The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวันออก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by cr.cultural.lib, 2021-11-22 01:24:42

เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวันออก

เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวันออก

ค�ำ นิยม
ผู้วา่ ราชการจงั หวดั น่าน

จงั หวัดน่าน หรอื นันทบุรศี รนี ครน่าน เมืองเก่า

มีชอ่ื เสียงในเรอ่ ื งของศิลปะ วัฒนธรรม วถิ ีชวี ติ ประเพณี และภูมิปัญญา
ท้องถ่ิ นที่ สืบทอดกันมายาวนานจากรุ่นสู่ รุ่น ดังปรากฏอยู่ ในลวดลาย
บนผนื ผา้ ทส่ี ะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ ความส�ำ คญั และคณุ คา่ ของชา่ งลา้ นนาจากอดตี
จนถึงปัจจุบนั “ชา่ งทอ” เป็นหนึ่งในวชิ า “ชา่ งลา้ นนา” ท่ีมีมาต้ังแต่โบราณ
จากหลักฐานที่ปรากฏในจารกึ พงศาวดาร ตำ�นาน คัมภีรใ์ บลาน และ
วรรณกรรมพ้ืนบา้ นมากมาย ผลผลติ ที่เกิดจากการทอ ย้อม ถัก ปกั ยก จก
มัดหมี่ พิมพ์ลาย ขดิ ลว้ นแสดงสถานภาพทางสงั คมของผู้สวมใส่ อันเป็น
องค์ความรู้และภูมิปัญญาท่ีเป็นมรดกทางวัฒนธรรมอันลำ้�ค่า ที่ควรค่า
แก่การสืบทอดและรกั ษาให้ด�ำ รงอยา่ งยงั่ ยนื เพราะงานชา่ งลา้ นนาไมใ่ ชแ่ ค่
อาชพี ของคนในท้องถ่ินเท่านั้น หากแต่ยังเป็นองค์ความรูแ้ ละภูมิปัญญา
ท่ี สะท้อนถึงอัตลักษณ์ ทางวัฒนธรรมเฉพาะของท้องถ่ิ นและชาติไทย
ด้วยเชน่ กัน

“เสนห่ แ์ หง่ ผนื ผา้ ” อกี มนตเ์ สนห่ ห์ นงึ่ ของ “เสนห่ เ์ มอื งนา่ น”

ด้วยลวดลายสีสันที่ปรากฏบนผ้าทอจงั หวดั น่าน ที่มีความสวยงามโดดเด่น
เป็นอัตลักษณ์ดังท่ีปรากฏในหนังสือ “เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวันออก” น้ี
ท่ีได้รวบรวมผ้าทอของจังหวัดน่าน โดยเฉพาะผ้าซ่ินท่ีมีความสวยงาม
ในกรรมวธิ ีทำ�ให้เกิดลวดลายท่ีสวยงาม อาทิ ซ่ินตีนจก ซ่ินแบบเมืองเงนิ
ซน่ิ ม่าน ซน่ิ ป้อง ซน่ิ ก่าน ซน่ิ เชยี งแสน ท่ีผู้ทอได้ตั้งใจทอด้วยความประณีต
สวยงาม อันสะทอ้ นให้เห็นถึงความคิดทถ่ี า่ ยทอดผา่ นงานหัตถศิลปจ์ นเปน็
อัตลกั ษณ์ชาวเมืองน่าน เป็นมรดกทางวฒั นธรรมที่สืบทอดจากบรรพบุรุษ
มีวธิ ีการและเทคนิคการทอท่ีประณีต มีลวดลายท่ีแตกต่าง สวยงามและ
มคี ุณค่า บง่ บอกวถิ ีของคนพนื้ ถ่นิ ทย่ี งั คงสืบสานรกั ษาวฒั นธรรมการทอผา้
ให้คงอยู่คู่กับชาวจังหวัดน่านและสรา้ งสรรค์ต่อยอดงาน เพื่อสรา้ งงาน
สรา้ งรายได้และท�ำ ให้เกิดมูลค่าเพ่ิมมากขึน้

นายนิพันธ์ บุญหลวง
ผู้วา่ ราชการจงั หวดั น่าน

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก” ก

ค�ำ นิยม
ผู้วา่ ราชการจงั หวดั แพร่

จั งหวั ดแพร่ เป็ นจั งหวั ดหนึ่ งในเขตภาคเหนื อตอนบน ๒
ที่ร�่ำ รวยไปด้วยมรดกทางวัฒนธรรม และภูมิปัญญาพ้ืนบ้าน ซึ่งทุนทาง
วัฒนธรรมต่างๆ เหล่าน้ี มีท้ังมรดกวัฒนธรรมที่จับต้องได้ (Tangible
Cultural Heritage) และมรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ (Intangible
Cultural Heritage) เช่น ประเพณี พิธีกรรมและความเช่ือ เป็นต้น

จงั หวัดแพร่ มีความโดดเด่น และมีมนต์เสน่ห์ทางสุนทรยี ์

ด้ านศิ ลปวัฒนธรรมอย่างหลากหลาย ที่ ควรหลงใหลในหลายๆ เร่อื ง
เชน่ มีโบราณสถาน โบราณวตั ถุอันล�ำ้ ค่า เชน่ พิพิธภัณฑ์โกมลผ้าโบราณ
อำ�เภอลอง วัดพระธาตุช่อแฮ วัดจอมสวรรค์ วัดพระหลวง วัดศรดี อนคำ�
วดั สูงเม่น ห้องภาพโบราณ โรงภาพยนตรเ์ ก่า พิพิธภัณฑ์ท้องถ่ินหลายแห่ง
ซงึ่ สถานท่ี ต่างๆ เหล่าน้ีเป็น ๑ ใน ๑๐ สุดยอด “เที่ยวชุมชน ยลวถิ ี” ระดับ
ประเทศของกระทรวงวฒั นธรรม ประจ�ำ ปี พ.ศ. ๒๕๖๔ เป็นต้น
นอกจากนี้จงั หวัดแพรย่ ังเป็นแหล่งกำ�เนิดของการปลูกต้นห้อม
และนำ�เอาห้อมมาแปรรูปโดยใช้ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ออกมาเป็นรูปแบบ
ผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร ด้านผ้าทอ ผ้าหม้อห้อม อันมีชอ่ื เสียงของภาคเหนือ
ย้อมสีจากใบห้อม สีครามนำ้�เงนิ ผ่านการวจิ ยั จากมหาวทิ ยาลัยศิลปากร
จนเป็นอัตลักษณ์ / เอกลักษณ์ของจังหวัดแพร่ นอกจากน้ี ยังมีผ้าซ่ิน
ตีนจก ลวดลายโบราณจากอ�ำ เภอลอง และอ�ำ เภอต่างๆ ผลติ ภัณฑ์ดังกลา่ ว
สามารถนำ�มาแปรรูปและออกแบบตัดเย็บแบบศิลปวัฒนธรรมรว่ มสมัย
ซึ่ งตรงกั บความต้ องการของผู้ บร โิ ภค และเป็ นท่ี ชื่ นชอบของลู กค้ า
ท้ังนี้บนผืนผ้าทอแต่ละผืนยังมี Story to tale ศิลปะบนผืนผ้าที่สืบสาน
สรา้ งสรรค์ ตอ่ ยอดมรดกวฒั นธรรมอนั ยาวนานมากวา่ ๒๐๐ ปี จากเสน้ ดา้ ย
ท่ีถักทอ ปักจก สรา้ งตกแต่งลวดลายด้วยใจที่ม่ันคงในวถิ ีวฒั นธรรมท่ีควร
อนุรกั ษ์และส่งเสรมิ มรดกวฒั นธรรมภูมิปัญญาด้านผ้าทอเชอ่ื มโยงกับการ
ท่องเท่ียววถิ ีวัฒนธรรมอันล�ำ้ ค่า เพ่ือกระตุ้นเศรษฐกิจฐานรากให้เกิดการ
สรา้ งงาน สรา้ งอาชพี สรา้ งรายได้แก่ประชาชน อันจะนำ�ไปสู่ความม่ันคง
ม่ังคั่งและยั่งยืนสืบต่อไป

นายสมหวงั พ่วงบางโพ
ผู้วา่ ราชการจงั หวดั แพร่

ข “เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

ค�ำ นิยม
ผู้วา่ ราชการจงั หวดั พะเยา

ทุนทางวัฒนธรรมที่มีคุณค่าและสะท้อนให้เห็นถึง

ความเป็นวฒั นธรรมลา้ นนา โดยเฉพาะการทอผ้านั้น นอกจากเป็นการ
ผลิตเครอ่ ื งนุ่งห่ม หนึ่งในปัจจยั สี่ของมนุษย์แล้ว ยังถือเป็นงานศิลปะ
ประเภททัศนศิลป์ เนื่องจากมีการให้สีสัน ลวดลายในผืนผ้าที่ควรได้รบั
การยกย่องและชื่ นชม ต้ องใช้ความขยัน อดทน ความพยายาม
และความประณีต ละเอียดอ่อนในการทอผ้า ให้มีลักษณะโดดเด่น
สวยงาม คงความเป็ นเอกลักษณ์ ท่ี สื บทอดภู มิ ปัญญา ในปัจจุ บัน
ผ้ าทอธรรมชาติ ที่เป็นภูมิปญั ญางานหัตถกรรมที่ไม่สามารถลอกเลยี น
แบบได้ มีคุณสมบตั ิเฉพาะตัวแต่ละท้องถ่ิน เชน่ ลายสัตว,์ ลายน�้ำ ไหล,
ตีนจก, เรขาคณิต, ธรรมชาติ, ส่งิ ของเครอ่ ื งใช้ สีสันจะบง่ บอกรากเหง้า
ที่ มาของชุ มชน ชาติ พั นธุ์ เด่ นชัด จึงเป็ นแหล่งสร้างสรรค์ ผลงาน
ผ้ าทอท่ี โดดเด่ นอี กแหล่ งหนึ่ งของประเทศไทย สามารถพั ฒนา
ให้ เป็ นต้ นทุ นทางการท่องเที่ยวอย่างเป็นรูปธรรมได้

ว ถิ ี คนพะเยา ผ้าทอ ผ้าถ่ิ น เพ่ื อส่งเสรมิ การใช้ผ้าทอ

พ้ืนเมืองของจังหวัดพะเยา การแต่งกายที่เป็นเอกลักษณ์ไทล้ือ คือ
ผ้าซน่ิ ของผู้หญิงไทลื้อท่ีเรยี กว่า “ซน่ิ ตา” ความเด่นอยู่ท่ีรว้ ิ ลายขวาง
สลับสีสดใส และตรงชว่ งกลางมีลวดลายที่ทอด้วยเทคนิคขิด จก เกาะ
ล้วง เป็นที่รูจ้ กั กันว่า “ลายนำ้�ไหล” เป็นเทคนิคที่มีความซบั ซอ้ นมาก
แต่ ทำ �ให้ เกิ ดลวดลาย สี สั นท่ี งดงามแปลกตา เป็ นอั ตลั กษณ์
อั นโดดเด่ นการออกแบบลายผ้ าทอร่วมสมั ยรวมไปถึ งผลิ ตภั ณฑ์
ใหม่ๆ จากผ้ าทอ เพ่ื อให้ ได้ ผลิตภั ณฑ์ ที่ มี คุ ณภาพและมี มาตรฐาน
มีการประยุกต์รูปแบบตามความต้องการของตลาด แต่ก็ยังคงความ
เป็นเอกลักษณ์ของลวดลาย และสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุ มชน
เกิดกิจกรรมการท่องเท่ี ยวเชิงศิลปะ วัฒนธรรม มรดกภูมิปัญญา
และผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยว เพื่อรองรบั นักท่องเที่ยวคุณภาพในกลุ่ม
จงั หวดั ภาคเหนือตอนบน ๒ สง่ ผลต่อการสรา้ งรายได้จากการท่องเที่ยว
ให้กลุม่ ผู้ผลติ ผ้าทอได้อยา่ งยัง่ ยนื

นายโชคดี อมรวฒั น์
ผู้วา่ ราชการจงั หวดั พะเยา

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก” ค

ค�ำ นิยม
ผู้วา่ ราชการจงั หวดั เชยี งราย

ล้านนาตะวันออก เป็นกลุ่มจงั หวัดภาคเหนือตอนบน ๒

ประกอบด้วยจงั หวดั เชยี งราย พะเยา แพร่ น่าน ส�ำ หรบั จงั หวดั เชยี งราย
มปี ระวตั ศิ าสตรค์ วามเปน็ มาอนั ยาวนาน ผูค้ นหลากหลายกลุม่ ชาตพิ นั ธุ์
ไดเ้ ขา้ มาตงั้ ถน่ิ ฐานทร่ี าบลมุ่ แมน่ �้ำ กกและแมน่ �ำ้ โขง เปน็ แหลง่ อารยธรรม
ท่ีส�ำ คัญจนเกิดเอกลกั ษณ์ อัตลกั ษณ์สะท้อนให้เห็นวถิ ีชวี ติ วฒั นธรรม
ประเพณแี ละการแตง่ กายของกลมุ่ ชาตพิ นั ธุ์ การทอผา้ และผา้ ปกั ไดร้ บั การ
สืบทอดมรดกภูมิปญั ญามาจากบรรพบุรุษ ผ้าทอที่เป็นเอกลกั ษณ์ของ
ชนเผ่าเป็นเครอ่ ื งนุ่งห่ม และน�ำ มาประดิษฐเ์ ป็นของใชอ้ ื่นๆ เชน่ กลุม่
ผ้าทอไทยองบ้านสันทางหลวง กลุ่มผ้าทอบ้านหาดบ้าย กลุ่มผ้าทอ
บ้านศรดี อนชยั กลุ่มผ้าทอไทล้ือ ผ้าปักของกลุ่มชาติพันธุ์ม้ง เมี่ยน
อาข่า กะเหรย่ ี ง ฯลฯ ลวดลายอันเกิดจากภูมิปัญญาของกลุ่มชาติพันธุ์
มคี วามงดงาม สามารถน�ำ มาออกแบบไดอ้ ยา่ งหลากหลาย และตดั เยบ็
สวมใส่ได้ในชวี ติ ประจ�ำ วัน เพ่ือการด�ำ รงอยู่ของเอกลักษณ์ อัตลักษณ์
ผ้ าล้ านนาตะวั นออกให้ คงอยู่สืบไป

นายประจญ ปรชั ญส์ กุล
ผู้วา่ ราชการจงั หวดั เชยี งราย

ง “เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

ค�ำ น�ำ

วัฒนธรรม ภูมิปัญญา ของกลุ่มชาติพันธุ์

ทม่ี คี วามหลากหลายในจงั หวดั นา่ น แพร่ พะเยา และเชยี งราย

มีหลายประการ ส่ิงหนึ่งที่โดดเด่นคือ ภูมิปัญญาการถักทอ

การจดั ท�ำ ผนื ผา้ เพอ่ื สวมใสแ่ ละพฒั นาขนึ้ เปน็ ของใชใ้ นชวี ติ ประจ�ำ วนั รวมไปถงึ เครอ่ ื งประดบั

ซงึ่ มีความแตกต่าง หลากหลาย ตามบรบิ ทของแต่ละชาติพันธุ์ เชน่ ไทยวน ไทล้ือ ม้ง เม่ียน

เป็นส่ิงท่ีสะท้อนถึงวถิ ีวัฒนธรรม การพึ่งพาตนเองในการดำ�เนินชีวติ อย่างมีความสุข

และ ในปั จจุ บั นมี การพั ฒนารู ปแบบของการสร้างสรรค์ ให้ เกิ ดความร่วมสมั ย

อั นจะนำ�ไปสู่การสวมใส่ในชวี ติ ประจ�ำ วนั ได้สวยงาม เหมาะสม เพ่ิมมูลค่าทางเศรษฐกิจได้



สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัดน่านตระหนักถึงความสำ�คัญในการสืบสาน

รกั ษา ต่อยอด ศิลปวัฒนธรรมและวถิ ีชวี ติ ท่ีสะท้อนจากภูมิปัญญาการทอผ้า การประดิษฐ์

การสรา้ งผืนผ้าในรูปแบบต่างๆ จากกลุ่มชาติพันธุ์ล้านนาตะวันออก (น่าน แพร่ พะเยา

เชยี งราย) จงึ ไดข้ อรบั งบประมาณจากกลมุ่ จงั หวดั ภาคเหนือตอนบน ๒ ในการด�ำ เนินโครงการ

บูรณาการการท่องเท่ียวกลุม่ จงั หวดั กิจกรรมพัฒนาแหลง่ เรยี นรูม้ รดกวฒั นธรรม

ผ้าลา้ นนาตะวนั ออก กิจกรรมยอ่ ยเผยแพรป่ ระชาสัมพันธผ์ ้าลา้ นนาตะวนั ออก ซงึ่ ได้จดั ท�ำ

หนงั สอื “เสนห่ ภ์ ษู า ลา้ นนาตะวนั ออก” โดยรวบรวมและเผยแพรอ่ งคค์ วามรเู้ รอ่ ื งผา้ ลา้ นนา

ตะวนั ออก ตลอดจนสรา้ งคุณค่าและมูลค่าเพ่ิมของมรดกทางวฒั นธรรมและภูมิปญั ญา

ท้องถ่ิน อีกท้ัง เพ่ือประชาสัมพันธแ์ ละต่อยอดในการพัฒนาผลติ ภัณฑ์ผ้าทอของชุมชนจาก

เรอ่ ื งราวมรดกทางวัฒนธรรมผ้าล้านนาตะวันออกให้สามารถตอบสนองความต้องการ

ของลูกค้า และ นำ�ไปสู่การสรา้ งรายได้สู่ชุมชนอยา่ งยัง่ ยืน



ขอขอบคุณบรรพชนท่ีได้ถ่ายทอดภูมิปัญญา สู่ผู้ถักทอผ้า ช่างประดิษฐ์ผ้า

ปราชญ์ชาวบ้าน ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ที่ได้ให้ข้อมูลองค์ความรูแ้ ละขอขอบคุณผู้ว่าราชการ

จงั หวัดน่าน แพร่ พะเยา เชยี งราย รวมถึงหัวหน้า

ส่ วนราชการ บุ คคลสำ�คั ญ เครอื ข่ายวัฒนธรรม และ

บุคลากรส�ำ นักงานวฒั นธรรมทงั้ ๔ จงั หวดั ทใี่ ห้เกียรติรว่ ม

บันทึกภาพสวมใสผ่ ้ารูปแบบต่างๆ ลงในหนังสือเล่มน้ี

ขอขอบคุณทุกท่าน ทุกหน่วยงานท่ีกรุณาให้ความรว่ มมือ (นายสโรช รตั นมาศ)
ท�ำ ให้การด�ำ เนินงานส�ำ เรจ็ ลุลว่ งทุกประการ วฒั นธรรมจงั หวดั น่าน

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก” จ

สารบญั ก

ค�ำ นิยมจากผู้วา่ ราชการจงั หวดั น่าน ค
ค�ำ นิยมจากผู้วา่ ราชการจงั หวดั แพร่ ง
ค�ำ นิยมจากผู้วา่ ราชการจงั หวดั พะเยา จ
ค�ำ นิยมจากผู้วา่ ราชการจงั หวดั เชยี งราย ฉ
ค�ำ น�ำ 007
สารบญั 008
010
จงั หวดั น่าน 012
วถิ ีความเป็นมาผ้าทอของจงั หวดั น่าน 014
ซน่ิ ตีนจก น่าน 01๕
ซน่ิ ป้อง น่าน 0๑๖
ซน่ิ เชยี งแสน น่าน ๐๑๗
ซน่ิ ไทล้ือทุ่งชา้ ง (ซน่ิ ไทล้ือแบบเมืองเงนิ ) ๐๑๘
ซน่ิ ก่าน ๐๑๙
ซน่ิ ม่าน ๐๒๐
ซน่ิ ลายนำ้�ไหล ๐๒๒
ซน่ิ ค�ำ เคิบ
ซน่ิ โครงสรา้ งพิเศษ ๐๕๐
ชุดล้านนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ
เครอื ขา่ ยวฒั นธรรม และบุคลากร
ส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั น่าน
ท�ำ เนียบผู้ประกอบการผ้าจงั หวดั น่าน

ฉ สารบญั

จงั หวดั แพร่ ๐๕๕ “เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”
วถิ ีความเป็นมาผ้าทอของจงั หวดั แพร่ ๐๕๖
ซน่ิ ตีนจก เมืองลอง ๐๕๘ I
ผ้าหม้อห้อม ๐๖๑
ผ้าก่านคอควายหรอื ซน่ิ แหล้ ๐๖๔
ซน่ิ ตา ๐๖๕
ชุดล้านนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ ๐๖๖
เครอื ข่ายวฒั นธรรม และบุคลากร ๐๘๒
ส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั แพร่
ท�ำ เนียบผู้ประกอบการผ้าจงั หวดั แพร่

จงั หวดั พะเยา ๐๘๗
วถิ ีความเป็นมาผ้าทอของจงั หวดั พะเยา ๐๘๘
ผ้าทอไทล้ือเชยี งค�ำ -เชยี งม่วน ๐๙๒
ชุดล้านนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ ๐๙๖
เครอื ข่ายวฒั นธรรม และบุคลากร ๑๐๘
ส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั พะเยา
ท�ำ เนียบผู้ประกอบการผ้าจงั หวดั พะเยา

จงั หวดั เชยี งราย ๑๑๓
วถิ ีความเปน็ มาผ้าทอของจงั หวดั เชยี งราย ๑๑๔
ซน่ิ ไทล้ือบา้ นหาดบ้าย ๑๑๖
ซน่ิ ไทล้ือเชยี งของ ศรดี อนชยั ๑๑๘
ซน่ิ ไทลื้อเวยี งแก่น ๑๒๐
ชุดล้านนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ ๑๒๒
เครอื ข่ายวฒั นธรรม และบุคลากร ๑๔๓
ส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งราย
ท�ำ เนียบผู้ประกอบการผ้าจงั หวดั เชยี งราย

ภาคผนวก ๑๔๕
ท่ีปรกึ ษา ๑๔๙
บรรณานุกรม ๑๕๑

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

006

น่าน

“แข่งเรอื ลอื เลอ่ื ง เมืองงาชา้ งด�ำ จติ รกรรมวดั ภูมินทร์
แดนดินส้มสีทอง เรอื งรองพระธาตุแชแ่ ห้ง”

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

วถิ ีความเป็นมาผ้าทอ
ของจงั หวดั น่าน

จากเมืองเลก็ ๆ ท่ีอยู่นอกสายตา กลับมาอยู่ในความสนใจด้านการท่องเที่ยวด้วย

ความมีเสน่ห์สงบเรยี บง่าย เสน่ห์เมืองน่านก่อขึ้นจากความหลากหลายของผู้คนที่อพยพ
โยกย้ายกันมาแต่เก่าก่อน ทั้งไทยวน ไทลาว ไทล้ือ ไทยภูเขา ซงึ่ มีการแลกเปล่ียนวฒั นธรรม
เรอ่ ื ยมา สง่ิ ทดี่ งึ ดดู และนา่ สนใจคอื “ผา้ นา่ น” ซงึ่ ถกู ชขู นึ้ มาเปน็ อตั ลกั ษณน์ า่ นจากการทอผา้ ใชก้ ันเอง
จนถึงการใชใ้ นงานประเพณีต่างๆ ท�ำ ให้ผ้าในแต่ละพื้นท่ีของจงั หวัดน่านมีลักษณะเฉพาะตัว
สวยงามต่างกันไป แสดงให้เห็นถึงการรบั รูแ้ ละเข้าใจถึงกระบวนการทางความคิดที่สะท้อน
ถึงสภาพของการด�ำ รงชวี ติ ที่เรยี บง่ายของชาวเมืองน่านภายใต้วัฒนธรรมอันเป็นอัตลักษณ์
เฉพาะตน

ลกั ษณะอันโดดเด่นทางด้านรูปแบบของผ้าทอเมืองน่าน นับเป็นรอ่ งรอยจาก

อดตี ทแ่ี สดงใหเ้ หน็ ถงึ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งกลมุ่ ชาตพิ นั ธตุ์ า่ งๆ ทไ่ี ดอ้ าศยั อยใู่ นพนื้ ทเ่ี มอื งน่าน
โดยเฉพาะกลุ่มชาติพันธุ์ไทยวนและไทลื้อของจงั หวัดน่าน ซงึ่ ในอดีตเจา้ นายเมืองน่านดูแล
ไทลื้อได้อพยพไปถึงเชยี งม่วน เชยี งค�ำ เชยี งของ ก่อนการแบ่งเขตจงั หวดั จากการอยู่อาศัย
รว่ มกัน ได้ก่อให้เกิดการผสมผสานทางวฒั นธรรม

008 ประวตั ิความเป็นมาของการทอผ้า ของจงั หวดั น่าน

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

การทอผา้ ระหวา่ งสองกลุม่ ชาติพนั ธุไ์ ด้หลอ่ หลอม ลวดลายที่ มี ด้ วยกั น ๒ แบบคื อ ลวดลายดั้ งเดิ มมาจาก
ชาวพ้ืนเมืองดั้งเดิม ได้แก่ ผ้าพ้ืน ผ้าขาวม้า ผ้าลายคาดก่านแบบนา่ น
จนเป็นรูปแบบผ้าทอที่มีเอกลักษณ์เด่นชดั ในความเป็นแบบเฉพาะ และลวดลายของ “ผ้าทอลายนํ้าไหล” จากการทอผ้าของชาวไทล้ือท่ี
ของวัฒนธรรมเมืองน่าน ทำ�ให้เกิดการสรา้ งสรรค์เคร่อื งแต่งกาย อพยพย้ายถ่ินเข้ามาอยู่ท่ีบ้านหนองบัว บ้านต้นฮ่างและบ้านดอนมูล
รปู แบบ “ผา้ ซน่ิ เมอื งนา่ น” ขนึ้ มาอยา่ งประณีตสวยงามและทรงคณุ คา่ อำ�เภอท่าวังผา จังหวัดน่าน มาต้ั งแต่ปี พ.ศ. ๒๓๗๙ ได้สืบทอด
อันสะท้อนให้เห็นถึงรูปแบบทางความคิดท่ีถ่ายทอดผ่ านงาน การออกแบบลายผา้ จากรนุ่ สรู่ นุ่ มากวา่ ๑๕๐ ปี และไดม้ กี ารประยกุ ต์
หัตถศิลป์จนได้มาซงึ่ อัตลกั ษณ์ชาวเมืองน่าน ทั้งยงั เป็นเครอ่ ื งหมาย ลวดลายขึ้นใหม่ ดัดแปลงมาจากลายของไทลื้อเดิมจนกลายเป็น
เชงิ สัญลกั ษณ์ทางชาติพันธุท์ ี่บง่ บอกถึงความเป็นมา และสถานะของ ลายนา้ํ ไหล สีสันของผ้ามีสีอ่อนโยน ไม่ฉูดฉาด สะท้อนวถิ ีชวี ติ ของ
ผู้สวมใส่ในอดีตนั้นการทอผ้านับเป็นวถิ ีชวี ติ ท่ีส�ำ คัญประการหนงึ่ ของ ชาวไทลอื้ ท่ีอยู่กันอย่างสงบ เรยี บง่าย
สตรเี มืองน่าน เหมือนกับสตรใี นพื้นท่ีอื่นๆ ของลา้ นนา อันเป็นมรดก
ทางวฒั นธรรมทสี่ บื ทอดมาจากบรรพบุรษุ มวี ธิ กี ารและเทคนิคการทอ
ทปี่ ระณตี มลี วดลายทแี่ ตกตา่ ง และสวยงาม

ผ้าทอเมืองน่าน ใครเห็นต่างก็ต้องหลงเสน่ห์ลวดลาย

และสีสันบนผืนผ้าท่ีไม่มีใครเหมือน ด้วยผ้าที่ทอจากฝ้ายผสานกับ
ภูมิปัญญาท้องถ่ินที่ใช้กรรมวธิ ีการย้อมสีแบบธรรมชาติ ทําให้ได้
ผา้ ฝา้ ยทม่ี สี สี นั สวยงาม สอี อ่ นโยน ไมฉ่ ดู ฉาด ดเู ปน็ ธรรมชาติ นาํ มาทอ
เป็นผ้าซ่ิน เครอ่ ื งนุ่มห่มท่ีสวมใส่ได้ทุกโอกาส ลวดลายของผ้าทอ
ได้บอกเล่าความเป็นมาของวถิ ีชวี ติ คนเมืองน่าน

ประวตั ิความเป็นมาของการทอผ้า ของจงั หวดั น่าน 009

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก” หัวซน่ิ
ตัวซน่ิ
ผ้าซน่ิ ตีนจก น่าน ตีนซน่ิ

ซน่ิ ตีนจก คือ ซน่ิ ท่ีประกอบด้วยโครงสรา้ ง ๓ ส่วน คือ ส่วนหัวซน่ิ ส่วนตัวซน่ิ และ

ส่วนตีนซน่ิ เย็บต่อกัน ส่วนหัวซน่ิ เป็นผ้าพ้ืนสีแดง ๑ ผืน หรอื เป็นผ้าพื้น ๒ ผืน สีแดง และ
สีขาวส่วนตัวซน่ิ เป็นลายขวางเย็บ ๒ ตะเข็บ หรอื ๓ ตะเข็บ ส่วนตีนซน่ิ เป็นลายจก ท่ีทอด้วย
เทคนิคจก จงึ เรยี กวา่ “ตีนจก” ลักษณะพื้นผ้าตรงส่วนตีนจก มี ๒ แบบคือ แบบที่เป็นสีแดง
ท้ังหมดกับแบบท่ีเป็นสีด�ำ และสีแดงอย่างละครง่ ึ โดยมีการจกลวดลายลงเฉพาะในส่วนสีด�ำ
ลวดลายจกมีลักษณะเป็นแบบมาตรฐานของไทยวน คือประกอบด้วยลายหลักซึ่งเป็นลาย
ขนาดใหญ่ ๑ แถว มีลกั ษณะเป็นรูปส่ีเหลย่ี มขนมเปียกปูน เรยี กวา่ “ลายโคม” และมีลาย
ประกอบ ๒ - ๓ แถว
ลายทนี่ ยิ มคอื “ลายขอ” อาจมลี ายแบบชายครยุ เรยี กวา่ “สายยอ้ ย” เปน็ สว่ นลา่ งสุด
หรอื ไมม่ กี ไ็ ด้ ซน่ิ ตนี จกทพ่ี บในเมอื งนา่ นคอ่ นขา้ งมหี ลากหลายรปู แบบ ทง้ั ทที่ อดว้ ยฝา้ ยปนไหม
และนิยมทอด้วยเส้นไหมเงนิ ไหมค�ำ จ�ำ แนกลักษณะเด่นได้เป็น ๓ กลุ่ม ดังนี้

กลุ่มซน่ิ ตีนจกแบบมาตรฐานเมืองน่าน ซน่ิ ท่ีอยู่ในกลุ่มน้ีมีอายุประมาณ

๖๐ - ๑๐๐ ปี เป็นซน่ิ ที่พบมากในจงั หวดั น่าน มีลกั ษณะเป็นซน่ิ ลายขวาง เย็บตะเข็บ ๒ ตะเขบ็
ตัวซ่ินทอด้วยเทคนิคมุกเส้นพุ่งพิเศษ โดยใชเ้ ส้นไหมเงนิ ไหมคำ�มีท้ังท่ีเป็นเส้นโลหะและ
เส้นฝ้ายพันกระดาษสีเงนิ เป็นวัสดุในการทอ เรยี กชอ่ื กันว่า “ซน่ิ ไหมค�ำ ” “ซน่ิ ไหมค�ำ เคิบ”
“ซ่ินคำ�เคิบ” “ตีนจก”หรอื “ซ่ินเคิบ” ลักษณะตีนซ่ินนิยมใชเ้ ทคนิคจกด้วยเส้นใยแวววาว
เชน่ เดียวกับตัวซน่ิ โดยจกบนพ้ืนสีด�ำ ลา่ งสุดเป็นผ้าพ้ืนสีแดง

สายย้อย

010 ผ้าซน่ิ ตีนจก น่าน

กลุ่มซน่ิ ตีนจกแบบเชยี งแสนโบราณ ซน่ิ ที่อยู่ใน “เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

กลุ่มนี้มีอายุประมาณ ๑๐๐ - ๑๕๐ ปีขึ้นไป มีรูปแบบด้ังเดิมที่ใชไ้ หม ผ้าซน่ิ ตีนจก น่าน 011
เป็นวสั ดุในการทอทุกส่วน ส่วนใหญ่นิยมวรรณะสีแดง เย็บ ๓ ตะเข็บ
เรยี กว่า “ซน่ิ ๓ ดูก” ตัวซน่ิ ทอด้วยเทคนิคที่หลากหลาย มีท้ังเทคนิค
มุกเส้นพุ่งพิเศษ เทคนิคมัดก่าน เทคนิคเกาะล้วง และเทคนิคจก
ทอด้วยฟืมหน้าแคบ (กว้างประมาณ ๔๕ เซนติเมตร) จงึ ต้องใช้
ผ้า ๓ ผืน เย็บต่อกันเป็นถุง ส่วนตีนซน่ิ ทอจกด้วยไหม ลักษณะเด่น
ของลวดลายตีนจก เป็นลวดลายโปรง่ จกบนพ้ืนสีแดง แหล่งที่พบ
สามารถแบ่งได้เป็น ๓ แหล่ง ได้แก่ ซน่ิ ตีนจกแบบเชยี งแสนโบราณท่ี
พบในเขตอ�ำ เภอเมืองน่าน ซงึ่ มักเป็นสมบัติของเจา้ นายหรอื คหบดี
ซน่ิ ตนี จกแบบเชยี งแสนโบราณทพี่ บในเขตอ�ำ เภอทา่ วงั ผา อ�ำ เภอปัว
อ�ำ เภอเชยี งกลาง อ�ำ เภอเวยี งสา อ�ำ เภอนาน้อยและอ�ำ เภอนาหม่ืน


กลุ่มซ่ินตีนจกแบบบ้านนาหวาย-ค้างอ้อย

มีอายุประมาณ ๑๐๐ ปี ประกอบด้วยโครงสรา้ งหัว ตัวและตีนซ่ิน
หัวซ่ินเป็นผ้าพ้ืนสีแดง ตัวซ่ินและตีนซ่ินทอต่อเน่ืองกันด้วยฝ้าย
เป็นลายขวาง โดยใชเ้ ทคนิคมุกเส้นพุ่งพิเศษ จก ป่ ันไกและเกาะล้วง
ลกั ษณะเดน่ คอื บรเิวณตนี ซน่ิ ทอเปน็ ลายจก และลายมุกเสน้ พงุ่ พิเศษ
ขนาดใหญ่ มีสีสันสดใสหลากสีเกือบเต็มผืนเลียนแบบโครงสรา้ ง
ตีนจกท่ีประกอบไปด้วยลายหลัก ลายประกอบและลายแบบชาย
ครุย แต่ต่างกันตรงท่ีลักษณะการทอกล่าวคือ ผ้าซน่ิ ๑ ผืน ประกอบ
ด้วยผ้า ๓ ชน้ิ เย็บต่อกัน (เป็นซน่ิ ๓ ตะเข็บ) แต่ละชน้ิ จะทอตัวและ
ตีนซ่นิ ต่อกัน(ไม่ใชก่ ารนำ�ตีนจกมาเย็บประกอบกับตัวซ่นิ แบบซ่นิ
ตีนจกมาตรฐานท่ัวไป) ซ่ินรูปแบบน้ีเป็นซ่ินตีนจกรูปแบบพิเศษ
ท่ี ค่ อนข้ างหายาก พบเฉพาะท่ี บ้ านนาหวาย ตำ �บลบ่ อแก้ ว
บ้านค้ างออ้ ย ต�ำ บลนาทะนุง อ�ำ เภอนาหมื่น จงั หวดั น่าน

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

ซน่ิ ปอ้ ง

ซ่ินป้อง เป็นซ่ินทอด้วย เทคนิคการเก็บขิด ของชาวไทยวน จงั หวัดน่าน เป็นซ่ิน

ที่ทอเป็นลายขวางเย็บ ๒ ตะเข็บ สลับรว้ ิ สีพ้ืนมีชว่ งขนาดเท่ากันตลอด ลายขวางจะทอด้วย
เทคนิคขิด ลักษณะเด่น คือทอเป็นร้วิ เล็ก ทอสลับกับลายมุกคั่น ซึ่งในเมืองน่าน เรยี กว่า
“มุกเส้นพุ่งพิเศษ” เทคนิคเก็บมุก ยกมุก หรอื เก็บดอก มีท้ังท่ีทอด้วยฝ้าย ไหม ไหมปนฝ้าย
และไหมเงนิ ไหมค�ำ โครงสรา้ งของซน่ิ ป้องในอดีตอาจแบ่งได้เป็น ๔ รูปแบบ ดังนี้

๑. ซน่ิ ป้องตาเหลม้ (ออกเสียงวา่ “ต๋า-เลม่ ”) หรอื ซน่ิ ป้องตาโทน (ออกเสียงวา่ “ต๋า-

โตน”) เป็นซน่ิ ท่ีมีลายขวางขนาดเท่ากันมีการสลับสีพ้ืนโดยเว้นชว่ งระยะเท่ากันตลอดทั้งผืน
ลายขวางเรยี กวา่ “ตา” (ออกเสยี งวา่ “ตา๋ ”) จะประกอบดว้ ยลายรว้ ิ ๕ แถวมลี ายรว้ ิ ขนาดใหญ่ หรอื
ลายหลกั อยูต่ รงกลาง และมีลายรว้ ิ ขนาดเลก็ อีก ๔ แถวประกอบสองขา้ ง ข้างละ ๒ แถว ดูรวมๆ
จะเป็ นลายใหญ่ แถวเดี ยวมี ลายแถวสุ ดท้ ายก่ อนถึ งตี นซ่ินที่ มี การจัดโ ค ร ง ส ร ้า ง ต่ า ง จ า ก
ลายอ่ืนๆ ส่วนตีนซ่ินมีลักษณะทอต่อเน่ืองเป็นผ้าพ้ืน ๓ ช่วง ซึ่งเรยี กว่า “ป้าน” “ตีน”
“เล็บ” เช่นเดี ยวกั บท่ี ปรากฏในซ่ิ นม่ าน ส่ วนของคำ�เรยี กช่ื อ “ซ่ิ นป้องตาเหล้ม” หรอื
ซน่ิ ปอ้ งตาโทนน้ี ค�ำ วา่ “เหลม้ ” หรอื “โทน” ทบี่ ง่ บอกวา่ เปน็ ตาเดยี วหรอื แถวเดยี ว โดยไมม่ ลี ายอ่ืน
มาสลบั คั่นอีก

๒. ซน่ิ ป้องตาคีบ (ออกเสียงวา่ “ต๋า-กี้บ”) หรอื ซน่ิ ปอ้ งตาผ่า (ออกเสียงวา่ “ต๋า-ผ่า”)

เปน็ ซน่ิ ทม่ี ลี ายขวางขนาดเลก็ คน่ั สลบั กบั ลายขวางขนาดใหญ่ ลายขวางขนาดเลก็ ชา่ งทออธบิ ายวา่
มคี วามเหมอื นกบั “คบี ” หรอื ขนาบสองขา้ งของลายขนาดใหญ่ หรอื เหมอื นกบั เปน็ ลายทแี่ ทรก
“ผา่ ” กลางเขา้ มาระหวา่ งลายขนาดใหญอ่ กี ทหี นงึ่ ซงึ่ การทอสลบั ลาย หรอื “ตาเลก็ สลบั ตาใหญ่”
จะได้ช่วงจังหวะการจัดวางลายที่เท่ากันตลอดท้ังผืน ส่วนตีนซ่ินมีลักษณะทอต่อเนื่ อง
เป็นผ้าพ้ืน ๓ ชว่ ง เรยี กวา่ “ป้าน” “ตีน” “เลบ็ ” เชน่ เดียวกับที่ปรากฏในซน่ิ ป้องตาเหล้ม หรอื
ซน่ิ ป้องตาโทน

012 ซน่ิ ปอ้ ง น่าน

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

๓. ซน่ิ ปอ้ งเคิบไหมค�ำ ซน่ิ ชนิดนี้เรยี กชอ่ื ตามวสั ดุที่ใชใ้ นการทอวา่ “ซน่ิ ไหมค�ำ ”

“ซน่ิ ไหมค�ำ เคบิ ” หรอื “ซน่ิ ค�ำ เคบิ ” กไ็ ด้ เปน็ ซน่ิ ทม่ี กี ารจดั ระยะโครงสรา้ งลายขวางเทา่ กนั
ตลอดทั้งผืนแบบเดียวกับซน่ิ ป้องตาเหล้ม เพียงแต่นิยมทอด้วยเส้นโลหะ หรอื วัสดุที่
ให้ความแวววาวท่ีเรยี กกันว่า “ไหมเงนิ ไหมค�ำ ” ส่วนค�ำ ว่า “เคิบ” อาจมาจาก ค�ำ ว่า
“เคลอื บ” ตามการออกเสยี งของชาวไทลอ้ื ทง้ั นว้ี สั ดทุ ใ่ี ชใ้ นการทอสว่ นใหญจ่ ะเปน็
ฝ้ายป่ ันกับกระดาษเคลือบสีเงนิ หรอื สีทองพันบนแกนเส้นฝ้าย ส่วนที่เป็น
เส้นโลหะกะไหล่เงนิ หรอื กะไหล่ทองจะพบน้อย เนื่ องจากเป็นวัสดุ
ท่ีมีราคาแพง จึงมักพบเฉพาะในซ่ินของเจ้านายหรอื ชนช้ันสูงในเวยี ง
สว่ นวสั ดกุ ระดาษเคลอื บสเี งนิ หรอื สที องนน้ั เมอ่ื ใชง้ านในระยะเวลานาน
จะเสอ่ื มสภาพไดเ้ รว็ ซงึ่ จะหลดุ เหลอื เพยี งแตเ่ สน้ ใยฝา้ ยดา้ นใน

๔. ซ่ินป้องก่าน คือ ผ้าซ่ินท่ีทอลายมัดก่านสลับ

ลายมุ กเส้นพุ่ งพิเศษหรอื ลายมัดก่านสลับสีพ้ื นก็ได้
โดยลวดลายมั ดก่ านน้ี เป็ นลายเรขาคณิ ตมั ดลาย
เลยี นแบบลายมุก เชน่ ลายขอ ลายกาบ สีที่นิยม
คือ สีม่วง สีบานเยน็ สีเขียว เป็นต้น

013

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

ซน่ิ เชยี งแสน

ซน่ิ เชยี งแสน เป็นซน่ิ ท่ีใชน้ ุ่งในชวี ติ ประจ�ำ วนั ของคนเมืองน่าน ชอ่ื ของซน่ิ แสดง

ถึงแหลง่ ก�ำ เนิดวา่ เป็นแบบดั้งเดิมของชาวไทยวนใน “เชยี งแสน” มาแต่อดีต มีลกั ษณะเป็น
ซ่ินลายขวางเย็บ ๒ ตะเข็บ ใช้ฝ้ายเป็นวัสดุในการทอ สีพ้ืนหลัก คือ สีแดงเข้มหรอื สีคราม
ลายขวางเปน็ สดี �ำ หรอื สคี ราม หรอื สขี าว ทอดว้ ยเทคนคิ ขดั สานธรรมดา มกี ารจดั วางโครงสรา้ ง
ของลวดลายบนตัวซน่ิ เป็นระยะท่ีแน่นอน สม�่ำ เสมอ ประกอบด้วยแถบลายใหญ่ ๑ แถว
สลบั กบั แถบลายเลก็ ๓ แถว ตลอด ตวั ซน่ิ โดยในแถบลายใหญน่ นั้ มลี ายรว้ ิ เลก็ ๆ ๕ แถว จะเปน็
ส่วนประกอบซึ่งลายร้วิ ขนาดเล็กน้ีนิยมใชด้ ้าย เส้นพุ่งท่ีป่ ันหรอื ตีเกลียวสีขาวกับสีคราม
เรยี กวา่ “ป่ ันไก” หรอื ใชด้ ้ายเส้นพุ่งท่ี “มัดก่าน” หรอื “คาดก่าน” ให้เป็น “ลายก่านข้อ” คือ
มัดเป็นข้อๆ ท�ำ ให้ลายรว้ ิ มีลายประสีขาวเป็นจุดๆ ชว่ ยเน้นให้ แถบลายขวางมีความเด่นชดั ขึน้
ตดั กบั สพี นื้ หลกั โครงสรา้ งส�ำ คญั คอื มแี ถบลายใหญเ่ ปน็ แถวสุดทา้ ย ของตวั ซน่ิ กอ่ นถงึ ตนี ซน่ิ
ซงึ่ มีการตกแต่งด้วยเทคนิคป่ ันไกหรอื มัดก่าน ส่วนลา่ งสุดเป็นตีนซน่ิ ทอ ต่อเนื่องจากตัวซน่ิ
นิยมสีด�ำ และสีแดง ส่วนหัวซน่ิ มีการเย็บต่อหัวด้วยผ้าพื้นสีแดง

กระสวยทอผ้า

014 ซน่ิ เชยี งแสน น่าน

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

ซน่ิ ไทลอ้ื ทุ่งชา้ ง
(ซน่ิ ไทลอ้ื แบบเมืองเงนิ )

ซน่ิ แบบเมืองเงนิ คือ ซน่ิ ท่ีพบในกลุ่มวัฒนธรรมไทลื้อแบบเมืองเงนิ สปป.ลาว

(ซึ่งเดิมเป็นเขตเมืองน่าน) ชาวไทล้ือเมืองเงนิ กลุ่มหนึ่งอาศัยเป็นชุมชนใหญ่อยู่ในเขต
อ�ำ เภอทุ่งชา้ งและอ�ำ เภอเฉลมิ พระเกียรติ ซน่ิ ของชาวไทลอ้ื แบบเมืองเงนิ มีลกั ษณะเป็นซน่ิ
ลายขวางมีการเย็บ ตะเข็บ ๒ ตะเข็บ ทอด้วยฝ้ายและไหม นิยมสอดเส้นโลหะท่ี แวววาว
มีการตกแต่งลวดลายบนตัวซน่ิ ด้วยเทคนิคมุกเส้นพุ่งพิเศษและเทคนิคจก ตัวซน่ิ และตีนซน่ิ
ทอต่อเนื่องกัน โดยส่วนตีนซน่ิ น้ีมี ๒ สี คือ สีด�ำ และสีแดง เรยี กวา่ “ตีนด�ำ ” และ “เลบ็ แดง”
ลักษณะตัวซ่ินแบบเมืองเงนิ ที่เป็นมาตรฐานพบว่า ส่วนบนของตัวซ่ินซึ่งเป็นร้วิ ลายขวาง
ท่ีเรยี กวา่ “ท้องซน่ิ ” น้ัน มี ๒ แบบ คือ แบบท่ีเป็นลายรว้ ิ มีขนาดสม�ำ่ เสมอกัน กับอีก
แบบหนึ่ง ที่เป็นลายรว้ ิ ขนาดกวา้ งไม่สม�ำ่ เสมอกัน ลกั ษณะเด่นคือตรงกลางตัวซน่ิ เป็นลายมุก
เส้นพุ่งพิเศษและ ลายจกด้วยฝา้ ยหรอื ไหมสีเหลอื ง ซน่ิ ส�ำ หรบั สตรที ่ียงั ไม่ได้ออกเรอื นหรอื ท่ี
ใชน้ ุ่งในโอกาสพิเศษมักจะมีการตกแต่งลวดลายขนาดใหญ่ทั้งกลางตัวซน่ิ และตีนซน่ิ อีกด้วย
ส่วนซน่ิ ผู้สูงอายุ หรอื “ซน่ิ แม่เรอื น” จะมีการตกแต่งลวดลายน้อยกวา่

ซน่ิ ไทลอ้ื ทุ่งชา้ ง (ซน่ิ ไทลอ้ื แบบเมืองเงนิ ) 015

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

ซน่ิ ก่าน

ซ่ินก่าน คือ ซ่ินท่ีใช้เทคนิคมัดก่านหรอื มัดหมี่เส้นพุ่งให้เป็นลายก่าน หรอื ลายคาด เรยี กว่า “ซ่ินมัดก่าน” “ซ่ินคาดก่าน” พบใน
วฒั นธรรมการทอผ้าไทลอื้ แถบอ�ำ เภอท่าวงั ผา อ�ำ เภอเชยี งกลาง และอ�ำ เภอปัว มีลกั ษณะเป็นซน่ิ ลายขวางมีการเย็บตะเข็บ ๒ ตะเขบ็ ทอด้วย
ฝา้ ยและไหม ลายมัดก่านเป็นลายเรขาคณิตเลยี นแบบลายมุก เชน่ ลายกาบ ลายขอ สีที่นิยมคือ สีม่วง สีคราม สีบานเยน็ สีเขยี ว ซน่ิ ก่านท่ีใช้
เส้นฝ้ายในการมัดก่าน (ด้ายเส้นพุ่ง) มักพบในแถบอ�ำ เภอท่าวงั ผา ส่วนซน่ิ ก่านที่ใชเ้ ส้นไหมในการมัดก่าน (ด้ายเส้นพุ่ง) ซงึ่ ด้ายเส้นยืนอาจใช้
ฝา้ ยหรอื ไหมในการทอก็ได้พบในแถบอ�ำ เภอปวั และอ�ำ เภอเชยี งกลาง โครงสรา้ งของซน่ิ ก่านในอดีตอาจแบ่งได้เป็น ๓ รูปแบบใหญๆ่ ดังน้ี

๑. ซน่ิ ก่านป้อง หรอื ซน่ิ ป้องก่านคือซน่ิ ก่านท่ีทอในโครงสรา้ งซน่ิ ป้องตาเหล้ม

โดยมีลายขวางเป็นลายมัดก่านสลับลายมุกเส้นพุ่งพิเศษ มีช่วงระยะเท่ากันตลอดท้ังผืน
ตีนซน่ิ เป็นสีพ้ืนทอต่อเนื่องจากตัวซน่ิ ลงไปมี “ปา้ น” “ตีน” “เลบ็ ” เชน่ เดยี วกบั ซน่ิ ปอ้ งตาเหลม้
และบางผนื ตนี ซน่ิ อาจเปน็ สเี ดยี วกไ็ ด้ ซน่ิ กา่ นปอ้ งบางผนื มลี กั ษณะพเิ ศษ คอื ไมม่ ลี ายมุกสลบั
แต่จะใชส้ ีพื้นสลบั กับลายมัดก่าน หรอื ใชล้ ายมัดก่านลว้ นสลบั สี เชน่ ลายมัดก่านสีม่วงสลบั กับ
ลายมัดก่านสีบานเยน็ ท�ำ ให้เห็นเป็นลายขวางในโครงสรา้ งแบบซน่ิ ปอ้ งเชน่ กัน

๒. ซ่ินก่านม่าน หรอื ซ่ินม่านก่าน คือ ซ่ินก่านที่ทอในโครงสรา้ งของซ่ินม่าน

โดยมีการจดั วางลายขวางท่ีเป็นลายมัดก่านสลับสีพื้นกับลายมุกเส้นพุ่งพิเศษ ซ่ินบางผืนมี
ท้ังลายมุกสลบั ลายมดั กา่ น และสพี น้ื แตใ่ นบางผนื ใชล้ ายมดั กา่ นสลบั กบั สพี น้ื เทา่ นนั้
ซึ่งแต่ละผืนแม้จะมีรายละเอียดในการทอที่ แตกต่างกันไป แต่ยังคงเห็นเป็นโครงสร้าง
ซ่ินม่านชดั เจน โดยสงั เกตได้จากการจดั สีและกลุม่ ลายขวางบนตัวผ้า

๓. ซ่ินก่านล้วน คือ ซ่ินท่ีเป็นลายมัดก่านตลอดทั้งผืนผ้า โดยไม่มีการจัด

โครงสร้างเป็ นลายขวางตามแบบซ่ิ นป้ อง หร อื ซ่ิ นม่ านแต่ อย่ างใดพบในวั ฒนธรรม
การทอผ้า ไทลื้อแถบอ�ำ เภอปัว นิยมมัดก่านด้วยเส้นไหมย้อมสีม่วง และหรอื สีครามปัว และ
อ�ำ เภอเชยี งกลาง

016 ซน่ิ ก่าน น่าน

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

ซน่ิ ม่าน

เปน็ ซน่ิ ทเ่ี ปน็ เอกลกั ษณ์ดงั้ เดมิ ของเมอื งน่าน ลกั ษณะเปน็ ซน่ิ ลายขวาง

เยบ็ ๒ ตะเข็บ ทอด้วยฝา้ ยปนไหมและนิยมทอลายมุก (ขดิ ) ด้วยใยโลหะ (ไหมเงนิ ไหมค�ำ )
การจัดองค์ประกอบของลายขวางที่เป็นลายมุกสลับกับสีพ้ืนมีการจัดช่วงระยะไม่เสมอกัน
แต่มีโครงสรา้ งที่แน่นอน โดยตัวซน่ิ จะทอต่อเน่ืองกับตีนซน่ิ เย็บต่อหัวซน่ิ ด้วยผ้าพื้นสีแดง

ซน่ิ ม่าน เป็นซน่ิ ท่ีเป็นเอกลกั ษณ์ดั้งเดิม
และใส่กันแพรห่ ลายในเมืองน่าน ลักษณะเป็น
ซน่ิ ลายขวางมีการเย็บตะเข็บ ๒ ตะเข็บ ทอด้วย
ฝ้ายและไหม นิยมทอลายมุกที่เกิดจากเทคนิค
“มุกเส้นพุ่งพิเศษ” ด้วยเส้นไหมเงนิ หรอื ไหมคำ�
ซงึ่ ได้มีการจดั วางโครงสรา้ งประกอบด้วยหัว ตัว
และตีนซ่ิน ตัวซ่ินทอเป็นร้วิ ลายขวางด้วยลาย
มุกสลบั กบั สพี น้ื มกี ารจดั ชว่ งระยะไมส่ ม�ำ่ เสมอกัน
เป็นโครงสรา้ งที่แน่นอนชดั เจน โดยส่วนตัวซน่ิ
ทอต่อเน่ืองกับส่วนตีนซน่ิ ส่วนหัวซน่ิ มีการเย็บ
ต่อด้วยผ้าพ้ืนสีแดง

ลกั ษณะตีนซน่ิ ม่านจะประกอบด้วยส่วนของผ้าพ้ืน ๓ แถว มี ๓ สี เรยี กวา่ “ปา้ น”

“ตนี ” “เลบ็ ” มกั ใชฝ้ า้ ยเปน็ ดา้ ยเสน้ พงุ่ โดยใหส้ ที ต่ี ดั กนั เชน่ สแี ดง สดี �ำ สแี ดง สนี �ำ้ ตาลเขม้ และ
สมี ว่ ง เปน็ ตน้ สหี ลกั ทใี่ ชใ้ นการทอซน่ิ มา่ น คอื สมี ว่ งหรอื สนี �ำ้ เงนิ สว่ นบนของตวั ซน่ิ จะสลบั สี
เชน่ สีม่วง สีบานเยน็ สีด�ำ สีคราม เป็นสีที่นิยม ซงึ่ โดยปกติแลว้ ในค�ำ วา่ “ม่าน” ในภาษาถ่ิน
พ้ืนเมืองน่านหมายถึง “พม่า” แต่ค�ำ เรยี กชอื่ “ม่าน” ในที่นี้ไม่ได้หมายถึง “พม่า” แต่อย่างใด
แต่เป็นการเรยี กชอื่ ซน่ิ ตามลักษณะท่ีเป็นเอกลักษณ์แบบโครงสรา้ งซน่ิ ม่านของจงั หวัดน่าน
สันนิษฐานวา่ ค�ำ วา่ “ม่าน” ท่ีเป็นชอื่ เรยี กซน่ิ น้ี อาจหมายถึงแต่เดิมเป็นซน่ิ ท่ีมีโครงสรา้ งรบั
รูปแบบมาจากท่ีอ่ืน ในอ�ำ เภอสันติสุข อ�ำ เภอเวยี งสาและอ�ำ เภอนาหม่ืน ยังพบวา่ ได้มีการ
ใชเ้ ทคนิคมุกเส้นพุ่งพิเศษ จกและเกาะล้วง ทอตกแต่งเพ่ิมเติมเข้าไปในโครงสรา้ งแบบ
มาตรฐานของซน่ิ ม่าน ท�ำ ให้ซน่ิ ม่านมีลกั ษณะงดงามเป็นพิเศษ

ซน่ิ ม่าน น่าน 017

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

ซน่ิ ลายน�้ำ ไหล

เป็นหนึ่งในภูมิปัญญาผ้าทอของชาวจังหวัดน่าน เกิดจาก
ความคิดสรา้ งสรรค์ของชา่ งทอพ้ืนบ้านชาวน่าน ทอขึ้นด้วยเทคนิค
พิเศษที่เรยี กวา่ “เกาะ” หรอื “ลว้ ง” สันนิษฐานวา่ น่าจะเกิดจาก
จนิ ตนาการของชา่ งทอผ้าที่เลียนแบบจากสายน�ำ้ น่านท่ีไหลคดเคี้ยว
มีความพล้ิวไหวสวยงามเม่ือนำ�มาทอเป็นลวดลายบนผืนผ้า จึงได้
เรยี กว่า “ผ้าลายน้ำ�ไหล” หรอื อีกข้อสันนิษฐานหนึ่ งถึงท่ี มาของ
“ผ้าทอลายน้ำ�ไหล”อาจเป็นการทอตามเอกลักษณ์ของผ้าทอไทลื้ อ
ซงึ่ สืบเชอ้ื สายมาจากชาวไทล้ือในดินแดนสิบสองปันนาประเทศจนี ท่ี
อพยพเขา้ มาตง้ั ถน่ิ ฐานอยทู่ อี่ �ำ เภอทา่ วงั ผา จงั หวดั นา่ น ซงึ่ จะมรี อ่ งรอย
ทปี่ รากฏในจติ รกรรมฝาผนงั วดั ภูมนิ ทรแ์ ละวดั หนองบวั ซงึ่ เปน็ ฝมี ือ
ช ่า ง ส กุ ล ล้ื อ ที่ ไ ด้ ว า ด ล ว ด ล า ย ข อ ง ผ้ า ซ่ิน ข อ ง ผู้ ห ญิ ง ส่ ว น ห นึ่ ง จ ะ มี
ลวดลายผ้าซน่ิ ลายน�ำ้ ไหลประกอบอยู่ในภาพ

018 ซน่ิ ลายน�้ำ ไหล น่าน

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

ซน่ิ ค�ำ เคิบ

ผา้ ซน่ิ ค�ำ เคบิ คอื สุดยอดของซน่ิ เมอื งน่านในอดตี เปน็ ซน่ิ

ท่ีใชเ้ ฉพาะในราชสำ�นักเจา้ ผู้ครองนครน่านเท่านั้น มีความสง่างาม
ด้วยศิลปะการทอท่ีใช้เส้นทองหรอื เส้นเงนิ เป็นเส้นพุ่มในการทอ
ประกอบลวดลายละเอียด เชน่ เก็บขิดขนาดเล็กและเชงิ ซน่ิ มักต่อ
ด้วยตีนจก ซน่ิ ค�ำ เคิบมีท้ัง “เคิบไหมค�ำ ” และ “เคิบไหมเงนิ ” เป็นซน่ิ
ที่มีราคาสูง เป็นท่ีนิยมของคนท่ีชอบเก็บสะสมผ้า

ซ่นิ ที่ทอด้วยเทคนิคการเก็บขิดแบบชาวไทยวน

โดยใชด้ ้ินสีต่างๆ สอดแทรกเป็นเส้นพุ่งตลอดทั้งผืน ลวดลายของ
ซน่ิ จะเปน็ ลายขนาดเลก็ มกี ารจดั ระยะของลายขวางเทา่ ๆ กนั ตลอดผืน
แ บ บ เ ดี ย ว กั บ ซ่ิน ป้ อ ง ต า เ ห ล้ ม เพี ย ง แ ต่ จ ะ นิ ย ม ท อ ด้ ว ย เ ส้ น โ ล ห ะ
หรอื วัสดุที่ให้ความแวววาวที่เรยี กกันว่า “ไหมเงนิ ไหมค�ำ ” ท้ังนี้วัสดุ
ที่ส่วนใหญ่เท่าที่พบเป็นฝ้ายป่ ันกับกระดาษเคลือบสีเงนิ หรอื สีทอง
เป็นเส้นโลหะกะไหลเ่ งนิ หรอื กะไหลท่ อง พบน้อย เน่ืองจากเป็นวสั ดุ
น�ำ เขา้ มรี าคาแพง จงึ มกั พบเฉพาะในผา้ ซน่ิ ของเจา้ นาย หรอื ชนชน้ั สูง
ในเมือง

ซน่ิ ค�ำ เคิบ น่าน 019

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

ซน่ิ โครงสรา้ งพิเศษ

ซน่ิ โครงสรา้ งพเิ ศษ เปน็ ซน่ิ ทมี่ ลี กั ษณะทางดา้ นรปู แบบ

เฉพาะถน่ิ มสี สี นั และลวดลายทหี่ ลากหลายมากกวา่ ซน่ิ ประเภทอนื่ ๆ
จงึ ไม่สามารถจดั กลุ่มอยู่ใน ๖ ประเภทท่ีกล่าวมาแล้วได้ แหล่งที่พบ
ซน่ิ โครงสรา้ งพิเศษในจงั หวดั น่าน ได้แก่ ในเขตอ�ำ เภอท่าวงั ผา และ
อ�ำ เภอนาหม่ืน เป็นซน่ิ ท่ีประกอบด้วยโครงสรา้ งหัว ตัว และตีนซน่ิ
เย็บต่อกัน หัวซน่ิ เป็นผ้าพื้นสีแดง ทอด้วยฝ้าย ตัวซน่ิ ทอด้วยไหม
เ ป็ น ล า ย ข ว า ง เต็มผืนผ้า ตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคมุกเส้นพุ่ง
พิเศษ มัดก่าน จก เกาะลว้ ง และป่ ันไก มี ๓ ตะเข็บ ผ้ากลุม่ น้ีที่พบ
บรเิวณอ�ำ เภอท่าวงั ผา เด่นด้วยเทคนิคมัดก่านสีแดงและสี เขียวเป็ น
ลายหงส์ คาบโคม ส่ วนผ้ าท่ี พบบรเิ วณอำ�เภอนาหมื่น โดดเด่น
ด้วยเทคนิคเกาะล้วงสลับสีสดใสหลากสี นิยมต่อตีนซน่ิ ด้วยผ้าพื้น
สีด�ำ หรอื สีคราม

ซน่ิ จกวเิ ศษ หนึ่งในนางพญาผ้าซน่ิ ลา้ นนา
ทอด้วยเทคนิคโบราณท่ีพบในผ้าทอโบราณในจงั หวดั น่าน

020 ซน่ิ โครงสรา้ งพิเศษ

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

กลุ่มซน่ิ แบบผสมผสาน เป็นซน่ิ ที่มีการทอขึ้นในยุค

รว่ มสมัย หลัง พ.ศ. ๒๕๐๐ เป็นต้นมา โดยการผสมผสานประยุกต์
รู ปแบบของซ่ิ นป้อง ซ่ิ นตี นจก และผ้ ายกแบบราชสำ�นั กสยาม
เขา้ รวมดว้ ยกนั เกดิ เปน็ ซน่ิ ลกั ษณะใหมก่ ลา่ วคอื เปน็ ซน่ิ ทปี่ ระกอบด้ วย
หวั ตวั และตนี หวั ซน่ิ ตอ่ ดว้ ยผา้ พน้ื สแี ดง ตวั และตนี ซน่ิ ทอตอ่ เนอื่ งกนั
โดยใชเ้ ทคนคิ มกุ เสน้ พงุ่ พเิ ศษดว้ ยวสั ดแุ วววาว ทเ่ี รยี กวา่ “ไหมเงนิ ไหมค�ำ ”
มโี ครงสรา้ งตวั ซน่ิ คลา้ ยคลงึ ซน่ิ ปอ้ ง ตนี ซน่ิ เปน็ ผา้ พนื้ สเี ดยี วกบั ตวั ซน่ิ
สีที่นิยมคือสีม่วง สีน้ำ�เงนิ และสีเขียว มีลายชายครุยเลียนแบบลาย
“สายยอ้ ย” ของตนี จก หรอื คลา้ ยลายกรวยเชงิ ในผา้ ยกแบบราชส�ำ นกั สยาม
ซน่ิ แบบผสมผสานทไี่ ดร้ บั ความนิยมอกี แบบหนงึ่ คอื “ซน่ิ ลายน�ำ้ ไหล”
เป็นซ่ินท่ี มีโครงสร้าง เทคนิคและลวดลายเช่นเดียวกับซ่ินป้อง
แตม่ ลี กั ษณะเดน่ ดว้ ยการน�ำ ลวดลายเกาะลว้ งทเี่ รยี กวา่ “ลายน�ำ้ ไหล”
ของซ่ินโบราณมาตกแต่งการทอผ้า ชนิดนี้พบว่าได้รบั การส่งเสรมิ
อัตลกั ษณ์ของจงั หวดั น่านอีกด้วย

ซน่ิ โครงสรา้ งพิเศษ 021

นายนิพันธ์ บุญหลวง

ผู้วา่ ราชการจงั หวดั น่าน

(ชุดไทลอ้ื ประยุกต์ จาก รา้ นแพวผ้าฝ้าย)
สถานที่ : วดั ภูมินทร์

จติ รกรรมฝาผนังภาพกระซบิ รกั “เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

นายนิพันธ์ บุญหลวง

ผู้วา่ ราชการจงั หวดั น่าน

และภรยิ า

นางประภา บุญหลวง

นายกเหลา่ กาชาดจงั หวดั น่าน

(ชาย : ชุดไทลอื้ ประยุกต์
จาก รา้ นแพวผ้าฝา้ ย)

(หญงิ : ชุดผ้าฝา้ ยทอมือ
จาก รา้ นผ้าน่านบุร)ี
สถานท่ี : วดั ภูมินทร์

(ซน่ิ ปอ้ งต่อจก)

ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ขา่ ยวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั น่าน 023

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก” นายนิพันธ์ บุญหลวง

024 ผู้วา่ ราชการจงั หวดั น่าน

(ชุดชาติพันธุอ์ ้ิวเมี่ยนประยุกต์
และเครอ่ ื งประดับ

จาก บรษิ ัท ดอยซลิ เวอรแ์ ฟคทอร่ ีจ�ำ กัด)
สถานท่ี : วดั ภูมินทร์

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

(ผ้าทอมือ
“ลายขอเจา้ ฟา้ สิรวิ ณั ณวรฯี ”)

(ผ้าพาดบ่าลายสัตวโ์ บราณ
บ้านดอนมูล)

นายวบิ ูรณ์ แววบณั ฑิต

รองผู้วา่ ราชการจงั หวดั น่าน
(ชุดชาติพันธุไ์ ทลอ้ื จาก กลุม่ ทอผ้า

สีธรรมชาติบา้ นดอนมูล)
สถานที่ : วดั ภูมินทร์

ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ขา่ ยวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั น่าน 025

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

นายนิวฒั น์ งามธุระ

รองผู้วา่ ราชการจงั หวดั น่าน
และภรยิ า

นางสุภาสินี งามธุระ

(เสื้อไทลอ้ื ประยุกต์ จาก รา้ นแพวผ้าฝา้ ย)
สถานท่ี : วดั ภูมินทร์

(ซน่ิ ปอ้ ง หรอื ซน่ิ ก่านปอ้ ง)
จาก รา้ นผ้าน่านบุร ี

026 ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ขา่ ยวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั น่าน

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

นายชยั นรงค์ วงศ์ใหญ่

รองผู้วา่ ราชการจงั หวดั น่าน
และภรยิ า

นางเหมือนใจ วงศ์ใหญ่

(ชุดไทลอื้ ประยุกต์ จาก รา้ นแพวผ้าฝา้ ย)
สถานที่ : วดั ภูมินทร์

027

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

นายสโรช รตั นมาศ

วฒั นธรรมจงั หวดั น่าน

และภรยิ า

นางสาวจริ ภิญญา ทะปะละ

สถานที่ : วดั ภูมินทร์

(ชุดไทลอื้ ประยุกต์ จาก
รา้ นแพวผ้าฝา้ ย)

(ุชุดชาติพันธุไ์ ทลอื้ จาก กลุม่ ทอผ้า
สีธรรมชาติบ้านดอนมูล

ซน่ิ ม่าน หรอื ซน่ิ ก่านม่าน)

028 ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ข่ายวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั น่าน

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

นายช�ำ นาญ บุดาสา

พัฒนาการจงั หวดั น่าน

(ชุดไทลอื้ ประยุกต์ จาก (ผ้าทอมือ “ลายขอเจา้ ฟา้ สิรวิ ณั ณวรฯี ”)
รา้ นแพวผ้าฝา้ ย) สถานที่ : วดั ภูมินทร์

ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ขา่ ยวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั น่าน 029

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

นางสาวธนวนั ต์ ชุมแสง (ซน่ิ ค�ำ เคิบไหม
ในอดีตเป็นซน่ิ ในราชส�ำ นักน่าน
ประชาสัมพันธจ์ งั หวดั น่าน ของสตรชี นชนั้ ปกครองในน่าน
จาก รา้ นผ้าน่านบุร)ี
(ซน่ิ มัดก่านไหม จาก รา้ นผ้าน่านบุร)ี
สถานท่ี : วดั ภูมินทร์

030 ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ข่ายวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั น่าน

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

นายวรี พงศ์ ฤทธร์ิ อด

หัวหน้าส�ำ นักงานจงั หวดั น่าน

(ชุดไทลอื้ ประยุกต์ จาก (ผ้าทอมือแต่งลายไทลอ้ื )
รา้ นแพวผ้าฝา้ ย) สถานท่ี : วดั ภูมินทร์

ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ข่ายวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั น่าน 031

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

032

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

นางภัทรภร ชยั วฒั นกุล

ผู้อ�ำ นวยการกลุม่ สง่ เสรมิ ศาสนา

ศิลปะและวฒั นธรรม

ส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั น่าน

(ผ้าซน่ิ ไทลอ้ื ขอปอ๊ ก-น�้ำ ไหล (ชุดชาติพันธุไ์ ทลอื้ ประยุกต์
จาก รา้ นผ้าน่านบุร)ี จาก รา้ นผ้าน่านบุร)ี
สถานที่ : วดั ภูมินทร์

ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ขา่ ยวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั น่าน 033

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

นายจริ ศักด์ิ เพชรสุทธ์ิ

ผู้อ�ำ นวยการกลุม่ ยุทธศาสตร์
และเฝา้ ระวงั ทางวฒั นธรรม
ส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั น่าน

และภรยิ า

นางชญากานต์ เพชรสุทธ์ิ

นักวชิ าการวฒั นธรรมช�ำ นาญการ

(ชาย :ผ้าทอมือ“ลายขอเจา้ ฟา้ สิรวิ ณั ณวรฯี ” (ซน่ิ มัดก่าน ไหมแกมฝา้ ย ลายเครอื จา้ ย
หญิง : ชุดชาติพันธุไ์ ทลอื้ ประยุกต์ ค�ำ วา่ “จา้ ย” เป็นภาษาไทลอื้
จาก รา้ นผ้าน่านบุร)ี แปลวา่ เฉยี ง หรอื เอียง
สถานที่ : วดั ภูมินทร์

034 ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ขา่ ยวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั น่าน

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

นางสาวกมลลกั ษณ์ บุญซอ่ื

ผู้อ�ำ นวยการกลุม่ กิจการพิเศษ
ส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั น่าน
(ซน่ิ จกวเิ ศษ หรอื ซน่ิ เชยี งแสนไทยวน

จาก รา้ นผ้าน่านบุร)ี
สถานท่ี : วดั ภูมินทร์

ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ขา่ ยวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั น่าน 035

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก” “เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

นางสาวกัลยา มงคล

หัวหน้าฝ่ายงานบรหิ ารทั่วไป
ส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั น่าน
(ซน่ิ จกวเิ ศษเมืองน่าน หรอื
ซน่ิ เชยี งแสนไทยวน จาก รา้ นผ้าน่านบุร)ี
สถานท่ี : วดั ภูมินทร์

036

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

(ชุดไทลอื้ ประยุกต์ แต่งลายทอมือ
ขอขะแจสีแดง จาก รา้ นแพวผ้าฝ้าย

นางรตั นา สวสั ดิผล

นักวชิ าการวฒั นธรรมช�ำ นาญการ
ส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั น่าน
(ผ้าซน่ิ ไทลอ้ื ขอป๊อก จาก รา้ นผ้าน่านบุร)ี

สถานท่ี : วดั ภูมินทร์

ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ข่ายวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั น่าน 037

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

นางภัทรภร ชยั วฒั นกุล นางรตั นา สวสั ดิผล

ผู้อ�ำ นวยการกลุม่ สง่ เสรมิ ศาสนา นักวชิ าการวฒั นธรรมช�ำ นาญการ

นางสาวกมลลกั ษณ์ บุญซอ่ื ศิลปะและวฒั นธรรม นางสาวกัลยา มงคล

ผู้อ�ำ นวยการกลุม่ กิจการพิเศษ หัวหน้าฝ่ายงานบรหิ ารทั่วไป

038

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

(ผ้าปกั ม้งแต่งลาย (ชุดชาติพันธุม์ ้ง)
ด้วยเหรยี ญเงนิ )

นายเรอื งศิลป์ มหาวงศนันท์

นักวชิ าการวฒั นธรรมปฏิบัติการ

ส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั น่าน

(ผ้าปกั ม้ง) นางสาวจริ นันท์ สิทธติ าค�ำ

นักวชิ าการการเงนิ และบัญชชี �ำ นาญการ

ส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั น่าน

ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ข่ายวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั น่าน 039

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

นายภิรมย์ เทพสุคนธ์

ประธานสภาวฒั นธรรมจงั หวดั น่าน
(เสื้อชาติพันธุไ์ ทลอ้ื ประยุกต์)
สถานที่ : วดั ภูมินทร์

040

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

(ซน่ิ ไหมมัดก่านยกมุก ตัดเยบ็ รว่ มสมัย นางธรี ว์ รา รพิ ล
แบบหน้านาง จาก รา้ นผ้าน่านบุร)ี
ประธานชมรมแม่ญิงน่านนุ่งซน่ิ

(ซน่ิ ไหมเชยี งแสน ลวดลายสีสันทอ
แบบโบราณที่มีอายุเกือบ ๒๐๐ ปี
จาก รา้ นผ้าน่านบุร)ี
สถานท่ี : วดั ภูมินทร์

ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ข่ายวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั น่าน 041

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

สถานท่ี : วดั พระธาตุชา้ งค�ำ้ วรวหิ าร

นางสาวรมย์รวนิ ทร์ อิสรชวี วฒั น์

กรรมการสภาวฒั นธรรมอ�ำ เภอปวั

(ซน่ิ ไหมก่านนางยักษ์ แกะลายจาก (ซน่ิ ไหมก่านนางยักษ์)
ผนังวดั ภูมินทร์ จาก รา้ นผ้าน่านบุร)ี

042 ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ขา่ ยวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั น่าน

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

นางสาวรมยร์ วนิ ทร์ อิสรชวี วฒั น์

กรรมการสภาวฒั นธรรมอ�ำ เภอปวั
และ

นายทัตติ งานอ่อน

พิธกี ร/เครอื ข่ายวฒั นธรรม
(ชาย : ผ้าทอพื้นเมืองเขยี นเทียนตกแต่งด้วยผ้าปักชาวเขา)

(หญิง : ชุดประยุกต์จากซน่ิ มัดก่าน)
จาก รา้ นผ้าน่านบุร ี

สถานท่ี : ลานหน้าพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน

ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ข่ายวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั น่าน 043

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

นางสาวรมย์รวนิ ทร์ อิสรชวี วฒั น์

กรรมการสภาวฒั นธรรมอ�ำ เภอปัว
และ

นายทัตติ งานอ่อน

พิธกี ร/เครอื ข่ายวฒั นธรรม
(ชาย : ผ้าฝ้ายลายตาราง)

(หญิง : ชุดเดรสผ้าฝา้ ย)
จาก รา้ นผ้าน่านบุร ี

สถานที่ : วดั พระธาตุชา้ งค�ำ้ วรวหิ าร

044 ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ข่ายวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั น่าน

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

(เส้ือไทลอ้ื แต่งลายด้วยผ้าทอลายคูบัว)

นายทัตติ งานอ่อน

พิธกี ร/เครอื ข่ายวฒั นธรรม
(ผ้าทอมือแต่งลายด้วยผ้าทอลายน�้ำ ไหล)

จาก รา้ นผ้าน่านบุร ี
สถานท่ี : วดั พระธาตุชา้ งค�้ำ วรวหิ าร

ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ข่ายวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั น่าน 045

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

(เสื้อเขยี นเทียนแต่งด้วย
ผ้าทอลายน�ำ้ ไหล)
จาก รา้ นผ้าน่านบุร ี

นายทัตติ งานอ่อน

พิธกี ร/เครอื ข่ายวฒั นธรรม
สถานที่ : วดั พระธาตุชา้ งค�ำ้ วรวหิ าร

046 ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ข่ายวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั น่าน


Click to View FlipBook Version