กระบวนการตดั สินใจใช้บริการส่ังอาหารแบบเดลเิ วอร่ีผ่านแอพพลเิ คช่ันของประชากรวยั ทางาน
แต่ละช่วงอายุในกรุงเทพมหานคร
1. วตั ถุประสงค์ในการทาวจิ ยั
1.1 เพ่ือศึกษากระบวนการตดั สินใจใชบ้ ริการสั่งอาหารแบบเดลิเวอร่ีผ่านแอพพลิเคชน่ั ของประชากรวยั ทางาน
แต่ละช่วงอายใุ นกรุงเทพมหานคร
1.2 เพื่อศึกษากระบวนการตดั สินใจใชบ้ ริการสั่งอาหารแบบเดลิเวอรี่ผ่านแอพพลิเคชนั่ ของประชากรวยั ทางาน
แต่ละช่วงอายใุ นกรุงเทพมหานคร ท่ีจาแนกตามเพศ อายุ ระดบั การศึกษา และรายไดเ้ ฉลี่ยต่อเดือน
1.3 เพื่อศึกษาความสัมพนั ธ์ระหว่างปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด (7Ps) กบั กระบวนการตดั สินใจใชบ้ ริการ
สงั่ อาหารแบบเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชนั่ ของประชากรวยั ทางานแต่ละช่วงอายใุ นกรุงเทพมหานคร
2. กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั การตดั สินใจใชบ้ ริการสง่ั อาหารแบบเดลิเวอร่ีผา่ น
แอพพลิเคชน่ั
ปัจจยั ส่วนบุคคล
-วตั ถุประสงคห์ ลกั ท่ีสง่ั อาหารเดลิเวอร่ี ผา่ น
เพศ แอพพลิเคชนั่
-ช่วงเวลาที่เขา้ มาสง่ั อาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชนั่
อายุ -เหตุผลท่ีเลือกสัง่ อาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชนั่
-ความถ่ีในการสงั่ อาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชน่ั
รชะ่วดงบั การศึกษา -ราคาอาหารท่ีสัง่ อาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชน่ั ต่อ
รายไดเ้ ฉลี่ยต่อเดือน คร้ัง
ปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด (7Ps)
1.ดา้ นผลิตภณั ฑ์ (Product)
2.ดา้ นราคา (Price)
3.ดา้ นช่องทางการจดั จาหน่าย (Place)
4.ดา้ นการส่งเสริม (Promotion)
5.ดา้ นบุคคล (People)
6.ดา้ นกายภาพ (Physical Evidence)
7.ดา้ นกระบวนการ (Process)
กรอบแนวคดิ ในการวจิ ัย
3. นิยามศัพท์
3.1 กระบวนการตดั สินใจใชบ้ ริการสงั่ อาหารแบบเดลิเวอรี่
3.2 ประชากรวยั ทางานแต่ละช่วงอายใุ นกรุงเทพมหานคร
3.3 แอพพลิเคชน่ั
3.4 ปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด (7Ps)
3.5 ดา้ นผลิตภณั ฑ์ (Product)
3.6 ดา้ นราคา (Price)
3.7 ดา้ นช่องทางการจดั จาหน่าย (Place)
3.8 ดา้ นการส่งเสริม (Promotion)
3.9 ดา้ นบุคคล (People)
3.10 ดา้ นกายภาพ (Physical Evidence)
3.11 ดา้ นกระบวนการ (Process)
3.12 วตั ถุประสงคห์ ลกั ท่ีสงั่ อาหารเดวเิ วอร์ร่ี ผา่ นแอพลิเคชนั่
3.13 ช่วงเวลาท่ีเขา้ มาสงั่ อาหารเดวิเวอรี่ผา่ นแอะชพลิเคชน่ั
3.14 เหตุผลท่ีเลือกสงั่ อาหารเดวิเวอร่ีผา่ นแอพลิเคชนั่
3.15 ความถ่ีในการสงั่ สงั่ อาหารเดวเิ วอรี่ผา่ นแอพลิเคชนั่
3.16 ราคาอาหารท่ีสง่ั อาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชน่ั ต่อคร้ัง
4. สมมติฐานในการวจิ ยั
4.1 เพศ อายุ ระดบั การศึกษา รายไดเ้ ฉลี่ยต่อเดือน ต่างกนั น่าจะทาให้การตดั สินใจใชบ้ ริการส่ังอาหารแบบเดลิ
เวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชน่ั ต่างกนั
4.2 ปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด (7Ps) ไดแ้ ก่ ดา้ นผลิตภณั ฑ์ (Product) ดา้ นราคา (Price) ดา้ นช่องทางการจดั
จาหน่าย (Place) ดา้ นการส่งเสริม (Promotion) ดา้ นบุคคล (People) ดา้ นกายภาพ (Physical Evidence) และ
ด้านกระบวนการ (Process) น่าจะมีความสัมพนั ธ์กับการตดั สินใจใช้บริการสั่งอาหารแบบเดลิเวอร่ีผ่าน
แอพพลิเคชน่ั
5. สถติ ทิ ่ีใช้ในการวเิ คราะห์
5.1. สถิติเชิงพรรณนา
ใชค้ ่าร้อยละ และค่าความถี่กบั ตวั แปรที่มีระดบั การวดั เชิงคุณภาพ(เชิงกลุ่ม) ไดแ้ ก่ เพศ อายุ ระดบั การศึกษา
รายไดเ้ ฉล่ียต่อเดือน ปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด (7Ps) ไดแ้ ก่ ดา้ นผลิตภณั ฑ์ (Product) ดา้ นราคา (Price)
ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย (Place) ด้านการส่งเสริม(Promotion) ด้านบุคคล (People) ด้านกายภาพ
(Physical Evidence) และดา้ นกระบวนการ (Process) และการตดั สินใจใชบ้ ริการส่ังอาหารแบบเดลิเวอร่ีผ่าน
แอพพลิเคชน่ั
5.2. สถิติเชิงอนุมาน
สมมุติฐานท่ี 1 เพศ อายุ ระดบั การศึกษา รายไดเ้ ฉล่ียต่อเดือน ต่างกนั น่าจะทาให้การตดั สินใจใชบ้ ริการส่งั
อาหารแบบเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชนั่ ต่างกนั ใชส้ ถิติในการวเิ คราะห์ Cross-tab
สมมุติฐานท่ี 2 เพื่อศึกษาปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด (7Ps) ไดแ้ ก่ ดา้ นผลิตภณั ฑ์ (Product) ดา้ นราคา
(Price) ดา้ นช่องทางการจดั จาหน่าย (Place) ดา้ นการส่งเสริม (Promotion) ดา้ นบุคคล (People) ดา้ นกายภาพ
(Physical Evidence) และด้านกระบวนการ (Process) น่าจะมีความสัมพนั ธ์กับการตดั สินใจใช้บริการส่ัง
อาหารแบบเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชน่ั ใชส้ ถิติในการวเิ คราะห์ Cross-tab
6. ตัวแปรในแบบสอบถามวัดแบบไหน
การวดั ตัวแปรอิสระ
ส่วนท่ี 1
6.1 ตวั แปรที่ 1 เพศ วดั แบบกลุ่ม
o ชาย
o หญิง
6.2 ตวั แปรที่ 2 อายุ วดั แบบกลุ่ม
o อายตุ ่ากว่า 20 ปี
o อายุ 20- 40 ปี
o อายุ 41- 60 ปี
o อายุ 61 ปี ข้ึนไป
6.3 ตวั แปรที่ 3 ระดบั การศึกษา วดั แบบกล่มุ
o ต่ากวา่ มธั ยมศึกษา
o มธั ยมศึกษา/ปวช./ปวส./อนุปริญญา
o ปริญญาตรี
o ปริญญาโท
o ปริญญาเอก
6.4 ตวั แปรท่ี 4 รายไดเ้ ฉล่ียต่อเดือน วดั แบบกล่มุ
o รายไดน้ อ้ ยกวา่ 8,000 บาท
o รายได้ 8,000 – 15,000 บาท
o รายได้ 15,001 – 25,000 บาท
o รายได้ 25,001 – 35,000 บาท
o รายไดม้ ากกวา่ 35,000 บาทข้ึนไป
ส่วนที่ 2
6.5 ตวั แปรท่ี 5 ปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด (7Ps ) ไดแ้ ก่ ดา้ นผลิตภณั ฑ์ (Product) ดา้ นราคา (Price) ดา้ น
ช่องทางการจดั จาหน่าย (Place) ดา้ นการส่งเสริม (Promotion) ดา้ นบคุ คล (People) ดา้ นกายภาพ (Physical
Evidence) และดา้ นกระบวนการ (Process) วดั แบบกลุ่ม
ปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด (7Ps)
ทาเคร่ืองหมาย / ลงในช่องวา่ งที่ตรงกบั ความคิดเห็นของท่าน โดยท่ี
5 หมายถึง เห็นดว้ ยมากที่สุด
4 หมายถึง เห็นดว้ ยมาก
3 หมายถึง เห็นดว้ ยปานกลาง
2 หมายถึง เห็นดว้ ยนอ้ ย
1 หมายถึง เห็นดว้ ยนอ้ ยท่ีสุด
การตัดสินใจใช้บริการสั่งอาหารแบบ ระดบั ความคดิ เหน็
เดลเิ วอร่ีผ่านแอพพลเิ คชั่นของ มากทส่ี ุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยท่ีสุด
ประชากรวยั ทางานแต่ละช่วงอายุใน 1
กรุงเทพมหานคร 543 2
1. ปัจจัยด้านผลติ ภัณฑ์ (Product)
1.รสชาติของอาหารมีความอร่อยถูก
ปากเหมือนกบั รับประทานท่ีร้าน
2.วตั ถุดิบที่ใชใ้ นการประกอบอาหาร
มีคุณภาพดี
3.ร้านอาหารมีช่ือเสียงและมีความ
น่าเชื่อถือ
4.มีรายการอาหารใหเ้ ลือกอยา่ ง
หลากหลาย
5.มีร้านอาหารใหเ้ ลือกอยา่ ง
หลากหลาย
6.บรรจุภณั ฑข์ องการสง่ั อาหารแบบ
Delivery
2. ปัจจยั ด้ายราคา (Price)
1.ราคาการสง่ั อาหารแบบ Delivery มี
ราคาสูงกวา่ การสง่ั ที่หนา้ ร้านไม่มาก
2.การกาหนดการสง่ั ซ้ือข้นั ต่าต่อการ
สงั่ อาหาร Delivery ในแต่ละคร้ังมี
ความเหมาะสม
3.ค่าบริการจดั ส่งมีความเหมาะสมกบั
ระยะทางการใหบ้ ริการ
3. ปัจจยั ด้านช่องทางจดั จาหน่าย (Place)
1.สามารถเขา้ ถึงช่องทางการสง่ั ซ้ือ
อาหารไดง้ ่าย
2.สามารถสง่ั อาหารไดท้ ้งั ทาง
เวบ็ ไซตห์ รือแอพพลิเคชน่ั ได้
โดยสะดวก
3.แอพพลิเคชน่ั สามารถจดจาไดง้ ่าย
4.การชาระเงินมีความสะดวกสบาย
การตดั สินใจใช้บริการส่ังอาหารแบบ ระดบั ความคดิ เหน็
เดลเิ วอรี่ผ่านแอพพลเิ คชั่นของ มากทสี่ ุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยท่สี ุด
ประชากรวยั ทางานแต่ละช่วงอายุใน 1
กรุงเทพมหานคร 543 2
4. ปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด (Promotion)
1.มีการประชาสมั พนั ธ์ตามส่ือต่างๆ
อยา่ งสม่าเสมอ
2.มีคูปองหรือส่วนลดในการสง่ั
อาหารที่น่าดึงดูดใจใหก้ บั ลูกคา้
3.มีการแนะนาเมนูใหม่ๆอยเู่ สมอ
5. ปัจจยั ด้านบุคคล (People)
1.พนกั งานขนส่ง (ไรเดอร์) มีการแต่ง
กายตามยนู ิฟอร์มของบริษทั
2.พนกั งานบริการดว้ ยความเป็นมิตร
และมีอธั ยาศยั ดี
3.พนกั งานท่ีใหบ้ ริการให้ขอ้ มูลที่
ชดั เจนและถูกตอ้ งตามออเดอร์ท่ีสงั่
6. ปัจจัยด้านส่ิงแวดล้อมกายภาพ (Physical evidence)
1.มีการจดั ประเภทอาหารใน
แอพพลิเคชน่ั เป็นหมวดหมู่ เพอ่ื ง่าย
ต่อการสงั่ ซ้ือ
2.รูปภาพอาหารมีความสวยงาม น่า
รับประทาน
3.มีขอ้ มลู ของอาหารและร้านอาหาร
อยา่ งครบถว้ น
7. ปัจจยั ด้านกระบวนการ (Process)
1.ข้นั ตอนในการสมคั ร เขา้ ใชบ้ ริการ
มีความสะดวกและรวดเร็ว
2.ข้นั ตอนในการสง่ั ซ้ืออาหารสะดวก
ไมย่ งุ่ ยาก
ส่วนที่ 3
การวดั ตัวแปรตาม
6.6 กระบวนการตดั สินใจใชบ้ ริการส่ังอาหารแบบเดลิเวอรี่ผ่านแอพพลิเคชนั่ ของประชากรวยั ทางานแต่ละช่วง
อายใุ น
กรุงเทพมหานคร วดั แบบกล่มุ
ทาเคร่ืองหมาย ลงในช่องวา่ งท่ีตรงกบั ความคิดเห็นของท่าน
1. วตั ถุประสงคห์ ลกั ที่สง่ั อาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชน่ั
( ) เพอ่ื บริโภคในแต่ละวนั ( ) เพ่ือใหบ้ ุคคลในครอบครัวบริโภค
( ) เพอ่ื เป็นของขวญั ในโอกาสต่างๆ ( ) เพ่อื ตอ้ งการใชใ้ นการสะสมคะแนนแลก
ส่วนลด
2. ช่วงเวลาท่ีเขา้ มาสงั่ อาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชน่ั
( ) 06.01-10.00 น. ( ) 10.01-14.00 น.
( ) 14.01-18.00 น. ( ) 18.01-22.00 น.
( ) ไม่มีเวลาที่แน่นอน
3. เหตุผลท่ีเลือกสงั่ อาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชน่ั
( ) มีโปรโมชน่ั และส่วนลดมากมาย ( ) ใชค้ ะแนนในแอพพลิเคชนั่ ต่างๆ สาหรับการ
ซ้ือ
( ) มีสินคา้ ใหเ้ ลือกมากมาย ( ) มีการรับคนื สินคา้ และการคืนเงิน
( ) สะดวกต่อการสงั่ และจดั ส่ง
4. ความถ่ีในการสงั่ ซ้ืออาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชนั่ ต่อเดือน
( ) นอ้ ยกวา่ 1 คร้ัง ( ) นอ้ ยกวา่ 1 คร้ัง
( ) 6-10 คร้ัง ( ) 11-15 คร้ัง
( ) มากกว่า 15 คร้ัง
5. ราคาอาหารที่สง่ั อาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชน่ั ต่อคร้ัง
( ) ต่ากวา่ หรือเท่ากบั 200 บาท ( ) 201-400 บาท
( ) 401-600 บาท ( ) 601-800 บาท
( ) มากกว่า 800 บาท
บทที่ 3 วธิ ีดาเนินการวจิ ัย
ระเบียบวธิ ีการวจิ ยั
ผูว้ ิจยั ได้กาหนดระเบียบวิธีในการศึกษา และการเก็บรวบรวมข้อมูลสาหรับการศึกษาปัจจัยส่วนประสมทาง
การตลาดท่ีมีผลต่อการตดั สินใจใชบ้ ริการส่ังอาหารแบบเดลิเวอรี่ผ่านแอพพลิเคชน่ั เป็นการวิจยั เชิงปริมาณ (Quantitative
Research) โดยใชว้ ธิ ีวจิ ยั แบบการสารวจ (Survey Research) ผา่ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลทางแบบสอบถาม (Questionnaire)
สมมุตฐิ านการวจิ ยั
สมมติฐานท่ี 1 เพศ อายุ ระดบั การศึกษา รายไดเ้ ฉล่ียต่อเดือนที่แตกต่างกนั น่าจะทาให้การตดั สินใจใชบ้ ริการส่ัง
อาหารแบบเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชน่ั แตกต่างกนั
สมมตฐิ านที่ 2 ปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด (7Ps) ไดแ้ ก่ ดา้ นผลิตภณั ฑ์ (Product) ดา้ นราคา (Price) ดา้ นช่องทาง
การจัดจาหน่าย (Place) ด้านการส่งเสริม (Promotion) ด้านบุคคล (People) ด้านกายภาพ (Physical Evidence) และด้าน
กระบวนการ (Process) น่าจะมีความสมั พนั ธก์ บั การตดั สินใจใชบ้ ริการสงั่ อาหารแบบเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชน่ั
ประชากรทที่ าการวจิ ัย
ประชากรวยั ทางานแต่ละช่วงอายใุ นกรุงเทพมหานคร
การเลือกกลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตวั อย่างท่ีใชใ้ นการศึกษาวิจยั คร้ังน้ี ไดแ้ ก่ ประชากรวยั ทางานแต่ละช่วงอายใุ นกรุงเทพมหานคร ซ่ึงไม่ทราบ
จานวนประชากรท่ีแน่นอน ผวู้ ิจยั จึงกาหนดขนาดกลุ่มตวั อยา่ งจากสูตรของคอแครน (Cochran,1997 อา้ งในธีรวฒุ ิ เอกะกุล,
2543) โดยยอมรับใหเ้ กิดความคาดเคลื่อนของการสุ่มตวั อยา่ งเท่ากบั 0.5 ไดข้ นาดกลุ่มตวั อยา่ งเท่ากบั 384 ตวั อยา่ ง เพอื่ ความ
สะดวกใน การเก็บรวบรวมขอ้ มูล และเพื่อความแม่นยาในการวิเคราะห์สมมติฐาน ผูว้ ิจยั จึงเพ่ิมขนาดกลุ่มตวั อย่างเป็ น
จานวน 400 ตวั อยา่ ง ซ่ึงปรากฏผลการคานวณ ดงั น้ี
โดยท่ี n = ขนาดของกลุม่ ตวั อยา่ ง
p = สดั ส่วนของลกั ษณะท่ีสนใจในประชากร (ค่า p เท่ากบั 0.5)
e = ความคลาดเคล่ือนที่ยอมรับได้ ในงานวิจยั คร้ังน้ี (ค่า e เท่ากบั 0.05)
Z = ค่า Z ที่ระดบั ความเชื่อมน่ั หรือระดบั นยั สาคญั ระดบั ความเช่ือมนั่ ท่ีระดบั 95% (คา่ Z เท่ากบั 1.96)
-ถา้ ระดบั ความเชื่อมน่ั ที่ 95% หรือระดบั นยั สาคญั 0.05 มีค่า Z = 1.96
-ถา้ ระดบั ความเช่ือมน่ั ที่ 99% หรือระดบั นยั สาคญั 0.01 มีค่า Z = 2.58
แทนคา่ ในสูตร n = 1.962
4(0.05)2
n = 384.16 ≈ 384
จากการคานวณตามสูตรขา้ งตน้ พบวา่ ในกรณีที่ไม่ทราบความแน่นอนของประชากรท่ีระดบั ความเชื่อมน่ั 95% จะ
ไดข้ นาดของกลุ่มตวั อย่างที่เหมาะสมที่สามารถนามาอา้ งอิง เป็ นตวั แทนประชากรของกลุ่มเป้าหมายท้งั หมด เท่ากบั 384
ตวั อยา่ ง เพื่อสะดวกในการประเมินและการวิเคราะห์ขอ้ มูล ผวู้ ิจยั จึงใชข้ นาดกลุ่มตวั อยา่ งจานวน 400 ตวั อยา่ ง ซ่ึงถือไดว้ ่า
ผา่ นเกณฑต์ ามท่ีเงื่อนไขกาหนด คือไม่ต่ากวา่ 384 ตวั อยา่ ง
เครื่องมือท่ใี ช้ในการวจิ ยั
ในการศึกษาคร้ังน้ีใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) เป็ นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง โดย
แบบสอบถามแบ่งเป็น 3 ส่วน ไดแ้ ก่
ส่วนที่ 1 ปัจจยั ส่วนบุคคลของผูต้ อบแบบสอบถาม ลกั ษณะของแบบสอบถามจะเป็นลกั ษณะคาถามแบบปลายปิ ด
(Closed Ended Question) มีตวั เลือกให้เลือกตอบ (Multiple Choice) จานวน 4 ขอ้ ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา และ
รายไดเ้ ฉลี่ยต่อเดือน
ส่วนที่ 2 ปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด (7Ps) ไดแ้ ก่ ดา้ นผลิตภณั ฑ์ (Product) ดา้ นราคา (Price) ดา้ นช่องทางการ
จัดจาหน่าย (Place) ด้านการส่งเสริ ม (Promotion) ด้านบุคคล (People) ด้านกายภาพ (Physical Evidence) และด้าน
กระบวนการ (Process) ที่ส่งผลต่อกการตดั สินใจใชบ้ ริการสั่งอาหารแบบเดลิเวอร่ีผ่านแอพพลิเคชน่ั โดยแบบสอบถามจะ
เป็ นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) โดยมีเกณฑ์ในการประเมิน 5 ระดบั ตามวิธีของลิเคิร์ท (Likert Scales)
แบ่งเป็น 5 ระดบั คือ เห็นดว้ ยมากท่ีสุด เห็นดว้ ยมาก เห็นดว้ ยปานกลาง เห็นดว้ ยนอ้ ย และเห็นดว้ ยนอ้ ยท่ีสุด โดยมีเกณฑ์
การใหค้ ะแนน ดงั น้ี
5 หมายถึง เห็นดว้ ยมากที่สุด
4 หมายถึง เห็นดว้ ยมาก
3 หมายถึง เห็นดว้ ยปานกลาง
2 หมายถึง เห็นดว้ ยนอ้ ย
1 หมายถึง เห็นดว้ ยนอ้ ยท่ีสุด
สาหรับการแปลความหมายของระดบั ความคิดเห็น ผวู้ ิจยั ใชเ้ กณฑก์ ารหาค่าเฉลี่ยในการแปลความหมาย โดยคานวณ
หาความกวา้ งอนั ตรภาคช้นั ไดด้ งั น้ี n = คะแนนสูงสุด – คะแนนต่าสุด
จานวนช้นั
n= 5–1
5
n = 0.8
ดงั น้นั ช้นั ระดบั คะแนนจึงเท่ากบั 0.8 จึงมีเกณฑก์ ารแปลความตามงานวิจยั ไดด้ งั น้ี
คา่ เฉลี่ย 4.21 – 5.00 หมายความวา่ อยใู่ นระดบั สาคญั มากที่สุด
คา่ เฉลี่ย 3.41 – 4.20 หมายความวา่ อยใู่ นระดบั สาคญั มาก
คา่ เฉลี่ย 2.61 – 3.40 หมายความวา่ อยใู่ นระดบั สาคญั ปานกลาง
คา่ เฉล่ีย 1.81 – 2.60 หมายความวา่ อยใู่ นระดบั สาคญั นอ้ ย
คา่ เฉลี่ย 1.00 – 1.80 หมายความวา่ อยใู่ นระดบั สาคญั นอ้ ยที่สุด
ส่วนที่ 3 การตดั สินใจใชบ้ ริการสัง่ อาหารแบบเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชน่ั ลกั ษณะของแบบสอบถามจะเป็นลกั ษณะ
คาถามแบบปลายปิ ด (Closed Ended Question) มีตวั เลือกให้เลือกตอบ (Multiple Choice) จานวน 5 ขอ้ ไดแ้ ก่ วตั ถุประสงค์
หลกั ที่ส่ังอาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชนั่ ช่วงเวลาท่ีเขา้ มาสง่ั อาหารเดลิเวอรี่ผ่านแอพพลิเคชนั่ เหตุผลท่ีเลือกส่ังอาหารเด
ลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชนั่ ความถี่ในการสง่ั ซ้ืออาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชนั่ ต่อเดือน และราคาอาหารท่ีสง่ั อาหารเดลิเวอรี่
ผา่ นแอพพลิเคชนั่ ต่อคร้ัง
วธิ ีการสร้างเครื่องมือ
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจยั คร้ังน้ี คือ แบบสอบถามท่ีผูว้ ิจยั สร้างข้ึนจากการทบทวนวรรณกรรมในบทที่ 2 โดยมี
ข้นั ตอน ดงั ต่อไปน้ี
1.ศึกษาทฤษฎี หลกั การ แนวคิด จากเอกสาร ตารา หนงั สือ เวบ็ ไซต์ และงานวิจยั ที่เกี่ยวขอ้ ง เพ่ือเป็ นแนวทางใน
การสร้างแบบสอบถาม
2.ประเมินความเที่ยงตรงของเน้ือหา (Content Validity) ของแบบสอบถาม โดยนาแบบสอบถามท่ีสร้างข้ึนไปให้
อาจารยท์ ่ีปรึกษา ผูท้ รงคุณวุฒิ หรือผเู้ ชี่ยวชาญดา้ นงานวิจยั ให้คาแนะนาและขอ้ เสนอแนะ จากน้นั จึงไปปรับปรุงแกไ้ ขอีก
คร้ัง
การทดสอบเคร่ืองมือ
1. การหาค่าความเท่ียงตรงของเน้ือหา (Content Validity) โดยการนาเสนอแบบสอบถามท่ีไดส้ ร้างข้ึน นาเสนอ
อาจารยท์ ่ีปรึกษา ผูท้ รงคุณวุฒิ หรือผูเ้ ช่ียวชาญด้านงานวิจยั เพ่ือตรวจสอบความเที่ยงตรงของเน้ือหาและนามาปรับปรุง
แกไ้ ขความสอดคลอ้ งครอบคลุมของเน้ือหาและความถูกตอ้ งของภาษาที่ใช้
2. ความเช่ือถือได้ (Reliability) โดยนาแบบสอบถามท่ีผ่านการตรวจสอบความเท่ียงตรงของเน้ือหา ไปทดลองใช้
(Pre-test) กบั กลุ่มตวั อย่างที่มีลกั ษณะคลา้ ยคลึงกบั กลุ่มตวั อย่างจานวน 40 ตวั อยา่ ง แลว้ นาขอ้ มูลท่ีเก็บรวบรมไดท้ ้งั หมด
จากแบบสอบถามมาตรวจสอบความถูกตอ้ งและนามาวิเคราะห์วดั หาความเชื่อถือได้ (Reliability) โดยใชส้ ัมประสิทธ์ิ
Cronbach’s Alpha 0.7 ข้ึนไปซ่ึงอยใู่ นเกณฑท์ ี่สามารถนาแบบสอบถามไปใชต้ ่อได้
การเกบ็ รวบรวมข้อมูล
การศึกษาวิจยั คร้ังน้ี ศึกษาจากแหล่งขอ้ มูลปฐมภูมิ (Primary Data) เป็ นขอ้ มูลที่ไดจ้ ากการใช้แบบสอบถามเก็บ
ขอ้ มูลจากกลุ่มตวั อย่างท่ีมีประสบการณ์ใชบ้ ริการส่ังอาหารแบบเดลิเวอรี่ผ่านแอพพลิเคชนั่ ของประชากรวยั ทางานแต่ละ
ช่วงอายใุ นกรุงเทพมหานคร จานวน 400 ตวั อยา่ ง โดยผวู้ ิจยั ใชเ้ คร่ืองมือเป็นแบบสอบถามออนไลน์ ผา่ นทาง Google Form
จากน้นั ใชว้ ิธีการเลือกตวั อย่างแบบสโนวบ์ อล (Snowball Sampling) โดยเร่ิมเก็บขอ้ มูลจากกลุ่มตวั อย่างจานวนนอ้ ยก่อน
แลว้ ใหผ้ ตู้ อบแบบสอบถามกลุ่มน้นั แชร์ (Share) หรือส่งลิงค์ (Link) ของแบบสอบถามงานวจิ ยั ต่อไป โดยช่วงเวลาของการ
เกบ็ ขอ้ มูลต้งั แต่วนั ที่ 10 – 16 กรกฎาคม 2565
การวเิ คราะห์ข้อมูล
ในข้นั ตอนของการวิเคราะห์ขอ้ มูลของงานวิจยั โดยส่วนใหญ่จะใชส้ ถิติเป็นเคร่ืองในการวิเคราะห์ขอ้ มูล ซ่ึงจะตอ้ ง
เลือกใชส้ ถิติท่ีถูกตอ้ งตามวตั ถุประสงคข์ องงานวิจยั ลกั ษณะของขอ้ มูลและวตั ถุประสงคใ์ นการใชข้ อ้ มูลน้นั ๆ ซ่ึงจะทาให้
ผลการวจิ ยั มีความถูกตอ้ ง มีคุณภาพและเป็นท่ีน่าเชื่อถือ
สถิติท่ีใชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มูลในงานวิจยั น้ี แบ่งเป็น 2 ประเภทใหญๆ่ ดงั น้ี
1. การวเิ คราะห์ขอ้ มูลเชิงพรรณนา (Desriptive Statistics)
1.1. การวิเคราะห์ขอ้ มูลเกี่ยวกบั ปัจจยั ส่วนบุคคลของกลุ่มตวั อย่าง ไดแ้ ก่ เพศ อายุ ระดบั การศึกษา และ
รายไดเ้ ฉล่ียต่อเดือน และการตดั สินใจใชบ้ ริการสง่ั อาหารแบบเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชน่ั โดยนาเสนอในรูปแบบตารางแจก
แจงค่าความถ่ี (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage)
1.2. การวิเคราะห์ขอ้ มูลเก่ียวกบั ระดบั ความคิดเห็นต่อปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด ไดแ้ ก่ ดา้ นผลิตภณั ฑ์
(Product) ดา้ นราคา (Price) ดา้ นช่องทางการจดั จาหน่าย (Place) ดา้ นการส่งเสริม (Promotion) ดา้ นบุคคล (People) ดา้ น
กายภาพ (Physical Evidence) ดา้ นกระบวนการ (Process) โดยนาเสนอในรูปแบบตารางแจกแจงค่าความถี่ (Frequency) ค่า
ร้อยละ (Percentage)
2. การวเิ คราะห์ขอ้ มูลเชิงอนุมาน (Inferential Statistics)
เป็นการวิเคราะห์การทดสอบสมมติฐาน โดยการใชว้ ธิ ีการทดสอบ คือ
2.1. วิธีการวิเคราะห์ Cross-Tab เพื่อทดสอบความแตกต่างของปัจจยั ส่วนบุคคล ไดแ้ ก่ เพศท่ีแตกต่างกนั อายุ
ท่ีแตกต่างกนั ระดบั การศึกษาท่ีแตกต่างกนั และรายไดเ้ ฉล่ียต่อเดือนที่แตกต่างกนั ส่งผลต่อกระบวนการตดั สินใจใชบ้ ริการ
สงั่ อาหารแบบเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชนั่ ของประชากรวยั ทางานแต่ละช่วงอายใุ นกรุงเทพมหานครแตกต่างกนั หรือไม่
2.2. วิธีการวิเคราะห์ Cross-Tab เพ่ือศึกษาปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด (7Ps) ได้แก่ ด้านผลิตภณั ฑ์
(Product) ดา้ นราคา (Price) ดา้ นช่องทางการจดั จาหน่าย (Place) ดา้ นการส่งเสริม (Promotion) ดา้ นบุคคล (People) ดา้ น
กายภาพ (Physical Evidence) และดา้ นกระบวนการ (Process) ส่งผลต่อการตดั สินใจใชบ้ ริการสั่งอาหารแบบเดลิเวอร่ีผ่าน
แอพพลิเคชน่ั
2.3. วิธีการวิเคราะห์ Cross-Tab เพ่ือศึกษาการตดั สินใจใชบ้ ริการส่ังอาหารแบบเดลิเวอร่ีผ่านแอพพลิเคชนั่
ลกั ษณะของแบบสอบถามจะเป็นลกั ษณะคาถามแบบปลายปิ ด (Closed Ended Question) มีตวั เลือกให้เลือกตอบ (Multiple
Choice) จานวน 5 ขอ้ ไดแ้ ก่ วตั ถุประสงคห์ ลกั ที่ส่ังอาหารเดลิเวอรี่ผ่านแอพพลิเคชน่ั ช่วงเวลาท่ีเขา้ มาสั่งอาหารเดลิเวอร่ี
ผา่ นแอพพลิเคชน่ั เหตุผลท่ีเลือกส่ังอาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชนั่ ความถี่ในการสัง่ ซ้ืออาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชน่ั
ต่อเดือน และราคาอาหารท่ีสง่ั อาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชน่ั ต่อคร้ัง
บทที่ 4 ผลการศึกษา
ส่วนท่ี 1 ข้อมูลส่วนตวั
4.1 การวเิ คราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา
การเก็บขอ้ มูลเพื่อการวิจยั คร้ังน้ี ผวู้ ิจยั ตอ้ งการกลุ่มตวั อยา่ ง จานวน 384 ตวั อยา่ ง เพ่ือความสะดวกในการประเมิน
และการวิเคราะห์ขอ้ มูล ผวู้ ิจยั จึงใชข้ นาดกลุ่มตวั อยา่ งจานวน 400 ตวั อยา่ ง ซ่ึงถือว่าผา่ นเกณฑท์ ี่เง่ือนไขกาหนด คือ ไม่ต่ากวา่
384 ตวั อย่าง โดยผูว้ ิจยั รวบรวมแบบสอบถามเป็ นระยะเวลา 7 วนั (วนั ท่ี 10 – 16 กรกฎาคม 2565) โดยสามารถรวบรวม
แบบสอบถามท่ีมีความสมบูรณ์ครบถว้ นไดจ้ านวนท้งั สิ้น 400 ตวั อย่าง โดยมีรายละเอียดของขอ้ มูลปัจจยั ส่วนบุคคลของ
ผตู้ อบแบบสอบถาม ดงั แสดงในตารางดา้ นล่าง
ส่วนท่ี 1 ปัจจัยส่วนบุคคล
การวิเคราะห์ขอ้ มูลส่วนบุคคล ประกอบดว้ ย เพศ อายุ ระดบั การศึกษา และรายไดเ้ ฉลี่ยต่อเดือน โดยใช้การหา
ค่าความถี่ (Frequency) และร้อยละ (Percentage) มีรายละเอียดดงั ต่อไปน้ี
ตารางที่ 4.1 จานวนและร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถามจาแนกเพศ
เพศ Frequency Percent
ชาย 172 43.0
หญิง 228 57.0
รวม 400 100.0
จากตารางท่ี 4.1 พบว่า ผูต้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็ นเพศหญิง จานวน 228 ตวั อยา่ ง คิดเป็ น ร้อยละ 57.0 และ
เป็นเพศชาย 172 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 43.0
ตารางท่ี 4.2 จานวนและร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถามจาแนกตามอายุ
อายุ Frequency Percent
อายตุ ่ากวา่ 20 ปี 14 3.5
อายุ 20- 40 ปี 293 73.3
อายุ 41- 60 ปี 80 20.0
อายุ 61 ปี ข้ึนไป 13 3.3
รวม 400 100.0
จากตารางท่ี 4.2 พบว่า ผูต้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 20-40 ปี จานวน 293 ตวั อย่าง คิดเป็ นร้อยละ
73.3 รองลงมาคืออายรุ ะหว่าง 41-60 ปี จานวน 80 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 20.0 อายตุ ่ากวา่ 20 ปี จานวน 14 ตวั อยา่ ง คิดเป็น
ร้อยละ 3.5 และ อายุ 61 ปี ข้ึนไป จานวน 13 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 3.3
ตารางท่ี 4.3 จานวนและร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถามจาแนกตามระดบั การศึกษา
ระดบั การศึกษา Frequency Percent
ต่ากวา่ มธั ยมศึกษา 39 9.8
มธั ยมศึกษา/ปวช./ปวส./ 54 13.5
อนุปริญญา
ปริญญาตรี 215 53.8
ปริญญาโท 92 23.0
รวม 400 100.0
จากตารางที่ 4.3 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีการศึกษาอยใู่ นระดบั ปริญญาตรีจานวน 215 ตวั อยา่ ง คิดเป็น
ร้อยละ 53.8 รองลองมาคือระดับปริญญาโท จานวน 92 ตวั อย่าง คิดเป็ นร้อยละ 23.0 ระดับมัธยมศึกษา/ปวช./ปวส./
อนุปริญญา จานวน 54 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 13.5 และ ต่ากวา่ มธั ยมศึกษา จานวน 39 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 9.8
ตารางที่ 4.4 จานวนและร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถามจาแนกตามรายไดเ้ ฉลี่ยต่อเดือน
รายได้เฉล่ียต่อเดือน Frequency Percent
รายไดน้ อ้ ยกว่า 8,000 บาท 26 6.5
รายได้ 8,000 – 15,000 บาท 80 20.0
รายได้ 15,001 – 25,000 บาท 134 33.5
รายได้ 25,001 – 35,000 บาท 26 6.5
รายไดม้ ากกวา่ 35,000 บาทข้ึนไป 134 33.5
รวม 400 100.0
จากตารางท่ี 4.4 พบว่า ผูต้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีรายไดเ้ ฉลี่ยต่อเดือน 15,001 – 25,000 บาท และมีรายได้
มากกวา่ 35,000 บาทข้ึนไป จานวน 134 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 33.5 เท่ากนั รองลงมาคือรายได้ 8,000 – 15,000 บาท จานวน
80 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 20.0 รายไดต้ ่อเดือนนอ้ ยกวา่ 8,000 บาทและรายได้ 25,001 – 35,000 บาท จานวน 26 ตวั อยา่ ง คิด
เป็นร้อยละ 6.5 เท่ากนั
ส่วนที่ 2 ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s)
การวิเคราะห์ขอ้ มูลปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) ส่งผลต่อการตดั สินใจใชบ้ ริการสั่งอาหารแบบเดลิเวอร่ี
ผา่ นแอพพลิเคชน่ั ไดแ้ ก่ ดา้ นผลิตภณั ฑ์ (Product) ดา้ นราคา (Price) ดา้ นช่องทางการจดั จาหน่าย (Place) ดา้ นการส่งเสริม
(Promotion) ดา้ นบุคคล (People) ดา้ นกายภาพ (Physical Evidence) และดา้ นกระบวนการ (Process) โดยใชก้ ารหาคา่ ความถี่
(Frequency) และร้อยละ (Percentage) มีรายละเอียดดงั ต่อไปน้ี
ตารางที่ 4.5 จานวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถามของปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด ดา้ นผลิตภณั ฑ์ (Product)
รสชาติของอาหารมีความอร่อยถูกปากเหมือนกบั รับประทานท่ีร้าน
Frequency Percent
Valid เห็นดว้ ยปานกลาง 81 20.3
เห็นดว้ ยมาก 212 53.0
เห็นดว้ ยมากท่ีสด 107 26.8
Total 400 100.0
จากตารางท่ี 4.5 พบว่า ผูต้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพึงพอใจดา้ นผลิตภณั ฑ์ (Product) รสชาติของอาหาร
มีความอร่อยถูกปากเหมือนกบั รับประทานท่ีร้าน เห็นดว้ ยมาก จานวน 212 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 53.0 รองลงมาคือ เห็น
ดว้ ยมากท่ีสุด จานวน 107 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 26.8 และเห็นดว้ ยปานกลาง จานวน 81 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 20.3
ตารางที่ 4.6 จานวนและร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถามของปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด ดา้ นผลิตภณั ฑ์ (Product)
วตั ถุดิบที่ใชใ้ นการประกอบอาหารมีคุณภาพดี
Frequency Percent
Valid เห็นดว้ ยปานกลาง 95 23.8
เห็นดว้ ยมาก 226 56.5
เห็นดว้ ยมากที่สด 79 19.8
Total 400 100.0
จากตารางที่ 4.6 พบว่า ผูต้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพึงพอใจดา้ นผลิตภณั ฑ์ (Product) วตั ถุดิบท่ีใชใ้ น
การประกอบอาหารมีคุณภาพดี เห็นดว้ ยมาก จานวน 226 ตวั อย่าง คิดเป็ นร้อยละ 56.5 รองลงมาคือ เห็นดว้ ยปานกลาง
จานวน 95 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 23.8 และเห็นดว้ ยมากที่สุด จานวน 79 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 19.8
ตารางที่ 4.7 จานวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถามของปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด ดา้ นผลิตภณั ฑ์ (Product)
ร้านอาหารมีช่ือเสียงและมีความน่าเช่ือถือ
Valid เห็นดว้ ยปานกลาง Frequency Percent
เห็นดว้ ยมาก 121 30.3
เห็นดว้ ยมากที่สด 226 56.5
53 13.3
Total 400
100.0
จากตารางที่ 4.7 พบว่า ผูต้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพึงพอใจด้านผลิตภัณฑ์ (Product) ร้านอาหาร
มีชื่อเสียงและมีความน่าเชื่อถือ เห็นดว้ ยมาก จานวน 226 ตวั อย่าง คิดเป็ นร้อยละ 56.5 รองลงมาคือ เห็นดว้ ยปานกลาง
จานวน 121 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 30.3 และเห็นดว้ ยมากท่ีสุด จานวน 53 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 13.3
ตารางท่ี 4.8 จานวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถามของปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด ดา้ นผลิตภณั ฑ์ (Product) มี
รายการอาหารใหเ้ ลือกอยา่ งหลากหลาย
Frequency Percent
Valid เห็นดว้ ยปานกลาง 82 20.5
เห็นดว้ ยมาก 172 43.0
เห็นดว้ ยมากที่สด 146 36.5
Total 400 100.0
จากตารางที่ 4.8 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพึงพอใจดา้ นผลิตภณั ฑ์ (Product) มีรายการอาหารให้
เลือกอยา่ งหลากหลาย เห็นดว้ ยมาก จานวน 172 ตวั อย่าง คิดเป็ นร้อยละ 43.0 รองลงมาคือ เห็นดว้ ยมากที่สุด จานวน 146
ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 36.5 และเห็นดว้ ยปานกลาง จานวน 82 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 20.5
ตารางที่ 4.9 จานวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถามของปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด ดา้ นผลิตภณั ฑ์ (Product) มี
ร้านอาหารใหเ้ ลือกอยา่ งหลากหลาย
Frequency Percent
Valid เห็นดว้ ยปานกลาง 40 10.0
เห็นดว้ ยมาก 160 40.0
เห็นดว้ ยมากท่ีสด 200 50.0
Total 400 100.0
จากตารางที่ 4.9 พบว่า ผูต้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพึงพอใจดา้ นผลิตภณั ฑ์ (Product) มีร้านอาหารให้
เลือกอยา่ งหลากหลาย เห็นดว้ ยมากท่ีสุด จานวน 200 ตวั อยา่ ง คิดเป็ นร้อยละ 50.0 รองลงมาคือ เห็นดว้ ยมาก จานวน 160
ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 40.0 และเห็นดว้ ยปานกลาง จานวน 40 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 10.0
ตารางท่ี 4.10 จานวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถามของปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด ดา้ นผลิตภณั ฑ์ (Product)
บรรจุภณั ฑข์ องการสงั่ อาหารแบบ Delivery
Frequency Percent
Valid เห็นดว้ ยนอ้ ย 13 3.3
เห็นดว้ ยปานกลาง 121 30.3
เห็นดว้ ยมาก 145 36.3
เห็นดว้ ยมากท่ีสด 121 30.3
Total 400 100.0
จากตารางท่ี 4.10 พบว่า ผูต้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพึงพอใจดา้ นผลิตภณั ฑ์ (Product) บรรจุภณั ฑข์ อง
การส่ังอาหารแบบ Delivery เห็นดว้ ยมาก จานวน 145 ตวั อย่าง คิดเป็ นร้อยละ 36.3 รองลงมาคือ เห็นดว้ ยมากท่ีสุด และ
เห็นดว้ ยปานกลาง จานวน 121 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 30.3 เท่ากนั และเห็นดว้ ยนอ้ ย จานวน 13 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 3.3
ตารางท่ี 4.11 จานวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถามของปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด ดา้ นราคา (Price) ราคาการ
สงั่ อาหารแบบ Delivery มีราคาสูงกวา่ การสงั่ ท่ีหนา้ ร้านไมม่ าก
Frequency Percent
Valid เห็นดว้ ยนอ้ ย 13 3.3
เห็นดว้ ยปานกลาง 146 36.5
เห็นดว้ ยมาก 108 27.0
เห็นดว้ ยมากที่สด 133 33.3
Total 400 100.0
จากตารางท่ี 4.11 พบว่า ผูต้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพึงพอใจดา้ นราคา (Price) ราคาการส่ังอาหารแบบ
Delivery มีราคาสูงกว่าการส่ังท่ีหนา้ ร้านไม่มาก เห็นดว้ ยปานกลาง จานวน 146 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 36.5 รองลงมาคือ
เห็นดว้ ยมากที่สุด จานวน 133 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 33.3 เห็นดว้ ยมาก จานวน 108 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 27.0 และเห็น
ดว้ ยนอ้ ย จานวน 13 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 3.3
ตารางท่ี 4.12 จานวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถามของปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด ดา้ นราคา (Price) การ
กาหนดการสงั่ ซ้ือข้นั ต่าต่อการสงั่ อาหาร Delivery ในแต่ละคร้ังมีความเหมาะสม
Frequency Percent
Valid เห็นดว้ ยนอ้ ยที่สุด 13 3.3
เห็นดว้ ยนอ้ ย 39 9.8
เห็นดว้ ยปานกลาง 163 40.8
เห็นดว้ ยมาก 145 36.3
เห็นดว้ ยมากท่ีสด 40 10.0
Total 400 100.0
จากตารางท่ี 4.12 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพึงพอใจดา้ นราคา (Price) การกาหนดการสัง่ ซ้ือข้นั
ต่าต่อการส่ังอาหาร Delivery ในแต่ละคร้ังมีความเหมาะสม เห็นดว้ ยปานกลาง จานวน 163 ตวั อยา่ ง คิดเป็ นร้อยละ 40.8
รองลงมาคือ เห็นดว้ ยมาก จานวน 145 ตวั อย่าง คิดเป็ นร้อยละ 36.3 เห็นดว้ ยมากท่ีสุด จานวน 40 ตวั อยา่ ง คิดเป็ นร้อยละ
10.0 เห็นดว้ ยนอ้ ย จานวน 39 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 9.8 และเห็นดว้ ยนอ้ ยท่ีสุด จานวน 13 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 3.3
ตารางท่ี 4.13 จานวนและร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถามของปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด ดา้ นราคา (Price) ค่าบริการ
จดั ส่งมีความเหมาะสมกบั ระยะทางการใหบ้ ริการ
Valid เห็นดว้ ยนอ้ ยที่สุด Frequency Percent
เห็นดว้ ยปานกลาง 26 6.5
เห็นดว้ ยมาก
เห็นดว้ ยมากที่สด 109 27.3
133 33.3
Total 132 33.0
400 100.0
จากตารางท่ี 4.13 พบว่า ผูต้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพึงพอใจดา้ นราคา (Price) ค่าบริการจดั ส่งมีความ
เหมาะสมกบั ระยะทางการให้บริการ เห็นดว้ ยมาก จานวน 133 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 33.3 รองลงมาคือ เห็นดว้ ยมากท่ีสุด
จานวน 132 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 33.0 เห็นดว้ ยปานกลาง จานวน 109 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 27.3 และเห็นดว้ ยนอ้ ยที่สุด
จานวน 26 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 6.5
ตารางที่ 4.14 จานวนและร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถามของปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด ดา้ นช่องทางการจดั จาหน่าย
(Place) สามารถเขา้ ถึงช่องทางการสงั่ ซ้ืออาหารไดง้ ่าย
Frequency Percent
Valid เห็นดว้ ยปานกลาง 28 7.0
เห็นดว้ ยมาก 160 40.0
เห็นดว้ ยมากท่ีสด 212 53.0
Total 400 100.0
จากตารางที่ 4.14 พบว่า ผูต้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพึงพอใจดา้ นช่องทางการจดั จาหน่าย (Place)
สามารถเขา้ ถึงช่องทางการสง่ั ซ้ืออาหารไดง้ ่าย เห็นดว้ ยมากที่สุด จานวน 212 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 53.0 รองลงมาคือ เห็น
ดว้ ยมาก จานวน 160 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 40.0 และเห็นดว้ ยปานกลาง จานวน 28 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 7.0
ตารางที่ 4.15 จานวนและร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถามของปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด ดา้ นช่องทางการจดั จาหน่าย
(Place) สามารถสงั่ อาหารไดท้ ้งั ทางเวบ็ ไซตห์ รือแอพพลิเคชน่ั ไดโ้ ดยสะดวก
Frequency Percent
Valid เห็นดว้ ยนอ้ ยท่ีสุด 14 3.5
เห็นดว้ ยปานกลาง 69 17.3
เห็นดว้ ยมาก 92 23.0
เห็นดว้ ยมากท่ีสด 225 56.3
Total 400 100.0
จากตารางที่ 4.15 พบว่า ผูต้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพึงพอใจด้านช่องทางการจดั จาหน่าย (Place)
สามารถส่งั อาหารไดท้ ้งั ทางเวบ็ ไซตห์ รือแอพพลิเคชน่ั ไดโ้ ดยสะดวก เห็นดว้ ยมากท่ีสุด จานวน 225 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ
56.3 รองลงมาคือ เห็นดว้ ยมาก จานวน 92 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 23.0 เห็นดว้ ยปานกลาง จานวน 69 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อย
ละ 17.3 และเห็นดว้ ยนอ้ ยที่สุด จานวน 14 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 3.5
ตารางท่ี 4.16 จานวนและร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถามของปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด ดา้ นช่องทางการจดั จาหน่าย
(Place) แอพพลิเคชนั่ สามารถจดจาไดง้ ่าย
Frequency Percent
Valid เห็นดว้ ยปานกลาง 14 3.5
เห็นดว้ ยมาก 200 50.0
เห็นดว้ ยมากท่ีสด 186 46.5
Total 400 100.0
จากตารางที่ 4.16 พบว่า ผูต้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพึงพอใจด้านช่องทางการจดั จาหน่าย (Place)
แอพพลิเคชน่ั สามารถจดจาไดง้ ่าย เห็นดว้ ยมาก จานวน 200 ตวั อยา่ ง คิดเป็ นร้อยละ 50.0 รองลงมาคือ เห็นดว้ ยมากที่สุด
จานวน 186 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 46.5 และเห็นดว้ ยปานกลาง จานวน 14 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 3.5
ตารางที่ 4.17 จานวนและร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถามของปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด ดา้ นช่องทางการจดั จาหน่าย
(Place) การชาระเงินมีความสะดวกสบาย
Frequency Percent
Valid เห็นดว้ ยปานกลาง 55 13.8
เห็นดว้ ยมาก 134 33.5
เห็นดว้ ยมากท่ีสด 211 52.8
Total 400 100.0
จากตารางท่ี 4.17 พบว่า ผูต้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพึงพอใจดา้ นช่องทางการจดั จาหน่าย (Place) การ
ชาระเงินมีความสะดวกสบาย เห็นดว้ ยมากที่สุด จานวน 211 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 52.8 รองลงมาคือ เห็นดว้ ยมาก จานวน
134 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 33.5 และเห็นดว้ ยปานกลาง จานวน 55 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 13.8
ตารางที่ 4.18 จานวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถามของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด ด้านการส่งเสริม
(Promotion) มีการประชาสมั พนั ธต์ ามสื่อต่างๆอยา่ งสม่าเสมอ
Frequency Percent
Valid เห็นดว้ ยนอ้ ย 14 3.5
เห็นดว้ ยปานกลาง 161 40.3
เห็นดว้ ยมาก 106 26.5
เห็นดว้ ยมากท่ีสด 106 26.5
Total 387 96.8
Missing System 13 3.3
Total 400 100.0
จากตารางท่ี 4.18 พบว่า ผูต้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพึงพอใจด้านการส่งเสริม (Promotion) มีการ
ประชาสัมพนั ธ์ตามสื่อต่างๆอยา่ งสม่าเสมอ เห็นดว้ ยปานกลาง จานวน 161 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 40.3 รองลงมาคือ เห็น
ดว้ ยมากและเห็นดว้ ยมากท่ี จานวน 106 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 26.5 เท่ากนั และเห็นดว้ ยนอ้ ย จานวน 14 ตวั อยา่ ง คิดเป็น
ร้อยละ 3.5 *ความผดิ พลาดของระบบ จานวน 13 ตวั อยา่ ง คิดแป็นร้อยละ 3.3
ตารางท่ี 4.19 จานวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด ด้านการส่งเสริม
(Promotion) มีคูปองหรือส่วนลดในการสงั่ อาหารท่ีน่าดึงดูดใจให้กบั ลูกคา้
Frequency Percent
Valid เห็นดว้ ยนอ้ ยที่สุด 13 3.3
เห็นดว้ ยปานกลาง 83 20.8
เห็นดว้ ยมาก 145 36.3
เห็นดว้ ยมากท่ีสด 159 39.8
Total 400 100.0
จากตารางที่ 4.19 พบว่า ผตู้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพึงพอใจดา้ นการส่งเสริม (Promotion) มีคูปองหรือ
ส่วนลดในการส่ังอาหารท่ีน่าดึงดูดใจให้กบั ลูกคา้ เห็นดว้ ยมากที่สุด จานวน 159 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 39.8 รองลงมาคือ
เห็นดว้ ยมาก จานวน 145 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 36.3 เห็นดว้ ยปานกลาง จานวน 83 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 20.8 และเห็น
ดว้ ยนอ้ ยที่สุด จานวน 13 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 3.3
ตารางที่ 4.20 จานวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด ด้านการส่งเสริม
(Promotion) มีการแนะนาเมนูใหมๆ่ อยเู่ สมอ
Frequency Percent
Valid เห็นดว้ ยนอ้ ยที่สุด 13 3.3
เห็นดว้ ยปานกลาง 122 30.5
เห็นดว้ ยมาก 146 36.5
เห็นดว้ ยมากท่ีสด 106 26.5
Total 387 96.8
Missing System 13 3.3
Total 400 100.0
จากตารางท่ี 4.20 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพึงพอใจดา้ นการส่งเสริม (Promotion) มีการแนะนา
เมนูใหม่ๆอยู่เสมอ เห็นดว้ ยมาก จานวน 146 ตวั อย่าง คิดเป็ นร้อยละ 36.5 รองลงมาคือ เห็นดว้ ยปานกลาง จานวน 122
ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 30.5 เห็นดว้ ยมากท่ีสุด จานวน 106 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 26.5 และเห็นดว้ ยนอ้ ยท่ีสุด จานวน 13
ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 3.3 *ความผิดพลาดของระบบ จานวน 13 ตวั อยา่ ง คิดแป็นร้อยละ 3.3
ตารางที่ 4.21 จานวนและร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถามของปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด ดา้ นบุคคล (People)
พนกั งานขนส่ง (ไรเดอร์) มีการแต่งกายตามยนู ิฟอร์มของบริษทั
Frequency Percent
Valid เห็นดว้ ยนอ้ ย 13 3.3
เห็นดว้ ยปานกลาง 108 27.0
เห็นดว้ ยมาก 212 53.0
เห็นดว้ ยมากที่สด 67 16.8
Total 400 100.0
จากตารางท่ี 4.21 พบว่า ผูต้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพึงพอใจ ด้านบุคคล (People) พนักงานขนส่ง
(ไรเดอร์) มีการแต่งกายตามยูนิฟอร์มของบริษทั เห็นดว้ ยมาก จานวน 212 ตวั อย่าง คิดเป็ นร้อยละ 53.0 รองลงมาคือ เห็น
ดว้ ยปานกลาง จานวน 108 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 27.0 เห็นดว้ ยมากท่ีสุด จานวน 67 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 16.8 และเห็น
ดว้ ยนอ้ ย จานวน 13 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 3.3
ตารางที่ 4.22 จานวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถามของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด ด้านบุคคล (People)
พนกั งานบริการดว้ ยความเป็นมิตรและมีอธั ยาศยั ดี
Frequency Percent
Valid เห็นดว้ ยนอ้ ย 13 3.3
เห็นดว้ ยปานกลาง 68 17.0
เห็นดว้ ยมาก 159 39.8
เห็นดว้ ยมากที่สด 160 40.0
Total 400 100.0
จากตารางที่ 4.22 พบว่า ผตู้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพึงพอใจ ดา้ นบุคคล (People) พนกั งานบริการดว้ ย
ความเป็นมิตรและมีอธั ยาศยั ดี เห็นดว้ ยมากที่สุด จานวน 160 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 40.0 รองลงมาคือ เห็นดว้ ยมาก จานวน
159 ตวั อย่าง คิดเป็ นร้อยละ 39.8 เห็นดว้ ยปานกลาง จานวน 68 ตวั อย่าง คิดเป็ นร้อยละ 17.0 และเห็นดว้ ยน้อย จานวน 13
ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 3.3
ตารางท่ี 4.23 จานวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถามของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด ด้านบุคคล (People)
พนกั งานที่ใหบ้ ริการใหข้ อ้ มูลที่ชดั เจนและถูกตอ้ งตามออเดอร์ที่สง่ั
Frequency Percent
Valid เห็นดว้ ยนอ้ ย 13 3.3
เห็นดว้ ยปานกลาง 69 17.3
เห็นดว้ ยมาก 158 39.5
เห็นดว้ ยมากท่ีสด 160 40.0
Total 400 100.0
จากตารางท่ี 4.23 พบว่า ผตู้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพึงพอใจ ดา้ นบุคคล (People) พนกั งานท่ีใหบ้ ริการ
ใหข้ อ้ มูลท่ีชดั เจนและถูกตอ้ งตามออเดอร์ท่ีสง่ั เห็นดว้ ยมากท่ีสุด จานวน 160 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 40.0 รองลงมาคือ เห็น
ดว้ ยมาก จานวน 158 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 39.5 เห็นดว้ ยปานกลาง จานวน 69 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 17.3 และเห็นดว้ ย
นอ้ ย จานวน 13 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 3.3
ตารางท่ี 4.24 จานวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถามของปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด ดา้ นกายภาพ (Physical
Evidence) มีการจดั ประเภทอาหารในแอพพลิเคชนั่ เป็นหมวดหมู่ เพอ่ื ง่ายต่อการสง่ั ซ้ือ
Frequency Percent
Valid เห็นดว้ ยปานกลาง 54 13.5
เห็นดว้ ยมาก 186 46.5
เห็นดว้ ยมากที่สด 160 40.0
Total 400 100.0
จากตารางที่ 4.24 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพึงพอใจ ดา้ นกายภาพ (Physical Evidence) มีการจดั
ประเภทอาหารในแอพพลิเคชน่ั เป็นหมวดหมู่ เพื่อง่ายต่อการส่ังซ้ือ เห็นดว้ ยมาก จานวน 186 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 46.5
รองลงมาคือ เห็นดว้ ยมากที่สุด จานวน 160 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 40.0 และ เห็นดว้ ยปานกลาง จานวน 54 ตวั อยา่ ง คิดเป็น
ร้อยละ 13.5
ตารางที่ 4.25 จานวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถามของปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด ด้านกายภาพ (Physical
Evidence) รูปภาพอาหารมีความสวยงาม น่ารับประทาน
Frequency Percent
Valid เห็นดว้ ยนอ้ ย 14 3.5
เห็นดว้ ยปานกลาง 53 13.3
เห็นดว้ ยมาก 188 47.0
เห็นดว้ ยมากที่สด 145 36.3
Total 400 100.0
จากตารางท่ี 4.25 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพึงพอใจ ดา้ นกายภาพ (Physical Evidence) รูปภาพ
อาหารมีความสวยงาม น่ารับประทาน เห็นดว้ ยมาก จานวน 188 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 47.0 รองลงมาคือ เห็นดว้ ยมากที่สุด
จานวน 145 ตวั อย่าง คิดเป็ นร้อยละ 36.3 เห็นดว้ ยปานกลาง จานวน 53 ตวั อย่าง คิดเป็ นร้อยละ 13.3 และเห็นดว้ ยน้อย
จานวน 14 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 3.5
ตารางที่ 4.26 จานวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถามของปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด ดา้ นกายภาพ (Physical
Evidence) มีขอ้ มูลของอาหารและร้านอาหารอยา่ งครบถว้ น
Valid เห็นดว้ ยนอ้ ย Frequency Percent
เห็นดว้ ยปานกลาง 14 3.5
เห็นดว้ ยมาก
เห็นดว้ ยมากท่ีสด 109 27.3
119 29.8
Total 158 39.5
400 100.0
จากตารางท่ี 4.26 พบว่า ผตู้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพึงพอใจ ดา้ นกายภาพ (Physical Evidence) มีขอ้ มูล
ของอาหารและร้านอาหารอยา่ งครบถว้ น เห็นดว้ ยมากที่สุด จานวน 158 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 39.5 รองลงมาคือ เห็นดว้ ย
มาก จานวน 119 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 29.8 เห็นดว้ ยปานกลาง จานวน 109 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 27.3 และเห็นดว้ ยนอ้ ย
จานวน 14 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 3.5
ตารางท่ี 4.27 จานวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถามของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด ด้านกระบวนการ
(Process) ข้นั ตอนในการสมคั ร เขา้ ใชบ้ ริการมีความสะดวกและรวดเร็ว
Frequency Percent
Valid เห็นดว้ ยปานกลาง 97 24.3
เห็นดว้ ยมาก 197 49.3
เห็นดว้ ยมากท่ีสด 106 26.5
Total 400 100.0
จากตารางที่ 4.27 พบว่า ผูต้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพึงพอใจ ดา้ นกระบวนการ (Process) ข้นั ตอนใน
การสมคั ร เขา้ ใชบ้ ริการมีความสะดวกและรวดเร็ว เห็นดว้ ยมาก จานวน 197 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 49.3 รองลงมาคือ เห็น
ดว้ ยมากที่สุด จานวน 106 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 26.5 และเห็นดว้ ยปานกลาง จานวน 97 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 24.3
ตารางที่ 4.28 จานวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถามของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด ด้านกระบวนการ
(Process) ข้นั ตอนในการสงั่ ซ้ืออาหารสะดวก ไม่ยงุ่ ยาก
Frequency Percent
Valid เห็นดว้ ยปานกลาง 42 10.5
เห็นดว้ ยมาก 199 49.8
เห็นดว้ ยมากท่ีสด 159 39.8
Total 400 100.0
จากตารางที่ 4.28 พบว่า ผตู้ อบแบบสอบถามส่วนใหญม่ ีความพึงพอใจ ดา้ นกระบวนการ (Process) ข้นั ตอนใน
การสง่ั ซ้ืออาหารสะดวก ไม่ยงุ่ ยาก เห็นดว้ ยมาก จานวน 199 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 49.8 รองลงมาคือ เห็นดว้ ยมากท่ีสุด
จานวน 159 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 39.8 และเห็นดว้ ยปานกลาง จานวน 42 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 10.5
ส่วนที่ 3 การตัดสินใจใช้บริการส่ังอาหารแบบเดลเิ วอรี่ผ่านแอพพลเิ คช่ัน
การวิเคราะห์การตดั สินใจใชบ้ ริการสั่งอาหารแบบเดลิเวอรี่ผ่านแอพพลิเคชน่ั ไดแ้ ก่ วตั ถุประสงคห์ ลกั ท่ีส่ังอาหาร
เดลิเวอร่ีผ่านแอพพลิเคชั่น ช่วงเวลาที่เขา้ มาสั่งอาหารเดลิเวอร่ีผ่านแอพพลิเคช่ัน เหตุผลที่เลือกสั่งอาหารเดลิเวอร่ีผ่าน
แอพพลิเคช่ัน ความถ่ีในการสั่งซ้ืออาหารเดลิเวอร่ีผ่านแอพพลิเคชน่ั ต่อเดือน และราคาอาหารท่ีส่ังอาหารเดลิเวอรี่ผ่าน
แอพพลิเคชน่ั ต่อคร้ัง โดยใชก้ ารหาค่าความถ่ี (Frequency) และร้อยละ (Percentage) มีรายละเอียดดงั ต่อไปน้ี
ตารางที่ 4.29 จานวนและร้อยละของวตั ถุประสงคห์ ลกั ท่ีสง่ั อาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชน่ั
วตั ถุประสงค์หลักทีส่ ่ังอาหารเดลเิ วอร่ีผ่าน
แอพพลเิ คช่ัน Frequency Percent
เพื่อบริโภคในแต่ละวนั 360 90.0
เพ่ือใหบ้ ุคคลในครอบครัว 10 2.5
บริโภค
เพ่อื เป็นของขวญั ในโอกาส 20 5.0
ต่างๆ
เพอ่ื ตอ้ งการใชใ้ นการสะสม 10 2.5
คะแนนแลกส่วนลด
รวม 400 100.0
จากตารางท่ี 4.29 พบว่า ผตู้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่วตั ถุประสงคห์ ลกั ที่สัง่ อาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชน่ั เพ่ือ
บริโภคในแต่ละวนั จานวน 360 ตวั อย่าง คิดเป็ นร้อยละ 90.0 รองลงมาคือเพ่ือเป็ นของขวญั ในโอกาสต่างๆ จานวน 20
ตวั อย่าง คิดเป็ นร้อยละ 5.0 เพื่อให้บุคคลในครอบครัวบริโภคและเพ่ือตอ้ งการใชใ้ ชใ้ นการสะสมคะแนนแลกส่วนลด
จานวน 10 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 2.5
ตารางที่ 4.30 จานวนและร้อยละของช่วงเวลาท่ีเขา้ มาสง่ั อาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชนั่
ช่วงเวลาที่เข้ามาสั่งอาหารเดลเิ วอร่ี
ผ่านแอพพลเิ คชั่น Frequency Percent
06.01-10.00 น. 90 22.5
10.01-14.00 น. 180 45.0
14.01-18.00 น. 50 12.5
ไมม่ ีเวลาท่ีแน่นอน 80 20.0
รวม 400 100.0
จากตารางท่ี 4.30 พบว่า ผูต้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่ช่วงเวลาท่ีเขา้ มาส่ังอาหารเดลิเวอรี่ผ่านแอพพลิเคชนั่ เวลา
10.01-14.00 น.จานวน 180 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 45.0 รองลงมาคือเวลา 06.01-10.00 น. จานวน 90 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อย
ละ 22.5 ไมม่ ีเวลาท่ีแน่นอน จานวน 80 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 20.0 และเวลา 14.01-18.00 น. คิดเป็นร้อยละ 12.5
ตารางท่ี 4.31 จานวนและร้อยละของเหตุผลท่ีเลือกสง่ั อาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชนั่
เหตุผลท่เี ลือกส่ังอาหารเดลเิ วอร่ีผ่าน Frequency Percent
แอพพลเิ คช่ัน
มีโปรโมชนั่ และส่วนลดมากมาย 20 5.0
10 2.5
ใชค้ ะแนนในแอพพลิเคชนั่ ต่างๆ
สาหรับการซ้ือ
มีสินคา้ ใหเ้ ลือกมากมาย 210 52.5
มีการรับคืนสินคา้ และการคืนเงิน 30 7.5
สะดวกต่อการสง่ั และจดั ส่ง 130 32.5
รวม 400 100.0
จากตารางท่ี 4.31 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่เหตุผลท่ีเลือกสงั่ อาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชนั่ คือมีสินคา้
ให้เลือกมากมาย จานวน 210 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 52.5 รองลงมาคือสะดวกต่อการสง่ั และจดั ส่ง จานวน 130 ตวั อยา่ ง คิด
เป็นร้อยละ 32.5 มีการรับคืนสินคา้ และการคืนเงิน จานวน 30 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 7.5 มีโปรโมชนั่ และส่วนลดมากมาย
จานวน 20 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 5.0 และใชค้ ะแนนในแอพพลิเคชนั่ ต่างๆ สาหรับการซ้ือ จานวน 10 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อย
ละ 2.5
ตารางท่ี 4.32 จานวนและร้อยละของความถ่ีในการสงั่ ซ้ืออาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชนั่ ต่อเดือน
ความถใ่ี นการสั่งซื้ออาหารเดลเิ วอรี่ผ่าน
แอพพลเิ คชั่นต่อเดือน Frequency Percent
นอ้ ยกว่า 1 คร้ัง 10 2.5
1-5 คร้ัง 30 7.5
6-10 คร้ัง 150 37.5
11-15 คร้ัง 70 17.5
มากกวา่ 15 คร้ัง 140 35.0
รวม 400 100.0
จากตารางที่ 4.32 พบว่า ผูต้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่ความถี่ในการส่ังซ้ืออาหารเดลิเวอร่ีผ่านแอพพลิเคชน่ั ต่อ
เดือน 6-10 คร้ัง จานวน 150 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 37.5 รองลงมาคือมากกว่า 15 คร้ัง จานวน 140 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ
35.0 11-15 คร้ัง จานวน 70 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 17.5 1-5 คร้ัง จานวน 30 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 7.5 และนอ้ ยกวา่ 1 คร้ัง
จานวน 10 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 2.5
ตารางท่ี 4.33 จานวนและร้อยละของราคาอาหารท่ีสง่ั อาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชนั่ ต่อคร้ัง
ราคาอาหารทสี่ ่ังอาหารเดลเิ วอร่ีผ่าน Frequency Percent
แอพพลิเคชั่นต่อคร้ัง
ต่ากวา่ หรือเท่ากบั 200 บาท 290 72.5
201-400 บาท 70 17.5
401-600 บาท 10 2.5
601-800 บาท 10 2.5
มากกวา่ 800 บาท 20 5.0
รวม 400 100.0
จากตารางท่ี 4.33 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่ราคาอาหารที่สัง่ อาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชนั่ ต่อคร้ัง ต่า
กว่าหรือเท่ากบั 200 บาท จานวน 290 ตวั อย่าง คิดเป็ นร้อยละ 72.5 รองลงมาคือ201-400 บาท จานวน 70 ตวั อยา่ ง คิดเป็ น
ร้อยละ17.5 มากกว่า 800 บาท จานวน 20 ตวั อยา่ ง คิดเป็นร้อยละ 5.0 401-600 บาทและ601-800 บาท จานวน 10 ตวั อยา่ ง
คิดเป็นร้อยละ 2.5
ส่วนท่ี 2 ปัจจัยท่มี อี ทิ ธิพลต่อความพงึ พอใจในการปฏิบตั ิงาน
การวเิ คราะห์ข้อมูลด้วยสถติ ิเชิงอนุมาน
สมมุติฐานที่ 1 เพศ อายุ ระดบั การศึกษา รายได้เฉล่ียต่อเดือน ต่างกนั น่าจะทาให้การตดั สินใจใชบ้ ริการส่ังอาหาร
แบบเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชนั่ ต่างกนั
การวเิ คราะห์การทดสอบสมมติฐานท่ี 1.1 ใชว้ ิธีการทดสอบ Cross-tab เพื่อเปรียบเทียบความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งเพศกบั
การตดั สินใจใชบ้ ริการสง่ั อาหารแบบเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชน่ั
สมมติฐานท่ี 1.1.1 ปัจจยั ส่วนบุคคลดา้ นเพศที่แตกต่างกนั มีผลต่อดา้ นวตั ถุประสงคห์ ลกั ท่ีสั่งอาหารเดลิเวอรี่ผ่าน
แอพพลิเคชน่ั ซ่ึงสามารถ เขียนสมมติฐานได้ ดงั น้ี
H0: P = 0 เพศท่ีแตกต่างกนั ไมข่ ้ึนอยกู่ บั ดา้ นวตั ถุประสงคห์ ลกั ที่สง่ั อาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชนั่
H1: P ≠ 0 เพศที่แตกต่างกนั ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นวตั ถุประสงคห์ ลกั ที่สั่งอาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชน่ั
P (ความน่าจะเป็น) = .123 , คา่ อลั ฟ่ า (ระดบั นยั สาคญั ) = .05
ตารางที่ 4.34 ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งเพศกบั วตั ถุประสงคห์ ลกั ที่สง่ั อาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชน่ั
Objective
เพ่ือบริโภคในแต่ เพ่ือให้บุคคลใน เพ่ือเป็ นของขวญั ใน เพ่ือต้องการใช้ในการ
ละวนั ครอบครัวบริโภค โอกาสต่างๆ สะสมคะแนนแลกส่วนลด Total
Sex ชาย Count 151 7 11 3 172
% within 41.9% 70.0% 55.0% 30.0% 43.0%
Objective
หญิง Count 209 39 7 228
58.1% 30.0% 45.0% 70.0% 57.0%
% within
Objective
Total Count 360 10 20 10 400
100.0% 100.0%
% within 100.0% 100.0% 100.0%
Objective
Chi-Square Tests
Value df Asymp. Sig. (2-sided)
Pearson Chi-Square 5.002a 3 .172
Likelihood Ratio 5.011 3 .171
Linear-by-Linear Association .322 1 .571
N of Valid Cases 400
a. 2 cells (25.0%) have expected count less than 5. The minimum expected count is 4.30.
จากตารางที่ 4.34 พบว่า เพศท่ีแตกต่างกนั ไม่ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นวตั ถุประสงคห์ ลกั ที่สั่งอาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชนั่
อยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติที่ระดบั .05 ดงั น้นั จึงยอมรับสมมติฐานหลกั H0
สมมติฐานท่ี 1.1.2 ปัจจยั ส่วนบุคคลด้านเพศท่ีแตกต่างกนั มีผลต่อดา้ นช่วงเวลาท่ีเขา้ มาส่ังอาหารเดลิเวอร่ีผ่าน
แอพพลิเคชนั่ ซ่ึงสามารถเขียนสมมติฐานได้ ดงั น้ี
H0: P = 0 เพศท่ีแตกต่างกนั ไมข่ ้ึนอยกู่ บั ดา้ นช่วงเวลาที่เขา้ มาสง่ั อาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชน่ั
H1: P ≠ 0 เพศที่แตกต่างกนั ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นช่วงเวลาท่ีเขา้ มาสง่ั อาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชนั่
P (ความน่าจะเป็น) = .123 , คา่ อลั ฟ่ า (ระดบั นยั สาคญั ) = .05
ตารางท่ี 4.35 ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งเพศกบั ช่วงเวลาที่เขา้ มาสงั่ อาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชน่ั
Time
06.01-10.00 น. 10.01-14.00 น. 14.01-18.00 น. ไมม่ ีเวลาที่แน่นอน Total
172
Sex ชาย Count 33 76 21 42
43.0%
% within Time 36.7% 42.2% 42.0% 52.5% 228
หญิง Count 57 104 29 38 57.0%
400
% within Time 63.3% 57.8% 58.0% 47.5%
100.0%
Total Count 90 180 50 80
% within Time 100.0% 100.0% 100.0% 100.0%
Chi-Square Tests
Value df Asymp. Sig. (2-sided)
Pearson Chi-Square 4.483a 3 .214
Likelihood Ratio 4.471 3 .215
Linear-by-Linear Association 4.198 1 .040
N of Valid Cases 400
a. 0 cells (0.0%) have expected count less than 5. The minimum expected count is 21.50.
จากตารางท่ี 4.35 พบว่า เพศที่แตกต่างกนั ไม่ข้ึนอยู่กบั ดา้ นช่วงเวลาที่เขา้ มาส่ังอาหารเดลิเวอรี่ผ่านแอพพลิเคชั่น
แอพพลิเคชน่ั อยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติท่ีระดบั .05 ดงั น้นั จึงยอมรับสมมติฐานหลกั H0
สมมติฐานที่ 1.1.3 ปัจจัยส่วนบุคคลด้านเพศที่แตกต่างกัน มีผลต่อด้านเหตุผลที่เลือกสั่งอาหารเดลิเวอรี่ผ่าน
แอพพลิเคชน่ั
ซ่ึงสามารถเขียนสมมติฐานได้ ดงั น้ี
H0: P = 0 เพศที่แตกต่างกนั ไม่ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นเหตุผลที่เลือกสง่ั อาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชน่ั
H1: P ≠ 0 เพศท่ีแตกต่างกนั ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นเหตุผลที่เลือกสง่ั อาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชนั่
P (ความน่าจะเป็น) = .123 , คา่ อลั ฟ่ า (ระดบั นยั สาคญั ) = .05
ตารางที่ 4.36 ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งเพศกบั เหตุผลท่ีเลือกสงั่ อาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชนั่
Reason Total
ใชค้ ะแนนใน
มีโปรโมชน่ั และ แอพพลิเคชน่ั ตา่ งๆ มีสินคา้ ให้เลือก มีการรับคืนสินคา้ สะดวกตอ่ การ
ส่วนลดมากมาย สาหรับการซ้ือ มากมาย และการคืนเงิน สง่ั และจดั ส่ง
sex ชาย Count 14 3 98 11 46 172
% within Reason 70.0% 30.0% 46.7% 36.7% 35.4% 43.0%
หญิง Count 6 7 112 19 84 228
% within Reason 30.0% 70.0% 53.3% 63.3% 64.6% 57.0%
Total Count 20 10 210 30 130 400
% within Reason 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0%
Chi-Square Tests
Value df Asymp. Sig. (2-sided)
Pearson Chi-Square 11.357a 4 .023
Likelihood Ratio 11.436 4 .022
Linear-by-Linear Association 7.987 1 .005
N of Valid Cases 400
a. 1 cells (10.0%) have expected count less than 5. The minimum expected count is 4.30.
จากตารางที่ 4.36 พบว่า เพศที่แตกต่างกันข้ึนอยู่กับด้านเหตุผลท่ีเลือกสั่งอาหารเดลิเวอรี่ผ่านแอพพลิเคช่ัน
แอพพลิเคชน่ั ซ่ึงมีนยั สาคญั ทางสถิตินอ้ ยกวา่ ที่ระดบั .05 ดงั น้นั จึงยอมรับสมมติฐานรอง H1
สมมติฐานท่ี 1.1.4 ปัจจยั ส่วนบุคคลดา้ นเพศที่แตกต่างกนั มีผลต่อดา้ นช่วงความถ่ีในการสั่งซ้ืออาหารเดลิเวอร่ีผา่ น
แอพพลิเคชนั่ ต่อเดือน ซ่ึงสามารถเขียนสมมติฐานได้ ดงั น้ี
H0: P = 0 เพศที่แตกต่างกนั ไม่ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นช่วงความถ่ีในการสง่ั ซ้ืออาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชนั่ ต่อเดือน
H1: P ≠ 0 เพศที่แตกต่างกนั ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นช่วงความถี่ในการสงั่ ซ้ืออาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชน่ั ต่อเดือน
P (ความน่าจะเป็น) = .123 , ค่าอลั ฟ่ า (ระดบั นยั สาคญั ) = .05
ตารางท่ี 4.37 ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งเพศกบั ความถ่ีในการสง่ั ซ้ืออาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชน่ั ต่อเดือน
Frequency
นอ้ ยกวา่ 1 คร้ัง 1-5 คร้ัง 6-10 คร้ัง 11-15 คร้ัง มากกวา่ 15 คร้ัง Total
Sex ชาย Count 4 17 64 37 50 172
% within Frequency 40.0% 56.7% 42.7% 52.9% 35.7% 43.0%
หญิง Count 6 13 86 33 90 228
% within Frequency 60.0% 43.3% 57.3% 47.1% 64.3% 57.0%
Total Count 10 30 150 70 140 400
% within Frequency 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0%
Chi-Square Tests
Value df Asymp. Sig. (2-sided)
Pearson Chi-Square 8.137a 4 .087
Likelihood Ratio 8.128 4 .087
Linear-by-Linear Association 2.476 1 .116
N of Valid Cases 400
a. 1 cells (10.0%) have expected count less than 5. The minimum expected count is 4.30.
จากตารางที่ 4.37 พบวา่ เพศที่แตกต่างกนั ไม่ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นความถี่ในการส่งั ซ้ืออาหารเดลิเวอร่ีผ่านแอพพลิเคชนั่ ต่อ
เดือน แอพพลิเคชนั่ อยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติท่ีระดบั .05 ดงั น้นั จึงยอมรับสมมติฐานหลกั H0
สมมติฐานท่ี 1.1.5 ปัจจัยส่วนบุคคลด้านเพศท่ีแตกต่างกัน มีผลต่อด้านราคาอาหารท่ีส่ังอาหารเดลิเวอรี่ผ่าน
แอพพลิเคชน่ั ต่อคร้ังต่อเดือน ซ่ึงสามารถเขียนสมมติฐานได้ ดงั น้ี
H0: P = 0 เพศที่แตกต่างกนั ไม่ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นช่วงราคาอาหารที่สงั่ อาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชน่ั ต่อคร้ัง
H1: P ≠ 0 เพศท่ีแตกต่างกนั ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นช่วงราคาอาหารท่ีสง่ั อาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชนั่ ต่อคร้ัง
P (ความน่าจะเป็น) = .123 , ค่าอลั ฟ่ า (ระดบั นยั สาคญั ) = .05
ตารางท่ี 4.38 ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งเพศกบั ราคาอาหารที่ส่ังอาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชนั่ ตอ่ คร้ัง
FoodPri
ต่ากวา่ หรือเทา่ กบั 201-400 401-600 มากกวา่ 800
200 บาท บาท บาท 601-800 บาท บาท Total
sex ชาย Count 113 34 7 7 11 172
% within FoodPri 39.0% 48.6% 70.0% 70.0% 55.0% 43.0%
หญิง Count 177 36 3 3 9 228
% within FoodPri 61.0% 51.4% 30.0% 30.0% 45.0% 57.0%
Total Count 290 70 10 10 20 400
% within FoodPri 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0%
Chi-Square Tests
Value df Asymp. Sig. (2-sided)
Pearson Chi-Square 9.936a 4 .042
Likelihood Ratio 9.924 4 .042
Linear-by-Linear Association 7.064 1 .008
N of Valid Cases 400
a. 2 cells (20.0%) have expected count less than 5. The minimum expected count is 4.30.
จากตารางท่ี 4.38 พบว่า เพศท่ีแตกต่างกนั ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นช่วงราคาอาหารที่ส่ังอาหารเดลิเวอร่ีผ่านแอพพลิเคชัน่ ต่อ
คร้ัง ซ่ึงมีนยั สาคญั ทางสถิตินอ้ ยกวา่ ที่ระดบั .05 ดงั น้นั จึงยอมรับสมมติฐานรอง H1
การวิเคราะห์การทดสอบสมมติฐานท่ี 1.2 ใชว้ ิธีการทดสอบ Cross-tab เพื่อเปรียบเทียบความสมั พนั ธ์ระหวา่ งอายกุ บั
การตดั สินใจใชบ้ ริการสง่ั อาหารแบบเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชนั่
สมมติฐานท่ี 1.2.1 ปัจจยั ส่วนบุคคลดา้ นอายุท่ีแตกต่างกนั มีผลต่อดา้ นวตั ถุประสงคห์ ลกั ที่ส่ังอาหารเดลิเวอร่ีผ่าน
แอพพลิเคชนั่ ซ่ึงสามารถ เขียนสมมติฐานได้ ดงั น้ี
H0: P = 0 อายทุ ี่แตกต่างกนั ไม่ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นวตั ถุประสงคห์ ลกั ท่ีสง่ั อาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชนั่
H1: P ≠ 0 อายทุ ่ีแตกต่างกนั ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นวตั ถุประสงคห์ ลกั ที่สงั่ อาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชน่ั
P (ความน่าจะเป็น) = .123 , ค่าอลั ฟ่ า (ระดบั นยั สาคญั ) = .05
ตารางที่ 4.39 ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งอายกุ บั วตั ถุประสงคห์ ลกั ท่ีสัง่ อาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชน่ั
Objective Total
เพ่อื ให้บุคคล เพ่อื ตอ้ งการใชใ้ นการ
เพื่อบริโภคใน ในครอบครัว เพือ่ เป็นของขวญั สะสมคะแนนแลก
แตล่ ะวนั บริโภค ในโอกาสตา่ งๆ ส่วนลด
Age อายตุ ่ากวา่ 20 ปี Count 14 0 0 0 14
% within Objective 3.9% 0.0% 0.0% 0.0% 3.5%
อายุ 20- 40 ปี Count 260 10 16 7 293
% within Objective 72.2% 100.0% 80.0% 70.0% 73.3%
อายุ 41- 60 ปี Count 76 0 4 0 80
% within Objective 21.1% 0.0% 20.0% 0.0% 20.0%
อายุ 61 ปี ข้ึนไป Count 10 0 0 3 13
% within Objective 2.8% 0.0% 0.0% 30.0% 3.3%
Total Count 360 10 20 10 400
% within Objective 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0%
Chi-Square Tests
Value df Asymp. Sig. (2-sided)
Pearson Chi-Square 30.185a 9 .000
Likelihood Ratio 22.427 9 .008
Linear-by-Linear Association 1.126 1 .289
N of Valid Cases 400
a. 9 cells (56.3%) have expected count less than 5. The minimum expected count is .33.
จากตารางท่ี 4.39 พบว่า อายทุ ่ีแตกต่างกนั ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นวตั ถุประสงคห์ ลกั ที่สั่งอาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชนั่ ซ่ึง
มีนยั สาคญั ทางสถิตินอ้ ยกวา่ ท่ีระดบั .05 ดงั น้นั จึงยอมรับสมมติฐานรอง H1
สมมติฐานท่ี 1.2.2 ปัจจยั ส่วนบุคคลด้านอายุที่แตกต่างกนั มีผลต่อด้านช่วงเวลาท่ีเขา้ มาสั่งอาหารเดลิเวอรี่ผ่าน
แอพพลิเคชน่ั ซ่ึงสามารถเขียนสมมติฐานได้ ดงั น้ี
H0: P = 0 อายทุ ่ีแตกต่างกนั ไมข่ ้ึนอยกู่ บั ดา้ นช่วงเวลาที่เขา้ มาสงั่ อาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชน่ั
H1: P ≠ 0 อายทุ ่ีแตกต่างกนั ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นช่วงเวลาที่เขา้ มาสง่ั อาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชนั่
P (ความน่าจะเป็น) = .123 , ค่าอลั ฟ่ า (ระดบั นยั สาคญั ) = .05
ตารางท่ี 4.40 ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งอายกุ บั ช่วงเวลาท่ีเขา้ มาสงั่ อาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชนั่
Time Total
ไมม่ ีเวลาที่
06.01-10.00 น. 10.01-14.00 น. 14.01-18.00 น. แน่นอน
Age อายตุ ่ากว่า 20 ปี Count 0 7 4 3 14
% within Time 0.0% 3.9% 8.0% 3.8% 3.5%
อายุ 20- 40 ปี Count 67 130 29 67 293
% within Time 74.4% 72.2% 58.0% 83.8% 73.3%
อายุ 41- 60 ปี Count 17 43 13 7 80
% within Time 18.9% 23.9% 26.0% 8.8% 20.0%
อายุ 61 ปี ข้ึนไป Count 6 0 4 3 13
% within Time 6.7% 0.0% 8.0% 3.8% 3.3%
Total Count 90 180 50 80 400
% within Time 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0%
Chi-Square Tests
Value df Asymp. Sig. (2-sided)
Pearson Chi-Square 28.965a 9 .001
Likelihood Ratio 36.679 9 .000
Linear-by-Linear Association 3.297 1 .069
N of Valid Cases 400
a. 6 cells (37.5%) have expected count less than 5. The minimum expected count is
1.63.
จากตารางท่ี 4.40 พบว่า อายทุ ี่แตกต่างกนั ข้ึนอย่กู บั ดา้ นช่วงเวลาที่เขา้ มาส่ังอาหารเดลิเวอร่ีผ่านแอพพลิเคชน่ั ซ่ึงมี
นยั สาคญั ทางสถิตินอ้ ยกวา่ ที่ระดบั .05 ดงั น้นั จึงยอมรับสมมติฐานรอง H1
สมมติฐานที่ 1.2.3 ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุที่แตกต่างกัน มีผลต่อด้านเหตุผลที่เลือกส่ังอาหารเดลิเวอรี่ผ่าน
แอพพลิเคชน่ั
ซ่ึงสามารถเขียนสมมติฐานได้ ดงั น้ี
H0: P = 0 อายทุ ่ีแตกต่างกนั ไมข่ ้ึนอยกู่ บั ดา้ นเหตุผลท่ีเลือกสง่ั อาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชนั่
H1: P ≠ 0 อายทุ ่ีแตกต่างกนั ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นเหตุผลท่ีเลือกสงั่ อาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชน่ั
P (ความน่าจะเป็น) = .123 , คา่ อลั ฟ่ า (ระดบั นยั สาคญั ) = .05
ตารางที่ 4.41 ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งอายกุ บั เหตุผลที่เลือกส่งั อาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชน่ั
Reason Total
ใชค้ ะแนนใน
มีโปรโมชนั่ แอพพลิเคชน่ั มีการรับคนื
และส่วนลด ต่างๆ สาหรับ มีสินคา้ ให้เลือก สินคา้ และการ สะดวกตอ่ การ
มากมาย การซ้ือ มากมาย คืนเงิน สั่งและจดั ส่ง
age อายตุ ่ากวา่ 20 ปี Count 0 0 6 4 4 14
% within Reason 0.0% 0.0% 2.9% 13.3% 3.1% 3.5%
อายุ 20- 40 ปี Count 10 7 151 22 103 293
% within Reason 50.0% 70.0% 71.9% 73.3% 79.2% 73.3%
อายุ 41- 60 ปี Count 10 0 50 0 20 80
% within Reason 50.0% 0.0% 23.8% 0.0% 15.4% 20.0%
อายุ 61 ปี ข้ึนไป Count 0 3 3 4 3 13
% within Reason 0.0% 30.0% 1.4% 13.3% 2.3% 3.3%
Total Count 20 10 210 30 130 400
% within Reason 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0%
Chi-Square Tests
Value df Asymp. Sig. (2-sided)
Pearson Chi-Square 66.289a 12 .000
Likelihood Ratio 52.490 12 .000
Linear-by-Linear Association 7.103 1 .008
N of Valid Cases 400
a. 10 cells (50.0%) have expected count less than 5. The minimum expected count is .33.
จากตารางท่ี 4.41 พบว่า อายุที่แตกต่างกันข้ึนอยู่กับด้านเหตุผลท่ีเลือกส่ังอาหารเดลิเวอร่ีผ่านแอพพลิเคชั่น
แอพพลิเคชน่ั ซ่ึงมีนยั สาคญั ทางสถิตินอ้ ยกวา่ ท่ีระดบั .05 ดงั น้นั จึงยอมรับสมมติฐานรอง H1
สมมติฐานที่ 1.2.4 ปัจจยั ส่วนบุคคลดา้ นอายทุ ี่แตกต่างกนั มีผลต่อดา้ นช่วงความถี่ในการสั่งซ้ืออาหารเดลิเวอรี่ผา่ น
แอพพลิเคชน่ั ต่อเดือน ซ่ึงสามารถเขียนสมมติฐานได้ ดงั น้ี
H0: P = 0 อายทุ ี่แตกต่างกนั ไมข่ ้ึนอยกู่ บั ดา้ นช่วงความถี่ในการสงั่ ซ้ืออาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชน่ั ต่อเดือน
H1: P ≠ 0 อายทุ ี่แตกต่างกนั ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นช่วงความถ่ีในการสงั่ ซ้ืออาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชน่ั ต่อเดือน
P (ความน่าจะเป็น) = .123 , คา่ อลั ฟ่ า (ระดบั นยั สาคญั ) = .05
ตารางที่ 4.42 ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งอายกุ บั ความถี่ในการสั่งซ้ืออาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชน่ั ต่อเดือน
Frequency Total
นอ้ ยกวา่ 1 คร้ัง 1-5 คร้ัง 6-10 คร้ัง 11-15 คร้ัง มากกวา่ 15 คร้ัง
age อายตุ ่ากวา่ 20 ปี Count 0070 7 14
% within Frequency 0.0% 0.0% 4.7% 0.0% 5.0% 3.5%
อายุ 20- 40 ปี Count 6 27 118 37 105 293
% within Frequency 60.0% 90.0% 78.7% 52.9% 75.0% 73.3%
อายุ 41- 60 ปี Count 4 0 18 33 25 80
% within Frequency 40.0% 0.0% 12.0% 47.1% 17.9% 20.0%
อายุ 61 ปี ข้ึนไป Count 0370 3 13
% within Frequency 0.0% 10.0% 4.7% 0.0% 2.1% 3.3%
Total Count 10 30 150 70 140 400
% within Frequency 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0%
Chi-Square Tests
Value df Asymp. Sig. (2-sided)
Pearson Chi-Square 58.523a 12 .000
Likelihood Ratio 62.787 12 .000
Linear-by-Linear Association .027 1 .870
N of Valid Cases 400
a. 10 cells (50.0%) have expected count less than 5. The minimum expected count is .33.
จากตารางท่ี 4.42 พบวา่ อายทุ ี่แตกต่างกนั ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นช่วงความถี่ในการสง่ั ซ้ืออาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชนั่ ต่อ
เดือน ซ่ึงมีนยั สาคญั ทางสถิตินอ้ ยกวา่ ท่ีระดบั .05 ดงั น้นั จึงยอมรับสมมติฐานรอง H1
สมมติฐานท่ี 1.2.5 ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุที่แตกต่างกัน มีผลต่อด้านราคาอาหารที่ส่ังอาหารเดลิเวอร่ีผ่าน
แอพพลิเคชนั่ ต่อคร้ังต่อเดือน ซ่ึงสามารถเขียนสมมติฐานได้ ดงั น้ี
H0: P = 0 อายทุ ี่แตกต่างกนั ไมข่ ้ึนอยกู่ บั ดา้ นช่วงราคาอาหารที่สง่ั อาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชน่ั ต่อคร้ัง
H1: P ≠ 0 อายทุ ี่แตกต่างกนั ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นช่วงราคาอาหารท่ีสง่ั อาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชนั่ ต่อคร้ัง
P (ความน่าจะเป็น) = .123 , คา่ อลั ฟ่ า (ระดบั นยั สาคญั ) = .05
ตารางที่ 4.43 ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งอายกุ บั ราคาอาหารที่สงั่ อาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชน่ั ตอ่ คร้ัง
FoodPri
ต่ากวา่ หรือเทา่ กบั 201-400 401-600 601-800 มากกวา่
200 บาท บาท บาท บาท 800 บาท Total
age อายตุ ่ากวา่ 20 ปี Count 11 3 0 0 0 14
% within FoodPri 3.8% 4.3% 0.0% 0.0% 0.0% 3.5%
อายุ 20- 40 ปี Count 217 50 10 0 16 293
% within FoodPri 74.8% 71.4% 100.0% 0.0% 80.0% 73.3%
อายุ 41- 60 ปี Count 52 14 0 10 4 80
% within FoodPri 17.9% 20.0% 0.0% 100.0% 20.0% 20.0%
อายุ 61 ปี ข้ึนไป Count 10 3 0 0 0 13
% within FoodPri 3.4% 4.3% 0.0% 0.0% 0.0% 3.3%
Total Count 290 70 10 10 20 400
% within FoodPri 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0%
Chi-Square Tests
Value df Asymp. Sig. (2-sided)
Pearson Chi-Square 58.523a 12 .000
Likelihood Ratio 62.787 12 .000
Linear-by-Linear Association .027 1 .870
N of Valid Cases 400
a. 10 cells (50.0%) have expected count less than 5. The minimum expected count is .33.
จากตารางท่ี 4.43 พบว่า อายทุ ี่แตกต่างกนั ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นราคาอาหารท่ีสงั่ อาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชนั่ ต่อคร้ังต่อ
เดือนซ่ึงมีนยั สาคญั ทางสถิตินอ้ ยกวา่ ท่ีระดบั .05 ดงั น้นั จึงยอมรับสมมติฐานรอง H1
การวเิ คราะห์การทดสอบสมมติฐานที่ 1.3 ใชว้ ิธีการทดสอบ Cross-tab เพ่ือเปรียบเทียบความสมั พนั ธ์ระหวา่ งระดบั
การศึกษากบั การตดั สินใจใชบ้ ริการสงั่ อาหารแบบเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชนั่
สมมติฐานท่ี 1.3.1 ปัจจยั ส่วนบุคคลดา้ นระดบั การศึกษาท่ีแตกต่างกนั มีผลต่อดา้ นวตั ถุประสงคห์ ลกั ท่ีส่งั อาหารเดลิ
เวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชน่ั ซ่ึงสามารถ เขียนสมมติฐานได้ ดงั น้ี
H0: P = 0 ระดบั การศึกษาที่แตกต่างกนั ไม่ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นวตั ถุประสงคห์ ลกั ท่ีสงั่ อาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชน่ั
H1: P ≠ 0 ระดบั การศึกษาที่แตกต่างกนั ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นวตั ถุประสงคห์ ลกั ที่สง่ั อาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชน่ั
P (ความน่าจะเป็น) = .123 , คา่ อลั ฟ่ า (ระดบั นยั สาคญั ) = .05
ตารางท่ี 4.44 ความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง ระดบั การศึกษา กบั วตั ถปุ ระสงคห์ ลกั ที่ส่งั อาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชน่ั
Objective Total
เพ่ือใหบ้ ุคคล เพื่อเป็น เพ่ือตอ้ งการใชใ้ น
เพือ่ บริโภคใน ในครอบครัว ของขวญั ใน การสะสมคะแนน
แตล่ ะวนั บริโภค โอกาสต่างๆ แลกส่วนลด
educ ต่ากวา่ มธั ยมศึกษา Count 35 0 4 0 39
% within Objective 9.7% 0.0% 20.0% 0.0% 9.8%
มธั ยมศึกษา/ปวช./ปวส./ Count 54 0 0 0 54
อนุปริญญา % within Objective 15.0% 0.0% 0.0% 0.0% 13.5%
ปริญญาตรี Count 188 7 13 7 215
% within Objective 52.2% 70.0% 65.0% 70.0% 53.8%
ปริญญาโท Count 83 3 3 3 92
% within Objective 23.1% 30.0% 15.0% 30.0% 23.0%
Total Count 360 10 20 10 400
% within Objective 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0%
Chi-Square Tests
Value df Asymp. Sig. (2-sided)
Pearson Chi-Square 12.698a 9 .177
Likelihood Ratio 19.446 9 .022
Linear-by-Linear Association .816 1 .366
N of Valid Cases 400
a. 9 cells (56.3%) have expected count less than 5. The minimum expected count is .98.
จากตารางที่ 4.44 พบว่า ระดบั การศึกษาท่ีแตกต่างกนั ไม่ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นวตั ถุประสงคห์ ลกั ที่สั่งอาหารเดลิเวอรี่ผ่าน
แอพพลิเคชน่ั อยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติท่ีระดบั .05 ดงั น้นั จึงยอมรับสมมติฐานหลกั H0
สมมติฐานท่ี 1.3.2 ปัจจยั ส่วนบุคคลดา้ นระดบั การศึกษาท่ีแตกต่างกนั มีผลต่อดา้ นช่วงเวลาท่ีเขา้ มาสั่งอาหารเดลิเวอ
ร่ีผา่ นแอพพลิเคชนั่ ซ่ึงสามารถเขียนสมมติฐานได้ ดงั น้ี
H0: P = 0 ระดบั การศึกษาที่แตกต่างกนั ไมข่ ้ึนอยกู่ บั ดา้ นช่วงเวลาท่ีเขา้ มาส่งั อาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชนั่
H1: P ≠ 0 ระดบั การศึกษาท่ีแตกต่างกนั ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นช่วงเวลาที่เขา้ มาสงั่ อาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชน่ั
P (ความน่าจะเป็น) = .123 , ค่าอลั ฟ่ า (ระดบั นยั สาคญั ) = .05
ตารางที่ 4.45 ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งระดบั การศึกษากบั ช่วงเวลาท่ีเขา้ มาส่ังอาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชน่ั
Time Total
06.01-10.00 น. 10.01-14.00 น. 14.01-18.00 น. ไม่มีเวลาที่แน่นอน
educ ต่ากวา่ มธั ยมศึกษา Count 0 18 4 17 39
% within Time 0.0% 10.0% 8.0% 21.3% 9.8%
มธั ยมศึกษา/ปวช./ Count 6 27 11 10 54
ปวส./อนุปริญญา % within Time 6.7% 15.0% 22.0% 12.5% 13.5%
ปริญญาตรี Count 55 99 22 39 215
% within Time 61.1% 55.0% 44.0% 48.8% 53.8%
ปริญญาโท Count 29 36 13 14 92
% within Time 32.2% 20.0% 26.0% 17.5% 23.0%
Total Count 90 180 50 80 400
% within Time 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0%
Chi-Square Tests
Value df Asymp. Sig. (2-sided)
Pearson Chi-Square 33.439a 9 .000
Likelihood Ratio 39.521 9 .000
Linear-by-Linear Association 17.267 1 .000
N of Valid Cases 400
a. 1 cells (6.3%) have expected count less than 5. The minimum expected count is 4.88.
จากตารางท่ี 4.45 พบว่า ระดับการศึกษาท่ีแตกต่างกันข้ึนอยู่กับด้านช่วงเวลาที่เข้ามาส่ังอาหารเดลิเวอร่ีผ่าน
แอพพลิเคชนั่ ซ่ึงมีนยั สาคญั ทางสถิตินอ้ ยกวา่ ที่ระดบั .05 ดงั น้นั จึงยอมรับสมมติฐานรอง H1
สมมติฐานที่ 1.3.3 ปัจจยั ส่วนบุคคลดา้ นระดบั การศึกษาที่แตกต่างกนั มีผลต่อดา้ นเหตุผลที่เลือกสั่งอาหารเดลิเวอรี่
ผา่ นแอพพลิเคชนั่ ซ่ึงสามารถเขียนสมมติฐานได้ ดงั น้ี
H0: P = 0 ระดบั การศึกษาที่แตกต่างกนั ไม่ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นเหตุผลท่ีเลือกสง่ั อาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชน่ั
H1: P ≠ 0 ระดบั การศึกษาท่ีแตกต่างกนั ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นเหตุผลที่เลือกสง่ั อาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชนั่
P (ความน่าจะเป็น) = .123 , ค่าอลั ฟ่ า (ระดบั นยั สาคญั ) = .05
ตารางท่ี 4.46 ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งระดบั การศึกษากบั เหตุผลท่ีเลือกสัง่ อาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชน่ั
Reason Total
มีโปรโมชนั่ ใชค้ ะแนนใน มีการรับคนื สะดวกตอ่
และส่วนลด การสง่ั และ
แอพพลิเคชนั่ ต่างๆ มีสินคา้ ให้ สินคา้ และ
มากมาย จดั ส่ง
สาหรับการซ้ือ เลือกมากมาย การคืนเงิน
educ ต่ากวา่ มธั ยมศึกษา Count 0 0 29 4 6 39
% within Reason 0.0% 0.0% 13.8% 13.3% 4.6% 9.8%
มธั ยมศึกษา/ปวช./ Count 7 0 36 4 7 54
ปวส./อนุปริญญา % within Reason 35.0% 0.0% 17.1% 13.3% 5.4% 13.5%
ปริญญาตรี Count 10 7 104 13 81 215
% within Reason 50.0% 70.0% 49.5% 43.3% 62.3% 53.8%
ปริญญาโท Count 3 3 41 9 36 92
% within Reason 15.0% 30.0% 19.5% 30.0% 27.7% 23.0%
Total Count 20 10 210 30 130 400
% within Reason 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0%
Chi-Square Tests
Value df Asymp. Sig. (2-sided)
Pearson Chi-Square 34.365a 12 .001
Likelihood Ratio 38.584 12 .000
Linear-by-Linear Association 9.718 1 .002
N of Valid Cases 400
a. 8 cells (40.0%) have expected count less than 5. The minimum expected count is .98.
จากตารางท่ี 4.46 พบว่า ระดับการศึกษาท่ีแตกต่างกันข้ึนอยู่กับด้านเหตุผลท่ีเลือกส่ังอาหารเดลิเวอร่ีผ่าน
แอพพลิเคชน่ั แอพพลิเคชนั่ ซ่ึงมีนยั สาคญั ทางสถิตินอ้ ยกวา่ ท่ีระดบั .05 ดงั น้นั จึงยอมรับสมมติฐานรอง H1
สมมติฐานที่ 1.3.4 ปัจจยั ส่วนบุคคลดา้ นระดบั การศึกษาท่ีแตกต่างกนั มีผลต่อดา้ นช่วงความถ่ีในการส่ังซ้ืออาหารเด
ลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชนั่ ต่อเดือน ซ่ึงสามารถเขียนสมมติฐานได้ ดงั น้ี
H0: P = 0 ระดบั การศึกษาที่แตกต่างกนั ไม่ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นช่วงความถี่ในการส่ังซ้ืออาหารเดลิเวอร่ีผ่านแอพพลิเคชน่ั
ต่อเดือน
H1: P ≠ 0 ระดบั การศึกษาที่แตกต่างกนั ข้ึนอยู่กบั ดา้ นช่วงความถ่ีในการส่ังซ้ืออาหารเดลิเวอร่ีผ่านแอพพลิเคชน่ั ต่อ
เดือน
P (ความน่าจะเป็น) = .123 , ค่าอลั ฟ่ า (ระดบั นยั สาคญั ) = .05
ตารางที่ 4.47 ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งระดบั การศึกษากบั ความถ่ีในการสัง่ ซ้ืออาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชน่ั ตอ่ เดือน
Frequency Total
นอ้ ยกวา่ 1 คร้ัง 1-5 คร้ัง 6-10 คร้ัง 11-15 คร้ัง มากกวา่ 15 คร้ัง
educ ต่ากวา่ มธั ยมศึกษา Count 07 16 3 13 39
% within Frequency 0.0% 23.3% 10.7% 4.3% 9.3% 9.8%
มธั ยมศึกษา/ปวช./ Count 0 0 14 21 19 54
ปวส./อนุปริญญา % within Frequency 0.0% 0.0% 9.3% 30.0% 13.6% 13.5%
ปริญญาตรี Count 7 20 84 36 68 215
% within Frequency 70.0% 66.7% 56.0% 51.4% 48.6% 53.8%
ปริญญาโท Count 3 3 36 10 40 92
% within Frequency 30.0% 10.0% 24.0% 14.3% 28.6% 23.0%
Total Count 10 30 150 70 140 400
% within Frequency 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0%
Chi-Square Tests
Value df Asymp. Sig. (2-sided)
Pearson Chi-Square 39.418a 12 .000
Likelihood Ratio 42.029 12 .000
Linear-by-Linear Association .180 1 .671
N of Valid Cases 400
a. 5 cells (25.0%) have expected count less than 5. The minimum expected count is .98.
จากตารางที่ 4.47 พบว่า ระดบั การศึกษาที่แตกต่างกนั ข้ึนอยู่กบั ดา้ นช่วงความถ่ีในการสั่งซ้ืออาหารเดลิเวอร่ีผ่าน
แอพพลิเคชนั่ ต่อเดือน ซ่ึงมีนยั สาคญั ทางสถิตินอ้ ยกวา่ ท่ีระดบั .05 ดงั น้นั จึงยอมรับสมมติฐานรอง H1
สมมติฐานที่ 1.3.5 ปัจจยั ส่วนบุคคลดา้ นระดบั การศึกษาท่ีแตกต่างกนั มีผลต่อดา้ นราคาอาหารที่สั่งอาหารเดลิเวอร่ี
ผา่ นแอพพลิเคชน่ั ต่อคร้ังต่อเดือน ซ่ึงสามารถเขียนสมมติฐานได้ ดงั น้ี
H0: P = 0 ระดบั การศึกษาท่ีแตกต่างกนั ไม่ข้ึนอย่กู บั ดา้ นช่วงราคาอาหารที่ส่ังอาหารเดลิเวอร่ีผ่านแอพพลิเคชนั่ ต่อ
คร้ัง
H1: P ≠ 0 ระดบั การศึกษาท่ีแตกต่างกนั ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นช่วงราคาอาหารท่ีสง่ั อาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชน่ั ต่อคร้ัง
P (ความน่าจะเป็น) = .123 , ค่าอลั ฟ่ า (ระดบั นยั สาคญั ) = .05
ตารางที่ 4.48 ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งระดบั การศึกษากบั ราคาอาหารที่สัง่ อาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชน่ั ต่อคร้ัง
FoodPri
ต่ากวา่ หรือเทา่ กบั 201-400 401-600 601-800 มากกวา่ 800
200 บาท บาท บาท บาท บาท Total
Educ ต่ากวา่ มธั ยมศึกษา Count 35 0 0 0 4 39
% within FoodPri 12.1% 0.0% 0.0% 0.0% 20.0% 9.8%
มธั ยมศึกษา/ปวช./ Count 37 10 0 7 0 54
ปวส./อนุปริญญา % within FoodPri 12.8% 14.3% 0.0% 70.0% 0.0% 13.5%
ปริญญาตรี Count 155 37 7 3 13 215
% within FoodPri 53.4% 52.9% 70.0% 30.0% 65.0% 53.8%
ปริญญาโท Count 63 23 3 0 3 92
% within FoodPri 21.7% 32.9% 30.0% 0.0% 15.0% 23.0%
Total Count 290 70 10 10 20 400
% within FoodPri 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0%
Chi-Square Tests
Value df Asymp. Sig. (2-sided)
Pearson Chi-Square 48.635a 12 .000
Liklihood Ratio 51.078 12 .000
Linear-by-Linear Association .013 1 .910
N of Valid Cases 400
a. 9 cells (45.0%) have expected count less than 5. The minimum expected count is .98.
จากตารางที่ 4.48 พบว่า ระดับการศึกษาท่ีแตกต่างกันข้ึนอยู่กับด้านราคาอาหารท่ีส่ังอาหารเดลิเวอรี่ ผ่าน
แอพพลิเคชน่ั ต่อคร้ังต่อเดือนซ่ึงมีนยั สาคญั ทางสถิตินอ้ ยกว่าท่ีระดบั .05 ดงั น้นั จึงยอมรับสมมติฐานรอง H1
การวเิ คราะห์การทดสอบสมมติฐานท่ี 1.4 ใชว้ ธิ ีการทดสอบ Cross-tab เพอ่ื เปรียบเทียบความสมั พนั ธ์ระหว่างรายได้
เฉลี่ยต่อเดือนกบั การตดั สินใจใชบ้ ริการสง่ั อาหารแบบเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชน่ั
สมมติฐานที่ 1.4.1 ปัจจยั ส่วนบุคคลดา้ นรายไดเ้ ฉลี่ยต่อเดือนที่แตกต่างกนั มีผลต่อดา้ นวตั ถุประสงคห์ ลกั ที่สง่ั อาหาร
เดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชนั่ ซ่ึงสามารถ เขียนสมมติฐานได้ ดงั น้ี
H0: P = 0 รายไดเ้ ฉล่ียต่อเดือนท่ีแตกต่างกนั ไม่ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นวตั ถุประสงคห์ ลกั ที่สงั่ อาหารเดลิเวอร่ีผา่ น
แอพพลิเคชน่ั
H1: P ≠ 0 รายไดเ้ ฉล่ียต่อเดือนที่แตกต่างกนั ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นวตั ถุประสงคห์ ลกั ท่ีสง่ั อาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชน่ั
P (ความน่าจะเป็น) = .123 , คา่ อลั ฟ่ า (ระดบั นยั สาคญั ) = .05
ตารางท่ี 4.49 ความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง รายไดเ้ ฉล่ยี ตอ่ เดือนกบั วตั ถปุ ระสงคห์ ลกั ท่ีสัง่ อาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชน่ั
Objective Total
เพ่ือใหบ้ ุคคล เพื่อเป็น เพอ่ื ตอ้ งการใชใ้ น
เพอื่ บริโภค ในครอบครัว ของขวญั ใน การสะสมคะแนน
ในแต่ละวนั บริโภค โอกาสต่างๆ แลกส่วนลด
Salary รายไดน้ อ้ ยกวา่ 8,000 Count 19 0 4 3 26
บาท % within Objective 5.3% 0.0% 20.0% 30.0% 6.5%
รายได้ 8,000 – 15,000 Count 77 0 3 0 80
บาท % within Objective 21.4% 0.0% 15.0% 0.0% 20.0%
รายได้ 15,001 – Count 115 3 9 7 134
25,000 บาท % within Objective 31.9% 30.0% 45.0% 70.0% 33.5%
รายได้ 25,001 – Count 26 0 0 0 26
35,000 บาท % within Objective 7.2% 0.0% 0.0% 0.0% 6.5%
รายไดม้ ากกวา่ 35,000 Count 123 7 4 0 134
บาทข้ึนไป % within Objective 34.2% 70.0% 20.0% 0.0% 33.5%
Total Count 360 10 20 10 400
% within Objective 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0%
Chi-Square Tests
Value df Asymp. Sig. (2-sided)
Pearson Chi-Square 36.593a 12 .000
Likelihood Ratio 39.414 12 .000
Linear-by-Linear Association 6.428 1 .011
N of Valid Cases 400
a. 13 cells (65.0%) have expected count less than 5. The minimum expected count is .65.
จากตารางที่ 4.49 พบว่า รายไดเ้ ฉลี่ยต่อเดือนที่แตกต่างกนั ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นวตั ถุประสงคห์ ลกั ที่สั่งอาหารเดลิเวอร่ีผา่ น
แอพพลิเคชนั่ ซ่ึงมีนยั สาคญั ทางสถิตินอ้ ยกวา่ ที่ระดบั .05 ดงั น้นั จึงยอมรับสมมติฐานรอง H1
สมมติฐานท่ี 1.4.2 ปัจจยั ส่วนบุคคลดา้ นรายไดเ้ ฉลี่ยต่อเดือนท่ีแตกต่างกนั มีผลต่อดา้ นช่วงเวลาที่เขา้ มาสั่งอาหารเด
ลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชนั่ ซ่ึงสามารถเขียนสมมติฐานได้ ดงั น้ี
H0: P = 0 รายไดเ้ ฉล่ียต่อเดือนท่ีแตกต่างกนั ไม่ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นช่วงเวลาท่ีเขา้ มาสงั่ อาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชนั่
H1: P ≠ 0 รายไดเ้ ฉล่ียต่อเดือนที่แตกต่างกนั ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นช่วงเวลาท่ีเขา้ มาสง่ั อาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชนั่
P (ความน่าจะเป็น) = .123 , ค่าอลั ฟ่ า (ระดบั นยั สาคญั ) = .05
ตารางที่ 4.50 ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งรายไดเ้ ฉลย่ี ต่อเดือนกบั ช่วงเวลาท่ีเขา้ มาสั่งอาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชน่ั
Time Total
06.01-10.00 น. 10.01-14.00 น. 14.01-18.00 น. ไม่มีเวลาที่แน่นอน
Salary รายไดน้ อ้ ยกวา่ Count 698 3 26
8,000 บาท % within Time 6.7% 5.0% 16.0% 3.8% 6.5%
รายได้ 8,000 – Count 9 45 7 19 80
15,000 บาท % within Time 10.0% 25.0% 14.0% 23.8% 20.0%
รายได้ 15,001 – Count 38 53 19 24 134
25,000 บาท % within Time 42.2% 29.4% 38.0% 30.0% 33.5%
รายได้ 25,001 – Count 9 17 0 0 26
35,000 บาท % within Time 10.0% 9.4% 0.0% 0.0% 6.5%
รายไดม้ ากกวา่ Count 28 56 16 34 134
35,000 บาทข้ึนไป % within Time 31.1% 31.1% 32.0% 42.5% 33.5%
Total Count 90 180 50 80 400
% within Time 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0%
Chi-Square Tests
Value df Asymp. Sig. (2-sided)
Pearson Chi-Square 35.210a 12 .000
Likelihood Ratio 41.982 12 .000
Linear-by-Linear Association .130 1 .718
N of Valid Cases 400
a. 2 cells (10.0%) have expected count less than 5. The minimum expected count is 3.25.
จากตารางที่ 4.50 พบว่า รายไดเ้ ฉล่ียต่อเดือนท่ีแตกต่างกนั ข้ึนอยู่กบั ดา้ นช่วงเวลาที่เขา้ มาสั่งอาหารเดลิเวอร่ีผ่าน
แอพพลิเคชนั่ ซ่ึงมีนยั สาคญั ทางสถิตินอ้ ยกวา่ ที่ระดบั .05 ดงั น้นั จึงยอมรับสมมติฐานรอง H1
สมมติฐานที่ 1.4.3 ปัจจยั ส่วนบุคคลดา้ นรายไดเ้ ฉล่ียต่อเดือนท่ีแตกต่างกนั มีผลต่อดา้ นเหตุผลท่ีเลือกสั่งอาหารเดลิ
เวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชน่ั ซ่ึงสามารถเขียนสมมติฐานได้ ดงั น้ี
H0: P = 0 รายไดเ้ ฉลี่ยต่อเดือนท่ีแตกต่างกนั ไม่ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นเหตุผลที่เลือกสง่ั อาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชนั่
H1: P ≠ 0 รายไดเ้ ฉล่ียต่อเดือนที่แตกต่างกนั ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นเหตุผลท่ีเลือกสง่ั อาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชนั่
P (ความน่าจะเป็น) = .123 , ค่าอลั ฟ่ า (ระดบั นยั สาคญั ) = .05
ตารางท่ี 4.51 ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งรายไดเ้ ฉล่ยี ต่อเดือนกบั เหตุผลที่เลือกสง่ั อาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชน่ั
Reason Total
มีโปรโมชนั่ ใชค้ ะแนนใน
และส่วนลด แอพพลิเคชนั่ ตา่ งๆ มีสินคา้ ให้ มีการรับคนื สินคา้ สะดวกตอ่ การ
มากมาย สาหรับการซ้ือ เลือกมากมาย และการคืนเงิน สง่ั และจดั ส่ง
Salary รายไดน้ อ้ ยกวา่ Count 0 3 12 8 3 26
8,000 บาท % within Reason 0.0% 30.0% 5.7% 26.7% 2.3% 6.5%
รายได้ 8,000 – Count 0 0 45 7 28 80
15,000 บาท % within Reason 0.0% 0.0% 21.4% 23.3% 21.5% 20.0%
รายได้ 15,001 – Count 7 7 69 9 42 134
35.0% 70.0% 32.9% 30.0% 32.3% 33.5%
25,000 บาท % within Reason
รายได้ 25,001 – Count 0 0 11 0 15 26
35,000 บาท % within Reason 0.0% 0.0% 5.2% 0.0% 11.5% 6.5%
รายไดม้ ากกวา่ Count 13 0 73 6 42 134
35,000 บาทข้ึนไป % within Reason 65.0% 0.0% 34.8% 20.0% 32.3% 33.5%
Total Count 20 10 210 30 130 400
% within Reason 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0%
Chi-Square Tests
Value df Asymp. Sig. (2-sided)
Pearson Chi-Square 63.550a 16 .000
Likelihood Ratio 64.067 16 .000
Linear-by-Linear Association .692 1 .405
N of Valid Cases 400
a. 10 cells (40.0%) have expected count less than 5. The minimum expected count is .65.
จากตารางท่ี 4.51 พบว่า รายได้เฉล่ียต่อเดือนที่แตกต่างกันข้ึนอยู่กับด้านเหตุผลที่เลือกสั่งอาหารเดลิเวอร่ีผ่าน
แอพพลิเคชน่ั แอพพลิเคชนั่ ซ่ึงมีนยั สาคญั ทางสถิตินอ้ ยกวา่ ท่ีระดบั .05 ดงั น้นั จึงยอมรับสมมติฐานรอง H1
สมมติฐานท่ี 1.4.4 ปัจจยั ส่วนบุคคลดา้ นรายไดเ้ ฉลี่ยต่อเดือนที่แตกต่างกนั มีผลต่อดา้ นช่วงความถ่ีในการสั่งซ้ือ
อาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชนั่ ต่อเดือน ซ่ึงสามารถเขียนสมมติฐานได้ ดงั น้ี
H0: P = 0 รายได้เฉล่ียต่อเดือนที่แตกต่างกันไม่ข้ึนอยู่กับด้านช่วงความถี่ในการส่ังซ้ืออาหารเดลิเวอรี่ผ่าน
แอพพลิเคชนั่ ต่อเดือน
H1: P ≠ 0 รายไดเ้ ฉล่ียต่อเดือนที่แตกต่างกนั ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นช่วงความถ่ีในการสงั่ ซ้ืออาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชนั่
ต่อเดือน
P (ความน่าจะเป็น) = .123 , ค่าอลั ฟ่ า (ระดบั นยั สาคญั ) = .05
ตารางที่ 4.52 ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งรายไดเ้ ฉล่ยี ต่อเดือนกบั ความถ่ีในการสง่ั ซ้ืออาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชนั่ ตอ่ เดือน
Frequency Total
นอ้ ยกวา่ 1 คร้ัง 1-5 คร้ัง 6-10 คร้ัง 11-15 คร้ัง มากกวา่ 15 คร้ัง
Salary รายไดน้ อ้ ยกวา่ Count 0 7 13 0 6 26
8,000 บาท % within Frequency 0.0% 23.3% 8.7% 0.0% 4.3% 6.5%
รายได้ 8,000 – Count 0 7 34 10 29 80
15,000 บาท % within Frequency 0.0% 23.3% 22.7% 14.3% 20.7% 20.0%
รายได้ 15,001 – Count 6 10 50 16 52 134
25,000 บาท % within Frequency 60.0% 33.3% 33.3% 22.9% 37.1% 33.5%
รายได้ 25,001 – Count 0097 10 26
35,000 บาท % within Frequency 0.0% 0.0% 6.0% 10.0% 7.1% 6.5%
รายไดม้ ากกวา่ Count 4 6 44 37 43 134
35,000 บาทข้ึนไป % within Frequency 40.0% 20.0% 29.3% 52.9% 30.7% 33.5%
Total Count 10 30 150 70 140 400
% within Frequency 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0%
Chi-Square Tests
Value df Asymp. Sig. (2-sided)
Pearson Chi-Square 44.071a 16 .000
Likelihood Ratio 47.546 16 .000
Linear-by-Linear Association 3.403 1 .065
N of Valid Cases 400
a. 9 cells (36.0%) have expected count less than 5. The minimum expected count is .65.
จากตารางท่ี 4.52 พบวา่ รายไดเ้ ฉล่ียต่อเดือนท่ีแตกต่างกนั ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นช่วงความถ่ีในการสง่ั ซ้ืออาหารเดลิเวอรี่ผา่ น
แอพพลิเคชน่ั ต่อเดือน ซ่ึงมีนยั สาคญั ทางสถิตินอ้ ยกวา่ ที่ระดบั .05 ดงั น้นั จึงยอมรับสมมติฐานรอง H1
สมมติฐานท่ี 1.4.5 ปัจจยั ส่วนบุคคลดา้ นรายไดเ้ ฉล่ียต่อเดือนท่ีแตกต่างกนั มีผลต่อดา้ นราคาอาหารท่ีสั่งอาหารเดลิ
เวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชนั่ ต่อคร้ังต่อเดือน ซ่ึงสามารถเขียนสมมติฐานได้ ดงั น้ี
H0: P = 0 รายไดเ้ ฉลี่ยต่อเดือนท่ีแตกต่างกนั ไม่ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นช่วงราคาอาหารที่ส่ังอาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชน่ั
ต่อคร้ัง
H1: P ≠ 0 รายไดเ้ ฉล่ียต่อเดือนที่แตกต่างกนั ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นช่วงราคาอาหารท่ีสั่งอาหารเดลิเวอรี่ผ่านแอพพลิเคชน่ั ต่อ
คร้ัง
P (ความน่าจะเป็น) = .123 , คา่ อลั ฟ่ า (ระดบั นยั สาคญั ) = .05
ตารางท่ี 4.53 ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งรายไดเ้ ฉล่ียตอ่ เดือนกบั ราคาอาหารที่ส่งั อาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชน่ั ต่อคร้ัง
FoodPri Total
ต่ากวา่ หรือเท่ากบั 201-400 401-600 601-800 มากกวา่ 800
200 บาท บาท บาท บาท บาท
Salary รายไดน้ อ้ ยกวา่ Count 19 3 0 0 4 26
8,000 บาท % within FoodPri 6.6% 4.3% 0.0% 0.0% 20.0% 6.5%
รายได้ 8,000 – Count 74 3 0 0 3 80
15,000 บาท % within FoodPri 25.5% 4.3% 0.0% 0.0% 15.0% 20.0%
รายได้ 15,001 – Count 92 27 3 3 9 134
25,000 บาท % within FoodPri 31.7% 38.6% 30.0% 30.0% 45.0% 33.5%
รายได้ 25,001 – Count 26 0 0 0 0 26
35,000 บาท % within FoodPri 9.0% 0.0% 0.0% 0.0% 0.0% 6.5%
รายไดม้ ากกวา่ Count 79 37 7 7 4 134
35,000 บาทข้ึนไป % within FoodPri 27.2% 52.9% 70.0% 70.0% 20.0% 33.5%
Total Count 290 70 10 10 20 400
% within FoodPri 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0%
Chi-Square Tests
Value df Asymp. Sig. (2-sided)
Pearson Chi-Square 56.541a 16 .000
Likelihood Ratio 67.761 16 .000
Linear-by-Linear Association 2.463 1 .117
N of Valid Cases 400
a. 15 cells (60.0%) have expected count less than 5. The minimum expected count is .65.
จากตารางท่ี 4.53 พบว่า รายได้เฉล่ียต่อเดือนที่แตกต่างกันข้ึนอยู่กับด้านราคาอาหารที่ส่ังอาหารเดลิเวอร่ีผ่าน
แอพพลิเคชนั่ ต่อคร้ังต่อเดือนซ่ึงมีนยั สาคญั ทางสถิตินอ้ ยกวา่ ท่ีระดบั .05 ดงั น้นั จึงยอมรับสมมติฐานรอง H1
สมมุติฐานท่ี 2 เพื่อศึกษาปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด (7Ps) ได้แก่ ดา้ นผลิตภณั ฑ์ (Product) ดา้ นราคา (Price)
ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย (Place) ด้านการส่งเสริ ม (Promotion) ด้านบุคคล (People) ด้านกายภาพ (Physical
Evidence) และดา้ นกระบวนการ (Process) น่าจะมีความสัมพนั ธ์กบั การตดั สินใจใชบ้ ริการสั่งอาหารแบบเดลิเวอรี่ผ่าน
แอพพลิเคชนั่ ใชส้ ถิติในการวเิ คราะห์ Cross-tab
การวิเคราะห์การทดสอบสมมติฐานท่ี 2.1 ปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด (7Ps) ดา้ นผลิตภณั ฑ์ (Product) กบั การ
ตดั สินใจใชบ้ ริการสงั่ อาหารแบบเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชน่ั
สมมติฐานที่ 2.1.1.1 ปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด (7Ps) ดา้ นผลิตภณั ฑ์ (Product) รสชาติของอาหารมีความอร่อย
ถูกปากเหมือนกบั รับประทานท่ีร้าน มีผลต่อดา้ นวตั ถุประสงคห์ ลกั ที่สั่งอาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชน่ั ซ่ึงสามารถ เขียน
สมมติฐานได้ ดงั น้ี
H0: P = 0 ดา้ นผลิตภณั ฑ์ (Product) ไม่ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นวตั ถุประสงคห์ ลกั ท่ีสงั่ อาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชนั่
H1: P ≠ 0 ดา้ นผลิตภณั ฑ์ (Product) ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นวตั ถุประสงคห์ ลกั ท่ีสงั่ อาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชน่ั
P (ความน่าจะเป็น) = .123 , ค่าอลั ฟ่ า (ระดบั นยั สาคญั ) = .05
ตารางท่ี 4.54 ปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด (7Ps) ด้านผลติ ภณั ฑ์ (Product) รสชาติของอาหารมีความอร่อยถูกปากเหมือนกบั รับประทานท่ีร้าน มี
ผลต่อดา้ นวตั ถปุ ระสงคห์ ลกั ท่ีสงั่ อาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชนั่
Objective Total
เพอ่ื ใหบ้ ุคคล เพ่อื เป็น เพอ่ื ตอ้ งการใชใ้ นการ
เพือ่ บริโภคใน ในครอบครัว ของขวญั ใน สะสมคะแนนแลก
แต่ละวนั บริโภค โอกาสตา่ งๆ ส่วนลด
1.รสชาติของ เห็นดว้ ย Count 72 3 6 0 81
อาหารมีความ ปานกลาง % within Objective 20.0% 30.0% 30.0% 0.0% 20.3%
อร่อยถูกปาก เห็นดว้ ย Count 192 0 10 10 212
เหมือนกบั มาก % within Objective 53.3% 0.0% 50.0% 100.0% 53.0%
Count 96 7 4 0 107
รับประทานที่ เห็นดว้ ย % within Objective
ร้าน มากท่ีสด 26.7% 70.0% 20.0% 0.0% 26.8%
Total Count 360 10 20 10 400
% within Objective 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0%
Chi-Square Tests
Value df Asymp. Sig. (2-sided)
Pearson Chi-Square 22.963a 6 .001
Likelihood Ratio 29.768 6 .000
Linear-by-Linear Association 1 .552
N of Valid Cases .353
400
a. 5 cells (41.7%) have expected count less than 5. The minimum expected count is 2.03.
จากตารางที่ 4.54 พบว่า ปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด (7Ps) ด้านผลิตภัณฑ์ (Product) รสชาติของอาหารมีความ
อร่อยถูกปากเหมือนกบั รับประทานที่ร้าน ข้ึนอยู่กบั ดา้ นวตั ถุประสงค์หลกั ที่สั่งอาหารเดลิเวอรี่ผ่านแอพพลิเคชั่น ซ่ึงมี
นยั สาคญั ทางสถิตินอ้ ยกวา่ ท่ีระดบั .05 ดงั น้นั จึงยอมรับสมมติฐานรอง H1
สมมติฐานที่ 2.1.1.2 ปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด (7Ps) ด้านผลิตภัณฑ์ (Product) วตั ถุดิบท่ีใชใ้ นการประกอบ
อาหารมีคุณภาพดี มีผลต่อดา้ นวตั ถุประสงคห์ ลกั ที่สงั่ อาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชนั่ ซ่ึงสามารถเขียนสมมติฐานได้ ดงั น้ี
H0: P = 0 ด้านผลติ ภณั ฑ์ (Product) ไม่ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นวตั ถุประสงคห์ ลกั ท่ีสง่ั อาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชนั่
H1: P ≠ 0 ด้านผลติ ภัณฑ์ (Product) ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นวตั ถุประสงคห์ ลกั ท่ีสงั่ อาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชน่ั
P (ความน่าจะเป็น) = .123 , คา่ อลั ฟ่ า (ระดบั นยั สาคญั ) = .05
ตารางที่ 4.55 ปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด (7Ps) ด้านผลติ ภณั ฑ์ (Product) วตั ถุดิบท่ีใชใ้ นการ
ประกอบอาหารมีคุณภาพดี มีผลต่อดา้ นวตั ถปุ ระสงคห์ ลกั ท่ีสั่งอาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชนั่
Objective Total
เพอื่ ใหบ้ ุคคล เพอ่ื เป็น เพอื่ ตอ้ งการใชใ้ น
เพ่อื บริโภค ในครอบครัว ของขวญั ใน การสะสมคะแนน
ในแตล่ ะวนั บริโภค โอกาสตา่ งๆ แลกส่วนลด
วตั ถุดิบที่ เห็นดว้ ยปาน Count 82 3 10 0 95
ใชใ้ นการ กลาง % within Objective 22.8% 30.0% 50.0% 0.0% 23.8%
206 7 6 7 226
ประกอบ เห็นดว้ ยมาก Count
อาหารมี 57.2% 70.0% 30.0% 70.0% 56.5%
% within Objective 72 0 4 3 79
คุณภาพดี เห็นดว้ ยมากท่ี Count
สด % within Objective 20.0% 0.0% 20.0% 30.0% 19.8%
Total Count 360 10 20 10 400
% within Objective 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0%
Chi-Square Tests
Value df Asymp. Sig. (2-sided)
Pearson Chi-Square 14.169a 6 .028
Likelihood Ratio 17.492 6 .008
Linear-by-Linear Association .110 1 .740
N of Valid Cases 400
a. 6 cells (50.0%) have expected count less than 5. The minimum expected count is 1.98.
จากตารางที่ 4.55 พบว่า ปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด (7Ps) ด้านผลิตภัณฑ์ (Product) วตั ถุดิบท่ีใช้ในการ
ประกอบอาหารมีคุณภาพดี มีข้ึนอยกู่ บั ดา้ นวตั ถุประสงคห์ ลกั ท่ีส่งั อาหารเดลิเวอรี่ผ่านแอพพลิเคชน่ั ซ่ึงมีนยั สาคญั ทางสถิติ
นอ้ ยกวา่ ที่ระดบั .05 ดงั น้นั จึงยอมรับสมมติฐานรอง H1
สมมติฐานท่ี 2.1.1.3 ปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด (7Ps) ดา้ นผลิตภณั ฑ์ (Product) ร้านอาหารมีชื่อเสียงและมี
ความน่าเช่ือถือ มีผลต่อดา้ นวตั ถุประสงคห์ ลกั ท่ีสง่ั อาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชนั่ ซ่ึงสามารถเขียนสมมติฐานได้ ดงั น้ี
H0: P = 0 ดา้ นผลิตภณั ฑ์ (Product) ไม่ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นวตั ถุประสงคห์ ลกั ท่ีสง่ั อาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชน่ั
H1: P ≠ 0 ดา้ นผลิตภณั ฑ์ (Product) ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นวตั ถุประสงคห์ ลกั ท่ีสง่ั อาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชน่ั
P (ความน่าจะเป็น) = .123 , คา่ อลั ฟ่ า (ระดบั นยั สาคญั ) = .05
ตารางที่ 4.56 ปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด (7Ps) ด้านผลติ ภณั ฑ์ (Product) ร้านอาหารมีช่ือเสียงและมีความน่าเช่ือถือ มีผลตอ่ ดา้ น
วตั ถปุ ระสงคห์ ลกั ท่ีสั่งอาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชนั่
Objective Total
เพือ่ ให้บุคคล เพอื่ ตอ้ งการใชใ้ น 121
30.3%
เพื่อบริโภคใน ในครอบครัว เพ่อื เป็นของขวญั การสะสมคะแนน
226
แต่ละวนั บริโภค ในโอกาสตา่ งๆ แลกส่วนลด 56.5%
ร้านอาหา เห็นดว้ ยปาน Count 114 3 4 0 53
13.3%
รมี กลาง % within Objective 31.7% 30.0% 20.0% 0.0%
197 7 12 10 400
ชื่อเสียง เห็นดว้ ยมาก Count 100.0%
และมี % within Objective 54.7% 70.0% 60.0% 100.0%
ความ 49 0 4 0
น่าเชื่อถือ เห็นดว้ ยมากที่ Count
สด % within Objective 13.6% 0.0% 20.0% 0.0%
Total Count 360 10 20 10
% within Objective 100.0% 100.0% 100.0% 100.0%
Chi-Square Tests
Asymp. Sig. (2-
Value df sided)
Pearson Chi-Square 11.248a 6 .081
Likelihood Ratio 16.268 6 .012
Linear-by-Linear Association 1.683 1 .195
N of Valid Cases 400
a. 5 cells (41.7%) have expected count less than 5. The minimum expected count is 1.33.
จากตารางที่ 4.56 พบวา่ ปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด (7Ps) ด้านผลติ ภณั ฑ์ (Product) ร้านอาหารมีชื่อเสียงและมี
ความน่าเช่ือถือ ไม่ข้ึนอยู่กับด้านวตั ถุประสงค์หลกั ที่สั่งอาหารเดลิเวอรี่ผ่านแอพพลิเคชั่นอย่างมีนัยสาคญั ทางสถิติที่
ระดบั .05 ดงั น้นั จึงยอมรับสมมติฐานหลกั H0
สมมติฐานท่ี 2.1.1.4 ปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด (7Ps) ดา้ นผลิตภณั ฑ์ (Product) มีรายการอาหารให้เลือกอยา่ ง
หลากหลาย มีผลต่อดา้ นวตั ถุประสงคห์ ลกั ท่ีสงั่ อาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชนั่ ซ่ึงสามารถเขียนสมมติฐานได้ ดงั น้ี
H0: P = 0 ดา้ นผลิตภณั ฑ์ (Product) ไม่ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นวตั ถุประสงคห์ ลกั ที่สงั่ อาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชนั่
H1: P ≠ 0 ดา้ นผลิตภณั ฑ์ (Product) ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นวตั ถุประสงคห์ ลกั ที่สง่ั อาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชน่ั
P (ความน่าจะเป็น) = .123 , ค่าอลั ฟ่ า (ระดบั นยั สาคญั ) = .05
ตารางที่ 4.57 ปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด (7Ps) ดา้ นผลิตภณั ฑ์ (Product) มีรายการอาหารใหเ้ ลือกอยา่ งหลากหลาย มีผลตอ่ ดา้ นวตั ถปุ ระสงค์
หลกั ที่ส่งั อาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชนั่
Objective Total
เพ่ือใหบ้ ุคคล เพื่อเป็น เพอื่ ตอ้ งการใชใ้ นการ
เพ่อื บริโภคในแต่ ในครอบครัว ของขวญั ใน สะสมคะแนนแลก
ละวนั บริโภค โอกาสต่างๆ ส่วนลด
มีรายการ เห็นดว้ ย Count 74 4 4 0 82
อาหารให้ ปานกลาง % within Objective 20.6% 40.0% 20.0% 0.0% 20.5%
153 3 6 10 172
เลือก เห็นดว้ ยมาก Count
อยา่ ง % within Objective 42.5% 30.0% 30.0% 100.0% 43.0%
หลากหล 133 3 10 0 146
าย เห็นดว้ ยมาก Count
ที่สด % within Objective 36.9% 30.0% 50.0% 0.0% 36.5%
Total Count 360 10 20 10 400
% within Objective 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0%
Chi-Square Tests
Value df Asymp. Sig. (2-sided)
Pearson Chi-Square 17.448a 6 .008
Likelihood Ratio 20.708 6 .002
Linear-by-Linear Association .036 1 .849
N of Valid Cases 400
a. 7 cells (58.3%) have expected count less than 5. The minimum expected count is 2.05.
จากตารางท่ี 4.57 พบวา่ ปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด (7Ps) ดา้ นผลิตภณั ฑ์ (Product) รายการอาหารใหเ้ ลือกอยา่ ง
หลากหลาย มีข้ึนอยู่กบั ดา้ นวตั ถุประสงค์หลกั ที่ส่ังอาหารเดลิเวอรี่ผ่านแอพพลิเคชั่น ซ่ึงมีนัยสาคญั ทางสถิติน้อยกว่าท่ี
ระดบั .05 ดงั น้นั จึงยอมรับสมมติฐานรอง H1
สมมติฐานท่ี 2.1.1.5 ปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด (7Ps) ดา้ นผลิตภณั ฑ์ (Product) มีร้านอาหารให้เลือกอย่าง
หลากหลาย มีผลต่อดา้ นวตั ถุประสงคห์ ลกั ท่ีสง่ั อาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชนั่ ซ่ึงสามารถเขียนสมมติฐานได้ ดงั น้ี
H0: P = 0 ดา้ นผลิตภณั ฑ์ (Product) ไมข่ ้ึนอยกู่ บั ดา้ นวตั ถุประสงคห์ ลกั ท่ีสง่ั อาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชน่ั
H1: P ≠ 0 ดา้ นผลิตภณั ฑ์ (Product) ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นวตั ถุประสงคห์ ลกั ท่ีสงั่ อาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชนั่
P (ความน่าจะเป็น) = .123 , ค่าอลั ฟ่ า (ระดบั นยั สาคญั ) = .05
ตารางที่ 4.58 ปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด (7Ps) ดา้ นผลิตภณั ฑ์ (Product) มีร้านอาหารใหเ้ ลือกอยา่ งหลากหลาย มีผลต่อดา้ นวตั ถุประสงคห์ ลกั ที่สั่ง
อาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชนั่
Objective Total
เพื่อตอ้ งการใชใ้ นการ
เพ่อื บริโภคในแต่ เพ่ือใหบ้ ุคคลใน เพอ่ื เป็นของขวญั สะสมคะแนนแลก
ละวนั ครอบครัวบริโภค ในโอกาสต่างๆ ส่วนลด
มี เห็นดว้ ย Count 36 0 4 0 40
10.0% 0.0% 20.0% 0.0% 10.0%
ร้านอาหา ปานกลาง % within Objective
141 6 6 7 160
รให้เลือก เห็นดว้ ยมาก Count 39.2% 60.0% 30.0% 70.0% 40.0%
อยา่ ง % within Objective
หลากหล 183 4 10 3 200
าย เห็นดว้ ยมาก Count 50.8% 40.0% 50.0% 30.0% 50.0%
ท่ีสด % within Objective
Total Count 360 10 20 10 400
% within Objective 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0%
Chi-Square Tests
Value df Asymp. Sig. (2-sided)
Pearson Chi-Square 8.863a 6 .181
Likelihood Ratio 10.056 6 .122
Linear-by-Linear Association .677 1 .411
N of Valid Cases 400
a. 5 cells (41.7%) have expected count less than 5. The minimum expected count is 1.00.
จากตารางท่ี 4.58 พบว่า ปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด (7Ps) ดา้ นผลิตภณั ฑ์ (Product) มีร้านอาหารให้เลือกอยา่ ง
หลากหลาย ไม่ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นวตั ถุประสงคห์ ลกั ท่ีส่ังอาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชนั่ อยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติที่ระดบั .05
ดงั น้นั จึงยอมรับสมมติฐานหลกั H0
สมมติฐานท่ี 2.1.1.6 ปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด (7Ps) ดา้ นผลิตภณั ฑ์ (Product) บรรจุภณั ฑข์ องการส่ังอาหาร
แบบ Delivery มีผลต่อดา้ นวตั ถุประสงคห์ ลกั ท่ีสง่ั อาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชนั่ ซ่ึงสามารถเขียนสมมติฐานได้ ดงั น้ี
H0: P = 0 ดา้ นผลิตภณั ฑ์ (Product) ไม่ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นวตั ถุประสงคห์ ลกั ท่ีสง่ั อาหารเดลิเวอรี่ผา่ นแอพพลิเคชน่ั
H1: P ≠ 0 ดา้ นผลิตภณั ฑ์ (Product) ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นวตั ถุประสงคห์ ลกั ที่สง่ั อาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชนั่
P (ความน่าจะเป็น) = .123 , ค่าอลั ฟ่ า (ระดบั นยั สาคญั ) = .05
ตารางที่ 4.59 ปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด (7Ps) ดา้ นผลิตภณั ฑ์ (Product) บรรจุภณั ฑข์ องการสงั่ อาหารแบบ Delivery มีผลตอ่ ดา้ น
วตั ถุประสงคห์ ลกั ที่ส่งั อาหารเดลิเวอร่ีผา่ นแอพพลิเคชนั่
Objective Total
เพ่อื ตอ้ งการใชใ้ นการ
เพ่ือบริโภค เพ่อื ให้บุคคลใน เพ่ือเป็นของขวญั สะสมคะแนนแลก
ในแต่ละวนั ครอบครัวบริโภค ในโอกาสต่างๆ ส่วนลด
บรรจุ เห็นดว้ ย Count 13 0 0 0 13
ภณั ฑข์ อง นอ้ ย % within Objective 3.6% 0.0% 0.0% 0.0% 3.3%
0 121
การสงั่ เห็นดว้ ย Count 111 3 7
อาหาร ปานกลาง % within Objective 0.0% 30.3%
แบบ 30.8% 30.0% 35.0% 7 145
Delivery
เห็นดว้ ยมาก Count 126 3 9 70.0% 36.3%
% within Objective 35.0% 30.0% 45.0%
เห็นดว้ ยมาก Count 110 4 4 3 121
ที่สด % within Objective 30.6% 40.0% 20.0% 30.0% 30.3%
Total Count 360 10 20 10 400
% within Objective 100.0% 100.0% 100.0% 100.0% 100.0%
Chi-Square Tests
Value df Asymp. Sig. (2-sided)
Pearson Chi-Square 9.507a 9 .392
Likelihood Ratio 13.184 9 .154
Linear-by-Linear Association .704 1 .401
N of Valid Cases 400
a. 9 cells (56.3%) have expected count less than 5. The minimum expected count is .33.
จากตารางท่ี 4.59 พบว่า ปัจจยั ส่วนประสมทางการตลาด (7Ps) ดา้ นผลิตภณั ฑ์ (Product) บรรจุภณั ฑ์ของการสั่ง
อาหารแบบ Delivery ไม่ข้ึนอยกู่ บั ดา้ นวตั ถุประสงคห์ ลกั ท่ีสั่งอาหารเดลิเวอร่ีผ่านแอพพลิเคชน่ั อยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติที่
ระดบั .05 ดงั น้นั จึงยอมรับสมมติฐานหลกั H0