The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ท23101 ภาษาไทย 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thanawit, 2021-10-15 02:28:54

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ท23101 ภาษาไทย 5

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ท23101 ภาษาไทย 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

Keywords: แผนการจัดการเรียนรู้

๑๑. บนั ทกึ ผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจดั การเรียนรู้
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
ปัญหา / อุปสรรค
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
ขอ้ เสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ผสู้ อน
(นายธนวชิ ญ์ แสงนรนิ ทร์)
ตำแหน่ง ครผู ้ชู ว่ ย

........./............................/................

รบั ทราบ
ลงช่ือ.............................................

(นางทรายทอง ตรสี ตั ยกลุ )
ผูอ้ ำนวยการสถานศึกษา

เกณฑ์การประเมนิ การทำกจิ กรรม
คำชี้แจง : เกณฑก์ ารประเมินพฤติกรรมการเรียนเป็นรายบุคคลสร้างขนึ้ เพื่อให้ครใู ช้เปน็ เกณฑ์ในการประเมิน
นักเรยี นเป็นรายบุคคลโดยพิจารณาพฤตกิ รรมของนักเรียนวา่ ตรงเกณฑ์ในช่องใด

เกณฑ์การประเมิน ระดับคะแนน
๑. มคี วามรว่ มมือใน
การทำกิจกรรม ดีมาก (๔) ดี (๓) พอใช้ (๒) ควรปรับปรงุ (๑)
ให้ความร่วมมือในการทำ
๒. มคี วามรับผิดชอบ กิจกรรมอย่างดีทุกครั้งด้วย ใหค้ วามร่วมมอื ในการทำ ให้ความร่วมมือในการทำ ไม่ให้ความร่วมมือใน
ความเต็มใจ มีความ
๓. มีคณุ ธรรม กระตือรือร้น ในการเรียนรู้ กจิ กรรม ตอบคำถาม กิจกรรมแต่ไม่ค่อยเต็มใจ การทำกิจกรรมเลย
และตอบคำถามอย่าง
๔. การตรงต่อเวลา สมำ่ เสมอ บา้ งในบางคร้งั แต่ยัง ต้องมีการยำ้ เตอื น
๕. คุณภาพของ มีความรับผิดชอบต่อหน้าท่ี
ผลงาน และงานที่ได้รับมอบหมาย ขาดความกระตอื รือรน้
ทุกงานทกุ หน้าท่ี
มีความผิดชอบต่องาน มีความรบั ผดิ ชอบ ไม่มีความรับผิดชอบต่อ
ช่วยเหลือครูและเพื่อนใน
การทำงานไมท่ จุ รติ ใน แ ล ะ ห น ้ า ท ี ่ ท ี ่ ไ ด ้ รั บ ต่องานและหน้าท่ี งานและตอ่ หนา้ ท่ี
การทำกิจกรรม
เข้าชัน้ เรียนตรงเวลา มอบหมายบางงานบาง ท่ไี ด้รับมอบหมายอย่างไม่ ท่ไี ด้รบั มอบหมาย

ผลงานเป็นไปตาม หน้าที่ เตม็ ใจ
วัตถุประสงค์ มีความถูกตอ้ ง
และเสรจ็ ภายในเวลาที่ ไม่ช่วยเหลอื ครูและเพ่อื น ช่วยเหลือครูและเพื่อนใน ไม่ช่วยเหลือครูและ
กำหนด
ในการทำงานไม่ทุจริตใน ก า ร ท ำ ง า น ท ุ จ ริตใน เพื่อนในการทำงาน

การทำกจิ กรรม การทำกิจกรรม ทุจริตในการทำกิจกรรม

เขา้ ชั้นเรยี นชา้ เขา้ ชน้ั เรยี นชา้ ไม่เข้าช้นั เรยี น

๕ - ๑๐ นาที เกินกว่า ๑๐ นาที

ผลงานเปน็ ไปตาม ผลงานเปน็ ไปตาม ผลงานไม่เป็นไปตาม

วตั ถปุ ระสงค์ มีความถูก วตั ถปุ ระสงค์ ไมถ่ กู ตอ้ ง วตั ถุประสงค์ ไมถ่ ูกต้อง

ตอ้ ง ไม่เสร็จภายในเวลา ไมเ่ สร็จภายในเวลาท่ี ไม่เสร็จภายในเวลาท่ี

ท่ีกำหนด กำหนด กำหนด

เกณฑ์การตดั สนิ คณุ ภาพ
๑๔ - ๑๖ ดีมาก
๑๑ - ๑๓ ดี
๘ – ๑๐ พอใช้
๕ – ๗ ควรปรับปรุง

เกณฑ์การประเมนิ กจิ กรรมคัดเขยี นจากเพลงโปรด
คำชี้แจง : เกณฑ์การประเมินกิจกรรมคัดเขียนจากเพลงโปรด สร้างขึ้นเพื่อให้ครูใช้เป็นเกณฑ์ในการประเมนิ
นักเรยี นเปน็ รายบคุ คลโดยพิจารณาพฤติกรรมของนักเรยี นว่าตรงเกณฑ์ในช่องใด

เกณฑ์การประเมิน ระดบั คะแนน
1. รปู แบบตวั อักษร
ดมี าก (๔) ดี (๓) พอใช้ (๒) ควรปรับปรุง (๑)
2. ขนาดตวั อกั ษร เขยี นถกู ต้องเปน็ รูปแบบ มีข้อบกพร่องในการ
ตวั อักษรเดียวกันทุกตัว มขี อ้ บกพร่องในการเขียน มขี ้อบกพร่องในการเขยี น เขียนไมเ่ ป็นรปู แบบ
3. ความถูกตอ้ ง เดียวกนั 5 ตวั อกั ษร
ของข้อความ ขนาดตัวอักษรแต่ละตัวเป็น ไม่เป็นรปู แบบเดียวกนั ไมเ่ ปน็ รูปแบบเดียวกนั ขน้ึ ไป
ทค่ี ดั ม า ต ร ฐ า น เ ด ี ย ว ก ั น มี ขนาดตัวอักษรแต่ละตัว
ระยะหา่ งเทา่ กัน 1-2 ตวั อกั ษร 3-4 ตัวอักษร เป็นมาตรฐานเดียวกัน
4. ความสะอาดและ แต่มีระยะห่างไม่เท่ากัน
ความเป็นระเบยี บ เขียนสะกดคำได้ถูกต้องตาม ขนาดตัวอักษรแต่ละตัว ขนาดตัวอักษรแต่ละตัว
เรยี บร้อย อักขรวิธี และครบถ้วนไม่ตก เขียนสะกดคำไม่ถูกต้อง
หล่น เป็นมาตรฐานเดยี วกัน มี เป็นมาตรฐานเดยี วกัน มี ตามอักขรวิธีมากกวา่ 5
ที่ และเขียนครบถ้วน
สะอาดและมคี วาม ระยะห่างเทา่ กนั เป็นส่วน ระยะห่างเท่ากันเป็น ไม่ตกหลน่
เปน็ ระเบียบเรยี บรอ้ ย ไมค่ ่อยสะอาด มคี วาม
ไมม่ รี อยขดี ฆา่ ขดู ลบ ใหญ่ บางสว่ น เป็นระเบียบเรยี บร้อย
เป็นบางส่วน และมีรอย
เขียนสะกดคำไม่ถูกต้อง เขียนสะกดคำไม่ถูกต้อง ขีดฆ่า ขูดลบ มากกว่า
5 ที่ขน้ึ ไป
ต า ม อ ั ก ข ร ว ิ ธี ต า ม อ ั ก ข ร ว ิ ธี

1-2 ที่ และเขียน 3-4 ที่ และเขียน

ครบถว้ น ไม่ตกหล่น ครบถว้ น ไมต่ กหลน่

สะอาดและมคี วาม ไมค่ อ่ ยสะอาด มคี วาม
เปน็ ระเบยี บเรยี บร้อย เป็นระเบียบเรยี บรอ้ ย
แต่มีรอยขดี ฆ่า ขูดลบ เป็นบางส่วน และมีรอย
1-2 ที่
ขีดฆ่า ขูดลบ

3-4 ที่

เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ
๑๔ - ๑๖ ดมี าก
๑๑ - ๑๓ ดี
๘ – ๑๐ พอใช้
๕ – ๗ ควรปรบั ปรงุ

แผนการจัดการเรียนรู้ออนไลน์

กลุม่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย รายวิชาภาษาไทย 5 รหัส ท ๒3101

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 3 เร่ือง สดบั คำสอนพระบรมราโชวาท เวลา 15 ชว่ั โมง

แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 7 วเิ คราะห์โครงสร้างประโยคซับซ้อน เวลา 3 ชั่วโมง

สอนสปั ดาห์ท่ี 12 วันท่ี 30 – 31 สงิ หาคม 1 – 3 กนั ยายน 2564 ช้ันม.3/3 – 5, 3/8 - 9

..............................................................................................................................................................................

๑. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตัวช้วี ัด

๑.๑ มาตรฐานการเรยี นรู้

มาตรฐาน ท 4.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง

ของภาษาภมู ิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบตั ขิ องชาติ

๑.๒ ตัวชวี้ ดั

ท 4.1 ม.3/2 วิเคราะหโ์ ครงสร้างประโยคซับซ้อน

๒. สาระสำคญั
ประโยคเป็นหน่วยทางภาษาที่ใช้สื่อสารได้ความสมบูรณ์ ทำให้ผู้ฟังหรือผู้อ่านรู้ว่าผู้พูดหรือผู้เขียน

คิดเห็นอย่างไร รู้สึกอย่างไร ต้องการอะไร เป็นต้น ประโยที่ใช้สื่อสารกันโดยทั่วไปได้แก่ประโยค 3 ชนิด คือ
ประโยคสามัญ ประโยครวม ประโยคซ้อน ในกรณีที่ผู้พดู หรอื ผเู้ ขียนต้องการบอกเลา่ ความคิดท่ีต่อเน่อื งกันมาก
ๆ ก็อาจใช้หลายประโยครวมกัน คือประโยคซับซ้อน มี 3 ลักษณะ คือ ประโยคเดียวซับซ้อน ประโยครวม
ซับซ้อน และประโยคซ้อนซับซ้อน

๓. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
๑. นักเรียนสามารถอธิบายหลักการวเิ คราะห์ประโยคซบั ซ้อนได้ (K)
๒. นกั เรียนสามารถแตง่ ประโยคซบั ซอ้ นได้ (P)
๓. เห็นความสำคัญของการใช้ประโยค (A)

๔. สาระการเรียนรู้
ประโยคซับซ้อน

๕. สมรรถนะทีส่ ำคญั ๒.  ความสามารถในการคิด
๔.  ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต
๑. ความสามารถในการส่ือสาร
๓. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

๖. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ๒. ซ่อื สตั ย์สจุ ริต ๓. มีวนิ ยั ๔. ใฝเ่ รยี นรู้
๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๖. ม่งุ มนั่ ในการทำงาน ๗. รักความเปน็ ไทย

๕. อยู่อยา่ งพอเพยี ง
๘. มจี ติ สาธารณะ

๗. กระบวนการจัดการเรยี นรู้
คาบเรยี นที่ ๑
ขน้ั นำเขา้ สบู่ ทเรยี น
๑. นกั เรียนร่วมกันทำกจิ กรรม เอะ๊ ! ประโยคไหมนะ โดยนักเรียนรว่ มกันพจิ ารณาข้อความจำนวน 3

ขอ้ ความ ดงั น้ี
ก. เด็กชายเจโนน่ ้องเด็กชายจอหน์ น่ี
ข. เด็กชายแจฮยอนร้องเพลงเพราะ
ค. เดก็ ชายเตนล์จะเตน้ หรือรอ้ งเพลง

2. นักเรยี นรว่ มกันสนทนาเกย่ี วกับข้อความในกิจกรรมตอ่ ไปนี้
2.1 ลกั ษณะของประโยคเปน็ อย่างไร
(ตวั อย่างคำตอบ : ประกอบดว้ ยภาคประธานและภาคแสดง)
2.2 สว่ นสำคญั ของประโยคคอื สว่ นใด
(ตวั อยา่ งคำตอบ : ภาคแสดงหรอื กริยา)

นักเรียนพิจารณาว่าข้อใดบ้างที่เป็นประโยค เพราะเหตุใดโดยให้นักเรียนพิมพ์ข้อความในกล่อง
ข้อความผา่ นแอพลิเคชนั Meet

(ตัวอยา่ งคำตอบ : ข้อ ก. ไม่ใชป่ ระโยค ข้อ ข. และ ค. เปน็ ประโยค)
3. นักเรยี นและครรู ว่ มกนั อภปิ รายคำตอบเพ่อื โยงเข้าสู่ลักษณะของประโยค
ขน้ั สอน
4. นักเรียนร่วมกันเรียนรู้ลักษณะของประโยค ผ่านแอปพลิเคชัน Google Meet โดยนักเรียน
บันทึกความรู้ลงในเอกสารประกอบการเรียน หากนักเรียนมีข้อสงสัยสามารถกดปุ่ม เปิดไมโครโฟนเพ่ือ
ถาม – ตอบระหว่างเรียน
5. นักเรยี นแตง่ ประโยคคนละ 3 ประโยค ลงในโนต้ ผ่านแอปพลเิ คชัน Line Openchat
ขน้ั สรุป
6. นักเรยี นทำกิจกรรม Learning Log ผ่านแอปพลิเคชัน Google Forms
คาบเรยี นท่ี 2 – 3
ข้นั นำเขา้ ส่บู ทเรียน
๑. นกั เรียนรว่ มกันพิจารณาข้อความตอ่ ไปนี้

“การเฝ้าตดิ ตามความเคลือ่ นไหวของกลมุ่ ดาวยามค่าคนื ทาให้พบดาวดวงใหม่”

1.1 ขอ้ ความข้างต้นเปน็ ประโยคหรือไม่ (ตัวอย่างคำตอบ : เป็นประโยค)

1.2 เพราะเหตใุ ดข้อความขา้ งตน้ จึงมขี นาดยาว

(ตวั อย่างคำตอบ : มคี วามซับซ้อนในภาคประธาน)

2. นกั เรียนรว่ มกันอภปิ รายคำตอบเพอ่ื โยงเขา้ สู่ประโยคซับซอ้ น

ขนั้ สอน
3. นักเรียนทำกจิ กรรม ซอ้ บซ้อน...ซอ่ นเงื่อน โดยนักเรียนแบง่ กลุ่ม 6 กลมุ่ ผา่ นเว็บไซต์ Class 123
โดยมีวิธกี ารดงั น้ี

3.1 นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ กำหนดว่าใครจะเปน็ จกิ๊ ซอว์ช้นิ ท่ี 1 2 3 4 5 และ 6 ตามลำดบั

3.2 นักเรียนแยกเข้ากลุ่มตามจิ๊กซอวช์ ิ้นที่ 1 2 3 4 5 และ 6 โดยแต่ละกลุ่มจะได้รับหนา้ ที่ใน
การอ่านเนื้อหาเรื่อง ประโยคซับซ็อน จากหนังสือวิวิธภาษา ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 3 หน้า 164 – 165 และใบ
ความรู้ เร่ือง ประโยคซับซอ้ น ตามสว่ นของตวั เอง

3.3 นักเรียนกลุ่มจิ๊กซอว์กลับเข้ากลุ่มของตนเอง เพื่อนำเนื้อหาในส่วนของตนเองที่ได้รับไป
แลกเปลี่ยนกับสมาชิกในกลมุ่ ของตนเอง

4. นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนผังความคิดเรื่อง ลักษณะประโยคซับซ้อน ตามข้อมูลที่ได้รับในประเด็น
ต่อไปน้ี

4.1 ตำแหนง่ คำขยายในประโยค
4.2 ข้อระมดั ระวังการวางคำขยาย
4.3 ประโยคสามญั ซับซอ้ น
4.4 ประโยครวมซบั ซอ้ น
4.5 ประโยคซอ้ นซับซอ้ น
5. นกั เรยี นรว่ มกนั เรียนรู้ประโยคซบั ซอ้ น ผา่ นแอปพลิเคชนั Google Meet โดยนักเรียนบนั ทึก

ความรู้ลงในเอกสารประกอบการเรียน หากนักเรียนมีข้อสงสัยสามารถกดปุ่ม เปิดไมโครโฟนเพื่อ

ถาม – ตอบระหว่างเรียน

6. นักเรียนทำกิจกรรม ตอบปญั หา ประโยคซับซอ้ น ผา่ นเวบ็ ไซต์ bamboozle โดยนกั เรียนแต่
ละกลุ่มผลัดกันเลือกแผ่นปา้ ยจำนวน 10 แผ่นป้าย โดยจะมีทั้งคำถามและป้ายโบนัสเพื่อตอบคำถามเกี่ยวกบั
ประโยคซับซ้อน ตอบถูกได้คะแนน ตอบผิดเสียคะแนน กลุ่มใดสะสมคะแนนได้มากที่สุดจะเป็นผู้ชนะและ
ได้รับคะแนนกิจกรรม

ขนั้ สรุป
7. นักเรยี นทำแบบฝกึ หดั หลังเรียน เรอื่ ง ประโยคซับซ้อน ผา่ นเวบ็ ไซต์ Live Work Sheet

๘. ส่อื อุปกรณ์ และแหลง่ การเรียนรู้
๑. เวบ็ ไซต์ Google Meet
2. เวบ็ ไซต์ Line Openchat
๓. เวบ็ ไซต์ Class 123

๔. เว็บไซต์ bamboozle

๕. เวบ็ ไซต์ Live Work Sheet

๖. เอกสารประกอบการเรยี น เรอ่ื ง ประโยคซับซอ้ น

๙. การวัดและการประเมินผล

ส่ิงทีต่ ้องวัด วธิ ีวดั เครื่องมอื วัด เกณฑ์การประเมนิ ผล
ดา้ นความรู้ กจิ กรรม
๑. นักเรียนสามารถ ซอ้ บซ้อน...ซ่อนเงอ่ื น แบบประเมนิ การทำ ระดับคุณภาพดีขึ้นไป
อธบิ ายหลกั การวเิ คราะห์ กจิ กรรม ผ่านเกณฑ์
ประโยคซบั ซ้อนได้ (K) แบบฝึกหดั หลังเรียน
ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ เรอ่ื ง ประโยคซบั ซอ้ น เวบ็ ไซต์ ระดบั คุณภาพดีข้ึนไป
๒. นกั เรียนสามารถแตง่ Live Work Sheet ผา่ นเกณฑ์
ประโยคซับซ้อนได้ (P) ประเมนิ การทำกิจกรรม
แบบประเมนิ การทำ ระดับคุณภาพดีขน้ึ ไป
ด้านเจตคติ กจิ กรรม ผ่านเกณฑ์
๓. เหน็ ความสำคัญของ
การใช้ประโยค (A)

ลงชอ่ื ผู้สอน/ผ้เู ขยี นแผนการจดั การเรยี นรู้
(นายธนวชิ ญ์ แสงนรนิ ทร์)
ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย

๑๐. ขอ้ เสนอแนะของหัวหน้าสถานศกึ ษา หรือผู้ทีไ่ ด้รบั มอบหมาย (ตรวจสอบ/นเิ ทศ/เสนอแนะ/รบั รอง)

องคป์ ระกอบของแผนการจัดการเรยี นรู้ ( ) ครบถ้วน ( ) ไม่ครบถ้วน

การวเิ คราะหห์ ลักสตู ร ( ) มี ( ) ไมม่ ี

กิจกรรมการเรียนรู้ ( ) สอดคลอ้ งเหมาะสม ( ) ควรปรบั ปรุงพฒั นา

สื่อ/แบบฝึกทักษะ ( ) สอดคล้องกบั จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ( ) มาก/นอ้ ยเกินไป

เกณฑ์การวดั และประเมนิ ผล ( ) หลากหลายครบถ้วน ( ) ควรปรับปรุงพัฒนา

อืน่ ๆ

.............................................................................................................................................................. ................

................................................................................................................... ...........................................................

............................................................................................................................. .................................................

.................................................................................................................................................... ..........................

ลงชอื่ ผูป้ ระเมินแผนการเรยี นรู้
(นางมารสิ า อาจจันดา)

ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐานะครชู ำนาญการพเิ ศษ

๑๑. บนั ทกึ ผลหลังการจดั การเรยี นรู้
ผลการจดั การเรียนรู้
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
ปัญหา / อุปสรรค
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
ขอ้ เสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ผสู้ อน
(นายธนวชิ ญ์ แสงนรินทร์)
ตำแหนง่ ครูผ้ชู ว่ ย

........./............................/................

รบั ทราบ
ลงชอื่ .............................................

(นางทรายทอง ตรสี ตั ยกลุ )
ผู้อำนวยการสถานศึกษา

เกณฑ์การประเมนิ การทำกจิ กรรม
คำชี้แจง : เกณฑก์ ารประเมินพฤติกรรมการเรียนเป็นรายบุคคลสร้างขนึ้ เพื่อให้ครใู ช้เปน็ เกณฑ์ในการประเมิน
นักเรยี นเป็นรายบุคคลโดยพิจารณาพฤตกิ รรมของนักเรียนวา่ ตรงเกณฑ์ในช่องใด

เกณฑ์การประเมิน ระดับคะแนน
๑. มคี วามรว่ มมือใน
การทำกิจกรรม ดีมาก (๔) ดี (๓) พอใช้ (๒) ควรปรับปรงุ (๑)
ให้ความร่วมมือในการทำ
๒. มคี วามรับผิดชอบ กิจกรรมอย่างดีทุกครั้งด้วย ใหค้ วามร่วมมอื ในการทำ ให้ความร่วมมือในการทำ ไม่ให้ความร่วมมือใน
ความเต็มใจ มีความ
๓. มีคณุ ธรรม กระตือรือร้น ในการเรียนรู้ กจิ กรรม ตอบคำถาม กิจกรรมแต่ไม่ค่อยเต็มใจ การทำกิจกรรมเลย
และตอบคำถามอย่าง
๔. การตรงต่อเวลา สมำ่ เสมอ บา้ งในบางคร้งั แต่ยัง ต้องมีการยำ้ เตอื น
๕. คุณภาพของ มีความรับผิดชอบต่อหน้าท่ี
ผลงาน และงานที่ได้รับมอบหมาย ขาดความกระตอื รือรน้
ทุกงานทกุ หน้าท่ี
มีความผิดชอบต่องาน มีความรบั ผดิ ชอบ ไม่มีความรับผิดชอบต่อ
ช่วยเหลือครูและเพื่อนใน
การทำงานไมท่ จุ รติ ใน แ ล ะ ห น ้ า ท ี ่ ท ี ่ ไ ด ้ รั บ ต่องานและหน้าท่ี งานและตอ่ หนา้ ท่ี
การทำกิจกรรม
เข้าชัน้ เรียนตรงเวลา มอบหมายบางงานบาง ท่ไี ด้รับมอบหมายอย่างไม่ ท่ไี ด้รบั มอบหมาย

ผลงานเป็นไปตาม หน้าที่ เตม็ ใจ
วัตถุประสงค์ มีความถูกตอ้ ง
และเสรจ็ ภายในเวลาที่ ไม่ช่วยเหลอื ครูและเพ่อื น ช่วยเหลือครูและเพื่อนใน ไม่ช่วยเหลือครูและ
กำหนด
ในการทำงานไม่ทุจริตใน ก า ร ท ำ ง า น ท ุ จ ริตใน เพื่อนในการทำงาน

การทำกจิ กรรม การทำกิจกรรม ทุจริตในการทำกิจกรรม

เขา้ ชั้นเรยี นชา้ เขา้ ชน้ั เรยี นชา้ ไม่เข้าช้นั เรยี น

๕ - ๑๐ นาที เกินกว่า ๑๐ นาที

ผลงานเปน็ ไปตาม ผลงานเปน็ ไปตาม ผลงานไม่เป็นไปตาม

วตั ถปุ ระสงค์ มีความถูก วตั ถปุ ระสงค์ ไมถ่ กู ตอ้ ง วตั ถุประสงค์ ไมถ่ ูกต้อง

ตอ้ ง ไม่เสร็จภายในเวลา ไมเ่ สร็จภายในเวลาท่ี ไม่เสร็จภายในเวลาท่ี

ท่ีกำหนด กำหนด กำหนด

เกณฑ์การตดั สนิ คณุ ภาพ
๑๔ - ๑๖ ดีมาก
๑๑ - ๑๓ ดี
๘ – ๑๐ พอใช้
๕ – ๗ ควรปรับปรุง

เกณฑ์การประเมินแบบฝกึ หัดหลงั เรียน
คำชี้แจง : เกณฑ์การประเมินแบบฝึกหัดหลังเรียนเป็นรายบุคคลสร้างขึ้นเพื่อให้ครูใช้เป็นเกณฑ์ในการ
ประเมนิ นักเรียนเป็นรายบุคคลโดยพจิ ารณาพฤติกรรมของนักเรยี นว่าตรงเกณฑ์ในช่องใด

เกณฑ์การประเมิน ดมี าก (๔) ระดับคะแนน ควรปรับปรงุ (๑)
ดี (๓) พอใช้ (๒)

๑.ความถกู ต้องของ ถกู ต้องรอ้ ยละ ๘๐ ข้ึนไป ถกู ต้องรอ้ ยละ ๗๐- ถูกต้องร้อยละ ถูกต้องตำ่ วา่ รอ้ ยละ

ใบงาน ๗๙ ขน้ึ ไป ๖๐-๖๙ ขนึ้ ไป ๖๐

๒.พฤตกิ รรมของ แสดงออกถึงความต้ังใจ แสดงออกถึงความ แสดงออกถึงความ แสดงออกถึงความ

นกั เรียน ความสนใจและมีสว่ น ตง้ั ใจ ความสนใจและ ตงั้ ใจ ความสนใจและ ต้ังใจ ความสนใจ

รว่ มในกิจกรรมการ มีส่วนร่วมในกิจกรรม มีสว่ นร่วมในกิจกรรม และมีสว่ นร่วมใน

เรยี นรบู้ อ่ ยมาก การเรียนรมู้ าก การเรยี นรู้เป็นบางคร้ัง กิจกรรมการเรยี นรู้

นอ้ ย

๓.เวลา - - ส่งชิน้ งานภายในเวลา สง่ ชน้ิ งานชา้ กวา่

ท่กี ำหนด กำหนด

เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ
๑๐ ดีมาก
๘ – ๙ ดี
๗ พอใช้
๖ ควรปรบั ปรงุ

แผนการจดั การเรยี นรู้ออนไลน์

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย รายวิชาภาษาไทย 5 รหัส ท ๒3101

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 4 เร่ือง สืบศิลป์ศาสตร์ภาษาไทย เวลา 15 ชัว่ โมง

แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 1 การเขียนอธิบาย ชี้แจง อย่างมีเหตุผล เวลา 2 ชัว่ โมง

สอนสปั ดาห์ท่ี 13 วนั ที่ 6 – 10 กนั ยายน 2564 ช้ันม.3/3 – 5, 3/8 - 9

..............................................................................................................................................................................

๑. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชว้ี ัด

๑.๑ มาตรฐานการเรยี นรู้

มาตรฐาน ท 2.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวใน

รูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

๑.๒ ตัวช้วี ดั

ท 2.1 ม.3/6 เขยี นอธิบาย ชี้แจง แสดงความคิดเหน็ และโตแ้ ยง้ อย่างมีเหตุผล

๒. สาระสำคญั
การเขียนอธิบาย คือการเขียนโดยมีจุดมุ่งหมายให้ผู้อ่านเข้าใจเรื่องตา่ ง ๆ ได้อย่างถูกต้องชัดเจน เช่น

อธิบายวิธีทำขนมไทย อธิบายสำนวนสุภาษิตคำพังเพย อธิบายวิธีการทำอาหาร เป็นต้น โดยวิธีการอธิบาย
สามารถทำได้หลายวิธี ได้แก่ อธบิ ายโดยใชต้ ัวอยา่ ง อธิบายโดยการเขียนตามลำดับข้ันตอน อธิบายโดยการให้
คำนยิ าม อธบิ ายโดยการเปรยี บเทียบความเหมือนและความต่างกัน การอธิบายโดยใช้เหตุผลประกอบกนั การ
เขียนชแ้ี จง คอื การเขียนอธิบายให้ผู้อ่านเขา้ ใจเร่ืองใดเร่ืองหนงึ่ ใหช้ ดั เจนข้ึน โดยตอ้ งมจี ุดมุ่งหมายในการเขียน
ชี้แจง ใช้รูปแบบชี้แจงให้ถูกต้อง และต้องมีกลวิธีในการเขียนชี้แจงให้ชดั เจน ซึ่งวิธีการเขียนชี้แจงมีกลวธิ ีการ
เขยี น คอื ใหข้ อ้ เทจ็ จริงโดยมีข้อมลู หลักฐานและเหตผุ ล สร้างความเขา้ ใจที่ตรงกนั ระหว่างผู้ส่งสารกับผู้รับสาร
ภาษาทใี่ ชจ้ ะต้องตรงประเด็น กระจ่าง ชดั เจน เปน็ ตน้

๓. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
๑. นกั เรยี นสามารถอธบิ ายแนวทางในการเขียนอธิบาย ชี้แจงได้ (K)
๒. นักเรียนสามารถเขยี นอธบิ าย ช้ีแจงได้ (P)
๓. เหน็ ความสำคัญของของการเขียน (A)

๔. สาระการเรยี นรู้
การเขยี นอธบิ าย ช้แี จง

๕. สมรรถนะที่สำคัญ ๒.  ความสามารถในการคิด
๔.  ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ
๑. ความสามารถในการสื่อสาร
๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา
๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

๖. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ๒. ซอ่ื สัตยส์ ุจริต ๓. มวี ินัย ๔. ใฝเ่ รยี นรู้
๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๖. ม่งุ มัน่ ในการทำงาน ๗. รกั ความเป็นไทย
๕. อยู่อยา่ งพอเพยี ง
๘. มีจติ สาธารณะ

๗. กระบวนการจัดการเรียนรู้
คาบเรยี นท่ี ๑
ขน้ั นำเข้าสู่บทเรยี น
๑. นักเรยี นร่วมกันสนทนาในประเด็นตอ่ ไปนี้
“หากนักเรียนต้องการจะสอนเพื่อนให้เล่นเกมกับเราได้ นักเรียนจะใช้กระบวนการใดและ

กระบวนการนนั้ มีความสำคญั อยา่ งไร”
(ตัวอย่างคำตอบ ใช้วิธีการอธิบายให้เพื่อนเข้าใจวิธีการเล่น เนื่องจากการอธิบายเป็นการขยาย

ความเพื่อให้เพ่อื นสามารถเขา้ ใจได้ชัดเจนมากยง่ิ ขึน้ )
2. นักเรียนพิจารณาประเด็น จากนั้นให้นักเรียนพิมพ์ข้อความในกล่องข้อความผ่าน

แอพลเิ คชนั Meet
3. นกั เรียนและครูร่วมกันอภปิ รายคำตอบเพ่ือโยงเข้าสู่การเขยี นอธบิ าย
ขน้ั สอน
4. นักเรียนทำกิจกรรม อธิบายแบบไหนโดนใจเธอ นักเรียนแบ่งกลุ่ม 5 กลุ่ม ผ่านเว็บไซต์

Class 123 โดยนักเรยี นแตล่ ะกล่มุ พจิ ารณาลกั ษณะของการเขียนอธบิ าย 5 ประเภท ดังนี้
4.1 อธิบายโดยการเขยี นตามลำดับขัน้
4.2 อธิบายโดยการใหคำนิยาม
4.3 อธบิ ายโดยการใช้ตวั อยา่ ง
4.4 อธิบายโดยการเปรียบเทยี บความเหมือนและความตา่ ง
4.5 อธบิ ายโดยใชเ้ หตแุ ละผลประกอบกัน

5. หลังจากนกั เรียนเข้ากลมุ่ เพื่อศกึ ษาลักษณะของการเขียนอธิบายแตล่ ะประเภทแล้ว ให้นักเรียนแต่
ละประเภทจับกลุ่มครั้งที่ 2 โดยภายในกลุ่มจะต้องประกอบด้วยสมาชิกที่มาจากแต่ละประเภทของการเขียน
อธบิ ายอยา่ งนอ้ ย 1 คน หลังจากนน้ั นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ แลกเปลี่ยนความรู้ท่ไี ดศ้ ึกษาผ่าน Break Out Room

6. นกั เรียนร่วมกันสรุปลักษณะการเขียนอธิบายผา่ นแอปพลิเคชัน Google Meet โดยนักเรียน
บันทึกความรู้ลงในเอกสารประกอบการเรียน หากนักเรียนมีข้อสงสัยสามารถกดปุ่ม เปิดไมโครโฟนเพื่อ
ถาม – ตอบระหวา่ งเรียน

ข้ันสรุป
7. นกั เรียนทำกจิ กรรม Learning Log ผ่านแอปพลิเคชนั Google Forms
คาบเรียนท่ี 2
ขน้ั นำเขา้ สู่บทเรยี น
๑. นักเรียนร่วมกันสนทนาในประเดน็ ตอ่ ไปนี้

“กอ่ นทน่ี ักเรียนจะทำขอ้ สอบ นักเรียนจะตอ้ งทำสิง่ ใดกอ่ นเปน็ สำคญั ในข้อสอบเพราะเหตใุ ด”

(ตัวอย่างคำตอบ อ่านคำชี้แจงก่อนทำข้อสอบทุกคร้ังเพราะจะเป็นข้อความทีอ่ ธบิ ายให้ชัดเจนเพื่อ

ปอ้ งกันการเข้าใจผดิ ในการทำขอ้ สอบ)

2. นักเรียนพิจารณาประเด็น จากนั้นให้นักเรียนพิมพ์ข้อความในกล่องข้อความผ่าน
แอพลิเคชัน Meet

3. นกั เรยี นและครรู ว่ มกนั อภปิ รายคำตอบเพือ่ โยงเขา้ สกู่ ารเขยี นช้แี จง
ขนั้ สอน
4. นักเรียนร่วมกันพจิ ารณาการเขยี นช้แี จงจากตวั อยา่ งตอ่ ไปนี้

ที่มา : สำนักทดสอบทางการศกึ ษา
5. นักเรียนร่วมกันพิจารณาตัวอย่างข้างต้นเกี่ยวกับการเขียนชี้แจง จากนั้นนักเรียนร่วมกันตอบ
คำถามตอ่ ไปน้ี

“จากตัวอย่างข้างตน้ นกั เรยี นทราบได้อย่างไรว่าเปน็ การเขยี นชแี้ จง”
(ตัวอย่างคำตอบ เป็นการให้ข้อเท็จจริงโดยมีข้อมูลและเป็นข้อควาามที่สร้างความเข้าใจตรงกัน
ภาษาตรงประเด็นและกระจา่ ง)
6. นักเรียนร่วมกันเรียนรู้การเขียนชีแ้ จง ผ่านแอปพลิเคชัน Google Meet โดยนักเรียนบันทกึ
ความรู้ลงในเอกสารประกอบการเรียน หากนักเรียนมีข้อสงสัยสามารถกดปุ่ม เปิดไมโครโฟนเพ่ือ
ถาม – ตอบระหวา่ งเรยี น
7. นักเรียนทำกิจกรรม เขียนชี้แจงให้ชัดเจน จากสถานการณ์ที่ครูกำหนดให้ต่อไปนี้ ผ่านเว็บไซต์
Live Work Sheet
“เด็กหญิงทานตะวันเป็นเด็กนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ อายุ ๑๕ ปี ต้องการไปสมัครเข้า
ทำงานพิเศษในช่วงปิดเทอมเพื่อหารายได้ช่วยเหลือครอบครัว โดยเอกสารการสมัครงานที่ต้องใช้ได้แก่สำเนา
ทะเบียนบ้าน สำเนาผลการเรียน และบัตรประชาชน ซึ่งบัตรประชาชนของเด็กหญิงทานตะวันหายไปตั้งแต่

เมอื่ สัปดาหท์ แี่ ล้ว นกั เรยี นเป็นเพ่อื นเดก็ หญงิ ทานตะวนั นกั เรียนจะเขยี นชี้แจงวธิ กี ารปฏิบตั ิเมอื่ บัตรประชาชน
หายอย่างไรให้เดก็ หญงิ ทานตะวนั เขา้ ใจ”

ข้ันสรปุ
8. นักเรียนจำนวน 2 – 3 คน ที่ครูสุ่มผ่านเว็บไซต์ Class 123 เพื่อพูดสรุปเกี่ยวกับการพูด
อธบิ ายและชแ้ี จง

๘. ส่อื อุปกรณ์ และแหลง่ การเรยี นรู้
๑. เว็บไซต์ Google Meet
2. แอปพลิเคชนั Google Forms
๓. เว็บไซต์ Class 123
๔. เว็บไซต์ Live Work Sheet

๕. เอกสารประกอบการเรยี น เรื่อง การเขียนอธิบาย ชแ้ี จง

๙. การวดั และการประเมินผล

สงิ่ ที่ต้องวัด วธิ ีวดั เครอื่ งมอื วดั เกณฑ์การประเมนิ ผล
ดา้ นความรู้ กิจกรรม
๑. นกั เรยี นสามารถ อธบิ ายแบบไหนโดนใจเธอ แบบประเมนิ การทำ ระดับคุณภาพดีขึ้นไป
อธิบายแนวทางในการ กจิ กรรม ผา่ นเกณฑ์
เขียนอธิบาย ช้แี จงได้ (K) กิจกรรม
ด้านทักษะ/กระบวนการ เขียนชแ้ี จงใหช้ ัดเจน เวบ็ ไซต์ ระดับคุณภาพดีขน้ึ ไป
๒. นักเรียนสามารถเขียน Live Work Sheet ผ่านเกณฑ์
อธิบาย ชีแ้ จงได้ (P) ประเมินการทำกจิ กรรม
แบบประเมินการทำ ระดับคุณภาพดีข้ึนไป
ดา้ นเจตคติ กจิ กรรม ผา่ นเกณฑ์
๓. เห็นความสำคญั ของ
ของการเขียน (A)

ลงช่ือ ผสู้ อน/ผเู้ ขียนแผนการจดั การเรยี นรู้
(นายธนวชิ ญ์ แสงนรนิ ทร์)
ตำแหน่ง ครผู ู้ช่วย

๑๐. ขอ้ เสนอแนะของหัวหน้าสถานศกึ ษา หรือผูท้ ีไ่ ดร้ ับมอบหมาย (ตรวจสอบ/นเิ ทศ/เสนอแนะ/รบั รอง)

องค์ประกอบของแผนการจดั การเรยี นรู้ ( ) ครบถ้วน ( ) ไม่ครบถว้ น

การวเิ คราะหห์ ลกั สตู ร ( ) มี ( ) ไมม่ ี

กจิ กรรมการเรียนรู้ ( ) สอดคลอ้ งเหมาะสม ( ) ควรปรับปรงุ พัฒนา

ส่อื /แบบฝึกทักษะ ( ) สอดคลอ้ งกับจุดประสงค์การเรียนรู้ ( ) มาก/น้อยเกินไป

เกณฑ์การวัดและประเมินผล ( ) หลากหลายครบถว้ น ( ) ควรปรับปรงุ พัฒนา

อน่ื ๆ

..............................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. .................................................

............................................................................................................................. .................................................

............................................................................................................................................................................. .

ลงชอ่ื ผปู้ ระเมินแผนการเรยี นรู้
(นางมารสิ า อาจจนั ดา)

ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐานะครชู ำนาญการพเิ ศษ

๑๑. บนั ทกึ ผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจดั การเรียนรู้
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
ปัญหา / อุปสรรค
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
ขอ้ เสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ผสู้ อน
(นายธนวชิ ญ์ แสงนรนิ ทร์)
ตำแหน่ง ครผู ้ชู ว่ ย

........./............................/................

รบั ทราบ
ลงช่ือ.............................................

(นางทรายทอง ตรสี ตั ยกลุ )
ผูอ้ ำนวยการสถานศึกษา

เกณฑ์การประเมนิ การทำกจิ กรรม
คำชี้แจง : เกณฑก์ ารประเมินพฤติกรรมการเรียนเป็นรายบุคคลสร้างขนึ้ เพื่อให้ครใู ช้เปน็ เกณฑ์ในการประเมิน
นักเรยี นเป็นรายบุคคลโดยพิจารณาพฤตกิ รรมของนักเรียนวา่ ตรงเกณฑ์ในช่องใด

เกณฑ์การประเมิน ระดับคะแนน
๑. มคี วามรว่ มมือใน
การทำกิจกรรม ดีมาก (๔) ดี (๓) พอใช้ (๒) ควรปรับปรงุ (๑)
ให้ความร่วมมือในการทำ
๒. มคี วามรับผิดชอบ กิจกรรมอย่างดีทุกครั้งด้วย ใหค้ วามร่วมมอื ในการทำ ให้ความร่วมมือในการทำ ไม่ให้ความร่วมมือใน
ความเต็มใจ มีความ
๓. มีคณุ ธรรม กระตือรือร้น ในการเรียนรู้ กจิ กรรม ตอบคำถาม กิจกรรมแต่ไม่ค่อยเต็มใจ การทำกิจกรรมเลย
และตอบคำถามอย่าง
๔. การตรงต่อเวลา สมำ่ เสมอ บา้ งในบางคร้งั แต่ยัง ต้องมีการยำ้ เตอื น
๕. คุณภาพของ มีความรับผิดชอบต่อหน้าท่ี
ผลงาน และงานที่ได้รับมอบหมาย ขาดความกระตอื รือรน้
ทุกงานทกุ หน้าท่ี
มีความผิดชอบต่องาน มีความรบั ผดิ ชอบ ไม่มีความรับผิดชอบต่อ
ช่วยเหลือครูและเพื่อนใน
การทำงานไมท่ จุ รติ ใน แ ล ะ ห น ้ า ท ี ่ ท ี ่ ไ ด ้ รั บ ต่องานและหน้าท่ี งานและตอ่ หนา้ ท่ี
การทำกิจกรรม
เข้าชัน้ เรียนตรงเวลา มอบหมายบางงานบาง ท่ไี ด้รับมอบหมายอย่างไม่ ท่ไี ด้รบั มอบหมาย

ผลงานเป็นไปตาม หน้าที่ เตม็ ใจ
วัตถุประสงค์ มีความถูกตอ้ ง
และเสรจ็ ภายในเวลาที่ ไม่ช่วยเหลอื ครูและเพ่อื น ช่วยเหลือครูและเพื่อนใน ไม่ช่วยเหลือครูและ
กำหนด
ในการทำงานไม่ทุจริตใน ก า ร ท ำ ง า น ท ุ จ ริตใน เพื่อนในการทำงาน

การทำกจิ กรรม การทำกิจกรรม ทุจริตในการทำกิจกรรม

เขา้ ชั้นเรยี นชา้ เขา้ ชน้ั เรยี นชา้ ไม่เข้าช้นั เรยี น

๕ - ๑๐ นาที เกินกว่า ๑๐ นาที

ผลงานเปน็ ไปตาม ผลงานเปน็ ไปตาม ผลงานไม่เป็นไปตาม

วตั ถปุ ระสงค์ มีความถูก วตั ถปุ ระสงค์ ไมถ่ กู ตอ้ ง วตั ถุประสงค์ ไมถ่ ูกต้อง

ตอ้ ง ไม่เสร็จภายในเวลา ไมเ่ สร็จภายในเวลาท่ี ไม่เสร็จภายในเวลาท่ี

ท่ีกำหนด กำหนด กำหนด

เกณฑ์การตดั สนิ คณุ ภาพ
๑๔ - ๑๖ ดีมาก
๑๑ - ๑๓ ดี
๘ – ๑๐ พอใช้
๕ – ๗ ควรปรับปรุง

เกณฑ์การประเมินกจิ กรรม เขียนชแ้ี จงให้ชัดเจน
คำชี้แจง : เกณฑ์การประเมินกิจกรรม เขียนชี้แจงให้ชดั เจน เป็นรายบุคคลสร้างข้ึนเพื่อให้ครูใชเ้ ป็นเกณฑ์ใน
การประเมินนักเรียนเป็นรายบคุ คลโดยพจิ ารณาพฤตกิ รรมของนักเรยี นว่าตรงเกณฑใ์ นช่องใด

เกณฑก์ ารประเมิน ดีมาก (๔) ระดับคะแนน ควรปรบั ปรุง (๑)
ดี (๓) พอใช้ (๒)
เนื้อหา ๑. ตรงประเดน็ ไม่ปรากฏองค์ประกอบ
๒. สอดคลอ้ งกบั เนื้อหา ปรากฏองค์ประกอบ ๒ ปรากฏองค์ประกอบ ๑ ท่ีกำหนด
ความถกู ตอ้ ง ๓. มคี วามสร้างสรรค์ สว่ น ส่วน
ไม่ปรากฏองคป์ ระกอบ
๑. เขียนสะกดคำถูกตอ้ ง ปรากฏองค์ประกอบ ๒ ปรากฏองคป์ ระกอบ ๑ ทกี่ ำหนด
๒. เขยี นถูกตอ้ งตามหลักการ สว่ น ส่วน
๓. มกี ารอธบิ ายอย่างชดั เจน ไมป่ รากฏองคป์ ระกอบ
ทก่ี ำหนด
การใช้ภาษา ๑. ใช้ภาษาไดเ้ หมาะสมกบั ปรากฏองคป์ ระกอบ ๒ ปรากฏองคป์ ระกอบ ๑
เนือ้ หา ส่วน สว่ น
๒. ไมป่ รากฏการใช้ภาษาพดู
๓. ใช้ภาษาสมำ่ เสมอกนั
ทัง้ หมด

เกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ
11 - 12 ดมี าก
9 – 10 ดี
๗ – 8 พอใช้

๖ ควรปรับปรุง

แผนการจดั การเรยี นรู้ออนไลน์

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวิชาภาษาไทย 5 รหัส ท ๒3101

หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 4 เร่อื ง สืบศลิ ปศ์ าสตรภ์ าษาไทย เวลา 15 ชัว่ โมง

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 2 การอ่านบทความและสารคดี เวลา 3 ชั่วโมง

สอนสปั ดาห์ที่ 13 วนั ท่ี 6 – 10 กนั ยายน 2564 ช้ันม.3/3 – 5, 3/8 - 9

..............................................................................................................................................................................

๑. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ช้ีวัด

๑.๑ มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ท 1.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสร้างความรู้และความคดิ เพื่อนำไปใช้ตัดสนิ ใจ แก้ปัญหาในการ

ดำเนินชีวิตและมีนิสยั รักการอา่ น

๑.๒ ตัวชว้ี ดั

ท 1.1 ม.3/3 ระบใุ จความสำคัญและรายละเอียดของข้อมูลทส่ี นับสนุนจากเรือ่ งทีอ่ า่ น

ท 1.1 ม.3/4 อ่านเรอื่ งตา่ งๆ แลว้ เขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ย่อความและรายงาน

๒. สาระสำคญั
บทความ คือ ความเรียงที่เขียนขึ้นโดยมีหลักฐานข้อเท็จจริง และในเนื้อหานั้น ผู้เขียนได้แทรก

ขอ้ เสนอแนะเชงิ วิจารณ์ หรอื สรา้ งสรรค์เอาไวด้ ้วย โดยลักษณะของบทความอาจเป็นเรอ่ื งท่ผี ู้อา่ นกำลังสนใจ มี
แกน่ สาระ อา่ นแล้วไดค้ วามรู้ มีข้อคดิ ทศั นะ ขอ้ คดิ เห็นของผู้เขียน เนอ้ื หาสาระและสำนวนภาษาเหมาะสมกับ
ผู้อา่ น สารคดี คอื งานเขยี นที่เรียบเรียงจากข้อเท็จจริง โดยมงุ่ เน้นให้ความรแู้ ละความจรงิ เป็นหลกั โดยสารคดี
มหี ลายประเภท ได้แก่ สารคดีประวัติบุคคล สารคดที อ่ งเทยี่ ว สารคดีแนะนำ โดยการจับใจความจากงานเขียน
ประเภทบทความและสารคดี มีวิธีการ ได้แก่ ตั้งจุดมุ่งหมาย อ่านอย่างคร่าว ๆ นำสิ่งทีอ่ ่านไปสรุปด้วยสำนวน
ภาษาของตนเอง

๓. จุดประสงค์การเรยี นรู้
๑. นกั เรียนสามารถอธิบายลกั ษณะของบทความและสารคดีได้ (K)
๒. นักเรียนสามารถจบั ใจความจากบทความและสารคดีได้ (P)
๓. เหน็ ความสำคัญของของการเขียน (A)

๔. สาระการเรยี นรู้
การจบั ใจความสำคัญ

๕. สมรรถนะทีส่ ำคัญ ๒.  ความสามารถในการคิด
๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๔.  ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ

๓. ความสามารถในการแกป้ ญั หา
๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

๖. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ๒. ซื่อสตั ย์สุจรติ ๓. มวี นิ ัย ๔. ใฝเ่ รียนรู้
๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ๖. มุ่งมนั่ ในการทำงาน ๗. รักความเป็นไทย
๕. อย่อู ยา่ งพอเพยี ง
๘. มีจิตสาธารณะ

๗. กระบวนการจดั การเรียนรู้
คาบเรยี นท่ี ๑
ขัน้ นำเข้าสบู่ ทเรยี น
๑. นักเรยี นร่วมกนั สนทนาในประเดน็ ต่อไปน้ี
๑.๑ นกั เรยี นรู้จกั บทความประเภทใดบา้ ง และเคยเหน็ ทใ่ี ด
(ตวั อย่างคำตอบ บทความวชิ าการ บทความแสดงความคิดเหน็ เคยเห็นในหนงสอื เรยี น)
๑.๒ บทความที่นักเรยี นเคยเห็นมลี ักษณะเป็นอยา่ งไร
(ตวั อยา่ งคำตอบ มีการให้ข้อมลู / ขอ้ เท็จจรงิ ร่วมกนั ความคิดเหน็ ของผูเ้ ขยี น)
2. นักเรียนพิจารณาประเด็น จากนั้นให้นักเรียนพิมพ์ข้อความในกล่องข้อความผ่าน

แอพลิเคชนั Meet
3. นกั เรียนและครูรว่ มกันอภิปรายคำตอบเพือ่ โยงเข้าสูก่ ารลกั ษณะของบทความ
ขัน้ สอน
4. นักเรยี นร่วมกนั ทำ ระดมความคดิ สืบลกั ษณะบทความ ผ่านกิจกรรมแบบเพื่อนคคู่ ิด (Think-Pair-

Share) โดยมขี ้นั ตอนเป็นดงั ตอ่ ไปนี้
4.๑ ขั้นการคดิ (Think) นกั เรียนคดิ วเิ คราะหจ์ ากประเดน็ ดงั นี้
- บทความ คืออะไร มลี ักษณะเป็นอย่างไร
- บทความทเ่ี รยี กว่ากา้ วหนา้ เปน็ บทความประเภทใด เพราะเหตใุ ด
- ส่วนประกอบของบทความมกี ่สี ว่ น อะไรบ้าง
นักเรยี นแต่ละคนใชเ้ วลาในการคดิ เกี่ยวกบั ประเดน็ คำถามประมาณ ๑ – ๒ นาที
4.๒ ข้ันการจบั คู่ (Pair) นกั เรียนจบั คู่กนั ผ่านเว็บไซต์ Class 123 โดยแต่ละคู่จะสนทนากัน

เก่ียวกบั ประเด็นคำถามข้างตน้ จากน้ันให้นักเรียนรว่ มกันวิเคราะห์คำตอบของคตู่ นเองวา่ คำตอบใดบ้างที่คิดว่า
ดีท่ีสดุ ผ่าน Break Out Room

4.๓ ขัน้ การแบ่งปัน (Share) เมอ่ื นกั เรยี นไดค้ ำตอบทดี่ ีทส่ี ุดจากคู่ของตนเองแล้ว นักเรียนแต่ละคู่
แบ่งปันความคดิ เกี่ยวกับลักษณะของบทความจากคูข่ องตนให้กับเพือ่ น ๆ ในช้ันเรียนฟัง

5. นักเรียนร่วมกันสรุปลักษณะของบทความผ่านแอปพลิเคชัน Google Meet โดยนักเรียน
บันทึกความรู้ลงในเอกสารประกอบการเรียน หากนักเรียนมีข้อสงสัยสามารถกดปุ่ม เปิดไมโครโฟนเพื่อ
ถาม – ตอบระหวา่ งเรยี น

ขน้ั สรปุ
6. นักเรยี นทำกจิ กรรม Learning Log ผา่ นแอปพลิเคชนั Google Forms

คาบเรยี นท่ี 2
ขน้ั นำเขา้ สู่บทเรียน

๑. นักเรียนร่วมกันทำกิจกรรม ปริศนางานเขียน โดยนักเรียนจำนวน 4 – 5 คน ที่ครูสุ่ม เปิดแผ่น

ปา้ ยผ่านเว็บไซต์ Wordwall เพอ่ื อา่ นคำใบ้ลกั ษณะของงานเขียน ดงั ตอ่ ไปนี้

1.1 เปน็ งานเขยี นทเ่ี นน้ ขอ้ เทจ็ จรงิ

1.2 ช่ือคลา้ ยกับรายการส่องสตั วโ์ ลก

1.3 เกดิ จากการรวมกันของคำ 2 คำ

1.4 ประกอบด้วย 3 ประเภทหลัก

1.5 เป็นเรอ่ื งราวท่ีเขยี นเกี่ยวกบั ประวตั บิ ุคคล การทอ่ งเทย่ี ว และแนะนำสง่ิ ตา่ ง ๆ

2. นักเรียนพิจารณาคำใบ้ทั้ง 5 ข้อ จากนั้นให้นักเรียนพิมพ์คำตอบที่ถูกต้องในกล่องข้อความผ่าน
แอพลเิ คชัน Meet

3. นกั เรียนและครูร่วมกันอภิปรายคำตอบเพอ่ื โยงเข้าสู่ลกั ษณะของสารคดี
ข้ันสอน

4. นักเรียนร่วมกันดูวีดิโอ เรื่อง สารคดีและบันเทิงคดี ผ่านเว็บไซต์ youtube.com จากน้ัน
นักเรยี นอภิปรายในประเดน็ ต่อไปนี้

4.1 สารคคีคอื อะไร มลี กั ษณะสำคญั เปน็ อยา่ งไร

4.2 สารคดีมอี งคป์ ระกอบอะไรบา้ ง
4.3 ประเภทของสารคดมี กี ่ีประเภท อะไรบา้ ง
4.4 แนวทางสำคัญในการสรา้ งสรรค์สารคดเี ป็นอย่างไร

5. นักเรียนแบ่งกลุ่ม 5 กลุ่ม ผ่านเว็บไซต์ online stopwatch โดยนักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกัน
สรปุ เนอ้ื หาผ่าน Break Out Room ในแต่ละประเดน็ เป็นผังความคิดจากเว็บไซต์ mind meister
จากนั้นนกั เรยี นแต่ละกล่มุ นำเสนอผลการอภปิ ราย

6. นักเรียนร่วมกันเรียนรู้ลักษณะของสารคดี ผ่านแอปพลิเคชัน Google Meet โดยนักเรียน

บันทึกความรู้ลงในเอกสารประกอบการเรียน หากนักเรียนมีข้อสงสัยสามารถกดปุ่ม เปิดไมโครโฟนเพ่ือ

ถาม – ตอบระหวา่ งเรยี น

ขัน้ สรปุ

7. นักเรียนจำนวน 2 – 3 คน ที่ครูสุ่มผ่านเว็บไซต์ Class 123 เพื่อพูดสรุปเกี่ยวกับลักษณะ
ของบทความและสารคดี

คาบเรยี นท่ี 3

๑. นักเรยี นแบ่งกลุ่ม 4 กลุม่ ผ่านเว็บไซต์ online stopwatch ทำกิจกรรม จับใจความจากบท
อ่าน โดยนักเรียนแต่ละกลุ่มสุ่มเลือกประเภทของบทอ่าน ได้แก่ บทความ สารคดี จากนั้นนักเรียนแต่ละกลุ่ม
จับใจความสำคญั ในประเด็นตอ่ ไปน้ี

1.1 ผแู้ ต่ง
1.2 ใจความสำคญั ของเรื่อง
1.3 ประเภทของบทอ่าน

1.4 การนำเร่ือง
1.5 การสรปุ

1.6 ขอ้ คิดท่ีไดร้ บั
โดยนกั เรียนแต่ละกลมุ่ นำเสนอในแตล่ ะประเด็นเป็นผงั ความคดิ จากเว็บไซต์ mind meister
จากนัน้ นำเสนอผ่านแอปพลเิ คชัน Google Meet โดยต้งั ประเด็นคำถามใหน้ กั เรียนกลุม่ อื่นตอบ

๘. ส่อื อุปกรณ์ และแหล่งการเรียนรู้
๑. เว็บไซต์ Google Meet
2. แอปพลเิ คชนั Google Forms
๓. เว็บไซต์ Class 123

๔. เว็บไซต์ youtube

๕. เวบ็ ไซต์ mind meister

๖. เว็บไซต์ online stopwatch

๗. เอกสารประกอบการเรยี น เร่ือง บทความ สารคดี

๙. การวดั และการประเมนิ ผล

สิ่งท่ตี ้องวดั วธิ วี ดั เครอื่ งมือวัด เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
แบบประเมินการทำ ระดบั คุณภาพดีขึ้นไป
ด้านความรู้ กิจกรรม
๑. นกั เรียนสามารถ ระดมความคดิ สบื กจิ กรรม ผา่ นเกณฑ์
อธบิ ายลักษณะของ ลกั ษณะบทความ
บทความและสารคดีได้ แบบประเมนิ การทำ ระดบั คุณภาพดีขึ้นไป
(K) กจิ กรรม กิจกรรม ผ่านเกณฑ์
จบั ใจความจากบทอ่าน
ด้านทักษะ/กระบวนการ แบบประเมนิ การทำ ระดับคุณภาพดีขนึ้ ไป
๒. นกั เรียนสามารถจบั ประเมนิ การทำกิจกรรม กจิ กรรม ผ่านเกณฑ์
ใจความจากบทความและ
สารคดีได้ (P)

ดา้ นเจตคติ
๓. เห็นความสำคญั ของ
ของการเขียน (A)

ลงช่อื ผ้สู อน/ผู้เขยี นแผนการจดั การเรียนรู้
(นายธนวชิ ญ์ แสงนรนิ ทร์)
ตำแหน่ง ครผู ชู้ ่วย

๑๐. ขอ้ เสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษา หรอื ผูท้ ่ไี ดร้ ับมอบหมาย (ตรวจสอบ/นิเทศ/เสนอแนะ/รบั รอง)

องค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ ( ) ครบถ้วน ( ) ไมค่ รบถ้วน

การวเิ คราะหห์ ลกั สตู ร ( ) มี ( ) ไม่มี

กจิ กรรมการเรียนรู้ ( ) สอดคล้องเหมาะสม ( ) ควรปรบั ปรงุ พฒั นา

ส่อื /แบบฝึกทักษะ ( ) สอดคลอ้ งกับจุดประสงค์การเรียนรู้ ( ) มาก/น้อยเกนิ ไป

เกณฑ์การวัดและประเมินผล ( ) หลากหลายครบถว้ น ( ) ควรปรบั ปรุงพฒั นา

อน่ื ๆ

............................................................................................................................. .................................................

.................................................................................. ............................................................................................

............................................................................................................................. .................................................

............................................................................................................................. .................................................

ลงชื่อ ผู้ประเมนิ แผนการเรียนรู้
(นางมารสิ า อาจจันดา)

ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะครชู ำนาญการพิเศษ

๑๑. บนั ทกึ ผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจดั การเรียนรู้
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
ปัญหา / อุปสรรค
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
ขอ้ เสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ผสู้ อน
(นายธนวชิ ญ์ แสงนรนิ ทร์)
ตำแหน่ง ครผู ้ชู ว่ ย

........./............................/................

รบั ทราบ
ลงช่ือ.............................................

(นางทรายทอง ตรสี ตั ยกลุ )
ผูอ้ ำนวยการสถานศึกษา

เกณฑ์การประเมนิ การทำกจิ กรรม
คำช้แี จง : เกณฑก์ ารประเมินพฤติกรรมการเรียนเป็นรายบุคคลสร้างขนึ้ เพื่อให้ครใู ช้เปน็ เกณฑ์ในการประเมิน
นักเรียนเป็นรายบุคคลโดยพิจารณาพฤตกิ รรมของนักเรียนวา่ ตรงเกณฑ์ในช่องใด

เกณฑก์ ารประเมิน ระดับคะแนน
๑. มคี วามร่วมมือใน
การทำกจิ กรรม ดีมาก (๔) ดี (๓) พอใช้ (๒) ควรปรับปรงุ (๑)
ให้ความร่วมมือในการทำ
๒. มคี วามรบั ผิดชอบ กิจกรรมอย่างดีทุกครั้งด้วย ใหค้ วามร่วมมอื ในการทำ ให้ความร่วมมือในการทำ ไม่ให้ความร่วมมือใน
ความเต็มใจ มีความ
๓. มีคณุ ธรรม กระตือรือร้น ในการเรียนรู้ กจิ กรรม ตอบคำถาม กิจกรรมแต่ไม่ค่อยเต็มใจ การทำกิจกรรมเลย
และตอบคำถามอย่าง
๔. การตรงต่อเวลา สมำ่ เสมอ บา้ งในบางคร้งั แต่ยัง ต้องมีการยำ้ เตอื น
๕. คุณภาพของ มีความรับผิดชอบต่อหน้าท่ี
ผลงาน และงานที่ได้รับมอบหมาย ขาดความกระตอื รือรน้
ทุกงานทกุ หน้าท่ี
มีความผิดชอบต่องาน มีความรบั ผดิ ชอบ ไม่มีความรับผิดชอบต่อ
ช่วยเหลือครูและเพื่อนใน
การทำงานไมท่ จุ รติ ใน แ ล ะ ห น ้ า ท ี ่ ท ี ่ ไ ด ้ รั บ ต่องานและหน้าท่ี งานและตอ่ หนา้ ท่ี
การทำกิจกรรม
เข้าชัน้ เรียนตรงเวลา มอบหมายบางงานบาง ท่ไี ด้รับมอบหมายอย่างไม่ ท่ไี ด้รบั มอบหมาย

ผลงานเป็นไปตาม หน้าที่ เตม็ ใจ
วัตถุประสงค์ มีความถูกตอ้ ง
และเสรจ็ ภายในเวลาที่ ไม่ช่วยเหลอื ครูและเพ่อื น ช่วยเหลือครูและเพื่อนใน ไม่ช่วยเหลือครูและ
กำหนด
ในการทำงานไม่ทุจริตใน ก า ร ท ำ ง า น ท ุ จ ริตใน เพื่อนในการทำงาน

การทำกจิ กรรม การทำกิจกรรม ทุจริตในการทำกิจกรรม

เขา้ ชั้นเรยี นชา้ เขา้ ชน้ั เรยี นชา้ ไม่เข้าช้นั เรยี น

๕ - ๑๐ นาที เกินกว่า ๑๐ นาที

ผลงานเปน็ ไปตาม ผลงานเปน็ ไปตาม ผลงานไม่เป็นไปตาม

วตั ถปุ ระสงค์ มีความถูก วตั ถปุ ระสงค์ ไมถ่ กู ตอ้ ง วตั ถุประสงค์ ไมถ่ ูกต้อง

ตอ้ ง ไม่เสร็จภายในเวลา ไมเ่ สร็จภายในเวลาท่ี ไม่เสร็จภายในเวลาท่ี

ท่ีกำหนด กำหนด กำหนด

เกณฑ์การตดั สนิ คณุ ภาพ
๑๔ - ๑๖ ดีมาก
๑๑ - ๑๓ ดี
๘ – ๑๐ พอใช้
๕ – ๗ ควรปรับปรุง

เกณฑ์การประเมินแบบฝกึ หัดหลงั เรียน
คำชี้แจง : เกณฑ์การประเมินแบบฝึกหัดหลังเรียนเป็นรายบุคคลสร้างขึ้นเพื่อให้ครูใช้เป็นเกณฑ์ในการ
ประเมนิ นักเรียนเป็นรายบุคคลโดยพจิ ารณาพฤติกรรมของนักเรยี นว่าตรงเกณฑ์ในช่องใด

เกณฑ์การประเมิน ดมี าก (๔) ระดับคะแนน ควรปรับปรงุ (๑)
ดี (๓) พอใช้ (๒)

๑.ความถกู ต้องของ ถกู ต้องรอ้ ยละ ๘๐ ข้ึนไป ถกู ต้องรอ้ ยละ ๗๐- ถูกต้องร้อยละ ถูกต้องตำ่ วา่ รอ้ ยละ

ใบงาน ๗๙ ขน้ึ ไป ๖๐-๖๙ ขนึ้ ไป ๖๐

๒.พฤตกิ รรมของ แสดงออกถึงความต้ังใจ แสดงออกถึงความ แสดงออกถึงความ แสดงออกถึงความ

นกั เรียน ความสนใจและมีสว่ น ตง้ั ใจ ความสนใจและ ตงั้ ใจ ความสนใจและ ต้ังใจ ความสนใจ

รว่ มในกิจกรรมการ มีส่วนร่วมในกิจกรรม มีสว่ นร่วมในกิจกรรม และมีสว่ นร่วมใน

เรยี นรบู้ อ่ ยมาก การเรียนรมู้ าก การเรยี นรู้เป็นบางคร้ัง กิจกรรมการเรยี นรู้

นอ้ ย

๓.เวลา - - ส่งชิน้ งานภายในเวลา สง่ ชน้ิ งานชา้ กวา่

ท่กี ำหนด กำหนด

เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ
๑๐ ดีมาก
๘ – ๙ ดี
๗ พอใช้
๖ ควรปรบั ปรงุ

แผนการจดั การเรียนรู้ออนไลน์

กลุม่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย รายวิชาภาษาไทย 5 รหัส ท ๒3101

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 4 เร่อื ง สืบศิลปศ์ าสตร์ภาษาไทย เวลา 15 ชั่วโมง

แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 3 ความรทู้ ่ัวไปเกย่ี วกบั การพูดอภปิ ราย เวลา 4 ชัว่ โมง

สอนสัปดาห์ที่ 14 วันท่ี 13 – 17 กันยายน 2564 ช้ันม.3/3 – 5, 3/8 - 9

..............................................................................................................................................................................

๑. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ช้ีวดั

๑.๑ มาตรฐานการเรยี นรู้

มาตรฐาน ท 3.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิดและ

ความร้สู ึกในโอกาสตา่ งๆ อย่างมีวิจารณญาณและสรา้ งสรรค์

๑.๒ ตวั ชว้ี ัด

ท 3.1 ม.3/1 แสดงความคิดเห็นและประเมินเรือ่ งจากการฟงั และการดู

ท 3.1 ม.3/4 พดู ในโอกาสต่างๆ ไดต้ รงตามวัตถปุ ระสงค์

๒. สาระสำคญั
การอภิปรายคือ การที่บุคคลคณะหนึ่งซึ่งมีความรู้และความสนใจในด้านต่าง ๆ มาร่วมกันพูดเสนอ

ความรู้ความคิดเห็นที่มีสารประโยชน์บนเวที และเปิดโอกาสให้ผู้ฟังร่วมแสดงความคิดเห็นหรือซักถามใน
ตอนท้าย ทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันจนกระทั่งหาข้อยุติ เพื่อตัดสินใจแก้ปัญหาหรือสรุปผล
ในเรื่องนั้นได้ โดยการอภิปรายมีหลายประเภท ได้แก่ การอภิปรายเป็นคณะ การอภิปรายแบบปาฐกถาหมู่
การอภิปรายซักถาม และการอภิปรายทัว่ ไป การอภิปรายมีหลายบทบาท ทั้งผู้นำการอภิปราย ผู้ร่วมอภปิ ราย
ซึ่งมคี วามสำคัญในการอภิปรายทั้งส้นิ

๓. จุดประสงค์การเรยี นรู้
๑. นักเรียนสามารถอธิบายความรู้ความเข้าใจเกีย่ วกับหลกั การพดู อภปิ รายได้ (K)
๒. นกั เรียนสามารถวางแผนการพดู อภิปรายได้ (P)
๓. เหน็ ความสำคญั ของของการอภปิ ราย (A)

๔. สาระการเรยี นรู้
การพดู อภิปราย

๕. สมรรถนะทส่ี ำคัญ ๒.  ความสามารถในการคิด
๔.  ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ
๑.ความสามารถในการส่ือสาร
๓. ความสามารถในการแก้ปญั หา
๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

๖. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ๒. ซ่ือสัตย์สุจริต ๓. มวี นิ ัย ๔. ใฝ่เรยี นรู้
๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๖. มงุ่ ม่ันในการทำงาน ๗. รักความเปน็ ไทย

๕. อยู่อยา่ งพอเพียง
๘. มีจิตสาธารณะ

๗. กระบวนการจดั การเรียนรู้
คาบเรียนท่ี ๑
ขั้นนำเขา้ สู่บทเรียน

๑. นักเรียนร่วมกันทำกิจกรรม สิ่งนี้ที่นึกถึง โดยนักเรียนผลัดกันบอกข้อความที่เกี่ยวข้องกับ

“การพูด” ภายในระยะเวลา 60 วนิ าที โดยนักเรยี นพมิ พ์ข้อความในกล่องขอ้ ความผ่านแอพลเิ คชัน Meet

2. นักเรยี นและครูร่วมกันอภปิ รายคำตอบเพ่ือโยงเขา้ สกู่ ารลกั ษณะการอภปิ ราย

ขัน้ สอน
3. นกั เรียนรว่ มกันทำ มนั เป็นยังไงนะอภิปราย ผ่านกจิ กรรมแบบเพอื่ นคคู่ ดิ (Think-Pair-Share) โดย
มขี นั้ ตอนเป็นดังตอ่ ไปนี้

3.๑ ข้นั การคดิ (Think) นักเรียนคดิ วิเคราะห์จากประเด็นดังน้ี
- การอภปิ ราย คอื อะไร มลี กั ษณะเป็นอย่างไร
- ลกั ษณะของการอภปิ รายเปน็ อยา่ งไร

- ตำแหน่งในการอภิปรายมีอะไรบ้าง แต่ละตำแหนง่ มีความสำคญั อยา่ งไร
นกั เรยี นแตล่ ะคนใช้เวลาในการคดิ เก่ยี วกบั ประเดน็ คำถามประมาณ ๑ – ๒ นาที

3.๒ ขน้ั การจับคู่ (Pair) นักเรยี นจบั คู่กันผ่านเว็บไซต์ Class 123 โดยแต่ละคู่จะสนทนากัน

เก่ียวกบั ประเด็นคำถามข้างตน้ จากนั้นใหน้ ักเรียนรว่ มกันวิเคราะห์คำตอบของคู่ตนเองวา่ คำตอบใดบ้างท่ีคิดว่า
ดที ี่สุดผา่ น Break Out Room

3.๓ ขัน้ การแบง่ ปัน (Share) เมอื่ นกั เรียนได้คำตอบทด่ี ีท่ีสุดจากคู่ของตนเองแล้ว นักเรียนแต่ละคู่

แบง่ ปนั ความคิดเกยี่ วกับลกั ษณะของบทความจากคู่ของตนให้กบั เพอ่ื น ๆ ในชน้ั เรยี นฟงั
ขน้ั สรปุ

4. นกั เรียนทำกิจกรรม Learning Log ผา่ นแอปพลเิ คชนั Google Forms

คาบเรยี นท่ี 2
ขน้ั นำเขา้ สบู่ ทเรยี น

๑. นกั เรียนรว่ มกันอภิปรายในประเด็น การพดู อภิปรายที่ฉนั เคยดู ผา่ นเว็บไซต์ Jamboard

2. นักเรยี นและครูรว่ มกนั อภปิ รายคำตอบเพื่อโยงเขา้ สู่สรุปลกั ษณะการอภปิ ราย

ขน้ั สอน จากน้ัน
3. นักเรียนร่วมกันดูวีดิโอ เรื่อง การอภิปรายไม่ไว้วางใจ ผ่านเว็บไซต์ youtube.com
นักเรียนอภิปรายในประเด็นต่อไปน้ี

3.1 ลกั ษณะของการอภปิ รายเป็นอยา่ งไร
3.2 สิ่งทีน่ ักเรยี นชอบในการอภิปราย คือ
3.3 สิง่ ท่นี ักเรยี นอยากให้เพ่ิมเติมคืออะไร

4. นักเรียนร่วมกันสรุปเรื่องลักษณะการอภิปราย ผ่านแอปพลิเคชัน Google Meet โดย

นักเรียนบนั ทกึ ความรู้ลงในเอกสารประกอบการเรยี น หากนกั เรยี นมขี ้อสงสยั สามารถกดปมุ่ เปดิ ไมโครโฟนเพ่อื

ถาม – ตอบระหว่างเรยี น

ขั้นสรุป เพื่อพูดสรุปเกี่ยวกับลักษณะ
5. นักเรียนจำนวน 2 – 3 คน ที่ครูสุ่มผ่านเว็บไซต์ Class 123
ของการอภปิ ราย

6. นกั เรียนแบ่งกลุ่ม 4 กลุ่ม แตล่ ะกล่มุ สมุ่ เลอื กประเภท การอภปิ ราย ดังน้ี
6.1 การอภิปรายเปน็ คณะ
6.2 การอภปิ รายแบบปาฐกถาหมู่

6.3 การอภิปรายแบบซักถาม
6.4 การอภิปรายทัว่ ไป
นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาวิธีการอภิปรายของกลุ่มที่ตนเองสุ่มจับได้ จากนั้นแต่ละกลุ่มสาธิตการ
อภปิ รายพร้อมทัง้ ต้งั คำถามเพอื่ สุ่มนกั เรยี นในชัน้ เรยี นให้ตอบคำถาม
คาบเรยี นที่ 3 – 4

1. นกั เรยี นแต่ละกล่มุ นำเสนอการอภปิ รายแต่ละประเภท โดยมีวธิ ีการดงั นี้
1.1 นักเรียนแตล่ ะกล่มุ นำเสนอหลักการอภปิ รายของกลุม่ ตนเอง
1.2 นกั เรยี นแต่ละกลุ่มสาธติ การอภปิ รายของตนเอง

1.3 นักเรียนแต่ละกล่มุ ทำกิจกรรมถาม - ตอบ หลงั การสาธิต
1.4 นกั เรยี นสุ่มเลอื กแผ่นปา้ ย ผ่านเว็บไซต์ wordwall เพอื่ รับคะแนนพิเศษ
2. นกั เรียนและครรู ่วมกันสรปุ ลักษณะของการอภิปรายแตล่ ะประเภท

๘. สอ่ื อุปกรณ์ และแหล่งการเรียนรู้
๑. เว็บไซต์ Google Meet
2. แอปพลิเคชนั Google Forms
๓. เวบ็ ไซต์ Class 123

๔. เว็บไซต์ youtube

๕. เวบ็ ไซต์ Jamboard

๖. เว็บไซต์ wordwall

๗. เอกสารประกอบการเรยี น เรอ่ื ง การอภิปราย

๙. การวดั และการประเมินผล

สง่ิ ทต่ี ้องวดั วิธวี ัด เครื่องมอื วัด เกณฑก์ ารประเมินผล
ระดับคุณภาพดีข้ึนไป
ดา้ นความรู้ กจิ กรรม แบบประเมนิ การทำ
๑. นกั เรยี นสามารถ มันเปน็ ยงั ไงนะอภปิ ราย กิจกรรม ผ่านเกณฑ์
อธบิ ายความรู้ความเข้าใจ
เกี่ยวกบั หลักการพูด นำเสนอการอภิปราย แบบประเมนิ การอภิปราย ระดับคุณภาพดีขึ้นไป
อภิปรายได้ (K) ผ่านเกณฑ์
ประเมินการทำกิจกรรม แบบประเมนิ การทำ
ด้านทกั ษะ/กระบวนการ กิจกรรม ระดับคุณภาพดีขึ้นไป
๒. นกั เรียนสามารถวาง ผา่ นเกณฑ์
แผนการพูดอภปิ รายได้
(P)

ด้านเจตคติ
๓. เหน็ ความสำคญั ของ
ของการอภิปราย (A)

ลงชอ่ื ผสู้ อน/ผู้เขยี นแผนการจดั การเรียนรู้
(นายธนวิชญ์ แสงนรนิ ทร์)
ตำแหน่ง ครผู ู้ชว่ ย

๑๐. ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศกึ ษา หรอื ผู้ทไ่ี ด้รบั มอบหมาย (ตรวจสอบ/นเิ ทศ/เสนอแนะ/รบั รอง)

องค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ ( ) ครบถว้ น ( ) ไม่ครบถว้ น

การวิเคราะห์หลักสูตร ( ) มี ( ) ไมม่ ี

กจิ กรรมการเรียนรู้ ( ) สอดคล้องเหมาะสม ( ) ควรปรับปรุงพฒั นา

สื่อ/แบบฝึกทักษะ ( ) สอดคลอ้ งกับจุดประสงค์การเรียนรู้ ( ) มาก/น้อยเกินไป

เกณฑ์การวดั และประเมินผล ( ) หลากหลายครบถ้วน ( ) ควรปรบั ปรุงพฒั นา

อ่ืนๆ

............................................................................................................................. .................................................

.................................................................................. ............................................................................................

............................................................................................................................. .................................................

............................................................................................................................. .................................................

ลงชอ่ื ผู้ประเมินแผนการเรียนรู้
(นางมาริสา อาจจันดา)

ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะครชู ำนาญการพิเศษ

๑๑. บนั ทกึ ผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจดั การเรียนรู้
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
ปัญหา / อุปสรรค
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
ขอ้ เสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ผสู้ อน
(นายธนวชิ ญ์ แสงนรนิ ทร์)
ตำแหน่ง ครผู ้ชู ว่ ย

........./............................/................

รบั ทราบ
ลงช่ือ.............................................

(นางทรายทอง ตรสี ตั ยกลุ )
ผูอ้ ำนวยการสถานศึกษา

เกณฑ์การประเมนิ การทำกจิ กรรม
คำช้แี จง : เกณฑก์ ารประเมินพฤติกรรมการเรียนเป็นรายบุคคลสร้างขนึ้ เพื่อให้ครใู ช้เปน็ เกณฑ์ในการประเมิน
นักเรียนเป็นรายบุคคลโดยพิจารณาพฤตกิ รรมของนักเรียนวา่ ตรงเกณฑ์ในช่องใด

เกณฑก์ ารประเมิน ระดับคะแนน
๑. มคี วามร่วมมือใน
การทำกจิ กรรม ดีมาก (๔) ดี (๓) พอใช้ (๒) ควรปรับปรงุ (๑)
ให้ความร่วมมือในการทำ
๒. มคี วามรบั ผิดชอบ กิจกรรมอย่างดีทุกครั้งด้วย ใหค้ วามร่วมมอื ในการทำ ให้ความร่วมมือในการทำ ไม่ให้ความร่วมมือใน
ความเต็มใจ มีความ
๓. มีคณุ ธรรม กระตือรือร้น ในการเรียนรู้ กจิ กรรม ตอบคำถาม กิจกรรมแต่ไม่ค่อยเต็มใจ การทำกิจกรรมเลย
และตอบคำถามอย่าง
๔. การตรงต่อเวลา สมำ่ เสมอ บา้ งในบางคร้งั แต่ยัง ต้องมีการยำ้ เตอื น
๕. คุณภาพของ มีความรับผิดชอบต่อหน้าท่ี
ผลงาน และงานที่ได้รับมอบหมาย ขาดความกระตอื รือรน้
ทุกงานทกุ หน้าท่ี
มีความผิดชอบต่องาน มีความรบั ผดิ ชอบ ไม่มีความรับผิดชอบต่อ
ช่วยเหลือครูและเพื่อนใน
การทำงานไมท่ จุ รติ ใน แ ล ะ ห น ้ า ท ี ่ ท ี ่ ไ ด ้ รั บ ต่องานและหน้าท่ี งานและตอ่ หนา้ ท่ี
การทำกิจกรรม
เข้าชัน้ เรียนตรงเวลา มอบหมายบางงานบาง ท่ไี ด้รับมอบหมายอย่างไม่ ท่ไี ด้รบั มอบหมาย

ผลงานเป็นไปตาม หน้าที่ เตม็ ใจ
วัตถุประสงค์ มีความถูกตอ้ ง
และเสรจ็ ภายในเวลาที่ ไม่ช่วยเหลอื ครูและเพ่อื น ช่วยเหลือครูและเพื่อนใน ไม่ช่วยเหลือครูและ
กำหนด
ในการทำงานไม่ทุจริตใน ก า ร ท ำ ง า น ท ุ จ ริตใน เพื่อนในการทำงาน

การทำกจิ กรรม การทำกิจกรรม ทุจริตในการทำกิจกรรม

เขา้ ชั้นเรยี นชา้ เขา้ ชน้ั เรยี นชา้ ไม่เข้าช้นั เรยี น

๕ - ๑๐ นาที เกินกว่า ๑๐ นาที

ผลงานเปน็ ไปตาม ผลงานเปน็ ไปตาม ผลงานไม่เป็นไปตาม

วตั ถปุ ระสงค์ มีความถูก วตั ถปุ ระสงค์ ไมถ่ กู ตอ้ ง วตั ถุประสงค์ ไมถ่ ูกต้อง

ตอ้ ง ไม่เสร็จภายในเวลา ไมเ่ สร็จภายในเวลาท่ี ไม่เสร็จภายในเวลาท่ี

ท่ีกำหนด กำหนด กำหนด

เกณฑ์การตดั สนิ คณุ ภาพ
๑๔ - ๑๖ ดีมาก
๑๑ - ๑๓ ดี
๘ – ๑๐ พอใช้
๕ – ๗ ควรปรับปรุง

แผนการจดั การเรยี นรู้ออนไลน์

กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย รายวิชาภาษาไทย 5 รหัส ท ๒3101

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 4 เร่ือง สืบศลิ ป์ศาสตร์ภาษาไทย เวลา 15 ชว่ั โมง

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 4 การแสดงความเห็นจากเรอ่ื งที่ฟังและดู เวลา 2 ชวั่ โมง

สอนสปั ดาห์ท่ี 14 วนั ท่ี 13 – 17 กันยายน 2564 ชนั้ ม.3/3 – 5, 3/8 - 9

..............................................................................................................................................................................

๑. มาตรฐานการเรียนรู/้ ตวั ชีว้ ัด

๑.๑ มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ท 3.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิดและ

ความรู้สกึ ในโอกาสตา่ งๆ อยา่ งมวี ิจารณญาณและสรา้ งสรรค์

๑.๒ ตัวชวี้ ดั

ท 3.1 ม.3/1 แสดงความคดิ เห็นและประเมินเรอ่ื งจากการฟงั และการดู

ท 3.1 ม.3/6 มมี ารยาทในการฟัง การดู และการพูด

๒. สาระสำคัญ
การพูดแสดงความคิดเห็น และประเมินเรื่องจากการฟังและการดูแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะใหญ่ คือ

การแสดงความคิดเห็นเชิงบวกและการแสดงความคิดเห็นเชงิ ลบ และมีการจัดประเภทเป็น 4 ประเภท ได้แก่
การแสดงความคิดเห็นเชิงสนับสนุน การแสดงความคิดเห็นเชิงขัดแย้ง การแสดงความคิดเหน็ เชงิ วิจารณ์ และ
การแสดงความคิดเหน็ เพือ่ เสนอความคดิ ใหม่

๓. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
๑. นกั เรียนสามารถบอกหลักการแสดงความคดิ เหน็ และประเมินจากเร่อื งทฟ่ี ังและดู (K)
๒. นกั เรียนสามารถพดู แสดงความคิดเหน็ และประเมินจากเรือ่ งท่ีฟังและดไู ด้ (P)
๓. มีมารยาทในการฟงั การดู และการพูด (A)

๔. สาระการเรียนรู้
การพดู วิเคราะหว์ ิจารณจ์ ากเรื่องท่ีฟงั และดู

๕. สมรรถนะท่ีสำคัญ ๒.  ความสามารถในการคิด
๔.  ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ
๑.ความสามารถในการสอ่ื สาร
๓. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๒. ซอ่ื สตั ย์สจุ ริต ๓. มีวินยั ๔. ใฝ่เรียนรู้
๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ๖. มุ่งม่นั ในการทำงาน ๗. รักความเปน็ ไทย

๕. อยอู่ ยา่ งพอเพียง
๘. มจี ติ สาธารณะ

๗. กระบวนการจดั การเรียนรู้
คาบเรยี นท่ี ๑

ข้ันนำเข้าสบู่ ทเรยี น
๑. นักเรียนทำกิจกรรม หนูคิดว่าไง โดยนักเรียนดูวีดิโอ Hormones วัยว้าวุ่น (Cutscene) จาก

เว็บไซต์ youtube.com จากน้ันนักเรียนร่วมกันตอบปญั หาในประเด็นต่อไปน้ี

1.1 นักเรยี นรู้สกึ อย่างไรกบั เหตกุ ารณข์ า้ งต้น

1.2 “มันเป็นเหตุการณ์ที่เหมาะสม สามารถเกิดขึ้นได้ ไม่มีความผิด” นักเรียนเห็นด้วยกับ

ขอ้ ความดังกลา่ วหรอื ไม่

2. นกั เรยี นและครรู ว่ มกนั อภิปรายคำตอบเพ่อื โยงเข้าสู่หลักการพูดวิเคราะหว์ จิ ารณ์จากเรื่องที่ฟังและ
ดู

ขนั้ สอน

3. นักเรียนร่วมกันเรียนรู้เรื่องหลักการพูดวิเคราะห์วิจารณ์จากเรื่องที่ฟังและดู ผ่านแอปพลิเคชัน

Google Meet โดยนกั เรียนบันทกึ ความร้ลู งในเอกสารประกอบการเรียน หากนกั เรียนมีข้อสงสัยสามารถ

กดปุม่ เปิดไมโครโฟนเพ่อื ถาม – ตอบระหว่างเรียน

4. นักเรียนทำกิจกรรม วิ่งแข่งทายปัญหา ผ่านเว็บไซต์ Blooket.com โดยนักเรียนเข้ารว่ มการ

แข่งขันตอบปัญหาในโหมดวิ่งแข่งจำนวน 10 ข้อ นักเรียนที่สามารถเข้าเสน้ ชัยได้เป็นคนแรกจะได้รับคะแนน

กิจกรรม

ขั้นสรุป

5. นกั เรียนทำกจิ กรรม Learning Log ผ่านแอปพลิเคชนั Google Forms
คาบเรยี นที่ 2
ข้นั นำเข้าสบู่ ทเรียน

๑. นกั เรยี นรว่ มกนั อภิปรายในประเดน็ หลกั การพดู วเิ คราะห์วิจารณ์ ผ่านเวบ็ ไซต์ Jamboard

2. นักเรียนและครูร่วมกนั อภปิ รายคำตอบเพ่อื โยงเข้าสู่การพูดวเิ คราะห์วิจารณจ์ ากเรอื่ งท่ีฟังและดู
ขั้นสอน
3. นักเรียนแบ่งกลุ่ม 5 กลุ่ม ผ่านเว็บไซต์ Class 123 ร่วมกันดูวีดิโอ เรื่อง ก.ไก่ ฮ.นกฮูก

ภาพยนตร์สั้นศิลปหตั ถกรรมนักเรียน ผา่ นเวบ็ ไซต์ youtube.com จากนน้ั นักเรียนวเิ คราะห์วิจารณ์เร่ือง
ในประเดน็ ต่อไปนี้

3.1 การตัง้ ช่ือเรอ่ื ง

3.2 การเปิดเรื่อง
3.3 การดำเนนิ เรอื่ ง
3.4 การปิดเร่ือง

3.5 ตัวละครท่ีจะนำไปเปน็ แบบอย่าง จากนั้นพูดนำเสนอข้อมูลใน
3.6 ขอ้ คิดของเรอ่ื ง
4. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายผ่าน Break Out Room

รปู แบบผงั ความคิดออนไลน์ผา่ นเวบ็ ไซต์ mind meister

ข้ันสรปุ เพื่อพูดสรุปเกี่ยวกับการพูด
5. นักเรียนจำนวน 2 – 3 คน ที่ครูสุ่มผ่านเว็บไซต์ Class 123
วเิ คราะหว์ ิจารณจ์ ากเรื่องทฟี่ งั และดู

๘. สอ่ื อุปกรณ์ และแหล่งการเรยี นรู้
๑. เว็บไซต์ Google Meet
2. แอปพลเิ คชัน Google Forms
๓. เวบ็ ไซต์ Class 123

๔. เวบ็ ไซต์ youtube

๕. เวบ็ ไซต์ Jamboard

๖. เวบ็ ไซต์ mind meister

๗. เอกสารประกอบการเรยี น เรื่อง การพดู วเิ คราะหว์ ิจารณจ์ ากเรื่องท่ีฟงั และดู

๙. การวัดและการประเมนิ ผล

สงิ่ ที่ต้องวัด วิธวี ัด เคร่ืองมอื วัด เกณฑ์การประเมินผล
กิจกรรม Learning Log Google Forms ระดบั คุณภาพดีขน้ึ ไป
ดา้ นความรู้
๑. นักเรยี นสามารถบอก นำเสนอการวเิ คราะห์ แบบประเมนิ การ ผ่านเกณฑ์
หลักการแสดงความ วจิ ารณเ์ ร่อื ง วิเคราะห์วิจารณ์เร่ือง
คิดเหน็ และประเมินจาก ระดับคุณภาพดีขึ้นไป
เร่อื งที่ฟังและดู (K) ประเมินการทำกิจกรรม แบบประเมนิ การทำ ผา่ นเกณฑ์
กิจกรรม
ด้านทกั ษะ/กระบวนการ ระดับคุณภาพดีขึน้ ไป
๒. นักเรียนสามารถพดู ผ่านเกณฑ์
แสดงความคดิ เหน็ และ
ประเมินจากเรือ่ งท่ีฟังและ
ดไู ด้ (P)

ด้านเจตคติ
๓. มีมารยาทในการฟัง
การดู และการพูด (A)

ลงชือ่ ผสู้ อน/ผู้เขยี นแผนการจัดการเรียนรู้
(นายธนวชิ ญ์ แสงนรนิ ทร์)
ตำแหน่ง ครูผู้ชว่ ย

๑๐. ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษา หรือผ้ทู ไ่ี ดร้ ับมอบหมาย (ตรวจสอบ/นิเทศ/เสนอแนะ/รบั รอง)

องคป์ ระกอบของแผนการจัดการเรยี นรู้ ( ) ครบถว้ น ( ) ไมค่ รบถว้ น

การวิเคราะหห์ ลกั สตู ร ( ) มี ( ) ไม่มี

กจิ กรรมการเรียนรู้ ( ) สอดคล้องเหมาะสม ( ) ควรปรบั ปรงุ พฒั นา

ส่ือ/แบบฝกึ ทักษะ ( ) สอดคล้องกับจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ( ) มาก/น้อยเกนิ ไป

เกณฑ์การวัดและประเมินผล ( ) หลากหลายครบถ้วน ( ) ควรปรับปรุงพฒั นา

อื่นๆ

....................................................................................................... .......................................................................

............................................................................................................................. .................................................

........................................................................................................................................ ......................................

............................................................................................. .................................................................................

ลงชอื่ ผู้ประเมนิ แผนการเรียนรู้
(นางมารสิ า อาจจนั ดา)

ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ

๑๑. บนั ทกึ ผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจดั การเรียนรู้
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
ปัญหา / อุปสรรค
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
ขอ้ เสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................

ลงช่อื ผสู้ อน
(นายธนวิชญ์ แสงนรินทร)์
ตำแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย

........./............................/................

รับทราบ
ลงช่ือ.............................................

(นางทรายทอง ตรสี ตั ยกุล)
ผอู้ ำนวยการสถานศึกษา

เกณฑ์การประเมนิ การทำกจิ กรรม
คำชี้แจง : เกณฑก์ ารประเมินพฤติกรรมการเรียนเป็นรายบุคคลสร้างขนึ้ เพื่อให้ครใู ช้เปน็ เกณฑ์ในการประเมิน
นักเรยี นเป็นรายบุคคลโดยพิจารณาพฤตกิ รรมของนักเรียนวา่ ตรงเกณฑ์ในช่องใด

เกณฑ์การประเมิน ระดับคะแนน
๑. มคี วามรว่ มมือใน
การทำกิจกรรม ดีมาก (๔) ดี (๓) พอใช้ (๒) ควรปรับปรงุ (๑)
ให้ความร่วมมือในการทำ
๒. มคี วามรับผิดชอบ กิจกรรมอย่างดีทุกครั้งด้วย ใหค้ วามร่วมมอื ในการทำ ให้ความร่วมมือในการทำ ไม่ให้ความร่วมมือใน
ความเต็มใจ มีความ
๓. มีคณุ ธรรม กระตือรือร้น ในการเรียนรู้ กจิ กรรม ตอบคำถาม กิจกรรมแต่ไม่ค่อยเต็มใจ การทำกิจกรรมเลย
และตอบคำถามอย่าง
๔. การตรงต่อเวลา สมำ่ เสมอ บา้ งในบางคร้งั แต่ยัง ต้องมีการยำ้ เตอื น
๕. คุณภาพของ มีความรับผิดชอบต่อหน้าท่ี
ผลงาน และงานที่ได้รับมอบหมาย ขาดความกระตอื รือรน้
ทุกงานทกุ หน้าท่ี
มีความผิดชอบต่องาน มีความรบั ผดิ ชอบ ไม่มีความรับผิดชอบต่อ
ช่วยเหลือครูและเพื่อนใน
การทำงานไมท่ จุ รติ ใน แ ล ะ ห น ้ า ท ี ่ ท ี ่ ไ ด ้ รั บ ต่องานและหน้าท่ี งานและตอ่ หนา้ ท่ี
การทำกิจกรรม
เข้าชัน้ เรียนตรงเวลา มอบหมายบางงานบาง ท่ไี ด้รับมอบหมายอย่างไม่ ท่ไี ด้รบั มอบหมาย

ผลงานเป็นไปตาม หน้าที่ เตม็ ใจ
วัตถุประสงค์ มีความถูกตอ้ ง
และเสรจ็ ภายในเวลาที่ ไม่ช่วยเหลอื ครูและเพ่อื น ช่วยเหลือครูและเพื่อนใน ไม่ช่วยเหลือครูและ
กำหนด
ในการทำงานไม่ทุจริตใน ก า ร ท ำ ง า น ท ุ จ ริตใน เพื่อนในการทำงาน

การทำกจิ กรรม การทำกิจกรรม ทุจริตในการทำกิจกรรม

เขา้ ชั้นเรยี นชา้ เขา้ ชน้ั เรยี นชา้ ไม่เข้าช้นั เรยี น

๕ - ๑๐ นาที เกินกว่า ๑๐ นาที

ผลงานเปน็ ไปตาม ผลงานเปน็ ไปตาม ผลงานไม่เป็นไปตาม

วตั ถปุ ระสงค์ มีความถูก วตั ถปุ ระสงค์ ไมถ่ กู ตอ้ ง วตั ถุประสงค์ ไมถ่ ูกต้อง

ตอ้ ง ไม่เสร็จภายในเวลา ไมเ่ สร็จภายในเวลาท่ี ไม่เสร็จภายในเวลาท่ี

ท่ีกำหนด กำหนด กำหนด

เกณฑ์การตดั สนิ คณุ ภาพ
๑๔ - ๑๖ ดีมาก
๑๑ - ๑๓ ดี
๘ – ๑๐ พอใช้
๕ – ๗ ควรปรับปรุง

เกณฑ์การประเมินแบบฝกึ หัดหลงั เรียน
คำชี้แจง : เกณฑ์การประเมินแบบฝึกหัดหลังเรียนเป็นรายบุคคลสร้างขึ้นเพื่อให้ครูใช้เป็นเกณฑ์ในการ
ประเมนิ นักเรียนเป็นรายบุคคลโดยพจิ ารณาพฤติกรรมของนักเรยี นว่าตรงเกณฑ์ในช่องใด

เกณฑ์การประเมิน ดมี าก (๔) ระดับคะแนน ควรปรับปรงุ (๑)
ดี (๓) พอใช้ (๒)

๑.ความถกู ต้องของ ถกู ต้องรอ้ ยละ ๘๐ ข้ึนไป ถกู ต้องรอ้ ยละ ๗๐- ถูกต้องร้อยละ ถูกต้องตำ่ วา่ รอ้ ยละ

ใบงาน ๗๙ ขน้ึ ไป ๖๐-๖๙ ขนึ้ ไป ๖๐

๒.พฤตกิ รรมของ แสดงออกถึงความต้ังใจ แสดงออกถึงความ แสดงออกถึงความ แสดงออกถึงความ

นกั เรียน ความสนใจและมีสว่ น ตง้ั ใจ ความสนใจและ ตงั้ ใจ ความสนใจและ ต้ังใจ ความสนใจ

รว่ มในกิจกรรมการ มีส่วนร่วมในกิจกรรม มีสว่ นร่วมในกิจกรรม และมีสว่ นร่วมใน

เรยี นรบู้ อ่ ยมาก การเรียนรมู้ าก การเรยี นรู้เป็นบางคร้ัง กิจกรรมการเรยี นรู้

นอ้ ย

๓.เวลา - - ส่งชิน้ งานภายในเวลา สง่ ชน้ิ งานชา้ กวา่

ท่กี ำหนด กำหนด

เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ
๑๐ ดีมาก
๘ – ๙ ดี
๗ พอใช้
๖ ควรปรบั ปรงุ

แผนการจัดการเรียนรู้ออนไลน์

กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย รายวิชาภาษาไทย 5 รหัส ท ๒3101

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 4 เรอ่ื ง สืบศิลปศ์ าสตรภ์ าษาไทย เวลา 15 ชว่ั โมง

แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 5 วเิ คราะห์ระดบั ภาษา เวลา 4 ช่ัวโมง

สอนสปั ดาห์ที่ 15 วนั ที่ 20 – 24 กนั ยายน 2564 ชั้นม.3/3 – 5, 3/8 - 9

..............................................................................................................................................................................

๑. มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตวั ชว้ี ดั

๑.๑ มาตรฐานการเรยี นรู้

มาตรฐาน ท 4.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลงั

ของภาษาภูมปิ ัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบตั ขิ องชาติ

๑.๒ ตัวชี้วัด

ท 4.1 ม.3/3 วิเคราะห์ระดับภาษา

๒. สาระสำคัญ
ระดับของภาษา หมายถึง ความลดหลั่นของถ้อยคำและการเรียบเรียงถ้อยคำที่ใช้โดยพิจารณาตาม

โอกาสหรือกาลเทศะ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่เป็นผู้สื่อสารระดับภาษาสามารถจำแนกตามประเภทของ
การใช้ได้ ได้แก่ ภาษาระดับพิธีการ ภาษาระดับทางการ หรือ อาจเรียกว่า ภาษาทางการ / ภาษาราชการ
ภาษาระดับกึ่งทางการ ภาษาระดบั ไม่เปน็ ทางการและภาษาระดบั กันเองหรือภาษาปาก

๓. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
๑. นกั เรียนสามารถบอกหลักการวเิ คราะหร์ ะดับภาษาได้ (K)
๒. นักเรยี นสามารถใชภ้ าษาส่ือสารได้ถกู ต้องตามระดบั (P)
๓. เห็นความสำคัญของการใช้ภาษาใหถ้ ูกระดบั (A)

๔. สาระการเรยี นรู้
ระดับภาษา

๕. สมรรถนะที่สำคัญ ๒.  ความสามารถในการคิด
๔.  ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
๑. ความสามารถในการสื่อสาร
๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา
๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

๖. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ๒. ซอื่ สัตย์สุจริต ๓. มีวนิ ยั ๔. ใฝ่เรียนรู้
๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ๖. มุ่งม่ันในการทำงาน ๗. รกั ความเป็นไทย

๕. อยอู่ ย่างพอเพียง
๘. มจี ิตสาธารณะ

๗. กระบวนการจัดการเรียนรู้
คาบเรยี นที่ ๑
ข้นั นำเข้าสู่บทเรียน
๑. นกั เรียนรว่ มกันพิจารณาขอ้ ความตอ่ ไปนี้แลว้ ตอบคำถาม

ก. ขออนญุ าตไปเขา้ ห้องน้ำครบั

ข. ดว้ ยเกลา้ ด้วยกระหม่อมขอเดชะ

ค. หมู 3 ขา้ วเหนยี ว 1 เจอกันห้องสมดุ โซนลบั

1.1 จากขอ้ ความขา้ งต้น มลี ักษณะแตกต่างกนั หรือไม่ อย่างไร

(ตัวอย่างคำตอบ : แตกต่างกันท่คี ำศพั ทท์ ี่ใช้ต่างระดับ)

1.2 หากนักเรียนจะเลือกใช้ถ้อยคำเพื่อสื่อสารกับเพื่อนสนิท เลือกใช้ข้อใดจึงจะเหมาะสมที่สุด

เพราะเหตุใด

(ตัวอยา่ งคำตอบ : ขอ้ ค. เพราะสามารถสื่อสารไดง้ ่ายและมีคำศัพท์เฉพาะกลุ่ม)

2. นักเรียนพิจารณาคำถามและข้อความ จากนั้นให้นักเรียนพิมพ์คำตอบที่ถูกต้องในกล่องข้อความ

ผ่านแอพลเิ คชนั Meet

3. นกั เรียนและครรู ่วมกันอภปิ รายคำตอบเพ่อื โยงเขา้ สู่ลกั ษณะของระดับภาษา
ขัน้ สอน
4. นักเรียนร่วมกันเรียนรู้เรื่องลักษณะของระดับภาษา ผ่านแอปพลิเคชัน Google Meet โดย

นักเรียนบันทึกความรู้ลงในเอกสารประกอบการเรียน หากนักเรียนมีข้อสงสัยสามารถกดปุ่ม เปิด

ไมโครโฟนเพื่อถาม – ตอบระหวา่ งเรยี น

ขัน้ สรปุ
5. นักเรยี นทำกิจกรรม Learning Log ผา่ นแอปพลเิ คชัน Google Forms
คาบเรียนที่ 2
ขน้ั นำเข้าส่บู ทเรยี น
๑. นักเรยี นร่วมกันอภปิ รายในประเดน็ ลกั ษณะของระดับภาษา ผ่านเวบ็ ไซต์ Jamboard

2. นกั เรียนและครูรว่ มกนั อภปิ รายคำตอบเพอ่ื โยงเข้าสู่กิจกรรมระดับภาษา
ขั้นสอน
3. นกั เรยี นแบง่ กลุม่ 5 กล่มุ ผา่ นเวบ็ ไซต์ Class 123 ทำกิจกรรม ระดับใดไหนลองดู ร่วมกันสืบ
ลักษณะของระดบั ภาษาผ่านกิจกรรมแบบเพ่ือนคู่คิด (Think-Pair-Share) โดยมขี ัน้ ตอนเปน็ ดังตอ่ ไปนี้

4.๑ ขน้ั การคิด (Think) นักเรียนคดิ วเิ คราะห์จากข้อความดงั ต่อไปน้ี

จากคำกล่าวรายงาน ของประธานโครงการ จะเห็นได้ว่าในปัจจุบันนี้เทคโนโลยีสื่อมัลติมีเดียได้มี
ความสำคัญในชีวิตประจำวัน อีกทั้งยังเป็นการผลักดันให้วงการศึกษาท่ีเกีย่ วกับด้านเทคโนโลยีมัลติมีเดียใน
ยุคปัจจุบนั ซึง่ สว่ นใหญ่เกย่ี วขอ้ งกบั ขอ้ มลู ขา่ วสารและการผลิตสื่อมลั ติมเี ดียมีการเติบโตของวงการศกึ ษาและ
ภาคธรุ กจิ เทคโนโลยีมัลติมีเดีย ดังนั้นจึงมกี ารจัดกจิ กรรมสัมมนาวิชาการในวันนี้ข้ึน

เรียน คณุ ครปู ระจำชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3/4
เนื่องจากกระผมป่วยเป็นลำไส้อักเสบ จึงไม่สามารถมาเรียนได้ จึงขอลาป่วยเป็นเวลา ๕ วัน คือ

ต้ังแตว่ นั จนั ทร์ที่ ๔ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕64 เมอื่ กระผมหายแลว้ จะมาเรยี นตามปกติ
ดว้ ยความเคารพอยา่ งสูง
เด็กชายวชิรวชิ ญ์ ชวี อารี

จากขา่ วหนงั สือพิมพ์/บทความในหนงั สอื พิมพ์
ใครที่ได้ดูละครเรื่อง บุพเพสันนิวาส คงจะชื่อชอบเหมือนแฟนละครหลาย ๆ คน ทั้งโป๊ป และ
เบลล่า แสดงได้ดีจนคนดูสนุกสนานเพลิดเพลิน อินกับละครขนาดลุกขึ้นมาพูดภาษาอยุธยา หาหนังสือ
ประวตั ศิ าสตรอ์ ่าน เที่ยวโบราณสถานท่ีเกยี่ วข้อง ชวนกันสวมชุดไทยย้อนยุค กันจนร้านเชา่ ชุดร่ำรวยกันท่ัว
หน้า

บทสนทนาในครอบครัว / เพ่ือนสนทิ
“แม่จ๋าวันนี้มีอะไรกินบ้าง” เสียงตะโกนนำมาก่อนเดินเข้าครัว แม่ยิ้มอย่างเอ็นดูรอจนลูกสาวเดนิ

มาถึง
“เป็นสาวแล้วพูดจาใหเ้ รียบร้อยหนอ่ ยซิคะ”
“แหม ! อยู่ในบา้ นเราเองขอหนสู บายๆเถอะค่ะ”
“ไมท่ ำใหเ้ คยชนิ เดย๋ี วกไ็ ปพดู อย่างน้นี อกบ้านหรอก”

บทสนทนาในทสี่ าธารณะ
“ข้างบนจะมีจุดชมวิวมองลงมาดูไฟในเมืองหรือถ้าฟ้าเปิดก็ดูดาวบนยอดเขาอันหนาวเหน็บ บาง

คนื อากาศข้างบนหนาวจนตดิ ลบ เจา้ หนา้ ท่ีเปดิ กระติกเทโกโก้ร้อนให้ด่ืม ที่สำคญั ก่อนขึ้นไปควรสวมชุดกัน
หนาวให้หนา ๆ หรือชุดเล่นสกีขึ้นไปดีที่สุดครับ เพราะไม่เทอะทะ ทนความหนาว มีถุงมือและรองเท้าให้
พรอ้ ม”

(บทความออนไลน์.กอ้ นเมฆเลา่ เรอ่ื ง “อยากเลน่ หิมะไม่ต้องสกี มอี ะไรบ้าง”)
(http://www.dailynews.co.th/article/635641)

นกั เรยี นแตล่ ะคนใช้เวลาในการคิดเกีย่ วกับประเด็นคำถามประมาณ ๑ – ๒ นาที
4.๒ ขั้นการจับคู่ (Pair) นักเรียนจับคู่กันผ่านเว็บไซต์ Class 123 โดยแตล่ ะคู่จะสนทนากนั

เก่ียวกบั ข้อความคำถามขา้ งต้นจากนั้นให้นกั เรียนรว่ มกันวเิ คราะห์คำตอบของคตู่ นเองว่าคำตอบใดบ้างที่คิดวา่
ดที ส่ี ุดผ่าน Break Out Room

4.๓ ขน้ั การแบง่ ปนั (Share) เม่อื นักเรยี นได้คำตอบทด่ี ีทส่ี ุดจากคู่ของตนเองแลว้ นักเรยี นแตล่ ะคู่
แบ่งปนั ความคดิ เก่ยี วกับลักษณะของบทความจากคู่ของตนใหก้ ับเพื่อน ๆ ในชน้ั เรยี นฟัง

4. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายผ่าน Break Out Room จากนั้นพูดนำเสนอข้อมูลใน
รูปแบบผงั ความคดิ ออนไลน์ผา่ นเวบ็ ไซต์ mind meister

ขั้นสรปุ
5. นกั เรยี นจำนวน 2 – 3 คน ทคี่ รูสุ่มผ่านเวบ็ ไซต์ Class 123 เพื่อพดู สรุปเกี่ยวกบั ระดบั ภาษา
คาบเรียนที่ 3 – 4
นักเรียนแบ่งกลุ่ม 5 – 6 กลุ่ม ผ่านเว็บไซต์ Online stopwatch ทำกิจกรรม สร้างสรรค์
ขอ้ ความตามระดับภาษา โดยมวี ิธกี ารดังนี้

1.1 นกั เรียนแต่ละกลุ่มสมุ่ เลอื กระดับภาษากลมุ่ ละ 2 ระดับ
1.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มคิดบทสนทนา โดยสถานการณ์จะต้องสอดคล้องกับระดับภาษาที่ได้รับ
ความยาว 20 ประโยคขึน้ ไป
1.3 นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอบทสนทนาพร้อมทั้งชื่อสถานการณ์ผ่านแอปพลิเคชัน Google
Meet
1.4 นกั เรยี นที่รบั ฟังรว่ มกันตรวจสอบความถูกต้องของภาษาที่ใช้ พร้อมทง้ั ร่วมกันต้ังคำถามหลัง
การนำเสนอ
1.5 นกั เรยี นกลมุ่ ทนี่ ำเสนอสมุ่ คะแนนกลุ่มจากวงล้อมหาสนุกผา่ นเวบ็ ไซต์ Wordwall
1.6 นักเรียนกลุ่มที่ได้รับคะแนนนำเสนอและคะแนนวงล้อมากที่สุดจะเป็นกลุ่มที่ชนะและได้รับ
คะแนนกิจกรรม

๘. ส่ือ อุปกรณ์ และแหลง่ การเรยี นรู้
๑. เว็บไซต์ Google Meet
2. แอปพลิเคชนั Google Forms
๓. เวบ็ ไซต์ Class 123
๔. เวบ็ ไซต์ Jamboard
๕. เวบ็ ไซต์ mind meister

๖. เวบ็ ไซต์ Wordwall

๗. เอกสารประกอบการเรยี น เรือ่ ง ระดับภาษา

๙. การวดั และการประเมินผล

สิ่งที่ต้องวดั วิธีวัด เครอ่ื งมือวดั เกณฑ์การประเมนิ ผล
กจิ กรรม Learning Log
ดา้ นความรู้ Google Forms ระดับคุณภาพดีขน้ึ ไป
๑. นักเรยี นสามารถบอก นำเสนอการสรา้ งสรรค์ ผา่ นเกณฑ์
หลักการวิเคราะห์ระดบั ขอ้ ความตามระดบั ภาษา แบบประเมนิ กิจกรรม
ภาษาได้ (K) สรา้ งสรรค์ข้อความตาม ระดบั คุณภาพดีข้นึ ไป
ประเมินการทำกิจกรรม ผ่านเกณฑ์
ด้านทักษะ/กระบวนการ ระดบั ภาษา
๒. นักเรยี นสามารถใช้ ระดบั คุณภาพดีขน้ึ ไป
ภาษาสอ่ื สารได้ถูกต้อง แบบประเมินการทำ ผ่านเกณฑ์
ตามระดับ (P) กจิ กรรม

ดา้ นเจตคติ
๓. เหน็ ความสำคญั ของ
การใชภ้ าษาให้ถูกระดบั
(A)

ลงชื่อ ผสู้ อน/ผู้เขียนแผนการจัดการเรยี นรู้
(นายธนวิชญ์ แสงนรินทร์)
ตำแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย

๑๐. ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษา หรอื ผทู้ ่ไี ด้รบั มอบหมาย (ตรวจสอบ/นิเทศ/เสนอแนะ/รบั รอง)

องค์ประกอบของแผนการจดั การเรียนรู้ ( ) ครบถ้วน ( ) ไมค่ รบถว้ น

การวิเคราะห์หลักสูตร ( ) มี ( ) ไมม่ ี

กิจกรรมการเรยี นรู้ ( ) สอดคล้องเหมาะสม ( ) ควรปรับปรุงพฒั นา

ส่อื /แบบฝึกทักษะ ( ) สอดคล้องกบั จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ( ) มาก/นอ้ ยเกนิ ไป

เกณฑ์การวัดและประเมินผล ( ) หลากหลายครบถว้ น ( ) ควรปรับปรงุ พฒั นา

อ่ืนๆ

............................................................................................................................. .................................................

.................................................................................. ............................................................................................

............................................................................................................................. .................................................

............................................................................................................................. .................................................

ลงชอ่ื ผ้ปู ระเมนิ แผนการเรียนรู้
(นางมารสิ า อาจจันดา)

ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะครชู ำนาญการพเิ ศษ

๑๑. บนั ทกึ ผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจดั การเรียนรู้
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
ปัญหา / อุปสรรค
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
ขอ้ เสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ผสู้ อน
(นายธนวชิ ญ์ แสงนรนิ ทร์)
ตำแหน่ง ครผู ้ชู ว่ ย

........./............................/................

รบั ทราบ
ลงช่ือ.............................................

(นางทรายทอง ตรสี ตั ยกลุ )
ผูอ้ ำนวยการสถานศึกษา

เกณฑ์การประเมนิ การทำกจิ กรรม
คำช้แี จง : เกณฑก์ ารประเมินพฤติกรรมการเรียนเป็นรายบุคคลสร้างขนึ้ เพื่อให้ครใู ช้เปน็ เกณฑ์ในการประเมิน
นักเรียนเป็นรายบุคคลโดยพิจารณาพฤตกิ รรมของนักเรียนวา่ ตรงเกณฑ์ในช่องใด

เกณฑก์ ารประเมิน ระดับคะแนน
๑. มคี วามร่วมมือใน
การทำกจิ กรรม ดีมาก (๔) ดี (๓) พอใช้ (๒) ควรปรับปรงุ (๑)
ให้ความร่วมมือในการทำ
๒. มคี วามรบั ผิดชอบ กิจกรรมอย่างดีทุกครั้งด้วย ใหค้ วามร่วมมอื ในการทำ ให้ความร่วมมือในการทำ ไม่ให้ความร่วมมือใน
ความเต็มใจ มีความ
๓. มีคณุ ธรรม กระตือรือร้น ในการเรียนรู้ กจิ กรรม ตอบคำถาม กิจกรรมแต่ไม่ค่อยเต็มใจ การทำกิจกรรมเลย
และตอบคำถามอย่าง
๔. การตรงต่อเวลา สมำ่ เสมอ บา้ งในบางคร้งั แต่ยัง ต้องมีการยำ้ เตอื น
๕. คุณภาพของ มีความรับผิดชอบต่อหน้าท่ี
ผลงาน และงานที่ได้รับมอบหมาย ขาดความกระตอื รือรน้
ทุกงานทกุ หน้าท่ี
มีความผิดชอบต่องาน มีความรบั ผดิ ชอบ ไม่มีความรับผิดชอบต่อ
ช่วยเหลือครูและเพื่อนใน
การทำงานไมท่ จุ รติ ใน แ ล ะ ห น ้ า ท ี ่ ท ี ่ ไ ด ้ รั บ ต่องานและหน้าท่ี งานและตอ่ หนา้ ท่ี
การทำกิจกรรม
เข้าชัน้ เรียนตรงเวลา มอบหมายบางงานบาง ท่ไี ด้รับมอบหมายอย่างไม่ ท่ไี ด้รบั มอบหมาย

ผลงานเป็นไปตาม หน้าที่ เตม็ ใจ
วัตถุประสงค์ มีความถูกตอ้ ง
และเสรจ็ ภายในเวลาที่ ไม่ช่วยเหลอื ครูและเพ่อื น ช่วยเหลือครูและเพื่อนใน ไม่ช่วยเหลือครูและ
กำหนด
ในการทำงานไม่ทุจริตใน ก า ร ท ำ ง า น ท ุ จ ริตใน เพื่อนในการทำงาน

การทำกจิ กรรม การทำกิจกรรม ทุจริตในการทำกิจกรรม

เขา้ ชั้นเรยี นชา้ เขา้ ชน้ั เรยี นชา้ ไม่เข้าช้นั เรยี น

๕ - ๑๐ นาที เกินกว่า ๑๐ นาที

ผลงานเปน็ ไปตาม ผลงานเปน็ ไปตาม ผลงานไม่เป็นไปตาม

วตั ถปุ ระสงค์ มีความถูก วตั ถปุ ระสงค์ ไมถ่ กู ตอ้ ง วตั ถุประสงค์ ไมถ่ ูกต้อง

ตอ้ ง ไม่เสร็จภายในเวลา ไมเ่ สร็จภายในเวลาท่ี ไม่เสร็จภายในเวลาท่ี

ท่ีกำหนด กำหนด กำหนด

เกณฑ์การตดั สนิ คณุ ภาพ
๑๔ - ๑๖ ดีมาก
๑๑ - ๑๓ ดี
๘ – ๑๐ พอใช้
๕ – ๗ ควรปรับปรุง

เกณฑ์การประเมินแบบฝกึ หัดหลงั เรียน
คำชี้แจง : เกณฑ์การประเมินแบบฝึกหัดหลังเรียนเป็นรายบุคคลสร้างขึ้นเพื่อให้ครูใช้เป็นเกณฑ์ในการ
ประเมนิ นักเรียนเป็นรายบุคคลโดยพจิ ารณาพฤติกรรมของนักเรยี นว่าตรงเกณฑ์ในช่องใด

เกณฑ์การประเมิน ดมี าก (๔) ระดับคะแนน ควรปรับปรงุ (๑)
ดี (๓) พอใช้ (๒)

๑.ความถกู ต้องของ ถกู ต้องรอ้ ยละ ๘๐ ข้ึนไป ถกู ต้องรอ้ ยละ ๗๐- ถูกต้องร้อยละ ถูกต้องตำ่ วา่ รอ้ ยละ

ใบงาน ๗๙ ขน้ึ ไป ๖๐-๖๙ ขนึ้ ไป ๖๐

๒.พฤตกิ รรมของ แสดงออกถึงความต้ังใจ แสดงออกถึงความ แสดงออกถึงความ แสดงออกถึงความ

นกั เรียน ความสนใจและมีสว่ น ตง้ั ใจ ความสนใจและ ตงั้ ใจ ความสนใจและ ต้ังใจ ความสนใจ

รว่ มในกิจกรรมการ มีส่วนร่วมในกิจกรรม มีสว่ นร่วมในกิจกรรม และมีสว่ นร่วมใน

เรยี นรบู้ อ่ ยมาก การเรียนรมู้ าก การเรยี นรู้เป็นบางคร้ัง กิจกรรมการเรยี นรู้

นอ้ ย

๓.เวลา - - ส่งชิน้ งานภายในเวลา สง่ ชน้ิ งานชา้ กวา่

ท่กี ำหนด กำหนด

เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ
๑๐ ดีมาก
๘ – ๙ ดี
๗ พอใช้
๖ ควรปรบั ปรงุ

แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
คำชี้แจง : ใหผ้ ้สู อนสังเกตพฤติกรรมของนักเรยี น และขดี  ลงในชอ่ งทตี่ รงกบั คะแนน

สมรรถนะด้าน รายการประเมิน ดมี าก ระดับคุณภาพ
1. ความสามารถ (3) ดี พอใช้ ปรบั ปรุง
ในการสอื่ สาร 1.1 มีความสามารถในการรับ-สง่ สาร (2) (1) (0)
1.2 มคี วามสามารถในการถ่ายทอดความรู้
2. ความสามารถ ความคดิ ความเข้าใจของตนเอง โดยใช้ภาษาอย่าง
ในการคดิ เหมาะสม
1.3 ใชว้ ธิ กี ารสอ่ื สารทเ่ี หมาะสม มปี ระสิทธิภาพ
3. ความสามารถ 1.4 เจรจาตอ่ รองเพ่ือขจัดและลดปญั หาความ
ในการแกป้ ัญหา ขัดแย้งตา่ ง ๆ ได้
1.5 เลือกรบั และไมร่ บั ขอ้ มลู ขา่ วสารด้วยเหตผุ ล
และถูกตอ้ ง

สรุปผลการประเมิน
2.1 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์
2.2 มที ักษะในการคดิ นอกกรอบอย่างสร้างสรรค์
2.3 สามารถคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ
2.4 มีความสามารถในการสรา้ งองค์ความรู้
2.5 ตดั สนิ ใจแกป้ ัญหาเก่ียวกับตนเองได้อย่าง
เหมาะสม

สรุปผลการประเมนิ
3.1 สามารถแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ท่เี ผชิญ
ได้
3.2 ใช้เหตุผลในการแก้ปญั หา
3.3 เขา้ ใจความสัมพนั ธแ์ ละการเปล่ียนแปลงใน
สงั คม
3.4 แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการ
ป้องกันและแกไ้ ขปญั หา
3.5 สามารติดสนิ ใจได้เหมาะสมตามวยั

สรุปผลการประเมิน

สมรรถนะดา้ น รายการประเมนิ ดมี าก ระดับคณุ ภาพ
4. ความสามารถ (3) ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ
ในการใช้ทักษะ 4.1 เรยี นรูด้ ว้ ยตนเองได้เหมาะสมตามวยั (2) (1) (0)
ชีวติ 4.2 สามารถทำงานกลมุ่ รว่ มกบั ผู้อืน่ ได้
4.3 นำความรูท้ ่ีไดไ้ ปใช้ประโยชน์ในชวี ติ ประจำวนั
5. ความสามารถ 4.4 จดั การปญั หาและความขดั แยง้ ไดเ้ หมาะสม
ในการใช้ 4.5 หลกี เล่ียงพฤติกรรมไม่พึงประสงคท์ ี่สง่ ผล
เทคโนโลยี กระทบต่อตนเอง

สรุปผลการประเมิน
5.1 เลอื กและใช้เทคโนโลยีไดเ้ หมาะสมตามวยั
5.2 มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี
5.3 สามารถนำเทคโนโลยไี ปใชพ้ ฒั นาตนเอง
5.4 ใชเ้ ทคโนโลยีในการแก้ปญั หาอยา่ งสรา้ งสรรค์
5.5 มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมในการใช้เทคโนโลยี

สรปุ ผลการประเมิน

เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ

ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ

๖๖ – ๗๕ ดีมาก

1๕๖ – ๖๕ ดี

๔๖ – ๕๕ พอใช้

ตำ่ กวา่ ๔๕ ปรับปรุง


Click to View FlipBook Version