The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

งานการพยาบาลศัลยกรรมและงานการพยาบาลออร์โธปิดิกส์ โรงพยาบาลศรีนครินทร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by dsasit, 2023-11-22 21:36:04

สรุปผลงานกรรมการต่างๆ ปี๒๕๖๖

งานการพยาบาลศัลยกรรมและงานการพยาบาลออร์โธปิดิกส์ โรงพยาบาลศรีนครินทร์

แผนการดำเนินงาน คณะกรรมการควบคุมการติดเชื้อ ประจำปE 2567 เดือน โครงการ/ กิจกรรม ต.ค6 6 พ.ย 66 ธ.ค 66 ม.ค 67 ก.พ 67 มี.ค 67 เม.ย6 7 พ.ค 67 มิ.ย 67 ก.ค 67 ส.ค 67 ก.ย 67 เป4าหมาย ผู_รับผิดชอบ 1. ประชุมคณะกรรมการ ทุก 3 เดือน (ทุกวันพุธสัปดาหEที่ 3 ของเดือน) 13/12/66 13/3/67 12/6/67 11/9/67 ทุก 3 เดือน ประธานกรรมการ และเลขานุการ 1.1 ติดตามการปฏิบัติการปnองกันการติด เชื้อ ไดQแกA VAP, CAUTI, SSI, CLABSI, แนวทางปฏิบัติปnองกันการแพรAกระจาย เชื้อดื้อยา แบบประเมินละ 10 ครั้ง/เดือน และแบบประเมินการลQางมือ 30 ครั้ง/ เดือน ผAาน QR code Audit IC surg ภายในวันที่ 5 ของเดือน ประธาน กนกฤทัย สุนิษา จันจิรา อัจฉริยา ศิริลักษณ2 อรุณี ณัฐวดี ธันยธร ประภาศิริ วิชชุตา ทุก 1 เดือน ICWN ตามรายชื่อ แตQละเดือน 2. โครงการดQานการปnองกัน เฝnาระวังและ ควบคุมการติดเชื้อ 2.1 โครงการ One ward one project 2.2 CAUTI Prevention surg ร)วม วิเคราะห2 ติดตาม ครั้งที่1 นำเสนอ งานCQI ทุก 3 เดือน สุพัตรา(ส)/อุดา รัตน./ศิริลักษณ./ ณัฐวดี/กนกฤทัย 3. โครงการพัฒนาสมรรถนะบุคลากรเรื่อง การควบคุมและปnองกันการแพรAกระจาย เชื้อ ในโรงพยาบาล 1 ครั้ง/ป\ ICWN ทุกคน 4. สรุปงานและประเมินผลการดำเนินงาน ประจำปä 1 ครั้ง/ป\ ประธาน/รอง ประธาน/ เลขานุการ


แผนการดำเนินงาน คณะกรรมการควบคุมการติดเชื้อ ประจำปE 2567 Project Purpose KPI Process ผูuรับผิดชอบ 1. โครงการดuาน การป7องกัน เฝ7า ระวังและควบคุม การติดเชื้อ 1.1 โครงการ One ward one project 3ก SSI 3ข CAUTI IMC 3ข VAP/HAP BU CLABS 3ค SSI /แนวทาง ปฏิบัติป7องกันการ แพร,กระจายเชื้อ ดื้อยา 1.เพื่อใหFแตRละหอผูFป_วยมีการ พัฒนาโครงการเกี่ยวกับ ปmองกัน เฝmาระวังและควบคุม การติดเชื้อ 2.เพื่อลดอัตราการติดเชื้อ ตำแหนRงตRางๆ 3.เพื่อกระตุFนการปฏิบัติตาม แนวปฏิบัติการปmองกันการติด เชื้อของโรงพยาบาล 1. หอผูFป_วยมีโครงการพัฒนางานดFาน การปmองกันการติดเชื้ออยRางนFอย 1 เรื่อง 2. อัตราการติดเชื้อลดลงตาม เปmาหมายของโรงพยาบาล ดังนี้ อัตราการติดเชื้อ CAUTI <1.5 ครั้ง/1000 วันใสRอุปกรณB อัตราการติดเชื้อ SSI < 0.4 ครั้ง/1000 วันนอน อัตราการติดเชื้อ CLABS <1 ครั้ง/1000 วันใสRอุปกรณB อัตราการติดเชื้อ HAP < 7 ครั้ง/1000 วันที่ใชFอุปกรณB 3.บุคลากรปฏิบัติตามแนวปฏิบัติการ ปmองกันการติดเชื้อ > 80% 1.จัดสัมมนา ICWN นำเสนอขFอมูล การติดเชื้อในแตRละหอผูFป_วย วิเคราะหBขFอมูล สาเหตุ แนว ทางการแกFไขปàญหารRวมกันและ นำสูRการพัฒนาเปHนโครงการ 2.หอผูFป_วยจัดทำโครงการเกี่ยวกับ การปmองกันการติดเชื้อตำแหนRง ตRางๆและนำเสนอ show and share 3. นำเสนอโครงการพัฒนาดFาน การปmองกันการติดเชื้อในแตRละ หอผูFป_วย ในระดับหนRวยงาน ฝ_าย การพยาบาล และระดับ โรงพยาบาล 1.นางสาวสุพัตรา สังขBชา ตี 2.นางสาวอุดารัตนB ไชยตะ มาตยB 3.นางสาวศิริลักษณB ชาย พระอินทรB 4.นางสาวณัฐวดี บุญเรือง 5. นางสาวกนกฤทัย ยาม โสภา


แผนการดำเนินงาน คณะกรรมการควบคุมการติดเชื้อ ประจำปE 2567 Project Purpose KPI Process ผู4รับผิดชอบ 1.2 CAUTI Prevention surg 1.เพื่อให_หนQวยงานได_มีการพัฒนา โครงการ 2.เพื่อลดอัตราการติดเชื้อตำแหนQง ทางเดินปdสสาวะ 3.เพื่อกระตุ_นการปฏิบัติตามแนว ปฏิบัติการปgองกันการติดเชื้อตำแหนQง ทางเดินปdสสาวะ 1. หอผู_ปjวยมีโครงการพัฒนางานด_านการ ปgองกันการติดเชื้อทางเดินปdสสาวะอยQางน_อย 1 เรื่อง 2.อัตราการติดเชื้อ CAUTI <1.5 ครั้ง/1000 วัน ใสQอุปกรณ. 3.บุคลากรปฏิบัติตามแนวปฏิบัติการปgองกัน การติดเชื้อทางเดินปdสสาวะ > 80% 1.จัดสัมมนา ICWN นำเสนอข_อมูลการติด เชื้อตำแหนQงทางเดินปdสสาวะ วิเคราะห. สาเหตุ แนวทางการแก_ไขปdญหารQวมกัน 2.หอผู_ปjวยจัดทำโครงการเกี่ยวกับการ ปgองกันการติดเชื้อตำแหนQงทางเดิน ปdสสาวะ 3.Open house แลกเปลี่ยนเรียนรู_แนว ปฏิบัติการปgองกันการติดเชื้อตำแหนQง ทางเดินปdสสาวะแตQละหอผู_ปjวย 4. นำเสนอโครงการพัฒนาด_านการปgองกัน การติดเชื้อตำแหนQงทางเดินปdสสาวะ ใน ระดับหนQวยงาน ฝjายการพยาบาล และ ระดับโรงพยาบาล


แผนการดำเนินงาน คณะกรรมการควบคุมการติดเชื้อ ประจำปE 2567 Project Purpose KPI Process ผู4รับผิดชอบ 2. โครงการพัฒนา สมรรถนะบุคลากรเรื่อง การควบคุมและปSองกัน การแพรVกระจายเชื้อ ใน โรงพยาบาล 1. เพื่อเพิ่มสมรรถนะบุคลากรเรื่องการ ปgองกันการติดเชื้อดื้อยา 2. เพื่อบุคคลากรสามารถปฏิบัติตามแนว ทางการควบคุมและปgองกันการ แพรQกระจายเชื้อในโรงพยาบาล 3.เพื่อลดอัตราการติดเชื้อดื้อยา 1.บุคลากรผQานการทดสอบความรู_ > 80% 2. บุคลากรผQานการทดสอบการฝ{กปฏิบัติ 100 % 3. ผลการติดตามการปฏิบัติตามแนวปฏิบัติ ปgองการการติดเชื้อดื้อยา> 80% 4.อัตราการติดเชื้อดื้อยา < 1 ครั้ง/1000 วันนอน 1.จัดอบรมบุคลากรทุกระดับเรื่องการปgองกันการ ติดเชื้อและการแพรQกระจายเชื้อ ทั้งทฤษฎีและ การฝ{กปฏิบัติ โดย กลุQมเปgาหมาย : _______ คน กลุQมที่ 1 ( พยาบาล และผู_ชQวยพยาบาล) กลุQมที่ 2 (พนักงานการแพทย.และคนงาน) ระยะเวลา : 2 วัน (มีนาคม 2567) สำหรับภาคทฤษฎี: วิทยากรบรรยายให_ความรู_ ในแตQหัวข_อ ได_แกQ แนวปฏิบัติปgองกันการติดเชื้อ VAP, CAUTI, SSI, CLABSI, ตามนโยบายทางการ ควบคุมและปgองกันการแพรQกระจายเชื้อใน โรงพยาบาล สำหรับการฝ{กปฏิบัติ : รูปแบบการจัดกิจกรรม โดยมีการแบQงเข_าฐาน ดังนี้ ฐานที่ 1 : การทำความสะอาดมือ (Hand Hygiene) ของบุคลากร ตาม 5 moments ฐานที่ 2 : เรียนรู_อุปกรณ.ปgองกันรQางกายสQวน บุคคล (Personal Protective EquipmentPPE) ฐานที่ 3 : ทบทวนแนวทางการดูแลบุคลากรที่ ได_รับบาดเจ็บจากของมีคมทิ่มตำหรือสัมผัสสาร คัดหลั่งของผู_ปjวย ขณะปฏิบัติงานในโรงพยาบาล 2.กำกับติดตามการปฏิบัติตามแนวปฏิบัติโดย ICWN 3.สรุปผล และดำเนินการแก_ไขพัฒนาตQอเนื่อง 1. นางสาวสุพัตรา สังข.ชาตี 2. นางสาวปริญาภรณ. ปริปุณณะ 3. นางสาวอัจฉริยา ปdกเขตานัง 4. นางสาวศิริลักษณ. ชายพระอินทร. 5. นางสาวอรุณี ตันติพงศ.กูล 6. นางสาวจันทร.เพ็ญ มูลมาตย.


แผนการดำเนินงาน คณะกรรมการควบคุมการติดเชื้อ ประจำปE 2567 Project Purpose KPI Process ผูuรับผิดชอบ 3. โครงการนำ ขuอมูลมาติดตาม ผลการปฏิบัติตาม แนวปฏิบัติการ ป7องกันการติด เชื้อ ผ,าน QR code Audit IC surg 1. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ ติดตามผลการปฏิบัติตามแนว ปฏิบัติการปmองกันการติดเชื้อ 2.เพื่อใหFนำขFอมูลการติดตามผล การปฏิบัติตามแนวปฏิบัติการ ปmองกันการติดเชื้อมาใชFไดF ทันทRวงที 1. มี QR code Audit การ ปฏิบัติตามแนวปฏิบัติปmองกัน การติดเชื้อ VAP, CAUTI, SSI, CLABSI, แนวทางปฏิบัติ ปmองกันการแพรRกระจายเชื้อ ดื้อยา, การลFางมือ 2. หนRวยงานทำตามแนวปฏิบัติ > 80% 3. มีการลงขFอมูลผลการติดตาม การปฏิบัติการปmองกันการติด เชื้อใน KPI surg > 80% 1.จัดทำ QR code Audit การ ปฏิบัติตามแนวปฏิบัติปmองกันการ ติดเชื้อ VAP, CAUTI, SSI, CLABSI, แนวทางปฏิบัติปmองกันการ แพรRกระจายเชื้อดื้อยา, การลFางมือ 2.ติดตามการปฏิบัติการปmองกัน การติดเชื้อ ไดFแกR VAP, CAUTI, SSI, CLABSI, แนวทางปฏิบัติ ปmองกันการแพรRกระจายเชื้อดื้อยา แบบประเมินละ 10 ครั้ง/เดือน และแบบประเมินการลFางมือ 30 ครั้ง/เดือน ผRาน QR code Audit IC surg ภายในวันที่ 5 ของเดือน 3.สรุปผลการติดตามการปฏิบัติการ ปmองกันการติดเชื้อ ภายในวันที่ 10 ของเดือน โดยผูFรับผิดชอบ และลงขFอมูลใน KPI surg 1. นางสาวกนกฤทัย ยาม โสภา2. นางสาวสุนิษา สำรองพันธุB 3. นางสาวจันจิรา ปะทิเก


จบการนําเสนอ ขอบค ุ ณค ่ ะ


สรุปผลการดำเนินงาน คณะกรรมการช่วยฟนคืนชีพ ประจำป 2566 งานการพยาบาลศัลยกรรม งานการพยาบาลออรโธปดิกส


รายชื&อคณะกรรมการประจําปี บทบาทหนาที่ 2566


บทบาทหนาที่


บทบาทหนาที่


บทบาทหนาที่


แผนการดำเนินงาน คณะกรรมการช่วยฟนคืนชีพ แผนกการพยาบาลศัลยกรรมและออรโธปดิกสประจำป2566 กิจกรรม ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ผูรับผิดชอบ 1.ประชุมคณะกรรมการ วันจันทรแรกของทุก 3 เดือน คณะกรรมการ 2.ติดตาม ทบทวน เมื่อมีการช่วยฟนคืนชีพภายใน หนวยงาน ในดานตางๆ ดังนี้ - ความพรอมใช้ของรถฉุกเฉิน - สมรรถนะบุคลากรเพียงพอ - ทักษะการปฏิบัติการช่วยฟนคืนชีพ - การบันทึกขณะมีการช่วยฟนคืนชีพ สรุปผลการประเมินสงแผนก รวบรวมข้อเสนอแนะ และแนวทางพัฒนา (ถามี) คณะกรรมการ 3.โครงการพัฒนาสมรรถนะการช่วยฟนคืนชีพใน ผูปวยศัลยกรรมและออรโธปดิกส มีหัวข้อยอย ดังนี้ 3.1 โครงการ Open house รถฉุกเฉินพรอมใช้ 3.2 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการดานการช่วยฟนคืนชีพใน ผูปวยศัลยกรรม การอานคลื่นฟาหัวใจพื้นฐาน การใช้ เครื ่องกระตุกหัวใจและการตรวจคลื ่นไฟฟาหัวใจ (EKG) 3.3 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการบทบาทหนาที่ในการเข้า ทีมเมื่อมีการช่วยฟนคืนชีพ คณะกรรมการ 4.ทบทวน Early warning signs งานการพยาบาลฯ ใหเปนปจจุบัน คณะกรรมการ 5. สรุปงานและประเมินผลการดำเนินงานประจำป


Project Purpose Process performance 1. การประชุม คณะกรรมการช.วยฟ23นคืนชีพ เพื่อตอบสนองการดำเนินงาน ของแผนยุทธศาสตรHตาม วิสัยทัศนHที่ 1 คุณภาพการ ใหMบริการระดับเปNนเลิศและ พันธกิจที่ 4 การบริการ รักษาพยาบาลที่ดี -เพื่อใหMทุกหน.วยงานมีแนว ทางการช.วยฟ23นคืนชีพเปNนไป ในแนวทางเดียวกัน -เพื่อปรึกษาหารือ และ วางแผนการดำเนินงานร.วมกัน ทำใหMแผนปฏิบัติงานที่กำหนด ไวMไปสู.ความกMาวหนMา และ ปฏิบัติงานไดMอย.างแน.นอน ตัวชี้วัด § จัดประชุมจำนวน 4 ครั้ง § ตMองเขMาร.วมประชุมรMอยละ 80 หรือ 3 ใน 4 ของการ ประชุมทั้งหมด § วางแผนการประชุม กำหนดหัวขMอ/วัตถุประสงคH ของการประชุม การเตรียมเอกสารในการประชุม การเตรียมบุคลากรที่มาประชุม การเตรียมสถานที่ การเตรียมโสตทัศนHปกรณHและสิ่งอำนวยความ สะดวก แผนการดำเนินงาน การมอบหมายงาน และวันที่ เวลา สถานที่ § นัดประชุมคณะกรรมการช.วยฟ23นคืนชีพ โดย มอบหมายใหMเลขาเปNนคนออกหนังสือเชิญประชุม ส.งไปที่แผนกฯ และแผนกฯนำส.งออกไปยังหอ ผูMปaวยต.างๆ § การดำเนินการประชุม การดำเนินการตามระเบียบ วาระการประชุม ปรึกษาหารือ แลกเปลี่ยนเรียนรูM และวางแผน ชี้แจงแผนการดำเนินงานร.วมกัน § มอบหมายใหMเลขาเปNนผูMจดวาระการประชุม และ สรุปการประชุม • มีการจัดประชุมทั้งหมด จำนวน 3 ครั้ง คิดเปNนรMอยละ 75 หอผูMปaวย 3ก เขMา 3 ครั้ง 100% หอผูMปaวย 3ข เขMา 3 ครั้ง 100% หอผูMปaวย IMC 3ข เขMา 3 ครั้ง 100% หอผูMปaวย 3ค เขMา 3 ครั้ง 100 % หอผูMปaวย BU เขMา 3 ครั้ง 100 % หอผูMปaวย 3ฉ เขMา 3 ครั้ง 100% หอผูMปaวย 5ค เขMา 1 ครั้ง 33% หอผูMปaวย 2ฉ เขMา 2 ครั้ง 67% • หมายเหตุ : เนื่องจากมีการประชุม ย.อยทาง Line group • สิ่งที่ตMองปรับปรุง : สรุปผลการเขMา ร.วมประชุม โดยแยกรายชื่อ กรรมการแต.ละหอผูMปaวยว.าแต.ละ ท.านเขMาร.วมทั้งหมดจำนวนกี่ครั้ง คิดเปNนกี่ % และกำหนดวันเขMา ร.วมประชุมล.วงหนMาเพื่อใหM สรุปแผนการดำเนินงาน คณะกรรมการช่วยฟนคืนชีพ


Project Purpose Process performance 2. โครงการประชุม คณะกรรมการ และติดตาม ตัวชี้วัดการเตรียมความพรMอมใชM ของรถฉุกเฉิน และเครื่อง defibrillator เมื่อมีการช.วยฟ23น คืนชีพภายในหน.วยงาน เพื่อ ตอบสนองการดำเนินงานของ แผนยุทธศาสตรHตามวิสัยทัศนHที่ 1 คุณภาพการใหMบริการระดับ เปNนเลิศและพันธกิจที่ 4 การ บริการรักษาพยาบาลที่ดี เพื่อใหMทุกหน.วยงานมีความ พรMอมในการใชMงานของรถ ฉุกเฉิน และเครื่อง defibrillator ตัวชี้วัด § หน.วยงานที่ตรวจสอบรถ ฉุกเฉินผ.านเกณฑH (≥รMอย ละ 95) เท.ากับรMอยละ 100 § หน.วยงานที่ตรวจสอบรถ defibrillator ผ.านเกณฑH (≥รMอยละ 95) เท.ากับรMอย ละ 100 § ประชุมคณะกรรมการเพื่อชี้แจงแผนการดำเนินงาน § จัดกิจกรรม Open house ความพรMอมใชMของรถ ฉุกเฉิน, defibrillator ทุก 6 เดือน เวลาในการเขMา เยี่ยมหอผูMปaวยละ 30 นาที (หรือตามสถานการณH) (ก.อนสรุปงานประจำปá) อย.างนMอง 1 ครั้ง ดังนี้ § ครั้งที่ 1 วันที่ 5 เดือนเมษายน พ.ศ.2567 เวลา 9- 12.00 น. เริ่มจากหอผูMปaวย 3ค, 3ข, IMC 3ข, 3ก และ Burn unit และครั้งที่ 2 วันที่ 9 เดือนสิงหาคม พ.ศ.2567 และมอบหมายหนMาที่ในการตรวจเยี่ยม การสรุปผล ขMอเสนอแนะ และโอกาสในการพัฒนา ต.อ § มอบหมายใหMกรรมการแต.ละหอผูMปaวยนำเสนอผล การตรวจสอบความพรMอมของรถฉุกเฉิน และเครื่อง Defibrillator ทุกครั้งที่มีการนัดประชุม เพื่อนำผล มาวิเคราะหHกรณีที่ไม.สามารถทำไดMตามเกณฑH § สรุปงานและประเมินผลการติดตามการตรวจสอบ รถฉุกเฉินและรถ defibrillator ผลการตรวจสอบรถ Emergency • 3ก : 96.80% • 3ข : 95.67% • 3ค : 96.52% • 3ฉ : 92.46% • 5ค : 84.04% • Burn unit : 98.02% • IMC : 95.67% • 2ฉ : 95.20% ผลการตรวจสอบรถ Defibrillator • IMC3ข+3ข : 94.53 • 3ฉ : 92.69 • BU : 98.20 • หมายเหตุ : ยังทำไม.ไดMตามแผน เนื่องจากไม.ไดMจัดกิจกรรม open house แกMไข โดยใหMกรรมการแต. ละหอผูMปaวยตรวจนับการ ตรวจสอบเองแลMวส.งผลการตรวจ แทนสรุปแผนการดำเนินงาน คณะกรรมการช่วยฟนคืนชีพ


80 82 84 86 88 90 92 94 96 98 100 ตุล าคม พฤศจิกายน ธันวาคม มากราคม กุมภ าพันธ์ มีน าคม เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม ผลการตรวจสอบรถฉุกเฉินพร3อมใช3 3ก 3ข 3ค 3ฉ 5ค Burn unit imc 2ฉ เฉลี่ย 96.80 95.67 96.52 92.46 84.04 98.02 95.67 95.20 เดือน ผลลัพธH(%) 3ก 3ข 3ค 3ฉ 5ค Burn unit IMC 2ฉ ผลการดำเนินงาน “โครงการ Open house รถฉุกเฉินพรอมใช้”


ผลการดำเนินงาน “โครงการ Open house รถฉุกเฉินพรอมใช้”


รถ Emergengy พร้อมใช้มั *นใจ ครบถ้วน รถพร้อม คน พร้อม แต่ไม่ใช้ดีกว่านะคะ


Project Purpose Process performance 3. โครงการพัฒนาสมรรถนะการ ช3วยฟ78นคืนชีพขั้นพื้นฐาน ในผูAปCวย ศัลยกรรม เพื่อตอบสนองการ ดำเนินงานของแผนยุทธศาสตรRตาม วิสัยทัศนRที่ 1 คุณภาพการใหAบริการ ระดับเปWนเลิศและพันธกิจที่ 4 การ บริการรักษาพยาบาลที่ดี -เพื่อใหAบุคลากรงานการพยาบาล ศัลยกรรม งานการพยาบาลออรRโธป\ ดิกสRไดAทบทวนความรูA และแนวทาง การช3วยฟ78นคืนชีพขั้นพื้นฐานตาม CPR guideline 2020 -เพื่อใหAบุคลากรงานการพยาบาล ศัลยกรรมฯ มีความรูAความเขAาใจ เกี่ยวกับการช3วยฟ78นคืนชีพขั้นพื้นฐาน ตาม CPR guideline 2020 ตัวชี้วัด § บุคลากรงานการพยาบาล ศัลยกรรม มีความรูA ความเขAาใจ ในการช3วยฟ78นคืนชีพขั้นพื้นฐาน ตาม CPR guideline 2020 รAอย ละ 100 § บุคลากรงานการพยาบาล ศัลยกรรมสามารถปฏิบัติการ ช3วยฟ78นคืนชีพขั้นพื้นฐานตาม CPR guideline 2020 รAอยละ 100 § ความพึงพอใจโดยรวมในการจัด กิจกรรม ≥รAอยละ 90 § ประชุมกรรมการเพื่อชี้แจง และมอบหมายงาน § กรรมการแจAงผูAเขAาอบรมเตรียมพรAอมในการอบรมโดยการส3ง QR code เอกสารการสอนและแบบฝsกหัด § ผูAเขAาอบรมลงทะเบียนและทำแบบทดสอบก3อนรับความรูA § จัดอบรมบุคลากร เรื่อง Basic Life Support และวิธีการใชA เครื่อง AED ณ หAองประชุมสมาคมศิษยRเก3า คณะแพทยศาสตรR โดยวิทยากร คือ พว.กAองหลAา แสนพันธR เชิงปฏิบัติการ • บรรยายหัวข้อ EKG, algorithms • ฝกปฏิบัติการใช้เครื่อง defibrillation, EKG 12 lead • ทักษะอื่นๆ เช่น เตรียมทอช่วยหายใจ, double syringe ฝกซ้อมปฏิบัติการ • การฝกทักษะการปฏิบัติแบบ Mega code ตาม CPR guideline 2020 • วิเคราะหและแลกเปลี่ยนเรียนรูหาโอกาสพัฒนารวมกัน • การสอบ Pre-post test § ผูAเขAาอบรมซักถามขAอสงสัย § ก3อนเขAาฝsกปฏิบัติ วิทยากรจะทบทวนความรูA ความเขAาใจใน การฝsกปฏิบัติการช3วยฟ78นคืนชีพขั้นพื้นฐานแก3ทีมกรรมการที่ จะประจำแต3ละฐาน เพื่อเตรียมความพรAอม § แบ3งกลุ3มเปWน 5 กลุ3มในการฝsกการช3วยฟ78นคืนชีพขั้นพื้นฐาน และผลัดเปลี่ยนกันใหAขAอเสนอแนะ โดยทีมวิทยากรประจำฐาน และวิทยากร พว.กAองหลAา แสนพันธR รรณ • ผูเข้ารวมอบรมมีความรูในการอาน EKG เบื้องตนและ ACLS guildeline 2020 โดยมีสอบ Post – test ไดมากกวา รอย ละ 80 ของคะแนนทั้งหมด รอยละ 100 • ผูเข้ารวมอบรมมีความมั่นใจในการช่วย ฟนคืนชีพมากขึ้น • ผูเข้ารวมอบรมสามารถทดสอบเครื่อง Defibrillator โดยการ Discharge พลังงาน 30 J ได • ความพึงพอใจโดยรวมไดรอยละ 98 ดำเนินงานไดJตามแผน 100% สรุปแผนการดำเนินงาน คณะกรรมการช่วยฟนคืนชีพ


รูปแบบกิจกรรม “การพัฒนาสมรรถนะการช่วยฟนคืนชีพในผูปวยศัลยกรรมและออรโธปดิกส” ตั1งใจฟังน่ะครับทุกคน CPR คุณภาพทุกลมหายใจ


รูปแบบกิจกรรม “การพัฒนาสมรรถนะการช่วยฟนคืนชีพในผูปวยศัลยกรรมและออรโธปดิกส”


Project Purpose Process performance 4. การพัฒนาการประเมิน อาการเปลี่ยนแปลงเฉพาะโรค ในผูMปaวยศัลยกรรมและออรHโธปã ดิกสHเพื่อตอบสนองการ ดำเนินงานของแผนยุทธศาสตรH ตามวิสัยทัศนHที่ 1 คุณภาพการ ใหMบริการระดับเปNนเลิศและ พันธกิจที่ 4 การบริการ รักษาพยาบาลที่ดี เพื่อใหMทุกหน.วยงานมีแนว ทางการเฝçาระวังและสังเกต อาการเปลี่ยนแปลงเฉพาะโรค ตัวชี้วัด § มี early warning signs เฉพาะโรคทุกหอผูMปaวย § มี pre-arrest signs ครบ ทุกกลุ.มอาการของ หน.วยงาน § อัตราการใชM MEWS score, SOS score, The Quick SOFA(qSOFA) และ The SOFA รMอยละ 100 § ประชุมคณะกรรมการเพื่อชี้แจงแผนการดำเนินงาน § มอบหมายกรรมการประจำหอผูMปaวยทบทวน early warning signs เฉพาะโรคของหอผูMปaวยเพื่อ นำเสนอในที่ประชุม § มอบหมายกรรมการประจำหอผูMปaวยพัฒนาearly warning signs เฉพาะโรคและ pre-arrest signs ครบทุกกลุ.มอาการของหน.วยงาน § ประชุมกลุ.มย.อยเพื่อนำเสนอความกMาวหนMาในการ ดำเนินงาน § นำเสนอร.าง early warning signs เฉพาะโรคและ pre-arrest signs ตามกลุ.มอาการของหน.วยงาน ใหMแก.ผูMบริหาร § ส.งผูMทรงคุณวุฒิเพื่อตรวจสอบความตรงของเนื้อหา § ปรับปรุงตามขMอเสนอแนะ § จัดทำเปNนเอกสารเผยแพร.ภายในงานการพยาบาล ศัลยกรรมและงานการพยาบาลออรHโธปãดิกสHเพื่อ รับทราบร.วมกัน § ติดตามการใชMแบบประเมิน Modified Early Warning Score (MEWS) หรือ SOS Score ของ • มีการนำใชMแบบประเมิน เพื่อ ติดตามอาการเปลี่ยนแปลงอาการ ของผูMปaวย ตามบริบท ดังนี้ Ø qSOFA : 3ก Ø MEWS : 3ข/ IMC3ข/ 3ฉ/ 2ฉ/ 5ค Ø SOS : BU/ 3ค หมายเหตุ : ยังไม.ไดM Update early warning signs เฉพาะโรคทุกหอผูMปaวย จะนำไปพัฒนาต.อในรอบปáถัดไป


Project Purpose Process performance 5. โครงการสัมมนาอุบัติการณR Un plan CPR การแลกเปลี่ยน เรียนรูA เพื่อทบทวนผูAปCวยกลุ3มที่ จำเปWนตAองไดAรับการเฝÉาระวังอาการ เปลี่ยนแปลง และช3วยฟ78นคืนชีพ ใน ผูAปCวยศัลยกรรม เพื่อตอบสนองการ ดำเนินงานของแผนยุทธศาสตรRตาม วิสัยทัศนRที่ 1 คุณภาพการใหAบริการ ระดับเปWนเลิศและพันธกิจที่ 4 การ บริการรักษาพยาบาลที่ดี เพื่อวิเคราะหR ทบทวนการดูแลผูAปCวย ใหAปลอดภัยจากภาวะการช3วยฟ78นคืน ชีพที่ไม3มีการวางแผนล3วงหนAา -เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรูAใหAบุคลากร พยาบาลสามารถประเมิน Precardiac arrest signs ไดA และ จัดการช3วยเหลือในการช3วยฟ78นคืน ชีพไดAอย3างถูกตAอง รวดเร็ว เหมาะสม ตามบทบาทหนAาที่ -เพื่อทบทวนระบการช3วยฟ78นคืนชีพ ในหน3วยงาน -เพื่อใหAไดAแนวปฏิบัติในการขอความ ช3วยเหลือเมื่อผูAปCวย arrest และการ ช3วยฟ78นคืนชีพอย3างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด § ไดAแนวทางในการปฏิบัติ รAอย ละ100 § ลดอุบัติการณRการขอ CPR § พยาบาลสามารถจัดการ ช3วยเหลือในการ CPR ผูAปCวย และลงบันทึกในแบบบันทึกใน แบบบันทึกขAอมูลไดAถูกตAอง ครบถAวน รAอยละ 100 § ประชุมคณะกรรมการเพื่อชี้แจงแผนการดำเนินงาน และ มอบหมายงาน กรณีมีหอผูAปCวยที่มีการเรียก Call CPR ใหAจัด สัมมนาวิเคราะหRสถานการณRหลังเกิดเหตุการณRภายใน 7 วัน โดยใหAหอผูAปCวยที่เกิดเหตุการณRเปWนผูAเตรียมขAอมูลในการ สัมมนา ส3งใบบันทึก CPR ภายใน 48 ชม.หลังมีการ CPR และคณะกรรมที่รับผิดชอบในเดือนนั้น ๆ เปWนผูAจัดเตรียม สถานที่ ประสานงานเรื่องต3าง ๆ เช3น กำหนดวันที่จะจัด ปรึกษาทีมผูAบริหาร จองหAอง เตรียมสถานที่ อาหาร ว3าง ประชาสัมพันธRกิจกรรม และสรุปผล (ไดAประเด็น และ แนวทางการแกAไข) § ตัวแทนหอผูAปCวยนำเสนอกรณีศึกษา และทบทวนระบบการ ช3วยฟ78นคืนชีพในหน3วยงาน § แบ3งกลุ3มเพื่อวิเคราะหRกรณีศึกษา RCA Pre-cardiac arrest signs การจัดการช3วยเหลือในการ CPR ผูAปCวย จุดเด3นที่ทำไดA ดี และโอกาสในการพัฒนา § กำหนดเวลาในการทำกลุ3ม 10-15 นาที § นำเสนอผลการระดมความคิดเห็น กลุ3มละ 5 นาที และใหA กลุ3มอื่นๆเสนอแนะเพิ่มเติม § วิทยากร/ทีมผูAบริหาร ใหAขAอเสนอแนะเพิ่มเติม และสรุปแนว ทางการปฏิบัติในการขอความช3วยเหลือ เมื่อผูAปCวย arrest การช3วยฟ78นคืนชีพอย3างมีประสิทธิภาพ และการลงบันทึกใน แบบบันทึกขAอมูล • ผูเข้ารวมไดรับทราบปญหาอุบัติการณ ความเสี่ยงที่เกิดในงานการพยาบาลของ เรา • ผูเข้ารวมไดแลกเปลี่ยนประสบการณการ ดูแลหรือการปองกันความเสี่ยงเหลานี้โดย ใช้การวิเคราะหRCA • ไดแนวทางปฏิบัติรวมกันในการดูแลและ เฝาระวังอาการเปลี่ยนแปลง จำนวน 3 เรื่อง ไดแก่การปÉองกันและเฝÉาระวังการ เกิดภาวะ PE, IICP และ Pneumothorax • Call CPR ทั้งหมด 11 ครั้ง ทำ Interesting case 3 ครั้ง เนื่องจากบาง รายเปWน Plan CPR บางราย CPR ระยะเวลาสั้นๆ บางรายจัดไม3ทันเปWน โอกาสพัฒนาในรอบปêถัดไป หมายเหตุ : มีการเรียก CPR team ทั้งหมด จำนวน 111 ครั้ง Ø 3ก 1 ครั้ง Ø 3ฉ 1 ครั้ง Ø BU 5 ครั้ง Ø 5ค 1 ครั้ง Ø 3ข 1 ครั้ง ØIMC1ครั้ง(10วินาที)


รูปแบบกิจกรรม “การแลกเปลี่ยนเรียนรูเพื่อทบทวนการดูแลผูปวยกลุมที่จำเปนตองไดรับการเฝา ระวังอาการเปลี่ยนแปลงและช่วยฟนคืนชีพ”


รูปแบบกิจกรรม “การแลกเปลี่ยนเรียนรูเพื่อทบทวนการดูแลผูปวยกลุมที่จำเปนตองไดรับการเฝา ระวังอาการเปลี่ยนแปลงและช่วยฟนคืนชีพ”


สรุปงานคณะกรรมการดูแลต่อเนื่อง (COC) ปี 2566 งานการพยาบาลศัลยกรรมและ งานการพยาบาลออร์โธปิดิ ปิ ดิ กส์ เอกสารประกอบการบรรยาย


1 นางสาวสุนทรี ชาจันทร์ หอผู้ป่วย burn unit ประธาน 2 นางสุอังคณา สุพรรณเภสัช หอผู้ป่วย 3 ฉ รองประธาน 3 นางสาวสุวรรณา จรจรัญ หอผู้ป่วย 3ก กรรมการ 4 นางสาวประภาภรณ์ จันทร์วิเวิศษ หอผู้ป่วย 3ก กรรมการ 5 นางสาววชิราภรณ์ ฤาชา หอผู้ป่วย IMC 3 ข กรรมการ 6 นางสาวเพชรไพรินริทร์ สุริยริะ หอผู้ป่วย 3ข กรรมการ 7 นางสาวธัญญานุช ศรีชั รีชั ยนาท หอผู้ป่วย 3ข กรรมการ 8 นางสาวสุพัตรา ผลถวิลวิหอผู้ป่วย burn unit กรรมการ 9 นางสาวสมฤทัย ปฏิสิทธิ์ หอผู้ป่วย 3 ค กรรมการ 10 นางสาวนุชลดา สินสมุทร หอผู้ป่วย 3 ค กรรมการ 11 นางสาวพรนภา ไวศิลา หอผู้ป่วย 5ค กรรมการ 12 นางนฤมล ผาภู หอผู้ป่วย 5ค กรรมการ 13 นางสาวกาญจนา พิมพ์เภา หอผู้ป่วย 3 ฉ กรรมการ 14 นางสาวชลาลัย ปานเพชร หอผู้ป่วย 2ฉ กรรมการ 15 นางสาวทิพรัตน์ ดวงอนนท์ หอผู้ป่วย 2ฉ กรรมการ 16 นางสาวอรุณี ตันติพงศ์กูล หอผู้ป่วย IMC 3 ข กรรมการและเลขานุการ รายชื่อกรรมการ 1. พว.ศศิธร ดวงมั่น หัวหน้าการพยาบบาลศัลยกรรม 2. พว.ภาณี เดชาสถิตย์ หัวหน้าหอผู้ป่วย3ค ที่ปรึก รึ ษา


วางแผนดำ เนินงานประจำ ปี พัฒนาระบบการดูแลต่อเนื่องของงานการพยาบาลร่วมกับร่วมกับฝ่ายการพยาบาล พัฒนาบุคลากรในการดูแลผู้ป่วยต่อเนื่อง สรุปงานประจำ ปี ติดตามประเมินผลการดำ เนินงานและตัวชี้วัด วั ทุก 3 เดือน เสนอต่อคณะกรรมการ 1. 2. 3. 4. 5. บริห ริ ารแผนกฯ 6. อื่นๆตามที่ได้รับมอบหมาย หน้าที่รับผิดชอบ


1 ประชุมคณะกรรมการฯ นำ เสนอความคืบหน้าโครงการ พัฒนางานที่เกี่ยวข้องกับการ วางแผนจำ หน่ายและการดูแล ต่อเนื่อง 3 จัดกิจกรรม KM ครึ่ง รึ่ วัน เพื่อวางแผนจำ หน่ายและ การประเมินความจำ เป็นที่ ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่อง 2 อบรมการใช้ line official สร้าง QR code สำ หรับการ ใช้ให้ข้อมูลผู้ป่วยเฉพาะโรค ร่วมกับกรรมการสารสนเทศ 4 ประเมินผล สรุปผล แผนการดำ เนินการ ทุก 3 เดือน 17 ก 22 พ.ค. .พ ก.ย.66


แผนการดำ เนินงานปี 2566


การวางแผน การปฏิบัติตามแผน การปรับปรุงการดำ เนินการ การตรวจสอบ ทบทวนปัญหา หาแนวทางแก้ไข ศึกษาการใช้สื่อและนวัต วั กรรมใหม่ๆ พัฒนาสื่อนวัตกรรมให้มีความน่าสนใจ เสนอโครงการในหน่วยงาน ประชุมปรึก รึ ษาทีมเพื่อวิเ วิ คราะห์ปัญหา ใช้สื่อและนวัตกรรมในการสอน สาธิต รวมทั้งการให้ความรู้เรื่อ รื่ งการดูแลตนเอง ประเมินความรู้เกี่ยวกับการดูแลตน ประเมินความพึงพอใจการใช้ Line Official Account เองที่บ้าน กำ หนดแนวทางการปรับปรุงแก้ไข จัดทำ ตามข้อเสนอแนะ วิธี วิธี ดำ เนินงาน (สุธาสินี โพธิจันทร์,2015)


การดำ เนินงานตามแผนการดำ เนินงานปี 2566 1. การติดตามการเก็บข้อมูลอัตราการวางแผนจำ หน่ายในหน่วยงาน 2. โครงการพัฒนาบุคลากร - กิจกรรม KM แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อวางแผนจำ หน่ายและการประเมินความจำ เป็นที่ต้องได้ รับการดูแลต่อเนื่อง - อบรมการใช้ line official สร้าง QR code สำ หรับการใช้ให้ข้อมูลผู้ป่วยเฉพาะโรค 3. มีโครงการพัฒนางานที่เกี่ยวข้องกับการวางแผนจำ หน่ายและการดูแลต่อเนื่อง


ผลการดำ เนินงานปี 2566 เพื่อติดตามงานและความคืบหน้าโครงการ พัฒนางานที่เกี่ยวข้องกับการวางแผนจำ หน่าย และการดูแลต่อเนื่องทุก 3 เดือน เกณฑ์ กรรมการทุกคนต้องเข้าประชุม 4 ครั้ง/ปี คิดเป็นร้อยละ >75 ผลลัพธ์ ประชุมและติดตามการวางแผนการดำ เนินงาน/โครงการ ต่างๆ มีการประชุมทั้งหมด 3 ครั้ง จำ นวนผู้เข้าร่วมประชุมครบทุกหอผู้ป่วยคิดเป็นร้อยละ 100, 100, 87.5 ตามลำ ดับ ประชุมคณะกรรมการฯ


Purpose Process Performance ผลการดำ เนินงานปี 2566 1.การติดตามการเก็บข้อมูลอัตราการวางแผนจำ หน่ายในหน่วยงาน 1. อัตราการวางแผนจำ หน่ายภายใน 48 ชั่วโมง 5 กลุ่มโรคเป้าหมายที่สำ คัญของหน่วยงาน ≥90 2. อัตราการส่งต่อผู้ป่วยเพื่อดูแลต่อเนื่องในกลุ่มโรคเป้าหมายที่สำ คัญ ≥90 3. การติดตามอาการผู้ป่วยภายหลังการจำ หน่าย 7 วัน ≥90 4. อัตราการตอบกลับผลการเยี่ยมบ้านในกลุ่มโรคที่สำ คัญ ≥90 5. อัตราการ Readmission ในกลุ่มโรคที่สำ คัญ <2 ตัวชี้วัด 1. ออกแบบการเก็บรวบรวมข้อมูลลง 2. กรรมการตรวจสอบการลงข้อมูลผู้ป่วยที่จำ หน่าย แต่ละครั้งให้ครบถ้วน หากพบว่าไม่มีการลงข้อมูลให้ แจ้งอินชาร์จในวันนั้นให้รับทราบ 3. กรรมการ COC ตรวจสอบข้อมูลตัวชี้วัดที่ไม่เป็น ไปตามเป้าหมายแจ้งให้ผู้รับผิดชอบดำ เนินการ วิเคราะห์และหาแนวทางการแก้ไข 1. เพื่อติดตามการลงข้อมูลการวางแผนการ จำ หน่ายภายในหน่วยงาน 2. สามารถรายงานดัชนีชี้วัดประจำ เดือนได้ 3. สามารถนำ ข้อมูลที่ได้มาทำ การวิเคราะห์ วางแผนบริการในอนาคต แต่ละหน่วยงานมีการออกแบบการเก็บรวบรวมข้อมูลลง ใน Paper และในระบบ IT Nurse โดยมีกรรมการ COC ตรวจสอบการลงข้อมูลผู้ป่วยที่จำ หน่ายแต่ละครั้ง การลงข้อมูลตัวชี้วัดทุกเดือน ภายในวันที่ 5 ไม่เกินวันที่ 10 ของเดือนถัดไป ในระบบ IT Nurse ยังมีบางหน่วย งานที่ยังปฎิบัติไม่ได้ 100%


อัตราการวางแผนจำ หน่ายภายใน 48 ชั่วโมง 3ก 3ข 3ค IMC3ข BU 2ฉ 3ฉ 5ค 0 20 40 60 80 100 การลงข้อมูลภายในวันที่ 5 ไม่เกินวันที่ 10 ของเดือนถัดไป ในระบบ IT Nurse ผลการดำ เนินงานปี 2566 1.1 อัตราการวางแผนจำ หน่ายภายใน 48 ชั่วโมง 5 กลุ่มโรคเป้าหมายที่สำ คัญของหน่วยงาน 100 85 100 100 100 100 100 100


3ก 3ข 3ค IMC3ข BU 2ฉ 3ฉ 5ค 0 20 40 60 80 100 ผลการดำ เนินงานปี 2566 1.2 อัตราการส่งต่อผู้ป่วยเพื่อดูแลต่อเนื่องในกลุ่มโรคเป้าหมายที่สำ คัญ 100 100 100 100 100 100 100 100


3ก 3ข 3ค IMC3ข BU 2ฉ 3ฉ 5ค 0 20 40 60 80 100 ผลการดำ เนินงานปี 2566 1.3 การติดตามอาการผู้ป่วยภายหลังการจำ หน่าย 7 วัน 92.59 82.44 81.92 100 94.91 93.38 59.79 63.42 อัตราการส่งต่อผู้ป่วยเพื่อดูแลต่อเนื่องในกลุ่มโรคเป้าหมายที่สำ คัญของหน่วย และการติดตามอาการผู้ป่วยภายหลังการจำ หน่าย 7 วัน


0 1 2 3 3ก 2 3ข 0 3ค 3 IMC3ข 2 BU 0 2ฉ 2 3ฉ 3 5ค 0 อัตราการ Readmission ผลการดำ เนินงานปี 2566 1. ผลการดำ เนินการ การติดตามการเก็บข้อมูล อัตราการวางแผนจำ หน่ายในหน่วยงาน 1.4 อัตราการ Readmission


การดำ เนินงานปี 2566 โครงการพัฒนาบุคลากรกิจกรรม KM แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อวางแผนจำ หน่ายและการประเมินความจำ เป็น ที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่อง อบรมการใช้ line official สร้าง QR code สำ หรับการใช้ให้ข้อมูลผู้ป่วยเฉพาะโรค


Purpose Process Performance ผลการดำ เนินงานปี 2566 1. หน่ายงานมีระบบการติดตามผู้ป่วยกลับ บ้านตามกลุ่มเป้ายหมาย 5 โรคแรกของ แต่ละหน่ายงาน 100% 2 เพื่อให้มีแนวการปฏิบัติติดตามอาการผู้ ป่วยที่จำ หน่ายออกจากโรงพยาบาล กิจกรรม KM แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อวางแผนจำ หน่ายและการประเมินความจำ เป็นที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่อง 1 ทุกหน่ายงานมีระบบการติดตามผู้ป่วยกลับบ้านตามกลุ่มเป้ายหมาย 5 โรคแรกของแต่ละหน่ายงาน 2 มีแนวการปฏิบัติติดตามอาการผู้ป่วย ตัวชี้วัด ทุกหน่ายงานมีระบบการติดตามผู้ป่วยกลับบ้านตาม กลุ่มเป้ายหมาย 5 โรคแรกของแต่ละหน่ายงาน 100% มีแนวการปฏิบัติติดตามอาการผู้ป่วยจากการอบรมทุก หน่วยงานร่วมกันสร้างแนวปฏิบัติการติดตามหลัง จำ หน่าย ฟังบรรยาย การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีเวทีเสวนา หัวข้อเรื่อง การ พัฒนารูปแบบการติดตามเยี่ยมผู้ป่วยหลังจำ หน่าย หอผู้ป่วย 3ฉ หอผู้ป่วย 3ค และ หอผู้ป่วย 2ฉ การประเมินผลกิจกรรม มีการแบ่งกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวทางการติดตาม ดูแลต่อเนื่องของแต่ละหอผู้ป่วยตามหัวข้อดังนี้ - การจัดระบบรูปแบบการติดตามผู้ป่วยหลังจำ หน่าย - แนวปฏิบัติ/การพัฒนาระบบการติดตามหลัง จำ หน่ายที่มีประสิทธิภาพ


แนวปฏิบัติการติดตามหลังจำ หน่าย


Purpose Process Performance ผลการดำ เนินงานปี 2566 1. บุคลากรสามารถใช้สื่อในให้การให้ ข้อมูลการวางแผนจำ หน่ายผู้ป่วย กลับบ้าน 2. เพื่อให้มีระบบในการช่วยเหลือให้ คำ ปรึกษาแก่ผู้ป่วยที่จำ หน่ายออก จากโรงพยาบาล หน่วยงานสังกัดงานการพยาบาลศัลยกรรมและงานการพยาบาลออร์โธปิดิกส์ มี Line official account ของหน่วยงาน คิดเป็น 100% ความพึงพอใจของบุคลากรที่เข้าร่วมการอบรม >90% ร้อยละของผู้รับบริการที่ใช้งาน line official account ของหน่วยงาน ในระยะเวลา 1 เดือนหลังอบรม >80% 1. 2. 3. ฟังบรรยายและฝึกฏิบัติ โดยผู้เข้าร่วม อบรมเตรียมข้อมูลหอผู้ป่วยให้พร้อม การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การใช้งานโปรแกรม Line official account (วิทยากร พว.ภาสกร เงางาม) การประเมินผลกิจกรรม 1 รอบรมเชิงปฏิบัติการ หน่วยงานสังกัดมี Line official account สำ หรับการ ให้ข้อมูลการวางแผนจำ หน่ายผู้ป่วยกลับบ้านของ หน่วยงาน คิดเป็น 100% ร้อยละของผู้รับบริการที่ใช้งาน line official account ของหน่วยงาน ในระยะเวลา 1 เดือนหลัง อบรม 100% ความพึงพอใจโดยรวมของผู้เข้าร่วมอบรม เป็น 91% จัดโครงการ วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2566จำ นวนผู้เข้าร่วม 20 คน โดยเป็นตัวแทนจากทุกหอผู้ป่วย ตัวชี้วัด โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ โครงการ “การติดตามดูแลต่อเนื่องโดยใช้ line official account สำ หรับการให้ข้อมูลผู้ป่วยเฉพาะโรค”


Purpose Process Performance ผลการดำ เนินงานปี 2566 1. กรรมการมีการติดตามผลงาน โครงการพัฒนางานทุก 3 เดือน ตามวาระการประชุม 1. เพื่อให้หน่วยงานมีแนวทาง สำ หรับทีมผู้ให้บริการ ในด้าน การประเมิน หรือวางแผนให้ผู้ ป่วยกลับบ้าน ทั้งก่อนระหว่าง และหลังการเข้ารับการรักษาได้ อย่างเหมาะสม 3. มีโครงการพัฒนางานที่เกี่ยวข้องกับการวางแผนจำ หน่ายและการดูแลต่อเนื่อง ตัวชี้วัด 1. ทุกหน่วยงานต้องมีโครงการพัฒนางานที่เกี่ยวข้องกับการวางแผนจำ หน่ายและการดูแลต่อเนื่องหอผู้ป่วยละ 1 เรื่อง มีโครงการพัฒนางานที่เกี่ยวข้องกับ การวางแผนจำ หน่ายและการดูแล ต่อเนื่องของงานการพยาบาล ศัลยกรรมและงานการพยาบาลออ โธปิดิกส์คิดเป็นร้อยละ 50 โดยมี โครงการพัฒนางานทั้งหมด 5 โครงการ จากทั้งหมด 8 หอผู้ป่วย


โครงการ การใช้ line official account สำ หรับการให้ข้อมูลผู้ป่วยแผลไหม้เพื่อติดตามดูแลต่อเนื่อง โครงการ กลับบ้านฉับไว เพิ่มความพึงพอใจผู้ใช้บริการ (Bu) โครงการ พัฒนารูปแบบการติดตามผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดหลังจำ หน่าย (3ฉ) โครงการ การพัฒนารูปแบบการติดตามอาการผู้ป่วยหลังจำ หน่าย หอผู้ป่วย 3ค โครงการ การพัฒนารูปแบบการติดตามเพื่อการดูแลต่อเนื่องเฉพาะโรคในผู้สูงอายุที่มีภาวะกระดูกสะโพกหัก(5ค) ผลการดำ เนินงานปี 2566 โครงการพัฒนางานที่เกี่ยวข้องกับการวางแผนจำ หน่ายและการดูแลต่อเนื่อง


ภาพกิจกรรม ปี 2566 เวทีเสวนา นำ เสนอผลการแลกเปลี่ยนเรีย รี นรู้ร่วมกัน


ภาพกิจกรรม ปี 2566


ภาพกิจกรรม ปี 2566


บทเรีย รี นที่ได้รับ/ปัจจัยแห่งความสำ เร็จ การสนับสนุนที่ได้รับจากผู้บริห ริ าร หน่วยงาน/องค์กร การสนับสนุนการจัดทำ โครงการพัฒนางานในหน่วยงาน และวัสดุอุปกรณ์ต่างๆอื่นๆ เช่น ภาพ สื่อ การให้ความร่วมมือของคณะกรรมการและบุคลากรภายในหน่วยงาน การสนับสนุนงบประมาณในการพัฒนางาน


Click to View FlipBook Version