The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มคอ2 หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง 2558 W

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mod_address, 2020-06-22 02:08:58

มคอ2 หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง 2558 W

มคอ2 หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง 2558 W

Keywords: Curriculum

ลาดบั ตาแหน่งทาง ช่ือ – สกลุ ผลงานทางวชิ าการ ประสบการณ์และการ ภาระงานสอน
วชิ าการ ฝึ กอบรม ภาระงานสอนที่ ทจี่ ะมใี น
ดร. นงนภสั สิทธิวฒั น์ โชคเจริญชยั และนงนภสั แกว้ พลอย. 2557. “การแบ่งกลุ่ม มอี ยู่แล้ว (คาบ หลกั สูตรนี้
7 อาจารย์ แกว้ พลอย หลกั ทรัพยท์ ่ีให้ผลตอบแทนเงินปันผลสูง.” การประชุมทางวิชาการ
ร ะ ดั บ ช า ติ ส า ข า บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ แ ล ะ ก า ร บั ญ ชี ค ร้ั ง ที่ 2 ณ ต่อสัปดาห์) (คาบต่อ
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. 25-26 เมษายน 2557. หนา้ 158. สัปดาห์)
ธนาภรณ์ สุนทร และ นงนภัส แก้วพลอย (2558), "การศึกษา
ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งอตั ราส่วนทางการเงินกบั อตั ราผลตอบแทนของ 66
ตลาดหลกั ทรัพยแ์ ห่งประเทศไทยในกลุ่มธุรกิจแฟช่นั ", รายงานสืบ
เน่ืองจากการประชุมทางวชิ าการระดบั ชาติ สาขาบริหารธุรกิจและการ
บญั ชี คร้ังท่ี 3 กรุงเทพ (23-24 พฤษภาคม 2558), หนา้ 2379-2388
อมรรัตน์ ธรรมกร และ นงนภสั แกว้ พลอย “การจาแนกความแตกตา่ ง
ของอตั ราผลตอบแทน ความเสี่ยง และผลการดาเนินงานระหว่างการ
ลงทุนในกองทุนรวมตราสารทุน (Equity Fund) และการลงทุนใน
กองทุนรวมหุน้ ระยะยาว (Long – Term Equity Fund : LTF)” , รายงาน
สืบเน่ืองจากการประชุมวิชาการระดบั ชาติ สาขาบริหารธุรกิจและการ
บญั ชีคร้ังท่ี 3(23-24 พฤษภาคม 2558)หนา้ 332-340

49

ลาดบั ตาแหน่งทาง ช่ือ – สกลุ ผลงานทางวชิ าการ ประสบการณ์และการ ภาระงานสอน
วชิ าการ ฝึ กอบรม ภาระงานสอนท่ี ทจ่ี ะมใี น
ชนาพร พิพฒั น์รัตนถาวรและ นงนภสั แกว้ พลอย “ปัจจยั อตั ราส่วน มอี ยู่แล้ว (คาบ หลกั สูตรนี้
ทางการเงินที่มีผลต่ออัตราผลตอบแทนหลักทรัพย์กลุ่มของใช้ใน
ครัวเรือนและสานกั งานที่จดทะเบียนในตลาดหลกั ทรัพยแ์ ห่งประเทศ ต่อสัปดาห์) (คาบต่อ
ไทย”,รายงานสืบเน่ืองจากการประชุมวิชาการระดับชาติ สาขา สัปดาห์)
บริหารธุรกิจและการบญั ชีคร้ังที่ 3(23-24 พฤษภาคม 2558)หนา้ 341-
351

50

4. องค์ประกอบเกย่ี วกบั ประสบการณ์ภาคสนาม (การฝึ กงาน หรือ สหกจิ ศึกษา)
ไม่มี

5. ข้อกาหนดเกย่ี วกบั การทาโครงงานหรืองานวจิ ยั
ข้อกาหนดในการจัดทาวิทยานิพนธ์หรือรายงานการศึกษาคน้ ควา้ อิสระ ให้เป็ นไปตามขอ้ กาหนดของ

คณะกรรมการบณั ฑิตศึกษาประจาหลกั สูตรภายใตก้ รอบขอ้ กาหนดตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ และ
ระเบียบมหาวทิ ยาลยั หอการคา้ ไทย วา่ ดว้ ยการศึกษาในระดบั บณั ฑิตศึกษา พ.ศ.2553 (ภาคผนวก ก)
5.1 คาอธิบายโดยย่อ

1. วทิ ยานิพนธ์ (สาหรับแผน ก) เป็ นการศึกษาประเดน็ ปัญหาทางดา้ นบริหารธุรกิจดว้ ยการใชก้ ระบวนการ
แสวงหาความรู้ดว้ ยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ตามความสนใจ/ความถนดั ของนกั ศึกษา โดยไดร้ ับอนุมตั ิ
จากหลักสูตร ฯ ภายใต้การดูแลให้คาปรึกษาของอาจารยท์ ี่ปรึกษา เมื่อดาเนินการเรียบร้อยตาม
กระบวนการ ให้เขา้ รับการสอบป้องกนั งานวิจยั ของตนเองโดยกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ที่หลกั สูตร
แตง่ ต้งั

2. การคน้ ควา้ อิสระ (สาหรับแผน ข) การคน้ ควา้ อิสระตามความถนัดหรือความสนใจดา้ นบริหารธุรกิจ
โดยการนากระบวนการวจิ ยั ทางธุรกิจมาประยกุ ตใ์ ช้ นกั ศึกษาตอ้ งเสนอโครงร่างการศึกษา (Proposal)
ต่อหลกั สูตรเพื่ออนุมตั ิให้ศึกษา และนาเสนอผลการวิจัยแก่อาจารยท์ ี่ปรึกษาหรือคณะกรรมการที่
หลกั สูตรแต่งต้งั

5.2 มาตรฐานผลการเรียนรู้
มาตรฐานผลการเรียนรู้ (รายละเอียดหนา้ 52)

5.3 ช่วงเวลา
1. วทิ ยานิพนธ์ ภาคตน้ และภาคปลาย ปี การศึกษาที่ 2
2. การศึกษาคน้ ควา้ อิสระ ภาคปลาย ปี การศึกษาท่ี 2

5.4 จานวนหน่วยกติ
1. วทิ ยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
2. การศึกษาคน้ ควา้ อิสระ 3 หน่วยกิต

5.5 การเตรียมการ
นกั ศึกษาจะตอ้ งลงทะเบียนเรียนวิชาพ้ืนฐานทางดา้ นการวิจยั ในกลุ่มวิชาที่ตนเองศึกษา และให้นกั ศึกษา
กาหนดหัวขอ้ การศึกษา เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการพิจารณากลนั่ กรองหัวขอ้ และรับการจดั สรรอาจารย์
ที่ปรึกษาประจาเลม่ นกั ศึกษาตอ้ งศึกษาในรายละเอียดเกี่ยวกบั หวั ขอ้ การวจิ ยั กบั อาจารยท์ ี่ปรึกษาประจาเล่ม

5.6 กระบวนการประเมนิ ผล
1. วทิ ยานิพนธ์ ไดร้ ับสญั ลกั ษณ์ S เมื่อสอบผ่านการสอบป้องกนั เล่มรายงานฉบบั สมบูรณ์ และสัญลกั ษณ์
U หากสอบไม่ผา่ นการสอบป้องกนั เลม่ รายงานฉบบั สมบูรณ์
2. การศึกษาคน้ ควา้ อิสระ เมื่อนกั ศึกษาทาการศึกษาเรียบเรียงรายงานฉบบั สมบูรณ์ นกั ศึกษาตอ้ งสอบทวน
ความรู้เพื่อป้องกนั งานที่ศึกษามากบั คณะกรรมการสอบท่ีไดร้ ับการแต่งต้งั โดยมีระบบการให้เกรด 7
ระดบั คือ A, B+, B, C+, C, D+, D และ F

51

หมวดที่ 4 ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอน และการประเมนิ ผล

1. การพฒั นาคณุ ลกั ษณะพเิ ศษของนกั ศึกษา

คณุ ลกั ษณะพเิ ศษ กลยุทธ์หรือกจิ กรรมของนกั ศึกษา

เครือข่าย กระตุ้นให้นักศึกษาเขา้ ฟังสัมมนาท่ีจัดโดยองค์กรธุรกิจและสนับสนุนให้

สามารถสร้างเครือข่ายทางธุรกิจและ นกั ศึกษาเขา้ ร่วมประชุมและสมั มนาทางวชิ าการ เพ่อื ใหน้ กั ศึกษาสามารถสร้าง

ทางการวิจยั ไดภ้ ายใตส้ ภาพแวดลอ้ ม เครือข่ายระหวา่ งกนั ไดเ้ ป็ นอยา่ งดี

ทางธุรกิจและทางวิชาการท่ีมีการ

เปล่ียนแปลงท่ีรวดเร็ว

ความรู้และประสบการณ์ จดั ระบบการเรียนการสอนโดยเนน้ ท้งั การพฒั นาองคค์ วามรู้ที่ไดร้ ับจากการทา

มี ค วามรู้ ค วามสามาร ถแ ละนา กรณีศึกษาและจากประสบการณ์ในการทาวิจัย เพ่ือให้นักศึกษาประสบ

ประสบการณ์มาประยุกต์ใชใ้ นการ ความสาเร็จและสามารถบูรณาการท้งั ทางดา้ นวิชาการและทางปฏิบตั ิ ซ่ึงเป็ น

ทางานจริงไดห้ ลงั จากจบการศึกษา สิ่งสาคญั ตอ่ การประกอบอาชีพใหก้ า้ วหนา้ ต่อไป

ทางานอย่างฉลาด นอกเหนือจากการเรียนในช้ันเรียนแลว้ นักศึกษาจะตอ้ งเขา้ สัมมนาและ

มีความมนั่ ใจในตวั เอง พร้อมทางาน นาเสนอผลงานทางวิชาการท้งั ในระดบั ชาติหรือระดบั นานาชาติ เพื่อท่ีจะให้

หนัก อดทน มุ่งมนั่ เพียรพยายาม มี นกั ศึกษาปรับปรุงและพฒั นางานวิจยั ของตนเอง รวมท้งั ใหย้ ดึ หลกั คุณธรรม

ความรับผิดชอบในภาระหน้าที่ที่ จริยธรรม ความรับผิดชอบตอ่ สงั คมและส่ิงแวดลอ้ ม

ไดร้ ับมอบหมายและเขา้ กบั สงั คมได้

รวมท้งั มีบุคลิกภาพและภาพลกั ษณ์

ทางสงั คมที่ดี

2. การพฒั นาผลการเรียนรู้ในแต่ละด้าน

2.1 คุณธรรม จริยธรรม

2.1.1 ผลการเรียนรู้ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม
(1) มีความซ่ือสัตยส์ ุจริต ซ่ือตรงต่อหนา้ ท่ี ต่อตนเองและต่อผูอ้ ่ืน ไม่เอารัดเอาเปรียบผูอ้ ื่น มีความ
อดทน เสียสละ และเพยี รพยายาม
(2) มีความพอเพียงเป็ นหลกั ในการดาเนินชีวติ โดยยดึ แนวคิดความพอประมาณ ความมีเหตผุ ล และ
การสร้างภูมิคุม้ กนั
(3) มีความเคารพต่อกฎ ระเบียบ ขอ้ บงั คบั ต่าง ๆ ขององคก์ รและสงั คม
(4) มีภาวะผูน้ าในการส่งเสริมให้มีการประพฤติ ปฏิบตั ิ ตามหลกั คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ
และความรับผดิ ชอบต่อสงั คม ท้งั ในการทางานและสงั คม
(5) สามารถจดั การปัญหาทางคุณธรรม จริยธรรม ท่ีซบั ซอ้ นเชิงวชิ าการหรือวชิ าชีพ

2.1.2 กลยทุ ธ์การสอนทใี่ ช้พฒั นาการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม
(1) มีการสอนคุณธรรมและจริยธรรมในรายวชิ าที่เกี่ยวขอ้ ง
(2) มีการสอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมในเน้ือหาวชิ าเรียน พร้อมท้งั ยกตวั อยา่ งประกอบ
(3) การเรียนรู้จากสถานการณ์จริง การจดั กิจกรรมในช้นั เรียนหรือการศึกษาจากกรณีศึกษา

52

2.1.3 กลยุทธ์การประเมนิ ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม
(1) ประเมินผลการเรียนรู้จากการเรียนรายวชิ าของกลุ่มวชิ า
(2) ประเมินพฤติกรรมโดยเพื่อนนกั ศึกษา อาจารยท์ ่ีปรึกษา อาจารยผ์ สู้ อน ตามเกณฑข์ องสถาบนั

2.2 ความรู้
2.2.1 ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
(1) มีความรู้เก่ียวกบั การบริหารธุรกิจ และวชิ าเอกเป็ นอยา่ งดี
(2) มีความรู้และความเขา้ ใจในบริบทและเน้ือหาที่เป็ นวิชาพ้ืนฐานสาหรับธุรกิจอย่างลึกซ้ึงและ
กวา้ งขวาง เช่นวชิ าเศรษฐศาสตร์ การจดั การ การตลาด การเงิน และการจดั การเชิงกลยทุ ธ์
(3) มีความเขา้ ใจในการประยุกต์และการพฒั นาความรู้ใหม่ๆในด้านวิชาการและการปฏิบัติใน
วชิ าชีพ
2.2.2 กลยุทธ์การสอนทใี่ ช้พฒั นาการเรียนรู้ด้านความรู้
(1) การสอนหลายรูปแบบในรายวชิ าตามหลกั สูตร ไดแ้ ก่ การใหค้ าปรึกษา การบรรยาย การอภิปราย
การวจิ ยั การศึกษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง กรณีศึกษา การเขียนรายงาน และการสร้างแบบจาลอง
(2) การฝึ กปฏิบตั ิ การอบรม ทกั ษะการทาวจิ ยั และการใหค้ าปรึกษากบั คณาจารยท์ ่ีไดร้ ับมอบหมาย
(3) การจดั สมั มนา และการประชุมทางวชิ าการระดบั บณั ฑิตศึกษา
2.2.3 กลยุทธ์การประเมนิ ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
(1) ประเมินผลการเรียนรู้จากการเรียนรายวชิ า โดยการสอบขอ้ เขียน
(2) ความกา้ วหนา้ ในการทาวจิ ยั โดยมีการควบคุมและประเมินเป็ นระยะๆ
(3) การนาเสนอรายงาน การอภิปราย โดยประเมินจากคณะกรรมการ

2.3 ทกั ษะทางปัญญา
2.3.1 ผลการเรียนรู้ด้านทกั ษะทางปัญญา
(1) สามารถนาความรู้ทางภาคทฤษฏีและภาคปฏิบตั ิในการจดั การสภาพแวดลอ้ มใหม่
(2) การพฒั นาแนวคิดริเร่ิม สร้างสรรค์ เพ่ือตอบสนองประเดน็ หรือปัญหาทางวชิ าการหรือวชิ าชีพ
(3) สามารถสืบคน้ จาแนก และวเิ คราะห์ขอ้ มลู ผลงานวจิ ยั และส่ิงพิมพ์ อยา่ งเป็ นระบบและมีเหตผุ ล
ท่ีจะนาไปวางแผนดาเนินโครงการสาคญั หรือโครงการวจิ ยั
(4) สามารถสร้างกรอบแนวคิด สังเคราะห์ และขยายองคค์ วามรู้ รวมถึงสามารถบูรณาการความรู้
และประสบการณ์ เพ่ือท่ีจะนาส่ิงท่ีตนทาการศึกษาน้นั ไปขยายองค์ความรู้หรือไปใชเ้ ป็ นแนว
ปฏิบตั ิในธุรกิจไดเ้ ป็ นอยา่ งดี
2.3.2 กลยุทธ์การสอนทใ่ี ช้พฒั นาการเรียนรู้ด้านทกั ษะทางปัญญา
(1) การสอนโดยกระตนุ้ ใหผ้ เู้ รียนมีความคิดริเร่ิมในหวั ขอ้ วจิ ยั ซ่ึงก่อใหเ้ กิดประโยชน์ท้งั ในดา้ นของ
วชิ าการและการปฏิบตั ิ
(2) เพ่ิมแนวทางให้นักศึกษาในการพัฒนาและสร้างกรอบความคิด เพ่ือนาไปสู่การสร้าง
กระบวนการเรียนรู้ไดเ้ ป็ นอยา่ งดี
(3) ใหก้ ารแนะนาปรึกษาอยา่ งมีประสิทธิภาพโดยคณาจารยท์ ่ีชานาญการ
(4) ควบคุมกระบวนการพฒั นารูปแบบการเรียนอยา่ งตอ่ เน่ืองโดยคณะกรรมการหลกั สูตร

53

2.3.3 กลยทุ ธ์การประเมนิ ผลการเรียนรู้ด้านทกั ษะทางปัญญา
(1) ประเมินผลการเรียนรู้จากการเรียนรายวชิ าและสงั เกตพฤติกรรมการทางานจริงในช้นั เรียน
(2) ประเมินผลงานจากการทาการศึกษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง การทาโครงงาน การทาวิจยั การอภิปราย
กรณีศึกษา

2.4 ทกั ษะความสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคลและความรับผดิ ชอบ
2.4.1 ผลการเรียนรู้ด้านทกั ษะความสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคลและความรับผดิ ชอบ
(1) สามารถประสานงาน มีมนุษยสมั พนั ธท์ ี่ดีกบั สงั คมท้งั ทางดา้ นวชิ าการและความชานาญการ
(2) สามารถคิดริเริ่มและนาเสนอความคิดท่ีแตกต่างจากคนอื่น และเป็ นผฟู้ ังท่ีดี
(3) สามารถทางานเป็ นกลุ่ม และแสดงภาวะผูน้ าผตู้ ามไดอ้ ยา่ งเหมาะสม และมีความรับผิดชอบใน
การดาเนินงานของตนเอง
(4) สามารถร่วมมือกบั ผอู้ ่ืนในการจดั การขอ้ โตแ้ ยง้ และปัญหาต่างๆ
(5) มีบุคลิกภาพที่ดีท้งั ภายในและภายนอก รวมท้งั มีความสามารถในการเขา้ สงั คม
2.4.2 กลยุทธ์การสอนทใ่ี ช้พฒั นาการเรียนรู้ด้านทกั ษะความสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคลและความรับผดิ ชอบ
(1) การสอนและสอดแทรกทกั ษะทางสงั คมและความรับผดิ ชอบในรายวชิ า
(2) การช้ีแนะประเด็นท่ีเก่ียวขอ้ งกบั สังคมท่ีมีความรับผิดชอบซ่ึงได้รับการแนะนาจากอาจารยท์ ่ี
ปรึกษา
(3) จดั โอกาสที่จะพฒั นาทกั ษะทางสงั คมในช่วงท่ีหลกั สูตรไดม้ ีการจดั การอภิปรายงานวจิ ยั และการ
สมั มนา
2.4.3 กลยทุ ธ์การประเมนิ ผลการเรียนรู้ด้านทกั ษะความสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคลและความรับผดิ ชอบ
(1) ประเมินการเรียนรู้ทกั ษะทางสงั คมและความรับผดิ ชอบในรายวชิ า
(2) ประเมินการเรียนรู้และการพฒั นาทกั ษะทางสังคมและความรับผิดชอบจากกระบวนการในการ
ใหค้ าปรึกษา
(3) ประเมินทกั ษะทางสงั คมและความรับผิดชอบจากการมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่ไดร้ ับมอบหมาย

2.5 ทกั ษะการวเิ คราะห์เชิงตวั เลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ
2.5.1 ผลการเรียนรู้ด้านทกั ษะการวเิ คราะห์เชิงตวั เลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ
(1) สามารถออกแบบและสร้างกรอบแนวคิด เพอ่ื นาไปสู่การเรียนรู้และการประเมินเชิงปริมาณได้
(2) สามารถประยกุ ตใ์ ชร้ ูปแบบขอ้ มลู ทางคณิตศาสตร์และสถิติ เพื่อนามาใชใ้ นการแกไ้ ขปัญหา
(3) มีความเขา้ ใจ สามารถวิเคราะห์และรายงานผลท่ีไดร้ ับ โดยสามารถเขียนและนาเสนอผลได้
ถูกตอ้ ง
(4) สามารถใชเ้ คร่ืองมือทางเทคโนโลยแี ละประยกุ ตใ์ ชใ้ นการเรียนรู้ขอ้ มูล การส่ือสาร
(5) สามารถประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศใหมๆ่ ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ
2.5.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การส่ือสาร และการใช้
เทคโนโลยสี ารสนเทศ
(1) มีการสอนในรายวชิ าปรับพ้ืนฐาน เช่น การวเิ คราะห์เชิงปริมาณ การเงิน และการบญั ชี
(2) มีการอบรมวธิ ีการวจิ ยั
(3) มีการเรียนรู้ดว้ ยตนเองจากฐานขอ้ มลู ออนไลน์ (เช่น วารสาร ส่ิงพมิ พ)์

54

2.5.3 กลยทุ ธ์การประเมนิ ผลการเรียนรู้ด้านทกั ษะการวิเคราะห์เชิงตวั เลข การส่ือสาร และการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ
(1) ประเมินการเรียนรู้ของนกั ศึกษาจากงานท่ีไดร้ ับมอบหมาย การเขียน และการนาเสนอเอกสาร
ทางวชิ าการ
(2) ประเมินผลการเรียนรู้หลงั จากการอบรม โดยการเขียนรายงาน และการนาเสนอรายงาน

3. แผนทแ่ี สดงการกระจายความรับผดิ ชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลกั สูตรสู่รายวชิ า (Curriculum Mapping)
จะแสดงให้เห็นว่าแต่ละรายวิชาในหลกั สูตรรับผิดชอบต่อมาตรฐานผลการเรียนรู้ใดบา้ ง โดยระบุว่าเป็ น

ความรับผิดชอบหลกั หรือรับผดิ ชอบรอง

ผลการเรียนรู้ในตารางมคี วามหมายดงั นี้
คณุ ธรรม จริยธรรม
(1) มีความซ่ือสัตยส์ ุจริต ซื่อตรงต่อหนา้ ที่ ต่อตนเองและต่อผอู้ ่ืน ไม่เอารัดเอาเปรียบผูอ้ ื่น มีความ
อดทน เสียสละ และเพียรพยายาม
(2) มีความพอเพยี งเป็ นหลกั ในการดาเนินชีวติ โดยยดึ แนวคิดความพอประมาณ ความมีเหตผุ ล และ
การสร้างภมู ิคุม้ กนั
(3) มีความเคารพตอ่ กฎ ระเบียบ ขอ้ บงั คบั ตา่ ง ๆ ขององคก์ รและสงั คม
(4) มีภาวะผูน้ าในการส่งเสริมใหม้ ีการประพฤติ ปฏิบตั ิ ตามหลกั คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ
และความรับผดิ ชอบต่อสงั คม ท้งั ในการทางานและสงั คม
(5) สามารถจดั การปัญหาทางคุณธรรม จริยธรรม ที่ซบั ซอ้ นเชิงวชิ าการหรือวชิ าชีพ
ความรู้
(1) มีความรู้เก่ียวกบั การบริหารธุรกิจ และวชิ าเอกเป็ นอยา่ งดี
(2) มีความรู้และความเขา้ ใจในบริบทและเน้ือหาท่ีเป็ นวิชาพ้ืนฐานสาหรับธุรกิจอย่างลึกซ้ึงและ
กวา้ งขวาง เช่นวชิ าเศรษฐศาสตร์ การจดั การ การตลาด การเงิน และการจดั การเชิงกลยทุ ธ์
(3) มีความเขา้ ใจในการประยุกต์และการพฒั นาความรู้ใหม่ๆในด้านวิชาการและการปฏิบัติใน
วชิ าชีพ
ทกั ษะทางปัญญา
(1) สามารถนาความรู้ทางภาคทฤษฏีและภาคปฏิบตั ิในการจดั การสภาพแวดลอ้ มใหม่
(2) การพฒั นาแนวคิดริเร่ิม สร้างสรรค์ เพ่อื ตอบสนองประเดน็ หรือปัญหาทางวชิ าการหรือวชิ าชีพ
(3) สามารถสืบคน้ จาแนก และวเิ คราะห์ขอ้ มูล ผลงานวจิ ยั และส่ิงพิมพ์ อยา่ งเป็ นระบบและมีเหตผุ ล
ท่ีจะนาไปวางแผนดาเนินโครงการสาคญั หรือโครงการวจิ ยั
(4) สามารถสร้างกรอบแนวคิด สังเคราะห์ และขยายองคค์ วามรู้ รวมถึงสามารถบูรณาการความรู้
และประสบการณ์ เพื่อท่ีจะนาส่ิงท่ีตนทาการศึกษาน้นั ไปขยายองค์ความรู้หรือไปใชเ้ ป็ นแนว
ปฏิบตั ิในธุรกิจไดเ้ ป็ นอยา่ งดี
ทกั ษะความสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคลและความรับผดิ ชอบ
(1) สามารถประสานงาน มีมนุษยสมั พนั ธท์ ่ีดีกบั สงั คมท้งั ทางดา้ นวชิ าการและความชานาญการ

55

(2) สามารถคิดริเริ่มและนาเสนอความคิดที่แตกต่างจากคนอื่น และเป็ นผฟู้ ังที่ดี
(3) สามารถทางานเป็ นกลุ่ม และแสดงภาวะผูน้ าผตู้ ามไดอ้ ยา่ งเหมาะสม และมีความรับผิดชอบใน

การดาเนินงานของตนเอง
(4) สามารถร่วมมือกบั ผอู้ ื่นในการจดั การขอ้ โตแ้ ยง้ และปัญหาตา่ งๆ
(5) มีบุคลิกภาพที่ดีท้งั ภายในและภายนอก รวมท้งั มีความสามารถในการเขา้ สงั คม
ทกั ษะการวเิ คราะห์เชิงตวั เลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ
(1) สามารถออกแบบและสร้างกรอบแนวคิด เพอื่ นาไปสู่การเรียนรู้และการประเมินเชิงปริมาณได้
(2) สามารถประยกุ ตใ์ ชร้ ูปแบบขอ้ มูลทางคณิตศาสตร์และสถิติ เพ่อื นามาใชใ้ นการแกไ้ ขปัญหา
(3) มีความเขา้ ใจ สามารถวิเคราะห์และรายงานผลที่ไดร้ ับ โดยสามารถเขียนและนาเสนอผลได้

ถกู ตอ้ ง
(4) สามารถใชเ้ ครื่องมือทางเทคโนโลยแี ละประยกุ ตใ์ ชใ้ นการเรียนรู้ขอ้ มูล การส่ือสาร
(5) สามารถประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศใหม่ๆไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ

4.ความคาดหวงั ของผลลพั ธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นภาคการศึกษา (ระบุเป็ นแต่ละปี การศึกษาจนครบระยะเวลาของหลกั สูตร)

ช้ันปี รายละเอยี ด

(ระบุตามระยะเวลาของหลกั สูตร)

ช้ันปี ท่ี 1 ผเู้ รียนตอ้ งมีความรู้ ความเขา้ ใจทางดา้ นบริหารธุรกิจและมีทกั ษะทางดา้ นการคิด

วเิ คราะห์ อยา่ งมีเหตุผล และมีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์

ช้ันปี ที่ 2 สามารถนาความรู้หลกั การและทฤษฎีตา่ งๆ ไปประยกุ ตใ์ ช้ ในการบริหารงานได้

อยา่ งมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลเเละดาเนินธุรกิจโดยมีความรับผดิ ชอบต่อ

สงั คม

56

แผนทแี่ สดงการกระจายความรับผดิ ชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลกั สูตรสู่รายวชิ า (Curriculum Mapping) กลุ่มวชิ าแกนบริหารธุรกจิ

ความรับผดิ ชอบหลกั  ความรับผดิ ชอบรอง

คณุ ธรรม จริยธรรม ความรู้ ทกั ษะทางปัญญา ทกั ษะความสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคล ทกั ษะการวเิ คราะห์เชิงตัวเลข การ
สื่อสาร และการใช้
รายวชิ า และความรับผดิ ชอบ
เทคโนโลยสี ารสนเทศ
1. วชิ าแกนบริหารธุรกจิ 1 2 34512 3 1 2 3 4 12 3 4 5
MB 501 เศรษฐศาสตร์การจดั การ 1 2 3 45
MB 503 พฤติกรรมองคก์ ารและการจดั การ              
MB 508 การจดั การการตลาด                 
MB 509 การเงินเพือ่ การจดั การ                
MB 510 การจดั การการปฏิบตั ิการเพ่ือความไดเ้ ปรียบในการแข่งขนั                    
MB 511 การจดั การเชิงกลยทุ ธ์                 
           
  
    
    

57

แผนทแ่ี สดงการกระจายความรับผดิ ชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลกั สูตรสู่รายวชิ า (Curriculum Mapping)

ความรับผดิ ชอบหลกั  ความรับผดิ ชอบรอง

คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพนั ธ์ระหว่าง ทกั ษะการวเิ คราะห์เชิงตวั เลข การส่ือสาร
บุคคลและความรับผดิ ชอบ และการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ
รายวชิ า 1 2 34
12 3 4 5 1 23 4 5
1 2 34512 3

2. กลุ่มวชิ าเอก

2.1 กลุ่มวชิ าการจดั การ

1) วชิ าเอกบงั คบั

MG 501 การวจิ ยั เพือ่ การจดั การทางธุรกิจ                  
 
MG 502 การจดั การธุรกิจเพอ่ื ความยงั่ ยนื                  

MG 503 การจดั การธุรกิจโลกาภิวตั น์                

2) วชิ าเอกเลือก

MG 521 การจดั การนวตั กรรมเพอื่ สร้างความไดเ้ ปรียบในการ                   

แข่งขนั 

MG 522 การจดั การธุรกิจเอเชีย                  
   
MG 523 การจดั การคุณภาพองคร์ วมเพ่อื ความสามารถในการ              
แข่งขนั


MG 524 การบริหารผลการปฏิบตั ิงานเพื่อสร้างมลู ค่าใหธ้ ุรกิจ                    
MG 525 การจดั การธุรกิจภายใตป้ รัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง                 
   
MG 526 การจดั การธุรกิจสีเขียว                 
  
MG 527 การจดั การธุรกิจครอบครัว                
MG 528 ระบบสารสนเทศเพ่ือการจดั การ                

MG 529 กฎหมายธุรกิจและบรรษทั ธรรมภิบาล               

58

แผนทแี่ สดงการกระจายความรับผดิ ชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลกั สูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

ความรับผดิ ชอบหลกั  ความรับผดิ ชอบรอง

รายวชิ า คณุ ธรรม จริยธรรม ความรู้ ทกั ษะทางปัญญา ทกั ษะความสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคล ทกั ษะการวเิ คราะห์เชิงตวั เลข การสื่อสาร
และการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ
และความรับผดิ ชอบ
  
MG 530 ภาวะผนู้ าเชิงกลยทุ ธ์                   
  
MG 531 การเจรจาตอ่ รองและขอ้ ตกลงทางธุรกิจ             
  
MG 532 การส่ือสารเพ่อื การจดั การ                
  
MG 533 การบริหารวฒั นธรรม                

MG 534 กิจการเพือ่ สงั คม                   

MG 541 การบริหารพนกั งานสมั พนั ธ์                

MG 542 การจดั การทรัพยากรมนุษยเ์ ชิงกลยทุ ธ์                  

MG 543 กลยทุ ธก์ ารบริหารค่าตอบแทนและผลการ       
ปฏิบตั ิงาน     

MG 561 การประกอบการ                 

MG 562 การสร้างธุรกิจใหม่               

MG 563 การจดั การธุรกิจในช่วงเติบโต                  

MG 588 ประเดน็ ปัจจุบนั ทางธุรกิจ                 
 
MG 589 สมั มนาทางการจดั การ               

3) วทิ ยานพิ นธ์และการศึกษาค้นคว้าอสิ ระ

MG 600 วทิ ยานิพนธ์            
  
MG 601 การศึกษาคน้ ควา้ อิสระ         

59

แผนทแ่ี สดงการกระจายความรับผดิ ชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลกั สูตรสู่รายวชิ า (Curriculum Mapping)

ความรับผดิ ชอบหลกั  ความรับผดิ ชอบรอง

รายวชิ า คณุ ธรรม จริยธรรม ความรู้ ทกั ษะทางปัญญา ทักษะความสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคล ทกั ษะการวเิ คราะห์เชิงตัวเลข การส่ือสาร
และความรับผดิ ชอบ และการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ
1 2 345 123 1 2 34
12 3 45 123 4 5

2.2 กลุ่มวชิ าการจดั การโลจสิ ตกิ ส์

1) วชิ าเอกบังคบั

MN 501 การจดั การโซ่อุปทาน                 
MN 502 การจดั การระบบขนส่งและการกระจายสินคา้                  
MN 505 ระเบียบวธิ ีวจิ ยั โลจิสติกส์                   

2) วชิ าเอกเลือก

MN 521 การจดั การสินคา้ คงคลงั                   
MN 522 การวางแผนและออกแบบระบบโซ่อปุ ทาน                  
MN 523 ระบบสารสนเทศทางโลจิสติกส์                   
MN 524 การวเิ คราะห์ระบบโลจิสติกส์                    
MN 525 กลยทุ ธ์สาหรับการผลิต            
MN 526 การจดั การความตอ้ งการและการจดั หา                  



MN 527 การคา้ และระบบโลจิสติกส์ระหวา่ งประเทศ                    

MN 588 ประเดน็ ปัจจบุ นั ทางการจดั การโลจิสติกส์                   
MN 589 สมั มนาการจดั การทางโลจิสติกส์                   

3) วทิ ยานิพนธ์และการศึกษาค้นคว้าอสิ ระ                     
MN 600 วทิ ยานิพนธ์
             

MN 601 การศึกษาคน้ ควา้ อิสระ              

60

แผนทแ่ี สดงการกระจายความรับผดิ ชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลกั สูตรสู่รายวชิ า (Curriculum Mapping)

ความรับผดิ ชอบหลกั  ความรับผดิ ชอบรอง

คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทกั ษะทางปัญญา ทกั ษะความสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคล ทักษะการวเิ คราะห์เชิงตัวเลข การ
ส่ือสาร และการใช้เทคโนโลยี
รายวชิ า และความรับผดิ ชอบ
สารสนเทศ
2.3 กลุ่มวชิ าการตลาด 1234512 3 1 2 3 4 1 2 3 4 5
12345
1) วชิ าเอกบงั คบั           
MK 501 การวจิ ยั ตลาด                   
MK 502 การวเิ คราะห์พฤติกรรมผบู้ ริโภคเชิงกลยทุ ธ์                    
MK 503 กลยทุ ธก์ ารตลาดและการพฒั นาผลิตภณั ฑใ์ หม่    
             
2) วชิ าเอกเลือก                     
MK 521 กลยทุ ธ์ผลิตภณั ฑแ์ ละราคา           
MK 522 การจดั การตราสินคา้ และการจดั การลูกคา้ สมั พนั ธ์              
MK 523 การจดั การช่องทางจดั จาหน่ายสมยั ใหม่            
MK 524 การตลาดดิจิทลั                
MK 525 กลยทุ ธก์ ารส่ือสารการตลาดบูรณาการ                    
MK 526 กลยทุ ธก์ ารตลาดบริการ                   
MK 527 การจดั การการตลาดโลก                
MK 528 การตลาดสาหรับธุรกิจ          
MK 529 การสร้างความแตกต่างและนวตั กรรมการตลาด           
MK 530 การตลาดชุมชนเพ่อื เศรษฐกิจพอเพียง
MK 531 การตลาดในองคก์ ารที่ไมห่ วงั ผลกาไร    
   
   
   

61

แผนทแี่ สดงการกระจายความรับผดิ ชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลกั สูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

ความรับผดิ ชอบหลกั  ความรับผดิ ชอบรอง

รายวชิ า คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทกั ษะความสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคล ทกั ษะการวเิ คราะห์เชิงตัวเลข การ

และความรับผดิ ชอบ สื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี

สารสนเทศ

MK 532 ธรรมภิบาล จรรยาบรรณ และภาวะผนู้ าสาหรับ                
นกั การตลาด  

MK 541 การจดั การผลิตภณั ฑแ์ ละการจดั หาของธุรกิจคา้ ปลีก                     

MK 542 การจดั การโลจิสติกส์และโซ่อปุ ทานของธุรกิจคา้ ปลีก                      

MK 543 การจดั การร้านสาหรับการคา้ ปลีก                 

MK 588 ประเดน็ ปัจจุบนั ดา้ นการตลาด                 

3) วทิ ยานพิ นธ์และการศึกษาค้นคว้าอสิ ระ                   

MK 600 วทิ ยานิพนธ์                

MK 601 การศึกษาคน้ ควา้ อิสระ                

62

แผนทแ่ี สดงการกระจายความรับผดิ ชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลกั สูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

 ความรับผดิ ชอบหลกั  ความรับผดิ ชอบรอง

คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทกั ษะความสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคล ทกั ษะการวเิ คราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร
และการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ
รายวชิ า และความรับผดิ ชอบ
1 234 5
1234512 3 1 2 3 4 12 3 4 5

2.4 กล่มุ วชิ าการเงนิ

1) วชิ าเอกบังคบั

MF 501 การวจิ ยั ทางการเงิน           
  
MF 502 การวเิ คราะห์การลงทุน             

MF 503 ตลาดการเงินและการบริหารสถาบนั การเงิน                

2) วชิ าเอกเลือก

MF 521 การบริหารการเงินขององคก์ รเชิงประยกุ ต์              
 
MF 522 อนุพนั ธแ์ ละการบริหารความเส่ียง               
 
MF 523 การเงินระหวา่ งประเทศ             

MF 524 การวางแผนการเงินส่วนบุคคล                 
 
MF 525 การเพม่ิ มูลค่ากิจการโดยการปรับโครงสร้าง           
 
MF 526 ทฤษฎีพอร์ตฟอลิโอและการบริหารจดั การพอร์ตฟอลิโอ                  

MF 541 หลกั ประกนั ภยั และกฎหมาย           

MF 542 การวเิ คราะห์ผลิตภณั ฑป์ ระกนั ชีวติ และประกนั        
วนิ าศภยั


MF 543 คณิตศาสตร์ประกนั ภยั เพ่อื งานบริหาร               
  
MF 544 การจดั การสินทรัพยแ์ ละหน้ีสิน                
 
MF 545 นโยบายเชิงกลยทุ ธส์ าหรับบริษทั ประกนั ภยั                

63

คณุ ธรรม จริยธรรม ความรู้ ทกั ษะทางปัญญา ทกั ษะความสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคล ทักษะการวเิ คราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร

รายวชิ า 12 3 4 และความรับผดิ ชอบ และการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ
  
MF 588 ประเดน็ ปัจจุบนั ทางการเงิน 1234512 3 12 3 4 5 1 2 3 4 5
3) วทิ ยานิพนธ์และการศึกษาค้นคว้าอสิ ระ  
        
MF 600 วทิ ยานิพนธ์
MF 601 การศึกษาคน้ ควา้ อิสระ               

             

             

64

หมวดท่ี 5 หลกั เกณฑ์ในการประเมินผลนักศึกษา

1. กฎระเบียบหรือหลกั เกณฑ์ในการให้ระดบั คะแนน (เกรด)
การวดั ผลและการสาเร็จการศึกษาเป็ นไปตามระเบียบมหาวทิ ยาลยั หอการคา้ ไทย วา่ ดว้ ยการศึกษาในระดบั

บณั ฑิตศึกษา พ.ศ. 2553

2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธ์ิของนักศึกษา
2.1 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ขณะท่ีนกั ศึกษายงั ไม่สาเร็จการศึกษา
กาหนดให้ระบบทวนสอบผลสัมฤทธ์ิการเรียนรู้ของนักศึกษาเป็ นส่วนหน่ึงของระบบการประกนั คุณภาพ
ภายในของมหาวิทยาลยั การทวนสอบในระดบั รายวิชาจะตอ้ งใหน้ กั ศึกษามีการประเมินการสอนในแต่ละ
วชิ า มีคณะกรรมการพจิ ารณาความเหมาะสมของขอ้ สอบใหเ้ ป็ นไปตามแผนการสอน
2.2 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้หลงั จากนกั ศึกษาสาเร็จการศึกษา
การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้หลงั จากนกั ศึกษาสาเร็จการศึกษา จะเนน้ การทาวจิ ยั ผลสัมฤทธ์ิของการ
ประกอบอาชีพของบณั ฑิต โดยทาการวจิ ยั เชิงสารวจ ดงั น้ี
2.2.1 การตรวจสอบความพงึ พอใจของนายจา้ ง
2.2.2 การประเมินความกา้ วหนา้ ในงานของบณั ฑิต

3. เกณฑ์การสาเร็จการศึกษาตามหลกั สูตร
นกั ศึกษาจะสาเร็จการศึกษา และขอรับปริญญาได้ ตอ้ งมีคุณสมบตั ิดงั ตอ่ ไปน้ี
(1) ศึกษาและสอบไดค้ รบถว้ นตามหลกั สูตร ซ่ึงมีหน่วยกิตสะสมไม่นอ้ ยกวา่ 39 หน่วยกิต
(2) ไดค้ ะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ากวา่ 3.00
(3) ไดส้ อบผ่านการสอบวิทยานิพนธ์ ในกรณีเรียนตามหลกั สูตร แผน ก (มีวิทยานิพนธ์) และไดส้ ่ง
วิทยานิพนธ์ฉบับสมบูรณ์แล้ว และผลงานวิทยานิพนธ์จะตอ้ งได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อย
ดาเนินการใหผ้ ลงานหรือส่วนหน่ึงของผลงานไดร้ ับการยอมรับใหต้ ีพมิ พใ์ นวารสารหรือส่ิงพมิ พท์ าง
วชิ าการ หรือเสนอตอ่ ที่ประชุมวชิ าการท่ีมีรายงานการประชุม
(4) ไดส้ อบผา่ นการสอบประมวลความรู้ ในกรณีที่เรียนตามหลกั สูตร แผน ข (ไม่มีวทิ ยานิพนธ์) และได้
ส่งรายงานการศึกษาคน้ ควา้ อิสระฉบบั สมบูรณ์แลว้ และผลงานจะตอ้ งไดร้ ับการตีพิมพ์ หรืออย่าง
นอ้ ยดาเนินการใหผ้ ลงานหรือส่วนหน่ึงของผลงานไดร้ บั การยอมรับใหต้ พี ิมพใ์ นวารสารหรือสิ่งพมิ พ์
ทางวชิ าการหรือเสนอต่อที่ประชุมวชิ าการที่มีรายงานการประชุม
(5) มีความประพฤติดี
(6) ไมม่ ีหน้ีสินใดๆ กบั ทางมหาวทิ ยาลยั

65

หมวดที่ 6 การพฒั นาคณาจารย์

1. การเตรียมการสาหรับอาจารย์ใหม่
1.1 การให้เขา้ รับการอบรมตามหลกั สูตร “การพฒั นาอาจารยใ์ หม่” ของมหาวิทยาลยั ซ่ึงเป็ นหลกั เกณฑ์ให้
อาจารยใ์ หม่ทุกคนตอ้ งเขา้ รับการอบรม ใหม้ ีความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั หลกั สูตรและการบริหารวชิ าการของ
มหาวทิ ยาลยั บทบาทหนา้ ที่ของอาจารยม์ หาวิทยาลยั และจรรยาบรรณครู และให้มีทกั ษะเกี่ยวกบั การจดั การ
เรียนการสอนท่ีเนน้ ผเู้ รียนเป็ นสาคญั การสอนสอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรม และการสอนโดยใชส้ ่ือและ
เทคโนโลยสี ารสนเทศ
1.2 การมอบหมายให้มีอาจารยผ์ ูม้ ีประสบการณ์และคุณวุฒิสูงกว่าทาหน้าที่ให้คาแนะนาและเป็ นท่ีปรึกษา
แนวทางในการจดั การเรียนการสอน และการดาเนินงานวจิ ยั
1.3 การช้ีแจงและแนะนาหลกั สูตร รายวชิ าในหลกั สูตร
1.4 การมอบหมายให้อาจารยใ์ หม่ศึกษาคน้ ควา้ จดั ทาเอกสารที่เกี่ยวขอ้ งกบั การสอน ในหัวขอ้ หน่ึงหรือหลาย
หัวขอ้ ท่ีอาจารยใ์ หม่มีความรู้และถนัด เพ่ือทดลองทาการสอนภายใต้คาแนะนาของหัวหน้าสาขาหรือ
ประธานหลกั สูตร

2. การพฒั นาความรู้และทกั ษะให้แก่อาจารย์
2.1 การพฒั นาทกั ษะการจดั การเรียนการสอน การวดั และการประเมนิ ผล
(1) กาหนดใหอ้ าจารยต์ อ้ งเขา้ รับการอบรมเพอื่ พฒั นาตนเองดา้ นการจดั การเรียนการสอน การวดั และการ
ประเมินผล ตามความตอ้ งการของอาจารย์ และเป็ นไปตามนโยบายของมหาวิทยาลยั ซ่ึงมหาวทิ ยาลยั
มีการเปิ ดหลกั สูตรอบรมเพื่อพฒั นาอาจารยใ์ นหัวขอ้ ต่างๆ ที่เก่ียวขอ้ งกบั การจดั การเรียนการสอน
การวจิ ยั การผลิตผลงานทางวชิ าการ เป็ นประจาทุกปี
(2) การจดั ใหม้ ีการสอนแบบเป็ นทีม ซ่ึงจะส่งเสริมโอกาสให้อาจารยไ์ ดม้ ีประสบการณ์การสอนร่วมกบั
คนอ่ืน รวมถึงการมีโอกาสไดเ้ ป็ นผรู้ ับผดิ ชอบรายวชิ า ผปู้ ระสานงาน และผรู้ ่วมทีมการสอน
(3) การส่งเสริมหรือสร้างโอกาสให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ดา้ นการจดั การเรียนการสอน
ระหว่างอาจารยใ์ นหลกั สูตร หรือทาวิจยั การเรียนการสอนที่สามารถนาไปเผยแพร่ในการประชุม
วชิ าการท่ีมีการจดั การเรียนการสอนในสาขาวชิ าเดียวกนั ของหลายๆ สถาบนั
(4) จดั ใหม้ ีการมอบรางวลั “Best Lecturer Award” เพื่อกระตุน้ และเป็ นขวญั กาลงั ใจแก่อาจารยผ์ สู้ อนใน
การพฒั นาคุณภาพของการเรียนและการสอนอยา่ งต่อเน่ือง
2.2 การพฒั นาวชิ าการและวชิ าชีพด้านอื่นๆ
(1) การส่งเสริมให้อาจารยเ์ ขา้ ร่วมการอบรม การประชุมสัมมนาในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพที่จดั ท้ัง
ภายในและภายนอกมหาวทิ ยาลยั อยา่ งนอ้ ยปี ละ 1 คร้ัง
(2) การส่งเสริมให้อาจารยผ์ ลิตผลงานทางวิชาการในรูปแบบต่างๆ และการนาเสนอผลงานในการ
ประชุมวชิ าการในสาขาวชิ าการหรือวชิ าชีพ

66

หมวดที่ 7 การประกนั คุณภาพหลกั สูตร

1. การบริหารหลกั สูตร
1.1 คณะบริหารธุรกิจแตง่ ต้งั คณะกรรมการบริหารหลกั สูตรประจาปี การศึกษา
1.2 ผอู้ านวยการหลกั สูตร และคณะกรรมการเป็ นผรู้ ับผิดชอบจดั การเรียนการสอนในรายวชิ าตา่ ง ๆ
1.3 อาจารยป์ ระจาวิชาจดั การเรียนการสอนท่ีเน้นผูเ้ รียนเป็ นสาคญั โดยเตรียมความพร้อมก่อนเปิ ดภาคเรียน
ไดแ้ ก่ วางแผนจดั การเรียนการสอน จดั ทารายงานรายวิชา (มคอ.3) เอกสารประกอบการสอน และสื่อการ
สอน
1.4 เม่ือสิ้นสุดการเรียนการสอนในแต่ละรายวชิ า จดั ใหน้ กั ศึกษาประเมินผลการสอนของอาจารยป์ ระจาวชิ า และ
นาผลประเมินมาปรับปรุงการสอนของอาจารย์
1.5 เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนในแต่ละปี การศึกษา ผอู้ านวยการหลกั สูตรจดั ประชุมร่วมกบั อาจารยป์ ระจาทุก
วิชา โดยสรุปผลการดาเนินงานของหลกั สูตรประจาปี การศึกษา และจดั ทารายงานการประเมินตนเองเสนอ
ตอ่ คณบดี เพอ่ื วเิ คราะห์จุดแขง็ จุดออ่ น และแนวทางปรับปรุงการดาเนินงานหลกั สูตรในปี การศึกษาตอ่ ไป
1.6 แต่งต้งั คณะกรรมการพฒั นาหลกั สูตรและมาตรฐานการศึกษาที่มีจานวนและคุณสมบตั ิตามหลกั เกณฑข์ อง
สกอ.เพื่อให้มีการปรับปรุงหลกั สูตรอยา่ งนอ้ ยทุก 5 ปี โดยนาความคิดเห็นของผทู้ รงคุณวุฒิภายนอก ผูใ้ ช้
บณั ฑิต และศิษยเ์ ก่ามาประกอบการพจิ ารณา

2. การบริหารทรัพยากรการเรียนการสอน
2.1 การบริหารงบประมาณ
หลกั สูตรไดร้ ับจดั สรรงบประมาณประจาปี เพ่ือจดั ซ้ือตารา ส่ือการเรียนการสอน โสตทศั นูปกรณ์ และวสั ดุ
ครุภณั ฑอ์ ยา่ งเพียงพอเพื่อสนบั สนุนการเรียนการสอนในช้นั เรียน และสร้างสภาพแวดลอ้ มใหเ้ หมาะสมกบั
การเรียนรู้ดว้ ยตนเองของนกั ศึกษา
2.2 ทรัพยากรการเรียนการสอนทม่ี อี ยู่เดมิ
หลกั สูตรมีความพร้อมดา้ นหนงั สือ ตารา และการสืบคน้ ผา่ นฐานขอ้ มลู โดยมีสานกั หอสมุดกลางท่ีมีหนงั สือ
ดา้ นการบริหารจดั การและดา้ นอ่ืน ๆ รวมถึงฐานขอ้ มูลที่จะใหส้ ืบคน้ ส่วนระดบั คณะกม็ ีหนงั สือตาราเฉพาะ
ทาง นอกจากน้ีคณะมีอปุ กรณ์ท่ีใชส้ นบั สนุนการจดั การเรียนการสอนอยา่ งพอเพียง
2.3 การจดั หาทรัพยากรการเรียนการสอนเพม่ิ เตมิ
2.3.1 คณะจดั สรรงบประมาณประจาปี ในการจดั หาทรัพยากรการเรียนการสอน ตารา วารสารทางวชิ าการ
และส่ืออิเลก็ ทรอนิกส์
2.3.2 คณะใหผ้ สู้ อนสามารถเสนอความตอ้ งการทรัพยากรเพ่ือการจดั หา
2.3.3 คณาจารยร์ ่วมกนั ประชุมเพื่อวางแผนจดั ทาขอ้ เสนองบประมาณครุภณั ฑ์ และอุปกรณ์การเรียนการ
สอน
2.4 การประเมนิ ความเพยี งพอของทรัพยากร
การประเมินความเพียงพอของทรัพยากร จะมีเจา้ หนา้ ท่ีประจาห้องสมุด ทาหน้าท่ีประสานงานการจดั ซ้ือ
จดั หาหนงั สือเขา้ หอสมุดกลาง และทาหนา้ ท่ีประเมินความพอเพียงของหนงั สือและตารา นอกจากน้ียงั มี
เจา้ หนา้ ท่ีดา้ นโสตทศั นอุปกรณ์ อานวยความสะดวกในการใชส้ ่ือของอาจารย์ และประเมินความพอเพยี งและ

67

ความตอ้ งการใชส้ ื่อของอาจารยด์ ว้ ย

3. การบริหารคณาจารย์
3.1 การรับอาจารย์ใหม่
3.1.1 การคดั เลือกอาจารยป์ ระจาตอ้ งมีคุณวุฒิตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการเร่ือง เกณฑ์มาตรฐาน
หลกั สูตรระดบั บณั ฑิตศึกษา พ.ศ. 2548 และเป็ นไปตามระเบียบและหลกั เกณฑ์การคดั เลือกของ
มหาวทิ ยาลยั โดยจะตอ้ งสาเร็จการศึกษาระดบั ปริญญาโทข้ึนไปในสาขาบริหารธุรกิจหรือสาขาวิชาท่ี
เกี่ยวขอ้ ง
3.1.2 มีความรู้ มีทักษะในการจัดการเรียนการสอนและการประเมินผลสัมฤทธ์ิของนักศึกษาและมี
ประสบการณ์ทาวจิ ยั หรือประสบการณ์ประกอบวชิ าชีพในสาขาวชิ าท่ีสอน
3.1.3 คดั เลือกโดยสอบขอ้ เขียน สอบสมั ภาษณ์ และสอบสอน โดยคณะกรรมการท่ีคณบดีแตง่ ต้งั
3.2 การมสี ่วนร่วมของคณาจารย์ในการวางแผน การตดิ ตาม และทบทวนหลกั สูตร
อาจารยป์ ระจาวิชาของแต่ละสาขาประชุมร่วมกนั เพ่ือวางแผนการเรียนการสอน การวดั และการประเมินผล
พร้อมท้งั ติดตาม และวิเคราะห์ผลการดาเนินงาน เพื่อนาขอ้ มูลที่ไดจ้ ากการวิเคราะห์ไปใชใ้ นการปรับปรุง
และพฒั นาหลกั สูตร เพื่อให้สามารถจดั การเรียนการสอนบรรลุเป้าหมายตามหลกั สูตร และไดบ้ ณั ฑิตตาม
คุณลกั ษณะบณั ฑิตที่พึงประสงค์
3.3 การแต่งต้งั คณาจารย์พเิ ศษ
3.3.1 การแต่งต้งั อาจารยพ์ ิเศษ เมื่อสาขาวิชาตอ้ งการผูท้ รงคุณวฒุ ิภายนอกท่ีมีความเช่ียวชาญเฉพาะหรือ
ประสบการณ์จริง
3.3.2 การพิจารณาแต่งต้งั อาจารยพ์ ิเศษจะตอ้ งผ่านการกลนั่ กรองจากคณะ โดยอาจารยพ์ ิเศษจะตอ้ งมีวฒุ ิ
การศึกษาข้นั ต่าระดบั ปริญญาโท พร้อมท้งั เสนอประวตั ิและผลงานที่ตรงกบั หวั ขอ้ วชิ าท่ีจะสอน
3.3.3 ผอู้ านวยการแตล่ ะสาขาจะเป็ นผเู้ สนอความตอ้ งการในการแต่งต้งั อาจารยพ์ เิ ศษ โดยวางแผนล่วงหนา้
เป็ นปี การศึกษาและขออนุมตั ิการเชิญตามระเบียบของมหาวทิ ยาลยั
3.3.4 ประเมินการสอนของอาจารยพ์ ิเศษเมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนในรายวชิ า

4. การบริหารบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน
4.1 การกาหนดคณุ สมบตั เิ ฉพาะสาหรับตาแหน่ง
การกาหนดคุณสมบตั ิเฉพาะสาหรับตาแหน่งบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอนให้เป็ นไปตามความ
ตอ้ งการของคณะและนโยบายของมหาวทิ ยาลยั
4.2 การเพม่ิ ทกั ษะความรู้เพื่อการปฏบิ ัตงิ าน
4.2.1 จดั ฝึ กอบรมดา้ นการปฏิบตั ิงานในหนา้ ที่และความรับผดิ ชอบสาหรับตาแหน่ง
4.2.2 จดั ดูงานนอกสถานท่ี เพ่อื ใหเ้ กิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทางานในหน่วยงานอื่น

5. การสนับสนุนและการให้คาแนะนานกั ศึกษา
5.1 การให้คาปรึกษาด้านวชิ าการและอ่ืนๆแก่นกั ศึกษา
5.1.1 หลกั สูตรจะทาการแตง่ ต้งั อาจารยท์ ่ีปรึกษาท่ีมีความรู้และความชานาญตรงกบั หวั ขอ้ วทิ ยานิพนธข์ อง
นกั ศึกษา พร้อมท้งั ระบุความรับผดิ ชอบและหนา้ ท่ีของท่ีปรึกษาอยา่ งชดั เจน

68

5.1.2 อาจารยท์ ่ีปรึกษาทุกคนกาหนดตารางเวลาให้นกั ศึกษาเขา้ พบอยา่ งสม่าเสมอเพ่ือให้คาแนะนาและ
ตรวจสอบความก้าวหน้าของนักศึกษาในการจัดทาวิทยานิพนธ์และการศึกษาคน้ ควา้ อิสระ โดย
จะตอ้ งมีการบนั ทึกการเขา้ พบเป็ นเอกสารเพ่อื จดั ส่งใหแ้ ก่หลกั สูตร

5.1.3 อาจารยท์ ่ีปรึกษาทาหนา้ ท่ีใหค้ าแนะนาทางวชิ าการและกิจกรรมแก่นกั ศึกษา
5.2 การอทุ ธรณ์ของนกั ศึกษา

มหาวิทยาลัยและคณะเปิ ดโอกาสให้นักศึกษาอุทธรณ์ในเร่ืองต่าง ๆ โดยกาหนดเป็ นกฎระเบียบและ
กระบวนการในการพิจารณาคาอุทธรณ์ พร้อมท้งั ประชาสัมพนั ธ์ช่องทางการอุทธรณ์ให้แก่นกั ศึกษา โดย
สามารถร้องเรียนผา่ นผอู้ านวยการของแตล่ ะสาขาโดยตรง

6. ความต้องการของตลาดแรงงาน สังคม และ/หรือความพงึ พอใจของผ้ใู ช้บณั ฑติ
เนื่องจากปริมาณความตอ้ งการมหาบณั ฑิตในสาขา การจดั การ การจดั การโลจิสติกส์ การตลาด และการเงิน

ไดเ้ พิ่มสูงมากข้ึน ผนวกกบั ท้งั ความคาดหวงั จากมหาบณั ฑิตมีสูงมาก ดงั น้นั หลกั สูตรจึงมีแผนการสารวจความ
พึงพอใจของผูใ้ ชบ้ ณั ฑิต เพื่อนาขอ้ มูลมาใชป้ ระกอบการปรับปรุงหลกั สูตร รวมถึงประมาณความตอ้ งการของ
ตลาดแรงงานหรือการประกอบธุรกิจของบณั ฑิต จากเอกสารสิ่งพิมพท์ ่ีมีการวิเคราะห์ความตอ้ งการแรงงานเพ่ือ
นามาใชใ้ นการวางแผนการรับนกั ศึกษา

7. ตวั บ่งชี้ผลการดาเนนิ งาน (Key Performance Indicators)
ผลการดาเนินการบรรลุตามเป้าหมายตวั บ่งช้ีท้งั หมดอยใู่ นเกณฑด์ ีต่อเนื่อง 2 ปี การศึกษา เพื่อติดตามการ

ดาเนินการตาม TQF ต่อไป ท้งั น้ีเกณฑก์ ารประเมินผา่ น คือ มีการดาเนินงานตามขอ้ 1-5 และอยา่ งนอ้ ยร้อยละ 80
ของตวั บ่งช้ีผลการดาเนินงานท่ีระบุไวใ้ นแตล่ ะปี

ดชั นีบ่งชี้ผลการดาเนนิ งาน ปี ที่ 1 ปี ที่ 2 ปี ท่ี 3 ปี ท่ี 4 ปี ที่ 5

(1) อาจารยป์ ระจามีส่วนร่วมในการวางแผน ติดตาม และทบทวน x x x x x

การดาเนินงานหลกั สูตรอยา่ งนอ้ ยร้อยละ 80

(2) มีการจัดทารายละเอียดของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.2 ที่ x x x x x

สอดคลอ้ งกบั กรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิระดบั อุดมศึกษาแห่งชาติ

(3) มีการจัดทารายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของ x x x x x

ประสบการณ์ภาคสนาม (ถา้ มี) ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4

ก่อนการเปิ ดสอนใหค้ รบทุกรายวชิ า

(4) จดั ทารายงานผลการดาเนินการของรายวิชา และรายงานผล x x x x x

การดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม (ถา้ มี) ตามแบบ

มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วนั หลงั สิ้นสุดภาคการศึกษาที่

เปิ ดสอนใหค้ รบทุกรายวชิ า

(5) มีการจดั ทารายงานผลการดาเนินการของหลกั สูตรตามแบบ x x x x x

มคอ.7 ภายใน 60 วนั หลงั สิ้นสุดปี การศึกษา

69

ดชั นีบ่งชีผ้ ลการดาเนนิ งาน ปี ที่ 1 ปี ที่ 2 ปี ท่ี 3 ปี ที่ 4 ปี ที่ 5

(6) มีการทวนสอบผลสมั ฤทธ์ิของนกั ศึกษาตามมาตรฐานผลการ x x x x x

เรียนรู้ท่ีกาหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 (ถา้ มี) อยา่ งนอ้ ยร้อยละ

25 ของรายวชิ าที่เปิ ดสอนในแต่ละปี การศึกษา

(7) มีการพฒั นา/ปรับปรุงการจดั การเรียนการสอน กลยุทธ์การ xxxx

สอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการ

ดาเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปี ท่ีผา่ นมา

(8) อาจารยใ์ หม่ (ถา้ มี) ทุกคนไดร้ ับการปฐมนิเทศหรือคาแนะนา x x x x x

ดา้ นการจดั การเรียนการสอน

(9) อาจารยป์ ระจาทุกคนไดร้ ับการพฒั นาทางวิชาการ และ/หรือ x x x x x

วชิ าชีพอยา่ งนอ้ ยปี ละหน่ึงคร้ัง

(10) จานวนบุคลากรสนบั สนุนการเรียนการสอน (ถา้ มี) ไดร้ ับการ x x x x x

พฒั นาวชิ าการ และ/หรือวชิ าชีพไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 50 ต่อปี

(11) ระดบั ความพงึ พอใจของนกั ศึกษาปี สุดทา้ ย/บณั ฑิตใหม่ที่มตี อ่ xxxx

คุณภาพหลกั สูตร เฉล่ียไม่นอ้ ยกวา่ 3.51 จากคะแนนเตม็ 5.0

(12) ระดบั ความพึงพอใจของผใู้ ชบ้ ณั ฑิตท่ีมีต่อบณั ฑิตใหม่ เฉลี่ย xxx

ไม่นอ้ ยกวา่ 3.51 จากคะแนนเตม็ 5.0

หมวดที่ 8 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของหลกั สูตร

1. การประเมนิ ประสิทธิผลการสอน
1.1 การประเมนิ กลยทุ ธ์การสอน
1.1.1 อาจารยป์ ระจาวิชาประชุมร่วมกนั เพ่ือแลกเปล่ียนความคิดเห็นและขอ้ เสนอแนะการใชก้ ลยทุ ธ์การ
สอนในรายวชิ า
1.1.2 ประเมินการเรียนรู้ของนกั ศึกษาจากกิจกรรมท่ีหลกั สูตรฯจดั ข้ึนใหก้ บั นกั ศึกษา เพ่ือเป็ นการประมวล
ความรู้ท้งั หมด ก่อนที่จะมีการวดั ผลของการสอบประมวลความรู้ปากเปลา่
1.2 การประเมนิ ทกั ษะของอาจารย์ในการใช้แผนกลยุทธ์การสอน
1.2.1 เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนในรายวิชา นกั ศึกษาประเมินการสอนอาจารยป์ ระจาวิชา โดยใชแ้ บบ
ประเมินการสอนตามท่ีมหาวทิ ยาลยั กาหนด

2. การประเมนิ หลกั สูตรในภาพรวม
2.1 ประเมนิ จากนกั ศึกษาปี สุดทา้ ยหรือบณั ฑิต
2.2 ประเมินจากการสารวจความพึงพอใจของผใู้ ชบ้ ณั ฑิต
2.3 ประเมนิ จากรายงานสรุปผลการวพิ ากษห์ ลกั สูตรจากผทู้ รงคุณวฒุ ิภายนอก

70

3. การประเมนิ ผลการดาเนนิ งานตามรายละเอยี ดหลกั สูตร
3.1 การประเมินคุณภาพการศึกษาประจาปี ตามดชั นีตวั บ่งช้ีการประกนั คุณภาพภายใน ระดบั สาขาวชิ า
3.2 ผา่ นการประเมนิ การประกนั คุณภาพภายในของสาขา

4. การทบทวนผลการประเมนิ และวางแผนปรับปรุง
4.1 เม่ือสิ้นสุดการเรียนการสอนของภาคการศึกษา อาจารยป์ ระจาวชิ าทบทวนผลประเมินการสอนโดยนกั ศึกษา
และดาเนินการปรับปรุงประสิทธิผลการสอน
4.2 ผูอ้ านวยการหลกั สูตรและคณะกรรมการหลกั สูตรฯ พิจารณาทบทวนผลการดาเนินงานของหลกั สูตร
ประจาปี การศึกษา โดยรวบรวมขอ้ มูลผลการประเมินการสอนโดยนกั ศึกษา ผลการพิจารณาขอ้ สอบและ
คะแนนสอบปลายภาค เพ่อื วางแผนปรับปรุงการดาเนินงานหลกั สูตรในปี การศึกษาตอ่ ไป

เอกสารแนบ

ภาคผนวก ก ระเบียบมหาวทิ ยาลยั หอการคา้ ไทย วา่ ดว้ ย การศึกษาในระดบั บณั ฑิตศึกษา พ.ศ. 2553
ภาคผนวก ข ระเบียบมหาวิทยาลยั หอการคา้ ไทย ว่าดว้ ย การเทียบโอนความรู้ ทกั ษะ และประสบการณ์จาก
การศึกษานอกระบบ และ/หรือ การศึกษาตามอธั ยาศยั เขา้ สู่การศึกษาในระบบ ตามหลกั สูตร
ภาคผนวก ค ปริญญาตรีและระดบั บณั ฑิตศึกษา พ.ศ. 2547
ภาคผนวก ง ตารางเปรียบเทียบหลกั สูตรบริหารธุรกิจมหาบณั ฑิต หลกั สูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555 กบั หลกั สูตร
บริหารธุรกิจมหาบณั ฑิต หลกั สูตรปรับปรุง พ.ศ. 2558
สาเนาคาสง่ั สภามหาวทิ ยาลยั หอการคา้ ไทย ที่ 822/2557 เรื่อง แต่งต้งั คณะกรรมการพฒั นาหลกั สูตร
และมาตรฐานการศึกษา หลกั สูตรบริหารธุรกิจมหาบณั ฑิต

71

ภาคผนวก ก



































ภาคผนวก ข

.,
~-
,.

"l:::bUtI'IJ 3,l1..II1';j'VItl1;tl1..IIn'f1)"l~11 'VIti

11 ~'".ItI n1"lb ,ijtl'IJ b'f)'I.!~'".I13,1fvi'n'l.f:::bb~:::'lJ"l:::~'IJn1"lt:U 'O1Jn n1"l~n'l.f1'1.!'f) n"l:::'IJ'IJbb~:::/1..II~'f)
OJ

n1"l~n'l.f11Pl13,1te)'fitl1IDi'tlb.jf1~n1"l~n'l.f1"l 'I.!"l:::'IJ'IJ1Pl13,11..111;nP~l"l
OJ OJ

G-" _I~ Q G-" G-" ~ ~

"l:::IPl'IJlJ"lt1jt1j1lPl"lbb~:::"l:::IPl'IJ'IJ~'IlIPI l~n'l.f1 ~. f!I.254 7

Lc;,fJ~~~:::~1onoJt1Jt1J~fl1~P1fl~1LL\A~on1~ ~. fI\. 2542 n1~\.!c;, 11;x~fl1~LVifJ'lJLIeJ'I.!eJ~fl11

~fJ'I.!"1flfl11P1 fl~11 \.!'l:::'IJ'IJ fl1~P1fl~1\.!leJfl1:::~'lJLL~:::fl1~P1fl~1 (;113,1te)'fifJ1I"1'fJL~1eJ(;11eJ'IJ~\.!IeJ~

,jfont1J1fl1'lP1fl~1(;1~IeJc;,~(;1LL~:::"1JfJ1fJLleJfl1~'VI1~fl11e'lJP11If"l1~'1fJ.e)1\.!1,,(;11~~,)13,11\,!3,l1(;1'l115

LL\A~~~:::~'lonoJt1J~fl'l~P1fl~'lLL\A~on1~ ~.fI\.2542 LL~:::~'l(;11'l 34 LL\A~~~:::~1onoJt1Jt1J~'

", ,

J\.!~c;,~P1fl~1LleJflon\.! ~.fI\.2546 ~/l'l~~'l';s'VIfJ'ltl{fJ1\.!fl1'l,j~:::"1J~~f~Vi 6/2547 b~1eJ

r!\.!Vi 3 fl\.!')'l ~~ 254 7 ~~~~ ~1 ,:ifleJleJfl'l:::LUfJ~~~'l1'V1fJ'ltl{fJ~leJfl'l'lfl'l1 'VIfJ~'l ~,)fJ fl1'lL VifJ~LIeJ\.!

,.. .., .1 .-~ ~~ .., x"'..1

~,)'l~'l 'VIn~:::LL~:::u~:::~'iJfl'l'lru ,,'lfl fl1~~fl~'l\.!1eJ fl'l:::'IJ'IJ LL~:::/~~leJfl'l~l"lfl~'l (;1'l~leJfifJ1I"lfJL"1J'l~
OJ OJ

fl1'lP1fl~'l1 \.!'l:::'IJ'iJ (;1'l~~tl{ fl"3 (;1~~:::(;j"lJmt1Jt1J'l (;1'1LL~:::~:::(;j"lJoJruo(;V1P11fl~ ~. fI\.2547 1t'j'(;j'~~

"

-n-1e1J 'l::: LUfJ'IJ,1~fJ fl~ 'l "'l:::LUfJ'iJ~~'l1'V1fJ'ltl{fJ~1eJ fl'l'lfl'l1 'VIfJ~1 ~,)fJ fl'l 'lLVifJ'IJLIeJ\.!~,)'l~ ~

OJ

0{(fl~:::LL~ :::,j'l:::~ 'iJfl'l'lru .,,1 fl fl'l ~P1fl~'l\.!1eJ fl ~:::'iJ'IJLL~:::/~1leJfl'l ~P1fl ~'l (;1'l~te)'fifJ'll"1'fJb-n-'l~
OJ
fl1'lP1fl~11\.!'l:::'IJ'IJ (;1'l~~tl{fl"3(;1~ ~:::(;j"lJmt1Jt1J'l(;1'1LL~:::'l:::(;j"iJoJruoV1(;1P1fl~~'l.fI\.2547 "

""

-n-1e2J 'l:::LufJ'iJ,11mojfoJ~IP1"iJr;i~LLL9lUfl'l~P1fl~'l 2547 LU\.!~\.!1,j

",

-n-1e3J 'l:::LUfJ'IJ,11m ojfoJ~lP1"iJtl'IJUflP1fl~'lVi LVifJ'iJLIeJ\.!~,)'l~~ o{(fl~:::LL~:::,j'l:::~'lJfl'l'lru ,,1fl
OJ

fl'l'lP1 fl~'l\.!1eJ fl ~:::'IJ'iJLL~:::/~11efJl'l ~P1fl~1 (;1'l~te)'fifJ'll"1'£LJ-n-'l~fl1 ~P1fl~'l1 \.!'l:::'IJ'iJ (;1'l~~tl{ fl~ 1Pl~~:::(;j"IJ
OJ OJ

mt1J t1J'l (;1'1LL~:::'l:::(;j"lJoJruo(V;1P11fl~'l

,.. q q ~ qq,..q , ,.. ,

"1J1e4J fl 'l'lL 'VIfJ'IJL1eJ\.!'VI\.!f1l eL~J\.!IeJ,,'l fl'l:::L'lJfJ'iJ\.!1m on~:::L'iJfJ~~~'l,)'VIfJ'l~fJ~1eJ fl1 ~~ 'l1 'VIfJ,)'l

"

~,)fJfl'l~P1fl~'l'l:::~~~\l,)fJ Ii (;1-n-\.!mr.u,ru.,'loJruoV1(;1~. fI\.2545 'l:::LUfJ~~~'l1'V1fJ'ltl{fJ~leJfl'l'lfl11 'VIfJ

~1 ~,)fJ fl'l'lf~ LIeJ\.!~\.i,)fJIi (;1~'l~f'IJ~tl{ fl"3 (;1~'l:::(;j'~~1:IJ"3~fl~'lmt1J t1J1(;1'1~. fI\. 2544 LL~:::

-n-leJoJ1~P1'~~~1';s'VIfJ'ltl{fJ~'l ~,)fJfl'l~P1fl~1i\.!mt1J t1J'lL'VI~. fI\.2534

,.. , q q"

"1J15eJ ~\.!'l:::L~fJ~\.!

"~~'l1'V1fJ'ltl{fJ" ~~'lfJ ~~ ~~'l1'V1fJ'ltl{fJ~leJfl'l'lfl'l1 'VIfJ

"Ufl P1fl~'l" ~~'lfJ ~~ Ufl P1fl~'l~~'l';s'VIfJ'ltl{fJ~leJfl'l'lfl11 'VIfJ~"1J1LVeJifJ~ LIeJ\.!~,)1~~
OJ

0{(fl~:::LL~ :::,j'l:::~'IJ fl'l ~ru"'l fl fl'l'lP1 fl~'l\.!1eJ fl ~:::'IJ~ LL~:::/~11eJfl'l'lP1 fl~'l (;11~te)'fifJ'll"1'fJ"1JIeJ~UPf1fll~'l

L~IeJU~ LU\.!~\l,)fJ Ii (;1LVifJ'iJLvI'l ~'lfJ';son'l(;1'l~~tl{ fl ~ (;1~fl'l ~P1fl~'l1 \.!~~'l1'V1fJ'ltl{fJ
OJ

q~ ,.. .., .1 .-oS q~ ,..

"fl'l'lL 'VIfJ'iJ~1eJ\.!~,)'l~~ 'VfIl~:::LL~ :::u~:::~~fl 'l'lru" ~~'lfJ tl~ fl'l'lL 'VIfJ'iJ~1eJ\.!~',l)~'l
OJ OJ

0{(fl~:::LL~ :::,j'l:::~ 'iJn'l1ru'Oj'l fl fl'l'lP1 fl~'l\.!1eJ fl 'l:::~~ LL~:::/~11efJl'l ~P1fl ~'l (;1'l~te)'fifJ'll"1'fJ"1JleJ~uPn1n~'l

2

L~fe)iilJ L,j~~~'JrJ n I;9LVl lrJlJLv1'l~'lrJ~"D'lI;9l'l~~tff1l~.,l;9l~fl'l~~flM'll ~~~'l~VlrJ'ltf1rJ ",

" "...~ A ...~ " 1 ..2/'" 2/'" ...
"1Jf6e) f.J~'&'jVlfi"1Jfe)LVblfreJ)lJ~~'J'l~~ VlflM:::LL~:::1J~:::~lJfl'l~ru 1;9lfe)~~~'J'l~~~~~'l~I;9l'l~Vl

dB ., q

, I"
(;)'~U

~ 2/... .1 .."'.~ ...2/ 1;9lfe)~
6.1 fl~ru"1Jfe)LVlrJblfJe)~~'J'l~.~, VlflM:::LL~:::1J~:::~lJfl'l~ru~:::C;)lJu~~rur~u'll;9l~

"

L,j~e.j,'~'l L~'ofl''jl ~~ flM'l~::: (;),lJ'iJfirJ~~ flM'lI;9lfe)~1J~'lrJ~1feLV) lrJlJLv1'l~~11J

6.2 fl~ru"1JfeL)VlrJlJbfe)~~'J'l~.,¥-lIflM:::LL~:::1J~:::~lJfl'l~cii~:::(;),lJuru~ l;9l~flM'l

"

r;i'fe)L~,j~e.j,'~'l L~'ofl''jl~~flM'l~:::(;),lJWruru~ 'l ~ ~1~1fe)LVlrJlJLv1'l~~11J c;)~"~

"21/Jfe7) fl'l~LV.l.r.~JlJbfe)~~'J'l~~ 2/ VlflM::: LL~:::u1~:::~lJfl'l~ru ~~~flLflru"Y1

.,

7.1 iifl~flM'l"1Jfe)~~~'l~VlrJ'ltf1rJ~"~IO1'l¥fe)~~fe)~ru:::~"D'll~LVlrJlJbfe)~~'J'l~'"¥-lIflM:::

LL~:::1J~:::~lJfl'l~cii f1'lrJl~~:::rJ:::L'J~'l 7 r)~ iilJ[;j'~LL~LiJC;)f1'l~fl'l~~flM'l bC;)rJl~~ru:::fl~~~fl'l~

"

~"D'lfl'l~/~ru:::fl~~~fl'l~lJ1'~'l~l ~~ru:::~"jj'l ~ru:::fl~~~fl'l~1J~:::t.J'l~tf1fl~ 1;9l~r?1L'ilJ~fl'l ~(;)'~U

7 .1.1 ~:::(;),lJw'!.!'!.!'l1;9l11~~ru:::fl~~~fl'l~~"jj'lfl'l~/~ru:::fl~~~fl'l~lJ1'~'l~

~b~~ ru:::A'JA"jj'l~'o'j'l~ru 'l cO;')lAL~~fl 'l~L.V..~lrJlJbfe)~~'J'l~~2/... Vlfl M:::LL~:.:1:u~:::~lJfl 'l ~ru"1Jfe)~fl~,~g fl M'lVl"rJ~

.,

02/ 2/0 JA ~
~'l ~fe)~LL~'J~'lL~~fe~) rulJ c;L)~fe)~'o'j'~l ru'lfe)~~ I;9l
q

7 .1.2 ~:::(;),lJUru~l;9l~flM'l l~~ru:::fl~~~fl'l~1J~:::t.J'l~tf1fl~I.;9, l~~'o'j'l~ru'l

fl'l~LVlrJlJbfe)~~'J'l~.¥, -lIflM::: LL~:::,1J~:::~lJfl'l~cii "1Jfe)~iifl~flM'l~~~IO1'l¥fe)~LL""'JU'lL~~fe)~rulJ~

...A A JA ~

lJru"Y1I;9l'JVlrJ'l~rJL~fe)~'o'j'l~ru'lfe)~~1;9l
q

7.2 t.J'l~'J~~~'JrJn l;9l~iifl~ flM'l~:::c;i'lJW'!.! '!.!'l1;9l1'o'j:::~~Vl:::LUrJ~~flM~'l1L,j~l1J
"
~.P\.

2545 LL~:::~:::LUrJlJ~~'l~VlrJ'ltf1rJ~fe)fl'l~Ir1V'lllrJ~'lI?1'JrfJl'l~L VlrJlJbfe)~~~'JrJn 1;9l~'l~'{lJ~tf1fl.~,1;9l~

~:::(;),lJ~1~~~fl~'lw'!.!'!.!'l1;9l1 ~.P\.2544 t.J'l~'J~~~'JrJnl;9l~iifl~flM'l~:::(;),lJuru~l;9l~flM'l'o'j:::

"

bVl ~.P\.2534

" ...""12/ I ...~ 2/... .1 ..
7.3 fl'l~lJ~Vlflf.J~fl'l~L~rJ~Vl ~c;)'o'j'lflfl'l~LVlrJlbJfe)~~'J'l~.~, VlflM:::LL~:::u~:::~lJfl'l~ru
"

1~u~oVjfll;9l'l~~fifl'l~1J~:::LrJ~f.J~(;)'~U

7.3.1 ~~'JrJnl;9l'o'j'lflfl'l~Vlc;)~fe)lJ~'lI;9l~~'l~l~u~oVjfl"CS" (Credits from
dB

Standardized Test)

7 .3.2 ~~'JrJn 1;9l'o'j'lflfl'l~Vcl;)~fe)lJ~l~l-rlfl'l~Vlc;)~fe)lJ~'lI;9l~~'l~l ~U~oVjfl

dB

"CE" (Credits from Exam)

7 .3.3 ~~'JrJnl;9l'o'j'lflfl'l~1J~:::LrJ~fl'l~~flM'l / fe)lJ~~~toci';b)C;)rJ~~'JrJ~'l~~~

~l~l-rl~(l'lU~~C;)~~flM'll~u~oVjfl"CT" (Credits from Training)

..

.

3

7.3.4 '\I1u'JtJn[;1'"l1nn1'1L~'l,!'f)LL~~~::;~~C,J~~1'l,!1~1J'l,!"-CVPin" (Credits

from Portfolio)

"' "0, ..~ ""'
7.4 'l,!n~n~1 [;1'f)~"J!1'1:;fP11fi'1'1~L'l,!tJ~n1'1LVltJUb'f)'l,!fPV1ln'J~1:~:;'L1L~::;

OJ

tJ'1::;~un1'1t1I[;11~~~'\I11~VltJ1itJn1'\11'l,![;1

7.5 1'l,!n1'1~(:,)LLc;i'~L'U~tJ~::;~~'"l::;1~\J1C,J~n1'1L1tJ'l,!~'"l1nn1V'1iLtJUb'f)'l,!fP1'J1~~

OJ OJ

"' .1 r ~ " .J
Vln~::;LL~::;lJ'1::;~un1'1ru ~1fP1(:,)LL[L;1'U~~tJ~::;~~

.,

lfJ'f)8 un~n~1~'1::;tJ::;L'J~1n1'1~n~1cJ1~iJ

8.1 '1::;"('.:~')UlJ'1''11))1 [;~1'1 .

8.1.1 Un~n~1'"l::;c;i"f)~~n~1L,j'l,!'1::;tJ::;L'J~11~iJ"f)tJn~1'\11~~Un1'1~n~1

LL~::;~~Vl::;L,jtJ'l,!~n~11~iJ"f)tJn~1'\11~~1'l,!"~lJ'f)~t.J1'l,!'J'l,!'\I1U'J[;t1J'n1'J~[;1~'f)(:,)'\I1in~[;1'1~~'"l::;~~Vlfi
OJ

~1L~'"ln1'1~n~1

8.1.2 un~n~1~1~fU'f)~~~1~LVitJUb'f)'l,!'\I1U'JtJn[;1~1n~1 33 '\I1u'JtJn[;1

'"l::;c;i"f)~~n~11~~1L~'"l[;11~'\I1in~[;1'1111tJ1'l,!L'J~71 Un1'1~n~1
OJ
, .,
.8.1.3 un~n~1Vi1~fu'f)'l,!~1~LVitJUb'f)'l,!'\I1u'JtJn[;1cJ1~LLI;3j 3 '\I1u'JtJn[;1

LLI;j1~Ln'l,6! 5 '\I1u'JtJn[;1 '"l::;c;i"f)~~n~11~~1L~'"l[;11~'\I1in~[;1'1111tJ1'l,!L'J~61 Un1'1Pin~'l

OJ .,

,

8.1.4 un~n~1Vi1~fU'f)~~~1~LVitJUb'f)'l,!'\I1U'JtJn[;1I;]~LLI;j66 '\I1u'JtJn[;1

LLI;j1~Ln'l,9! 8 '\I1u'JtJn[;1'"l:;c;i"f)~~n~11~~1L~'"l[;11~'\I1in~[;1'1111tJ1'l,!L'J~15 Un1'1~n~1

OJ

, .,

.8.1.5 un~n~1Vi1~fU'f)'l,!~~1~LVitJUb'f)'l,!'\I1U'JtJn[;1I;]~LLI9;j9 '\I1u'JtJn[;1

LLI;jc;i"f)~1L~n'l,!~1~1'l,!~"lJ'f)~t.J1'l,!'J'l,!'\I1u'J[;t1J'n1l,!'\I1in~ [;1'1'"l::;c;i"f~)~n~11 ~~1 L~'"[l;11~'\I1in~[;1'1111tJ'1l,!
OJ OJ

L'J~1 4 ;jn1'1~n~1

8.2 '1::;cJ1U1JruaYi[;1~n~1

~ n~1'"l::;c;i"f)~n~1 L,j'l,!'1::;tJ::;L'J~11~iJ"f)tJn~1'\11~~Un1'1~n~L1L~::;

~~Vl::;L,jtJ'l,!~n~11~iJ"f)tJn~1~'f)~1'l,!~1~"lJ'f)~t.J1'l,!'J'l,!'\I1U'JtJn[;1'1'J~[;1~'f)(:,)'\I1in~[;1'1~~'"l::;~~Vlfi
., ., OJ

~1L~'"ln1'1~n~1 .;r~iJ'"l::;c;i"f)~~n~11~~1L~'"l[;11~'\I1in~[;1'1111tJ1'l,!L'J~41 Un1'1~n~1
OJ

" ~" ~ ~."I ""' ~ ~., ~ ,,~ 0 .1 0 %,
"lJ'f)9. b'\l1'f)fin1'1U(:,)LlJ'l,!C,J'1n~1n1'1[;11~'1::;LULtJLU~':l:,b;! '\l1~'f)1'l,!1'"l'f)'f)nlJ'1::;n1~fPl1'~~
OJ

. r ~ ~.,

U'1'1~C,J[~;11~L'"[l;1'l,!1'1~ru"lJ'f)~'1::;LUtJU'l,!
tJ'1::;n1~ ru ~'l,!~ 24 fi'l,!'J1fP1~ 2547

C:=:!)"\:,..-~\-\\-.,::::;:;;:--_/
r "'
((:')'1'f.)1"J!'J L[;11~1'l,!'l,!Vl)
'l,!1tJn~111~'\I11~VltJ1itJ

ภาคผนวก ค

ตารางเปรียบเทียบหลักสูตรบริหารธุรกจิ มหาบัณฑิต

หลักสูตรเดมิ ปี พ.ศ. 2555 และหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2558

หลกั สูตรเดมิ พ.ศ. 2555 หลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2558 เหตุผลประกอบ
ชื่อหลักสตู ร ชอ่ื หลกั สตู ร คงเดิม
คงเดมิ
หลกั สตู รบรหิ ารธุรกิจมหาบณั ฑติ หลกั สตู รบรหิ ารธุรกิจมหาบณั ฑติ
ปรบั ลดจานวน
Master of Business Administration Program Master of Business Administration Program หนว่ ยกิต

ช่ือปรญิ ญาภาษาไทย ชือ่ ปริญญาภาษาไทย ปรบั ลดหนว่ ยกิต
ช่ือเตม็ : บรหิ ารธรุ กิจมหาบณั ฑติ ช่ือเต็ม : บรหิ ารธุรกิจมหาบณั ฑิต ของวชิ าแกนและ
วชิ าเอกบงั คบั
ช่ือยอ่ : บธ.ม. ชื่อยอ่ : บธ.ม.
ชอ่ื ปรญิ ญาภาษาอังกฤษ ช่ือปรญิ ญาภาษาองั กฤษ ปรบั ออก
ปรบั ออก
ช่ือเตม็ : Master of Business Administration ช่ือเตม็ : Master of Business Administration ปรบั ออก

ช่ือยอ่ : M.B.A. ช่ือยอ่ : M.B.A.

จานวนหน่วยกติ รวมตลอดหลกั สูตร จานวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร
45 หนว่ ยกิต 39 หนว่ ยกิต

โครงสร้างหลักสตู ร โครงสรา้ งหลักสตู ร
แผน ก แบบ ก 2 (มีวทิ ยานพิ นธ)์ แผน ก แบบ ก 2 (มวี ทิ ยานิพนธ)์

- รายวิชาแกนบรหิ ารธุรกิจ 21 หนว่ ยกิต - รายวชิ าแกนบรหิ ารธรุ กิจ 18 หนว่ ยกิต

- วิชาเอกบงั คบั 12 หนว่ ยกิต - วชิ าเอกบงั คบั 9 หนว่ ยกิต
- วทิ ยานพิ นธ์ 12 หนว่ ยกิต - วิทยานิพนธ์ 12 หนว่ ยกิต

รวม 45 หนว่ ยกิต รวม 39 หนว่ ยกิต

แผน ข (ไมม่ ีวทิ ยานพิ นธ)์ แผน ข (ไมม่ วี ิทยานพิ นธ)์

- รายวชิ าแกนบรหิ ารธุรกิจ 21 หนว่ ยกิต - รายวิชาแกนบรหิ ารธรุ กิจ 18 หนว่ ยกิต

- วิชาเอกบงั คบั 12 หนว่ ยกิต - วิชาเอกบงั คบั 9 หนว่ ยกิต

- วิชาเอกเลอื ก 9 หนว่ ยกิต - วชิ าเอกเลอื ก 9 หนว่ ยกิต

- การศกึ ษาคน้ ควา้ อสิ ระ 3 หนว่ ยกิต - การศกึ ษาคน้ ควา้ อสิ ระ 3 หนว่ ยกิต

รวม 45 หนว่ ยกิต รวม 39 หนว่ ยกิต

3. กลุม่ วิชาเอก 3. กลุม่ วชิ าเอก

จานวน 13 กลมุ่ วชิ า จานวน 4 กลมุ่ วชิ า

3.1 กลมุ่ วชิ าการบญั ชี -

3.2 กลมุ่ วชิ าการภาษีอากร -

3.3 กลมุ่ วชิ าการประกอบการ -

1

หลกั สูตรเดิม พ.ศ. 2555 หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2558 เหตุผลประกอบ

3.4 กลมุ่ วชิ าการจดั การ 3.1 กลมุ่ วชิ าการจดั การ คงเดมิ

- การสอนในชนั้ เรยี น - การสอนในชนั้ เรยี น

- การสอนระบบการศกึ ษาทางไกลทางอินเทอรเ์ นต็ - การสอนระบบการศกึ ษาทางไกลทางอินเทอรเ์ นต็

3.5 กลมุ่ วชิ าการจดั การโลจิสติกส์ 3.2 กลมุ่ วชิ าการจดั การโลจิสตกิ ส์ คงเดมิ

3.6 กลมุ่ วชิ าการจดั การทรพั ยากรมนษุ ย์ - ปรบั ออก

3.7 กลมุ่ วชิ าการตลาด 3.3 กลมุ่ วชิ าการตลาด คงเดมิ

- การสอนในชนั้ เรยี น - การสอนในชนั้ เรยี น

- การสอนระบบการศกึ ษาทางไกลทางอนิ เทอรเ์ นต็ - การสอนระบบการศกึ ษาทางไกลทางอินเทอรเ์ นต็

3.8 กลมุ่ วชิ าการเงิน 3.4 กลมุ่ วชิ าการเงิน คงเดิม

- การสอนในชนั้ เรยี น - การสอนในชนั้ เรยี น

- การสอนระบบการศกึ ษาทางไกลทางอินเทอรเ์ นต็ - การสอนระบบการศกึ ษาทางไกลทางอนิ เทอรเ์ นต็

3.9กลมุ่ วชิ าการบรหิ ารความเสย่ี งและการประกนั ภยั - ปรบั ออก

3.10 กลมุ่ วชิ าการจดั การธุรกิจเกษตร - ปรบั ออก

3.11 กลมุ่ วชิ าการจดั การธุรกิจบนั เทงิ - ปรบั ออก

3.12 กลมุ่ วชิ าภาวะผนู้ า - ปรบั ออก

3.13 กลมุ่ วชิ าธรุ กจิ พลงั งาน - ปรบั ออก

4. คาอธิบายรายวิชา 4. คาอธิบายรายวิชา

(ก) กลุ่มวิชาปรบั พนื้ ฐาน (ก) กลุ่มวิชาปรบั พืน้ ฐาน

MB 001 ภาษาอังกฤษเพอ่ื ธุรกิจ -- MB 001 ภาษาอังกฤษเพื่อธุรกจิ -- ปรบั คาอธิบาย

(Business English) (Business English) รายวชิ าใหก้ ระชบั

ฝึกทกั ษะในการอา่ น การวิเคราะห์ สรุป เอกสาร ฝึกทกั ษะในการอา่ น การวเิ คราะห์ สรุป เอกสาร

ประกอบการเรยี น กรณีศกึ ษา ตาราที่เป็นภาษาองั กฤษ ประกอบการเรยี น กรณีศกึ ษา ตาราที่เป็นภาษาองั กฤษ

เพอ่ื ใชป้ ระโยชนใ์ นการนาเสนอรายงาน

MB 004 ความรู้เบือ้ งต้นทางเศรษฐศาสตร์ -- MB 004 ความรู้เบือ้ งตน้ ทางเศรษฐศาสตร์ -- คงเดิม

(Introduction to Economics) (Introduction to Economics)

ระบบเศรษฐกิจ อุปสงค์ อุปทาน ดุลยภาพ ระบบเศรษฐกิจ อุปสงค์ อุปทาน ดุลยภาพ

ความยืดหยุ่น ของอุปสงคแ์ ละอุปทาน ทฤษฎีความ ความยืดหยุ่น ของอุปสงค์และอุปทาน ทฤษฎีความ

ตอ้ งการของผบู้ ริโภค ทฤษฎีการผลิต การกาหนดราคา ตอ้ งการของผบู้ รโิ ภค ทฤษฎีการผลติ การกาหนดราคา

และดุลยภาพของผผู้ ลิต ปัจจยั การผลิต การวดั รายได้ และดุลยภาพของผผู้ ลิต ปัจจัยการผลิต การวดั รายได้

ประชาชาติ การว่าจ้างทางาน ผลิตผลระดับราคา ประชาชาติ การว่าจ้างทางาน ผลิตผลระดับราคา

เงินตราและการธนาคาร ปัญหาและนโยบายในการ เงินตราและการธนาคาร ปัญหาและนโยบายในการ

แกไ้ ขภาวะเงินเฟอ้ เงินฝืด การคา้ ระหวา่ งประเทศ และ แกไ้ ขภาวะเงินเฟอ้ เงินฝืด การคา้ ระหวา่ งประเทศ และ

การพฒั นาเศรษฐกิจ การพฒั นาเศรษฐกิจ

2

หลกั สตู รเดิม พ.ศ. 2555 หลกั สูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2558 เหตุผลประกอบ

MB 005 ความรู้เบือ้ งตน้ ทางการเงนิ -- MB 005 ความรู้เบือ้ งตน้ ทางการเงนิ -- คงเดิม

(Introduction to Finance) (Introduction to Finance)

บทบาทและความสาคญั ของหนา้ ที่งานการเงิน บทบาทและความสาคญั ของหนา้ ที่งานการเงิน

ในธุรกิจสมยั ใหม่ ความรูเ้ บือ้ งตน้ เก่ียวกบั การวิเคราะห์ ในธุรกิจสมยั ใหม่ ความรูเ้ บือ้ งตน้ เกี่ยวกบั การวิเคราะห์

งบการเงิน มลู ค่าเงินตามเวลา การประเมินมลู ค่าตรา งบการเงิน มูลค่าเงินตามเวลา การประเมินมลู ค่าตรา

สารทุนและตราสารหนี้ ผลตอบแทนและความเสี่ยง สารทุนและตราสารหนี้ ผลตอบแทนและความเส่ียง

เทคนิคต่างๆ ในการประเมินงบประมาณเงินทุน เทคนิคต่างๆ ในการประเมินงบประมาณเงินทุน

ตลอดจนการจดั การโครงสรา้ งทางการเงิน ตลอดจนการจดั การโครงสรา้ งทางการเงิน

MB 006 การบรหิ ารตน้ ทุนเพอ่ื การตัดสินใจ -- รายวชิ าใหม่
(Cost Management for Decision Making)

การจาแนกต้นทุนในรูปแบบต่าง ๆ แนวคิด
เก่ียวกับการบันทึกต้นทุนสินค้า การจัดสรรต้นทุน

การวิเคราะห์ต้นทุนผสม การวิเคราะห์ต้นทุน-

ปรมิ าณ-กาไร

MB 002 ความรู้เบอื้ งตน้ เพ่อื การวิเคราะห์ -- ยกเลกิ

เชงิ ปรมิ าณ

(Introduction to Quantitative Analysis)

ความรูพ้ นื้ ฐานทางดา้ นการวเิ คราะหเ์ ชิงปรมิ าณ

และสถิติพืน้ ฐาน รูปแบบ โปรแกรมเชิงเสน้ ตรงการ

พยากรณ์ การขนสง่ การจดั การสินคา้ คงคลงั สถิติเชิง

พรรณนาและสถิติเชิงอนมุ านเบือ้ งตน้ เพ่ือช่วยในการ

วางแผนวิเคราะหแ์ ละตดั สนิ ใจทางดา้ นธรุ กิจ

MB 003 ความรูเ้ บอื้ งต้นทางการบัญชี -- ยกเลกิ

(Introduction to Accounting)

ลักษณะและวัตถุประสงค์ของการบัญชี การ

จัดทาและนาเสนองบการเงิน การบัญชีเก่ียวกับ

สนิ ทรพั ย์ หนสี้ นิ ทนุ รายได้ และคา่ ใชจ้ า่ ย

3

หลกั สูตรเดิม พ.ศ. 2555 หลกั สูตรปรับปรุง พ.ศ. 2558 เหตุผลประกอบ

(ข) กลุม่ วชิ าแกนบรหิ ารธุรกิจ (ข) กลุม่ วิชาแกนบริหารธุรกจิ

MB 501 เศรษฐศาสตรก์ ารจัดการ 3 (3-0-6) MB 501 เศรษฐศาสตรก์ ารจัดการ 3 (3-0-6) คงเดมิ

(Managerial Economics) (Managerial Economics)

การประยุกตท์ ฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ ในการ การประยุกตท์ ฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ ในการ

กาหนดนโยบายและการตดั สินใจของธุรกิจ โดยเนน้ กาหนดนโยบายและการตดั สินใจของธุรกิจ โดยเนน้

ทฤษฎเี ศรษฐศาสตรจ์ ลุ ภาค ทฤษฎอี ปุ สงคข์ องผบู้ รโิ ภค ทฤษฎีเศรษฐศาสตรจ์ ลุ ภาค ทฤษฎีอปุ สงคข์ องผบู้ รโิ ภค

ลักษณะกาไร การวัดผลกาไรและการจัดสรรเงินทุน ลักษณะกาไร การวัดผลกาไรและการจัดสรรเงินทุน

ลกั ษณะของตลาดแขง่ ขนั ประเภทตา่ งๆ ประเภทตน้ ทนุ ลกั ษณะของตลาดแขง่ ขนั ประเภทตา่ งๆ ประเภทตน้ ทนุ

การวิเคราะหอ์ ปุ สงคแ์ ละการพยากรณ์ ผลกระทบของ การวิเคราะหอ์ ปุ สงคแ์ ละการพยากรณ์ ผลกระทบของ

การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจต่อการดาเนินธุรกิจใน การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจต่อการดาเนินธุรกิจใน

ระยะสนั้ และระยะยาว การกาหนดนโยบายการผลิต ระยะสนั้ และระยะยาว การกาหนดนโยบายการผลิต

สนิ คา้ หลายชนดิ ในขณะเดยี วกนั สนิ คา้ หลายชนิดในขณะเดียวกนั

MB 502 การบญั ชสี าหรับผบู้ รหิ าร 3 (3-0-6) - ยกเลกิ

(Accounting for Manager)

การรวบรวมข้อมูลทางการบัญชีเพื่อจัดทา

รายงานทางการเงิน การวิเคราะห์แปลความหมาย

ขอ้ มลู การจาแนกประเภทตน้ ทนุ การประยกุ ตท์ างการ

บัญชีไปสู่การแก้ปัญหาทางธุรกิจ การวิเคราะห์

ความสมั พนั ธข์ องขอ้ มูลเพื่อประโยชนใ์ นการวางแผน

ควบคุมประเมินผลและตัดสินใจ การใช้สารสนเทศ

ทางการบัญชี การจัดทาบญั ชีตามความรบั ผิดชอบ

ปัญหาการกาหนดราคาโอนของบรษิ ัทขา้ มชาติ

MB 503 พฤติกรรมองคก์ ารและการจัดการ 3 (3-0-6) MB 503 พฤติกรรมองคก์ ารและการจดั การ 3 (3-0-6) ปรบั คาอธิบาย

(Organizational Behavior and Management) (Organizational Behavior and Management) รายวชิ า

แนวความคิดทางพฤติกรรมศาสตร์ ความ แ น ว ค ว า ม คิ ด พ ฤ ติ ก ร ร ม ม นุ ษ ย์ใ น อ ง ค์ก า ร

แตกต่างของบุคคล รูปแบบของกลุ่มในองค์การ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างบุคลากรกับการดาเนินงานของ

ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและกลุ่มการสื่อสาร องคก์ าร ในระดบั บคุ คล ระดบั กลมุ่ และระดบั องคก์ าร

สมั พนั ธ์ระหว่างกล่มุ อิทธิพลของกล่มุ ท่ีมีต่อองคก์ าร การจงู ใจ อานาจและอิทธิพลในองคก์ าร พฤติกรรมกลมุ่

บทบาทของผนู้ าและเทคนิคความเป็นผนู้ า สาเหตแุ ละ การตดั สนิ ใจ การจดั การความขดั แยง้ และการประสาน

แนวทางแก้ไขข้อขัดแย้งในองค์การ กระบวนการ ความรว่ มมือ การทางานเป็นทีม การจดั การวัฒนธรรม

เปลยี่ นแปลงและพฒั นาบคุ คลในองคก์ าร ขององคก์ ารและการจัดการการเปล่ียนแปลงภายใน

องค์การ เพื่อช่วยในการดูแล จูงใจ พัฒนาและธารง

รกั ษาบคุ ลากรในองคก์ าร

4


Click to View FlipBook Version