The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ท23101 ภาษาไทย 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thanawit, 2021-10-15 02:28:54

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ท23101 ภาษาไทย 5

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา ท23101 ภาษาไทย 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

Keywords: แผนการจัดการเรียนรู้

แผนการจัดการเรียนรู้

ท23101 ภาษาไทย 5

ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 3

นายธนวชิ ญ์ แสงนรนิ ทร์
ตาแหน่ง ครผู ู้ช่วย

กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาไทย

โรงเรยี นมธั ยมประชานเิ วศน์

สานักงานเขตจตุจกั ร กรงุ เทพมหานคร

แผนการจัดการเรียนรู้ออนไลน์

กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย รายวิชาภาษาไทย 5 รหัส ท ๒3101

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 เรอื่ ง บทละครพูดส่ือภาษา เวลา 15 ช่ัวโมง

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 1 ภาษาในวรรณคดีไทย เวลา ๒ ช่วั โมง

สอนสปั ดาห์ที่ ๑ วันท่ี 1 – 4 มถิ ุนายน 2564 ชนั้ ม.3/3 – 5, 3/8 - 9

..............................................................................................................................................................................

๑. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตัวชีว้ ัด

๑.๑ มาตรฐานการเรยี นรู้

มาตรฐาน ท 4.๑ เขา้ ใจและแสดงความคดิ เหน็ วจิ ารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่า

และนำมาประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตจริง

๑.๒ ตัวชวี้ ดั /ผลการเรยี นรู้

ท 5.1 ม.3/2 วิเคราะห์วถิ ีไทยและคุณคา่ จากวรรณคดแี ละวรรณกรรมท่ีอ่าน

๒. สาระสำคญั
วรรณคดี เป็นงานเขียนที่มีความงดงามด้านวรรณศิลป์ เป็นการใช้ถ้อยคำให้เกิดความไพเราะงดงาม

ทางภาษาซง่ึ ปรากฏในวรรณคดีและวรรณกรรมของไทย การวเิ คราะห์คณุ คา่ ด้านศลิ ปะการประพนั ธ์น้ันเป็นส่ิง
ที่นักเรียนจะต้องทำความเข้าใจและวิเคราะห์คุณค่าวรรณศิลป์ได้ด้วยตนเอง การวิเคราะห์คุณค่าวรรณศิลป์
ได้แก่ การวิเคราะห์ด้านเสียง วิเคราะห์คำ และวิเคราะห์โวหารภาพพจน์ การวิเคราะหค์ ุณคา่ ด้านศิลปะในการ
ประพันธ์วรรณคดีนั้นทำให้นักเรียนตระหนักคุณค่าและความสำคัญของวรรณกรรมซึ่งเป็นสมบัติประจำชาติ
ไทยไดเ้ ป็นอย่างดี

๓. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
๑. นักเรียนสามารถบอกความหมายและหลักการวเิ คราะห์และวจิ ารณว์ รรณคดีได้ (K)
๒. นกั เรยี นสามารถวิเคราะห์และวจิ ารณ์วรรณคดีได้ (P)
๓. เห็นความสำคัญของวรรณคดแี ละวรรณกรรม (A)

๔. สาระการเรียนรู้
ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม

๕. สมรรถนะท่สี ำคัญ ๒.  ความสามารถในการคิด
๔.  ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ
๑. ความสามารถในการสื่อสาร
๓. ความสามารถในการแก้ปญั หา

๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

๖. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ๒. ซื่อสตั ยส์ จุ ริต ๓. มวี นิ ัย ๔. ใฝเ่ รียนรู้
๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๖. มุ่งมั่นในการทำงาน ๗. รกั ความเปน็ ไทย

๕. อยอู่ ยา่ งพอเพียง
๘. มจี ติ สาธารณะ

๗. กระบวนการจดั การเรียนรู้
คาบเรยี นที่ ๑
ขั้นนำเขา้ สบู่ ทเรยี น
๑. นักเรียนร่วมกันทำความเข้าใจข้อตกลงในการเรียนออนไลน์ผ่านแอปพลิเคชัน Line

Openchat ร่วมกับ Google Classroom โดยนักเรียนเข้าร่วมห้องเรียนดาวน์โหลดเอกสาร
ประกอบการเรียนทำกจิ กรรมหลังเรยี นและแบบทดสอบหลงั เรยี น

2. นักเรียนร่วมกันฟังเพลง “วาฬเกยตื้น” จากเว็บไซต์ www.youtube.com จากนั้นตอบ
คำถามในประเด็นตอ่ ไปน้ี

1) “ชาวประมง” หมายถงึ ใคร (ตัวอย่างคำตอบ : คนอืน่ ๆ รอบตัวเราที่ไมม่ ีความรัก)
2) “วาฬ” จากเพลงส่ือถงึ ใคร (ตัวอยา่ งคำตอบ : คนทีม่ คี วามรัก)
3) เพราะเหตุใด “วาฬ” จึงตอ้ งเกยตน้ื (ตวั อย่างคำตอบ : เพราะผิดหวังจากความรัก)
3. นกั เรยี นรว่ มกันอภิปรายคำตอบเพอ่ื โยงเข้าสเู่ รือ่ งศลิ ปะในการประพนั ธว์ รรณคดีไทย
ขน้ั สอน
๔. นักเรียนร่วมกันเรียนรู้เรื่องพินิจวรรณคดีไทยผ่านแอปพลิเคชัน Google Meet โดย
นักเรียนบันทึกความรู้ลงในเอกสารประกอบการเรียน หากนักเรียนมีข้อสงสัยสามารถ กดปุ่ม เปิด
ไมโครโฟนเพือ่ ถาม – ตอบระหว่างเรยี น
5. นักเรียนร่วมกันร้องเพลงพินิจวรรณคดีเพ่ือความรู้ที่ได้เรียน โดยครูสุ่มนักเรียนจากแอปพลิเคชัน
Class 123 เพื่อให้นกั เรยี นร่วมร้องเพลง

ข้นั สรุป

๖. นักเรียนทำกิจกรรมที่ ๑ แข่งตอบปัญหาพินิจวรรณคดีไทยผ่านเว็บไซต์ www.quizizz.com โดย

นกั เรยี นท่ีตอบคำถามคะแนนสงู สดุ 3 อันดับจะได้รับคะแนนพเิ ศษ

คาบเรยี นที่ 2

ขน้ั นำเข้าสบู่ ทเรยี น

๑. นักเรยี นจำนวน 2 – 3 คน ทค่ี รสู ุม่ ร่วมกันตอบคำถามจากบทประพันธต์ ่อไปน้ี

เสนาสสู ู่สู้ ศรแผลง

ย่งิ คา่ ยหลายเมอื งแยง แย่งแยง้

รุกรน้ รน่ รนแรง ฤทธ์ริ บี

ลวงลว่ งล้วงวังแลว้ รวบเรา้ เอามา

๑) จากบทประพนั ธม์ ีการเล่นเสียงพยัญชนะในบาทใด (ตวั อยา่ งคำตอบ : บาทที่ 3)

2) จากบทประพันธม์ ีการเล่นเสียงสระในบาทใด (ตวั อยา่ งคำตอบ : บาทท่ี 1)

3) จากบทประพนั ธม์ กี ารเลน่ เสียงวรรณยุกต์ในบาทใด (ตัวอยา่ งคำตอบ : บาทที่ 4)

2. นักเรยี นร่วมกนั อภปิ รายคำตอบเพ่ือโยงเข้าสู่เรอ่ื งรสวรรณคดแี ละกลวธิ ใี นการประพนั ธ์

ขัน้ สอน

3. นักเรียนรว่ มกนั เรยี นรเู้ ร่ืองรสวรรณคดีและกลวธิ ใี นการประพนั ธ์ผ่านแอปพลิเคชัน Google Meet

โดยนักเรียนบันทึกความรู้ลงในเอกสารประกอบการเรียน หากนักเรียนมีข้อสงสัยสามารถกดปุ่ม เปิด

ไมโครโฟนเพ่อื ถาม – ตอบระหว่างเรยี น

4. นักเรียนร่วมกันร้องเพลงรสวรรณคดีและกลวิธีในการประพันธ์เพื่อความรู้ที่ได้เรียน โดยครูสุ่ม

นักเรยี นจากแอปพลเิ คชนั Class 123 เพอื่ ใหน้ กั เรียนรว่ มรอ้ งเพลง

ข้นั สรุป
5. นกั เรียนทำแบบทดสอบหลงั เรยี นผา่ นเว็บไซต์

๘. สอื่ อุปกรณ์ และแหล่งการเรียนรู้
๑. แอปพลิเคชัน Line Openchat
2. เว็บไซต์ Google Classroom
3. เว็บไซต์ Google Meet
4. เว็บไซต์ Class 123

5. เวบ็ ไซต์ Google Form
6. เอกสารประกอบการเรียน เร่ือง รเู้ ฟื่องเรือ่ งพินิจวรรณคดีไทย

๙. การวดั และการประเมินผล

ส่ิงทตี่ ้องวัด วิธวี ัด เคร่อื งมือวดั เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
ระดบั คุณภาพดีขึ้นไป
ดา้ นความรู้
ผ่านเกณฑ์
๑. นกั เรยี นสามารถบอก การทำกิจกรรม แบบประเมนิ กิจกรรม
ความหมายและหลักการ ระดบั คุณภาพดีขึ้นไป
วเิ คราะหแ์ ละวจิ ารณ์ ผ่านเกณฑ์

วรรณคดไี ด้ (K) ระดับคุณภาพดีขนึ้ ไป
ผ่านเกณฑ์
ดา้ นทักษะ/กระบวนการ

๒. นักเรยี นสามารถ การแบบทดสอบหลงั เรียน ระบบแบบทดสอบ

วเิ คราะหแ์ ละวิจารณ์ ออนไลน์ Google Form

วรรณคดีได้ (P)

ดา้ นเจตคติ

๓. เห็นความสำคัญของ ประเมนิ การทำกิจกรรม แบบประเมินการทำ
วรรณคดแี ละวรรณกรรม กจิ กรรม
(A)

ลงชอ่ื ผ้สู อน/ผเู้ ขยี นแผนการจดั การเรยี นรู้
(นายธนวชิ ญ์ แสงนรินทร์)
ตำแหน่ง ครูผูช้ ว่ ย

๑๐. ขอ้ เสนอแนะของหัวหน้าสถานศกึ ษา หรอื ผทู้ ไี่ ดร้ บั มอบหมาย (ตรวจสอบ/นิเทศ/เสนอแนะ/รบั รอง)

องคป์ ระกอบของแผนการจัดการเรยี นรู้ ( ) ครบถ้วน ( ) ไมค่ รบถว้ น

การวเิ คราะห์หลกั สตู ร ( ) มี ( ) ไม่มี

กิจกรรมการเรียนรู้ ( ) สอดคล้องเหมาะสม ( ) ควรปรับปรุงพฒั นา

สอื่ /แบบฝึกทักษะ ( ) สอดคลอ้ งกับจุดประสงค์การเรียนรู้ ( ) มาก/นอ้ ยเกินไป

เกณฑ์การวดั และประเมินผล ( ) หลากหลายครบถว้ น ( ) ควรปรบั ปรุงพัฒนา

อ่นื ๆ

........................................................................................................................... ...................................................

............................................................................................................................. .................................................

............................................................................................................................................................ ..................

................................................................................................................. .............................................................

ลงช่ือ ผู้ประเมนิ แผนการเรียนรู้
(นางมารสิ า อาจจนั ดา)

ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ

๑๑. บนั ทกึ ผลหลังการจัดการเรยี นรู้
ผลการจดั การเรียนรู้
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
ปัญหา / อุปสรรค
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
ขอ้ เสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ผสู้ อน
(นายธนวชิ ญ์ แสงนรินทร์)
ตำแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย

........./............................/................

รับทราบ
ลงชอ่ื .............................................

(นางทรายทอง ตรสี ตั ยกุล)
ผู้อำนวยการสถานศึกษา

เกณฑ์การประเมนิ การทำกจิ กรรม
คำช้แี จง : เกณฑก์ ารประเมินพฤติกรรมการเรียนเป็นรายบุคคลสร้างขนึ้ เพื่อให้ครใู ช้เปน็ เกณฑ์ในการประเมิน
นักเรียนเป็นรายบุคคลโดยพิจารณาพฤตกิ รรมของนักเรียนวา่ ตรงเกณฑ์ในช่องใด

เกณฑก์ ารประเมิน ระดับคะแนน
๑. มคี วามร่วมมือใน
การทำกจิ กรรม ดีมาก (๔) ดี (๓) พอใช้ (๒) ควรปรับปรงุ (๑)
ให้ความร่วมมือในการทำ
๒. มคี วามรบั ผิดชอบ กิจกรรมอย่างดีทุกครั้งด้วย ใหค้ วามร่วมมอื ในการทำ ให้ความร่วมมือในการทำ ไม่ให้ความร่วมมือใน
ความเต็มใจ มีความ
๓. มีคณุ ธรรม กระตือรือร้น ในการเรียนรู้ กจิ กรรม ตอบคำถาม กิจกรรมแต่ไม่ค่อยเต็มใจ การทำกิจกรรมเลย
และตอบคำถามอย่าง
๔. การตรงต่อเวลา สมำ่ เสมอ บา้ งในบางคร้งั แต่ยัง ต้องมีการยำ้ เตอื น
๕. คุณภาพของ มีความรับผิดชอบต่อหน้าท่ี
ผลงาน และงานที่ได้รับมอบหมาย ขาดความกระตอื รือรน้
ทุกงานทกุ หน้าท่ี
มีความผิดชอบต่องาน มีความรบั ผดิ ชอบ ไม่มีความรับผิดชอบต่อ
ช่วยเหลือครูและเพื่อนใน
การทำงานไมท่ จุ รติ ใน แ ล ะ ห น ้ า ท ี ่ ท ี ่ ไ ด ้ รั บ ต่องานและหน้าท่ี งานและตอ่ หนา้ ท่ี
การทำกิจกรรม
เข้าชัน้ เรียนตรงเวลา มอบหมายบางงานบาง ท่ไี ด้รับมอบหมายอย่างไม่ ท่ไี ด้รบั มอบหมาย

ผลงานเป็นไปตาม หน้าที่ เตม็ ใจ
วัตถุประสงค์ มีความถูกตอ้ ง
และเสรจ็ ภายในเวลาที่ ไม่ช่วยเหลอื ครูและเพ่อื น ช่วยเหลือครูและเพื่อนใน ไม่ช่วยเหลือครูและ
กำหนด
ในการทำงานไม่ทุจริตใน ก า ร ท ำ ง า น ท ุ จ ริตใน เพื่อนในการทำงาน

การทำกจิ กรรม การทำกิจกรรม ทุจริตในการทำกิจกรรม

เขา้ ชั้นเรยี นชา้ เขา้ ชน้ั เรยี นชา้ ไม่เข้าช้นั เรยี น

๕ - ๑๐ นาที เกินกว่า ๑๐ นาที

ผลงานเปน็ ไปตาม ผลงานเปน็ ไปตาม ผลงานไม่เป็นไปตาม

วตั ถปุ ระสงค์ มีความถูก วตั ถปุ ระสงค์ ไมถ่ กู ตอ้ ง วตั ถุประสงค์ ไมถ่ ูกต้อง

ตอ้ ง ไม่เสร็จภายในเวลา ไมเ่ สร็จภายในเวลาท่ี ไม่เสร็จภายในเวลาท่ี

ท่ีกำหนด กำหนด กำหนด

เกณฑ์การตดั สนิ คณุ ภาพ
๑๔ - ๑๖ ดีมาก
๑๑ - ๑๓ ดี
๘ – ๑๐ พอใช้
๕ – ๗ ควรปรับปรุง

เกณฑ์การประเมนิ แบบทดสอบหลังเรยี น
คำชี้แจง : เกณฑ์การประเมินแบบทดสอบหลังเรียนเป็นรายบุคคลสร้างขึ้นเพื่อให้ครูใช้เป็นเกณฑ์ในการ
ประเมนิ นกั เรียนเป็นรายบคุ คลโดยพิจารณาพฤติกรรมของนักเรียนวา่ ตรงเกณฑใ์ นช่องใด

เกณฑ์การประเมนิ ดมี าก (๔) ระดบั คะแนน ควรปรบั ปรุง (๑)
ดี (๓) พอใช้ (๒)

๑.ความถกู ต้องของ ถูกต้องร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป ถกู ต้องร้อยละ ๗๐- ถกู ต้องรอ้ ยละ ถกู ต้องต่ำวา่ ร้อยละ

ใบงาน ๗๙ ขน้ึ ไป ๖๐-๖๙ ข้นึ ไป ๖๐

๒.พฤตกิ รรมของ แสดงออกถึงความต้ังใจ แสดงออกถึงความ แสดงออกถึงความ แสดงออกถึงความ

นักเรยี น ความสนใจและมสี ่วน ต้งั ใจ ความสนใจและ ตัง้ ใจ ความสนใจและ ต้ังใจ ความสนใจ

รว่ มในกิจกรรมการ มสี ่วนรว่ มในกิจกรรม มสี ว่ นร่วมในกจิ กรรม และมสี ว่ นร่วมใน

เรยี นรูบ้ ่อยมาก การเรยี นรู้มาก การเรียนรูเ้ ปน็ บางคร้ัง กิจกรรมการเรียนรู้

น้อย

๓.เวลา - - สง่ ชน้ิ งานภายในเวลา สง่ ชน้ิ งานช้ากว่า

ที่กำหนด กำหนด

เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ
๑๐ ดีมาก
๘ – ๙ ดี
๗ พอใช้
๖ ควรปรับปรุง

แผนการจดั การเรยี นรู้ออนไลน์

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวิชาภาษาไทย 5 รหัส ท ๒3101

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 เรอ่ื ง บทละครพดู สื่อภาษา เวลา 15 ชวั่ โมง

แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี 2 อ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ เวลา 3 ชวั่ โมง

สอนสปั ดาห์ท่ี ๒ วันท่ี 7 – 11 มถิ ุนายน 2564 ชนั้ ม.3/3 – 5, 3/8 - 9

..............................................................................................................................................................................

๑. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชีว้ ดั

๑.๑ มาตรฐานการเรยี นรู้

มาตรฐาน ท 1.๑ ใช้กระบวนการอา่ นสร้างความรู้และความคดิ เพ่ือนำไปใช้ตัดสนิ ใจ แก้ปญั หาในการ

ดำเนินชีวิตและมีนสิ ัยรกั การอา่ น

๑.๒ ตวั ช้ีวดั /ผลการเรยี นรู้

ท 1.1 ม.3/1 อ่านออกเสยี งบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกตอ้ งและเหมาะสมกบั เร่ืองที่อ่าน

ท 1.1 ม.3/3 ระบุใจความสำคญั และรายละเอยี ดของข้อมูลท่สี นบั สนุนจากเรอ่ื งทอ่ี ่าน

๒. สาระสำคญั
การอ่านออกเสียง คือ การเปล่งเสียงตามอักษรถ้อยคำและเครื่องหมายต่าง ๆ ที่กำหนดไว้ให้ถูกต้อง

ชัดเจน เป็นที่เข้าใจแก่ผู้ฟัง โดยหลักการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วน้ัน ผู้อ่านจะต้องศึกษาเรื่องทีอ่ ่านให้เข้าใจ
เพ่อื แบง่ วรรคตอนในการอา่ น อา่ นออกเสยี งดังพอเหมาะกับสถานท่แี ละจำนวนผู้ฟัง อา่ นให้คล่อง ฟังรื่นหูและ
ออกเสยี งให้ถูกต้องตามอักขรวธิ ี อ่านออกเสียงให้เปน็ เสียงพูดอย่างธรรมชาติที่สุด และอา่ นออกเสียงให้เหมาะ
กับประเภทของเรื่อง รู้จักใส่อารมณ์เหมาะสมตามเนื้อเรื่อง โดยข้อควรคำนึงในการอ่านบทร้อยแก้ว คือ
ควรกวาดสายตาตามตวั อักษร สลับกับการเงยหน้าข้นึ สบตาผฟู้ งั อย่างเหมาะสมและเป็นธรรมชาติ

๓. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
๑. นักเรยี นสามารถบอกหลกั การอ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ ได้ (K)
๒. นักเรยี นสามารถอ่านออกเสียงบทรอ้ ยแก้วไดถ้ ูกต้อง (P)
๓. เห็นความสำคญั ของการอ่านออกเสยี งบทร้อยแก้ว (A)

๔. สาระการเรียนรู้
การอ่านออกเสยี งบทร้อยแก้ว

๕. สมรรถนะท่ีสำคัญ ๒.  ความสามารถในการคิด
๔.  ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ
๑. ความสามารถในการสื่อสาร
๓. ความสามารถในการแก้ปญั หา
๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

๖. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ๒. ซื่อสัตยส์ จุ รติ ๓. มวี นิ ัย ๔. ใฝ่เรยี นรู้
๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ๖. มุ่งม่นั ในการทำงาน ๗. รักความเปน็ ไทย
๕. อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง
๘. มจี ิตสาธารณะ

๗. กระบวนการจดั การเรยี นรู้
คาบเรยี นที่ ๑
ขั้นนำเข้าส่บู ทเรียน

๑. นักเรียนทำกิจกรรม Check In ผ่านโปรแกรม Google Meet เพื่อเป็นการเตรียมความ
พร้อมก่อนเรียน โดยนักเรียนส่ง Emoji แสดงความรู้สึกก่อนเริ่มเรียน จากนั้นครูสุ่มนักเรียนจากแอปพลิเคชัน
Class 123 จำนวน 2 – 3 คน เพือ่ บรรยายความร้สู ึกผา่ น Emoji ของตนเอง

2. นักเรยี นเปดิ เพือ่ อ่านออกเสียงชดุ คำทค่ี รูเปิดให้ ตอ่ ไปน้ี

ชดุ ที่ ๑ : รงุ่ เรอื ง รวดเร็ว รีบรอ้ น เรรวน ร้าวลึก ร้อนแรง
ชุดที่ ๒ : ลวดลาย ลำลอง ลลี า ลกู เลยี้ ง เลน่ ล้ิน ล้างโลก
ชุดท่ี 3 : ผลุนผลันพลันพลาด ผลุบโผลโ่ พล้เพล้

ชุดท่ี 4 : ขณะทเี่ ขาทุ่มเถียงกนั เรื่องทำแท้งครกู ็เข้ามาทักทาย จากนั้นครู
ขั้นสอน
3. นักเรียนร่วมกันดูวีดิโอการอ่านออกเสียงจากเว็บไซต์ www.youtube.com

ต้งั ประเดน็ คำถามให้นกั เรยี นตอ่ ไปน้ี
3.1 จากวดี โิ อเปน็ การอา่ นออกเสียงทดี่ หี รอื ไม่ เพราะเหตุใด
3.2 นักเรียนคิดวา่ หลกั การอา่ นออกเสยี งทถี่ กู ต้องจากวีดโิ อมีอะไรบ้าง จำแนกเปน็ ขอ้ ๆ ให้ชดั เจน

4. นกั เรียนแบง่ กลมุ่ เพื่ออภิปรายและหาขอ้ สรุปในกลุ่มของตนเองผ่าน Breakout Classroom
ขน้ั สรุป
5. นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลการอภิปรายของกลุ่มตนเอง โดยครูผู้สอนเป็นผู้สรุปและให้

คำแนะนำเพิม่ เติม
คาบเรยี นท่ี 2
ข้นั นำเข้าสบู่ ทเรยี น

๑. นักเรียนทำกิจกรรม Ice Breaking ผ่านโปรแกรม Google Meet เพื่อเป็นการเตรยี มความ
พรอ้ มก่อนเรยี น โดยนักเรยี นเปดิ กลอ้ งและปิด จากนนั้ ใหน้ กั เรียนบอกหลกั การอ่านออกเสยี งบทร้อยแก้ว
มาคนละ 1 ข้อ (สามารถซ้ำกันได้) จากนั้นครูสุ่มนักเรียนจำนวน 2 – 3 คน เพื่อให้นักเรียนร่วมกันบอกว่า

หลกั การอา่ นออกเสยี งทีพ่ ดู คอื อะไร
2. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายคำตอบเพื่อโยงเข้าสู่เรื่องสรุปหลักการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว

และข้อควรคำนึงในการอ่านบทร้อยแก้ว

ข้นั สอน
๔. นักเรียนร่วมกันเรียนรู้เรื่องหลักการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและข้อควรคำนึงในการอ่านบท

รอ้ ยแก้วผา่ นแอปพลเิ คชัน Google Meet โดยนกั เรยี นบนั ทึกความร้ลู งในสมุดบนั ทึก หากนักเรียนมีข้อ

สงสัยสามารถกดปุ่ม เปดิ ไมโครโฟนเพื่อถาม – ตอบระหวา่ งเรยี น

ขัน้ สรุป
5. นกั เรียนทำแบบฝึกหดั Learning Log ผ่านเวบ็ ไซต์ Google Classroom
คาบเรียนที่ 3
นักเรียนทำชิ้นงาน tiktok challenge เรื่อง ทดสอบอ่านข่าวภาคภาษาไทย ผ่านแอปพลิเคชัน
tiktok โดยนกั เรยี นอดั วีดิโอการอ่านข่าวภาคภาษาไทยท่ีปรากฏในแอปพลิเคชัน จากนัน้ ให้นักเรียนสรุป
ใจความสำคญั ของขา่ วที่อ่าน สง่ ผา่ นเวบ็ ไซต์ Google Classroom ภายในระยะเวลาที่กำหนด

๘. สอื่ อุปกรณ์ และแหลง่ การเรียนรู้
๑. เว็บไซต์ Google Meet
2. เว็บไซต์ Class 123

3. เวบ็ ไซต์ Youtube
4. เวบ็ ไซต์ Google Classroom
5. แอปพลเิ คชนั tiktok

๙. การวัดและการประเมนิ ผล

สิ่งทีต่ ้องวัด วิธวี ดั เครอ่ื งมอื วดั เกณฑ์การประเมินผล
แบบประเมินกิจกรรม
ด้านความรู้ ระดบั คุณภาพดีขึ้นไป
แบบประเมนิ กจิ กรรม ผา่ นเกณฑ์
๑. นักเรียนสามารถบอก การทำกิจกรรม
แบบประเมินการทำ ระดบั คุณภาพดีขนึ้ ไป
หลักการอ่านออกเสียงบท Breakout Classroom กิจกรรม ผ่านเกณฑ์

ร้อยแก้วได้ (K) ระดบั คุณภาพดีขน้ึ ไป
ผ่านเกณฑ์
ด้านทกั ษะ/กระบวนการ

๒. นกั เรียนสามารถอา่ น การทำกจิ กรรม
ออกเสยี งบทร้อยแก้วได้ tiktok challenge
ถกู ต้อง (P)

ด้านเจตคติ
๓. เห็นความสำคญั ของ ประเมินการทำกิจกรรม

การอ่านออกเสยี งบทร้อย
แกว้ (A)

ลงชื่อ ผ้สู อน/ผ้เู ขยี นแผนการจัดการเรยี นรู้
(นายธนวชิ ญ์ แสงนรนิ ทร์)
ตำแหนง่ ครผู ้ชู ่วย

๑๐. ขอ้ เสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษา หรอื ผูท้ ่ไี ดร้ ับมอบหมาย (ตรวจสอบ/นิเทศ/เสนอแนะ/รบั รอง)

องค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ ( ) ครบถ้วน ( ) ไมค่ รบถ้วน

การวเิ คราะหห์ ลกั สตู ร ( ) มี ( ) ไม่มี

กจิ กรรมการเรียนรู้ ( ) สอดคล้องเหมาะสม ( ) ควรปรบั ปรงุ พฒั นา

ส่อื /แบบฝึกทักษะ ( ) สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ ( ) มาก/น้อยเกนิ ไป

เกณฑ์การวัดและประเมินผล ( ) หลากหลายครบถว้ น ( ) ควรปรบั ปรุงพฒั นา

อน่ื ๆ

............................................................................................................................. .................................................

.................................................................................. ............................................................................................

............................................................................................................................. .................................................

............................................................................................................................. .................................................

ลงช่อื ผู้ประเมนิ แผนการเรียนรู้
(นางมารสิ า อาจจันดา)

ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะครชู ำนาญการพิเศษ

๑๑. บนั ทกึ ผลหลังการจัดการเรยี นรู้
ผลการจดั การเรียนรู้
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
ปัญหา / อุปสรรค
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
ขอ้ เสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ผสู้ อน
(นายธนวชิ ญ์ แสงนรินทร์)
ตำแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย

........./............................/................

รับทราบ
ลงชอ่ื .............................................

(นางทรายทอง ตรสี ตั ยกุล)
ผู้อำนวยการสถานศึกษา

เกณฑ์การประเมินการทำกิจกรรม Breakout Classroom
คำชี้แจง : เกณฑ์การประเมินการทำกิจกรรม Breakout Classroom เป็นรายบคุ คลสรา้ งข้ึนเพ่ือให้ครูใช้เป็น
เกณฑใ์ นการประเมินนักเรียนเป็นรายบคุ คลโดยพิจารณาพฤติกรรมของนักเรียนวา่ ตรงเกณฑ์ในชอ่ งใด

เกณฑก์ ารประเมิน ระดบั คะแนน
๑. มคี วามร่วมมือใน
การทำกิจกรรม ดมี าก (๔) ดี (๓) พอใช้ (๒) ควรปรบั ปรงุ (๑)
ให้ความร่วมมือในการทำ
๒. มคี วามรับผดิ ชอบ กิจกรรมอย่างดีทุกครั้งด้วย ใหค้ วามรว่ มมอื ในการทำ ให้ความร่วมมือในการทำ ไม่ให้ความร่วมมือใน
ความเต็มใจ มีความ
๓. มีคุณธรรม กระตือรือร้น ในการเรียนรู้ กิจกรรม ตอบคำถาม กิจกรรมแต่ไม่ค่อยเต็มใจ การทำกจิ กรรมเลย
และตอบคำถามอย่าง
๔. การตรงตอ่ เวลา สม่ำเสมอ บ้างในบางครั้ง แต่ยงั ต้องมีการยำ้ เตอื น
๕. คณุ ภาพของ มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่
ผลงาน และงานที่ได้รับมอบหมาย ขาดความกระตอื รือร้น
ทุกงานทกุ หน้าท่ี
มีความผิดชอบต่องาน มีความรบั ผดิ ชอบ ไม่มีความรับผิดชอบต่อ
ช่วยเหลือครูและเพื่อนใน
การทำงานไม่ทจุ รติ ใน แ ล ะ ห น ้ า ท ี ่ ท ี ่ ไ ด ้ รั บ ต่องานและหนา้ ท่ี งานและต่อหน้าท่ี
การทำกจิ กรรม
เขา้ ชนั้ เรียนตรงเวลา มอบหมายบางงานบาง ที่ได้รับมอบหมายอย่างไม่ ท่ไี ด้รับมอบหมาย

ผลงานเป็นไปตาม หน้าท่ี เต็มใจ
วตั ถุประสงค์ มคี วามถูกตอ้ ง
และเสรจ็ ภายในเวลาที่ ไม่ช่วยเหลอื ครูและเพ่อื น ช่วยเหลือครูและเพื่อนใน ไม่ช่วยเหลือครูและ
กำหนด
ในการทำงานไม่ทุจริตใน ก า ร ท ำ ง า น ท ุ จ ริตใน เพื่อนในการทำงาน

การทำกิจกรรม การทำกิจกรรม ทุจริตในการทำกิจกรรม

เขา้ ชัน้ เรียนช้า เข้าชั้นเรียนช้า ไม่เข้าชนั้ เรยี น

๕ - ๑๐ นาที เกินกว่า ๑๐ นาที

ผลงานเปน็ ไปตาม ผลงานเปน็ ไปตาม ผลงานไม่เป็นไปตาม

วัตถุประสงค์ มคี วามถกู วตั ถุประสงค์ ไม่ถูกต้อง วัตถุประสงค์ ไมถ่ กู ต้อง

ต้อง ไมเ่ สร็จภายในเวลา ไม่เสรจ็ ภายในเวลาท่ี ไม่เสร็จภายในเวลาท่ี

ท่กี ำหนด กำหนด กำหนด

เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ
๑๔ - ๑๖ ดีมาก
๑๑ - ๑๓ ดี
๘ – ๑๐ พอใช้
๕ – ๗ ควรปรบั ปรงุ

เกณฑก์ ารประเมินกิจกรรม tiktok challenge
คำชี้แจง : เกณฑ์การประเมินพฤติกรรมกิจกรรม tiktok challenge สร้างขึ้นเพื่อให้ครูใช้เป็นเกณฑ์ในการ
ประเมินนักเรียนเปน็ รายบุคคลโดยพจิ ารณาพฤติกรรมของนักเรียนวา่ ตรงเกณฑ์ในช่องใด

เกณฑก์ ารประเมิน ระดบั คะแนน

การอ่านออกเสียง ดีมาก (๔) ดี (๓) พอใช้ (๒) ควรปรบั ปรุง (๑)
บทรอ้ ยแกว้
อ่านออกเสียงถกู ตอ้ งตาม อ่านออกเสียงถูกตอ้ ง อ่านออกเสยี งถูกตอ้ ง อา่ นออกเสยี งถกู ต้อง
ตามอักขรวธิ ี เสยี งดัง
อักขรวิธี เสียงดัง ชดั เจน ตามอักขรวธิ ี เสยี งดงั ตามอักขรวิธี เสยี งดัง ชัดเจนแต่ยังต้อง
ปรบั ปรุงเร่อื ง
เวน้ วรรคตอนเหมาะสม ชัดเจน เวน้ วรรคตอน ชัดเจน เวน้ วรรคตอน การเวน้ วรรคตอน

นำ้ เสียงนา่ ฟังและ เหมาะสม น้ำเสียงนา่ เหมาะสมแตน่ ้ำเสียง

เหมาะสมกับเรื่อง ฟังแตบ่ างชว่ งตอ้ ง ราบเรยี บไม่น่าสนใจ

ทีอ่ า่ น ลลี าการอ่าน ปรับปรุงให้สอดคล้อง

เปน็ ธรรมชาติ กบั เนื้อหา

เกณฑ์การตดั สนิ คณุ ภาพ
4 ดมี าก
3 ดี
2 พอใช้
1 ควรปรบั ปรงุ

แผนการจดั การเรียนรู้ออนไลน์

กลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย รายวิชาภาษาไทย 5 รหัส ท ๒3101

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 เรอ่ื ง บทละครพดู สอื่ ภาษา เวลา 15 ชว่ั โมง

แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 3 ท่ีมาและประวัติผู้แต่ง เวลา 1 ชั่วโมง

สอนสัปดาห์ที่ ๓ วันที่ 14 – 18 มถิ นุ ายน 2564 ชั้นม.3/3 – 5, 3/8 - 9

..............................................................................................................................................................................

๑. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชว้ี ดั

๑.๑ มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ท. ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความเข้าใจและความคิดไปใช้ในการตัดสินใจแก้ปัญหา

และสร้างวิสยั ทัศน์ในการดำเนินชีวติ และมีนสิ ยั รกั การอ่าน

มาตรฐาน ท. 5.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลงั

ของภาษา ภมู ิปัญญาทางภาษาและรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบตั ิของชาติ

๑.๒ ตวั ชวี้ ัด/ผลการเรยี นรู้

ท 1.๑ ม.๓/๑ อา่ นออกเสยี งร้อยแก้วและบทรอ้ ยกรองไดถ้ ูกตอ้ งและเหมาะสมกบั เรือ่ งทีอ่ ่าน

ท ๕.๑ ม.๓/2 วิเคราะห์วถิ ไี ทยและคุณคา่ จากวรรณคดีและวรรณกรรมท้องถ่นิ ท่ีอา่ น

๒. สาระสำคญั
บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก เป็นบทพระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ได้ทรงนิพนธ์วรรณคดีและวรรณกรรมไว้มากกว่า 1,200 เรื่อง ทั้งร้อยแก้วและร้อยกรอง โดยเรื่องเห็นแก่ลกู
เป็นการแตง่ ประเภทบทละคร คือ ละครที่แสดงโดยใหต้ วั ละครสนทนาโต้ตอบกนั เหมือนในชีวติ จรงิ ไม่มีดนตรี
การรำ หรือการขับร้องประสม ตรงกับการแสดงที่เรียกวา่ Play ของตะวันตก ซึ่งเป็นบทประพันธ์ที่นิยมอย่าง
มากในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยบทละครพูดเห็นแก่ลกู เป็นบทละครพูดที่มคี วามยาว
เพยี งองก์เดยี ว

๓. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
๑. นักเรยี นสามารถบอกที่มาและประวตั ผิ ู้แต่งของบทละครพูดเหน็ แก่ลูกได้ (K)
๒. นกั เรียนสามารถเขยี นสรุปที่มาของเร่ืองและประวตั ผิ ูแ้ ต่งของบทละครพดู เหน็ แก่ลกู ได้ (P)
๓. เหน็ ความสำคัญของวรรณคดแี ละวรรณกรรม (A)

๔. สาระการเรยี นรู้
บทละครพูดเห็นแกล่ ูก

๕. สมรรถนะท่ีสำคญั ๒.  ความสามารถในการคิด
๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๔. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต
๓. ความสามารถในการแก้ปญั หา
๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

๖. คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ๒. ซื่อสตั ย์สจุ รติ ๓. มวี ินัย ๔. ใฝ่เรยี นรู้
๑. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ๖. มงุ่ ม่นั ในการทำงาน ๗. รักความเป็นไทย
๕. อยูอ่ ย่างพอเพียง
๘. มีจติ สาธารณะ

๗. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ข้ันนำเข้าสบู่ ทเรยี น
๑. นักเรียนทำกิจกรรมที่ 1 เปิดป้ายทายบุคคลปริศนา ผ่านโปรแกรมเว็บไซต์ Classtools โดยมี

หมายเลข 1 – 36 ด้านหลังจะเป็นภาพบุคคลปริศนา โดยครูผู้สอนสุ่มนักเรียนเพื่อเลือกหมายเลขคนละ 1
หมายเลข เพื่อเปิดแผ่นป้าย นักเรียนคนใดที่ทราบว่าบุคคลปริศนาคือใคร ให้นักเรียนเปิด เพื่อตอบ
นกั เรียนคนใดตอบได้ถกู ตอ้ งและรวดเร็วท่ีสุดจะเปน็ ผชู้ นะและได้รบั คะแนนพเิ ศษ

2. นกั เรยี นร่วมกันอภิปรายจากกจิ กรรม เปิดปา้ ยทายบคุ คลปรศิ นา ในประเด็นต่อไปน้ี
2.1 จากภาพบุคคลปรศิ นา มีความสำคัญอยา่ งไรกบั ประเทศไทย
2.2 จากภาพบคุ คลปริศนา นกั เรียนทราบพระราชกรณียกิจใดบา้ ง

3. นักเรียนและครรู ่วมกนั อภปิ รายเพ่อื โยงเขา้ สเู่ ร่อื งที่มาและประวตั ิผ้แู ต่ง บทละครพดู เห็นแก่ลกู
ขัน้ สอน
๔. นักเรียนร่วมกันเรียนรู้เรื่องที่มาและประวัติผู้แต่ง เรื่อง บทละครพูดเห็นแก่ลูก ผ่านแอปพลิเคชัน

Google Meet โดยนักเรียนบันทึกความรู้ลงในสมุดบันทึก หากนักเรียนมีข้อสงสัยสามารถ

กดปุ่ม เปิดไมโครโฟนเพ่อื ถาม – ตอบระหวา่ งเรียน

ขน้ั สรปุ
5. นักเรยี นทำกิจกรรมท่ี 2 จบั คู่ แบทเทลิ ผา่ นเวบ็ ไซต์ Blooket โดยนักเรียนจะถูกแบ่งเป็น 2 กลุ่ม
เข้าสู่ระบบเพื่อแข่งตอบปัญหาในโหมด Battle Royale เมื่อนักเรียนตอบถูกจะได้อยู่ในการแข่งขันต่อ หาก
นักเรียนตอบผิดพลังชีวิตของตนเองจะถูกลด โดยนักเรียนจะสุ่มผู้เข้าแข่งขัน กลุ่มใดที่มีสมาชิกเหลือรอดมาก
ท่สี ุดจะเปน็ ฝ่ายชนะและได้รับรางวลั พิเศษ
6. นักเรียนตอบคำถามหลังเรียนผ่านเว็บไซต์ Google Classroom

๘. สอ่ื อุปกรณ์ และแหลง่ การเรยี นรู้
๑. เวบ็ ไซต์ Google Meet
2. เว็บไซต์ Classtools
3. เวบ็ ไซต์ Blooket
4. เวบ็ ไซต์ Google Classroom

๙. การวัดและการประเมินผล

สิ่งทต่ี ้องวดั วธิ ีวัด เคร่อื งมอื วดั เกณฑ์การประเมนิ ผล
สมดุ บนั ทึก แบบประเมินสมดุ บนั ทึก ระดับคุณภาพดีขึ้นไป
ดา้ นความรู้
๑. นกั เรียนสามารถบอก กิจกรรมท่ี 2 แบบประเมนิ กิจกรรม ผ่านเกณฑ์
ที่มาและประวตั ผิ แู้ ต่งของ จบั คู่ แบทเทลิ
บทละครพดู เห็นแก่ลกู ได้ แบบประเมนิ การทำ ระดบั คุณภาพดีขึ้นไป
(K) ประเมินการทำกิจกรรม กจิ กรรม ผ่านเกณฑ์

ดา้ นทักษะ/กระบวนการ ระดับคุณภาพดีขึน้ ไป
๒. นักเรียนสามารถเขยี น ผ่านเกณฑ์
สรปุ ท่ีมาของเรอื่ งและ
ประวตั ผิ ูแ้ ต่งของบทละคร
พูดเหน็ แก่ลูกได้ (P)

ดา้ นเจตคติ
๓. เห็นความสำคัญของ
วรรณคดีและวรรณกรรม
(A)

ลงช่ือ ผสู้ อน/ผ้เู ขยี นแผนการจดั การเรยี นรู้
(นายธนวชิ ญ์ แสงนรนิ ทร์)
ตำแหนง่ ครผู ้ชู ่วย

๑๐. ขอ้ เสนอแนะของหัวหน้าสถานศกึ ษา หรือผู้ทีไ่ ด้รบั มอบหมาย (ตรวจสอบ/นเิ ทศ/เสนอแนะ/รบั รอง)

องคป์ ระกอบของแผนการจัดการเรยี นรู้ ( ) ครบถ้วน ( ) ไม่ครบถ้วน

การวเิ คราะหห์ ลักสตู ร ( ) มี ( ) ไมม่ ี

กิจกรรมการเรียนรู้ ( ) สอดคลอ้ งเหมาะสม ( ) ควรปรบั ปรุงพฒั นา

สื่อ/แบบฝึกทักษะ ( ) สอดคล้องกบั จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ( ) มาก/นอ้ ยเกินไป

เกณฑ์การวดั และประเมนิ ผล ( ) หลากหลายครบถ้วน ( ) ควรปรับปรุงพัฒนา

อืน่ ๆ

.............................................................................................................................................................. ................

................................................................................................................... ...........................................................

............................................................................................................................. .................................................

.................................................................................................................................................... ..........................

ลงชอื่ ผูป้ ระเมินแผนการเรยี นรู้
(นางมารสิ า อาจจันดา)

ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐานะครชู ำนาญการพเิ ศษ

๑๑. บนั ทกึ ผลหลังการจัดการเรยี นรู้
ผลการจดั การเรียนรู้
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
ปัญหา / อุปสรรค
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
ขอ้ เสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ผสู้ อน
(นายธนวชิ ญ์ แสงนรินทร์)
ตำแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย

........./............................/................

รับทราบ
ลงชอ่ื .............................................

(นางทรายทอง ตรสี ตั ยกุล)
ผู้อำนวยการสถานศึกษา

เกณฑก์ ารประเมนิ การทำกจิ กรรมจับคู่ แบทเทิล
คำชี้แจง : เกณฑ์การการทำกิจกรรมจับคู่ แบทเทิลเป็นรายบุคคลสร้างขึ้นเพื่อให้ครูใช้เป็นเกณฑ์ในการ
ประเมินนกั เรยี นเป็นรายบุคคลโดยพิจารณาพฤติกรรมของนักเรยี นว่าตรงเกณฑใ์ นช่องใด

เกณฑ์การประเมนิ ระดบั คะแนน
๑. มีความร่วมมอื ใน
การทำกจิ กรรม ดีมาก (๔) ดี (๓) พอใช้ (๒) ควรปรับปรงุ (๑)
ให้ความร่วมมือในการทำ
๒. มคี วามรบั ผดิ ชอบ กิจกรรมอย่างดีทุกครั้งด้วย ใหค้ วามรว่ มมอื ในการทำ ให้ความร่วมมือในการทำ ไม่ให้ความร่วมมือใน
ความเต็มใจ มีความ
๓. มีคุณธรรม กระตือรือร้น ในการเรียนรู้ กจิ กรรม ตอบคำถาม กิจกรรมแต่ไม่ค่อยเต็มใจ การทำกจิ กรรมเลย
และตอบคำถามอย่าง
๔. การตรงตอ่ เวลา สมำ่ เสมอ บ้างในบางคร้งั แตย่ ัง ตอ้ งมกี ารยำ้ เตือน
๕. คุณภาพของ มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่
ผลงาน และงานที่ได้รับมอบหมาย ขาดความกระตือรือรน้
ทกุ งานทุกหน้าท่ี
มีความผิดชอบต่องาน มคี วามรับผดิ ชอบ ไม่มีความรับผิดชอบต่อ
ช่วยเหลือครูและเพื่อนใน
การทำงานไมท่ จุ รติ ใน แ ล ะ ห น ้ า ท ี ่ ท ี ่ ไ ด ้ รั บ ตอ่ งานและหน้าท่ี งานและตอ่ หน้าที่
การทำกจิ กรรม
เข้าช้นั เรียนตรงเวลา มอบหมายบางงานบาง ที่ไดร้ บั มอบหมายอยา่ งไม่ ที่ไดร้ ับมอบหมาย

ผลงานเปน็ ไปตาม หนา้ ท่ี เตม็ ใจ
วตั ถุประสงค์ มคี วามถูกต้อง
และเสรจ็ ภายในเวลาท่ี ไม่ช่วยเหลอื ครูและเพ่อื น ช่วยเหลือครูและเพื่อนใน ไม่ช่วยเหลือครูและ
กำหนด
ในการทำงานไม่ทุจริตใน ก า ร ท ำ ง า น ท ุ จ ริตใน เพื่อนในการทำงาน

การทำกจิ กรรม การทำกิจกรรม ทจุ ริตในการทำกจิ กรรม

เข้าชนั้ เรยี นชา้ เขา้ ชัน้ เรียนชา้ ไม่เข้าชัน้ เรียน

๕ - ๑๐ นาที เกินกว่า ๑๐ นาที

ผลงานเป็นไปตาม ผลงานเป็นไปตาม ผลงานไม่เป็นไปตาม

วัตถุประสงค์ มคี วามถกู วตั ถปุ ระสงค์ ไมถ่ ูกตอ้ ง วัตถุประสงค์ ไมถ่ ูกตอ้ ง

ตอ้ ง ไม่เสรจ็ ภายในเวลา ไม่เสรจ็ ภายในเวลาที่ ไม่เสร็จภายในเวลาท่ี

ท่ีกำหนด กำหนด กำหนด

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
๑๔ - ๑๖ ดีมาก
๑๑ - ๑๓ ดี
๘ – ๑๐ พอใช้
๕ – ๗ ควรปรับปรงุ

เกณฑ์การประเมินสมุดจดบันทกึ
คำชี้แจง : เกณฑ์การประเมินสมุดจดบันทึกเป็นรายบุคคลสร้างขึ้นเพื่อให้ครูใช้เป็นเกณฑ์ในการประเมิน
นักเรยี นเปน็ รายบุคคลโดยพิจารณาพฤตกิ รรมของนักเรียนว่าตรงเกณฑ์ในช่องใด

เกณฑก์ ารให้คะแนน

รายการประเมนิ ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง
๑. เน้อื หา (๑)
(๔) (๓) (๒)
๒. อกั ขรวิธี เน้ือหาไมส่ อดคลอ้ ง
เนอ้ื หามคี วามสอดคล้องกับ เนอื้ หามคี วาม เนอ้ื หามคี วาม กับช่ือเรอื่ ง
๓. การใชภ้ าษา
ชื่อเรอ่ื ง เสนอเน้อื หาอยา่ ง สอดคล้องกบั ชื่อเร่ือง สอดคล้องกับชือ่ เรอื่ ง ใชค้ ำทีถ่ ูกตอ้ ง สะกด
๔. การตรงต่อเวลา คำ การันต์ คำชอ่ื
๕. ความเปน็ สร้างสรรค์ มปี ระเด็นน่าสนใจ และข้อมลู ครบถ้วน เฉพาะต่างๆ ได้
ระเบียบ ถกู ตอ้ ง ผิด ๗
มปี ระเดน็ น่าสนใจ และ และขอ้ มลู ครบถ้วน ตำแหน่งข้นึ ไป

ขอ้ มูลครบถว้ น

ใชค้ ำท่ีถูกตอ้ ง สะกดคำ ใช้คำทถ่ี กู ตอ้ ง สะกด ใชค้ ำท่ีถกู ตอ้ ง สะกด

การันต์ คำชื่อเฉพาะตา่ งๆ คำ การันต์ คำชือ่ คำ การนั ต์ คำช่ือ

ได้ถกู ต้อง เฉพาะต่างๆ ได้ เฉพาะต่างๆ ได้

ถูกต้อง ผดิ ๕ ถกู ต้อง ผิด ๗

ตำแหน่ง ตำแหน่ง

ใชภ้ าษาถกู ต้อง สละสลวย ใช้ภาษาถกู ตอ้ ง ใช้ภาษาถกู ตอ้ ง ใช้ภาษาไมถ่ กู ตอ้ ง

สอื่ ความหมายชัดเจน การ สละสลวย การลำดับ สละสลวย แต่การ หรือไมเ่ หมาะสม

ลำดับความไมว่ กวน ความไมว่ กวน ลำดับความวกวน การลำดับความ

วกวน

เข้าชน้ั เรียน และสง่ งานตรง เข้าชั้นเรียนตรงเวลา เข้าชั้นเรียนไม่ตรง เข้าชั้นเรียนไม่ตรง

เวลาที่กำหนด แต่ส่งงานล่าช้า ไม่ เวลา และส่งงานลา่ ชา้ เวลา และไมส่ ง่ งานท่ี

เกนิ ๒ วัน เกิน ๒ วนั ไดร้ บั มอบหมาย

สะอาด เรยี บร้อย ไมม่ ีรอย สะอาด เรยี บร้อย มี สะอาด เรียบร้อย มี ไม่สะอาดเรยี บร้อย

ขดู ขีด ฆา่ ลบ แบ่งวรรค รอยขดู ขดี ฆา่ ลบ รอยขูด ขีด ฆ่า ลบ มรี อยขดู ขีด ฆา่ ลบ

ตอนได้เหมาะสม ไม่เกนิ ๓ ตำแหน่ง ไมเ่ กนิ ๗ ตำแหนง่ ๗ ตำแหน่งขน้ึ ไป

อา่ นง่าย แบง่ วรรคตอนได้

เหมาะสม

เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ
๑๗ - ๒๐ คะแนน อยใู่ นเกณฑ์ ดมี าก
๑๓ - ๑๖ คะแนน อยู่ในเกณฑ์ ดี
๙ - ๑๒ คะแนน อยใู่ นเกณฑ์ พอใช้
๕ – ๘ คะแนน อยู่ในเกณฑ์ ควรปรบั ปรงุ

แผนการจัดการเรียนรู้ออนไลน์

กล่มุ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย รายวิชาภาษาไทย 5 รหัส ท ๒3101

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เรื่อง บทละครพูดสอื่ ภาษา เวลา 15 ชว่ั โมง

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 4 ตวั ละครและเรอ่ื งยอ่ เวลา 2 ชว่ั โมง

สอนสัปดาห์ท่ี 3 วันท่ี 21 – 25 มถิ นุ ายน 2564 ชนั้ ม.3/3 – 5, 3/8 - 9

..............................................................................................................................................................................

๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวดั

๑.๑ มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ท. ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความเข้าใจและความคิดไปใช้ในการตัดสินใจแก้ปัญหา

และสร้างวสิ ัยทัศนใ์ นการดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน

มาตรฐาน ท. 5.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง

ของภาษา ภูมปิ ัญญาทางภาษาและรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบัติของชาติ

๑.๒ ตวั ช้วี ัด/ผลการเรยี นรู้

ท 1.๑ ม.๓/๑ อา่ นออกเสยี งร้อยแก้วและบทรอ้ ยกรองได้ถูกตอ้ งและเหมาะสมกับเรอ่ื งทอี่ ่าน

ท ๕.๑ ม.๓/2 วเิ คราะหว์ ถิ ไี ทยและคณุ ค่าจากวรรณคดแี ละวรรณกรรมท้องถ่ินท่ีอา่ น

ท 5.1 ม.3/3 สรปุ ความรแู้ ละข้อคิดจากการอ่านเพ่อื นำไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตจริง

๒. สาระสำคัญ
บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก เป็นเรื่องระหว่างนายล้ำกับพระยาภักดีนฤนาถซึ่งเป็นเพื่อนกันมาตั้งแต่

พระยาภักดี ฯ เป็นหลวงกำธร นายล้ำถกู ไล่ออกจากราชการฐานทุจริตและถูกจำคุก 10 ปี พระยาภักดี ฯ รับ
อุปการะแม่ลออบุตรีของนายล้ำซึ่งเกิดโดยแม่นวลไว้เป็นบุตรบุญธรรมตั้งแตแ่ ม่ลอออายุเพียง ๒ ขวบ เมื่อแม่
นวลมอบแม่ลออไว้ในอุปการะของพระยาภักดี ฯ ได้ไมน่ านกถ็ ึงแก่กรรม พระยาภกั ดี ฯ เล้ียงแม่ลออด้วยความ
รักความเมตตา อบรมให้เป็นคนดีและบอกให้แม่ลออทราบแต่เพียงว่าตนเป็นบิดาเลี้ยง ส่วนบิดาที่แท้ของแม่
ลออเป็นคนดี ถึงแก่กรรมตั้งแต่แม่ลออยังเล็ก ซึ่งข้อคิดของเรื่องคือไม่มีความความรักและการเสียสละใดท่ี
บรสิ ุทธ์แิ ละให้ความชมุ่ ช่ืนแก่ชวี ติ ไดเ้ ทยี บเท่าความรกั และการเสยี สละระหวา่ งพ่อกบั ลูก

๓. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
๑. นักเรียนสามารถบอกเน้อื เรอ่ื งและขอ้ คดิ ของบทละครพูดเหน็ แก่ลูกได้ (K)
๒. นกั เรยี นสามารถเขียนจับใจความจากเรื่องและข้อคิดของบทละครพดู เห็นแก่ลกู ได้ (P)
๓. เหน็ ความสำคัญของวรรณคดแี ละวรรณกรรม (A)

๔. สาระการเรยี นรู้
บทละครพดู เห็นแกล่ ูก

๕. สมรรถนะทส่ี ำคัญ ๒.  ความสามารถในการคิด
๑. ความสามารถในการส่ือสาร ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ

๓. ความสามารถในการแกป้ ญั หา
๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

๖. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ๒. ซอ่ื สัตย์สจุ รติ ๓. มีวนิ ัย ๔. ใฝ่เรียนรู้
๑. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ๖. มงุ่ มนั่ ในการทำงาน ๗. รกั ความเปน็ ไทย
๕. อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง
๘. มจี ติ สาธารณะ

๗. กระบวนการจัดการเรียนรู้
คาบเรยี นที่ 1
ขน้ั นำเข้าสู่บทเรียน

๑. นักเรียนทำกิจกรรม Check In ผ่านโปรแกรม Google Meet เพื่อเป็นการเตรียมความ
พร้อมก่อนเรียน โดยนักเรียนเปรียบเทียบความรู้สึกในปัจจุบันเป็นสภาพอากาศ จากนั้นครูสุ่มนักเรียนจาก
แอปพลิเคชนั Class 123 จำนวน 2 – 3 คน เพื่อบรรยายความรสู้ ึกของตนเอง

2. นักเรียนรว่ มกันสนทนาในหัวข้อ “ภมู ใิ จในพ่อ / แม่ของฉนั ” โดยครูส่มุ นักเรียนจำนวน 2 – 3 คน

แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ความภาคภูมิใจเกี่ยวกับพ่อหรือแม่ของตนเองเพื่อโยงเข้าสู่ตัวละครและเรื่องย่อ
บทละครพดู เรอื่ ง เหน็ แก่ลูก

ข้ันสอน

3. นักเรียนร่วมกันดูวีดิโอตัวละครและเรื่องย่อจากเว็บไซต์ www.youtube.com จากนั้นครู
ต้ังประเด็นคำถามให้นกั เรยี นตอ่ ไปน้ี

3.1 จากวีดโิ อปรากฏตวั ละครใดบ้าง

3.2 จากวดี โิ อ ให้นักเรียนสรปุ สาระสำคญั ของเร่อื ง
4. นกั เรยี นแบ่งกลุ่มเพือ่ อภปิ รายและหาขอ้ สรุปในกลุม่ ของตนเองผา่ น Breakout Classroom
ขนั้ สรปุ

5. นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลการอภิปรายของกลุ่มตนเอง โดยครูผู้สอนเป็นผู้สรุปและให้
คำแนะนำเพิม่ เตมิ

คาบเรยี นท่ี 2

ข้นั นำเขา้ สบู่ ทเรยี น
๑. นักเรียนทำกิจกรรม Ice Breaking ผ่านโปรแกรม Google Meet เพื่อเป็นการเตรยี มความ
พร้อมก่อนเรียน โดยนักเรียนเปิดกล้องและปิด จากนั้นให้นักเรียนร่วมกันตอบลักษณะของตัวละครผ่าน

การใบ้ท่าทางของครูผ่านข้อความ
2. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายลักษณะของตัวละครเพื่อโยงเข้าสู่เรื่องตัวละครและเรื่องย่อบท

ละครพูด เรอื่ งเหน็ แก่ลกู

ขัน้ สอน
๔. นักเรียนร่วมกันเรียนรู้เรื่องตัวละครและเรื่องย่อบทละครพูด เรื่องเห็นแก่ลูก ผ่านแอปพลิเคชัน

Google Meet โดยนักเรียนบันทึกความรู้ลงในสมุดบันทึก หากนักเรียนมีข้อสงสัยสาม ารถ

กดปุ่ม เปดิ ไมโครโฟนเพอ่ื ถาม – ตอบระหว่างเรยี น

ขั้นสรุป
5. นกั เรยี นทำแบบฝึกหัด Learning Log ผ่านเวบ็ ไซต์ Google Classroom

๘. สอ่ื อุปกรณ์ และแหล่งการเรียนรู้
๑. เวบ็ ไซต์ Google Meet
2. เว็บไซต์ Class 123

3. เวบ็ ไซต์ youtube
4. เว็บไซต์ Google Classroom

๙. การวัดและการประเมินผล

ส่ิงทตี่ ้องวดั วิธวี ัด เครื่องมอื วดั เกณฑ์การประเมนิ ผล
แบบประเมนิ กิจกรรม ระดบั คุณภาพดีขน้ึ ไป
ด้านความรู้
แบบประเมนิ สมุดบนั ทึก ผ่านเกณฑ์
๑. นกั เรียนสามารถบอก กิจกรรม
แบบประเมนิ การทำ ระดับคุณภาพดีขึ้นไป
เนอื้ เร่อื งและขอ้ คดิ ของ Breakout Classroom กิจกรรม ผ่านเกณฑ์

บทละครพูดเห็นแกล่ ูกได้ ระดบั คุณภาพดีขน้ึ ไป
ผ่านเกณฑ์
(K)

ดา้ นทักษะ/กระบวนการ

๒. นักเรียนสามารถเขยี น สมุดบนั ทึก

จับใจความจากเรื่องและ

ขอ้ คิดของบทละครพดู

เห็นแกล่ ูกได้ (P)

ดา้ นเจตคติ

๓. เห็นความสำคญั ของ ประเมนิ การทำกิจกรรม

วรรณคดีและวรรณกรรม

(A)

ลงชอื่ ผู้สอน/ผ้เู ขยี นแผนการจดั การเรียนรู้
(นายธนวชิ ญ์ แสงนรนิ ทร์)
ตำแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย

๑๐. ขอ้ เสนอแนะของหัวหน้าสถานศกึ ษา หรือผู้ทีไ่ ด้รบั มอบหมาย (ตรวจสอบ/นเิ ทศ/เสนอแนะ/รบั รอง)

องคป์ ระกอบของแผนการจัดการเรยี นรู้ ( ) ครบถ้วน ( ) ไม่ครบถ้วน

การวเิ คราะหห์ ลักสตู ร ( ) มี ( ) ไมม่ ี

กิจกรรมการเรียนรู้ ( ) สอดคลอ้ งเหมาะสม ( ) ควรปรบั ปรุงพฒั นา

สื่อ/แบบฝึกทักษะ ( ) สอดคล้องกบั จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ( ) มาก/นอ้ ยเกินไป

เกณฑ์การวดั และประเมนิ ผล ( ) หลากหลายครบถ้วน ( ) ควรปรับปรุงพัฒนา

อืน่ ๆ

.............................................................................................................................................................. ................

................................................................................................................... ...........................................................

............................................................................................................................. .................................................

.................................................................................................................................................... ..........................

ลงชอื่ ผูป้ ระเมินแผนการเรยี นรู้
(นางมารสิ า อาจจันดา)

ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐานะครชู ำนาญการพเิ ศษ

๑๑. บนั ทกึ ผลหลังการจดั การเรียนรู้
ผลการจดั การเรียนรู้
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
ปัญหา / อุปสรรค
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
ขอ้ เสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................

ลงชือ่ ผสู้ อน
(นายธนวชิ ญ์ แสงนรินทร์)
ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย

........./............................/................

รับทราบ
ลงชื่อ.............................................

(นางทรายทอง ตรีสตั ยกุล)
ผ้อู ำนวยการสถานศึกษา

เกณฑ์การประเมินการทำกิจกรรม Breakout Classroom
คำชี้แจง : เกณฑก์ ารประเมินการทำกิจกรรม Breakout Classroom เป็นรายบคุ คลสรา้ งข้นึ เพ่อื ให้ครูใช้เป็น
เกณฑใ์ นการประเมนิ นักเรียนเป็นรายบคุ คลโดยพิจารณาพฤติกรรมของนักเรียนวา่ ตรงเกณฑ์ในชอ่ งใด

เกณฑก์ ารประเมิน ระดบั คะแนน
๑. มีความรว่ มมือใน
การทำกจิ กรรม ดีมาก (๔) ดี (๓) พอใช้ (๒) ควรปรบั ปรงุ (๑)
ให้ความร่วมมือในการทำ
๒. มีความรับผดิ ชอบ กิจกรรมอย่างดีทุกครั้งด้วย ใหค้ วามรว่ มมอื ในการทำ ให้ความร่วมมือในการทำ ไม่ให้ความร่วมมือใน
ความเต็มใจ มีความ
๓. มคี ณุ ธรรม กระตือรือร้น ในการเรียนรู้ กิจกรรม ตอบคำถาม กิจกรรมแต่ไม่ค่อยเต็มใจ การทำกจิ กรรมเลย
และตอบคำถามอย่าง
๔. การตรงตอ่ เวลา สม่ำเสมอ บ้างในบางครั้ง แต่ยัง ต้องมีการยำ้ เตอื น
๕. คณุ ภาพของ มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่
ผลงาน และงานที่ได้รับมอบหมาย ขาดความกระตอื รือร้น
ทุกงานทกุ หนา้ ท่ี
มีความผิดชอบต่องาน มีความรบั ผดิ ชอบ ไม่มีความรับผิดชอบต่อ
ช่วยเหลือครูและเพื่อนใน
การทำงานไมท่ จุ รติ ใน แ ล ะ ห น ้ า ท ี ่ ท ี ่ ไ ด ้ รั บ ต่องานและหนา้ ท่ี งานและต่อหน้าท่ี
การทำกิจกรรม
เขา้ ชน้ั เรยี นตรงเวลา มอบหมายบางงานบาง ที่ได้รับมอบหมายอย่างไม่ ท่ไี ด้รับมอบหมาย

ผลงานเปน็ ไปตาม หน้าท่ี เต็มใจ
วัตถปุ ระสงค์ มคี วามถูกตอ้ ง
และเสร็จภายในเวลาที่ ไม่ช่วยเหลอื ครูและเพ่อื น ช่วยเหลือครูและเพื่อนใน ไม่ช่วยเหลือครูและ
กำหนด
ในการทำงานไม่ทุจริตใน ก า ร ท ำ ง า น ท ุ จ ริตใน เพื่อนในการทำงาน

การทำกิจกรรม การทำกิจกรรม ทุจริตในการทำกิจกรรม

เขา้ ชัน้ เรียนช้า เข้าชั้นเรียนช้า ไม่เข้าชนั้ เรยี น

๕ - ๑๐ นาที เกินกว่า ๑๐ นาที

ผลงานเปน็ ไปตาม ผลงานเปน็ ไปตาม ผลงานไม่เป็นไปตาม

วัตถุประสงค์ มคี วามถกู วตั ถุประสงค์ ไม่ถูกต้อง วัตถุประสงค์ ไมถ่ กู ต้อง

ต้อง ไมเ่ สร็จภายในเวลา ไม่เสรจ็ ภายในเวลาท่ี ไม่เสร็จภายในเวลาท่ี

ท่กี ำหนด กำหนด กำหนด

เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ
๑๔ - ๑๖ ดีมาก
๑๑ - ๑๓ ดี
๘ – ๑๐ พอใช้
๕ – ๗ ควรปรบั ปรงุ

เกณฑ์การประเมินสมุดจดบันทกึ
คำชี้แจง : เกณฑ์การประเมินสมุดจดบันทึกเป็นรายบุคคลสร้างขึ้นเพื่อให้ครูใช้เป็นเกณฑ์ในการประเมิน
นักเรยี นเปน็ รายบุคคลโดยพิจารณาพฤตกิ รรมของนักเรียนว่าตรงเกณฑ์ในช่องใด

เกณฑก์ ารให้คะแนน

รายการประเมนิ ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง
๑. เน้อื หา (๑)
(๔) (๓) (๒)
๒. อกั ขรวิธี เน้ือหาไมส่ อดคลอ้ ง
เนอ้ื หามคี วามสอดคล้องกับ เนอื้ หามคี วาม เนอ้ื หามคี วาม กับช่ือเรอื่ ง
๓. การใชภ้ าษา
ชื่อเรอ่ื ง เสนอเน้อื หาอยา่ ง สอดคล้องกบั ชื่อเร่ือง สอดคล้องกับชือ่ เรอื่ ง ใชค้ ำทีถ่ ูกตอ้ ง สะกด
๔. การตรงต่อเวลา คำ การันต์ คำชอ่ื
๕. ความเปน็ สร้างสรรค์ มปี ระเด็นน่าสนใจ และข้อมลู ครบถ้วน เฉพาะต่างๆ ได้
ระเบียบ ถกู ตอ้ ง ผิด ๗
มปี ระเดน็ น่าสนใจ และ และขอ้ มลู ครบถ้วน ตำแหน่งข้นึ ไป

ขอ้ มูลครบถว้ น

ใชค้ ำท่ีถูกตอ้ ง สะกดคำ ใช้คำทถ่ี กู ตอ้ ง สะกด ใชค้ ำท่ีถกู ตอ้ ง สะกด

การันต์ คำชื่อเฉพาะตา่ งๆ คำ การันต์ คำชือ่ คำ การนั ต์ คำช่ือ

ได้ถกู ต้อง เฉพาะต่างๆ ได้ เฉพาะต่างๆ ได้

ถูกต้อง ผดิ ๕ ถกู ต้อง ผิด ๗

ตำแหน่ง ตำแหน่ง

ใชภ้ าษาถกู ต้อง สละสลวย ใช้ภาษาถกู ตอ้ ง ใช้ภาษาถกู ตอ้ ง ใช้ภาษาไมถ่ กู ตอ้ ง

สอื่ ความหมายชัดเจน การ สละสลวย การลำดับ สละสลวย แต่การ หรือไมเ่ หมาะสม

ลำดับความไมว่ กวน ความไมว่ กวน ลำดับความวกวน การลำดับความ

วกวน

เข้าชน้ั เรียน และสง่ งานตรง เข้าชั้นเรียนตรงเวลา เข้าชั้นเรียนไม่ตรง เข้าชั้นเรียนไม่ตรง

เวลาที่กำหนด แต่ส่งงานล่าช้า ไม่ เวลา และส่งงานลา่ ชา้ เวลา และไมส่ ง่ งานท่ี

เกนิ ๒ วัน เกิน ๒ วนั ไดร้ บั มอบหมาย

สะอาด เรยี บร้อย ไมม่ ีรอย สะอาด เรยี บร้อย มี สะอาด เรียบร้อย มี ไม่สะอาดเรยี บร้อย

ขดู ขีด ฆา่ ลบ แบ่งวรรค รอยขดู ขดี ฆา่ ลบ รอยขูด ขีด ฆ่า ลบ มรี อยขดู ขีด ฆา่ ลบ

ตอนได้เหมาะสม ไม่เกนิ ๓ ตำแหน่ง ไมเ่ กนิ ๗ ตำแหนง่ ๗ ตำแหน่งขน้ึ ไป

อา่ นง่าย แบง่ วรรคตอนได้

เหมาะสม

เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ
๑๗ - ๒๐ คะแนน อยใู่ นเกณฑ์ ดมี าก
๑๓ - ๑๖ คะแนน อยู่ในเกณฑ์ ดี
๙ - ๑๒ คะแนน อยใู่ นเกณฑ์ พอใช้
๕ – ๘ คะแนน อยู่ในเกณฑ์ ควรปรบั ปรงุ

แผนการจดั การเรยี นรู้ออนไลน์

กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย รายวิชาภาษาไทย 5 รหัส ท ๒3101

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 เร่อื ง บทละครพดู สือ่ ภาษา เวลา 15 ช่ัวโมง

แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 5 วิเคราะห์คณุ คา่ ของเรอื่ ง เวลา 3 ชัว่ โมง

สอนสัปดาห์ท่ี 4 วันท่ี 28 – 31 มิถนุ ายน 2564 ชัน้ ม.3/3 – 5, 3/8 - 9

..............................................................................................................................................................................

๑. มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วดั

๑.๑ มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ท. ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความเข้าใจและความคิดไปใช้ในการตัดสินใจแก้ปัญหา

และสร้างวสิ ยั ทศั น์ในการดำเนินชีวติ และมนี ิสยั รกั การอ่าน

มาตรฐาน ท. 5.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลงั

ของภาษา ภูมปิ ญั ญาทางภาษาและรกั ษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบตั ิของชาติ

๑.๒ ตวั ชีว้ ัด/ผลการเรยี นรู้

ท 1.๑ ม.๓/๑ อ่านออกเสยี งรอ้ ยแกว้ และบทรอ้ ยกรองได้ถูกตอ้ งและเหมาะสมกับเรื่องทอี่ ่าน

ท ๕.๑ ม.๓/2 วเิ คราะห์วถิ ีไทยและคณุ ค่าจากวรรณคดแี ละวรรณกรรมท้องถ่ินท่ีอ่าน

ท 5.1 ม.3/3 สรุปความรแู้ ละข้อคิดจากการอ่านเพ่อื นำไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตจรงิ

๒. สาระสำคัญ
บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก เป็นเรื่องระหว่างนายล้ำกับพระยาภักดีนฤนาถซึ่งเป็นเพื่อนกันมาตั้งแต่

พระยาภักดี ฯ เป็นหลวงกำธร คุณค่าสำคญั ของเรื่องคือมุมมองของคำวา่ เห็นแกล่ ูกของพระยาภักดีนฤนาถกับ
นายล้ำ โดยในตอนแรกนายล้ำมีความเห็นแก่ตัวที่มีความต้องการจะมาอยู่กับแม่ลออ โดยนายล้ำเห็นว่า เป็น
หน้าที่จะต้องมาอยู่ใกล้ชิดลูกสาวผมเพื่อจะได้ช่วยเหลือเจือจานในธุระต่าง ๆ ตามเวลาอันสมควร ท้ายที่สุด
ความเห็นแก่ตัวของนายล้ำเปลี่ยนไปเปน็ ความเห็นแก่ลูกเม่ือนายล้ำได้พบกับแม่ลออและได้รับรู้ความรู้สึกของ
แมล่ ออในฐานะผู้ให้กำเนิด พระนาภักดีนฤนาถก็เห็นแก่ลูก ได้ทำหน้าที่ขัดขวางนายล้ำทุกอย่างเพ่ือให้แม่ลออ
ไมต่ อ้ งอับอายจากสังคม

๓. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
๑. นักเรียนสามารถวเิ คราะห์คณุ ค่าของบทละครพดู เหน็ แก่ลกู ได้ (K)
๒. นกั เรยี นสามารถพูดสรปุ คุณคา่ ของบทละครพดู เหน็ แกล่ ูกได้ (P)
๓. เห็นความสำคญั ของวรรณคดแี ละวรรณกรรม (A)

๔. สาระการเรียนรู้
บทละครพดู เหน็ แก่ลกู

๕. สมรรถนะที่สำคญั ๒.  ความสามารถในการคิด
๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ
๑. ความสามารถในการส่ือสาร
๓. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

๖. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ๒. ซ่อื สตั ย์สุจรติ ๓. มีวินยั ๔. ใฝเ่ รียนรู้
๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ๖. ม่งุ ม่ันในการทำงาน ๗. รกั ความเป็นไทย
๕. อยู่อยา่ งพอเพยี ง
๘. มจี ติ สาธารณะ

๗. กระบวนการจดั การเรียนรู้
คาบเรยี นท่ี 1
ขน้ั นำเขา้ สูบ่ ทเรียน
๑. นักเรียนทำกิจกรรม Check In ผ่านโปรแกรม Google Meet เพื่อเป็นการเตรียมความ

พร้อมกอ่ นเรยี น โดยนกั เรยี นนำเสนอเมนูอาหารกลางวันทีอ่ ยากกินผา่ นรูปภาพพ้นื หลัง จากนั้นครูสุ่มนักเรียน
จากแอปพลเิ คชนั Class 123 จำนวน 2 – 3 คน เพ่อื อธิบายเมนอู าหารของตนเอง

2. นักเรียนร่วมกันสนทนาในประเด็น “หากนักเรียนเป็นแม่ลออ จะทำอย่างไรเมื่อรู้ว่านายล้ำเป็น
พ่อ” โดยครูส่มุ นักเรยี นจำนวน 4 - 5 คน แลกเปลย่ี นความเหน็ เพ่ือโยงเข้าสู่การวิเคราะหค์ ุณค่าของบทละคร
พูดเหน็ แก่ลกู

ขนั้ สอน
3. นักเรียนพิจารณาเนื้อหาบทละครพูดเห็นแก่ลูก โดยแบ่งกลุ่มจำนวน 4 กลุ่ม แต่ละกลุ่มจะได้รับ
เนอ้ื หาทีแ่ ตกต่างกนั จากนนั้ แตล่ ะกลุ่มตอบคำถามในประเด็นต่อไปน้ี

3.1 เนือ้ หาในสว่ นนน้ั เปน็ ส่วนทกี่ ลา่ วถึงสงิ่ ใด
3.2 แปลคำศัพท์ในเร่ืองและพิจารณาวา่ ปัจจุบันยงั ปรากฏใชค้ ำนน้ั หรอื ไมห่ รือเปลยี่ นไปเปน็ คำใด
4. นกั เรียนแบ่งกลมุ่ เพอ่ื อภปิ รายและหาขอ้ สรุปในกลมุ่ ของตนเองผ่าน Breakout Classroom
ข้ันสรปุ
5. นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลการอภิปรายของกลุ่มตนเอง โดยครูผู้สอนเป็นผู้สรุปและให้
คำแนะนำเพ่ิมเติม
คาบเรยี นที่ 2
ขั้นนำเข้าสู่บทเรยี น
1. นักเรียนร่วมกันสนทนาในประเด็น “นักเรียนคิดว่าพระยาภักดีนฤนาถหรอื นายล้ำใครเป็นผู้ทีเ่ ห็น
แก่ลูกที่แท้จริง” โดยนักเรียนผลัดกันแสดงความคิดเห็นเพื่อโยงเข้าสู่การวิเคราะห์คุณค่าของบทละครพูดเห็น
แกล่ ูก
ขั้นสอน
2. นกั เรยี นรว่ มกันเรยี นรู้เรื่องวิเคราะห์คุณค่าของเร่ืองบทละครพดู เร่ืองเหน็ แกล่ กู ผ่านแอปพลิเคชัน

Google Meet โดยนักเรียนบันทึกความรู้ลงในสมุดบันทึก หากนักเรียนมีข้อสงสัยสามารถ

กดปุ่ม เปดิ ไมโครโฟนเพื่อถาม – ตอบระหวา่ งเรยี น

3. นักเรียนทำกิจกรรม มือไว ใจเร็ว โดยนักเรียนแข่งตอบคำถามเกี่ยวกบั บทละครพูดเห็นแก่ลูกผ่าน

เว็บไซต์ crowdcontrolgames.com นักเรียนที่กดปุ่ม Buzzle เร็วที่สุดจำนวนข้อละ 3 คน จะมีสิทธิ์ตอบ

คำถาม ตอบถูกไดค้ ะแนนข้อละ 1 คะแนน ตอบผิดตดิ ลบข้อละ 1 คะแนน นกั เรยี นท่ไี ด้คะแนนสะสมสูงสุด 3

อันดบั แรกจะไดร้ ับคะแนนพิเศษ

ขัน้ สรปุ
4. นักเรยี นทำแบบฝึกหดั Learning Log ผ่านเวบ็ ไซต์ Google Classroom
คาบเรียนท่ี 3
นักเรียนทำชิ้นงาน เรื่อง สรุปบทละครพูดเห็นแก่ลูก ผ่านแอปพลิเคชัน tiktok โดยนักเรียนอัด
วีดิโอพูดสรุปคุณค่าของเรื่องบทละครพูดเห็นแก่ลูก โดยนักเรียนสามารถออกแบบการพูดไดอ้ ย่างอิสระ ความ
ยาวไม่เกิน 3 นาที ส่งผ่านแอปพลิเคชัน tiktok โดยติดแท็ก #สรุปคุณค่าเห็นแก่ลูกครูแจม2021 ภายใน

ระยะเวลาท่ีกำหนด

๘. ส่อื อุปกรณ์ และแหลง่ การเรยี นรู้
๑. เวบ็ ไซต์ Google Meet
2. เวบ็ ไซต์ youtube
3. เวบ็ ไซต์ Google Classroom
4. แอปพลิเคชนั tiktok

๙. การวดั และการประเมนิ ผล

สิ่งที่ต้องวดั วธิ ีวดั เครื่องมอื วัด เกณฑ์การประเมนิ ผล
แบบประเมนิ สมดุ บันทึก
ด้านความรู้ ระดับคุณภาพดีขน้ึ ไป
แบบประเมินช้นิ งาน ผ่านเกณฑ์
๑. นกั เรยี นสามารถ สมดุ บนั ทึก
วเิ คราะห์คุณค่าของบท แบบประเมนิ การทำ ระดบั คุณภาพดีข้นึ ไป
ละครพดู เหน็ แก่ลูกได้ (K) กิจกรรม ผ่านเกณฑ์

ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ ระดับคุณภาพดีข้ึนไป
ผ่านเกณฑ์
๒. นกั เรยี นสามารถพดู ชิน้ งาน เรอ่ื ง สรปุ บท
สรปุ คณุ คา่ ของบทละคร ละครพูดเห็นแก่ลูก
พดู เหน็ แก่ลูกได้ (P)

ดา้ นเจตคติ
๓. เห็นความสำคัญของ ประเมนิ การทำกิจกรรม

วรรณคดแี ละวรรณกรรม
(A)

ลงชื่อ ผสู้ อน/ผ้เู ขียนแผนการจดั การเรยี นรู้
(นายธนวิชญ์ แสงนรนิ ทร์)
ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย

๑๐. ขอ้ เสนอแนะของหัวหน้าสถานศกึ ษา หรอื ผทู้ ่ไี ดร้ ับมอบหมาย (ตรวจสอบ/นเิ ทศ/เสนอแนะ/รับรอง)

องค์ประกอบของแผนการจดั การเรยี นรู้ ( ) ครบถว้ น ( ) ไม่ครบถ้วน

การวเิ คราะหห์ ลกั สตู ร ( ) มี ( ) ไม่มี

กจิ กรรมการเรียนรู้ ( ) สอดคล้องเหมาะสม ( ) ควรปรับปรงุ พัฒนา

ส่อื /แบบฝึกทักษะ ( ) สอดคลอ้ งกับจุดประสงค์การเรียนรู้ ( ) มาก/น้อยเกนิ ไป

เกณฑ์การวัดและประเมนิ ผล ( ) หลากหลายครบถว้ น ( ) ควรปรับปรงุ พัฒนา

อน่ื ๆ

............................................................................................................................. .................................................

............................................................................................................................. .................................................

..............................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. .................................................

ลงช่ือ ผ้ปู ระเมนิ แผนการเรียนรู้
(นางมาริสา อาจจันดา)

ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ

๑๑. บนั ทกึ ผลหลังการจัดการเรยี นรู้
ผลการจดั การเรียนรู้
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
ปัญหา / อุปสรรค
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
ขอ้ เสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ผสู้ อน
(นายธนวชิ ญ์ แสงนรินทร์)
ตำแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย

........./............................/................

รับทราบ
ลงชอ่ื .............................................

(นางทรายทอง ตรสี ตั ยกุล)
ผู้อำนวยการสถานศึกษา

แบบประเมินชน้ิ งาน เรือ่ ง สรปุ บทละครพูดเหน็ แกล่ ูก

คำชี้แจง : เกณฑ์การประเมินช้ินงาน เรื่อง สรุปบทละครพูดเห็นแก่ลูกเป็นเกณฑ์ในการประเมินการนำเสนอ
พูดสรปุ เรอื่ งบทละครพูดเห็นแกล่ กู ของนักเรียนว่าตรงเกณฑ์ในชอ่ งใด

เกณฑ์ในการพิจารณา ดี พอใช้ ปรับปรุง
(๓) (๒) (๑)
๑. ลีลาท่าทางในการพดู
๒. การเรยี บเรียงเน้ือหาสาระของการรายงาน
๓. ความถูกตอ้ งของเน้ือหา
๔. คุณค่าของเรอ่ื งทร่ี ายงาน
๕. ลำดับขั้นตอน (ทักทาย/นำเรอ่ื ง/เน้ือเร่อื ง/สรุป)
๖. การแสดงความคดิ เห็น
๗. การตอบคำถาม
๘. การใชภ้ าษา / ถ้อยคำ
๙. ความต้ังใจ และความสนใจของผู้รายงาน
๑๐. ความตง้ั ใจ และความสนใจของผู้ฟังรายงาน

เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ
๒๕ - ๓๐ ดีมาก
๑๖ - ๒๔ ดี
๑๐ – ๑๕ ปรับปรุง

ลงชอื่ ..............................................
ผู้ประเมิน

เกณฑก์ ารประเมินสมุดจดบันทึก
คำชี้แจง : เกณฑ์การประเมินสมุดจดบันทึกสร้างขึ้นเพื่อให้ครูใช้เป็นเกณฑ์ในการประเมินนักเรียนเป็น
รายบุคคลโดยพจิ ารณาพฤติกรรมของนักเรยี นวา่ ตรงเกณฑ์ในช่องใด

เกณฑ์การใหค้ ะแนน

รายการประเมิน ดมี าก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง
๑. เนอ้ื หา (๑)
(๔) (๓) (๒)
๒. อักขรวิธี เน้ือหาไมส่ อดคลอ้ ง
เนอ้ื หามีความสอดคลอ้ งกับ เนอื้ หามคี วาม เนื้อหามีความ กบั ช่ือเรื่อง
๓. การใช้ภาษา
ช่อื เรื่อง เสนอเนอ้ื หาอยา่ ง สอดคลอ้ งกบั ชอ่ื เร่ือง สอดคล้องกบั ชือ่ เรอ่ื ง ใชค้ ำท่ีถูกตอ้ ง สะกด
๔. การตรงตอ่ เวลา คำ การนั ต์ คำช่อื
๕. ความเป็น สร้างสรรค์ มีประเดน็ นา่ สนใจ และข้อมลู ครบถ้วน เฉพาะตา่ งๆ ได้
ระเบียบ ถูกตอ้ ง ผดิ ๗
มปี ระเดน็ น่าสนใจ และ และขอ้ มลู ครบถว้ น ตำแหนง่ ขึ้นไป

ขอ้ มูลครบถ้วน

ใชค้ ำท่ถี กู ต้อง สะกดคำ ใชค้ ำทีถ่ กู ต้อง สะกด ใชค้ ำทถ่ี ูกตอ้ ง สะกด

การนั ต์ คำช่อื เฉพาะตา่ งๆ คำ การนั ต์ คำชอ่ื คำ การันต์ คำชื่อ

ไดถ้ กู ต้อง เฉพาะต่างๆ ได้ เฉพาะต่างๆ ได้

ถกู ต้อง ผดิ ๕ ถกู ต้อง ผดิ ๗

ตำแหน่ง ตำแหน่ง

ใชภ้ าษาถกู ต้อง สละสลวย ใช้ภาษาถูกตอ้ ง ใช้ภาษาถูกต้อง ใช้ภาษาไม่ถกู ต้อง

ส่ือความหมายชัดเจน การ สละสลวย การลำดับ สละสลวย แต่การ หรอื ไมเ่ หมาะสม

ลำดับความไมว่ กวน ความไม่วกวน ลำดับความวกวน การลำดับความ

วกวน

เขา้ ชั้นเรียน และสง่ งานตรง เข้าชั้นเรียนตรงเวลา เข้าชั้นเรียนไม่ตรง เข้าชั้นเรียนไม่ตรง

เวลาทกี่ ำหนด แต่ส่งงานล่าช้า ไม่ เวลา และส่งงานล่าชา้ เวลา และไมส่ ่งงานท่ี

เกนิ ๒ วนั เกิน ๒ วัน ไดร้ บั มอบหมาย

สะอาด เรียบรอ้ ย ไมม่ รี อย สะอาด เรยี บร้อย มี สะอาด เรยี บร้อย มี ไม่สะอาดเรียบรอ้ ย

ขูด ขดี ฆ่า ลบ แบง่ วรรค รอยขดู ขดี ฆ่า ลบ รอยขดู ขดี ฆา่ ลบ มีรอยขดู ขีด ฆา่ ลบ

ตอนไดเ้ หมาะสม ไม่เกนิ ๓ ตำแหน่ง ไมเ่ กิน ๗ ตำแหน่ง ๗ ตำแหนง่ ขนึ้ ไป

อา่ นง่าย แบ่งวรรคตอนได้

เหมาะสม

เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ
๑๗ - ๒๐ คะแนน อยู่ในเกณฑ์ ดมี าก
๑๓ - ๑๖ คะแนน อยใู่ นเกณฑ์ ดี
๙ - ๑๒ คะแนน อยู่ในเกณฑ์ พอใช้
๕ – ๘ คะแนน อยู่ในเกณฑ์ ควรปรบั ปรงุ

แผนการจดั การเรียนรู้ออนไลน์

กลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย รายวิชาภาษาไทย 5 รหัส ท ๒3101

หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 เรอื่ ง บทละครพดู ส่อื ภาษา เวลา 15 ชว่ั โมง

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 6 สรปุ ความรู้และข้อคิดจากการอ่าน เวลา 2 ชว่ั โมง

สอนสปั ดาห์ท่ี 4 วนั ที่ 28 – 31 มิถนุ ายน 2564 ชนั้ ม.3/3 – 5, 3/8 - 9

..............................................................................................................................................................................

๑. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตัวชีว้ ดั

๑.๑ มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ท. ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความเข้าใจและความคิดไปใช้ในการตัดสินใจแก้ปัญหา

และสร้างวสิ ัยทัศนใ์ นการดำเนนิ ชวี ติ และมนี สิ ัยรักการอ่าน

มาตรฐาน ท. 5.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลงั

ของภาษา ภูมปิ ัญญาทางภาษาและรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบัติของชาติ

๑.๒ ตวั ชว้ี ัด/ผลการเรียนรู้

ท 1.๑ ม.๓/๑ อ่านออกเสยี งรอ้ ยแกว้ และบทรอ้ ยกรองได้ถกู ต้องและเหมาะสมกับเร่ืองท่อี ่าน

ท 5.1 ม.3/3 สรุปความรูแ้ ละข้อคดิ จากการอ่านเพ่ือนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตจรงิ

๒. สาระสำคัญ
บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก เป็นเรื่องระหว่างนายล้ำกับพระยาภักดีนฤนาถซึ่งเป็นเพื่อนกันมาตั้งแต่

พระยาภกั ดี ฯ เป็นหลวงกำธร นายล้ำถกู ไล่ออกจากราชการฐานทจุ รติ และถูกจำคุก 10 ปี พระยาภกั ดี ฯ รับ
อุปการะแม่ลออบุตรีของนายล้ำซึ่งเกิดโดยแม่นวลไว้เป็นบุตรบุญธรรมตั้งแต่แม่ลอออายุเพียง ๒ ขวบ เมื่อแม่
นวลมอบแม่ลออไว้ในอุปการะของพระยาภักดี ฯ ไดไ้ มน่ านกถ็ งึ แกก่ รรม พระยาภักดี ฯ เลยี้ งแมล่ ออด้วยความ
รักความเมตตา อบรมให้เป็นคนดีและบอกให้แม่ลออทราบแต่เพียงว่าตนเป็นบิดาเลี้ยง ส่วนบิดาที่แท้ของแม่
ลออเป็นคนดี ถึงแก่กรรมตั้งแต่แม่ลออยังเล็ก ซึ่งข้อคิดของเรื่องคือไม่มีความความรักและการเสียสละใดที่
บรสิ ทุ ธ์ิและใหค้ วามชมุ่ ชืน่ แกช่ ีวิตได้เทียบเทา่ ความรกั และการเสยี สละระหว่างพ่อกบั ลกู

๓. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
๑. นกั เรยี นสามารถสรุปความรู้และข้อคิดของบทละครพูดเห็นแก่ลกู ได้ (K)
๒. นักเรียนสามารถเขียนสรปุ ความรู้และขอ้ คิดของบทละครพดู เหน็ แก่ลูกได้ (P)
๓. เหน็ ความสำคัญของวรรณคดีและวรรณกรรม (A)

๔. สาระการเรยี นรู้
บทละครพดู เห็นแกล่ กู

๕. สมรรถนะทส่ี ำคัญ ๒.  ความสามารถในการคิด
๑. ความสามารถในการส่ือสาร ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต
๓. ความสามารถในการแกป้ ัญหา

๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

๖. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ๒. ซือ่ สัตย์สุจรติ ๓. มวี นิ ยั ๔. ใฝ่เรยี นรู้
๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ๖. มุง่ ม่ันในการทำงาน ๗. รักความเปน็ ไทย
๕. อย่อู ย่างพอเพียง
๘. มีจิตสาธารณะ

๗. กระบวนการจดั การเรยี นรู้
คาบเรยี นท่ี 1
ข้นั นำเขา้ สู่บทเรียน
๑. นักเรียนทำกิจกรรม Check In ผ่านโปรแกรม Google Meet เพื่อเป็นการเตรียมความ

พร้อมก่อนเรียน โดยให้นักเรียนเปิดกล้องและปิด จากนั้นนักเรียนพูดสรุปบทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูกคน
ละ 1 ประโยค ครูสุ่มนักเรียนจากแอปพลเิ คชัน Class 123 จำนวน 2 – 3 คน เพื่อเป็นตัวอย่างและให้

นกั เรยี นอ่านปากของเพ่อื น ๆ
2. นกั เรียนและครูร่วมกนั อภปิ รายคำตอบเพื่อโยงเข้าสู่เรอ่ื งสรปุ ความรู้และข้อคิด
ข้ันสอน
3. นักเรียนร่วมกันเรียนรู้เรื่อง สรุปความรู้และข้อคิดบทละครพูด เรื่องเห็นแก่ลูก ผ่านแอปพลิเคชัน

Google Meet โดยนักเรียนบันทึกความรู้ลงในสมุดบันทึก หากนักเรียนมีข้อสงสัยสามารถ

กดปุ่ม เปดิ ไมโครโฟนเพ่อื ถาม – ตอบระหว่างเรียน

ข้นั สรปุ
4. นกั เรยี นทำแบบทดสอบหลังเรยี น เรือ่ ง บทละครพดู เห็นแกล่ ูกผ่านระบบ Google Form
คาบเรียนที่ 2
นกั เรยี นทำชิน้ งาน เรื่อง สรปุ ความร้แู ละข้อคดิ จากการอ่าน ผ่านเว็บไซต์ Mindmeister ในประเดน็
ตอ่ ไปน้ี

1) ทม่ี าและประวตั ิผแู้ ตง่
2) ตัวละคร
3) เรอื่ งยอ่
4) คุณค่า
5) ข้อคดิ ของเรื่อง
นกั เรียนสามารถตกแต่งใหส้ วยงาม ส่งงานผ่านแอปพลิเคชนั Line Openchat

๘. สื่อ อุปกรณ์ และแหล่งการเรยี นรู้
๑. เว็บไซต์ Google Meet
2. แอปพลิเคชัน Class 123

3. Google Form
4. เวบ็ ไซต์ Mindmeister
5. แอปพลิเคชนั Line Openchat

๙. การวัดและการประเมินผล

สง่ิ ทต่ี ้องวดั วิธีวัด เคร่ืองมือวัด เกณฑ์การประเมินผล
ระดับคุณภาพดีขน้ึ ไป
ด้านความรู้
ผา่ นเกณฑ์
๑. นักเรยี นสามารถสรปุ การแบบทดสอบหลงั เรียน ระบบแบบทดสอบ
ระดบั คุณภาพดีขึ้นไป
ความรู้และขอ้ คดิ ของบท ออนไลน์ Google Form ผ่านเกณฑ์

ละครพดู เหน็ แกล่ ูกได้ (K) ระดับคุณภาพดีข้นึ ไป
ผ่านเกณฑ์
ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ

๒. นกั เรียนสามารถเขียน ชน้ิ งาน เรอ่ื ง สรุปความรู้ แบบประเมนิ ชนิ้ งาน

สรปุ ความรแู้ ละข้อคิดของ และข้อคิดจากการอา่ น

บทละครพูดเหน็ แกล่ กู ได้

(P)

ดา้ นเจตคติ

๓. เห็นความสำคัญของ ประเมินการทำกจิ กรรม แบบประเมินการทำ

วรรณคดแี ละวรรณกรรม กิจกรรม

(A)

ลงชอื่ ผู้สอน/ผ้เู ขียนแผนการจัดการเรยี นรู้
(นายธนวิชญ์ แสงนรนิ ทร์)
ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย

๑๐. ขอ้ เสนอแนะของหัวหน้าสถานศกึ ษา หรอื ผู้ท่ีได้รับมอบหมาย (ตรวจสอบ/นเิ ทศ/เสนอแนะ/รบั รอง)

องค์ประกอบของแผนการจดั การเรยี นรู้ ( ) ครบถ้วน ( ) ไม่ครบถ้วน

การวเิ คราะห์หลกั สตู ร ( ) มี ( ) ไม่มี

กิจกรรมการเรียนรู้ ( ) สอดคล้องเหมาะสม ( ) ควรปรับปรุงพฒั นา

ส่อื /แบบฝึกทักษะ ( ) สอดคลอ้ งกบั จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ( ) มาก/นอ้ ยเกนิ ไป

เกณฑ์การวดั และประเมนิ ผล ( ) หลากหลายครบถ้วน ( ) ควรปรบั ปรุงพฒั นา

อน่ื ๆ

..............................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. .................................................

............................................................................................................................. .................................................

............................................................................................................................................................................. .

ลงชือ่ ผูป้ ระเมนิ แผนการเรยี นรู้
(นางมารสิ า อาจจันดา)

ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะครชู ำนาญการพิเศษ

๑๑. บนั ทกึ ผลหลังการจดั การเรยี นรู้
ผลการจดั การเรียนรู้
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
ปัญหา / อุปสรรค
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
ขอ้ เสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................

ลงช่ือ ผสู้ อน
(นายธนวชิ ญ์ แสงนรินทร์)
ตำแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย

........./............................/................

รบั ทราบ
ลงชอ่ื .............................................

(นางทรายทอง ตรสี ัตยกุล)
ผูอ้ ำนวยการสถานศึกษา

เกณฑก์ ารประเมินสมดุ จดบันทึก
คำชแี้ จง : เกณฑ์การประเมินพฤติกรรมการเรียนเปน็ รายบุคคลสร้างขึ้นเพ่ือให้ครใู ช้เป็นเกณฑ์ในการประเมิน
นกั เรียนเปน็ รายบุคคลโดยพจิ ารณาพฤติกรรมของนักเรยี นว่าตรงเกณฑ์ในช่องใด

เกณฑ์การใหค้ ะแนน

รายการประเมนิ ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรบั ปรงุ
๑. เนื้อหา (๑)
(๔) (๓) (๒)
๒. อักขรวิธี เน้อื หาไมส่ อดคลอ้ ง
เน้ือหามคี วามสอดคลอ้ งกบั เนือ้ หามคี วาม เน้ือหามีความ กับชอ่ื เรื่อง
๓. การใชภ้ าษา
ชอื่ เรื่อง เสนอเนื้อหาอยา่ ง สอดคล้องกบั ช่ือเร่อื ง สอดคลอ้ งกบั ชื่อเร่ือง ใช้คำทถ่ี ูกต้อง สะกด
๔. การตรงตอ่ เวลา คำ การนั ต์ คำชือ่
๕. ความเปน็ สร้างสรรค์ มปี ระเด็นนา่ สนใจ และขอ้ มลู ครบถ้วน เฉพาะต่างๆ ได้
ระเบยี บ ถูกต้อง ผิด ๗
มีประเด็นน่าสนใจ และ และข้อมลู ครบถ้วน ตำแหน่งข้ึนไป

ข้อมูลครบถว้ น

ใชค้ ำท่ถี กู ต้อง สะกดคำ ใชค้ ำทีถ่ กู ตอ้ ง สะกด ใช้คำท่ีถูกตอ้ ง สะกด

การันต์ คำชื่อเฉพาะต่างๆ คำ การนั ต์ คำช่ือ คำ การนั ต์ คำชอื่

ไดถ้ กู ต้อง เฉพาะต่างๆ ได้ เฉพาะตา่ งๆ ได้

ถูกตอ้ ง ผิด ๕ ถูกต้อง ผิด ๗

ตำแหนง่ ตำแหน่ง

ใช้ภาษาถูกต้อง สละสลวย ใช้ภาษาถกู ต้อง ใชภ้ าษาถกู ต้อง ใชภ้ าษาไม่ถูกตอ้ ง

ส่อื ความหมายชดั เจน การ สละสลวย การลำดบั สละสลวย แต่การ หรอื ไมเ่ หมาะสม

ลำดบั ความไม่วกวน ความไม่วกวน ลำดบั ความวกวน การลำดบั ความ

วกวน

เขา้ ชั้นเรยี น และสง่ งานตรง เข้าชั้นเรียนตรงเวลา เข้าชั้นเรียนไม่ตรง เข้าชั้นเรียนไม่ตรง

เวลาที่กำหนด แต่ส่งงานล่าช้า ไม่ เวลา และสง่ งานลา่ ชา้ เวลา และไม่ส่งงานท่ี

เกิน ๒ วนั เกนิ ๒ วัน ไดร้ บั มอบหมาย

สะอาด เรยี บร้อย ไมม่ ีรอย สะอาด เรียบรอ้ ย มี สะอาด เรียบร้อย มี ไม่สะอาดเรยี บร้อย

ขดู ขดี ฆา่ ลบ แบง่ วรรค รอยขดู ขดี ฆา่ ลบ รอยขูด ขดี ฆ่า ลบ มีรอยขูด ขีด ฆา่ ลบ

ตอนไดเ้ หมาะสม ไมเ่ กนิ ๓ ตำแหนง่ ไม่เกนิ ๗ ตำแหนง่ ๗ ตำแหน่งข้ึนไป

อา่ นงา่ ย แบ่งวรรคตอนได้

เหมาะสม

เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ
๑๗ - ๒๐ คะแนน อย่ใู นเกณฑ์ ดมี าก
๑๓ - ๑๖ คะแนน อยใู่ นเกณฑ์ ดี
๙ - ๑๒ คะแนน อยูใ่ นเกณฑ์ พอใช้
๕ – ๘ คะแนน อยู่ในเกณฑ์ ควรปรบั ปรงุ

เกณฑ์การประเมนิ แบบทดสอบหลังเรยี น
คำชี้แจง : เกณฑ์การประเมินแบบทดสอบหลังเรียนเป็นรายบุคคลสร้างขึ้นเพื่อให้ครูใช้เป็นเกณฑ์ในการ
ประเมนิ นกั เรียนเป็นรายบคุ คลโดยพิจารณาพฤติกรรมของนักเรียนวา่ ตรงเกณฑใ์ นช่องใด

เกณฑ์การประเมนิ ดมี าก (๔) ระดบั คะแนน ควรปรบั ปรุง (๑)
ดี (๓) พอใช้ (๒)

๑.ความถกู ต้องของ ถูกต้องร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป ถกู ต้องร้อยละ ๗๐- ถกู ต้องรอ้ ยละ ถกู ต้องต่ำวา่ ร้อยละ

ใบงาน ๗๙ ขน้ึ ไป ๖๐-๖๙ ข้นึ ไป ๖๐

๒.พฤตกิ รรมของ แสดงออกถึงความต้ังใจ แสดงออกถึงความ แสดงออกถึงความ แสดงออกถึงความ

นักเรยี น ความสนใจและมสี ่วน ต้งั ใจ ความสนใจและ ตัง้ ใจ ความสนใจและ ต้ังใจ ความสนใจ

รว่ มในกิจกรรมการ มสี ่วนรว่ มในกิจกรรม มสี ว่ นร่วมในกจิ กรรม และมสี ว่ นร่วมใน

เรยี นรูบ้ ่อยมาก การเรยี นรู้มาก การเรียนรูเ้ ปน็ บางคร้ัง กิจกรรมการเรียนรู้

น้อย

๓.เวลา - - สง่ ชน้ิ งานภายในเวลา สง่ ชน้ิ งานช้ากว่า

ที่กำหนด กำหนด

เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ
๑๐ ดีมาก
๘ – ๙ ดี
๗ พอใช้
๖ ควรปรับปรุง

แผนการจัดการเรียนรู้ออนไลน์

กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวิชาภาษาไทย 5 รหัส ท ๒3101

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1 เรอื่ ง บทละครพดู สอื่ ภาษา เวลา 15 ชัว่ โมง

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 7 ภาษาบาลี สนั สกฤต ในภาษาไทย เวลา 1 ช่ัวโมง

สอนสปั ดาห์ท่ี 4 วันท่ี 28 – 31 มถิ ุนายน 2564 ชัน้ ม.3/3 – 5, 3/8 - 9

..............................................................................................................................................................................

๑. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชีว้ ัด

๑.๑ มาตรฐานการเรยี นรู้

มาตรฐาน ท 4.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง

ของภาษา ภมู ปิ ัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบตั ิของชาติ

๑.๒ ตัวชีว้ ดั

ท 4.๑ ม.๓/๑ จำแนกและใช้คำภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย

๒. สาระสำคญั
ภาษาต่างประเทศ เข้ามามีบทบาทในภาษาไทยตั้งแต่สมัยอดีตจนถึงปัจจุบัน สาเหตุที่ไทยยืมคำ

ภาษาต่างประเทศมาใช้ เพราะอิทธิพลในหลาย ๆ ด้าน ภาษาบาลี สันสกฤต เป็นภาษาหนึ่งที่เข้ามาปะปนใน
ภาษาไทยโดยมีที่มาจากทางศาสนาเป็นสำคัญ ภาษาบาลีและสันสกฤตมีความคล้ายคลึงกันเป็นอย่างมาก
จึงจำเป็นต้องอาศัยหลักการสังเกต โดยภาษาบาลีจะมีตัวสะกดตัวตามแน่นอน, นิยมใช้ ฬ, ไม่นิยมควบกล้ำ
และอักษรนำ, นิยมใช้ “ริ” ส่วนภาษาสันสกฤตมีสระ ๑๔ ตัว, มีพยัญชนะ ๓๕ ตัว, มีตัวสะกดและตัวตามไม่
แน่นอน, นยิ มใช้ ฑ ฒ, นิยมควบกล้ำและอักษรนำ, นยิ มใช้ รร หนั เป็นตน้

๓. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
๑. นกั เรยี นสามารถบอกท่ีมาของคำภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทยได้ (K)
๒. นักเรยี นสามารถจำแนกท่ีมาของคำภาษาต่างประเทศในภาษาไทยได้ (P)
๓. เหน็ ความสำคัญของการใช้คำภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย (A)

๔. สาระการเรียนรู้
ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย

๕. สมรรถนะทสี่ ำคัญ ๒.  ความสามารถในการคิด
๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๔. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต
๓. ความสามารถในการแกป้ ญั หา
๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

๖. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ๒. ซอ่ื สตั ยส์ จุ ริต ๓. มีวนิ ยั ๔. ใฝเ่ รียนรู้
๖. มุ่งมั่นในการทำงาน ๗. รักความเปน็ ไทย
๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
๕. อยู่อย่างพอเพียง
๘. มจี ติ สาธารณะ

๗. กระบวนการจัดการเรยี นรู้
ขน้ั นำเข้าส่บู ทเรียน
๑. นักเรียนดูคำจำนวน ๕ คู่ทีครูเปิด ได้แก่ วิชา – วิทยา, ติณ – ตฤณ, บุปผา – บุษบา,

รุกข์ – พฤกษ์ และ อสิ รยิ ะ – ไอศวรรย์
๒. นักเรียนจำนวน 2 – 3 คน ที่ครูสุ่มนักเรียนจากแอปพลิเคชัน Class 123 ตอบคำถามใน

ประเดน็ ตอ่ ไปนี้
๒.๑ คำในแต่ละคู่มคี วามหมายเหมือนหรอื ต่างกนั หรือไม่ อย่างไร
๒.๒ คำในแตล่ ะคูม่ คี วามแตกต่างกันอย่างไรบ้าง

๓. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายคำตอบที่นักเรียนแต่ละคนตอบเพื่อนำเข้าสู่บทเรียน เรื่อง ภาษา
บาลีสนั สกฤตในภาษาไทย

ขน้ั สอน
3. นักเรียนร่วมกันเรียนรู้เรื่อง เรื่อง ภาษาบาลีสันสกฤตในภาษาไทย ผ่านแอปพลิเคชัน

Google Meet โดยนักเรยี นครูผสู้ อนแบง่ กลุ่มนักเรียนแบบ Breakout Classroom นักเรยี นแต่ละกลุ่ม

อภปิ รายเกย่ี วกบั หลกั การสังเกตภาษาบาลี สันสกฤต จากคำในขัน้ นำเข้าส่บู ทเรยี น

4. นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลการอภิปรายของกลุ่มตนเอง โดยครูผู้สอนเป็นผู้สรุปและให้
คำแนะนำเพิม่ เติม นักเรยี นสรปุ ความรู้ลงในสมดุ บันทึก

ข้ันสรปุ
5. นักเรียนทำแบบฝึกหดั Learning Log ผ่านเวบ็ ไซต์ Google Classroom

๘. สอื่ อุปกรณ์ และแหล่งการเรยี นรู้
๑. เว็บไซต์ Google Meet
2. แอปพลเิ คชนั Class 123

3. เว็บไซต์ Google Classroom

๙. การวดั และการประเมินผล

สิง่ ที่ต้องวดั วิธวี ัด เครอ่ื งมอื วัด เกณฑ์การประเมนิ ผล
สมุดบนั ทึก แบบประเมนิ สมุดบันทึก ระดับคุณภาพดีขึ้นไป
ดา้ นความรู้
๑. นกั เรยี นสามารถบอก แบบฝกึ หัด แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์
ท่ีมาของคำ Learning Log การทำแบบฝึกหัด
ภาษาตา่ งประเทศใน ระดับคุณภาพดีข้ึนไป
ภาษาไทยได้ (K) กจิ กรรม แบบประเมินกจิ กรรม ผ่านเกณฑ์
Breakout Classroom
ด้านทักษะ/กระบวนการ ระดับคุณภาพดีขน้ึ ไป
๒. นักเรยี นสามารถ ผ่านเกณฑ์
จำแนกท่ีมาของคำ
ภาษาตา่ งประเทศใน
ภาษาไทยได้ (P)

ด้านเจตคติ
๓. เหน็ ความสำคญั ของ
การใช้คำ
ภาษาตา่ งประเทศใน
ภาษาไทย (A)

ลงช่อื ผู้สอน/ผเู้ ขียนแผนการจัดการเรยี นรู้
(นายธนวิชญ์ แสงนรนิ ทร์)
ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย

๑๐. ขอ้ เสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษา หรอื ผูท้ ่ไี ดร้ ับมอบหมาย (ตรวจสอบ/นิเทศ/เสนอแนะ/รบั รอง)

องค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ ( ) ครบถ้วน ( ) ไมค่ รบถ้วน

การวเิ คราะหห์ ลกั สตู ร ( ) มี ( ) ไม่มี

กจิ กรรมการเรียนรู้ ( ) สอดคล้องเหมาะสม ( ) ควรปรบั ปรงุ พฒั นา

ส่อื /แบบฝึกทักษะ ( ) สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ ( ) มาก/น้อยเกนิ ไป

เกณฑ์การวัดและประเมินผล ( ) หลากหลายครบถว้ น ( ) ควรปรบั ปรุงพฒั นา

อน่ื ๆ

............................................................................................................................. .................................................

.................................................................................. ............................................................................................

............................................................................................................................. .................................................

............................................................................................................................. .................................................

ลงช่อื ผู้ประเมนิ แผนการเรียนรู้
(นางมารสิ า อาจจันดา)

ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะครชู ำนาญการพิเศษ

๑๑. บนั ทกึ ผลหลังการจัดการเรยี นรู้
ผลการจดั การเรียนรู้
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
ปัญหา / อุปสรรค
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
ขอ้ เสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ผสู้ อน
(นายธนวชิ ญ์ แสงนรินทร์)
ตำแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย

........./............................/................

รับทราบ
ลงชอ่ื .............................................

(นางทรายทอง ตรสี ตั ยกุล)
ผู้อำนวยการสถานศึกษา

เกณฑก์ ารประเมินสมดุ จดบันทึก
คำชแี้ จง : เกณฑ์การประเมินพฤติกรรมการเรียนเปน็ รายบุคคลสร้างขึ้นเพ่ือให้ครใู ช้เป็นเกณฑ์ในการประเมิน
นกั เรียนเปน็ รายบุคคลโดยพจิ ารณาพฤติกรรมของนักเรยี นว่าตรงเกณฑ์ในช่องใด

เกณฑ์การใหค้ ะแนน

รายการประเมนิ ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรบั ปรงุ
๑. เนื้อหา (๑)
(๔) (๓) (๒)
๒. อักขรวิธี เน้อื หาไมส่ อดคลอ้ ง
เน้ือหามคี วามสอดคลอ้ งกบั เนือ้ หามคี วาม เน้ือหามีความ กับชอ่ื เรื่อง
๓. การใชภ้ าษา
ชอื่ เรื่อง เสนอเนื้อหาอยา่ ง สอดคล้องกบั ช่ือเร่อื ง สอดคลอ้ งกบั ชื่อเร่ือง ใช้คำทถ่ี ูกต้อง สะกด
๔. การตรงตอ่ เวลา คำ การนั ต์ คำชือ่
๕. ความเปน็ สร้างสรรค์ มปี ระเด็นนา่ สนใจ และขอ้ มลู ครบถ้วน เฉพาะต่างๆ ได้
ระเบยี บ ถูกต้อง ผิด ๗
มีประเด็นน่าสนใจ และ และข้อมลู ครบถ้วน ตำแหน่งข้ึนไป

ข้อมูลครบถว้ น

ใชค้ ำท่ถี กู ต้อง สะกดคำ ใชค้ ำทีถ่ กู ตอ้ ง สะกด ใช้คำท่ีถูกตอ้ ง สะกด

การันต์ คำชื่อเฉพาะต่างๆ คำ การนั ต์ คำช่ือ คำ การนั ต์ คำชอื่

ไดถ้ กู ต้อง เฉพาะต่างๆ ได้ เฉพาะตา่ งๆ ได้

ถูกตอ้ ง ผิด ๕ ถูกต้อง ผิด ๗

ตำแหนง่ ตำแหน่ง

ใช้ภาษาถูกต้อง สละสลวย ใช้ภาษาถกู ต้อง ใชภ้ าษาถกู ต้อง ใชภ้ าษาไม่ถูกตอ้ ง

ส่อื ความหมายชดั เจน การ สละสลวย การลำดบั สละสลวย แต่การ หรอื ไมเ่ หมาะสม

ลำดบั ความไม่วกวน ความไม่วกวน ลำดบั ความวกวน การลำดบั ความ

วกวน

เขา้ ชั้นเรยี น และสง่ งานตรง เข้าชั้นเรียนตรงเวลา เข้าชั้นเรียนไม่ตรง เข้าชั้นเรียนไม่ตรง

เวลาที่กำหนด แต่ส่งงานล่าช้า ไม่ เวลา และสง่ งานลา่ ชา้ เวลา และไม่ส่งงานท่ี

เกิน ๒ วนั เกนิ ๒ วัน ไดร้ บั มอบหมาย

สะอาด เรยี บร้อย ไมม่ ีรอย สะอาด เรียบรอ้ ย มี สะอาด เรียบร้อย มี ไม่สะอาดเรยี บร้อย

ขดู ขดี ฆา่ ลบ แบง่ วรรค รอยขดู ขดี ฆา่ ลบ รอยขูด ขดี ฆ่า ลบ มีรอยขูด ขีด ฆา่ ลบ

ตอนไดเ้ หมาะสม ไมเ่ กนิ ๓ ตำแหนง่ ไม่เกนิ ๗ ตำแหนง่ ๗ ตำแหน่งข้ึนไป

อา่ นงา่ ย แบ่งวรรคตอนได้

เหมาะสม

เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ
๑๗ - ๒๐ คะแนน อย่ใู นเกณฑ์ ดมี าก
๑๓ - ๑๖ คะแนน อยใู่ นเกณฑ์ ดี
๙ - ๑๒ คะแนน อยูใ่ นเกณฑ์ พอใช้
๕ – ๘ คะแนน อยู่ในเกณฑ์ ควรปรบั ปรงุ

เกณฑก์ ารประเมนิ แบบฝึกหัด Learning Log
คำชแ้ี จง : เกณฑก์ ารประเมินแบบฝึกหัด Learning Log เปน็ รายบคุ คลสรา้ งขน้ึ เพื่อให้ครูใชเ้ ป็นเกณฑ์ในการ
ประเมินนกั เรียนเปน็ รายบุคคลโดยพิจารณาพฤติกรรมของนักเรียนว่าตรงเกณฑใ์ นช่องใด

เกณฑ์การประเมนิ ดีมาก (๔) ระดบั คะแนน ควรปรบั ปรงุ (๑)
ดี (๓) พอใช้ (๒)

๑.ความถกู ต้องของ ถูกต้องรอ้ ยละ ๘๐ ขึน้ ไป ถกู ต้องรอ้ ยละ ๗๐- ถูกต้องรอ้ ยละ ถกู ต้องตำ่ ว่ารอ้ ยละ

ใบงาน ๗๙ ขึน้ ไป ๖๐-๖๙ ข้ึนไป ๖๐

๒.พฤตกิ รรมของ แสดงออกถึงความต้ังใจ แสดงออกถึงความ แสดงออกถึงความ แสดงออกถึงความ

นกั เรียน ความสนใจและมสี ว่ น ตัง้ ใจ ความสนใจและ ต้งั ใจ ความสนใจและ ตั้งใจ ความสนใจ

รว่ มในกิจกรรมการ มีส่วนรว่ มในกิจกรรม มีส่วนรว่ มในกิจกรรม และมีส่วนรว่ มใน

เรียนรบู้ ่อยมาก การเรียนรมู้ าก การเรียนรู้เป็นบางครั้ง กจิ กรรมการเรยี นรู้

น้อย

๓.เวลา - - ส่งชนิ้ งานภายในเวลา สง่ ชนิ้ งานช้ากว่า

ที่กำหนด กำหนด

เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ
๑๐ ดมี าก
๘ – ๙ ดี
๗ พอใช้
๖ ควรปรบั ปรุง

เกณฑก์ ารประเมินการทำกจิ กรรม Breakout Classroom
คำชี้แจง : เกณฑ์การทำกิจกรรม Breakout Classroom สร้างขึ้นเพื่อให้ครูใช้เป็นเกณฑ์ในการประเมิน
นกั เรียนเป็นรายบคุ คลโดยพิจารณาพฤตกิ รรมของนักเรยี นว่าตรงเกณฑ์ในช่องใด

เกณฑก์ ารประเมิน ระดบั คะแนน
๑. มคี วามร่วมมอื ใน
การทำกจิ กรรม ดมี าก (๔) ดี (๓) พอใช้ (๒) ควรปรบั ปรงุ (๑)
ให้ความร่วมมือในการทำ
๒. มคี วามรบั ผิดชอบ กิจกรรมอย่างดีทุกครั้งด้วย ให้ความรว่ มมือในการทำ ให้ความร่วมมือในการทำ ไม่ให้ความร่วมมือใน
ความเต็มใจ มีความ
๓. มีคุณธรรม กระตือรือร้น ในการเรียนรู้ กจิ กรรม ตอบคำถาม กิจกรรมแต่ไม่ค่อยเต็มใจ การทำกิจกรรมเลย
และตอบคำถามอย่าง
๔. การตรงต่อเวลา สมำ่ เสมอ บา้ งในบางคร้ัง แตย่ งั ต้องมีการยำ้ เตือน
๕. คณุ ภาพของ มีความรับผิดชอบต่อหน้าท่ี
ผลงาน และงานที่ได้รับมอบหมาย ขาดความกระตือรอื รน้
ทุกงานทุกหนา้ ที่
มีความผิดชอบต่องาน มีความรับผดิ ชอบ ไม่มีความรับผิดชอบต่อ
ช่วยเหลือครูและเพื่อนใน
การทำงานไม่ทุจริตใน แ ล ะ ห น ้ า ท ี ่ ท ี ่ ไ ด ้ รั บ ตอ่ งานและหน้าที่ งานและต่อหน้าท่ี
การทำกิจกรรม
เข้าชั้นเรยี นตรงเวลา มอบหมายบางงานบาง ที่ได้รบั มอบหมายอย่างไม่ ทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย

ผลงานเป็นไปตาม หน้าท่ี เต็มใจ
วตั ถุประสงค์ มีความถูกตอ้ ง
และเสรจ็ ภายในเวลาท่ี ไม่ช่วยเหลอื ครูและเพ่อื น ช่วยเหลือครูและเพื่อนใน ไม่ช่วยเหลือครูและ
กำหนด
ในการทำงานไม่ทุจริตใน ก า ร ท ำ ง า น ท ุ จ ริตใน เพื่อนในการทำงาน

การทำกจิ กรรม การทำกจิ กรรม ทุจริตในการทำกจิ กรรม

เข้าชนั้ เรียนชา้ เข้าชัน้ เรยี นช้า ไมเ่ ข้าชนั้ เรยี น

๕ - ๑๐ นาที เกนิ กวา่ ๑๐ นาที

ผลงานเป็นไปตาม ผลงานเปน็ ไปตาม ผลงานไม่เป็นไปตาม

วัตถปุ ระสงค์ มีความถูก วัตถุประสงค์ ไมถ่ กู ตอ้ ง วตั ถุประสงค์ ไม่ถูกต้อง

ต้อง ไมเ่ สร็จภายในเวลา ไมเ่ สรจ็ ภายในเวลาท่ี ไม่เสร็จภายในเวลาท่ี

ที่กำหนด กำหนด กำหนด

เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ
๑๔ - ๑๖ ดีมาก
๑๑ - ๑๓ ดี
๘ – ๑๐ พอใช้
๕ – ๗ ควรปรับปรงุ


Click to View FlipBook Version