หลกั สูตรบริหารธุรกจิ มหาบัณฑติ
หลกั สูตรปรับปรุง 2558
Master of Business Administration Program
Revised Curriculum, Year 2015
คณะบริหารธุรกจิ
มหาวิทยาลยั หอการค้าไทย
1
หมวดที่ 1 สารบัญ หนา้
หมวดท่ี 2 1
หมวดที่ 3 ขอ้ มลู ทวั่ ไป 5
หมวดท่ี 4 ขอ้ มูลเฉพาะของหลกั สูตร 6
หมวดที่ 5 ระบบการจดั การศึกษา การดาเนินการ และโครงสร้างของหลกั สูตร 52
หมวดที่ 6 ผลการเรียนรู้ กลยทุ ธ์การสอนและการประเมินผล 65
หมวดท่ี 7 หลกั เกณฑใ์ นการประเมินผลนกั ศึกษา 66
หมวดท่ี 8 การพฒั นาคณาจารย์ 67
การประกนั คุณภาพหลกั สูตร 70
การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของหลกั สูตร
ภาคผนวก ก เอกสารแนบ
ภาคผนวก ข ระเบียบมหาวทิ ยาลยั หอการคา้ ไทย วา่ ดว้ ย การศึกษาในระดบั บณั ฑิตศึกษา พ.ศ. 2553
ระเบียบมหาวิทยาลยั หอการคา้ ไทย วา่ ดว้ ย การเทียบโอนความรู้ ทกั ษะ และประสบการณ์จาก
ภาคผนวก ค การศึกษานอกระบบ และ/หรือ การศึกษาตามอธั ยาศัยเขา้ สู่การศึกษาในระบบ ตามหลกั สูตร
ภาคผนวก ง ปริญญาตรีและระดบั บณั ฑิตศึกษา พ.ศ. 2547
ตารางเปรียบเทียบหลกั สูตรบริหารธุรกิจมหาบณั ฑิต หลกั สูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555 กบั หลกั สูตร
บริหารธุรกิจมหาบณั ฑิต หลกั สูตรปรับปรุง พ.ศ. 2558
สาเนาคาสงั่ สภามหาวทิ ยาลยั หอการคา้ ไทย ที่ 822/2557 เรื่อง แตง่ ต้งั คณะกรรมการพฒั นาหลกั สูตร
และมาตรฐานการศึกษา หลกั สูตรบริหารธุรกิจมหาบณั ฑิต
2
หลกั สูตรบริหารธุรกจิ มหาบณั ฑิต
หลกั สูตรปรับปรุง พ.ศ. 2558
ชื่อสถาบนั อุดมศึกษา มหาวทิ ยาลยั หอการคา้ ไทย
วทิ ยาเขต/คณะ/ภาควชิ า คณะบริหารธุรกิจ
หมวดท่ี 1 ข้อมูลทวั่ ไป
1. รหสั และชื่อหลกั สูตร หลกั สูตรบริหารธุรกิจมหาบณั ฑิต
ภาษาไทย Master of Business Administration Program
ภาษาองั กฤษ
2. ชื่อปริญญาและสาขาวชิ า บริหารธุรกิจมหาบณั ฑิต
ช่ือเตม็ (ไทย) : บธ.ม.
ช่ือยอ่ (ไทย) : Master of Business Administration
ชื่อเตม็ (องั กฤษ) : M.B.A.
ช่ือยอ่ (องั กฤษ) :
3. วชิ าเอก
หลกั สูตรบริหารธุรกิจมหาบณั ฑิต มีเป้าหมายในการพฒั นาและผลิตมหาบณั ฑิตใหม้ ีความเช่ียวชาญทางดา้ น
การจดั การ การเงิน การตลาด และการจดั การโลจิสติกส์
4. จานวนหน่วยกติ ทเี่ รียนตลอดหลกั สูตร
39 หน่วยกิต
5. รูปแบบของหลกั สูตร
5.1 รูปแบบ
หลกั สูตรระดบั ปริญญาโท หลกั สูตร 2 ปี
5.2 ภาษาทใี่ ช้
การเรียนการสอนเป็ นภาษาไทย เอกสารประกอบการเรียนการสอนและตาราเป็ นภาษาไทยและภาษาองั กฤษ
5.3 การรับเข้าศึกษา
หลกั สูตรบริหารธุรกิจมหาบณั ฑิตรับนกั ศึกษาไทยและนกั ศึกษาต่างชาติท่ีสาเร็จการศึกษาระดบั ปริญญาตรี
จากมหาวิทยาลยั ท้งั ในประเทศและต่างประเทศท่ีไดก้ ารรับรองมาตรฐานจากสานกั งานขา้ ราชการพลเรือน
(ก.พ.) หรือสานกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษาหรือเทียบเท่า ที่สามารถฟัง พูด อ่าน เขียน และเขา้ ใจ
1
ภาษาไทยเป็ นอยา่ งดี หากผูส้ มคั รมีคุณสมบตั ินอกเหนือท่ีกล่าวไปขา้ งตน้ คณะกรรมการบณั ฑิตศึกษาจะ
พิจารณาเป็ นกรณีไป
5.4 ความร่วมมือกบั สถาบนั อ่ืน
เป็ นหลกั สูตรเฉพาะของมหาวทิ ยาลยั หอการคา้ ไทย
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สาเร็จการศึกษา
ใหป้ ริญญาเพยี งสาขาวชิ าเดียว
6. สถานภาพของหลกั สูตรและการพจิ ารณาอนุมตั /ิ เหน็ ชอบหลกั สูตร
- ปรับปรุงจากหลกั สูตรบริหารธุรกิจมหาบณั ฑิต หลกั สูตรปรับปรุง พ.ศ.2555
- คณะกรรมการพฒั นาหลกั สูตรและมาตรฐานการศึกษา ใหค้ วามเห็นชอบการปรับปรุงหลกั สูตรเม่ือวนั ที่
24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557
- สภาวชิ าการมหาวทิ ยาลยั หอการคา้ ไทยพิจารณากลนั่ กรองและใหค้ วามเห็นชอบหลกั สูตรในการประชุม
คร้ังท่ี 2/2558 เม่ือวนั ที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2558
- สภามหาวทิ ยาลยั หอการคา้ ไทยอนุมตั ิหลกั สูตรในการประชุม คร้ังที่ 2/2558 (309) เมื่อวนั ท่ี 29 เมษายน
พ.ศ. 2558
- เปิ ดสอนในภาคตน้ ปี การศึกษา 2558
7. ความพร้อมในการเผยแพร่หลกั สูตรทม่ี คี ณุ ภาพและมาตรฐาน
หลกั สูตรมีความพร้อมในการเผยแพร่วา่ เป็ นหลกั สูตรท่ีมีคุณภาพและมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
ระดบั อุดมศึกษา พ.ศ. 2552 ในปี การศึกษา 2559
8. อาชีพทสี่ ามารถประกอบได้หลงั สาเร็จการศึกษา
ผูท้ ี่สาเร็จการศึกษาในระดบั ปริญญาโท หลกั สูตรบริหารธุรกิจมหาบณั ฑิต จะเป็ นผูท้ ี่มีความเช่ียวชาญใน
ทฤษฎีท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั สาขาที่เรียน และสามารถประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดาเนินงาน การพฒั นาองคก์ ร รวมถึงการพฒั นา
องค์ความรู้ใหม่ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล ผูท้ ่ีจบการศึกษาจากหลกั สูตรฯจะสามารถทางานใน
ตาแหน่งผบู้ ริหารในองคก์ รไดเ้ ป็ นอยา่ งดี และสามารถประกอบอาชีพต่างๆ ดงั ตอ่ ไปน้ี
- นกั วจิ ยั นกั วชิ าการ และอาจารยใ์ นสาขาวชิ าที่เรียน
- ผบู้ ริหารระดบั กลางและสูงในองคก์ รท้งั ในภาครัฐและเอกชน
- ผปู้ ระกอบการ / เจา้ ของกิจการ
2
9. ช่ือ นามสกลุ ตาแหน่ง และคณุ วฒุ กิ ารศึกษาของอาจารย์ผู้รับผดิ ชอบหลกั สูตร
ลาดบั ตาแหน่งทาง ชื่อ – สกลุ คณุ วฒุ ิ สาขาวชิ า สาเร็จการศึกษาจากสถาบัน ปี ทส่ี าเร็จ
วชิ าการ 2545
2541
1 อาจารย์ ดร. พรี พงษ์ D.B.A. Management Nova Southeastern University, 2540
ฟศู ิริ Florida, USA 2006
1999
M.B.A. Management Nova Southeastern University, 2538
2002
Information System Florida, USA 1995
1993
B.B.A. Marketing Florida Metropolitan University,
Florida, USA
2 ผชู้ ่วย ดร. วรรณรพี Ph.D. Finance Southern Illinois University at
ศาสตราจารย์ บานชื่นวจิ ิตร Carbondale, USA
(การเงิน) M.B.A. Finance The University of Texas at
Arlington, USA
บธ.บ. การธนาคารและการเงิน จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั
(เกียรตินิยมอนั ดบั สอง)
3 อาจารย์ ดร. ภูษิต D.B.A Business Nova Southeastern University,
USA
วงศห์ ลอ่ สายชล
M.B.A. Business Administration University of Indianapolis, USA
B.S. Material Sceince Chulalongkorn UNiversity
Ceramis
10. สถานทจี่ ดั การเรียนการสอน
มหาวทิ ยาลยั หอการคา้ ไทย
11. สถานการณ์ภายนอกหรือการพฒั นาทจี่ าเป็ นต้องนามาพจิ ารณาในการวางแผนหลกั สูตร
11.1 สถานการณ์หรือการพฒั นาทางเศรษฐกจิ
การพฒั นาทางเศรษฐกิจโลกมีการเปลี่ยนแปลงอยอู่ ยา่ งตอ่ เนื่อง ประกอบกบั สภาวการณ์การแข่งขนั ท่ีรุนแรง
เพิ่มมากข้ึนในยคุ โลกาภิวตั น์ รวมไปถึงความเจริญกา้ วหน้าทางเทคโนโลยีที่ไดเ้ ปล่ียนแปลงลกั ษณะการ
ดาเนินงานและสภาวะแวดลอ้ มทางธุรกิจอยา่ งรวดเร็ว องคก์ รธุรกิจในปัจจุบนั จึงมีความจาเป็ นอย่างยิ่งท่ี
จะตอ้ งเรียนรู้และปรับตวั ใหท้ นั กบั สภาวการณ์ดงั กลา่ ว โดยการพฒั นาและศึกษาองคค์ วามรู้ใหมๆ่ ที่เก่ียวขอ้ ง
กบั การบริหารธุรกิจท่ีสามารถนาไปใชใ้ นการแข่งขนั ได้ นอกจากน้ีองคก์ รยงั มีความจาเป็ นท่ีจะตอ้ งมีการ
ส่งเสริมในเรื่องของการวจิ ยั และพฒั นา เพอื่ การปรับปรุงการดาเนินงานของตนเองอยา่ งตอ่ เนื่องอีกดว้ ย
3
11.2 สถานการณ์หรือการพฒั นาทางสังคมและวฒั นธรรม
ปัจจุบันสภาพแวดล้อมทางสังคมและวฒั นธรรมมีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว ก่อให้เกิดปัญหาซ่ึงมี
ความสาคญั ในการประกอบธุรกิจท้งั ทางดา้ นการเงิน การตลาด การจดั การ โลจิสติกส์ การประกนั ภยั เช่น
ปัญหาทางดา้ นวตั ถดุ ิบ ตน้ ทุนการผลิต ตน้ ทุนการตลาด และปัญหาในเร่ืองการจดั การแรงงาน เป็ นตน้ ปัญหา
ดงั กล่าวส่งผลกระทบต่อความเป็ นอยูข่ องคนในสังคมโดยตรง ดังน้ันการมีแนวคิดการบริหารธุรกิจเพื่อ
ส่ิงแวดล้อม การบริหารธุรกิจเพื่อสังคม รวมท้ังการดาเนินธุรกิจอย่างมีจรรยาบรรณจึงเป็ นปัจจัยท่ีมี
ความสาคญั ตอ่ สภาพแวดลอ้ มท้งั ภายในองคก์ รและภายนอกองคก์ ร
12. ผลกระทบจาก ข้อ 11.1 และ 11.2 ต่อการพฒั นาหลกั สูตรและความเกยี่ วข้องกบั พนั ธกจิ ของสถาบัน
12.1 การพฒั นาหลกั สูตร
การพฒั นาหลกั สูตรน้ีมีวตั ถุประสงค์ในการพฒั นาผูเ้ รียน ให้มีความรู้ความสามารถ ความเชี่ยวชาญท้ัง
ทางด้านการบริหารธุรกิจและการวิจัยและพฒั นา รวมไปถึงความสามารถในการนาองค์ความรู้ดา้ นการ
บริหารท่ีไดม้ าจากการศึกษาและการวจิ ยั ไปประยกุ ตใ์ ชก้ บั การเปลี่ยนแปลงของโลกธุรกิจไดอ้ ยา่ งสร้างสรรค์
มีประสิทธิภาพ และมีจริยธรรม
12.2 ความเกย่ี วข้องกบั พนั ธกจิ ของสถาบัน
พนั ธกิจของหลกั สูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต จะมุ่งผลิตบัณฑิตทุกระดับคุณวุฒิการศึกษาให้มีความรู้
ความสามารถดา้ นการบริหารธุรกิจ เพื่อที่จะสามารถประกอบวิชาชีพของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สามารถปรับตวั ให้ทนั กบั การเปล่ียนแปลงของโลกธุรกิจ มีจรรยาบรรณ มีความรับผิดชอบ และมีความ
ซื่อสัตยต์ ่อตนเองและสังคม ทางานหนักเพ่ือพฒั นาธุรกิจและเศรษฐกิจของประเทศไทยใหเ้ จริญกา้ วหนา้
ทดั เทียมกบั นานาประเทศทว่ั โลก
13. ความสัมพนั ธ์กบั หลกั สูตรอื่นทเ่ี ปิ ดสอนในคณะ/ภาควชิ าอ่ืนของมหาวทิ ยาลยั
13.1 กล่มุ วชิ า/รายวชิ าในหลกั สูตรทเี่ ปิ ดสอนโดยคณะ/ภาควชิ า/หลกั สูตรอื่น
ไมม่ ี
13.2 กล่มุ วชิ า/รายวชิ าในหลกั สูตรทเ่ี ปิ ดสอนให้คณะ/ภาควชิ า/หลกั สูตรอ่ืน
13.2.1 รายวชิ าในกลุ่มวชิ าปรับพื้นฐาน
วชิ า MB 001 ภาษาองั กฤษเพ่ือธุรกิจ
วชิ า MB 004 ความรู้เบ้ืองตน้ ทางเศรษฐศาสตร์
วชิ า MB 005 ความรู้เบ้ืองตน้ ทางการเงิน
วชิ า MB 006 การบริหารตน้ ทุนเพือ่ การตดั สินใจ
13.2.2 รายวชิ าในกลุ่มวชิ าเอก
ไดแ้ ก่ รายวชิ าท่ีหลกั สูตรอ่ืนระบุใหส้ ามารถเลือกเป็ นวิชาเลือกไดต้ ามความสนใจ โดยอยใู่ นความเห็น
ชอบของผอู้ านวยการหลกั สูตรน้นั
13.3 การบริหารจดั การ
1. อาจารยป์ ระจาหลกั สูตรดาเนินการแต่งต้งั ผูป้ ระสานงานรายวิชาทุกวิชา เพื่อทาหนา้ ที่ประสานงานกบั
อาจารยป์ ระจาวชิ า เพ่ือให้การจดั การเรียนการสอน การวดั และประเมินผลการศึกษาเป็ นไปตามกรอบ
มาตรฐานคุณวฒุ ิระดบั อุดมศึกษาแห่งชาติ
4
2. ผอู้ านวยการหลกั สูตรจะทาหนา้ ท่ีกากบั ดูแลและพฒั นาหลกั สูตร โดยประสานกบั หลกั สูตรอื่นๆภายใต้
กฎเกณฑข์ องมหาวทิ ยาลยั และสานกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
หมวดที่ 2 ข้อมูลเฉพาะของหลกั สูตร
1. ปรัชญา ความสาคญั และวตั ถุประสงค์ของหลกั สูตร
1.1 ปรัชญา
เพ่อื ผลิตมหาบณั ฑิตที่มีความรอบรู้ และมีความสามารถในการพฒั นาองคค์ วามรู้ใหม่ในดา้ นการบริหารธุรกิจ
โดยสามารถบูรณาการความรู้ท้งั หมดไปประยกุ ตใ์ ชเ้ พ่อื พฒั นาองคก์ รอยา่ งมีจริยธรรมและมีคุณธรรม
1.2 วตั ถุประสงค์
1. เพ่ือผลิตมหาบณั ฑิตท่ีมีความรู้ความสามารถและทกั ษะทางดา้ นการบริหารธุรกิจ สามารถคิด วิเคราะห์
อยา่ งมีเหตผุ ล และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ สามารถนาความรู้หลกั การและทฤษฎีต่างๆ ไปประยกุ ตใ์ ช้
ในการบริหารงานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล
2. เพื่อส่งเสริมความกา้ วหนา้ เชิงวชิ าการ การวิจยั ทางดา้ นการบริหารธุรกิจ และการบูรณาการความรู้ดา้ น
การบริหารธุรกิจ ซ่ึงเป็ นส่วนสาคญั ท่ีจะช่วยพฒั นาประเทศ
3. เพื่อผลิตมหาบณั ฑิตท่ีมีจิตสานึกท่ีจะดาเนินธุรกิจดว้ ยความรับผิดชอบต่อสงั คม
4. เพอ่ื นาความรู้ประสบการณ์และทรัพยากรตา่ งๆ มาบริการทางวชิ าการแก่สงั คมและชุมชน
2. แผนพฒั นาปรับปรุง
แผนการพฒั นา/เปลยี่ นแปลง กลยุทธ์ หลกั ฐาน/ตวั บ่งชี้
1.การพฒั นาการเรียนการสอน 1. ศึกษาวิจัยการเปลี่ยนแปลงด้าน - ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ ชุ ม
เศรษฐกิ จ สังคม วัฒนธรรม และ คณะกรรมการบริหารหลกั สูตร
เทคโนโลยี อยา่ งสม่าเสมอ เพื่อนามาใช้ - จานวนผลงานวิจัยท่ีดาเนินการ
ในการปรับปรุงและพฒั นาการระบบ โดยอาจารยป์ ระจาหลกั สูตร
การเรียนการสอน
2. ส่งเสริมอาจารยผ์ ูส้ อนให้ดาเนินงาน
โครงการวจิ ยั เพิ่มมากข้ึนเพื่อพฒั นาและ
ขยายแนวความคิดเก่ียวกับการทาวิจยั
เพ่ือนามาเป็ นส่วนหน่ึงของการสอน
นกั ศึกษาปริญญาโท
2.การส่งเสริมการเรียนการสอน 1. สร้างกิจกรรมที่มุ่งเน้นให้นักศึกษา - จานวนกิจกรรมเชิงประยกุ ต์
ท่ีเนน้ ผเู้ รียนเป็ นสาคญั สามารถประยุกต์ประสบการณ์และ - ความพึงพอใจของนกั ศึกษาท่ีเขา้
ทกั ษะในการบริหารธุรกิจ ร่วมโครงการ
2. ทาการฝึ กอบรมทกั ษะและการพฒั นา - ความสาเร็จจากการนาความรู้ไป
เน้ือหาการเรียนการสอนในแต่ละวิชา ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการบริหารธุรกิจ
ของหลกั สูตร
5
แผนการพฒั นา/เปลย่ี นแปลง กลยุทธ์ หลกั ฐาน/ตวั บ่งชี้
3.การเปล่ียนแปลงจุดเน้นของ 1. พฒั นาเน้ือหาของหลกั สูตรให้เป็ นที่ - ผูใ้ ชบ้ ณั ฑิต และตวั บณั ฑิตเอง มี
หลักสูตร โดยการเพ่ิมเน้ือหา ตอ้ งการตามแผนการพฒั นาเศรษฐกิจ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ใ น ค ว า ม รู้
ใหม่ๆท่ีสาคญั
และสงั คมของประเทศ ความสามารถ ทักษะในการ
2. มีการนาเทคโนโลยีทนั สมยั เขา้ มาใช้ ทางานในระดบั ดี
ในการเรี ยนการสอน มีกิจกรรมเชิง - มี ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ใ น ก า ร ใ ช้
ปฏิบตั ิการท้งั ในและนอกสถาบัน เช่น เทคโนโลยเี พ่ือการเรียนรู้
การใช้ Tablet และการทา Workshop - เอกสารการปรับปรุงหลกั สูตร
หมวดท่ี 3 ระบบการจัดการศึกษา การดาเนินการ และโครงสร้างของหลกั สูตร
1. ระบบการจดั การศึกษา
1.1 ระบบ
การจดั การศึกษาเป็ นแบบทวภิ าค แบ่งออกเป็ น 2 ภาคการศึกษา โดย 1 ภาคการศึกษามีระยะเวลาเรียนไม่นอ้ ย
กวา่ 15 สปั ดาห์
1.2 การจดั การศึกษาภาคฤดูร้อน
มีการจดั การเรียนการสอนภาคฤดูร้อน 1 ภาค ๆ ละ 8 สปั ดาห์
1.3 การเทยี บเคยี งหน่วยกติ ในระบบทวภิ าค
ไมม่ ี
2. การดาเนนิ การหลกั สูตร
2.1 วนั - เวลาในการดาเนนิ การเรียนการสอน
ภาคตน้ เดือนสิงหาคม – เดือนธนั วาคม
ภาคปลาย เดือนมกราคม – เดือนพฤษภาคม
ภาคฤดูร้อน เดือนมิถุนายน – เดือนกรกฎาคม
2.2 คณุ สมบัตขิ องผ้เู ข้าศึกษา
2.2.1 ผู้สมคั รเข้าเป็ นนกั ศึกษาจะต้องมคี ณุ สมบตั ดิ งั ต่อไปนี้
สาเร็จการศึกษาระดบั ปริญญาตรีในสาขาใดสาขาหน่ึง จากมหาวทิ ยาลยั ในประเทศหรือต่างประเทศท่ี
ไดร้ ับการรับรองจากสานกั งานขา้ ราชการพลเรือน (ก.พ.) หรือสานกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
(สกอ.) หรือเทียบเท่า
2.2.2 การคดั เลือกผ้เู ข้าศึกษา
1. ผลการเรียนในระดบั ปริญญาตรีของผสู้ มคั ร ตอ้ งไมต่ ่ากวา่ 2.5 หรือ
2. มีประสบการณ์ในการทางานไมน่ อ้ ยกวา่ 1 ปี หลงั จากสาเร็จการศึกษาระดบั ปริญญาตรี หรือ
3. ในกรณีที่ไม่ตรงตามเกณฑท์ ี่กาหนด ใหอ้ ยใู่ นดุลยพนิ ิจของคณะกรรมการบณั ฑิตศึกษา
4. ผสู้ มคั รจะตอ้ งไมเ่ ป็ นผทู้ ี่มีโรคร้ายแรงที่เป็ นอปุ สรรคต่อการเรียน
6
2.3 ปัญหาของนกั ศึกษาแรกเข้า
สาหรับนักศึกษาแรกเขา้ ที่ไม่ได้สาเร็จการศึกษาระดบั ปริญญาตรีในสาขาบริหารธุรกิจโดยตรง รวมท้งั
นกั ศึกษาแรกเขา้ ท่ีสาเร็จการศึกษาในระดบั ปริญญาตรีสาขาบริหารธุรกิจมาเป็ นเวลานาน หรือมีผลการเรียน
ในวชิ าพ้ืนฐานสาคญั ๆทางดา้ นบริหารธุรกิจบางวชิ าต่ากวา่ นกั ศึกษาแรกเขา้ คนอ่ืนๆ ท้งั หมดน้ีจะก่อให้เกิด
อุปสรรคในการเรียนการสอนท่ีเนน้ ใหม้ ีการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น หรือการทางานร่วมกบั เพื่อน
นกั ศึกษาในช้นั เรียน
2.4 กลยทุ ธ์ในการดาเนนิ การเพื่อแก้ไขปัญหา / ข้อจากดั ของนกั ศึกษาในข้อ 2.3
นกั ศึกษาที่ไม่ผา่ นเกณฑพ์ ้ืนฐานตามที่หลกั สูตรพจิ ารณาเห็นสมควร จะตอ้ งลงทะเบียนเรียนวชิ าปรับพ้ืนฐาน
ก่อนเริ่มเรียนในภาคการศึกษาแรกเพื่อให้มีพ้ืนความรู้ทางดา้ นธุรกิจ ที่จาเป็ นสาหรับการเรียนในหลกั สูตร
ท้งั น้ีรายวชิ าที่จะตอ้ งลงทะเบียนใหอ้ ยใู่ นดุลยพนิ ิจของคณะกรรมการหลกั สูตร
2.5 แผนการรับนักศึกษาและผู้สาเร็จการศึกษาในระยะ 5 ปี
จานวนนกั ศึกษาแต่ละปี การศึกษา (คน)
ระดบั ช้ันปี 2558 2559 2560 2561 2562
ช้ันปี ที่ 1
แผน ก แผน ข แผน ก แผน แผน ก แผน ข แผน ก แผน ข แผน ก แผน ข
แบบ ก2 แบบ ก2 ข แบบ ก2 แบบ ก2 แบบ ก2
270 280 300 315
10 10 275 10 10 10
ช้ันปี ท่ี 2 - - 10 270 10 275 10 280 10 300
รวม 10 270 20 545 20 555 20 580 20 615
คาดว่าจะสาเร็จ - - - - 10 270 10 275 10 280
การศึกษา
2.6 งบประมาณตามแผนและค่าใช้จ่ายต่อคนต่อปี
2.6.1 งบประมาณตามแผน
หมวดเงนิ งบประมาณทตี่ ้องการแต่ละปี 2562
2558 2559 2560 2561 9,000,000
337,500
เงินเดือน 5,400,000 6,480,000 7,560,000 8,640,000
-
ค่าตอบแทน 315,000 337,500 337,500 337,500 44,000
คา่ ใชส้ อย ---- -
-
ค่าวสั ดุ 12,000 20,000 28,000 36,000
9,381,500
เงินอุดหนุน ---- -
-
รายจ่ายอ่ืน ๆ ---- -
รวมงบดาเนนิ การ 5,727,000 6,837,500 7,925,500 9,013,500
ค่าครุภณั ฑ์ 30,000 - - -
ค่าท่ีดิน ----
คา่ ส่ิงก่อสร้าง ----
7
หมวดเงนิ 2558 งบประมาณทต่ี ้องการแต่ละปี 2562
- 2559 2560 2561 -
รวมงบลงทุน
รวมท้งั สิ้น 5,757,000 --- 9,381,500
6,837,500 7,925,500 9,013,500
2.6.2 ค่าใช้จ่ายต่อคนต่อปี จานวน 121,375 บาท
2.7 ระบบการศึกษา
ระบบการศึกษาเป็ นแบบช้ันเรียน ตามระเบียบมหาวิทยาลยั หอการค้าไทย ว่าด้วย การศึกษาในระดับ
บณั ฑิตศึกษา พ.ศ. 2553 (ภาคผนวก ก) และมีบางกลุ่มวิชาที่จดั การเรียนการสอนท้งั แบบช้นั เรียนและแบบ
ระบบทางไกลทางอินเทอร์เน็ต คือ กลมุ่ วชิ าการจดั การ กลุ่มวชิ าการตลาด และกลมุ่ วชิ าการเงิน
2.8 การเทยี บโอนหน่วยกติ รายวชิ าและการลงทะเบยี นเรียนข้ามมหาวทิ ยาลยั
การเทียบโอนหน่วยกิต ให้เป็ นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยหอการค้าไทยว่าด้วยการศึกษาในระดับ
บณั ฑิตศึกษา พ.ศ. 2553 และระเบียบมหาวิทยาลยั หอการคา้ ไทยว่าดว้ ยการเทียบโอนความรู้ ทกั ษะ และ
ประสบการณ์ จากการศึกษานอกระบบ และ/หรือ การศึกษาตามอธั ยาศัยเขา้ สู่การศึกษาในระบบ ตาม
หลกั สูตรระดับปริญญาตรีและหลกั สูตรระดบั บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2547 (ภาคผนวก ข) รวมท้งั ประกาศ
ทบวงมหาวิทยาลยั เรื่องหลกั เกณฑ์การเทียบโอนผลการเรียนระดบั ปริญญาเขา้ สู่ระบบการศึกษาในระบบ
พ.ศ. 2545
3. หลกั สูตรและอาจารย์ผู้สอน 39 หน่วยกติ
3.1 หลกั สูตร 18 หน่วยกิต
3.1.1 จานวนหน่วยกติ รวมตลอดหลกั สูตร 39 หน่วยกิต 9 หน่วยกิต
12 หน่วยกิต
3.1.2 โครงสร้างหลกั สูตร
39 หน่วยกติ
แผน ก แบบ ก 2 มวี ทิ ยานิพนธ์ 18 หน่วยกิต
ก. วชิ าแกนบริหารธุรกิจ 9 หน่วยกิต
ข. วชิ าเอกบงั คบั 9 หน่วยกิต
ค. วทิ ยานิพนธ์ 3 หน่วยกิต
แผน ข แบบไม่มวี ทิ ยานพิ นธ์
ก. วชิ าแกนบริหารธุรกิจ
ข. วชิ าเอกบงั คบั
ค. วชิ าเอกเลือก
ง. การศึกษาคน้ ควา้ อิสระ
8
แผนผงั โครงสร้างหลกั สูตรบริหารธุรกจิ มหาบณั ฑติ
บธ.ม. (กล่มุ วชิ าเอกทจี่ บ)
39 หน่วยกติ
แผน ก. แบบ ก 2 มวี ทิ ยานพิ นธ์ แผน ข. ไม่มวี ทิ ยานิพนธ์
(Thesis) (Non – thesis)
วชิ าแกนบริหารธุรกจิ (Core Courses) วชิ าแกนบริหารธุรกจิ (Core Courses)
6 วชิ า = 18 หน่วยกติ 6 วชิ า = 18 หน่วยกติ
วชิ าเอก (Major Courses) วชิ าเอก (Major Courses)
วชิ าเอกบงั คบั 3 วชิ า = 9 หน่วยกติ วชิ าเอกบงั คบั 3 วชิ า = 9 หน่วยกติ
วชิ าเอกเลือก 3 วชิ า = 9 หน่วยกติ
วชิ าการศึกษาค้นคว้าอสิ ระ
(Independent Study) = 3 หน่วยกติ
วทิ ยานิพนธ์ (Thesis) สอบประมวลความรู้
12 หน่วยกติ (Comprehensive Examination)
3.1.3 รายวชิ าในแต่ละหมวดวชิ าและจานวนหน่วยกติ
3.1.3.1 รหัสวชิ า
รายวิชาต่างๆ ในหลกั สูตรบริหารธุรกิจมหาบณั ฑิต มีรหสั วิชาซ่ึงแทนดว้ ยตวั อกั ษรและตวั เลข ที่มี
ความหมาย ดงั น้ี
อกั ษรตวั แรก (M) หมายถึง วชิ าในหลกั สูตรบริหารธุรกิจมหาบณั ฑิต
อกั ษรตวั ที่สอง หมายถึง วชิ าท่ีจดั สอนใหก้ ลุ่มวชิ าตา่ งๆ แทนดว้ ยตวั อกั ษร ดงั น้ี
MB หมายถึง วชิ าปรับพ้นื ฐานหรือวชิ าแกนบริหารธุรกิจ
MF หมายถึง วชิ าที่จดั สอนใหก้ ลมุ่ วชิ าการเงิน
MG หมายถึง วชิ าที่จดั สอนใหก้ ลุ่มวชิ าการจดั การ
MK หมายถึง วชิ าท่ีจดั สอนใหก้ ลุ่มวชิ าการตลาด
MN หมายถึง วชิ าท่ีจดั สอนใหก้ ลมุ่ วชิ าการจดั การโลจิสติกส์
9
เลขหลกั ร้อย (5-6) หมายถึง วชิ าในระดบั ปริญญาโท
เลขหลกั สิบ หมายถึง หมวดวชิ า ซ่ึงกาหนดไว้ ดงั น้ี
0-1 หมายถึง วชิ าแกนบริหารธุรกิจ และวชิ าเอกบงั คบั
2-8 หมายถึง วชิ าเอกเลือก
9 หมายถึง วทิ ยานิพนธ์และการศึกษาคน้ ควา้ อิสระ
เลขหลกั หน่วย หมายถึง ลาดบั ประจาวชิ า
3.1.3.2 รายวชิ า
1) กลุ่มวชิ าปรับพื้นฐาน ไม่นับหน่วยกติ
ผทู้ ่ีสอบผา่ นการคดั เลือกเขา้ ศึกษาในหลกั สูตร จะตอ้ งลงทะเบียนเรียนวชิ าปรับพ้นื ฐานในรายวชิ าท่ี
ยงั ไม่เคยศึกษามาก่อน ซ่ึงคณะกรรมการหลกั สูตรจะเป็ นผกู้ าหนด การเรียนปรับพ้ืนฐานทางดา้ น
วชิ าการน้ีไมน่ บั หน่วยกิตและมีการวดั ผลดงั น้ี
S (Satisfactory) = ผา่ นเกณฑ์
U (Unsatisfactory) = ไม่ผา่ นเกณฑ์
รหัสวชิ า ช่ือวชิ า หน่วยกติ ศึกษาก่อน
(บรรยาย-ปฏบิ ตั -ิ ศึกษาด้วยตนเอง)
MB 001 ภาษาองั กฤษเพือ่ ธุรกิจ --
MB 004 (Business English)
MB 005 ความรู้เบ้ืองตน้ ทางเศรษฐศาสตร์ --
MB 006 (Introduction to Economics)
ความรู้เบ้ืองตน้ ทางการเงิน --
(Introduction to Finance)
การบริหารตน้ ทุนเพ่ือการตดั สินใจ --
(Cost Management for Decision Making)
รหสั วชิ า 2) กลุ่มวชิ าแกนบริหารธุรกจิ 18 หน่วยกติ ศึกษาก่อน
ชื่อวชิ า หน่วยกติ -
(บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศึกษาด้วยตนเอง)
MB 501 เศรษฐศาสตร์การจดั การ 3 (3-0-6)
MB 503 (Managerial Economics)
MB 508 พฤติกรรมองคก์ ารและการจดั การ 3 (3-0-6) -
MB 509 (Organizational Behavior and Management)
การจดั การการตลาด 3 (3-0-6) -
(Marketing Management)
การเงินเพ่ือการจดั การ 3 (3-0-6) -
(Managerial Finance)
10
MB 510 การจดั การการปฏิบตั ิการเพอื่ ความไดเ้ ปรียบในการ 3 (3-0-6) -
MB 511 แขง่ ขนั 3 (3-0-6) -
(Managing Operations for Competitive
Advantages)
การจดั การเชิงกลยทุ ธ์
(Strategic Management)
3) กล่มุ วชิ าเอก
1. กลุ่มวชิ าการจดั การ (Concentration in Management) จานวน 21 หน่วยกิต
กลุ่มวชิ าเอกการจดั การ จดั ใหม้ ีการเรียนการสอน 2 แบบ คือ แบบการสอนในช้นั เรียน และแบบการสอนทาง
ระบบทางไกลทางอินเทอร์เน็ต โดยมีรายวชิ าดงั น้ี
1.1 วชิ าเอกบงั คบั 3 วชิ า จานวน 9 หน่วยกิต
รหัสวชิ า ช่ือวชิ า หน่วยกติ ศึกษาก่อน
(บรรยาย-ปฏบิ ตั -ิ ศึกษาด้วยตนเอง)
MG 501 การวจิ ยั เพอื่ การจดั การทางธุรกิจ 3 (3-0-6) -
MG 502 (Research for Business Management)
MG 503 การจดั การธุรกิจเพือ่ ความยงั่ ยนื 3 (3-0-6) -
(Sustainability Business Management)
การจดั การธุรกิจโลกาภิวตั น์ 3 (3-0-6) -
(Global Business Management)
1.2 วชิ าเอกเลือก นกั ศึกษาแผน ข (ไม่มีวทิ ยานิพนธ์) สามารถเลือกศึกษาในกลุ่มวชิ าเอกเลือก จานวน 9 หน่วยกิต
ดงั น้ี
รหสั วชิ า ชื่อวชิ า หน่วยกติ ศึกษาก่อน
(บรรยาย-ปฏบิ ตั -ิ ศึกษาด้วยตนเอง)
MG 521 การจดั การนวตั กรรมเพ่อื สร้างความไดเ้ ปรียบใน 3 (3-0-6) -
การแข่งขนั
(Innovation Management for Competitive
Advantage)
MG 522 การจดั การธุรกิจเอเชีย 3 (3-0-6) -
(Oriental Business Management)
MG 523 การจดั การคุณภาพองคร์ วมเพือ่ ความสามารถใน 3 (3-0-6) -
การแข่งขนั
(Total Quality Management for Competitiveness)
11
MG 524 การบริหารผลการปฏิบตั ิงานเพ่ือสร้างมลู คา่ ให้ 3 (3-0-6) -
ธุรกิจ
MG 525 (Performance Management for Value Creation) 3 (3-0-6) -
การจดั การธุรกิจภายใตป้ รัชญาของเศรษฐกิจ
MG 526 พอเพียง 3 (3-0-6) -
MG 527 (Business Management under the Philosophy of 3 (3-0-6) -
MG 528 Sufficiency Economy) 3 (3-0-6) -
MG 529 การจดั การธุรกิจสีเขียว 3 (3-0-6) -
MG 530 (Green Business Management) 3 (3-0-6) -
MG 531 การจดั การธุรกิจครอบครัว 3 (3-0-6) -
MG 532 (Family Business Management) 3 (3-0-6) -
MG 533 ระบบสารสนเทศเพ่ือการจดั การ 3 (3-0-6) -
MG 534 (Information Systems for Management) 3 (3-0-6) -
MG 541 กฎหมายธุรกิจและบรรษทั ธรรมภิบาล 3 (3-0-6) -
MG 542 (Business Laws and Corporate Good Governance) 3 (3-0-6) -
MG 543 ภาวะผนู้ าเชิงกลยทุ ธ์ 3 (3-0-6) -
(Strategic Leadership)
MG 561 การเจรจาตอ่ รองและขอ้ ตกลงทางธุรกิจ 3 (3-0-6) -
(Business Negotiation and Deals)
การสื่อสารเพ่อื การจดั การ
(Communication for Management)
การบริหารวฒั นธรรม
(Culture Management)
กิจการเพ่อื สงั คม
(Social Enterprise)
การบริหารพนกั งานสมั พนั ธ์
(Human Relations Management)
การจดั การทรัพยากรมนุษยเ์ ชิงกลยทุ ธ์
(Strategic Human Resource Management)
กลยทุ ธ์การบริหารคา่ ตอบแทนและผลการ
ปฏิบตั ิงาน
(Strategic Compensation and Performance
Management)
การประกอบการ
(Entrepreneurship)
12
MG 562 การสร้างธุรกิจใหม่ 3 (3-0-6) -
(New Venture Creation)
MG 563 การจดั การธุรกิจในช่วงเตบิ โต 3 (3-0-6) -
(Managing Growing Businesses)
MG 588 ประเดน็ ปัจจุบนั ทางธุรกิจ 3 (3-0-6) -
(Current Issues in Business)
MG 589 สมั มนาทางการจดั การ 3 (3-0-6) -
(Seminar in Management)
นอกจากน้ีนกั ศึกษาสามารถเลือกวิชาเอกของหลกั สูตรบริหารธุรกิจมหาบณั ฑิตกลุ่มวิชาอ่ืนๆ เป็ นวิชาเอก
เลือกได้ หรืออาจเลือกวิชาในระดบั ปริญญาโทนอกกลุ่มวิชาเป็ นวิชาเอกเลือกได้ 1 วิชา โดยตอ้ งผ่านการ
เห็นชอบของอาจารยท์ ี่ปรึกษา
1.3 วทิ ยานิพนธ์และการศึกษาคน้ ควา้ อิสระ
รหัสวชิ า ช่ือวชิ า หน่วยกติ ศึกษาก่อน
(บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศึกษาด้วยตนเอง)
MG 600 วทิ ยานิพนธ์ 12 (0-0-36) -
MG 601 (Thesis)
การศึกษาคน้ ควา้ อิสระ 3 (0-0-9) -
(Independent Study)
2. กลุ่มวชิ าการจดั การโลจสิ ตกิ ส์ (Concentration in Logistics Management) จานวน 21 หน่วยกิต
2.1 วชิ าเอกบงั คบั 3 วชิ า จานวน 9 หน่วยกิต
รหสั วชิ า ชื่อวชิ า หน่วยกติ ศึกษาก่อน
-
(บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศึกษาด้วยตนเอง) -
-
MN 501 การจดั การโซ่อปุ ทาน 3 (3-0-6)
(Supply Chain Management)
MN 502 การจดั การระบบขนส่งและการกระจายสินคา้ 3 (3-0-6)
(Transportation and Distribution Management)
MN 505 ระเบียบวธิ ีวจิ ยั โลจิสติกส์ 3 (3-0-6)
(Logistics Research Methodology)
13
2.2 วชิ าเอกเลือก นกั ศึกษาแผน ข (ไมม่ ีวทิ ยานิพนธ์) สามารถเลือกศึกษาในกลุ่มวชิ าเอกเลือก จานวน 9 หน่วยกิต
ดงั น้ี
รหัสวชิ า ชื่อวชิ า หน่วยกติ ศึกษาก่อน
(บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศึกษาด้วยตนเอง)
MN 521 การจดั การสินคา้ คงคลงั 3 (3-0-6) -
(Inventory Management)
MN 522 การวางแผนและออกแบบระบบโซ่อุปทาน 3 (3-0-6) -
(Supply Chain Planning and Design)
MN 523 ระบบสารสนเทศทางโลจิสติกส์ 3 (3-0-6) -
(Logistics Information Technology Systems)
MN 524 การวเิ คราะห์ระบบโลจิสติกส์ 3 (3-0-6) -
(Logistics System Analysis)
MN 525 กลยทุ ธส์ าหรับการผลิต 3 (3-0-6) -
(Manufacturing Strategy)
MN 526 การจดั การความตอ้ งการและการจดั หา 3 (3-0-6) -
(Demand and Procurement Management)
MN 527 การคา้ และระบบโลจิสติกส์ระหวา่ งประเทศ 3 (3-0-6) -
(International Trade and Logistics System)
MN 588 ประเด็นปัจจุบนั ทางการจดั การโลจิสติกส์ 3 (3-0-6) -
(Current Issues in Logistics Management)
MN 589 สมั มนาการจดั การทางโลจิสติกส์ 3 (3-0-6) -
(Seminar in Logistics Management)
นอกจากน้ีนักศึกษาสามารถเลือกวิชาเอกของหลกั สูตรบริหารธุรกิจมหาบณั ฑิตกลุ่มวิชาอ่ืนๆ เป็ นวิชาเอก
เลือกได้ หรืออาจเลือกวิชาในระดบั ปริญญาโทนอกกลุ่มวิชาเป็ นวิชาเอกเลือกได้ 1 วิชา โดยตอ้ งผ่านการ
เห็นชอบของอาจารยท์ ี่ปรึกษา
2.3 วทิ ยานิพนธ์และการศึกษาคน้ ควา้ อิสระ
รหสั วชิ า ชื่อวชิ า หน่วยกติ ศึกษาก่อน
(บรรยาย-ปฏบิ ตั -ิ ศึกษาด้วยตนเอง)
MN 600 วทิ ยานิพนธ์ 12 (0-0-36) -
MN 601 (Thesis)
การศึกษาคน้ ควา้ อิสระ 3 (0-0-9) -
(Independent Study)
14
3. กลุ่มวชิ าการตลาด (Concentration in Marketing) จานวน 21 หน่วยกิต
กลุ่มวชิ าเอกการตลาด จดั ใหม้ ีการเรียนการสอน 2 แบบ คือ แบบการสอนในช้นั เรียน และแบบการสอนทางระบบ
ทางไกลทางอินเทอร์เน็ต โดยมีรายวชิ าดงั น้ี
3.1 วชิ าเอกบงั คบั 3 วชิ า จานวน 9 หน่วยกิต
รหสั วชิ า ช่ือวชิ า หน่วยกติ ศึกษาก่อน
(บรรยาย-ปฏบิ ตั -ิ ศึกษาด้วยตนเอง)
MK 501 การวจิ ยั ตลาด 3 (3-0-6) -
MK 502 (Marketing Research)
MK 503 การวเิ คราะห์พฤติกรรมผบู้ ริโภคเชิงกลยทุ ธ์ 3 (3-0-6) -
(Strategic Analysis of Consumer Behavior)
กลยทุ ธก์ ารตลาดและการพฒั นาผลิตภณั ฑใ์ หม่ 3 (3-0-6) -
(Marketing Strategy and New Product
Development)
3.2 วชิ าเอกเลือก นกั ศึกษาแผน ข (ไมม่ ีวทิ ยานิพนธ์) สามารถเลือกศึกษาในกลุ่มวชิ าเอกเลือก จานวน 9 หน่วยกิต
ดงั น้ี
รหัสวชิ า ชื่อวชิ า หน่วยกติ ศึกษาก่อน
(บรรยาย-ปฏบิ ตั -ิ ศึกษาด้วยตนเอง)
MK 521 กลยทุ ธ์ผลิตภณั ฑแ์ ละราคา 3 (3-0-6) -
(Product and Price Strategies)
MK 522 การจดั การตราสินคา้ และการจดั การลูกคา้ สมั พนั ธ์ 3 (3-0-6) -
(Brand Management and Customer Relationship
Management)
MK 523 การจดั การช่องทางจดั จาหน่ายสมยั ใหม่ 3 (3-0-6) -
(Modern Distribution Channel Management)
MK 524 การตลาดดิจิทลั 3 (3-0-6) -
(Digital Marketing)
MK 525 กลยทุ ธ์การส่ือสารการตลาดบูรณาการ 3 (3-0-6) -
(Integrated Marketing Communication Strategies)
MK 526 กลยทุ ธ์การตลาดบริการ 3 (3-0-6) -
(Services Marketing Strategies)
MK 527 การจดั การการตลาดโลก 3 (3-0-6) -
(Global Marketing Management)
MK 528 การตลาดสาหรับธุรกิจ 3 (3-0-6) -
(Business-to-Business Marketing)
15
MK 529 การสร้างความแตกต่างและนวตั กรรมการตลาด 3 (3-0-6) -
(Differentiation and Innovation for Marketing)
MK 530 การตลาดชุมชนเพ่ือเศรษฐกิจพอเพยี ง 3 (3-0-6) -
(Community Marketing for Sustainable Economy)
MK 531 การตลาดในองคก์ ารที่ไมห่ วงั ผลกาไร 3 (3-0-6) -
(Marketing for the Non-Profit Organizations)
MK 532 ธรรมาภิบาล จรรยาบรรณ และภาวะผนู้ าสาหรับ 3 (3-0-6) -
นกั การตลาด
(Good Governance, Ethics, and Leadership for
Marketers)
MK 541 การจดั การผลิตภณั ฑแ์ ละการจดั หาของธุรกิจ 3 (3-0-6) -
คา้ ปลีก
(Product and Merchandising Management of
Retail Business)
MK 542 การจดั การโลจิสติกส์และโซ่อปุ ทานของธุรกิจ 3 (3-0-6) -
คา้ ปลีก
(Logistics and Supply Chain Management of
Retail Business)
MK 543 การจดั การร้านสาหรับการคา้ ปลกี 3 (3-0-6) -
(Store Operation Management for Retailing)
MK 588 ประเด็นปัจจุบนั ดา้ นการตลาด 3 (3-0-6) -
(Current Issues in Marketing)
นอกจากน้ีนกั ศึกษาสามารถเลือกวิชาเอกของหลกั สูตรบริหารธุรกิจมหาบณั ฑิตกลุ่มวิชาอื่นๆ เป็ นวิชาเอก
เลือกได้ หรืออาจเลือกวิชาในระดบั ปริญญาโทนอกกลุ่มวิชาเป็ นวิชาเอกเลือกได้ 1 วิชา โดยตอ้ งผ่านการ
เห็นชอบของอาจารยท์ ี่ปรึกษา
3.3 วทิ ยานิพนธ์และการศึกษาคน้ ควา้ อิสระ
รหสั วชิ า ช่ือวชิ า หน่วยกติ ศึกษาก่อน
(บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศึกษาด้วยตนเอง)
MK 600 วทิ ยานิพนธ์ 12 (0-0-36) -
MK 601 (Thesis)
การศึกษาคน้ ควา้ อิสระ 3 (0-0-9) -
(Independent Study)
16
4. กลุ่มวชิ าการเงนิ (Concentration in Finance) จานวน 21 หน่วยกิต
กลุ่มวชิ าเอกการเงิน จดั ใหม้ ีการเรียนการสอน 2 แบบ คือ แบบการสอนในช้นั เรียน และแบบการสอนทางระบบ
ทางไกลทางอินเทอร์เน็ต โดยมีรายวชิ าดงั น้ี
4.1 วชิ าเอกบงั คบั 3 วชิ า จานวน 9 หน่วยกิต
รหัสวชิ า ช่ือวชิ า หน่วยกติ ศึกษาก่อน
(บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศึกษาด้วยตนเอง)
MF 501 การวจิ ยั ทางการเงิน 3 (3-0-6) -
MF 502 (Research for Finance)
MF 503 การวเิ คราะห์การลงทนุ 3 (3-0-6) -
(Investment Analysis)
ตลาดการเงินและการบริหารสถาบนั การเงิน 3 (3-0-6) -
(Financial Markets and Financial Institution
Management)
4.2 วชิ าเอกเลือก นกั ศึกษาแผน ข (ไมม่ ีวทิ ยานิพนธ์) สามารถเลือกศึกษาในกลุ่มวชิ าเอกเลือก จานวน 9 หน่วยกิต
ดงั น้ี
รหสั วชิ า ชื่อวชิ า หน่วยกติ ศึกษาก่อน
(บรรยาย-ปฏบิ ตั -ิ ศึกษาด้วยตนเอง)
MF 521 การบริหารการเงินขององคก์ รเชิงประยกุ ต์ 3 (3-0-6) -
(Applied Corporate Finance)
MF 522 อนุพนั ธ์และการจดั การความเสี่ยง 3 (3-0-6) -
(Derivatives and Risk Management)
MF 523 การเงินระหวา่ งประเทศ 3 (3-0-6) -
(International Finance)
MF 524 การวางแผนการเงินส่วนบุคคล 3 (3-0-6) -
(Personal Finance Planning)
MF 525 การเพิ่มมลู คา่ กิจการโดยการปรับโครงสร้าง 3 (3-0-6) -
(Creating Value through Corporate Restructuring)
MF 526 ทฤษฎีพอร์ตฟอลิโอและการบริหารจดั การพอร์ต 3 (3-0-6) -
ฟอลิโอ
(Portfolio Theory and Management)
MF 541 หลกั ประกนั ภยั และกฎหมาย 3 (3-0-6) -
(Principles of Insurance and Law)
MF 542 การวเิ คราะห์ผลิตภณั ฑป์ ระกนั ชีวติ และประกนั 3 (3-0-6) -
วนิ าศภยั
17
(Life and General Insurance Product Analysis)
MF 543 คณิตศาสตร์ประกนั ภยั เพ่ืองานบริหาร 3 (3-0-6) -
(Actuarial Mathematics)
MF 544 การจดั การสินทรัพยแ์ ละหน้ีสิน 3 (3-0-6) -
(Assets and Liabilities Management)
MF 545 นโยบายเชิงกลยทุ ธ์สาหรับบริษทั ประกนั ภยั 3 (3-0-6) -
(Strategic Policy for Insurers)
MF 588 ประเด็นปัจจุบนั ทางการเงิน 3 (3-0-6) -
(Current Issues in Finance)
นอกจากน้ีนักศึกษาสามารถเลือกวิชาเอกของหลกั สูตรบริหารธุรกิจมหาบณั ฑิตกลุ่มวิชาอ่ืนๆ เป็ นวิชาเอก
เลือกได้ หรืออาจเลือกวิชาในระดบั ปริญญาโทนอกกลุ่มวิชาเป็ นวิชาเอกเลือกได้ 1 วิชา โดยตอ้ งผ่านการ
เห็นชอบของอาจารยท์ ี่ปรึกษา
4.3 วทิ ยานิพนธ์และการศึกษาคน้ ควา้ อิสระ
รหสั วชิ า ช่ือวชิ า หน่วยกติ ศึกษาก่อน
(บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศึกษาด้วยตนเอง)
MF 600 วทิ ยานิพนธ์ 12 (0-0-36) -
MF 601 (Thesis)
การศึกษาคน้ ควา้ อิสระ 3 (0-0-9) -
(Independent Study)
3.1.4 แผนการศึกษา
แผน ก. มีวทิ ยานิพนธ์
ปี ที่ ภาคการศึกษา วชิ า จานวนหน่วยกิต
9
1 ภาคตน้ วชิ าแกนบริหารธุรกิจ 3 วชิ า 6
3
ภาคปลาย วชิ าแกนบริหารธุรกิจ 2 วชิ า 3
3
วชิ าเอกบงั คบั 1 วชิ า 3
3
ฤดูร้อน วชิ าเอกบงั คบั 1 วชิ า 9
2 ภาคตน้ วชิ าแกนบริหารธุรกิจ 1 วชิ า 39
วชิ าเอกบงั คบั 1 วชิ า
วทิ ยานิพนธ์
ภาคปลาย วทิ ยานิพนธ์
ฤดูร้อน สอบวทิ ยานิพนธ์
รวมปี ท่ี 1 และปี ท่ี 2
18
แผน ข. ไม่มีวทิ ยานิพนธ์
ปี ที่ ภาคการศึกษา วชิ า จานวนหน่วยกิต
9
1 ภาคตน้ วชิ าแกนบริหารธุรกิจ 3 วชิ า 6
3
ภาคปลาย วชิ าแกนบริหารธุรกิจ 2 วชิ า 3
3
วชิ าเอกบงั คบั 1 วชิ า 3
3
ฤดูร้อน วชิ าเอกบงั คบั 1 วชิ า 6
3
2 ภาคตน้ วชิ าแกนบริหารธุรกิจ 1 วชิ า
39
วชิ าเอกบงั คบั 1 วชิ า
วชิ าเอกเลือก 1 วชิ า
ภาคปลาย วชิ าเอกเลือก 2 วชิ า
วชิ าการศึกษาคน้ ควา้ อิสระ
ฤดูร้อน สอบประมวลความรู้
รวมปี ที่ 1 และปี ที่ 2
3.1.5 คาอธิบายรายวชิ า
3.1.5.1 วชิ าปรับพืน้ ฐาน (ไม่นับหน่วยกติ )
MB 001 ภาษาองั กฤษเพ่ือธุรกจิ -
(Business English)
ฝึ กทกั ษะในการอา่ น การวเิ คราะห์ สรุป เอกสารประกอบการเรียน กรณีศึกษา ตาราที่เป็ นภาษาองั กฤษ
MB 004 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์ -
(Introduction to Economics)
ระบบเศรษฐกิจ อุปสงค์ อุปทาน ดุลยภาพ ความยืดหยุ่นของอุปสงคแ์ ละอุปทาน ทฤษฎีความตอ้ งการของ
ผบู้ ริโภค ทฤษฎีการผลิต การกาหนดราคาและดุลยภาพของผผู้ ลิต ปัจจยั การผลิต การวดั รายไดป้ ระชาชาติ การวา่ จา้ ง
ทางาน ผลิตผล ระดบั ราคา เงินตราและการธนาคาร ปัญหาและนโยบายในการแก้ไขภาวะเงินเฟ้อ เงินฝื ด การคา้
ระหวา่ งประเทศ และการพฒั นาเศรษฐกิจ
MB 005 ความรู้เบื้องต้นทางการเงนิ -
(Introduction to Finance)
บทบาทและความสาคญั ของหนา้ ท่ีงานการเงินในธุรกิจสมยั ใหม่ ความรู้เบ้ืองตน้ เกี่ยวกบั การวิเคราะห์งบ
การเงิน มลู คา่ เงินตามเวลา การประเมินมูลคา่ ตราสารทุนและตราสารหน้ี ผลตอบแทนและความเส่ียง เทคนิคต่างๆ ใน
การประเมินงบประมาณเงินทุน ตลอดจนการจดั การโครงสร้างทางการเงิน
19
MB 006 การบริหารต้นทุนเพื่อการตดั สินใจ -
(Cost Management for Decision Making)
การจาแนกตน้ ทุนในรูปแบบต่าง ๆ แนวคิดเกี่ยวกบั การบนั ทึกตน้ ทุนสินคา้ การจดั สรรตน้ ทุน การวิเคราะห์
ตน้ ทุนผสม การวเิ คราะห์ตน้ ทุน-ปริมาณ-กาไร
3.1.5.2 กล่มุ วชิ าแกนบริหารธุรกจิ (Core Courses) จานวน 18 หน่วยกติ
MB 501 เศรษฐศาสตร์การจดั การ 3 (3-0-6)
(Managerial Economics)
การประยุกต์ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ในการกาหนดนโยบายและการตดั สินใจของธุรกิจ โดยเน้นทฤษฎี
เศรษฐศาสตร์จุลภาค ทฤษฎีอุปสงคข์ องผูบ้ ริโภค ลกั ษณะกาไร การวดั ผลกาไรและการจดั สรรเงินทุน ลกั ษณะของ
ตลาดแขง่ ขนั ประเภทต่างๆ ประเภทตน้ ทุน การวเิ คราะห์อุปสงคแ์ ละการพยากรณ์ ผลกระทบของการเปล่ียนแปลงทาง
เศรษฐกิจต่อการดาเนินธุรกิจในระยะส้นั และระยะยาว การกาหนดนโยบายการผลิตสินคา้ หลายชนิดในขณะเดียวกนั
MB 503 พฤตกิ รรมองค์การและการจดั การ 3 (3-0-6)
(Organizational Behavior and Management)
แนวความคิดพฤติกรรมมนุษยใ์ นองคก์ าร ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งบุคลากรกบั การดาเนินงานขององคก์ าร ใน
ระดบั บุคคล ระดบั กลุ่ม และระดบั องคก์ าร การจูงใจ อานาจและอิทธิพลในองคก์ าร พฤติกรรมกลุ่ม การตดั สินใจ การ
จดั การความขดั แยง้ และการประสานความร่วมมือ การทางานเป็ นทีม การจดั การวฒั นธรรมขององคก์ ารและการจดั การ
การเปล่ียนแปลงภายในองคก์ าร เพือ่ ช่วยในการดูแล จูงใจ พฒั นาและธารงรักษาบุคลากรในองคก์ าร
MB 508 การจดั การการตลาด 3 (3-0-6)
(Marketing Management)
แนวคิดการตลาด การพฒั นากลยุทธ์และแผนการตลาด การวิจยั การตลาดและการพยากรณ์ความตอ้ งการ
ลกู คา้ การสร้างคุณคา่ ความพงึ พอใจ และความภกั ดี การแบ่งส่วนตลาด กล่มุ เป้าหมาย และตาแหน่งทางการตลาด การ
สร้างคุณค่าตราสินคา้ การกาหนดกลยทุ ธส์ ่วนประสมทางการตลาด และจรรยาบรรณในการจดั การการตลาด
MB 509 การเงนิ เพื่อการจดั การ 3 (3-0-6)
(Managerial Finance)
งบการเงินและการวเิ คราะห์ผลการดาเนินงานทางการเงิน การวางแผนและการพยากรณ์ทางการเงิน แนวคิด
ความเส่ียงและอตั ราผลตอบแทนของหลกั ทรัพยแ์ ละกลุ่มหลกั ทรัพยก์ ารประเมินมูลค่าหลกั ทรัพย์ โครงสร้างเงินทุน
และตน้ ทุนของเงินทุน การจดั ทางบลงทุนและการประเมินโครงการ การจดั การเงินทุนหมุนเวียน การจดั หาเงินทุน
นโยบายเงินปันผล การลงทุนเพื่อความรับผิดชอบตอ่ สงั คม
20
MB 510 การจดั การการปฏิบตั กิ ารเพื่อความได้เปรียบในการแข่งขนั 3 (3-0-6)
(Managing Operations for Competitive Advantages)
การบริหารจดั การกระบวนการดาเนินงานทางธุรกิจท้งั ในอุตสาหกรรมการผลิตและการบริการ การนาวธิ ีการ
วิเคราะห์และเทคนิคเชิงปริมาณมาประยุกต์ใช้ การพยากรณ์ การออกแบบผลิตภณั ฑ์และบริการ การออกแบบ
กระบวนการ การตดั สินใจเลือกทาเลท่ีต้งั การบริหารสินคา้ คลงั ระบบการส่ังซ้ือวตั ถุดิบ ระบบการจดั การคุณภาพ
ระบบการบริหารแบบลีน ระบบการจดั การห่วงโซ่อปุ ทาน
MB 511 การจดั การเชิงกลยทุ ธ์ 3 (3-0-6)
(Strategic Management)
แนวคิดและกระบวนการในการกาหนดกลยุทธ์ การวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มทางธุรกิจ กาหนดภารกิจ
นโยบาย เป้าหมายและกลยุทธ์ของธุรกิจในระดบั ต่างๆ การประยุกต์แนวคิดการจัดการเชิงกลยุทธ์เพ่ือเพ่ิมความ
ไดเ้ ปรียบทางการแข่งขนั และสร้างความยง่ั ยนื ให้แก่ผูม้ ีส่วนไดเ้ สีย การบูรณาการ และการนากลยทุ ธ์ไปสู่การปฏิบตั ิ
อยา่ งมีประสิทธิผล การควบคุมและการประเมินผลกลยทุ ธใ์ นการบรรลุเป้าหมายทางธุรกิจ
3.1.5.3 กลุ่มวชิ าเอก จานวน 21 หน่วยกติ
1) กลุ่มวชิ าการจดั การ
วชิ าเอกบังคบั
MG 501 การวจิ ยั เพื่อการจดั การทางธุรกจิ 3 (3-0-6)
(Research for Business Management)
กระบวนการในการวจิ ยั ธุรกิจท้งั เชิงคุณภาพและเชิงปริมาณเพ่ือสารวจปัญหาของธุรกิจเพื่อการตดั สินใจทาง
ธุรกิจ การวางแผนการวจิ ยั และการคน้ หาคาตอบอยา่ งเป็ นระบบ การกาหนดแนวทางในการคน้ หาคาตอบ การวเิ คราะห์
ขอ้ มลู การนาขอ้ มูลไปใชใ้ นการตดั สินใจทางธุรกิจ
MG 502 การจดั การธุรกจิ เพื่อความยง่ั ยืน 3 (3-0-6)
(Sustainability Business Management)
แนวคิด หลักการ และกระบวนการในการสร้างความยง่ั ยืนให้แก่องค์กรธุรกิจ เศรษฐกิจ สังคม และ
ส่ิงแวดลอ้ ม เพื่อใหก้ ารจดั การธุรกิจ ดาเนินไปในทิศทางท่ีสร้างความยง่ั ยนื ใหแ้ ก่องคก์ รธุรกิจ อนั จะนาไปสู่การพฒั นา
กลยทุ ธ์ในการแข่งขนั ทางธุรกิจ และยงั เป็ นการจดั การความเสี่ยงที่อาจเกิดข้ึน เพื่อใหอ้ งคก์ รธุรกิจประสบความสาเร็จ
อยา่ งยง่ั ยืน โดยศึกษาถึงแนวคิดท่ีส่งผลต่อการกาหนดกลยทุ ธ์ในการบริหารธุรกิจท่ีสร้างความยงั่ ยืนใหแ้ ก่ผูม้ ีส่วนได้
เสีย ชุมชน สังคม และส่ิงแวดล้อม อาทิ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) บรรษัทภิบาล
(Corporate Governance-CG) บรรษทั บริบาล (Corporate Social Responsibility-CSR) การสร้างคุณค่าร่วม (Corporate
Shared Value-CSV) รวมท้งั กิจการเพ่ือสังคม (Social Enterprise-SE) เพ่ือสร้างนวตั กรรมเพื่อสังคม (Corporate Social
Innovation-CSI) ท่ีมุ่งเน้นการบริหารธุรกิจท่ีก่อให้เกิดความสมดุลระหว่างผลกาไร (Profit) คน (People) และโลก
(Planet) เพอ่ื ใหอ้ งคก์ ร สงั คม และสิ่งแวดลอ้ มมีการพฒั นาและเติบโตอยา่ งยง่ั ยนื
21
MG 503 การจดั การธุรกจิ โลกาภิวตั น์ 3 (3-0-6)
(Global Business Management)
หลกั พ้ืนฐาน ปัจจยั แวดลอ้ มท่ีเกี่ยวขอ้ ง การคน้ หาตลาดใหม่ กลยทุ ธ์การจดั การและการประกอบธุรกิจแบบ
โลกาภิวตั น์ การวเิ คราะห์สภาพการแข่งขนั และคู่แข่งขนั แนวโนม้ ของรูปแบบการจดั การธุรกิจโลกาภิวตั น์ในอนาคต
อิทธิพลและการเปล่ียนแปลงของ เศรษฐกิจ การเมือง สงั คม และเทคโนโลยี ท่ีมีผลต่อการดาเนินธุรกิจโลกาภิวตั น์
วชิ าเอกเลือก
MG 521 การจดั การนวตั กรรมเพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขนั 3 (3-0-6)
(Innovation Management for Competitive Advantage)
แนวคิดเกี่ยวกับนวตั กรรมทางธุรกิจ รูปแบบของนวตั กรรม กระบวนการสร้างนวตั กรรม การนาเอา
นวตั กรรมเขา้ มาใชใ้ นกระบวนการการกาหนดกลยทุ ธ์ของธุรกิจ นวตั กรรมกบั การเสริมสร้างมูลค่าให้กบั ธุรกิจ และ
การจดั การนวตั กรรมเชิงกลยทุ ธเ์ พอ่ื ความไดเ้ ปรียบในการแข่งขนั รวมท้งั นวตั กรรมท่ีสร้างคุณคา่ ใหแ้ ก่สงั คม
MG 522 การจดั การธุรกจิ เอเชีย 3 (3-0-6)
(Oriental Business Management)
การวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มภายในและภายนอกขององคก์ ร และผูม้ ีส่วนไดส้ ่วนเสีย การวิเคราะห์ความ
แตกต่างของส่ิงแวดลอ้ มทางการปฏิบัติการและวฒั นธรรมระหว่างประเทศเจ้าบ้านกบั ประเทศของผูล้ งทุน การ
วิเคราะห์และกาหนดแผนกลยทุ ธ์ เครื่องมือที่ใชใ้ นการจดั การธุรกิจในเอเชีย การวิเคราะห์ความเสี่ยงสาหรับการ
ตดั สินใจลงทุนขา้ มชาติในภมู ิภาคเอเชีย ประเดน็ ปัจจุบนั ท่ีน่าสนใจเกี่ยวกบั การประกอบธุรกิจในภูมิภาคเอเชีย
MG 523 การจดั การคณุ ภาพองค์รวมเพื่อความสามารถในการแข่งขนั 3 (3-0-6)
(Total Quality Management for Competitiveness)
แนวคิดและปรัชญาการจดั การคุณภาพองคร์ วม การสร้างความพึงพอใจใหก้ บั ลูกคา้ การวางแผนกลยทุ ธ์ การ
มีส่วนร่วมของผนู้ าและพนกั งานทุกคนในองคก์ ร การแกไ้ ขปัญหาเชิงระบบและพฒั นาระบบอยา่ งตอ่ เนื่อง ซ่ึงเป็ นการ
จดั การคุณภาพและผลิตภาพท้งั ในดา้ นสินคา้ กระบวนการ และการบริการเพื่อตอบสนองความตอ้ งการของลูกคา้ และ
การสร้างความสามารถในการแขง่ ขนั และธารงอยไู่ ดใ้ นระยะยาว
MG 524 การบริหารผลการปฏบิ ัตงิ านเพ่ือสร้างมูลค่าให้ธุรกจิ 3 (3-0-6)
(Performance Management for Value Creation)
แนวคิด และแนวทางในการวดั ผลการดาเนินงานของธุรกิจ ระบบการวดั ผลการดาเนินงานและการบรรลกุ ล
ยทุ ธ์ของธุรกิจ การประยกุ ตใ์ ชร้ ะบบการวดั ผลใหส้ อดคลอ้ งกบั ลกั ษณะกิจการและสภาพแวดลอ้ มทางธุรกิจ เพื่อสร้าง
มลู คา่ ใหธ้ ุรกิจท้งั ในระยะส้นั และระยะยาว
22
MG 525 การจดั การธุรกจิ ภายใต้ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3 (3-0-6)
(Business Management under the Philosophy of Sufficiency Economy)
หลกั การปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนการนามาประยกุ ต์ใชใ้ นองคก์ ารธุรกิจประเภทต่างๆ โดย
คานึงถึงการสร้างความสมดุล และการสร้างภมู ิคุม้ กนั ท่ีดีใหแ้ ก่องคก์ ารธุรกิจ เพ่อื ใหอ้ งคก์ ารธุรกิจเพม่ิ ขีดความสามารถ
ในการแขง่ ขนั และพร้อมปรับตวั รองรับความเปล่ียนแปลงท่ีอาจเกิดข้ึน รวมท้งั ใหค้ วามสาคญั กบั การจดั การทรัพยากร
และสิ่งแวดลอ้ มอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ประหยดั รู้คุณค่า คุม้ ค่า เพื่อสร้างความมน่ั คงและยงั่ ยืนให้แก่
องคก์ ารธุรกิจ เศรษฐกิจ สงั คม และส่ิงแวดลอ้ มโดยรวม
MG 526 การจดั การธุรกจิ สีเขียว 3 (3-0-6)
(Green Business Management)
แนวคิดในการดาเนินธุรกิจท่ีเป็ นมิตรกบั ส่ิงแวดลอ้ มของผูป้ ระกอบการ การดาเนินธุรกิจท่ีเป็ นมิตรกบั
ส่ิงแวดลอ้ มอยา่ งยงั่ ยนื การจดั ทากลยทุ ธ์ทางธุรกิจเชิงรุกท่ีมีมาตรฐานสูงกวา่ กฎเกณฑแ์ ละขอ้ บงั คบั ของการผลิตสินคา้
และบริการท่ีเป็ นมิตรกบั สิ่งแวดลอ้ ม การดาเนินธุรกิจตามเงื่อนไขและพนั ธสัญญาดา้ นสิ่งแวดลอ้ มอย่างมุ่งมนั่ และ
ต่อเน่ือง
MG 527 การจดั การธุรกจิ ครอบครัว 3 (3-0-6)
(Family Business Management)
ลกั ษณะของธุรกิจครอบครัว การสืบทอดธุรกิจครอบครัว ธรรมนูญครอบครัว การบริหารความขดั แยง้ ใน
ธุรกิจครอบครัว รวมท้งั กรณีศึกษาธุรกิจครอบครัวท่ีประสบความสาเร็จและลม้ เหลว
MG 528 ระบบสารสนเทศเพื่อการจดั การ 3 (3-0-6)
(Information Systems for Management)
ลักษณะของระบบสารสนเทศ รายละเอียดและการใช้ประโยชน์ของระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการ
เครื่องมือในการวิเคราะห์และออกแบบ ระบบสนับสนุนการตดั สินใจของผบู้ ริหาร ประโยชน์ของการพฒั นาระบบ
สารสนเทศ ทฤษฎีสารสนเทศ
MG 529 กฎหมายธุรกจิ และบรรษัทธรรมภิบาล 3 (3-0-6)
(Business Laws and Corporate Good Governance)
กฎหมายที่เก่ียวขอ้ งกบั การดาเนินธุรกิจ ต้งั แต่รูปแบบองคก์ รธุรกิจ การจดั ต้งั และจดั การองคก์ รธุรกิจประเภท
บริษทั จากดั และบริษทั มหาชน ท้งั ในดา้ นการบริหารจดั การธุรกิจและบุคลากรในองคก์ ร การบริหารและการจดั การ
องคก์ รตามหลกั บรรษทั ธรรมภิบาล ขอ้ ปฏิบตั ิท่ีดีของคณะกรรมการและผบู้ ริหารบริษทั รวมถึงการสร้างแรงจูงใจให้
ผบู้ ริหารและพนกั งาน การใหค้ วามคุม้ ครองผถู้ ือหุน้ และการปกป้องผลประโยชนแ์ ก่ผทู้ ี่เกี่ยวขอ้ งกบั บริษทั
23
MG 530 ภาวะผ้นู าเชิงกลยทุ ธ์ 3 (3-0-6)
(Strategic Leadership)
วิธีการพฒั นากลยุทธ์การเป็ นผูน้ า การจูงใจพนักงาน คณะทางาน องค์กร และคู่คา้ ต่างๆ เรียนรู้วิธีการ
ออกแบบระบบผลตอบแทน การสร้างคณะทางานท่ีมีประสิทธิภาพ กลยุทธ์การเจรจาบทบาทของการเมืองภายใน
องคก์ ร และอิทธิพลของวฒั นธรรมองคก์ ร
MG 531 การเจรจาต่อรองและข้อตกลงทางธุรกจิ 3 (3-0-6)
(Business Negotiation and Deals)
ประเด็นและแนวคิดเกี่ยวกบั การเจรจาต่อรอง บทบาทของผเู้ จรจาต่อรองในการสร้างและกาหนดขอ้ ตกลง
เทคนิคการเจรจาเพื่อสร้างขอ้ ตกลง ความซบั ซอ้ นของการเจรจาต่อรองท่ีตอ้ งผา่ นตวั แทน ปัญหาความไม่เท่าเทียมกนั
ของขอ้ มูลข่าวสาร (Asymmetric information) จรรณยาบรรณในการเจรจาต่อรอง อุปสรรคในการเจรจาต่อรอง การ
สร้างขอ้ ตกลงทางธุรกิจ โดยผศู้ ึกษาจะไดฝ้ ึ กการจาลองสถานการณ์ในการเจรจาตอ่ รองที่ซบั ซอ้ น
MG 532 การสื่อสารเพื่อการจดั การ 3 (3-0-6)
(Communication for Management)
รูปแบบการส่ือสารเชิงกลยุทธ์เพื่อเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขนั ทกั ษะและกลยทุ ธ์ในการส่ือสารท่ี
นาไปสู่การบรรลุเป้าหมายในการดาเนินงานขององคก์ าร อาทิ ทกั ษะการสื่อสารเพ่ือโนม้ นา้ ว จูงใจ ผูท้ ่ีเก่ียวขอ้ ง การ
ส่ือสารในภาวะวิกฤติ ฯลฯ ปัจจยั ที่มีผลต่อการส่ือสารให้เกิดประสิทธิผล ปัญหาและอุปสรรคดา้ นการส่ือสารใน
องคก์ าร
MG 533 การบริหารวฒั นธรรม 3 (3-0-6)
(Culture Management)
แนวคิดทฤษฎีท่ีเกี่ยวขอ้ งกับวฒั นธรรม รูปแบบและความแตกต่างของวฒั นธรรม การเปล่ียนแปลงทาง
วฒั นธรรม วิธีการสร้างวฒั นธรรมองคก์ รที่ดี การจดั การวฒั นธรรมขององคก์ ร การปรับเปล่ียนวฒั นธรรมองคก์ ร การ
ใชว้ ฒั นธรรมองคก์ รและวฒั นธรรมขา้ มชาติเพ่ือเป็ นเครื่องมือในการบริหารงาน และเป็ นกลยทุ ธ์ในการแข่งขนั ของ
ธุรกิจ
MG 534 กจิ การเพื่อสังคม 3 (3-0-6)
(Social Enterprise)
การกาหนดเป้าหมายของธุรกิจโดยมุ่งเนน้ การแกไ้ ขปัญหา หรือ พฒั นาสังคมและส่ิงแวดลอ้ มผ่านกลไกการ
ดาเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ การสร้างสรรค์นวตั กรรมใหม่เพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลงของสังคมและ
สิ่งแวดลอ้ มอยา่ งยง่ั ยนื การออกแบบโครงสร้างผูถ้ ือหุ้น โครงสร้าง และ ความโปร่งใส ของการบริหารจดั การ และ
รูปแบบของธุรกิจ โดยมีเป้าหมายเพ่อื ร่วมแกไ้ ขปัญหาสงั คมและส่ิงแวดลอ้ ม
24
MG 541 การบริหารพนักงานสัมพนั ธ์ 3 (3-0-6)
(Human Relations Management)
แนวความคิดและหลักการด้านพนักงานสัมพนั ธ์ ความสัมพันธ์ระหว่างพนักงานกับฝ่ ายจัดการ ด้าน
ค่าตอบแทน สวสั ดิการ สุขภาพและความปลอดภยั ของพนกั งาน โครงสร้างและการจดั การสหภาพแรงงาน กฏหมาย
แรงงาน วธิ ีการสร้างความสัมพนั ธ์ระหวา่ งบริษทั และพนกั งาน กระบวนการยตุ ิธรรม ดา้ นแรงงานสมั พนั ธ์ การเจรจา
ตอ่ รอง เนน้ การศึกษาวเิ คราะห์กรณีศึกษา
MG 542 การจดั การทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์ 3 (3-0-6)
(Strategic Human Resource Management)
แนวคิดเกี่ยวกบั การจดั การทรัพยากรมนุษยใ์ ห้สอดคลอ้ งกบั กลยทุ ธข์ ององคก์ าร เพอื่ เพิ่มขีดความสามารถใน
การแข่งขนั ขององคก์ าร ท่ามกลางกระแสความเปลี่ยนแปลงของโลกในยคุ โลกาภิวตั น์ อาทิ การวางแผนกาลงั คน การ
สรรหาและคดั เลือกบุคลากรท่ีมีศกั ยภาพให้เขา้ มาทางานกบั องคก์ าร การรักษาบุคลากรมืออาชีพไวใ้ นองคก์ าร การ
ประเมินผลการปฏิบตั ิงาน การพฒั นาบุคลากรใหม้ ีความเป็ นมืออาชีพ รวมท้งั กลยทุ ธ์ในการจดั การทรัพยากรมนุษยท์ ี่มี
ความแตกตา่ ง และหลากหลายวฒั นธรรม เป็ นตน้
MG 543 กลยุทธ์การบริหารค่าตอบแทนและผลการปฏิบัตงิ าน 3 (3-0-6)
(Strategic Compensation and Performance Management)
แนวคิดและทฤษฎี การกาหนดคา่ ตอบแทน การวเิ คราะห์งาน การประเมินค่างาน โครงสร้างผลตอบแทน กล
ยทุ ธ์การกาหนดผลตอบแทนเพื่อการจูงใจ กลยุทธ์การบริหารค่าตอบแทนให้สอดคลอ้ งกบั กลยทุ ธ์การแข่งขนั ของ
องค์การ กระบวนการประเมินการปฏิบตั ิงานและการนาขอ้ มูลจากการประเมินการปฏิบตั ิงานไปใชใ้ นการกาหนด
ค่าตอบแทน และแผนการปรับปรุงการปฏิบตั ิงาน
MG 561 การประกอบการ 3 (3-0-6)
(Entrepreneurship)
ประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเร่ิมธุรกิจใหม่ การแสวงหาแนวคิด เคร่ืองมือ และ แนวทางในการ
ประกอบการ การแสวงหาโอกาสหรือแนวคิดใหม่ในการดาเนินธุรกิจ การทาความเขา้ ใจถึงทกั ษะตา่ งๆ ท่ีจาเป็ นตอ้ งใช้
ในการดาเนินธุรกิจใหป้ ระสบความสาเร็จ การประเมินความคุม้ ค่าของธุรกิจใหม่ การจดั หาเงินทุน การเริ่มตน้ และ
การดาเนินธุรกิจใหม่
MG 562 การสร้างธุรกจิ ใหม่ 3 (3-0-6)
(New Venture Creation)
แนวคิดและเครื่องมือในการประกอบธุรกิจ การประเมินโอกาสทางธุรกิจ การทาความเขา้ ใจถึงกระบวนการ
ประกอบธุรกิจ การสร้างแผนธุรกิจใหม่ การพิจารณาทางเลือกในการจดั หาเงินทุนสาหรับธุรกิจใหม่ การริเร่ิมและ
ดาเนินธุรกิจใหม่ การประเมินความเป็ นไปไดท้ างธุรกิจ และ การวเิ คราะห์ความคุม้ ค่าทางธุรกิจ ตลอดจนการไดม้ าซ่ึง
ทรัพยากรท่ีเกี่ยวขอ้ งในการดาเนินธุรกิจ
25
MG 563 การจดั การธุรกจิ ในช่วงเตบิ โต 3 (3-0-6)
(Managing Growing Businesses)
มุมมองเชิงลึกในดา้ นความทา้ ทา้ ยและโอกาสของการประกอบธุรกิจท่ีกาลงั อยใู่ นช่วงการเติบโต โดยศึกษา
ถึงแนวคิดและกรอบการดาเนินงานสาหรับผปู้ ระกอบการในการดาเนินธุรกิจในทุกรูปแบบและขนาด การสร้างคุณค่า
ใหธ้ ุรกิจโดยการแสวงหาโอกาสและนวตั กรรม การตดั สินใจสาหรับผูป้ ระกอบการในการแสวงหาและใชโ้ อกาสทาง
ธุรกิจ การแสวงหาทรัพยากรในการดาเนินธุรกิจ การปรับกลยทุ ธ์ใหส้ อดคลอ้ งกบั การเปล่ียนแปลงของสภาพแวดลอ้ ม
ทางธุรกิจ ความทา้ ทายทางธุรกิจสาหรับผปู้ ระกอบการท่ีเกิดข้ึนในแต่ละข้นั ตอนในวงจรชีวติ ธุรกิจ อาทิ การเริ่มตน้
การปรับทิศทางธุรกิจ และ การเก็บเกี่ยวผลประโยชน์ทางธุรกิจ เป็ นตน้
MG 588 ประเดน็ ปัจจุบนั ทางธุรกจิ 3 (3-0-6)
(Current Issues in Business)
ประเด็นปัญหา หรือ หวั ขอ้ ที่น่าสนใจในการบริหารธุรกิจที่เกิดข้ึนในปัจจุบนั การวเิ คราะห์และสงั เคราะห์ใน
ประเด็นที่เกิดข้ึน ท้งั ในดา้ นการตลาด การเงิน การบริหารทรัพยากรมนุษย์ การจดั การ และการบริหารธุรกิจระหว่าง
ประเทศ โดยเนน้ กรณีศึกษา และการรับฟังการบรรยายพิเศษจากวิทยากรผทู้ รงคุณวฒุ ิ เพื่อใหผ้ เู้ รียนไดม้ ีความรู้ความ
เขา้ ใจในการบริหารธุรกิจเชิงบูรณาการ
MG 589 สัมมนาทางการจดั การ 3 (3-0-6)
(Seminar in Management)
การอภิปรายแนวคิด กลยทุ ธ์ และปัญหาเก่ียวกบั การจดั การร่วมสมยั
วทิ ยานพิ นธ์และการศึกษาค้นคว้าอสิ ระ
MG 600 วทิ ยานิพนธ์ 12 (0-0-36)
(Thesis)
นกั ศึกษาท่ีเลือกเรียนแผนการศึกษา ก แบบ ก 2 ตอ้ งจดั ทาวิทยานิพนธ์และสอบป้องกนั วิทยานิพนธ์ โดย
หัวขอ้ วทิ ยานิพนธ์ตอ้ งอยใู่ นขอบเขตสาขาวิชาท่ีตนศึกษา และไดร้ ับความเห็นชอบจากอาจารยท์ ่ีปรึกษา วิทยานิพนธ์
ฉบบั สมบูรณ์ตอ้ งไดร้ ับอนุมตั ิเห็นชอบจากคณะกรรมการสอบวทิ ยานิพนธท์ ี่ไดร้ ับการแตง่ ต้งั
MG 601 การศึกษาค้นคว้าอสิ ระ 3 (0-0-9)
(Independent Study)
นกั ศึกษาที่เลือกเรียนแผนการศึกษา ข ตอ้ งจดั ทารายงานการงานคน้ ควา้ อิสระในหวั ขอ้ ที่นกั ศึกษาสนใจ ซ่ึงมี
อาจารยท์ ี่ปรึกษากากบั ดูแล และตอ้ งไดร้ ับอนุมตั ิจากคณะกรรมการสอบที่ไดร้ ับการแต่งต้งั
26
2) กล่มุ วชิ าการจดั การโลจสิ ตกิ ส์
วชิ าเอกบังคบั
MN 501 การจดั การโซ่อุปทาน 3 (3-0-6)
(Supply Chain Management)
ระบบโซ่อปุ ทาน เช่น การปฏิบตั ิการ ระบบสารสนเทศ การจดั ซ้ือ การขนส่ง และการตลาด รวมถึงเทคนิค
สาคญั ที่เก่ียวกบั การจดั หา การจดั เก็บ การบริหารวตั ถุดิบและสินคา้ คงคลงั และความสมั พนั ธ์ของผผู้ ลิตและผบู้ ริโภค
ในโซ่อุปทาน และการศึกษาจากกรณีศึกษา
MN 502 การจดั การระบบขนส่งและการกระจายสินค้า 3 (3-0-6)
(Transportation and Distribution Management)
การขนส่งแตล่ ะประเภท กิจกรรมของการขนส่งและระบบโลจิสติกส์ของสินคา้ ท้งั ในส่วนของการขนส่งและ
การกระจายสินคา้ การจดั เสน้ ทางและตารางการขนส่ง การจดั การระบบการกระจายสินคา้ ศูนยก์ ระจายสินคา้ การวดั
ประสิทธิภาพการขนส่งและกระจายสินคา้ เทคโนโลยสี ารสนเทศที่เกี่ยวขอ้ งกบั การกระจายสินคา้ และการขนส่งสินคา้
กรณีศึกษา
MN 505 ระเบียบวธิ ีวจิ ยั โลจสิ ตกิ ส์ 3 (3-0-6)
(Logistics Research Methodology)
แนวความคิด หลกั การ ระเบียบวธิ ีดาเนินการวจิ ยั เช่น การวจิ ยั ทางดา้ นโลจิสติกส์ การวจิ ยั เพอื่ การลงทุน
รวมท้งั ปัญหาในการวจิ ยั ที่เกิดข้ึน
วชิ าเอกเลือก
MN 521 การจดั การสินค้าคงคลงั 3 (3-0-6)
(Inventory Management)
เทคนิคการพยากรณ์ การบริหารความตอ้ งการ การบริหารวตั ถุดิบ การกาหนดนโยบายควบคุมสินคา้ คงคลงั
การวดั ประสิทธิภาพการจดั การสินคา้ คงคลงั ผลกระทบจากการพยากรณ์และความตอ้ งการที่ไมแ่ น่นอน การออกแบบ
การวางแผน การควบคุม และ การบริหารสินคา้ คงคลงั ในระบบโซ่อปุ ทาน การวดั ประสิทธิภาพการบริหารจดั การ
สินคา้ คงคลงั เทคโนโลยสี ารสนเทศท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การจดั การสินคา้ คงคลงั การจาลองสถานการณ์ของระบบสินคา้
คงคลงั กรณีศึกษา
MN 522 การวางแผนและออกแบบระบบโซ่อุปทาน 3 (3-0-6)
(Supply Chain Planning and Design)
หลกั การและเทคนิคสาหรับการวางแผนโซ่อุปทาน ท้งั ในระดบั กลยทุ ธ์ และระดบั ปฏิบตั ิการ การออกแบบ
เครือข่ายโลจิสติกส์โซ่อุปทาน การกาหนดนโยบายสาหรับบริหารจดั การกระบวนการในโซ่อุปทาน การวางแผนการ
ขาย การวางแผนการจดั ซ้ือจดั หา การวางแผนการผลิต การวางแผนเติมเตม็ สินคา้ คงคลงั การวางแผนการกระจายสินคา้
และ การวางแผนการบริการลูกคา้ หลงั การขาย การวิเคราะห์กระบวนการและเทคนิคการปรับปรุงประสิทธิภาพ
โซ่อปุ ทาน กลยทุ ธ์ในการบูรณาการกระบวนการทางโซ่อุปทาน
27
MN 523 ระบบสารสนเทศทางโลจสิ ตกิ ส์ 3 (3-0-6)
(Logistics Information Technology Systems)
การออกแบบและการนาระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศไปใช้ เพื่อช่วยในการตดั สินใจทาง
โลจิสติกส์ โดยรวบรวมทฤษฎีต่างๆ จากทางดา้ นระบบสารสนเทศ วิทยาการคอมพิวเตอร์ และ วิทยาการการจดั การ
ประกอบดว้ ยบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศในโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ การวางแผนและการปฏิบตั ิการ การ
วางแผนทรัพยากรในองค์กร การออกแบบ และการพิจารณาเลือกใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศท่ีมีประสิทธิภาพใน
โลจิสติกส์ เช่น ระบบแลกเปลี่ยนขอ้ มลู ทางอิเลก็ ทรอนิกส์ ระบบติดตามและสอบกลบั สินคา้
MN 524 การวเิ คราะห์ระบบโลจสิ ตกิ ส์ 3 (3-0-6)
(Logistics System Analysis)
การออกแบบและการวางแผนของระบบโลจิสติกส์เพ่ือใหก้ ารขนส่งมีประสิทธิภาพ โดยวเิ คราะห์ปัญหาและ
การวดั ประสิทธิภาพของระบบการผลิตและขนส่งท่ีเก่ียวกบั การรอคอย จานวนผูใ้ หบ้ ริการ จุดคอขวด เวลาที่ใชใ้ น
ระบบการผลิต การขนส่งและโลจิสติกส์ การวิเคราะห์และแกป้ ัญหาโลจิสติกส์โดยใช้โปรแกรมจาลองสถานการณ์
ประกอบดว้ ย การจาลองการบริการ การขนส่ง การวดั ประสิทธิภาพระบบโลจิสติกส์ และการออกแบบเพื่อโลจิสติกส์
การปรับปรุงระบบใหม้ ีประสิทธิภาพ
MN 525 กลยทุ ธ์สาหรับการผลติ 3 (3-0-6)
(Manufacturing Strategy)
เทคนิคในการวางแผนการผลิตโดยคานึงถึงวตั ถุดิบและความสามารถในการผลิต กลยทุ ธ์ในการผลิต การ
สร้างมูลค่าเพ่ิมในการผลิต การควบคุมคุณภาพ การวางแผนการไหลของวสั ดุ การวางผงั โรงงาน การวางแผน
อตั รากาลงั การผลิต เทคนิคในการวางแผนและควบคุมการผลิตต่างๆ การวางแผนการซ่อมบารุง การจดั หาอปุ ทาน การ
วดั ประสิทธิภาพระบบการผลิต และการบริหารการผลิตสมยั ใหม่ และการศึกษาจากกรณีศึกษา
MN 526 การจดั การความต้องการและการจดั หา 3 (3-0-6)
(Demand and Procurement Management)
บทบาทของการจดั หาเทคนิคที่ใชใ้ นการวเิ คราะห์และคานวณหาความตอ้ งการของลูกคา้ ซ่ึงจะแปรเปลี่ยน
เป็ นมูลค่าเพ่ิมในสินคา้ และบริการ การพยากรณ์ความตอ้ งการ การวิเคราะห์ตน้ ทุนและราคาขาย การประเมินคุณภาพ
และการเลือกผจู้ ดั ส่ง การเจรจา การพฒั นาและประยกุ ตใ์ ชก้ ลยทุ ธก์ ารจดั หา การจดั หาแบบขา้ มชาติ การบริหารสญั ญา
ซ้ือขาย ความสาคญั ของการจดั หาในระบบการผลิตและระบบสินคา้ คงคลงั ทฤษฎีและกรณีตวั อยา่ งสาหรับการวางแผน
และควบคุมการจดั หาที่สอดคลอ้ งกบั การผลิต
MN 527 การค้าและระบบโลจสิ ตกิ ส์ระหว่างประเทศ 3 (3-0-6)
(International Trade and Logistics System)
ภาพรวมของสภาพแวดลอ้ มทางธุรกิจระหว่างประเทศ ความสัมพนั ธ์ของการค้าระหว่างประเทศกับ
โซ่อุปทาน โลจิสติกส์ในต่างประเทศ การเขา้ สู่ตลาดต่างประเทศ กลยุทธ์สาหรับโลจิสติกส์และโซ่อุปทานใน
28
ตลาดโลก การพฒั นาและประยกุ ตใ์ ชก้ ลยทุ ธ์การจดั หาแบบขา้ มชาติ การเลือกเครือข่ายสถานที่ต้งั การวางแผนบริหาร
รายไดแ้ ละตน้ ทุน การบริหารความเส่ียงระบบโลจิสติกส์ระหว่างประเทศ บทบาทของภาครัฐดา้ นกฎหมายและการ
แทรกแซงทางการคา้ เช่น ภาษีและศุลกากร การนาสินคา้ ขา้ มพรมแดน การกาหนดสดั ส่วนของวตั ถุดิบในประเทศ
MN 588 ประเดน็ ปัจจุบันทางการจดั การโลจสิ ตกิ ส์ 3 (3-0-6)
(Current Issues in Logistics Management)
ประเดน็ พเิ ศษท่ีน่าสนใจ และทนั สมยั ในงานดา้ นการจดั การโลจิสติกส์ รวมท้งั เรียนรู้จากกรณีศึกษาตา่ งๆ
MN 589 สัมมนาการจดั การทางโลจสิ ตกิ ส์ 3 (3-0-6)
(Seminar in Logistics Management)
การสัมมนาและแลกเปล่ียนประสบการณ์เกี่ยวกบั ปัญหาทางดา้ นโลจิสติกส์ การขนส่งและระบบโซ่อปุ ทาน
พร้อมกบั การแกไ้ ข
วทิ ยานพิ นธ์และการศึกษาค้นคว้าอสิ ระ
MN 600 วทิ ยานพิ นธ์ 12 (0-0-36)
(Thesis)
นักศึกษาท่ีเลือกเรียนแผนการศึกษา ก แบบ ก 2 ตอ้ งจดั ทาวิทยานิพนธ์และสอบป้องกนั วิทยานิพนธ์ โดย
หวั ขอ้ วิทยานิพนธ์ตอ้ งอยใู่ นขอบเขตสาขาวิชาที่ตนศึกษา และไดร้ ับความเห็นชอบจากอาจารยท์ ี่ปรึกษา วิทยานิพนธ์
ฉบบั สมบูรณ์ตอ้ งไดร้ ับอนุมตั ิเห็นชอบจากคณะกรรมการสอบวทิ ยานิพนธ์ที่ไดร้ ับการแต่งต้งั
MN 601 การศึกษาค้นคว้าอสิ ระ 3 (0-0-9)
(Independent Study)
นกั ศึกษาท่ีเลือกเรียนแผนการศึกษา ข ตอ้ งจดั ทารายงานการงานคน้ ควา้ อิสระในหวั ขอ้ ที่นกั ศึกษาสนใจ ซ่ึงมี
อาจารยท์ ่ีปรึกษากากบั ดูแล และตอ้ งไดร้ ับอนุมตั ิจากคณะกรรมการสอบท่ีไดร้ ับการแตง่ ต้งั
3) กล่มุ วชิ าการตลาด
วชิ าเอกบังคบั
MK 501 การวจิ ยั ตลาด 3 (3-0-6)
(Marketing Research)
ความสาคญั และบทบาทของการวิจยั ทางการตลาด ประเภทของการวิจัย กระบวนการวิจัยตลาด การ
ออกแบบงานวจิ ยั การสร้างเครื่องมือในการวจิ ยั การวดั ทศั นคติของผบู้ ริโภค การสุ่มตวั อยา่ ง การเก็บขอ้ มูล เทคนิคทาง
สถิติในการวเิ คราะห์ขอ้ มลู และการเขียนรายงานวจิ ยั
MK 502 การวเิ คราะห์พฤตกิ รรมผ้บู ริโภคเชิงกลยทุ ธ์ 3 (3-0-6)
(Strategic Analysis of Consumer Behavior)
แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกบั พฤติกรรมผบู้ ริโภค ปัจจยั ที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมผบู้ ริโภค แบบจาลองพฤติกรรม
29
ผบู้ ริโภค ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งพฤติกรรมผูบ้ ริโภคกบั การจดั การการตลาด และการวเิ คราะห์พฤติกรรมผบู้ ริโภคเพอ่ื
กาหนดกลยทุ ธ์และส่วนประสมการตลาด
MK 503 กลยทุ ธ์การตลาดและการพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ใหม่ 3 (3-0-6)
(Marketing Strategy and New Product Development)
แนวคิด และวธิ ีการกาหนดกลยทุ ธ์การตลาดเพื่อสร้างขอ้ ไดเ้ ปรียบในการแข่งขนั จากการวเิ คราะห์โครงสร้าง
อุตสาหกรรม ตลาด และสถานการณ์การแข่งขนั ในตลาด โดยคานึงถึงความพร้อมและทรัพยากรของธุรกิจควบคู่กบั
โอกาสทางการตลาด พร้อมท้งั การเขา้ ใจถึงการพฒั นาผลิตภณั ฑ์ใหม่อยา่ งสร้างสรรคเ์ พื่อให้สอดรับกบั กลยทุ ธ์และ
สภาพแวดลอ้ มทางการตลาด
วชิ าเอกเลือก
MK 521 กลยุทธ์ผลติ ภณั ฑ์และราคา 3 (3-0-6)
(Product and Price Strategies)
แนวคิด กลยทุ ธ์ การจดั การส่วนประสมการตลาดดา้ นผลิตภณั ฑแ์ ละราคา กลยทุ ธ์การสร้างความแตกตา่ งและ
การสร้างนวตั กรรม การวเิ คราะห์ การวางแผนและกาหนดกลยทุ ธ์ การปฏิบตั ิตามแผน การควบคุม
MK 522 การจดั การตราสินค้าและการจดั การลูกค้าสัมพนั ธ์ 3 (3-0-6)
(Brand Management and Customer Relationship Management)
นโยบายและกลยทุ ธ์การจดั การตราสินคา้ ความหมาย กระบวนการสร้างตราสินคา้ การออกแบบตราสินคา้
การสร้างและขยายตราสินคา้ การวางตาแหน่งของตราสินคา้ การดารงตราสินคา้ ให้คงอยู่ตลอดไป การส่ือสาร
ตราสินคา้ การควบคุมและประเมินผลตราสินคา้ ความหมายและรูปแบบการตลาดสายสัมพนั ธ์ องค์ประกอบและ
ข้นั ตอนการจดั การลูกคา้ สัมพนั ธ์ การแบ่งกลุ่มตามหลกั คุณค่าของลูกคา้ การวดั คุณค่าตลอดช่วงชีวิตของลูกคา้ การ
ประเมินผลการจดั การลูกคา้ สัมพนั ธ์ และการนามาใช้ในองค์กร การสร้างโปรแกรมความจงรักภกั ดี ความหมาย
ข้นั ตอนและการประเมินการจดั การประสบการณ์ของลูกคา้
MK 523 การจดั การช่องทางจดั จาหน่ายสมยั ใหม่ 3 (3-0-6)
(Modern Distribution Channel Management)
บทบาทช่องทางการจดั จาหน่าย ระบบการจดั การช่องทางการตลาด การออกแบบโครงสร้างของช่องทาง
การตลาดในรูปแบบตา่ งๆ และการเลือกช่องทางการตลาด คนกลางในระดบั ต่างๆ นโยบายและกลยทุ ธก์ ารตลาดที่มีผล
ต่อการจดั การช่องทางการตลาดให้เกิดการไดเ้ ปรียบในการแข่งขนั การกระจายสินคา้ โดยเนน้ การนาเอากระบวนการ
จดั การห่วงโซ่อปุ ทาน การจดั การส่งกาลงั บารุง และการกระจายสินคา้ ท่ีมีประสิทธิภาพ การใชเ้ ทคโนโลยเี พื่อจดั ระบบ
ขอ้ มูลในช่องทางการตลาดและการกระจาย การจดั การช่องทางภายใตส้ ถานการณ์ท่ีเปลี่ยนไป การบริหารความขดั แยง้
การพฒั นาความสมั พนั ธเ์ ชิงบวก และการสร้างคุณคา่ ในระยะยาว
30
MK 524 การตลาดดจิ ทิ ลั 3 (3-0-6)
(Digital Marketing)
แนวคิดการตลาดท่ีใชเ้ ครื่องมือทางอิเลก็ ทรอนิกส์ในระบบดิจิทลั การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ การ
สื่อสาร และเทคโนโลยีอื่นๆร่วมกับส่ือสังคมออนไลน์ในการกาหนดกลยุทธ์การตลาด การจัดการส่วนประสม
การตลาดและการดาเนินการตลาด การตลาดบนอินเทอร์เน็ต การสร้าง การออกแบบ การจดั การเวบ็ ไซตเ์ พ่ือใหเ้ กิด
ปฏิสมั พนั ธแ์ ละสร้างลกู คา้
MK 525 กลยุทธ์การส่ือสารการตลาดบูรณาการ 3 (3-0-6)
(Integrated Marketing Communication Strategies)
แนวคิด กระบวนการและการจดั การเพื่อการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ ปัจจยั ท่ีมีอิทธิพลตอ่ การสื่อสาร
การตลาด การกาหนดกลุ่มเป้าหมาย การกาหนดวตั ถุประสงค์ การออกแบบขอ้ มูลข่าวสาร การเลือกช่องทางส่ือสาร
การวางแผนและกาหนดกลยทุ ธ์ การกาหนดงบประมาณ การปฏิบตั ิการและการดาเนินงานและการวดั ประเมินผล
MK 526 กลยทุ ธ์การตลาดบริการ 3 (3-0-6)
(Services Marketing Strategies)
แนวคิด กลยทุ ธ์การจดั การดา้ นการตลาดสาหรับธุรกิจบริการ และการจดั การส่วนประสมการตลาดบริการ
การจดั การคุณภาพสาหรับธุรกิจบริการ การสรรหาคดั เลือกและรักษาลูกคา้ ท่ีมีความภกั ดี รวมท้งั สร้างความสมั พนั ธก์ บั
ลูกคา้
MK 527 การจดั การการตลาดโลก 3 (3-0-6)
(Global Marketing Management)
การจดั การตลาดระหวา่ งประเทศและการตลาดโลก ทฤษฎี หลกั การ แนวคิดในการจดั การการตลาดระหวา่ ง
ประเทศและการตลาดโลก สภาพแวดลอ้ ม องคก์ ารระหวา่ งประเทศ พฤติกรรมผูบ้ ริโภค การตดั สินใจเลือกตลาด การ
วางแผนและกาหนดกลยทุ ธ์ การจดั การ และการพฒั นาส่วนประสมการตลาด การประเมินผล การควบคุม
MK 528 การตลาดสาหรับธุรกจิ 3 (3-0-6)
(Business-to-Business Marketing)
แนวคิดการตลาดสาหรับลูกคา้ กล่มุ ธุรกิจหรือองคก์ าร ที่มุ่งหวงั ผลกาไร และไม่มงุ่ หวงั ผลกาไร การวเิ คราะห์
คดั เลือกกลุ่มลูกคา้ เป้าหมาย กลยทุ ธ์การจดั การการตลาดและส่วนประสมการตลาด การสร้างพนั ธมิตรและการจดั การ
ความสมั พนั ธ์กบั ลูกคา้ องคก์ าร
31
MK 529 การสร้างความแตกต่างและนวตั กรรมการตลาด 3 (3-0-6)
(Differentiation and Innovation for Marketing)
แนวคิดกลยทุ ธก์ ารตลาดโดยการสร้างความแตกต่าง และการสร้างนวตั กรรม กระบวนการและวธิ ีการพฒั นา
นวตั กรรมและสร้างความแตกต่าง การก่อกาเนิดแนวคิด การพฒั นาแนวคิดในระดบั ทดลอง การพฒั นาแนวคิดในเชิง
พาณิชยแ์ ละธุรกิจ การนาเทคโนโลยมี าประยกุ ต์
MK 530 การตลาดชุมชนเพื่อเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3 (3-0-6)
(Community Marketing for Sustainable Economy)
แนวคิดการตลาดสาหรับองคก์ ารที่ไม่หวงั ผลกาไร และหวงั ผลกาไร หรือกลุ่มในระดบั ชุมชน ในจงั หวดั
อาเภอ หรือตาบล แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป้าหมาย การบูรณาการแนวคิดการตลาดชุมชนเขา้ กบั แนวคิด
เศรษฐกิจพอเพียง การวเิ คราะห์คดั เลือกกลุ่มลกู คา้ กลยทุ ธก์ ารจดั การการตลาดและส่วนประสมการตลาดชุมชน
MK 531 การตลาดในองค์การทไี่ ม่หวงั ผลกาไร 3 (3-0-6)
(Marketing for the Non-Profit Organizations)
แนวคิดการตลาดสาหรับองคก์ ารที่ไม่หวงั ผลกาไร การวิเคราะห์คดั เลือกกลุ่มเป้าหมาย กลยทุ ธ์การจดั การ
การตลาดและส่วนประสมการตลาด การวางแผนการปฏิบตั ิตามแผนการควบคุมประเมินผล
MK 532 ธรรมาภบิ าล จรรยาบรรณ และภาวะผ้นู าสาหรับนกั การตลาด 3 (3-0-6)
(Good Governance, Ethics, and Leadership for Marketers)
แนวคิดดา้ นธรรมาภิบาล ด้านจรรยาบรรณ และด้านภาวะผูน้ าสาหรับธุรกิจการตลาด ที่สัมพนั ธ์กบั การ
จดั การการตลาดและจดั การองคก์ รใหเ้ จริญเติบโตยงั่ ยืน ความรับผิดชอบตอ่ สังคมและลูกคา้ การดาเนินธุรกิจและการ
แข่งขนั ทางธุรกิจอยา่ งยง่ั ยนื กรณีศึกษา การสมั มนา การรับฟังบรรยายจากวทิ ยากรผทู้ รงคุณวฒุ ิ
MK 541 การจดั การผลติ ภณั ฑ์และการจดั หาของธุรกจิ ค้าปลกี 3 (3-0-6)
(Product and Merchandising Management of Retail Business)
ทฤษฎีและแนวคิดสาหรับการจดั การผลิตภณั ฑส์ าหรับธุรกิจคา้ ปลีก การจดั การประเภท/กลุ่มของสินคา้ การ
จดั การพ้ืนท่ี การวางแผนการจดั การและการบริหารการจดั หา การสร้างความสามารถในการทากาไร การจดั การตน้ ทุน
อยา่ งมีประสิทธิภาพ การเพม่ิ ศกั ยภาพในการแขง่ ขนั จากการจดั การผลิตภณั ฑแ์ ละการจดั หา
MK 542 การจดั การโลจสิ ตกิ ส์และโซ่อปุ ทานของธุรกจิ ค้าปลกี 3 (3-0-6)
(Logistics and Supply Chain Management of Retail Business)
การดาเนินงานดา้ นโลจิสติกส์สาหรับธุรกิจคา้ ปลีกในระดบั การบริหาร การพฒั นาแผน การกาหนดวิธีการ
และเทคนิคการบริหารโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน การจดั การกระบวนการดา้ นสินคา้ คงคลงั กระบวนการคลงั สินคา้ การ
บริหารคลงั สินคา้ กระบวนการกระจายสินคา้ ระบบและกระบวนการการสัง่ ซ้ือ การบริหารจดั การโซ่อปุ ทานและห่วง
โซ่คุณคา่ เพ่อื การสร้างประสิทธิภาพและความสามารถในการแข่งขนั รวมท้งั ผลกั ดนั ใหเ้ กิดผลในระดบั ปฏิบตั ิการจาก
การจดั การในระดบั บริหาร
32
MK 543 การจดั การร้านสาหรับการค้าปลกี 3 (3-0-6)
(Store Operation Management for Retailing)
การจดั การและตดั สินใจเก่ียวกบั การเลือกทาเลท่ีต้งั การจดั รูปแบบสภาพภายนอกและภายในร้านคา้ ปลีก การ
วางผงั ร้านคา้ การวางผงั ทางเดินของลูกคา้ และสภาพแวดลอ้ มบรรยากาศต่าง ๆ เช่น แสง สี เสียงและภาพ การจดั การ
ร้านคา้ ปลีกท้งั มีหนา้ ร้านและไม่มีหนา้ ร้าน ท้งั ในร้านและนอกร้าน และการจดั การหนา้ ร้าน การบริหารสินคา้ หนา้ ร้าน
และการขาย การบริการลกู คา้ การบริหารจดั การพนกั งานขาย การจดั การสภาพบรรยากาศและการตกแตง่ ร้าน
MK 588 ประเดน็ ปัจจุบันด้านการตลาด 3 (3-0-6)
(Current Issues in Marketing)
การวเิ คราะห์ สงั เคราะห์เก่ียวกบั ประเดน็ ปัญหา หวั ขอ้ น่าสนใจดา้ นการจดั การ กลยทุ ธ์การตลาด ธุรกิจ และ
ดา้ นอ่ืนๆท่ีเก่ียวขอ้ ง ซ่ึงเกิดข้ึนในปัจจุบนั หรือแนวโนม้ ในอนาคต การศึกษาเนน้ กรณีศึกษา การสัมมนา การรับฟัง
บรรยายพิเศษจากวทิ ยากรผทู้ รงคุณวฒุ ิ การศึกษานอกสถานท่ี เพื่อให้ผูเ้ รียนมีความรู้ความเขา้ ใจดา้ นการจดั การธุรกิจ
และการตลาดแบบบูรณาการ
วทิ ยานิพนธ์และการศึกษาค้นคว้าอสิ ระ
MK 600 วทิ ยานพิ นธ์ 12 (0-0-36)
(Thesis)
นักศึกษาที่เลือกเรียนแผนการศึกษา ก แบบ ก 2 ตอ้ งจดั ทาวิทยานิพนธ์และสอบป้องกนั วิทยานิพนธ์ โดย
หัวขอ้ วทิ ยานิพนธ์ตอ้ งอยใู่ นขอบเขตสาขาวิชาท่ีตนศึกษา และไดร้ ับความเห็นชอบจากอาจารยท์ ่ีปรึกษา วิทยานิพนธ์
ฉบบั สมบูรณ์ตอ้ งไดร้ ับอนุมตั ิเห็นชอบจากคณะกรรมการสอบวทิ ยานิพนธท์ ่ีไดร้ ับการแตง่ ต้งั
MK 601 การศึกษาค้นคว้าอสิ ระ 3 (0-0-9)
(Independent Study)
นกั ศึกษาท่ีเลือกเรียนแผนการศึกษา ข ตอ้ งจดั ทารายงานการงานคน้ ควา้ อิสระในหวั ขอ้ ท่ีนกั ศึกษาสนใจ ซ่ึงมี
อาจารยท์ ่ีปรึกษากากบั ดูแล และตอ้ งไดร้ ับอนุมตั ิจากคณะกรรมการสอบที่ไดร้ ับการแตง่ ต้งั
4) กล่มุ วชิ าการเงนิ
วชิ าเอกบงั คบั
MF 501 การวจิ ยั ทางการเงนิ 3 (3-0-6)
(Research for Finance)
ระเบียบวิธีดาเนินการวิจยั ทางธุรกิจ สถิติ การวิเคราะห์ขอ้ มูลและการนาเสนอขอ้ มูล การเขียนรายงานวิจยั
เนน้ การวจิ ยั ทางการเงินในการวางแผนและการตดั สินใจทางการเงิน
33
MF 502 การวเิ คราะห์การลงทุน 3 (3-0-6)
(Investment Analysis)
หลกั การตดั สินใจ และการบริหารการลงทุนท้งั ของส่วนบุคคลและของสถาบนั การกาหนดเป้าหมายการ
ลงทุน การจัดสรรเงินลงทุน การวิเคราะห์เศรษฐกิจมหภาค และตลาดหลักทรัพย์โดยรวม การวิเคราะห์ภาวะ
อุตสาหกรรม การวิเคราะห์งบการเงินของธุรกิจ การวเิ คราะห์ และการประเมินมูลค่าหลกั ทรัพยป์ ระเภทต่างๆ ไดแ้ ก่
ตราสารทุน ตราสารหน้ี ตราสารอนุพนั ธ์ประเภทสญั ญาซ้ือขายล่วงหนา้ ตลอดจนการลงทุนในทางเลือกอ่ืน กลยทุ ธ์
การลงทุน และการซ้ือขายหลกั ทรัพย์ การป้องกนั ความเสี่ยงดว้ ยสัญญาซ้ือขายล่วงหนา้ การกระจายความเส่ียงของการ
ลงทุนในกล่มุ หลกั ทรัพย์ ประสิทธิภาพของตลาดหลกั ทรัพย์ และ การวเิ คราะห์เชิงเทคนิค
MF 503 ตลาดการเงนิ และการบริหารสถาบันการเงนิ 3 (3-0-6)
(Financial Markets and Financial Institution Management)
การพฒั นาตลาดการเงิน หน่วยงานกากบั ตลาดการเงินไทย ประเภทของตลาดการเงิน บทบาทผทู้ ี่เกี่ยวขอ้ งใน
ตลาดการเงิน การลงทุนในตราสารทางการเงินในตลาดการเงิน บทบาทของสถาบนั การเงินในตลาดการเงิน การ
ธนาคารสากล (universal bank) และการบริหารธนาคาร การดาเนินธุรกิจและการบริหารความเส่ียงของธนาคารพาณิชย์
การวเิ คราะห์งบการเงินของธนาคารพาณิชย์
วชิ าเอกเลือก
MF 521 การบริหารการเงนิ ขององค์กรเชิงประยกุ ต์ 3 (3-0-6)
(Applied Corporate Finance)
การนาแนวคิดและทฤษฎีทางการเงินประยกุ ตใ์ ชก้ บั ปัญหาทางการเงิน โดยใชก้ รณีศึกษาและเหตุการณ์จริง
ในเรื่องการลงทุน การจดั หาเงินทุน การประเมินมูลค่ากิจการ การซ้ือหุน้ สามญั กลบั คืน นโยบายเงินปันผล การเสนอ
ขายหุ้นสามญั แก่สาธารณชนเป็ นคร้ังแรก การควบรวมกิจการ การประยุกต์ใชก้ ารประเมินมูลค่าสิทธิ ในดา้ น real
option ตราสารสิทธิในการซ้ือหุน้ สามญั หุน้ กแู้ ปลงสภาพ
MF 522 อนุพนั ธ์และการจดั การความเสี่ยง 3 (3-0-6)
(Derivatives and Risk Management)
การบริหารความเส่ียงทางการเงิน โดยใชอ้ นุพนั ธ์และตลาดอนุพนั ธ์ สัญญาซ้ือขายล่วงหนา้ ตราสารซ้ือขาย
ล่วงหนา้ ตราสารแสดงสิทธ์ิและอนุพนั ธ์อื่นๆ วธิ ีปฏิบตั ิในการซ้ือขาย ตวั แบบการประเมินมลู คา่ การบริหารความเส่ียง
องคก์ ร การวดั ความเสี่ยงทางดา้ นตลาด เครดิต สภาพคล่อง และการดาเนินงาน การบริหารความเสี่ยงแบบบูรณาการ
การคานวณมลู คา่ ความเสี่ยง และการบริหารความเส่ียงของสถาบนั การเงิน
MF 523 การเงนิ ระหว่างประเทศ 3 (3-0-6)
(International Finance)
การจดั การการเงินระหว่างประเทศและการคา้ ระหว่างประเทศในมุมมองของผูบ้ ริหารขององคก์ ารที่มีการ
ดาเนินธุรกิจระหวา่ งประเทศ ประกอบดว้ ย การบริหารส่วนเปิ ดต่อความเสี่ยงจากอตั ราแลกเปลี่ยน การตดั สินใจการ
ลงทุนโดยตรงในต่างประเทศ และการจดั ทางบประมาณเงินทุนสาหรับการลงทุนในต่างประเทศ รวมถึงแนวโนม้ ของ
34
การธนาคารระหวา่ งประเทศ ดุลการชาระเงิน ปัจจยั ท่ีกาหนดอตั ราแลกเปล่ียนเงินตราต่างประเทศ โอกาสและอปุ สรรค
ของการวางแผนการดาเนินงานในตา่ งประเทศ ตลอดจนประเด็นปัจจุบนั ทางการเงินระหวา่ งประเทศ
MF 524 การวางแผนการเงนิ ส่วนบุคคล 3 (3-0-6)
(Personal Finance Planning)
แนวคิดของการวางแผนการเงินส่วนบุคคล กระบวนการวางแผนทางการเงิน การจดั ทางบการเงินส่วนบุคคล
การจดั การเกี่ยวกบั การเงินและการลงทุน การคุม้ ครองชีวติ และการประกนั ภยั การวางแผนภาษี การวางแผนเกษียณอายุ
และการวางแผนเกี่ยวกบั อสังหาริมทรัพย์ กรณีศึกษาการแกป้ ัญหาและการวางแผนการเงินส่วนบุคคล จรรยาบรรณ
ของนกั วางแผนการเงินส่วนบุคคล
MF 525 การเพมิ่ มูลค่ากจิ การโดยการปรับโครงสร้าง 3 (3-0-6)
(Creating Value through Corporate Restructuring)
รูปแบบต่างๆ ของการปรับโครงสร้างและผลท่ีจะเกิดตามมาจากการปรับโครงสร้างน้นั โดยใชก้ รณีศึกษา
ต่างๆ ท่ีเก่ียวขอ้ ง การออกแบบกลยทุ ธ์การปรับโครงสร้างเพื่อสร้างมูลค่าสูงสุดแก่กิจการภายใตข้ อ้ กาหนดสาคญั ดา้ น
กฎหมาย ขอ้ บงั คบั ทางบญั ชี ขอ้ มูลท่ีมีอยอู่ ยา่ งจากดั แรงจูงใจและความสนใจของฝ่ ายต่างๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ งในการเจรจา
ต่อรอง รวมท้งั การวเิ คราะห์จากกรณีศึกษาที่ตอ้ งใชเ้ ทคนิคการวเิ คราะห์ดว้ ยแขนงวชิ าอ่ืนๆ เช่น กลยทุ ธ์ธุรกิจและการ
เจรจาตอ่ รอง
MF 526 ทฤษฎพี อร์ตฟอลโิ อและการบริหารจดั การพอร์ตฟอลโิ อ 3 (3-0-6)
(Portfolio Theory and Management)
หลักการที่ทันสมัยท่ีเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการพอร์ตฟอลิโอ โดยจะครอบคลุมถึงการวิเคราะห์
หลกั ทรัพย์ ทฤษฎีพอร์ตฟอลิโอของ Markowitz สมมติฐานตลาดที่มีประสิทธิภาพ (Efficient market hypothesis) การ
ประเมินผลการดาเนินงานของพอร์ตฟอลิโอ ความเส่ียง และการสร้างพอร์ตฟอลิโอ
MF 541 หลกั ประกนั ภยั และกฎหมาย 3 (3-0-6)
(Principles of Insurance and Law)
ความหมายของการประกันภยั ความสาคญั ของการประกนั ภยั ท่ีมีต่อการพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมของ
ประเทศ ประเภทและลกั ษณะของการประกนั ภยั หลกั การประกนั ภยั กฎหมายและพระราชบญั ญตั ิที่เก่ียวขอ้ งกบั การ
ประกนั ภยั สถาบนั ที่เกี่ยวขอ้ งกบั การประกนั ภยั การประกนั สังคม การประยุกตใ์ ชห้ ลกั การประกนั ภยั และกฎหมาย
ประกนั ภยั ในการวเิ คราะห์กรณีตวั อยา่ ง
MF 542 การวเิ คราะห์ผลติ ภณั ฑ์ประกนั ชีวติ และประกนั วนิ าศภยั 3 (3-0-6)
(Life and General Insurance Product Analysis)
ความหมาย หลกั การ ประโยชน์ โครงสร้างตลาด การแข่งขนั กลไกราคา ความหลากหลายของผลิตภณั ฑ์
ลกั ษณะผลิตภณั ฑท์ ี่โดดเด่นของการประกนั ชีวติ หรือวนิ าศภยั
35
MF 543 คณิตศาสตร์ประกนั ภยั เพื่องานบริหาร 3 (3-0-6)
(Actuarial Mathematics)
บทบาทของคณิตศาสตร์ประกันภยั ในองค์กร ความหมาย หลกั การ ท่ีมา และการนาไปประยุกต์ใชข้ อง
ค่าเฉล่ียความถี่ ค่าเฉล่ียความรุนแรง ตน้ ทุนความเสียหาย อตั ราส่วนสินไหมทดแทน รายงานตามปี กรมธรรม์ รายงาน
ตามปี ท่ีเกิดเหตุ รายงานตามปี ปฏิทิน เงินสารองเบ้ียประกันภยั เงินสารองค่าสินไหมทดแทน ค่าสินไหมทดแทน
สมบูรณ์ เงินกองทุนตามความเสี่ยง มูลค่าปัจจุบนั ทางคณิตศาสตร์ประกนั ภยั ของผลิตภณั ฑป์ ระกนั ชีวติ แบบต่างๆ และ
เงินสารอง
MF 544 การจดั การสินทรัพย์และหนีส้ ิน 3 (3-0-6)
(Assets and Liabilities Management)
ความเสี่ยงการลงทุนธุรกิจประกนั ภยั ตวั แปรท่ีมีผลต่อความไหวของราคา เทคนิคการจดั การสินทรัพยแ์ ละ
หน้ีสินของธุรกิจประกนั ภยั การสร้างภูมิคุม้ กนั ใหก้ บั กลุ่มสินทรัพยก์ ารใชเ้ คร่ืองมือทางการเงินและอตั ราส่วนที่ใชใ้ น
การวเิ คราะห์เพ่อื การจดั การสินทรัพยแ์ ละหน้ีสินของธุรกิจประกนั ภยั
MF 545 นโยบายเชิงกลยทุ ธ์สาหรับบริษทั ประกนั ภัย 3 (3-0-6)
(Strategic Policy for Insurers)
กลยุทธ์ของบริษทั ประกนั ภยั ในการสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจของกิจการภายใตข้ อ้ จากดั ของกฎเกณฑข์ อง
ผูก้ ากบั ดูแล แนวคิด แนวทางปฏิบตั ิในเชิงเศรษฐศาสตร์และการเงิน หลกั การกากบั ดูแลกิจการ ระบบการควบคุม
ภายใน ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งการบริหารความเสี่ยงและผลตอบแทนที่มีผลต่อการเติบโตของบริษทั ประกนั ภยั
MF 588 ประเดน็ ปัจจุบันทางการเงนิ 3 (3-0-6)
(Current Issues in Finance)
ครอบคลมุ ประเด็นทางการเงิน โดยเนน้ การติดตามวเิ คราะห์และวจิ ารณ์ปรากฎการณ์ แนวคิดและแนวปฏิบตั ิ
ที่เกิดข้ึนในปัจจุบนั ในตลาดการเงินท้งั ในและต่างประเทศ โดยการเช่ือมโยงกบั ทฤษฎีทางการเงินเพื่อใหส้ ามารถทา
ความเขา้ ใจถึงพฒั นาการทางการเงินตา่ งๆในอนาคตได้
วทิ ยานิพนธ์และการศึกษาค้นคว้าอสิ ระ
MF 600 วทิ ยานพิ นธ์ 12 (0-0-36)
(Thesis)
นกั ศึกษาท่ีเลือกเรียนแผนการศึกษา ก แบบ ก 2 ตอ้ งจดั ทาวิทยานิพนธ์และสอบป้องกนั วิทยานิพนธ์ โดย
หวั ขอ้ วิทยานิพนธ์ตอ้ งอยใู่ นขอบเขตสาขาวิชาที่ตนศึกษา และไดร้ ับความเห็นชอบจากอาจารยท์ ี่ปรึกษา วิทยานิพนธ์
ฉบบั สมบูรณ์ตอ้ งไดร้ ับอนุมตั ิเห็นชอบจากคณะกรรมการสอบวทิ ยานิพนธท์ ่ีไดร้ ับการแต่งต้งั
36
MF 601 การศึกษาค้นคว้าอสิ ระ 3 (0-0-9)
(Independent Study)
นกั ศึกษาท่ีเลือกเรียนแผนการศึกษา ข ตอ้ งจดั ทารายงานการงานคน้ ควา้ อิสระในหวั ขอ้ ที่นกั ศึกษาสนใจ ซ่ึงมี
อาจารยท์ ่ีปรึกษากากบั ดูแล และตอ้ งไดร้ ับอนุมตั ิจากคณะกรรมการสอบท่ีไดร้ ับการแตง่ ต้งั
3.2 ชื่อ นามสกลุ ตาแหน่งและคณุ วฒุ ขิ องอาจารย์
3.2.1. อาจารย์ประจาหลกั สูตร
ลาดบั ตาแหน่งทาง ชื่อ – สกลุ คุณวฒุ ิ สาขาวชิ า สาเร็จการศึกษาจากสถาบัน ปี ทสี่ าเร็จ
วชิ าการ 2545
1 อาจารย์ ดร. พรี พงษ์ D.B.A. Management Nova Southeastern University, 2541
ฟศู ิริ Florida, USA
2540
M.B.A. Management Nova Southeastern University,
2006
Information System Florida, USA
1999
B.B.A. Marketing Florida Metropolitan University,
2538
Florida, USA
2002
2 ผชู้ ่วย ดร. วรรณรพี Ph.D. Finance Southern Illinois University at
ศาสตราจารย์ บานช่ืนวจิ ิตร Carbondale, USA 1995
1993
(การเงิน) M.B.A. Finance The University of Texas at 2548
2536
Arlington, USA 2531
บธ.บ. การธนาคารและการเงิน จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั
(เกียรตินิยมอนั ดบั สอง)
3 อาจารย์ ดร. ภษู ิต D.B.A Business Nova Southeastern University,
USA
วงศห์ ล่อสายชล
M.B.A. Business Administration University of Indianapolis, USA
B.S. Material Sceince Chulalongkorn UNiversity
Ceramis
4 ผชู้ ่วย ดร. กญั ช์ Ph.D. Business Administration Texas Tech University, USA
ศาสตราจารย์ อินทรโกเศศ M.B.A. Marketing สถาบนั บณั ฑิตบริหารธุรกิจ
(การตลาด) ศศินทร์
วศ.บ. วศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั
37
ลาดบั ตาแหน่งทาง ชื่อ – สกลุ คณุ วุฒิ สาขาวชิ า สาเร็จการศึกษาจากสถาบัน ปี ทส่ี าเร็จ
วชิ าการ
ดร. นภวรรณ
5 ผชู้ ่วย คณานุรักษ์ D.M. Business Management มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนดุสิต 2552
ศาสตราจารย์ M.B.A. Marketing University of New Haven, USA 2536
(บริหารธุรกิจ) ดร. นงนภสั บธ.บ. บญั ชี มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง 2531
แกว้ พลอย 2547
6 อาจารย์ D.B.A. Finance Swinburne University of
Technology, Australia 2537
7 อาจารย์ ดร. ธีรนุช พบ.ม. การบริหารการเงิน สถาบนั บณั ฑิตพฒั นบริหารศาสตร์ 2532
พศู กั ด์ิศรีกิจ วท.บ. เกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ 2553
Ph.D. Marketing The University of Manchester, the
UK. 2543
M.B.A. International Business Saint Mary’s University, Canada 2539
บธ.บ. การจดั การ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั
38
3.2.2. ผลงานทางวชิ าการ และภาระการสอนของอาจารย์ประจาหลกั สูตร
ลาดบั ตาแหน่งทาง ช่ือ – สกลุ ผลงานทางวชิ าการ ประสบการณ์และการ ภาระงานสอน
วชิ าการ ฝึ กอบรม ภาระงานสอนท่ี ทจ่ี ะมใี น
มอี ยู่แล้ว (คาบ หลกั สูตรนี้
1 อาจารย์ ดร. พรี พงษ์ ฟศู ิริ 1) อุไรรัตน์ พรสกุลไพศาล และพีรพงษ์ ฟูศิริ. 2557. “ความสัมพนั ธ์
ระหวา่ งความพงึ พอใจต่อผนู้ ากบั ทศั นคติของพนกั งาน SRC SOCKS.” ต่อสัปดาห์) (คาบต่อ
การประชุมทางวิชาการระดบั ชาติ สาขาบริหารธุรกิจและการบญั ชีคร้ัง สัปดาห์)
ท่ี 2 ณ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. 25-26 เมษายน 2557. หนา้ 87.
2) อรนลิน พานิชย์ และพีรพงษ์ ฟศู ิริ. 2557. “การศึกษาความสัมพนั ธ์ 66
ระหวา่ งปัจจยั ดา้ นประชากรศาสตร์กบั ความพึงพอใจในกาทางานของ
พนกั งาน กรณีศึกษา บริษทั กิฟฟารีน สกายไลน์ ยนู ิต้ี จากดั (สานกั งาน
ใหญ่).” การประชุมทางวิชาการระดบั ชาติ สาขาบริหารธุรกิจและการ
บญั ชีคร้ังที่ 2 ณ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. 25-26 เมษายน 2557. หนา้
96.
39
ลาดบั ตาแหน่งทาง ช่ือ – สกลุ ผลงานทางวชิ าการ ประสบการณ์และการ ภาระงานสอน
วชิ าการ ฝึ กอบรม ภาระงานสอนท่ี ทจี่ ะมใี น
3) อญั ชลี ธูปเกิด และพีรพงษ์ ฟูศิริ. 2557. “การประเมินศกั ยภาพของ มอี ยู่แล้ว (คาบ หลกั สูตรนี้
Authorized Distributor ในด้านความพร้อมสู่การเป็ น Cisco Value
Added Distributor.” การประชุมทางวิชาการระดับชาติ สาขา ต่อสัปดาห์) (คาบต่อ
บริหารธุรกิจและการบญั ชีคร้ังท่ี 2 ณ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์. 25- สัปดาห์)
26 เมษายน 2557. หนา้ 197.
4) คมสัน จนั ทร์แป้น และพีรพงษ์ ฟูศิริ. 2557. “ปัจจยั ดา้ นความพึง
พอใจในการทางานที่มีอิทธิพลต่อความผกู พนั ต่อองคก์ ร ของพนกั งาน
บริ ษัท อิออน ธนสินทรัพย์ (ไทยแลนด์) จากัด (มหาชน) พ้ืนท่ี
กรุ งเทพมหานคร.” การประชุมทางวิชาการระดับชาติ สาขา
บริหารธุรกิจและการบญั ชีคร้ังท่ี 2 ณ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. 25-
26 เมษายน 2557. หนา้ 116.
40
ลาดบั ตาแหน่งทาง ชื่อ – สกลุ ผลงานทางวชิ าการ ประสบการณ์และการ ภาระงานสอน
วชิ าการ ฝึ กอบรม ภาระงานสอนที่ ทจ่ี ะมใี น
มอี ยู่แล้ว (คาบ หลกั สูตรนี้
ต่อสัปดาห์) (คาบต่อ
สัปดาห์)
5) ประภสั รา ลิ้มธญั ลกั ษณ์ และพีรพงษ์ ฟศู ิริ. 2557. “การศึกษาความ
แตกต่างดา้ นความพึงพอใจในการทางานของพนักงาน BA ใน MT
และ GT ทวั่ ประเทศ บริษทั ลอรีอลั (ประเทศไทย) จากดั .” การประชุม
ทางวิชาการระดับชาติ สาขาบริหารธุรกิจและการบัญชีคร้ังที่ 2 ณ
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. 25-26 เมษายน 2557. หนา้ 186.
Wanrapee Banchuenvijit. 2014. “ Determinants of Capital
2 ผศ. ดร.วรรณรพี บานช่ืนวจิ ิตร Structure of Listed Companies in Thailand” Journal of Business,
Economics and Communications, Naresuan University
Volume9, Number 2, 18-26.
Wanrapee Banchuenvijit and Sunisa Choochuen. 2013. “Market
Efficiency of the Stock Exchange of Thailand.” UTCC Journal
33, 1: 68- 80.
41
ลาดบั ตาแหน่งทาง ชื่อ – สกลุ ผลงานทางวชิ าการ ประสบการณ์และการ ภาระงานสอน
วชิ าการ ฝึ กอบรม ภาระงานสอนท่ี ทจ่ี ะมใี น
Wanrapee Banchuenvijit and Yingrak Pariyanont. 2012. มอี ยู่แล้ว (คาบ หลกั สูตรนี้
“ Factors Affecting the Percentage Change in Stock Price of
Listed Companies on the Stock Exchange of Thailand in the ต่อสัปดาห์) (คาบต่อ
Health Sector.” UTCC Journal 32, 1: 15-28. สัปดาห์)
Wanrapee Banchuenvijit. 2013. “Determinants of International
3 อาจารย์ ดร. ภูษิต วงศห์ ลอ่ สายชล Reserves in Thailand” UTCC International Journal of Business
and Economics Volume 5, Number 2: 109-121.
THE EFFECT OF PERCEIVED VALUE, TECHNOLOGY ACCEPTANCE,
AND E- SERVICE QUALITY ON CUSTOMER SATISFACTION AND
SERVICE LOYALTY FOR INSTANT MESSAGE PROVIDERS BUSINESS
UTCC International Journal of Business and Economics
volume7,Number 2,2015 (Page 137-160)
ณัทธ์วิรินทร์ ทพั วนานต์ และ ภูษิต วงศ์หล่อสายชล, การศึกษาความ
สมั พนั ธ์ระหวา่ งความพึงพอใจในการใชบ้ ริการโรงแรมกบั ความภกั ดี
ของลูกคา้ โรงแรมบา้ นนนั ทสิริ จงั หวดั ระยอง, วารสารสืบเนื่องจาก
การประชุมวชิ าการระดบั ชาติ สาขาบริหารธุรกิจและการบญั ชีคร้ังท่ี 2
(25-26 เมษายน 2557) หนา้ 70
42
ลาดบั ตาแหน่งทาง ช่ือ – สกลุ ผลงานทางวชิ าการ ประสบการณ์และการ ภาระงานสอน
วชิ าการ ดร. กญั ช์ อินทรโกเศศ ฝึ กอบรม ภาระงานสอนที่ ทจี่ ะมใี น
ลวณั ธนชั เอกผาติสวสั ด์ิ และ ภษู ิต วงศห์ ลอ่ สายชล, ความสมั พนั ธ์ของ มอี ยู่แล้ว (คาบ หลกั สูตรนี้
4 พฤติกรรมผูบ้ ริโภคกับส่วนประสมการตลาดธุรกิจเส้ือผา้ ผ่านช่อง
ผชู้ ่วย ทางการจัดจาหน่ายแบบ หน้าร้านและออนไลน์ ในเขตพ้ืนท่ี ต่อสัปดาห์) (คาบต่อ
กรุงเทพมหานคร, รายงานสืบเน่ืองจากการประชุมทางวิชาการ สัปดาห์)
ศาสตราจารย์ ระดบั ชาติ สาขาบริหารธุรกิจและการบญั ชี คร้ังที่ 3 (23-24 พฤษภาคม
(การตลาด) 2558) หนา้ 1689-1699 66
1) สุธาสินี เป่ี ยมหนา้ ไม้ และกญั ช์ อินทรโกเศศ. 2557. “การศึกษาดา้ น
ความสมั พนั ธค์ วามพงึ พอใจของตวั แทนในการบริการสินไหมทดแทน
กบั คุณลกั ษณะตวั แทน บริษทั กรุงเทพประกนั ชีวิต จากดั (มหาชน)
สานกั งานใหญ่.” การประชุมทางวิชาการระดบั ชาติ สาขาบริหารธุรกิจ
และการบญั ชีคร้ังที่ 2 ณ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์. 25-26 เมษายน
2557. หนา้ 141.
43
ลาดบั ตาแหน่งทาง ชื่อ – สกลุ ผลงานทางวชิ าการ ประสบการณ์และการ ภาระงานสอน
วชิ าการ ฝึ กอบรม ภาระงานสอนที่ ทจ่ี ะมใี น
2) จิรดา ฝูงทองเจริญ และกญั ช์ อินทรโกเศศ. 2557. “การศึกษาการ มอี ยู่แล้ว (คาบ หลกั สูตรนี้
แ บ่ ง ก ลุ่ ม ป ร ะช า ก ร ด้า นคว า ม รู้ คว า มเ ข้า ใจใ นสิ ทธิ ป ระ โย ช น์ตาม
พระราชบัญญตั ิคุม้ ครองผูป้ ระสบภยั จากรถ พ.ศ. 2535 และท่ีแกไ้ ข ต่อสัปดาห์) (คาบต่อ
เพิ่มเติม กรณีศึกษา ประชากรในอาเภอเมือง จงั หวดั นครปฐม.” การ สัปดาห์)
ประชุมทางวชิ าการระดบั ชาติ สาขาบริหารธุรกิจและการบญั ชีคร้ังที่ 2
ณ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. 25-26 เมษายน 2557. หนา้ 142.
3) ปรารถนา พรธรรมรักษ์ และกญั ช์ อินทรโกเศศ. 2557. “การศึกษา
ความแตกต่างด้านพฤติกรรมการจัดการความเสี่ยงภยั ท่ีเกิดข้ึนแก่
ทรัพยส์ ินส่วนบุคคลหลงั วิกฤตน้าท่วม ปี 2554 ระหวา่ งประชาชนที่มี
ท่ีพกั อาศยั ถูกน้าท่วมกบั ประชาชนที่มีที่พกั อาศยั ไม่ถูกน้าท่วมในเขต
กรุ งเทพมหานคร.” การประชุมทางวิชาการระดับชาติ สาขา
บริหารธุรกิจและการบญั ชีคร้ังที่ 2 ณ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. 25-
26 เมษายน 2557. หนา้ 144.
44
ลาดบั ตาแหน่งทาง ช่ือ – สกลุ ผลงานทางวชิ าการ ประสบการณ์และการ ภาระงานสอน
วชิ าการ ฝึ กอบรม ภาระงานสอนที่ ทจี่ ะมใี น
4) ประพฒั น์ อานวย และกญั ช์ อินทรโกเศศ. 2557. “การศึกษาความ มอี ยู่แล้ว (คาบ หลกั สูตรนี้
แตกต่างดา้ นทศั นคติของผเู้ อาประกนั ภยั ต่อการจดั เก็บและแลกเปลี่ยน
ข้อมูลส่วนบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการประกันภัย ระหว่างผู้ที่ทา ต่อสัปดาห์) (คาบต่อ
ประกันภัยแลว้ และผูท้ ี่ยงั ไม่มีการทาประกันภยั .” การประชุมทาง สัปดาห์)
วิชาการระดับชาติ สาขาบริ หารธุรกิจและการบัญชีคร้ังท่ี 2 ณ
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. 25-26 เมษายน 2557. หนา้ 145.
5) ภคภรณ์ รอบคอบ และกัญช์ อินทรโกเศศ. 2557. “การศึกษา
ความสัมพนั ธ์ระหว่างทศั นคติดา้ นงานขายกบั ระดบั ความสาเร็จของ
ตวั แทนประกนั ชีวิต กรณีศึกษา บริษทั เมืองไทยประกันชีวิต จากดั
(มหาชน).” การประชุมทางวชิ าการระดบั ชาติ สาขาบริหารธุรกิจและ
การบญั ชีคร้ังที่ 2 ณ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. 25-26 เมษายน 2557.
หนา้ 146.
45
ลาดบั ตาแหน่งทาง ชื่อ – สกลุ ผลงานทางวชิ าการ ประสบการณ์และการ ภาระงานสอนท่ี ภาระงานสอน
วชิ าการ ดร.ธีรนุช พศู กั ด์ิศรีกิจ ฝึ กอบรม มอี ยู่แล้ว (คาบ ทจี่ ะมใี น
Pongsakornrungsilp, S. and Pusaksrikit, T. ( 2 0 1 1 ) “ Consuming ต่อสัปดาห์) หลกั สูตรนี้
5 ผชู้ ่วย Buddhism: The Pursuit of Happiness,” Advances in Consumer ผา่ นการฝึ กอบรม (คาบต่อ
ศาสตราจารย์ Research, Vol. 39, 374-378. 1.หลกั สูตรโปรแกรม 6 สัปดาห์)
Pongsakornrungsilp, S. and Pusaksrikit, T. ( 2 0 1 2 ) “ Beliefs and คอมพิวเตอร์ Advance (1)
Behaviors of Thai Consumers on Amulet Consumption,” มีนาคม และเมษายน 2553 6
Songklanakarin Journal of Social Sciences & Humanities, Vol. 18, 3 2.หลกั สูตรการพฒั นา
(July-September), 57-92. กสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจ
Pusaksrikit, T., Pongsakornrungsilp,S., Pongsakornrungsilp,P. (2013) พอเพียง 26-28
“The Development of the Mindful Consumption Process Through the พฤศจิกายน 2556
Sufficiency Economy,” Advances in Consumer Research, Vol. 41,
332-336.
Pusaksrikit, T. and Pongsakornrungsilp, S. ( 2014) “ Semiotics of
Superstition toward Government Lottery and Underground Lottery
Purchasing Behavior of Thai Consumers,” Veridian E-Journal, Vol. 7,
2 (May-August), 1348-1361.
46
ลาดบั ตาแหน่งทาง ช่ือ – สกลุ ผลงานทางวชิ าการ ประสบการณ์และการ ภาระงานสอน
วชิ าการ ฝึ กอบรม ภาระงานสอนที่ ทจี่ ะมใี น
ดร. นภวรรณ นภสร เอ้ืออารียจ์ ิต และนภวรรณ คณานุรักษ์. 2557. “การประเมิน มอี ยู่แล้ว (คาบ หลกั สูตรนี้
6 ผชู้ ่วย คณานุรักษ์ ความพึงพอใจของผูใ้ ชก้ ๊าซธรรมชาติ (NGV) ท่ีมีต่อสถานีบริการก๊าซ
ศาสตราจารย์ ธรรมชาติ ในเขตกรุงเทพมหานคร กรณีศึกษา บริษทั ปตท. จากดั .” ต่อสัปดาห์) (คาบต่อ
(บริหารธุรกิจ) การประชุมทางวชิ าการระดบั ชาติ สาขาบริหารธุรกิจและการบญั ชีคร้ัง สัปดาห์)
ที่ 2 ณ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. 25-26 เมษายน 2557. หนา้ 162.
พลเทพ รุจรดาวงศ์ และนภวรรณ คณานุรักษ์. 2557. “การศึกษาการ 66
ประเมินความพึงพอใจของผูใ้ ชบ้ ริการโทรศัพท์ เคล่ือนท่ีแบบราย
เดือนโดยใช้ปัจจัยส่วนประสมการตลาดสาหรับธุรกิจบริ การ
กรณีศึกษา บริษทั ทรู คอร์ปอเรชน่ั จากดั (มหาชน) หรือ ทรูมูฟ.” การ
ประชุมทางวชิ าการระดบั ชาติ สาขาบริหารธุรกิจและการบญั ชีคร้ังท่ี 2
ณ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. 25-26 เมษายน 2557. หนา้ 163.
อาชาน อจั ฉริยสุชา และนภวรรณ คณานุรักษ์. 2557. “การประเมิน
ความพึงพอใจของผูม้ ารับบริการรักษาที่มีต่อการบริการรักษาของอภิ
ชยางกูรสถานพยาบาล.” การประชุมทางวิชาการระดับชาติ สาขา
บริหารธุรกิจและการบญั ชีคร้ังที่ 2 ณ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. 25-
26 เมษายน 2557. หนา้ 187.
47
ลาดบั ตาแหน่งทาง ชื่อ – สกลุ ผลงานทางวชิ าการ ประสบการณ์และการ ภาระงานสอน
วชิ าการ ฝึ กอบรม ภาระงานสอนที่ ทจี่ ะมใี น
อกนิษฐ์ วชั รวิจิตร และนภวรรณ คณานุรักษ์. 2557. “การประเมิน มอี ยู่แล้ว (คาบ หลกั สูตรนี้
คุณภาพบริการของธนาคารกรุงเทพ จากดั (มหาชน) สาขาบางลาพู.”
การประชุมทางวิชาการระดบั ชาติ สาขาบริหารธุรกิจและการบญั ชีคร้ัง ต่อสัปดาห์) (คาบต่อ
ที่ 2 ณ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. 25-26 เมษายน 2557. หนา้ 189. สัปดาห์)
นภวรรณ คณานุรักษ์.(2556). “แนวคิดการวิจยั เชิงคุณภาพ แบบการ
วจิ ยั กรณีศึกษา” วารสารมกค ปี ท่ี 33 ฉบบั ท่ี 4 เดือนตลุ าคม – ธนั วาคม
2556
ภทั รวรรณ วระนันทน์ และ นภวรรณ คณานุรักษ์, การวิเคราะห์องค์
ประกอบคุณภาพการบริการสินเชื่อเคหะของธนาคารออมสิน สาขา
สานักพหลโยธิน, รายงานสืบเน่ืองจากการประชุมทางวิชาการ
ระดบั ชาติ สาขาบริหารธุรกิจและการบญั ชี คร้ังท่ี 3 (23-24 พฤษภาคม
2558) หนา้ 1741-1752
48