคนคิ ประเมินเพือ่ พัฒนาความรู้ ความเขา้ ใจ

เทคนคิ วธิ กี าร
การใหร้ ะบจุ ุดส�ำคญั ผสู้ อนเลอื กมโนทศั น์ 2-3 อยา่ งทเี่ พงิ่ เรยี นจบไป
(Focus Listing) ใหผ้ เู้ รยี นเขยี นบรรยายในเวลาจำ� กดั เชน่ 5 นาที
การทำ� สารบญั วา่ ง หลงั จบการสอน และกอ่ นหมดเวลาสอน
(Empty Outline) หลังจากเรียนไประยะหนงึ่ ผูส้ อนจัดท�ำสารบญั เนื้อหา
เมตรกิ การจ�ำ หลกั และรองใหบ้ างส่วน ให้ผู้เรียนจัดท�ำสารบญั ต่อให้
(Memory Matrix) สมบรู ณ์
ผ้สู อนจดั ท�ำตาราง 2 มติ ิ ใสข่ ้อความในคอลัมน์และ
แถวใหส้ มบรู ณ์ แลว้ ให้ผู้เรียนเตมิ ขอ้ ความลงในที่ว่าง
เช่น วชิ าชีววทิ ยา

อวยั วะ หนา้ ท่ี โครงสรา้ ง

ปาก

ทอ้ ง

ไต

การจดบันทึกสนั้ ๆ หลงั เรียนแต่ละครัง้ ใหผ้ เู้ รยี นระบวุ า่ วันนเ้ี รยี นอะไรไป
(Minute Paper) แลว้ บ้าง มปี ระเดน็ อะไรท่สี ำ� คัญ

การวิจัยชั้นเรียน (Classroom Research):
กระบวนการสร้างความรู้เพื่อใช้พัฒนาการเรียนการสอน

180

3. กลุ่มเทคนิคประเมินเพ่ือพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์และการคิด
อยา่ งมวี จิ ารณญาณ

เทคนคิ วิธกี าร
การหาเกณฑ์ ใหผ้ ู้เรยี นระบเุ กณฑ์เพื่อจำ� แนกประเภท เช่น คน จำ� แนกได้ก่ี
(Categorizing Grid) ประเภท ใชเ้ กณฑอ์ ะไร
จดุ แข็ง/อ่อน ใหผ้ ู้เรยี นระบจุ ุดแข็ง/ออ่ นของประเดน็ ทีผ่ ู้สอนก�ำหนด เช่น
(Pro and Con Grid) จดุ แข็ง/ออ่ น ของระบบราชการ
บนั ทกึ เชงิ วิเคราะห์ ให้ผู้เรยี นวิเคราะหป์ ัญหาจากหัวข้อท่กี ำ� หนดให้ เช่น การเลือก
(Analytic Memos) ต้ัง นา่ จะมปี ญั หาอะไรบ้าง
เมตรกิ ระบคุ วามตา่ ง ใหต้ าราง 2 มติ ิ ใหผ้ เู้ รยี นระบคุ วามตา่ ง เชน่ แมวกบั สนุ ขั ตา่ งกนั
(Defining Feature Matrix) ในประเดน็ อะไรบา้ ง

ประเดน็ ความตา่ ง

ปาก แมว สุนขั

สารบัญระบุ อะไร อย่างไร ให้ผเู้ รยี นทำ� สารบญั ท่รี ะบุ อะไร อยา่ งไร และทำ� ไม เช่น
ทำ� ไม (Content, Form and รูปแบบ
Function Outlines) เนอ้ื หา (อะไร) (อย่างไร) หนา้ ที่ (ท�ำไม)

ปาก

ทอ้ ง

ไต

181

4. กลุ่มเทคนิคประเมินเพื่อพัฒนาทักษะการสังเคราะห์และความคิด
สรา้ งสรรค์

เทคนคิ วธิ กี าร
สรุป 1 ประโยค ให้ข้อความยาวคร่ึงหน้า แล้วใหผ้ ู้เรยี นสรุปวา่ ใครทำ� อะไร
(One Sentence Summary) ทีไ่ หน เม่อื ไร ท�ำไม และอย่างไร
การบนั ทกึ คำ� ใหผ้ เู้ รยี นสรปุ เนอ้ื หาสาระทกี่ ำ� หนดให้ ใหเ้ หลอื 1 คำ�
(Word Journal) แลว้ อธบิ ายทำ� ไมจงึ เลอื กคำ� นนั้
ผลสรปุ ใหผ้ ู้เรยี นระบวุ ่า ความสมั พนั ธร์ ูปแบบตอ่ ไปน้ี เป็นความ
(Approximate Analogy) สัมพันธ์แบบใด หรือเก่ยี วข้องกนั อย่างไร A : B : X : Y
มโนทัศนแ์ ผนท่ี ใหผ้ ู้เรยี นประยกุ ต์สิ่งท่ีเรียนในห้องกบั ชีวติ จริง หรอื ให้
(Concept Maps) ระบุสง่ิ ท่เี รยี นในห้องกบั ท่ีตนได้ค้นควา้ เพ่มิ เตมิ
บทสนทนา ให้ผเู้ รยี นสรา้ งบทสนทนาสมมตขิ ึ้น เช่น ใหส้ ร้างบท
(Invented Dialogues) สนทนาระหว่างพ่อค้าขายส้ม กบั ลกู ค้าขาจร
แฟม้ รวมหลกั ฐานแสดงการ ให้ผ้เู รยี นน�ำหลักฐานทุกอยา่ งที่ใชใ้ นการทำ� งานสง่ มาให้ดู
ดำ� เนินงาน (Annotated เช่น ถ้าใหผ้ ้เู รียนทำ� รายงาน กใ็ ห้สง่ ร่างทุกช้นิ ที่ทำ� ก่อน
Portfolios) ท่ีจะเสรจ็ เปน็ รายงาน

5. กลุม่ เทคนิคประเมนิ เพอื่ พฒั นาทกั ษะการแก้ปัญหา

เทคนคิ วธิ กี าร
ใหร้ ะบปุ ญั หา ผสู้ อนรวบรวมปญั หาตา่ งๆเขา้ เปน็ หมวดหมู่ นำ� เสนอผเู้ รยี น
(Problem Recognition Tasks) เพอ่ื ใหเ้ หน็ ความหลากหลายของปญั หา หนา้ ทขี่ องผเู้ รยี น
อะไรคอื หลักการ คอื ระบปุ ญั หาทผ่ี สู้ อนนำ� ใหด้ วู า่ จดั อยใู่ นประเภทใดของ
(What’s the Principle?) ปญั หา
คดิ แก้ปญั หามาได้อยา่ งไร (Docu- หลงั จากทผี่ ูเ้ รยี นระบปุ ญั หาไดแ้ ล้ว เขาจะตอ้ งอธิบายวา่
mented Problem Solutions) เขาจะนำ� เนอ้ื หาสว่ นใดมาใชแ้ กป้ ัญหา
เทปเสยี งและภาพทแ่ี สดง หลงั จากทีผ่ ูเ้ รียนแก้ปัญหาไดแ้ ลว้ เขาจะต้องอธิบายว่า
เขาคดิ แก้ปญั หามาได้อย่างไร
ใหผ้ เู้ รยี นอธบิ ายวธิ แี กป้ ญั หาโดยอดั เทป หรอื VDO ไว้ เพอ่ื
ผสู้ อนจะไดน้ ำ� มาวเิ คราะหใ์ นรายละเอยี ดถงึ วธิ กี ารแกป้ ญั หา
ของผเู้ รยี นตอ่ ไป

การวิจัยชั้นเรียน (Classroom Research):
กระบวนการสร้างความรู้เพื่อใช้พัฒนาการเรียนการสอน

182

6. กลุ่มเทคนิคประเมินเพื่อพัฒนาทักษะการประยุกต์และการแสดง
ความสามารถ

เทคนคิ วธิ กี าร
การเรยี บเรยี งภาษาใหม่ ผสู้ อนกำ� หนดเนอ้ื หาให้ ผูเ้ รียนเขยี นเป็นภาษาของตน
(Directed Paraphrasing) เพอ่ื การสอ่ื สาร
บตั รกรอกข้อความ ให้ผเู้ รยี นระบุส่ิงทต่ี นเรียนไปแลว้ วา่ เช่ือมโยงกบั ชวี ติ
(Application Cards) ประจ�ำวันของตนเองไดอ้ ยา่ งไร เขยี นลงการด์ สะสมไว้
ผูเ้ รียนออกขอ้ สอบเอง ใหผ้ ้เู รยี นออกขอ้ สอบ/ขอ้ คำ� ถามจากเรือ่ งท่ีเรียนไปแลว้
(Student Generated Test ใหผ้ เู้ รยี นเล่นบทบาทสมมติ หรอื แต่งละครเก่ียวกบั เรอ่ื งที่
Questions) ได้เรยี นไปแลว้
เลน่ ละครลอ้ เลียน (Human ใหผ้ ู้เรยี นส่งโครงรา่ ง หรือเคา้ โครงรายงานทีจ่ ะท�ำ
Tableau or Class Modeling)
ทำ� โครงรา่ ง (Paper and Project
Prospectus)

7. กลมุ่ เทคนคิ ประเมนิ เพอ่ื พฒั นาทศั นคตแิ ละคา่ นยิ มของผเู้ รยี น

เทคนิค วธิ ีการ
การสำ� รวจความคิดเห็นในชั้นเรยี น ใช้การยกมือระบคุ วามคดิ เหน็ ในห้อง เชน่ ถามว่า ใคร
(Classroom Opinion Polls) เห็นดว้ ยในเรอื่ ง การจ�ำนำ� ขา้ ว บา้ ง
การบนั ทึก 2 ทาง ให้ผูเ้ รียนจดบันทกึ จากสิ่งท่ีอา่ น 1 ย่อหน้า ในย่อหน้าท2่ี
(Double Entry Journal) ใหร้ ะบุสง่ิ ทต่ี นไม่เห็นดว้ ยเทคนิคน้ี ช่วยใหผ้ ู้เรยี นสรา้ ง
สัณฐานคนน่านยิ ม บทสนทนากับสาระท่อี ่าน
(Profiles of Admirable ใหผ้ ู้เรยี นบรรยายลกั ษณะของบุคคลท่ตี นนยิ มชมชอบ
Individuals) เช่น ใหบ้ รรยายพระเอกละครทตี่ นนยิ ม 1 คน
จรยิ ธรรมประจำ� วนั ใหผ้ เู้ รยี นบรรยายความรสู้ ึกเกย่ี วกับเหตุการณ์ หรือ
(Everyday Ethical Dilemmas) บุคคลท่ีตนเหน็ บนรถประจ�ำทาง หรอื ถนน หรือทไี่ ดย้ ินผู้
การสำ� รวจความมัน่ ใจในการเรยี น สอนวเิ คราะห์จรยิ ธรรมจากสง่ิ ท่ีผู้เรยี นเขยี นบรรยาย
(Course Related Self Confi- เป็นคำ� ถามปลายเปิด 2-3 คำ� ถาม เก่ยี วกบั ความม่นั ใน
dence Surveys) ในวิชาทต่ี นเรียนไปแลว้ ว่า ตนมคี วามรู้มากนอ้ ยเพียงใด
มัน่ ใจว่าจะได้เกรดอะไร

183

8. กลมุ่ เทคนคิ ประเมนิ เพอ่ื พฒั นาบทบาทในฐานะผเู้ รยี น

เทคนคิ วธิ กี าร
ชวี ประวตั คิ ร่าวๆ (Focus ให้ผู้เรียนเขียนชีวประวตั ิของตนอย่างคร่าวๆ
Autobiographical Sketches) ผูส้ อนวเิ คราะห์ลกั ษณะของผเู้ รยี น ความร้สู กึ ตา่ งๆ
แบบตรวจสอบความสนใจ/ ของเขาจากทเ่ี ขาเขยี นบรรยาย
ความร/ู้ ทักษะ (Interest/
Knowledge/Skills Checklist) มมี าก มปี าน มีนอ้ ย ไม่มเี ลย
กลาง

1.ทักษะการอา่ น ( ) ( ) ( ) ( )

2.ความรู้ในเรอ่ื ง ( ) ( ) ( ) ( )

การจบั คแู่ ละจดั ลำ� ดบั เปา้ หมาย 1) ใหผ้ เู้ รยี นระบุเปา้ หมายในการเรียน
(Goal Ranking and Matching) แล้วจัดลำ� ดับของเป้าหมายจากมากมาหานอ้ ย
การตคี า่ วธิ เี รยี นดว้ ยตนเอง 2) ให้ผู้สอนระบุเป้าหมายในการสอน
(Self-Assessment of Ways of แล้วจัดล�ำดับของเป้าหมายจากมากมาหานอ้ ย
Learning) 3) จับคู่เป้าหมายระหวา่ งผเู้ รยี นกับผูส้ อน
4) จัดลำ� ดับเปา้ หมายระหว่างผู้เรียนกับผ้สู อน
5) พจิ ารณาความสอดคลอ้ งและความแตกต่าง
ระหว่างเปา้ หมายของผ้เู รยี นกับผู้สอน
ใหผ้ ้เู รยี นระบลุ กั ษณะวธิ เี รยี นของตนเองว่า
มวี ิธกี ารอยา่ งไร ผสู้ อนวิเคราะหว์ ่าผู้เรยี นจริงจงั ตอ่
การเรียนมากน้อยเพยี งไร

การวิจัยชั้นเรียน (Classroom Research):
กระบวนการสร้างความรู้เพื่อใช้พัฒนาการเรียนการสอน

184

9. กลมุ่ เทคนคิ ประเมนิ เพอ่ื พฒั นากลยทุ ธ์ พฤตกิ รรม และทกั ษะในการเรยี น
วชิ าตา่ งๆ

เทคนคิ วธิ กี าร
เวลาทใี่ ช้ศึกษาจริง ผเู้ รยี นบนั ทกึ เวลาทใ่ี ชศ้ กึ ษาวชิ าหนงึ่ ๆ ในชว่ งเวลาใดบา้ ง
(Productive Study Time Logs) กลยุทธ์ 5 ข้ันในการเรียนการสอน โดยฝึกให้ผู้เรียนรู้
ฟงั คดิ ถาม เขยี น ยอ้ นกลับ จากฟัง คิด ถาม เขียน แลว้ ให้ขอ้ มูลย้อนกลบั
(Punctuated Lectures) ใหผ้ ู้เรยี นระบุวธิ กี ารท�ำรายงาน การท�ำการบา้ น ปัญหา
การวเิ คราะห์กระบวนการ ทพ่ี บ จดุ แข็ง/จดุ อ่อนที่พบ
(Process Analysis) ให้ผู้เรยี นระบุก่อนทำ� งานหรือทำ� การบ้านวา่ มีสิง่ ใดท่ี
สิง่ วนิ จิ ฉยั การเรียนรู้ ตนยงั ไมเ่ ขา้ ใจเมอื่ ทำ� งาน/การบา้ นไปแลว้ ใหร้ ะบุวา่
(Diagnostic Learning Logs) มสี ่งิ ใดท่เี ปลีย่ นแปลงไปบา้ ง เชน่ เขา้ ใจสิ่งใดเพ่มิ มาก
ขึน้ บ้าง

10. กลมุ่ เทคนคิ ประเมนิ เพอื่ พฒั นาปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งผเู้ รยี นตอ่ ผสู้ อนและ
การสอน

เทคนคิ วธิ กี าร
บนั ทกึ ต่อเนอื่ ง 1) ผู้สอนเขยี นค�ำถาม 1 ประโยค ท่เี ก่ียวกับการเรยี น
(Chain Notes) การสอนในห้องเรยี นบนซองใหญ่ แลว้ ผา่ นไป
E-Mail ตามผู้เรยี น
(Electronic Mail Feedback) 2) แจกการ์ดให้ผูเ้ รียนแตล่ ะคนลว่ งหนา้
3) ผู้เรียนทไ่ี ดร้ บั ซองใหญ่ เขยี นคำ� ตอบลงบนการ์ด
ของตนแลว้ ใสซ่ อง ท�ำเชน่ น้ีจนครบทุกคน
สง่ ใหผ้ สู้ อนวิเคราะหต์ อ่ ไป
ตวั อย่างค�ำถาม

ทา่ นก�ำลังท�ำอะไรอยู่
ท่านกำ� ลังเรยี นอะไร
เปน็ การเรยี นการสอนผ่าน E-Mail ระหว่างผู้เรียน
กบั ผสู้ อนโต้ตอบกนั

185

เทคนคิ วธิ กี าร
แบบประเมินการสอนทค่ี รูสร้างข้ึน ผู้สอนสรา้ งแบบประเมนิ การสอนขนึ้ ให้ผู้เรยี นตอบ
(Teacher- Designed) ตัวอยา่ ง เช่น
กา X ลงใน ( ) เพื่อแสดงระดบั ของคณุ ภาพของการ
สอน

ชดั เจนมาก มีปาน นอ้ ย ไม่ชดั เลย
กลาง

1. ครูบรรยายได้ ( ) ( ) ( ) ( )
2. เอกสารทแี่ จก ( ) ( ) ( ) ( )
3. การบา้ นทใ่ี หท้ ำ�

เทคนคิ กลุ่มใหข้ ้อมูลย้อนกลับ ตงั้ ค�ำถาม 3 ขอ้ คอื
(Group Instructional Feedback 1. ท่านได้เรยี นร้อู ะไรบา้ ง
Technique) 2. ท่านไมไ่ ดเ้ รยี นรอู้ ะไรบ้าง
วงจรตีค่าคุณภาพการเรยี นการสอน 3. ทา่ นคิดว่า ท่านควรท�ำอะไรจึงจะทำ� ให้เกิดการ
ในชั้นเรยี น (Classroom
Assessment Quality Circles) เรยี นรูข้ ้ึน
ตัวอย่าง
1. ระบสุ ่ิงทส่ี อนท�ำใหท้ า่ นเกดิ การเรียนรู้ (ยก

ตัวอย่าง)
2. ระบสุ ่ิงท่ีสอนทำ� ให้ท่านเกิดความสับสนในการ

เรยี นรู้
3. เสนอแนะวิธีท่จี ะทำ� ใหผ้ ู้สอนสามารถช่วยทา่ นให้

เกิดการเรยี นรู้
ผูส้ อนกบั ผ้เู รยี นรว่ มกนั วางแผนและด�ำเนนิ งานตาม
แผน เพือ่ ใหเ้ กิดการเรยี นรู้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ

การวิจัยช้ันเรียน (Classroom Research):
กระบวนการสร้างความรู้เพ่ือใช้พัฒนาการเรียนการสอน

186

11. กลุ่มเทคนคิ ประเมนิ เพอ่ื พัฒนากิจกรรมในหอ้ งเรียน งานท่ใี ห้ท�ำ
และเอกสารต�ำรา
เทคนคิ วธิ กี าร/กระบวนการ
จ�ำ สรปุ ถาม วิจารณ์ และเชื่อมโยง ผูส้ อนวเิ คราะห์ เปรียบเทียบ ผู้เรียนท�ำตามขั้นตอน
(Recall, Summarize, Question, การจ�ำ การสรปุ การถาม การวจิ ารณ์ และการเชือ่ มโยง
Comment and Connect, สงิ่ ท่ีเรยี นไปแลว้ เปรยี บเทียบกบั ความคาดหวังของตน
RSQC2)
แบบประเมนิ การท�ำงานเป็นกลมุ่ เป็นแบบสอบถามทีใ่ ช้รวบรวมขอ้ มลู จากผู้เรยี น
เกี่ยวกบั การทำ� งานรว่ มกนั
ตวั อย่าง เชน่
1. ในภาพรวม งานกลุ่มของทา่ นไดผ้ ลในระดับใด
2. สมาชิกท่รี ว่ มท�ำงานจรงิ มกี ี่คน ระบุ .........................
3. สมาชกิ ท่ีทา่ นไดเ้ รยี นรูจ้ ากทา่ น 3 ขอ้ แรก
(1) ..............................................................................
(2) ..............................................................................
(3) .............................................................................
4. ระบสุ ิง่ ที่เพอื่ นในกลุ่มไดเ้ รยี นรู้จากท่าน 3 ขอ้ แรก
(1) ..............................................................................
(2) ..............................................................................
(3) .............................................................................
5. ระบวุ ิธีทจ่ี ะท�ำให้กลุม่ ปรบั ปรุงการทำ� งานให้ดกี วา่ น้ี
(1) ..............................................................................
(2) ..............................................................................
(3) .............................................................................

เทคนคิ 187
แบบประมาณคา่ การอ่าน
วธิ กี าร/กระบวนการ
การตีค่างานทใ่ี ห้ท�ำ เปน็ แบบประมาณค่าที่ให้ผู้เรยี นตอบเกี่ยวกบั เอกสาร
การประเมินการสอบ ตำ� ราท่ีให้อ่าน
ตวั อยา่ ง เช่น
1. ท่านอา่ นเอกสาร ตำ� ราท่กี �ำหนดให้มากน้อยเพยี งใด
ก) ทกุ เลม่ ข) บางเลม่ ค) ไม่ไดอ้ ่านเลย
2. เอกสาร ต�ำราทใี่ หอ้ ่าน ท่านเข้าใจเรือ่ งท่เี รยี นมาก
น้อยเพยี งไร
ก) มาก ข) ปานกลาง ค) น้อย ง) ไมเ่ ลย
3. ทา่ นมคี วามสามารถจับประเด็นทอ่ี า่ นได้มากนอ้ ย
เพยี งใด
ก) มาก ข) ปานกลาง ค)นอ้ ย
4. ทา่ นคิดว่า เอกสาร ต�ำราทใ่ี หอ้ า่ นจะเป็นประโยชน์
สำ� หรับผูเ้ รียนกลุ่มต่อไปนี้ ในปหี นา้ หรือไม่
ก) เป็น ระบเุ หตผุ ล......................................................
ข) ไม่เปน็ ระบุเหตผุ ล .................................................
ค�ำถามส้นั ๆ เก่ียวกบั งาน การบา้ นทีใ่ หท้ �ำวา่ มี
ประโยชนม์ ากน้อยเพียงใด
เปน็ การประเมินวธิ กี ารสอบโดยผูเ้ รียนว่า วิธกี ารสอบ
แบบตา่ งๆ แบบใดดีกวา่ เพราะอะไร
ตวั อยา่ ง
1. จากแบบทดสอบ 2 แบบ ทใ่ี หท้ ่านทำ� ใน 3 สปั ดาห์
ที่ผา่ นมา คอื แบบเลอื กตอบและแบบเติมคำ� ในชอ่ งวา่ ง
ทา่ นคดิ ว่า แบบใดวัดความร้ขู องทา่ นได้มากกว่ากัน

อธบิ าย .................................................................
2. วิธีการทดสอบแบบใดทที่ ่านตอ้ งการ

.............................................................................

การวิจัยช้ันเรียน (Classroom Research):
กระบวนการสร้างความรู้เพื่อใช้พัฒนาการเรียนการสอน

188

การตง้ั คำ� ถามเพอ่ื ชว่ ยกระตนุ้ ความคดิ ผเู้ รยี น

ครผู สู้ อนสามารถตงั้ คำ� ถามตามเปา้ หมายของการเรยี นรไู้ ดต้ าม
ตัวอย่างและชนดิ ค�ำถามต่อไปน้ี

ชนิดคำ� ถาม เปา้ หมาย ตัวอย่าง
สำ� รวจ ตรวจหาข้อเทจ็ จริงและความ มหี ลกั ฐานจากผลการวจิ ยั
ทา้ ทาย รพู้ นื้ ฐาน สนบั สนนุ ...อยา่ งไรบา้ ง
เปรยี บเทยี บ ส�ำรวจหาขอ้ สมมตฐิ าน ขอ้ สรุป มอี ยา่ งอนื่ อกี บา้ งไหม ทเี่ ราควรทำ�
วนิ จิ ฉยั และขอ้ ตคี วาม เปรยี บเทยี บระหวา่ ง......กบั ..........
ถามหาการดำ� เนนิ การ ถามเพอ่ื เปรยี บเทยี บประเดน็ เปน็ อยา่ งไร
เหตแุ ละผล หลกั แนวความคดิ หรอื ประเดน็ ทำ� ไม....
แจกแจงหาแรงกระตนุ้ หรอื เพอ่ื สนองตอ่ ....สง่ิ ท.่ี ....ควรทำ� คอื ......
การขยายผล สาเหตุ ถา้ ....เกดิ ขึน้ จะเกดิ อะไรข้นึ ตามมา
สมมตฐิ าน หาข้อสรุป หรือข้อปฏิบัติ
ลำ� ดบั ความสำ� คญั ถามความสมั พนั ธเ์ ชิงเหตแุ ละ มแี นวทาง หรอื ความคดิ เพม่ิ เตมิ
สรปุ ผลระหว่างแนวความคิด อยา่ งไรบา้ ง
ปญั หา การกระทำ� หรอื เหตุการณ์ สมมตวิ ่า....เกิดขึน้ ผลจะเป็นอย่าง
ตคี วาม ขยายการอภปิ ราย เดมิ หรอื ไม่
ประยกุ ต์ เสนอเปลยี่ นแปลงขอ้ เทจ็ จรงิ จากทเ่ี ราหารอื กนั มา เรอื่ งไหน
หรอื ประเดน็ สำ� คญั ทสี่ ดุ
เสาะหาประเด็นท่สี ำ� คญั ท่สี ุด เราไดข้ อ้ สรปุ อยา่ งไรบา้ ง
ให้ขอ้ สังเคราะห์ จะเกดิ อะไรขนึ้ ถา้ ....
ทา้ ทายผเู้ รยี นใหห้ าทางแกป้ ญั หา (ควรมีหลายค�ำตอบ)
สมมติ หรอื ปญั หาจรงิ จากสง่ิ ทเ่ี ราไดเ้ หน็ ไดย้ นิ หรอื
ชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นเขา้ ใจความหมาย ได้อา่ น ตคี วามไดว้ า่ อย่างไร
หลายความหมายของแตล่ ะเรอ่ื ง เมื่อร้เู ช่นนแ้ี ล้ว จะทำ� อย่างไรต่อไป
ตรวจหาความสัมพันธ์และขอ
ใหผ้ ้เู รียนเชอ่ื มโยงทฤษฎีเข้า
กบั ปฏบิ ตั ิ

189

ชนดิ คำ� ถาม เป้าหมาย ตัวอยา่ ง
ประเมนิ ใหผ้ เู้ รยี นไดป้ ระเมนิ และตดั สนิ ใจ อันไหนดกี วา่ ขอ้ เปรยี บเทียบนี้
ตรวจสอบความ ให้ผู้เรยี นได้ตรวจสอบความถูก ส�ำคัญอย่างไร จะท�ำอะไรตอ่
แมน่ ยำ� ตอ้ งของถ้อยคำ� ข้อโตแ้ ยง้ และ เรารไู้ ด้อยา่ งไร ขอ้ มลู หลกั ฐานเปน็
ข้อสรุป และเพือ่ วเิ คราะห์ความ อยา่ งไร หลักฐานน่าเชือ่ ถือแค่ไหน
คิด และท้าทายสมมติฐานของ
ตนเอง

ตวั อยา่ งชอ่ื งานวจิ ยั ชนั้ เรยี นจำ� แนกตามกลมุ่ สาระการเรยี นรู้

ล�ำดบั ท่ี ชอื่ เรอื่ ง ตัวแปร

กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ตวั แปรตน้ ตัวแปรตาม

1 ผลการเรียนการสอนดว้ ยวธิ สี ตอรีไ่ ลน์ทมี่ ีต่อผล การสอนดว้ ยวิธีสตอ ผลสัมฤทธิท์ างการ
สัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาภาษาไทยและเจตคติ รี่ไลน์ เรียนและ
ต่อการเรยี นการสอนของนกั เรียนช้นั มัธยมศึกษา เจตคติ
ปที ี่ 2 ช่อื ผูว้ จิ ยั กาญจนา มากพนู ปกี ารศกึ ษา
2548

2 ผลของการเรียนการสอนดว้ ยกลวธิ ีสแกนแอนด์ การเรียนการสอนดว้ ย ความสามารถ
รนั ท่มี ตี อ่ ความสามารถในการอ่านภาษาไทย กลวธิ สี แกนแอนดร์ ัน ในการอ่านภาษาไทย
เพือ่ ความเข้าใจของนกั เรยี นชัน้ มัธยมศึกษา
ปีที่ 2 ชอ่ื ผวู้ จิ ัย ศภุ วรรณ สจั จพิบูล
ปีการศกึ ษา 2547

3 ผลของการใช้รปู แบบการสอนแบบสนทนาทม่ี ี รปู แบบการสอน ความสามารถในการ
ตอ่ ความสามารถในการอา่ นบนั เทงิ คดีภาษาไทย แบบสนทนา อ่านบนั เทิงคดี
ของนักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ชอ่ื ผู้วจิ ยั
ภทั ราภรณ์ จูฬะปิตะ ปกี ารศึกษา 2545

4 การเปรยี บเทยี บความสามารถของนักเรียนชนั้ การฝกึ ท่องจากการฟงั ความสามารถในการจำ�
มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 ในการจ�ำบทรอ้ ยกรองภาษา และฝกึ ท่องจากการอา่ น บทร้อยกรองภาษาไทย
ไทยระหวา่ งกลุ่มท่ฝี ึกท่องจากการฟงั และ
ฝกึ ทอ่ งจากการอา่ น

5 ผลของการใช้แผนผงั ทางปัญญาและการก�ำกับ แผนผงั ทางปญั ญาและ ทัศนคตแิ ละผลสัมฤทธ์ิ
ตนเองท่มี ตี ่อทัศนคติและผลสัมฤทธใิ์ นการเรยี น การก�ำกบั ตนเอง
วชิ าภาษาไทยของนกั เรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1
ชื่อผวู้ จิ ัย ปฐมาธดิ า นาใจคง ปกี ารศึกษา 2544

การวิจัยช้ันเรียน (Classroom Research):
กระบวนการสร้างความรู้เพ่ือใช้พัฒนาการเรียนการสอน

190

ล�ำดบั ที่ ชื่อเรอ่ื ง ตวั แปร

กลุม่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ตัวแปรตน้ ตวั แปรตาม
บทเรียนการต์ นู ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน
6 การพฒั นาผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนวชิ า วิชาคณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์ เรือ่ งการบวกลบจ�ำนวนเต็มของ
นกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1/6 โรงเรียนยอแซฟ
อปุ ถมั ภ์ โดยใช้บทเรียนการ์ตนู

7 ผลการพฒั นาทกั ษะการแกโ้ จทย์คณิตศาสตร์ วธิ กี ารฝึกแบบให้ ทกั ษะการแก้โจทย์
โดยใชว้ ธิ กี ารฝกึ แบบให้ประสบการณแ์ ละการฝกึ ประสบการณ์และการ คณติ ศาสตร์
ปฏบิ ัตผิ ่านการสร้างเครือขา่ ย: การเปรยี บเทยี บ ฝึกปฏบิ ตั ผิ า่ นการสรา้ ง
ระหว่างกลมุ่ นกั เรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 เครอื ขา่ ย
ท่มี ผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรียนตา่ งกนั

8 ผลของการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน การเรยี นร้จู าก ความสามารถในการ
คณติ ศาสตรโ์ ดยเน้นการเรียนรจู้ ากประสบการณ์ ประสบการณ์ แกป้ ัญหาคณติ ศาสตร์
ทมี่ ตี อ่ ความสามารถในการแกป้ ญั หาคณติ ศาสตร์ และการคดิ อย่างมี
และการคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณของนกั เรยี นชน้ั วิจารณญาณ
มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 จังหวดั พะเยาชอื่ ผู้วิจยั
กษมา วฒุ สิ ารวฒั นา ปกี ารศกึ ษา 2548

9 ผลของการสอนแก้ปญั หาคณติ ศาสตรโ์ ดยใช้ การสอนแกป้ ัญหา ความสามารถในการแก้
กลวิธี STAR ทีม่ ตี ่อความสามารถในการแกโ้ จทย์ คณติ ศาสตร์ โจทยป์ ญั หาและความ
ปัญหาคณติ ศาสตร์และความคงทนในการเรยี น โดยใช้กลวธิ ี STAR คงทนในการเรียน
คณติ ศาสตรข์ องนักเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1
จงั หวดั สรุ าษฏรธ์ านีชอื่ ผวู้ จิ ัย นุตริยา จิตตารมย์
ปีการศึกษา 2548

10 ผลของการใชเ้ ทคนคิ การจดั ขอ้ มลู ดว้ ยแผนภาพ เทคนคิ การจดั ขอ้ มลู ดว้ ย ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น
ในการเรยี นการสอนคณติ ศาสตรท์ มี่ ตี อ่ ผลสมั ฤทธิ์ แผนภาพ ความคงทนในการเรยี น
ทางการเรยี นความคงทนในการเรยี นรแู้ ละความ รแู้ ละความสามารถใน
สามารถในการนำ� เสนอขอ้ มลู ทางคณติ ศาสตรด์ ว้ ย การนำ� เสนอขอ้ มลู
แผนภาพของนกั เรยี น

กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ตวั แปรตน้ ตวั แปรตาม
กระบวนการทำ� โครงงาน ผลสมั ฤทธิ์
11 ผลของการจดั การเรยี นการสอนรายวชิ า ว วทิ ยาศาสตร์ ทางการเรยี น
41101 วทิ ยาศาสตรพ์ ้นื ฐาน: สารและสมบัติ การคดิ วเิ คราะห์
ของสาร ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 4 โดยสอดแทรก คดิ สงั เคราะหแ์ ละความ
กระบวนการทำ� โครงงานวิทยาศาสตร์ ท่ีมี คดิ สรา้ งสรรค์
ตอ่ ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น การคดิ วิเคราะห์
คิดสงั เคราะหแ์ ละความคิดสรา้ งสรรค์

191

ลำ� ดับท่ี ชอ่ื เรอ่ื ง ตวั แปร

12 ผลของการเรยี นการสอนชวี วทิ ยาโดยใชว้ งจรการ วงจรการเรยี นรแู้ บบการ ความสามารถในการให้
เรยี นรแู้ บบการตง้ั สมมตฐิ านนริ มยั ทม่ี ตี อ่ ความ ตง้ั สมมตฐิ านนริ มยั เหตผุ ลเชงิ วทิ ยาศาสตร์
สามารถในการใหเ้ หตผุ ลเชงิ วทิ ยาศาสตรแ์ ละมโน และมโนทศั นช์ วี วทิ ยา
ทศั นช์ วี วทิ ยาของนกั เรยี นมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
ชอื่ ผวู้ จิ ยั เกรยี งไกร อภยั วงศ์ ปกี ารศกึ ษา 2548

13 ผลของการสอนคิดนอกกรอบในการเรียนการ การสอนคดิ นอกกรอบ ความคดิ สรา้ งสรรคแ์ ละ
สอนวิทยาศาสตรท์ ่มี ตี อ่ ความคิดสรา้ งสรรค์ ในการเรยี นการสอน ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น
ทางวิทยาศาสตร์และผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน วทิ ยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1
ชือ่ ผูว้ ิจัย คณารกั ษ์ โชติจันทึก ปกี ารศกึ ษา
2548

14 ผลของการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ดว้ ยรปู การสอนวทิ ยาศาสตร์ ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น
แบบเอสเอสซีเอสทม่ี ตี ่อผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น ดว้ ยรปู แบบเอสเอส ซี และความสามารถใน
และความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรียน เอส การแกป้ ญั หา
มัธยมศกึ ษาตอนตน้ ชอื่ ผู้วิจยั ธนาวุฒิ ลาตวงษ์
ปีการศึกษา 2548

15 การพัฒนากระบวนการเรยี นการสอนตาม การเรยี นการสอนตาม การคดิ เชิงวิทยาศาสตร์
แนวคดิ อนิ เตอร์แอกทีฟคอนสตรักติวสิ ต์ แนวคดิ อนิ เตอรแ์ อกทฟี และการนำ� เสนอผล
เพอ่ื ส่งเสรมิ การคิดเชิงวิทยาศาสตรแ์ ละ คอนสตรกั ตวิ สิ ต์ งานวิทยาศาสตร์
การนำ� เสนอผลงานวิทยาศาสตร์ของนกั เรยี น
ระดับมัธยมศกึ ษา ชอื่ ผู้วิจัย วชั ราภรณ์ แกว้ ดี
ปีการศกึ ษา 2548

กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ตวั แปรตน้ ตวั แปรตาม

16 ผลของบทบาทสมมตเิ ทคนคิ การแสดงคใู่ นการ บทบาทสมมตเิ ทคนคิ การ การเหน็ คณุ คา่ ในตนเอง
เรยี นการสอนบนเวบ็ วชิ าสขุ ศกึ ษาทม่ี ตี อ่ การเหน็ แสดงคู่
คณุ คา่ ในตนเองของนกั เรยี นชว่ งชน้ั ที่ 2

17 ผลของโปรแกรมทนั ตสขุ ศกึ ษาตอ่ พฤตกิ รรมทนั ต โปรแกรมทนั ตสขุ ศกึ ษา พฤตกิ รรมทนั ตสขุ ภาพ
สขุ ภาพของนกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 1

18 ผลของการใชเ้ กมกลมุ่ สมั พนั ธท์ างพลศกึ ษาใน เกมกลมุ่ สมั พนั ธท์ าง ความเชอ่ื มนั่ ในตนเอง
การพฒั นาความเชอ่ื มนั่ ในตนเองของนกั เรยี นชน้ั พลศกึ ษา
มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 ทมี่ ผี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นตำ่�
ชอ่ื ผวู้ จิ ยั รฐั พล ไผง่ าม ปกี ารศกึ ษา 2543

การวิจัยชั้นเรียน (Classroom Research):
กระบวนการสร้างความรู้เพื่อใช้พัฒนาการเรียนการสอน

192

ลำ� ดับท่ี ช่อื เรือ่ ง ตัวแปร

กลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ ตวั แปรตน้ ตวั แปรตาม

19 ผลการสอนวาดภาพระบายสีโดยใชร้ ปู แบบการ รปู แบบการจดั กจิ กรรม ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน
จัดกจิ กรรมการเรียนการสอน 4MAT ที่มตี ่อผล การเรยี นการสอน 4MAT ดา้ นทศั นศิลป์
สมั ฤทธิ์ทางการเรยี นด้านทัศนศลิ ป์ของนกั เรยี น
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 ชอื่ ผวู้ จิ ยั กญั ญาดา แจง้ คำ�
ปีการศึกษา 2549

20 ผลการสอนศลิ ปะโดยใชว้ ิธีศลิ ปวจิ ารณต์ าม วธิ ศี ลิ ปวจิ ารณต์ าม ความสามารถในการ
ทฤษฎขี องเอด็ มันด์เบริ ์ก เฟลดแ์ มน ทม่ี ีต่อความ ทฤษฎขี องเอด็ มนั ด์ เบริ ก์ วิจารณ์งานศลิ ปะ
สามารถในการวิจารณ์งานศลิ ปะของนักเรียนชั้น เฟลดแ์ มน
ประถมศึกษาปที 6ี่ ชอื่ ผู้วจิ ัย อโณทยั องกติ ติกลุ
ปีการศึกษา 2548

21 การสอนวาดภาพตามกระบวนการของ จอห์น การสอนวาดภาพตาม ผลสมั ฤทธท์ิ างการวาด
วิลลตั ส์ ทีม่ ตี อ่ ผลสมั ฤทธท์ิ างการวาดภาพ กระบวนการของ จอห์ ภาพแสดงมติ สิ มั พนั ธ์
แสดงมติ ิสมั พันธข์ องเด็กอายุ 9-11 ปี ชือ่ ผู้วิจัย นวลิ ลตั ส์ การรบั รู้เชิงสนุ ทรีย์
ชชั วาลย์ อนิ ทุสมิต ปีการศกึ ษา 2546 กระบวนการสงั เกต

22 ผลการสอนศิลปะโดยใช้กระบวนการสงั เกตท่ีมี
ตอ่ การรับรู้เชิงสุนทรยี ข์ องนักเรยี นช้ันประถม
ศึกษาปีท่ี 6

กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม

23 การเปรียบเทียบความสามารถในการคดิ วิธสี อนแบบสบื สอบและ ความสามารถในการคิด
เชิงเหตุผลของนกั เรยี นชั้นมธั ยม ปที ่ี 1 วชิ าสอบ แบบถ่ายทอด เชิงเหตุผล
ทเี่ รียนวชิ าสงั คมศึกษาดว้ ยวธิ สี อนแบบสืบสอบ
และวชิ าสอบแบบถา่ ยทอด

24 ผลของการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน จัดกจิ กรรมการเรียน ความสามารถในการคดิ
วิชาสังคมศึกษาตามแนวคิด4MATที่มตี ่อ การสอนวชิ าสงั คมศึกษา วิเคราะหแ์ ละการคดิ
ความสามารถในการคิดวิเคราะหแ์ ละการคดิ ตามแนวคิด 4 MAT สร้างสรรค์
สรา้ งสรรค์ของนกั เรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1
ร.ร สาธติ สังกดั ทบวงมหาวทิ ยาลัย
ชือ่ ผวู้ ิจัย พชั ราภรณ์ พิมละมาศ
ปีการศึกษา 2544

25 การพฒั นาคณุ ลกั ษณะทด่ี ใี หก้ บั นกั เรยี นโรงเรยี น การบรู ณาการแบบเนน้ คณุ ลักษณะที่ดี
สมาคมสตรไี ทย: การบรู ณาการแบบเนน้ คณุ ธรรม คุณธรรม

193

ล�ำดบั ที่ ชอื่ เรื่อง ตวั แปร
กจิ กรรมการทำ� กจิ วตั ร ความรับผดิ ชอบ
26 การบ่มเพาะความรบั ผดิ ชอบใหก้ บั นกั เรียน ประจำ� วนั
นักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปีที2่ โดยการใช้
กิจกรรมการทำ� กิจวตั รประจำ� วัน

กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ ตวั แปรตน้ ตวั แปรตาม
รปู แบบการใหข้ อ้ มลู พฒั นาการทางทกั ษะ
27 ผลของรปู แบบการให้ข้อมลู ยอ้ นกลับทแ่ี ตก ย้อนกลับทแ่ี ตกต่างกนั การเขียนภาษาองั กฤษ
ต่างกนั ต่อพัฒนาการทางทักษะการเขยี นภาษา
องั กฤษของผ้เู รียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
ชื่อผ้วู จิ ัย สุชาดา โรจนาศยั ปีการศึกษา 2548

28 ผลของการฝกึ สรา้ งแผนผงั ทางปญั ญาทม่ี ตี อ่ ความ การฝึกสรา้ งแผนผัง ความเขา้ ใจและความ
เขา้ ใจและความคงทนของความเขา้ ใจในการอา่ น ทางปญั ญา คงทนของความเขา้ ใจ
ภาษาองั กฤษของนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5
ชอ่ื ผวู้ จิ ยั กรแกว้ แกว้ คงเมอื ง ปกี ารศกึ ษา 2544

29 การพฒั นาความสามารถในการอา่ นภาษา วธิ กี ารบนั ทกึ แบบ ความสามารถ
อังกฤษเพื่อความเข้าใจของนกั เรยี นช้นั ประถม คอรเ์ นลล์ ในการอา่ นภาษาองั กฤษ
ศกึ ษาปที ่ี 4 โดยใชว้ ธิ ีการบันทึกแบบคอร์เนลล์
กระบวนการสอนการ ความสามารถ
30 การพฒั นาความสามารถในการเขียนภาษา เขียนตามแนวคิดของ ในการเขยี นภาษา
อังกฤษของนกั เรยี นประถมศึกษาปที ี่ 6 โดยการ บรูค๊ สและวทิ โธร องั กฤษ
ใช้กระบวนการสอนการเขยี นตามแนวคิดของบ
รคู๊ สและวทิ โธร ตวั แปรตน้ ตวั แปรตาม
บทเรยี นบนเครอื ขา่ ย ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น
กลมุ่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี และเทคโนโลยี แบบ Big Six Skills และทกั ษะการแกป้ ญั หา

31 การใชบ้ ทเรยี นบนเครือขา่ ยแบบ Big Six Skills
เร่ืองขอ้ มูลสารสนเทศและคอมพิวเตอรเ์ บ้ืองตน้
ท่ีมีตอ่ ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนและทักษะการแก้
ปัญหาโดยใชส้ ารสนเทศของนักเรียนช้ันประถม
ศกึ ษาปีที่ 5

32 การพัฒนาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นและทักษะ หนังสืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน
ปฏิบัติ โดยใช้หนงั สอื อิเล็กทรอนิกสก์ ลมุ่ สาระ กลุม่ สาระการเรยี น และทกั ษะปฏบิ ัติ
การเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี  รู้การงานอาชพี และ ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น
ส�ำหรบั นกั เรยี นระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 5 เทคโนโลยี
การสอนแบบบรู ณ
33 การพฒั นาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นดว้ ยการสอน าการ กลุ่มสาระการ
แบบบรู ณาการ กล่มุ สาระการเรยี นรกู้ ารงาน เรยี นรูก้ ารงานอาชีพ
อาชีพและเทคโนโลยแี ละกล่มุ สาระการเรียนรู้ และเทคโนโลยแี ละ
วทิ ยาศาสตร์สำ� หรบั นกั เรยี นชัน้ ประถมศกึ ษา กลุม่ สาระการเรยี นรู้
ปที ี่ 2  วิทยาศาสตร์

การวิจัยช้ันเรียน (Classroom Research):
กระบวนการสร้างความรู้เพ่ือใช้พัฒนาการเรียนการสอน


Click to View FlipBook Version