The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มคอ2 หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง 2558 W

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mod_address, 2020-06-22 02:08:58

มคอ2 หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง 2558 W

มคอ2 หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง 2558 W

Keywords: Curriculum

หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2555 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2558 เหตุผลประกอบ
ยกเลกิ
MI 514 ตราสารอนุพันธ์ 3 (3-0-6) -
ยกเลกิ
(Derivative Securities) -
ยกเลกิ
บทบาท กลไก แนวทางปฏิบตั ิของตลาดตราสาร - ยกเลกิ
- ยกเลกิ
อนุพันธ์ เคร่ืองมือทางการเงินที่จัดเป็นอนุพันธ์ทาง -

การเงิน ทฤษฎีและการประเมินมลู ค่าอนพุ นั ธท์ ่ีสาคญั

เชน่ สญั ญาสทิ ธิ์และสญั ญาซือ้ ขายลว่ งหนา้ ทางการเงิน

การใชก้ ลยทุ ธ์ตา่ งๆ ในการป้องกนั ความเส่ียง และการ

เก็งกาไร เพ่ือนาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการจัดการธุรกิจและ

การลงทนุ

MI 515 นโยบายเชิงกลยุทธส์ าหรับ 3 (3-0-6)

บริษัทประกันภยั

(Strategic Policy for Insurers)

กลยทุ ธ์ของบริษัทประกนั ภยั ในการสรา้ งมลู คา่

ทางเศรษฐกิจของกิจการ ภายใตข้ อ้ จากดั ของกฎเกณฑ์

ของผู้กากับดูแล แนวคิด แนวทางปฏิบัติ ในเชิง

เศรษฐศาสตรแ์ ละการเงิน หลกั การกากับดูแลกิจการ

ระบบการควบคุมภายใน ความสมั พันธ์ระหว่างการ

บริหารความเส่ียงและผลตอบแทนท่ีมผี ลต่อการเติบโต

ของบรษิ ัทประกนั ภยั

MI 516 ประเด็นปัจจุบันทาง 3 (3-0-6)

การประกันวนิ าศภยั

(Current Issues in Property and Casualty Insurance)

หัวข้อท่ีน่าสนใจและประเด็นปั จจุบัน

เกี่ยวกบั การประกนั วินาศภยั

MI 517 ประเดน็ ปัจจุบนั ทาง 3 (3-0-6)

การประกนั ชวี ิต

(Current Issues in Life Insurance)

หัวขอ้ ที่น่าสนใจและประเด็นปัจจุบนั เก่ียวกบั

การประกนั ชีวติ

MI 518 ประเด็นปัจจุบันทางการบริหาร 3 (3-0-6)

ความเส่ียง

(Current Issues in Risk Management)

หัวข้อที่น่าสนใจและประเด็นปั จจุบัน

เกี่ยวกบั การบรหิ ารความเสย่ี ง

55

หลักสตู รเดิม พ.ศ. 2555 หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2558 เหตุผลประกอบ
ยกเลกิ
MI 519 สมั มนาทางการบรหิ าร 3 (3-0-6) -
ความเส่ียงและการประกนั ภยั ยกเลกิ
- ยกเลกิ
(Seminar in Risk Management and Insurance)
ปรบั ออก
หัวข้อพิเศษการบริหารความเส่ียงและการ

ประกนั ภยั การอภิปรายผลการวิจยั ประเด็นตา่ งๆ การ

บริหารความเส่ียงและการประกันภัย หรือใช้

กรณีศกึ ษาของบริษัทชนั้ นาทางการบรหิ ารความเสี่ยง

และการประกนั ภยั มานาเสนอเพือ่ อภปิ รายรว่ มกนั

MI 597 การศึกษาคน้ ควา้ อสิ ระ 3 (0-0-9)

(Independent Study)

นักศึกษาที่เลือกเรียนแผนการศึกษา ข ต้อง

จัดทารายงานการคน้ ควา้ อิสระ ในหัวขอ้ ที่นักศึกษา

สนใจ ซ่ึงมีอาจารยท์ ่ีปรกึ ษากากบั ดแู ล และตอ้ งไดร้ บั

อนมุ ตั ิจากคณะกรรมการสอบท่ไี ดร้ บั การแตง่ ตงั้

MI 599 วิทยานิพนธ์ 12 (0-0-36)

(Thesis)

นกั ศึกษาที่เลือกเรียนแผนการศึกษา ก แบบ ก

2 ตอ้ งจัดทาวิทยานิพนธ์และสอบป้องกนั วิทยานิพนธ์

โดยหวั ขอ้ วิทยานิพนธต์ อ้ งอยใู่ นขอบเขตสาขาวิชาทีต่ น

ศึกษา และไดร้ บั ความเห็นชอบจากอาจารยท์ ่ีปรกึ ษา

วิทยานิพนธฉ์ บบั สมบรู ณต์ อ้ งไดร้ บั อนมุ ตั ิเห็นชอบจาก

คณะกรรมการสอบวทิ ยานิพนธท์ ี่ไดร้ บั การแตง่ ตงั้

(10) กลุ่มวิชาการบรหิ ารธุรกจิ เกษตร

56

หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2555 หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2558 เหตุผลประกอบ
ยกเลกิ
ML 501 การจดั การธุรกิจการเกษตร 3 (3-0-6) -
อยา่ งย่งั ยนื ยกเลกิ
-
(Sustainable Agribusiness Management)

หลักการและกรอบแนวคิดพืน้ ฐานทางการ

จัดการธุรกิจการเกษตร บทบาทและภาพรวมของ

ธุรกิจเกษตร โครงสรา้ งของระบบและกระบวนการ

จั ด ก า ร ง า น ท า ง ธุ ร กิ จ เ ก ษ ต ร ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย แ ล ะ

ตา่ งประเทศ การจดั การองคก์ รและพฒั นาผนู้ าภายใน

องคก์ ร การกาหนดกลยุทธ์ แผนการดาเนินงานและ

งบประมาณ การตดั สนิ ใจดาเนินงานทางธุรกิจเกษตร

การจดั การทางดา้ นบคุ ลากร จรรยาบรรณและความ

รับผิดชอบต่อสังคมความเส่ียงที่เก่ียวข้องกับการ

ดาเนนิ งานธรุ กิจเกษตร

ML 502 การจัดการทางการบัญชแี ละ 3 (3-0-6)

การเงนิ ของธุรกิจเกษตร

(Agribusiness Accounting and Financial Management)

บทบาทของการบญั ชี และการเงินในการจดั การ

ธุรกิจการเกษตร การจัดทาและวิเคราะหง์ บดุล งบ

รายได-้ รายจ่าย และงบกระแสเงินสดในธุรกิจเกษตร

การวิเคราะหแ์ ละประเมนิ ตน้ ทนุ ในการดาเนนิ งาน และ

การผลิต การวิเคราะหผ์ ลการดาเนินงานทางการเงิน

ต้นทุนของเงินทุน ผลตอบแทนและความเสี่ยงทาง

การเงินในธุรกิจเกษตร ตลาดซื้อขายสินค้าทาง

การเกษตรลว่ งหนา้

57

หลักสตู รเดิม พ.ศ. 2555 หลกั สูตรปรับปรุง พ.ศ. 2558 เหตุผลประกอบ
ยกเลกิ
ML 503 การจัดการนวัตกรรม 3 (3-0-6) -
ยกเลกิ
ธุรกจิ เกษตร -
ยกเลกิ
(Agribusiness Innovation Management) -

ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ท ฤ ษ ฎี น วัต ก ร ร ม แ ล ะ ก า ร

จดั การนวตั กรรมทางธุรกิจเกษตร โดยเนน้ ความสาคญั

และองค์ประกอบของการจัดการนวัตกรรมในธุรกิจ

เกษตร วงจรชีวิตของนวตั กรรม การพฒั นานวตั กรรม

โดยเน้นทางดา้ นนวัตกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับการสรา้ ง

ออกแบบ และพัฒนาสินค้าและบริการใหม่ทาง

การเกษตร นวัตกรรมกระบวนการที่เนน้ ในเรื่องของ

กระบวนการผลิตจนถึงขนั้ ตอนการจดั จาหน่ายสินคา้

และบริการ การตลาดเพ่ือธุรกิจเกษตร และนวตั กรรม

องคก์ รที่เนน้ การเพ่ิมขีดความสามารถในการจัดการ

และบรหิ ารธรุ กิจเกษตร

ML 504 การจดั การธุรกจิ เกษตร 3 (3-0-6)

ระหว่างประเทศ

(International Agribusiness Management)

รู ป แ บ บ ก า ร ค้า สิ น ค้า เ ก ษ ต ร แ ล ะ ผ ลิ ต ภัณ ฑ์

อุตสาหกรรมทางการเกษตรระหว่างประเทศ แนว

ทางการนาเขา้ -ส่งออกสินคา้ และผลิตภัณฑท์ างการ

เกษตร นโยบายและมาตรการทางการคา้ ของประเทศผู้

ส่งออกและนาเขา้ ขอ้ ตกลงและมาตรฐานสินคา้ ทาง

การเกษตรและอุตสาหกรรมระหว่างประเทศ กรอบ

ขอ้ ตกลงทางดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม

ML 505 การวเิ คราะหแ์ ละประยุกต์ 3 (3-0-6)

เชิงปริมาณในการจดั การธุรกิจเกษตร

(Quantitative Analysis and Applications

for Agribusiness Management)

การวิเคราะหแ์ ละประยุกตว์ ิธีการเชิงปริมาณ

สาหรับการตัดสินใจดาเนินงานทางธุรกิจเกษตร

แบบจาลองเชิงเสน้ แบบจาลองการขนสง่ แบบจาลอง

การจดั ลาดบั แถวคอย แบบจาลอง การตดั สนิ ใจภายใต้

สภาวะการตา่ งๆ การพยากรณแ์ บบจาลองอนกุ รมเวลา

แบบจาลองดา้ นการจดั การสนิ คา้ คงคลงั

58

หลักสูตรเดมิ พ.ศ. 2555 หลกั สูตรปรับปรุง พ.ศ. 2558 เหตุผลประกอบ
ยกเลกิ
ML 506 การจัดการห่วงโซอ่ ุปทาน 3 (3-0-6) -
ยกเลกิ
และโลจิสติกสใ์ นธุรกจิ เกษตร -
ยกเลกิ
(Supply Chain and Logistics Management -

in Agribusiness) 59

แนวคิดเก่ียวกบั คิดเก่ียวกับการบริหารจัดการ

ห่วงโซ่อุปทานในธุรกิจอุตสาหกรรมการเกษตร โดย

พิจารณาส่วนที่เก่ียวข้องตั้งแต่กระบวนการต้นน้า

จนกระท่งั ถงึ กระบวนปลายนา้ จนกระท่งั สง่ มอบสินคา้

หรือผลิตภัณฑท์ างการเกษตรใหแ้ ก่ลูกคา้ รวมไปถึง

หลกั การบริหารจดั การทางโลจิสติกสข์ องธุรกิจเกษตร

เพ่ือให้สามารถประยุกต์ใช้แนวคิด เทคนิค และ

เครอ่ื งมอื ในการจดั การที่เหมาะสมสาหรบั ธรุ กิจเกษตร

ML 507 การจัดการระบบสารสนเทศ 3 (3-0-6)

ทางธุรกจิ เกษตร

(Management of Information Systems in Agribusiness)

แนวทางในการพัฒนาองคก์ รและระบบการ

จัดการการดาเนินงานทางธุรกิจเกษตรโดยการใช้

ประโยชนข์ องระบบสารสนเทศ เนอื้ หาจะมงุ่ เนน้ ใหเ้ กิด

ความเข้าใจในหลักการแนวคิดและคุณลักษณะท่ี

สาคญั ของระบบสารสนเทศเพื่อนาไปประยุกตใ์ ช้ใน

การจัดการกระบวนการทางธุรกิจและสนบั สนนุ ระบบ

การตดั สนิ ใจ การอภิปรายและฝึกวิเคราะหก์ รณีศกึ ษา

ขององคก์ รธุรกิจเกษตรท่ีมีการนาระบบสารสนเทศมา

ใชใ้ นการดาเนนิ งาน

ML 508 เศรษฐศาสตรธ์ ุรกจิ เกษตร 3 (3-0-6)

(Agribusiness Economics)

ความเขา้ ใจขอ้ มลู เชิงเศรษฐศาสตรม์ หภาคและ

พลวตั ของระบบเศรษฐกิจ บทบาทของนโยบายภาครฐั

ท่ีมีอิทธิพลต่อโครงสร้างเศรษฐกิจ กระทบของการ

เปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจโลกและภูมิภาคต่อเศรษฐกิจ

ของประเทศ การนาทฤษฎี กรอบแนวคดิ และเครอื่ งมอื

ทางเศรษฐศาสตร์ไปใช้สาหรับการจัดการและการ

ประยุกต์ทางธุรกิจเกษตร รวมไปถึงตัวแปรทาง

เศรษฐศาสตรม์ หภาค ที่ส่งผลกระทบต่อภาคธุรกิจ

เกษตร

หลกั สตู รเดมิ พ.ศ. 2555 หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2558 เหตุผลประกอบ
ยกเลกิ
ML 509 การวิจยั ทางธุรกิจเกษตร 3 (3-0-6) -
ยกเลกิ
(Research in Agribusiness) -

ระเบียบวิธีดาเนินการวิจัยทางธุรกิจ เพื่อ

นาไปใช้เป็นพืน้ ฐานในการวางแผนการพัฒนาธุรกิจ

ระบบบริหารจัดการภายในของธุรกิจเกษตร การ

วางแผนและจดั การทางการตลาด การวางแผนและการ

จดั การทางการเงินและการลงทนุ การวางแผนและการ

จัดการด้านการผลิต การวางแผนและจัดการด้าน

บุคลากร โดยนักศึกษาตอ้ งมีโครงงานวิจัยอย่างนอ้ ย

หนงึ่ โครงการ

ML 510 ประเด็นปัจจุบันด้าน 3 (3-0-6)

การจดั การธุรกิจเกษตร

(Current Issues in Agribusiness Management)

ประเด็นปัญหา หรือ หัวข้อที่น่าสนใจในการ

บริหารธุรกิจการเกษตรท่ีเกิดขึ้นในปั จจุบัน การ

วิเคราะหแ์ ละสงั เคราะหใ์ นประเด็นท่ีเกิดขนึ้ ทงั้ ในดา้ น

การตลาด การเงิน การบริหารทรัพยากรมนุษย์ การ

จัดการการดาเนินงาน และการจัดการธุรกิจเกษตร

ระหวา่ งประเทศ การศึกษาจะเนน้ กรณีศกึ ษา และการ

รบั ฟังการบรรยายพิเศษจากวทิ ยากรผทู้ รงคณุ วฒุ ิ และ

ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางเกี่ยวกับธุรกิจเกษตร เพื่อให้

ผูเ้ รียนไดม้ ีความรูค้ วามเขา้ ใจในการบริหารธุรกิจเชิง

บรู ณาการ

60

หลกั สตู รเดมิ พ.ศ. 2555 หลกั สูตรปรับปรุง พ.ศ. 2558 เหตุผลประกอบ
ยกเลกิ
ML 511 สมั มนาทางการจดั การ 3 (3-0-6) -
ยกเลกิ
ธุรกจิ เกษตร - ยกเลกิ
-
(Seminar in Agribusiness Management)

การนาเสนอและอภิปรายหวั ขอ้ ท่ีน่าสนใจทาง

ธรุ กิจเกษตร การนาเสนอผลงานวจิ ยั ท่จี ะเป็นประโยชน์

ต่อการดาเนินงานทางธุรกิจ เพื่อใหน้ กั ศึกษามีความ

เข้าใจสภาพแวดล้อมและปั จจัยสาคัญท่ีจะต้อง

พิ จ า ร ณ า ใ น ก า ร ด า เ นิ น ง า น ข อ ง ธุ ร กิ จ เ ก ษ ต ร ใ น

สภาวการณข์ องการแข่งขนั ในรายวิชาจะมีการรบั ฟัง

การบรรยายจากวิทยากรผทู้ รงคณุ วฒุ ิภายนอกรวมไป

ถึงนกั ธุรกิจทางการเกษตรท่ีประสบความสาเร็จ รวม

ไปถึงประสบการณจ์ ากการดงู าน และฟังบรรยายนอก

สถานที่ เพ่ือให้นักศึกษาสามารถนาความรู้ไป

ประยกุ ตใ์ ชไ้ ดม้ ากย่งิ ขนึ้

ML 598 การศกึ ษาคน้ ควา้ อิสระ 3 (0-0-9)

(Independent Study)

นักศึกษาท่ีเลือกเรียนแผนการศึกษา ข ต้อง

จัดทารายงานการคน้ ควา้ อิสระ ในหัวขอ้ ที่นักศึกษา

สนใจ ซ่ึงมีอาจารยท์ ่ีปรึกษากากบั ดแู ล และตอ้ งไดร้ บั

อนมุ ตั ิจากคณะกรรมการสอบที่ไดร้ บั การแตง่ ตงั้

ML 599 วทิ ยานิพนธ์ 12 (0-0-36)

(Thesis)

นกั ศึกษาท่ีเลือกเรียนแผนการศกึ ษา ก แบบ ก

2 ตอ้ งจดั ทาวิทยานิพนธแ์ ละสอบป้องกนั วิทยานิพนธ์

โดยหวั ขอ้ วทิ ยานพิ นธต์ อ้ งอยใู่ นขอบเขตสาขาวชิ าทต่ี น

ศึกษา และไดร้ บั ความเห็นชอบจากอาจารยท์ ่ีปรกึ ษา

วิทยานิพนธฉ์ บบั สมบรู ณต์ อ้ งไดร้ บั อนมุ ตั เิ ห็นชอบจาก

คณะกรรมการสอบวทิ ยานพิ นธท์ ไี่ ดร้ บั การแตง่ ตงั้

61

หลกั สูตรเดมิ พ.ศ. 2555 หลกั สูตรปรับปรุง พ.ศ. 2558 เหตุผลประกอบ
ปรบั ออก
(11) กลุ่มวชิ าการจัดการธุรกิจบันเทงิ - ยกเลกิ
-
MH 501 การสรา้ งสรรคง์ านบันเทิง 3 (3-0-6) ยกเลกิ
-
(Entertainment Business Creation)

การสรา้ งสรรคง์ านบนั เทิงเพ่ือสนบั สนุนธุรกิจ

การโฆษณาและการประชาสมั พนั ธ์ วิธีการจดั การและ

การบริหารงานสาธารณบนั เทิงตา่ งๆ อาทิ การจดั การ

ประชุม การจัดนิทรรศการ งานเลีย้ งสงั สรรค์ กิจกรรม

รณรงคใ์ นธุรกิจอุตสาหกรรม การแสดงวิพิธทศั นาใน

วาระพิธีสาคัญ คอนเสิร์ต กิจกรรมนนั ทนาการ การ

แข่งขันกีฬา การประกวดประเภทต่างๆ รวมทัง้ การ

แถลงข่าว และการจดั งานธุรกิจบนั เทิงแขนงตา่ งๆ เพื่อ

ส่งเสริมการขายหรือขยายภาพลกั ษณข์ องผลิตภณั ฑ์

รูปแบบการนาเสนอ การจดั เตรยี มเนือ้ หาของกิจกรรม

ก ล ยุ ท ธ์ ใ น ก า ร ท า ใ ห้ก ลุ่ ม เ ป้ า ห ม า ย มี ส่ ว น ร่ ว ม ใ น

กิจกรรม และการประเมินผล

MH 502 การควบคุมผลประกอบการ 3 (3-0-6)
ในอุตสาหกรรมบนั เทิง

(Performance Control in Entertainment Industry)

โครงสรา้ งของตน้ ทนุ กาไรของการประกอบการ

อุตสาหกรรมบันเทิง การคิดคานวณจุดคุม้ ทุน อตั รา

ผลตอบแทนทางการลงทุน และผลตอบแทนในดา้ น

ต่างๆ อาทิ เงินลงทนุ การจัดงาน การทาสญั ญา และ

กาไรท่ีไดจ้ ากลขิ สิทธิ์ เป็นตน้ โดยใชเ้ ทคนิคการบรหิ าร

และการเงินสมัยใหม่ การควบคุมผลประกอบการ

เพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลกับผู้มีส่วน

เกี่ยวขอ้ งกบั ธรุ กิจ

62

หลกั สตู รเดิม พ.ศ. 2555 หลกั สูตรปรับปรุง พ.ศ. 2558 เหตุผลประกอบ
ยกเลกิ
MH 503 การจดั โครงการธุรกจิ บันเทิง 3 (3-0-6) -
ยกเลกิ
(Entertainment Project Management) -
ยกเลกิ
การบริหารจัดการระบบและโครงสร้างงาน -

บันเทิง กระบวนการผลิต ขอบเขต หน้าที่ ความ

รบั ผิดชอบของฝ่ ายผลิต บทบาทของผอู้ านวยการแสดง

และผูจ้ ัดการผลิตในองคก์ รท่ีประกอบกิจการดา้ นการ

แสดงประเภทต่างๆ โดยมุ่งเนน้ การนาแนวคิด ทฤษฎี

และกรณีศกึ ษาดา้ นการจดั การ การตลาด การโฆษณา

และการประชาสัมพันธ์ของงานธุรกิจบันเทิงผ่านสื่อ

ตา่ งๆ

MH 504 กฎหมายสาหรบั ธุรกจิ บันเทิง 3 (3-0-6)

(Law Related to Entertainment Business)

ประเภท จุดประสงค์ และวิธีการออกกฎหมาย

การบังคับใช้และการตีความในกฎหมาย หลกั และวิธี

ปฏิบตั ิที่บญั ญตั ิไวใ้ นกฎหมายเก่ียวกบั งานธุรกิจบนั เทิง

อาทิ กฎมายคมุ้ ครองวรรณกรรมและสิทธิของนกั แสดง

กฎหมายแรงงาน สญั ญาสาคัญทางธุรกิจ กฎหมาย

เก่ียวกับลิขสิทธิ์และสิทธิบัตรในประเทศและระหว่าง

ประเทศ กฎหมายเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจและการ

โฆษณา กฎหมายส่ือสารโทรคมนาคม กฎหมายภาษี

อากร กฎหมายอ่ืนๆ ที่เกี่ยวขอ้ งในวงการธุรกิจบนั เทิง

และส่ือสารมวลชน รวมถึงกรณีศึกษาประเด็นทาง

กฎหมายและจรยิ ธรรม และกรณีศกึ ษา

MH 511 สัมมนาสุนทรยี ศิลป์ 3 (3-0-6)

(Seminar in Aesthetics)

สัมมนาเก่ียวกับการวิจักษณ์และการวิจารณ์

คุณค่างานศิลปะบันเทิง โดยใช้ทฤษฎีทางศิลปะและ

สุนทรียศาสตร์ การวิเคราะห์แนวโน้มทางศิลปะ

ผูบ้ ริโภคกล่มุ เป้าหมาย การจัดการและการผลิตงาน

ธุรกิจบนั เทิง โดยใชก้ รณีศกึ ษาจากสอื่ บนั เทงิ ทงั้ ในอดีต

และรว่ มสมยั

63

หลกั สตู รเดิม พ.ศ. 2555 หลกั สูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2558 เหตุผลประกอบ
ยกเลกิ
MH 512 การสร้างภาพลักษณแ์ ละการวาง 3 (3-0-6) -
ยกเลกิ
ตาแหน่งธุรกจิ บันเทิงในรูปแบบตา่ งๆ -
ยกเลกิ
(Image Creation and Positioning in - ยกเลกิ
-
Entertainment Business)

หลกั การและกลยทุ ธใ์ นการสรา้ งบคุ ลกิ ภาพและ

ภาพลกั ษณ์ เพ่ือสรา้ งความประทบั ใจและจุดเด่นใน

การดาเนินธุรกิจ การวางตาแหน่งทั้งของตัวบุคคล

องค์กรและผลิตภัณฑ์ การรักษาและพัฒนาให้

สอดคลอ้ งกับภาวะตลาด และการเปล่ียนแปลงทาง

สงั คม เพ่ือประโยชนส์ งู สดุ ในการประกอบธุรกิจบนั เทงิ

MH 513 สมั มนาความเป็ นผูน้ า 3 (3-0-6)

ทางธุรกิจบันเทิง

(Seminar in Leadership of Entertainment Business)

สมั มนาการสรา้ งภาวะผนู้ าในธุรกิจบนั เทิง การ

บริหารจดั การตนเอง การบริหารองคก์ ร การจดั องคก์ ร

รูปแบบตา่ งๆ ในการบรหิ ารงานวฒั นธรรม การพดู ในที่

ประชุม การโนม้ นา้ ว การเจรจาต่อรอง การตัดสินใจ

เลอื กใชข้ อ้ มลู การจดั การความเปลย่ี นแปลงและความ

ขดั แยง้ ในองคก์ ร การบริหารความเส่ียง การแสวงหา

โอกาสและ พนั ธมิตรทางธุรกิจ การบริหารคน การฝึก

ทกั ษะแกป้ ัญหาจากกรณีศกึ ษา

MH 514 สมั มนาเศรษฐศาสตร์ 3 (3-0-6)

วัฒนธรรมรว่ มสมยั

(Seminar in Contemporary Cultural Economics)

สัมมนากรณีศึกษาเก่ียวกับความสาเร็จและ

ความลม้ เหลวของการจดั การธรุ กิจบนั เทิงในสงั คมรว่ ม

สมยั โดยใชม้ ติ ิทางเศรษฐศาสตรว์ ฒั นธรรม

MH 515 นวัตกรรมทางศิลปะ 3 (3-0-6)

(Artistic Innovation)

แนวคิด คณุ ลกั ษณะ ปรชั ญา สนุ ทรียภาพของ

ศลิ ปะประเภทตา่ งๆ เพอ่ื ประยกุ ตใ์ ชใ้ นงานธรุ กิจบนั เทิง

ทงั้ ในดา้ นเนือ้ หา รูปแบบ และวิธีการนาเสนอ ทงั้ ในมิติ

ของการเสพ การสรา้ ง และการพฒั นาผชู้ ม

64

หลกั สตู รเดมิ พ.ศ. 2555 หลกั สูตรปรับปรุง พ.ศ. 2558 เหตุผลประกอบ
ยกเลกิ
MH 516 สมั มนาการวางแผนและ 3 (3-0-6) -
ยกเลกิ
กระบวนการการจดั การธุรกิจบันเทิง -
ยกเลกิ
(Planning and Seminar in Entertainment Business) -

สัมมนาการวางแผน และกระบวนการการ

จดั การ การสรา้ งทกั ษะองคค์ วามรูเ้ ทคโนโลยีใหม่ และ

การออกแบบ แนวทางในการสร้างทักษะของการ

วิเคราะห์ การกาหนดนโยบาย การจดั ทานโยบาย การ

ประเมินทางเลือกทางนโยบาย การนานโยบายไป

ปฏิบัติ และการประเมินผล ทฤษฎีการเจรจาต่อรอง

โดยศกึ ษาแนวทางจากกรณีศกึ ษา

MH 517 การสอื่ สารการตลาดแบบ 3 (3-0-6)

บูรณาการของธุรกจิ บันเทงิ

(Integrated Marketing Communication

in Entertainment Business)

ทฤษฎกี ารตลาดดา้ นการโฆษณาประชาสมั พนั ธ์

และการบูรณาการการสื่อสารการตลาดครบวงจรท่ี

เก่ียวข้องกับธุรกิจ การวิเคราะห์และการวางแผน

การตลาดแบบครบวงจร ในรูปแบบตา่ งๆ ทงั้ สอ่ื สงิ่ พมิ พ์

วทิ ยุ โทรทศั น์ สอ่ื บคุ คล และอนิ เทอรเ์ นต็ รวมถงึ วธิ ีการ

นาเสนอ ขอ้ มูลข่าวสารทางบันเทิงที่เหมาะสมและมี

ประสทิ ธิภาพ

MH 518 จรยิ ธรรม คุณธรรมและ 3 (3-0-6)

ภาวะผู้นาในธุรกิจบันเทงิ

(Ethics and Leadership for Entertainment Business)

แนวคิด ทฤษฎี คุณลักษณะผูน้ าและบทบาท

ของบริหารในวงการบนั เทิง การพฒั นาทกั ษะดา้ นการ

วิเคราะหแ์ ละการแกป้ ัญหา หนา้ ท่ีและความรบั ผิดชอบ

ตอ่ สงั คมท่ีแตกตา่ ง ปัจจยั ท่ีมีอิทธิพลตอ่ พฤติกรรมของ

ผู้นา การจูงใจ การบริหารความขัดแย้ง ทักษะการ

นาเสนองาน การพัฒนาตนเอง และการพัฒนาผูอ้ ื่น

ภาวะผนู้ าเชิงรุก การเสรมิ สรา้ งบคุ ลกิ ภาพและคณุ ธรรม

และจ ริย ธรรม ของ ผู้นาที่จ าเ ป็ นต่อคว ามสา เร็จของ

ความเป็นผนู้ าในสงั คมทงั้ ในปัจจุบนั และอนาคต และ

กรณีศกึ ษา

65

หลกั สตู รเดิม พ.ศ. 2555 หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2558 เหตุผลประกอบ
ยกเลกิ
MH 598 การศึกษาค้นควา้ อสิ ระ 3 (0-0-9) -
ยกเลกิ
(Independent Study) -
ปรบั ออก
นักศึกษาท่ีเลือกเรียนแผนการศึกษา ข ต้อง - ยกเลกิ
-
จัดทารายงานการค้นควา้ อิสระ ในหัวขอ้ ท่ีนักศึกษา

สนใจ ซงึ่ มีอาจารยท์ ี่ปรกึ ษากากบั ดแู ล และตอ้ งไดร้ บั

อนมุ ตั จิ ากคณะกรรมการสอบท่ีไดร้ บั การแตง่ ตงั้

MH 599 วิทยานิพนธ์ 12 (0-0-36)
(Thesis)

นกั ศกึ ษาทเ่ี ลอื กเรยี นแผนการศกึ ษา ก แบบ ก 2

ต้องจัดทาวิทยานิพนธ์และสอบป้องกันวิทยานิพนธ์

โดยหวั ขอ้ วทิ ยานิพนธต์ อ้ งอยใู่ นขอบเขตสาขาวชิ าทต่ี น

ศึกษา และไดร้ บั ความเห็นชอบจากอาจารยท์ ี่ปรึกษา

วิทยานิพนธฉ์ บบั สมบรู ณต์ อ้ งไดร้ บั อนมุ ตั ิเห็นชอบจาก

คณะกรรมการสอบวทิ ยานพิ นธท์ ไ่ี ดร้ บั การแตง่ ตงั้

(12) กลุม่ วชิ าภาวะผู้นา

MB 581 ทักษะภาวะผู้นาในองคก์ าร 3 (3-0-6)

(Leadership Skill in Organizations)

แนวคิด ปรชั ญา จิตวิญญาณและเปา้ หมายของ

ความเป็นผู้นา ฝึกทักษะการจัดการตัวเอง การคิด

วิเคราะหแ์ สวงหาโอกาสและกาหนดทิศทางทางธุรกิจ

ฝึกพัฒนาทางดา้ นจิตสานึก แรงจูงใจ ทัศนคติ และ

บุคลิกภาพของความเป็นผู้นา ฝึกทักษะการจัดสรร

ทรัพยากรในองคก์ าร กระบวนการตัดสินใจและการ

เจรจาในการบริหารจดั การและขยายธุรกิจ เพื่อนาไปสู่

ความไดเ้ ปรยี บเชิงแขง่ ขนั และความสาเรจ็ ขององคก์ าร

66

หลักสตู รเดมิ พ.ศ. 2555 หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2558 เหตุผลประกอบ
MB 582 มุมมองและทักษะการบรหิ าร 3 (3-0-6) ยกเลกิ
-
ความเสย่ี งและ การเปลีย่ นแปลง ยกเลกิ
-
(Risk and Change Management Skills)

มมุ มอง แนวคิดและทกั ษะของการจดั การความ
เส่ียงและธรรมาภิบาลในองคก์ รธรุ กิจ สาหรบั ผนู้ า ฝ่ าย
บริหาร คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและ
คณะกรรมการตรวจสอบ ความสมั พนั ธด์ า้ นความเสยี่ ง
ชองหน่วยงานต่างๆในองค์กร ทฤษฎีและรู ป
แบบจาลองกลยุทธ์การบริหารจัดการความเสี่ยง
หลกั การความเสีย่ ง ทงั้ การประเมินและการตอบสนอง
ความเส่ียง รวมถึงการจดั การองคก์ รเพื่อรองรบั ระบบ
การจดั การความเสีย่ งท่วั ทงั้ องคก์ ร การวิเคราะหค์ วาม
เส่ียงเชิงปริมาณและคณุ ภาพ ประเภทของความเสีย่ ง
ในธุรกิจ อาทิ ความเสี่ยงดา้ นตลาด ดา้ นเครดิต และ
ปฏิบัติการ ตลอดจนกรอบการทางานที่เก่ียวข้อง
รวมทงั้ ศึกษาแนวคิดกระบวนกลยุทธ์การจัดการการ
เปล่ียนแปลง ซงึ่ เป็นผลจากการเปลยี่ นแปลงทงั้ ภายใน
และภายนอกองคก์ ร หรือท่ีมีผลมาจากกระบวนการ
บรหิ ารความเสยี่ ง
MB 583 การจดั การการสื่อสารเชิงกลยทุ ธ์ 3 (3-0-6)

(Strategic Communication Management)

ทฤษฎีจิตวิทยาดา้ นการส่ือสาร กระบวนการ
จัดการ พฤติกรรมบุคคลและกลยุทธ์ท่ีเกี่ยวกับการ
ส่ือสาร ตลอดจนการนาเสนองานและการพูดต่อ
สาธารณะ ทงั้ กบั ภายในและภายนอกองคก์ าร เพื่อให้
บรรลผุ ลสาเร็จตามเป้าหมายขององคก์ ารในการสรา้ ง
ความเขา้ ใจ ภาพลกั ษณท์ ี่ดีขององคก์ าร รวมทงั้ การ
สรา้ งศกั ยภาพการแข่งขันจากการจัดการการส่ือสาร
เชิงกลยุทธ์ โดยเนน้ กระบวนการเรียนการสอนแบบ
สมั มนาและประยุกตก์ ารแกป้ ัญหาทางธุรกิจและการ
ตัดสินใจทางธุรกิจ จากกระบวนการและกลยุทธ์การ
สื่อสาร รวมทั้งเน้นประเด็นปัจจุบันและอนาคตท่ีมี
ความสาคญั ทางธุรกิจเกี่ยวกบั การจัดการและกลยทุ ธ์
การสอื่ สาร

67

หลักสตู รเดิม พ.ศ. 2555 หลกั สูตรปรับปรุง พ.ศ. 2558 เหตุผลประกอบ
ยกเลกิ
MB 584 ทกั ษะการเจรจาต่อรองขั้นสงู 3 (3-0-6) -
ยกเลกิ
(Advanced Negotiation Skill ) -
ยกเลกิ
แนวคิดและทฤษฎีดา้ นจิตวิทยา กระบวนการ -

จดั การ และกลยทุ ธท์ ีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั ความขดั แยง้ และการ

เจรจาต่อรองภายในและภายนอกองค์การ เรียนรู้

อิทธิพลของความแตกตา่ งในปัจจยั ท่ีเก่ียวกบั ลกั ษณะ

ส่วนบคุ คล วฒั นธรรม และสภาพแวดลอ้ มภายในการ

ดาเนินธุรกิจ ฝึกทกั ษะการเจรจา โดยเนน้ กระบวนการ

เรียนการสอนแบบสมั มนาและประยกุ ตก์ ารแกป้ ัญหา

ทางธุรกิจและการตัดสินใจทางธุรกิจ รวมทั้งเน้น

ประเดน็ ปัจจบุ นั และอนาคตทม่ี ีความสาคญั ทางธรุ กิจ

MB 585 นวัตกรรมการจัดการ 3 (3-0-6)

(Management Innovation)

การพฒั นาการเป็นผปู้ ระกอบการหรอื ผบู้ ริหารที่

มีศกั ยภาพ วิเคราะหแ์ ละประเมินการเปลยี่ นแปลงของ

สภาพแวดลอ้ มของตลาดและอตุ สาหกรรม การบรหิ าร

จดั การภายใตท้ รพั ยากรท่มี ีอยอู่ ยา่ งจากดั ผา่ นความคดิ

สรา้ งสรรคแ์ ละนวัตกรรมท่ีเหมาะสมกับธุรกิจ การ

วิเคราะห์กลยุทธ์การแข่งขันและการพัฒนาอย่าง

ต่อเน่ือง รวมทงั้ แนวคิดการสรา้ งมูลค่าเพิ่มอนั นาไปสู่

การพฒั นาอยา่ งย่งั ยนื

MB 586 การศกึ ษาการแขง่ ขนั ระดบั โลก 3(3-0-6)

(Global Competitive Study)

แนวคิดและแนวทางในการสรา้ งสรรคน์ โยบาย

ธุรกิจท่ีมีการทาธุรกรรมระหว่างประเทศ โดยเฉพาะท่ี

เกี่ยวขอ้ งกบั ประชาคมอาเซียน และสามารถพฒั นากล

ยทุ ธน์ าไปปฏิบตั ิเพื่อใหธ้ ุรกิจขององคก์ รบรรลผุ ลสาเรจ็

ตามเป้าหมาย รวมทั้งแนวคิดของบริษัทข้ามชาติ

โดยรวมความรูเ้ ก่ียวกับเศรษฐศาสตรก์ ารเมืองของ

ประเทศที่เข้าไปทาธุรกิจ และการเปล่ียนแปลง

เคล่ือนไหวของเศรษฐกิจโลกที่มีผลต่อศกั ยภาพการ

แข่งขันขององคก์ ร อันนาไปส่กู ารพฒั นากลยุทธ์การ

แขง่ ขนั ทางธรุ กิจระหวา่ งประเทศ

68

หลกั สตู รเดิม พ.ศ. 2555 หลกั สูตรปรับปรุง พ.ศ. 2558 เหตุผลประกอบ
ยกเลกิ
MB 587 ทกั ษะการสรา้ งเครือขา่ ยและ 3 (3-0-6) -
ยกเลกิ
ความรว่ มมอื ทางธุรกิจ -
ยกเลกิ
(Business Network and Synergy Establishment Skill) -

แนวคดิ การสรา้ งเครอื ขา่ ยและความรว่ มระหวา่ ง

ผูบ้ ริหาร กรณีศึกษาและปัญหาของธุรกิจท่ีเกี่ยวกับ

การจดั การเครอื ข่าย การพฒั นาทกั ษะการเป็นผบู้ รหิ าร

อาชีพและการสรา้ งเครอื ข่ายผบู้ รหิ ารเพ่ือความรว่ มมือ

ทางธุรกิจ โดยเสวนาแลกเปล่ียนความคิดเห็นและ

ประสบการณ์ รวมทงั้ ฟังบรรยายจากวิทยากรผมู้ ีความ

ชานาญในธุรกิจเฉพาะดา้ น

MB 588 สมั มนาการจัดการภาวะผู้นา 3 (3-0-6)

(Seminar on Business Conceptual Based Management)

การสมั มนาแลกเปล่ียนความคิดเห็นในหวั ขอ้ ท่ี

เกี่ยวกบั การบรหิ ารจดั การธุรกิจเชิงกลยทุ ธด์ ว้ ยแนวคิด

การเป็นผูบ้ ริหารมืออาชีพ และศึกษากรณีศึกษาและ

ปัญหาของธุรกิจที่เก่ียวกบั การจดั การธุรกิจเชิงกลยุทธ์

เสวนาและฟังบรรยายจากวทิ ยากรผมู้ ีความชานาญใน

ธุรกิจเฉพาะดา้ น และจัดทารายงานประเมินศกั ยภาพ

การเป็นผบู้ รหิ ารระดบั สงู

MB 589 ทักษะการทางานเป็ นทีมงาน 3 (3-0-6)

(Teamwork Management Skill )

แนวคิดและแนวทางการจดั การทรพั ยากรมนษุ ย์

ในการทางานอย่างเป็นระบบและเป็นทีม การสรา้ ง

แรงจูงใจและผลตอบแทนท่ีเหมาะสม การสรา้ งมนษุ ย

สมั พนั ธ์ที่ดีภายในทีมงานและผทู้ ี่เกี่ยวขอ้ งเพ่ือใหเ้ กิด

ประสิทธิภาพสงู สดุ ในการทางาน การบริหารโครงการ

โดยการทางานเป็นทีม รวมถึงการสรา้ งวฒั นธรรมการ

ทางานท่ีดีภายใตค้ วามแตกต่างทางวฒั นธรรมใหบ้ รรลุ

เปา้ หมายขององคก์ าร

69

หลกั สตู รเดมิ พ.ศ. 2555 หลกั สูตรปรับปรุง พ.ศ. 2558 เหตุผลประกอบ
ยกเลกิ
MB 590 การวิจยั ทางธุรกจิ สาหรับ 3 (3-0-6) - ยกเลกิ
-
ผปู้ ระกอบการ ยกเลกิ
-
(Business Research for Entrepreneur)

ระเบียบวิธีการดาเนินงานวิจัยทางธุรกิจ การ

วิเคราะห์ปัญหาและการกาหนดหัวขอ้ งานวิจัย การ

ประยุกต์ใช้สถิติในงานวิจัย การวิเคราะห์และการ

นาเสนอขอ้ มูล จรรยาบรรณของการวิจยั การวิจัยเชิง

คณุ ภาพที่เหมาะสมกบั ธุรกิจขนาดเล็กและขนาดกลาง

การนาผลจากการวิจัยเพ่ือใช้เป็ นพื้นฐานในการ

วางแผน กาหนดกลยทุ ธแ์ ละการตดั สนิ ใจทางธุรกิจ

MB 591 การบรหิ ารการเติบโต 3 (3-0-6)

ทางธุรกจิ ผ่านการควบรวมกจิ การ

(Managing Business Growth through

Mergers and Acquisitions)

แนวคิดทกั ษะการวิเคราะหว์ ิกฤติเครดิตท่วั โลก

บทบาทในการปรบั โครงสรา้ งทางการเงิน และการควบ

รวมกิจการ การออกแบบกระบวนการปรบั โครงสรา้ ง

ขององคก์ ร การจดั การเพื่อใหเ้ กิด ความรว่ มมือรว่ มใจ

การวดั ผลการดาเนินงานของธุรกิจ และการตรวจสอบ

เทคนิคต่างๆ ในการขายหุน้ การแยกกิจการ และการ

ขัดแย้งทางผลประโยชน์ที่อาจเกิดขึน้ ระหว่างผู้ถือ

หุน้ ส่วนใหญ่และผถู้ ือหุน้ ส่วนนอ้ ย โครงสรา้ งทางการ

เงินในการซือ้ กิจการ การวิเคราะหโ์ ครงสรา้ งของกองทนุ

บรษิ ัทเอกชน การขยายกิจการโดยการควบรวมกิจการ

ปัญหาภายในขององคก์ ร การออกแบบกระบวนการ

ทางธรุ กิจแบบบรู ณาการ

MB 598 การศกึ ษาคน้ คว้าอิสระ 3 (0-0-9)

(Independent Study)

นักศึกษาท่ีเลือกเรียนแผนการศึกษา ข ต้อง

จัดทารายงานการค้นควา้ อิสระ ในหัวขอ้ ท่ีนกั ศึกษา

สนใจ ซ่ึงมีอาจารยท์ ่ีปรกึ ษากากบั ดูแล และตอ้ งไดร้ บั

อนมุ ตั ิจากคณะกรรมการสอบท่ไี ดร้ บั การแตง่ ตงั้

70

หลกั สตู รเดิม พ.ศ. 2555 หลกั สูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2558 เหตุผลประกอบ
ยกเลกิ
MB 599 วิทยานิพนธ์ 12 (0-0-36) -
ปรบั ออก
(Thesis) - ยกเลกิ
-
นกั ศกึ ษาทีเ่ ลอื กเรยี นแผนการศกึ ษา ก แบบ ก 2 ยกเลกิ
-
ตอ้ งจัดทาวิทยานิพนธ์และสอบป้องกันวิทยานิพนธ์

โดยหวั ขอ้ วทิ ยานิพนธต์ อ้ งอยใู่ นขอบเขตสาขาวิชาที่ตน

ศึกษา และไดร้ บั ความเห็นชอบจากอาจารยท์ ี่ปรึกษา

วิทยานิพนธฉ์ บบั สมบรู ณต์ อ้ งไดร้ บั อนมุ ตั ิเห็นชอบจาก

คณะกรรมการสอบวิทยานพิ นธท์ ่ไี ดร้ บั การแตง่ ตงั้

(13) กลุ่มวิชาธุรกจิ พลังงาน

ME 501 ภาพอนาคตพลังงานโลก 3 (3-0-6)

(Global Energy Outlook)

ภาพของสินคา้ พลงั งานของโลก ทิศทางตลาด

สินคา้ พลงั งาน นา้ มนั ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน พลงั งาน

ไฟฟ้า องคป์ ระกอบสาคญั ที่กาหนดทิศทางและราคา

สนิ คา้ พลงั งาน ผผู้ ลิต ผบู้ รโิ ภค องคก์ ร กลมุ่ ทนุ ต่างๆ

กระบวนการผลิตนา้ มนั ก๊าซธรรมชาติ การซือ้ การขาย

ตลาด การขนสง่ โครงการดา้ นพลงั งาน การปลอ่ ยก๊าซ

คาร์บอนไดออกไซด์ ผลกระทบต่อภาวะโลกร้อน

ประเด็นท่ีเกี่ยวข้องระหว่าง สังคม วัฒนธรรม และ

ธุรกิจพลงั งาน

ME 502 พลงั งานและโซ่มูลค่าพลงั งาน 3 (3-0-6)

(Energy and Energy Value Chain)

บ ท บ า ท ข อ ง พ ลั ง ง า น ต่ อ ร ะ บ บ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ

โครงสรา้ งตลาดพลงั งาน ชนิดของตลาด ความเสย่ี ง อปุ

สงค์ อปุ ทาน ของสนิ คา้ พลงั งาน พืน้ เดิม และพลงั งาน

ชนิดใหม่ แนวคิดเกี่ยวกับโซ่คุณค่า โซ่มูลค่าในธุรกิจ

นา้ มัน ก๊าซ และ พลงั งานไฟฟ้า การใช้พลงั งานและ

ตน้ ทุนพลงั งานในภาคอุตสาหกรรม การวิเคราะหก์ าร

ทดแทนระหวา่ งสนิ คา้ พลงั งานชนิดตา่ งๆ เศรษฐศาสตร์

พลงั งานทางเลือก เทคโนโลยีและเศรษฐศาสตรส์ าหรบั

การผลติ พลงั งานและการขนสง่

71

หลักสตู รเดมิ พ.ศ. 2555 หลกั สูตรปรับปรุง พ.ศ. 2558 เหตุผลประกอบ
ยกเลกิ
ME 503 การจดั การโครงการพลังงาน 3 (3-0-6) -
ยกเลกิ
(Energy Project Management) -
ยกเลกิ
หลกั การเบือ้ งตน้ และทฤษฏีพืน้ ฐานการจดั การ -

โครงการ วัฏจักรอายุ การเริ่มโครงการ การออกแบบ

การดาเนินการ การควบคุม การจบโครงการ ความรู้

เกี่ยวกบั กรอบโครงการ ระยะเวลาดาเนนิ การ คา่ ใชจ้ า่ ย

คณุ ภาพ ทรพั ยากรบุคคล การส่ือสาร ความเส่ียง การ

ส่ังซือ้ โครงงานย่อยการดาเนินการจากต้นจนจบ

โครงการ ระเบียบวธิ ีท่ีช่วยในการสร้างการตดั สินใจกับ

การประเมินหลายสว่ น

ME 504 ตลาดการคา้ พลังงาน 3 (3-0-6)

(Energy Trading)

ตลาดพลังงาน สินค้าพลังงาน บทบาทด้าน

การคา้ การซือ้ การขายและการทานาย การจดั การและ

กิจกรรมท่ีเกี่ยวขอ้ ง ความหมายการคา้ ตลาดลว่ งหนา้

หลกั การและผูเ้ กี่ยวขอ้ งในการการคา้ ตลาดล่วงหนา้

การคานวณค่าการตลาด ตลาดแลกเปลี่ยนพลงั งาน

ความเหมอื นและแตกตา่ งของตลาดลว่ งหนา้ การคา้ ใน

ตลาดปัจจุบนั การป้องกันความเสียหายในสินคา้ และ

ทรพั ยส์ นิ โดยการใชต้ ลาดลว่ งหนา้ ชนิดการซือ้ ขาย มาร์

จิน โบรกเกอร์ ลกั ษณะสญั ญา แบบจาลอง การเปลย่ี น

เงื่อนไขราคาเนอ่ื งจากสภาวะตลาด

ME 511 การคา้ พลงั งานและการบริหาร 3 ( 3-0-6)

ความเส่ยี ง

(Energy Trading and Risk Management)

ตลาดพลงั งาน บทบาทดา้ นการคา้ การขายและ

การทานาย ดชั นีพลงั งาน อตุ สาหกรรมสินคา้ พลงั งาน

การจัดการและกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง การจัดการดา้ น

การตลาดสนิ คา้ หลายชนิด การบริหารความเส่ยี ง การ

ซือ้ ขายลว่ งหนา้ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งการคา้ และธุรกิจ

อ่ืน กรอบการคา้ การควบคมุ

72

หลักสูตรเดมิ พ.ศ. 2555 หลกั สูตรปรับปรุง พ.ศ. 2558 เหตุผลประกอบ
ยกเลกิ
ME 512 โลจิสติกสแ์ ละโซอ่ ุปทานใน 3 (3-0-6) -
ยกเลกิ
ธุรกจิ พลังงาน -
ยกเลกิ
(Logistic and Supply Chain in Energy Business) -

โลจิสติกส์ และ ระบบโซ่อุปทาน เช่นการ

ปฏิบตั ิการ ระบบสารสนเทศ การจดั ซือ้ การขนสง่ และ

การตลาด รวมถึงเทคนิคท่ีสาคญั ท่ีเกี่ยวกบั การจัดหา

การเก็บ การบริหารวัตถุดิบและสินค้าคงคลัง และ

ความสมั พันธ์ของผูผ้ ลิตและผูบ้ ริโภคในอุปทาน โดย

เน้นกรณีศึกษาท่ีเก่ียวกับธุรกิจพลังงาน เช่น ธุรกิจ

นา้ มนั ก๊าซ และ การผลิตไฟฟ้าทงั้ ระบบพืน้ ฐาน และ

ระบบพลงั งานทางเลอื ก กรนี โลจิสติกส์

ME 513 เทคโนโลยแี ละพลังงานสะอาด 3 (3-0-6)

(Technology and Clean Energy)

ปั จ จัย ผ ลัก ดัน ใ ห้เ กิ ด ก า ร ด า เ นิ น ธุ ร กิ จ แ บ บ

กิจกรรมแบบสะอาด ธุรกิจแบบดงั้ เดิมและธุรกิจแบบ

สะอาด สินทรัพย์สะอาด การกาหนดราคาและ

เศรษฐศาสตร์ การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ

พลังงานทดแทน น้ามันและการเปล่ียนแปลง

สิ่งแวดลอ้ ม กระบวนการผลิต การกาหนดคุณภาพ

เชือ้ เพลิง นโยบายและภาษี พลงั งานและยานพาหนะ

เชือ้ เพลงิ ชนดิ ใหม่

ME 514 เศรษฐศาสตรย์ ่งั ยนื 3 (3-0-6)

(Sustainable Economics)

หลกั การการพฒั นาอย่างย่งั ยืน ความทา้ ทาย

ด้านธุรกิจจากการเปล่ียนแปลงของภูมิอากาศโลก

เศรษฐกิจทส่ี ง่ ผลกระทบตอ่ ส่งิ แวดลอ้ มต่า บทบาทของ

เทคโนโลยี การใชพ้ ลงั งานอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพพลงั งาน

ทด แ ทน ธุ รกิ จ ภา ย ใต้พฤ ติก รรม กา รบริโภคท่ี

เปลี่ยนแปลง และเคร่ืองมือทางเศรษฐศาสตร์เพ่ือ

สง่ิ แวดลอ้ ม

73

หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2555 หลกั สูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2558 เหตุผลประกอบ
ยกเลกิ
ME 515 หัวขอ้ คัดสรรในธุรกจิ พลังงาน 3 (3-0-6) -
ยกเลกิ
(Selected Topic in Energy Business) - ยกเลกิ
- ยกเลกิ
ประเด็นปัญหา หรือหัวข้อท่ีน่าสนใจในธุรกิจ -

พลงั งานหรอื ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั เรอ่ื งพลงั งานในปัจจบุ นั การ

วิเคราะห์ประเด็นท่ีเกิดขึน้ แนวทางการแก้ไข โดย

พิจารณาในดา้ นต่างๆเพ่ือความสมบูรณ์ เช่น กรอบ

นโยบายของสงั คมโลก นโยบายแห่งรฐั การเงิน การ

จดั การ วิศวกรรม ความเสย่ี ง ผลกระทบ

ME 516 สัมมนาธุรกจิ พลังงาน 3 (3-0-6)

(Seminar in Energy Business)

ก า ร สัม ม น า แ ล ะ แ ล ก เ ป ลี่ ย น ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์

เก่ียวกบั ปัญหาทางดา้ นพลงั งาน ธุรกิจพลงั งาน ทศิ ทาง

ผลกระทบ การดาเนินการ แนวทางแกไ้ ข ในหัวขอ้ ท่ี

กาลงั เป็นทสี่ นใจในโลกปัจจบุ นั

ME 598 การศกึ ษาคน้ คว้าอสิ ระ 3 (0-0-9)

(Independent Study)

นักศึกษาที่เลือกเรียนแผนการศึกษา ข ต้อง

จัดทารายงานการค้นควา้ อิสระ ในหัวขอ้ ที่นักศึกษา

สนใจ ซง่ึ มีอาจารยท์ ่ีปรกึ ษากากบั ดแู ล และตอ้ งไดร้ บั

อนมุ ตั จิ ากคณะกรรมการสอบท่ไี ดร้ บั การแตง่ ตงั้

ME 599 วิทยานิพนธ์ 12 (0-0-36)

(Thesis)

นกั ศกึ ษาทเี่ ลอื กเรยี นแผนการศกึ ษา ก แบบ ก 2

ต้องจัดทาวิทยานิพนธ์และสอบป้องกันวิทยานิพนธ์

โดยหวั ขอ้ วทิ ยานิพนธต์ อ้ งอยใู่ นขอบเขตสาขาวชิ าทตี่ น

ศึกษา และไดร้ บั ความเห็นชอบจากอาจารยท์ ่ีปรึกษา

วิทยานิพนธฉ์ บบั สมบรู ณต์ อ้ งไดร้ บั อนมุ ตั ิเห็นชอบจาก

คณะกรรมการสอบวิทยานพิ นธท์ ี่ไดร้ บั การแตง่ ตงั้

74

ภาคผนวก ง

------- - - - -

(~1LU1)

lFi1t.1J3-l 'Vl1~'VI t11i!l'Vl'eln1'lfi'1 'Vlt1

;I '6 2. 2. /2557

..i I ct. ..., ..., ~
LLr;l.IJ j;l.IJ Fl w~n'l'l3-l n1'l'W Gl.IU1'VI~ n~ r;l'lLL~~3-11 r;l'l_!1Un1'at'I nti1
L'l'el.IJ

.'Vlamo.1..nii'Vl1'lfi'lfl~3-l'Vl11TW-tir;1 (CEO MBA)

~1l'U-J'V11':JV1u1it11'Wmnh~"l!2-1 ii I II ij2-1~
., q
f'lf-:iVi 6/2557 (306) Li'.l'eliS''WqMnfVi 12 n'Wti1ti'W 2557

'fl'W~~1iXf"1 ru~ulV11 rn1nr.i LLr;l-:i ~-:i f"1ru~n112-1n11~r?J.J 'W1V1in ~ (;11LL~ ~2-11(;l1~1'Wn11~ m~1 'Viin ~ (;11
qq 'll dS 'll

u1V11rn1nr.i2-1V11uruan(;l (CEO MBA)
q

L'fln"l!'W'rl.M. 2546 LLrlL"lJLoWI2-JL~2-J I ~\ILLr;l"\l~\1'°1ru~n1rnm1~r?J.J'W1'Vlin~(;lnL~~

(iuuuVi 2) 'rl.M. 2550

2-J1(;11~1'Wn11~n'1~1 'Vlin~(;l1'1J1'Vl11fi1n'"l2-l'Vl1Uruan(;l (CEO MBA) ~\lij11tl'W12-J{;]'f)1i.H"1
cl.ti " q

tl".Q ..::::al .Q.Q.Q,I '1'.i=ii th~fi1'Wm'12-J n11
1. M1~(;111r.i11mmmnt11(;1 'rl'rlr?J.J'WLMn112-1
nn2-1m1
ff" ff" n112-1m1
m'12-Jn11
2. ~W. 'f)')"J!') L(;l1~1'W'W'Vl nn2-1m1
m'12-Jn11
3. 1'fl\IM1~(;111r.i11u "11.'Vl'fl\I~ m'd-:ifif nn2-1m1

4. 1'fl\IM1~(;111r.i11u "11.2-l'W(;l1' 'L~f'l~m'Wfn,; .m12-1m1 (eJ1oifuruan(;l)
q
m'12-Jn11
5. 1'fl\IM1~(;111r.i11u "11.u1n2-1M 1~2-11
nn2-1mrn~~L~"ll1'Wn11
6. 1'fl\IM1~(;111'"l11tl' "11.~Q(.;Q1')".Q1 Q,I Q,I tr q
"l!mr?J.J'W
cl.ti

7. eJ•1buM1~(;111r.i11u "11.fi'W'dnru LL~\l~'dnru

"q

8. 'W1t1u1~~1'W ~'WU1~L~1:

... ... ...

9. '°1t1J'IJ"1'°1t1J~1J1'Vl11fi1n'"l
q

. .9.IO CV Q. Q CV .Q.
10. eJ'fl1'W'd um 1'Vl~n~ (;111J1'V11rnrnr.i 2-1V111J ru'Yl (;]
q

(CEO MBA)

1/2

- - - - - - - - --- - - - - - ---- --

'i"' 0 g,4°",:
i.i;t!.ln1'Vl1.li;t.111'i~'VIU1'VI ~-:!'\.!

1. ~'°l 1J'ru111-:i~in ~ (;] J'L~~'el~ rl ~'el-:! n'l.Jl.J 1(;]J'~1'\J'Vl1-:i';)"lf 1n1 J'bb~:: Ln ru sy]ii 1 (;] J'~1'\J
~~ ~

~in~ i;JJ'"ll'fl-:!~1i!n-:11uriru::m1iim1'"1ru::mrn mm11'el ~ii~rn~n (~ n'fl.)
~q

iJ iJ iJ I
~-:iiJ. ~-:ILL~1'uV1 13 numuu vu'1. 2557 LU'\J~'l.!LU

II

if-:i ru 1'uV1 2 r:/- ~~fll~muu ~.fl\. 2557

212


Click to View FlipBook Version