The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวันออก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by cr.cultural.lib, 2021-11-22 01:24:42

เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวันออก

เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวันออก

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

(ยา่ นทรวงปุ๋ย (ผ้าคลุมไหลเ่ งนิ ) มีกระบวนการท�ำ
ที่ประณีต ทั้งการปักผ้า หรอื การท�ำ เครอ่ ื งเงนิ มาตกแต่ง

เป็นส่งิ บ่งบอกถึงสถานะทางการเงนิ ของครอบครวั )

นายสมชาย รุง่ รชตะวานิช

ประธานมูลนิธอิ ้ิวเมี่ยนไทย
และภรยิ า

นางพิมพร รุง่ รชตะวานิช

ผู้ท�ำ คุณประโยชน์ต่อกระทรวงวฒั นธรรม
ประจ�ำ ปพี ุทธศักราช ๒๕๖๓
(ชุดชาติพันธุอ์ ้ิวเมี่ยน เต็มยศ และเครอ่ ื งประดับ
จาก บรษิ ัท ดอยซลิ เวอรแ์ ฟคทอร่ ีจ�ำ กัด)
สถานท่ี : วดั ภูมินทร์

ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ข่ายวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั น่าน 047

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

ข้าราชการ เจา้ หน้าท่ี บุคลากรส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั น่าน

กลุม่ สง่ เสรมิ ศาสนา ศิลปะและวฒั นธรรม กลุม่ ยุทธศาสตรแ์ ละเฝา้ ระวงั ทางวฒั นธรรม
ส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั น่าน ส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั น่าน

048 ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ขา่ ยวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั น่าน

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

กลุม่ กิจการพิเศษ ฝา่ ยงฝาน่ายบบรหริ หาิ ราทรงั่วาไปนทั่วไป
ส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั น่าน ส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั น่าน

กลุม่ พิธกี ารศพท่ีได้รบั พระราชทาน
ส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั น่าน

ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ข่ายวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั น่าน 049

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก” กลุม่ ตัดเย็บเสื้อผ้าบา้ นนายาง

ท�ำ เนยี บผปู้ ระกอบการผา้ 65 หมู่ 7 ต.บ่อแกว้ อ.นาหมนื่
จ.นา่ น 55180
จงั หวดั นา่ น โทรศัพท์ 0-5478-7063

กลุม่ ทอผ้าตีนจกบา้ นน�ำ้ ป้ วั กลุม่ ทอผ้าบา้ นทุ่งอ้าว กลุม่ ใต้ฟา้ สีคราม

7 ม.2 ต.น้าํ ป้วั อ.เวยี งสา 92 หมู่ 9 ต.และ อ.ทุ่งชา้ ง 435 หมู่ 1 ต.ปา่ กลาง อ.ปัว
โจท.นรา่ศนัพท5์5๐181-00121-2569 จ.นา่ น 55130 จ.นา่ น 55120
โทรศัพท์ 08-1374-9999 โทรศัพท์ 09-0971-2787

กลุม่ ทอผ้าไทลอ้ื บา้ นเก็ต กลุม่ ทอผ้าบา้ นน�้ำ พาง กลุม่ ทอผ้าครบวงจร

97 หมู่ 2 ต.วรนคร อ.ปัว 30/1 หมู่ 6 ต.หนองแดง อ.แมจ่ ริม 13 หมู่ 7 ต.ปอน อ.ทุง่ ชา้ ง
จโท.นรา่ศนัพ ท5์50182-01180-2964 จโท.นร่าศนัพ ท5์50197-06207-4730 จ.นา่ น 55130
โทรศัพท์ 08-6066-4322

กลุม่ ทอผ้าจนั ทรส์ มการทอ

68 หมู่ 5 ต.ปา่ คา อ.ท่าวงั ผา
จ.นา่ น 55140
โทรศัพท์ 0-5468-5222

กลุม่ ทอผ้าบ้านศาลา

135 หมู่ 2 ต.ศลิ าแลง
อ.ปวั จ.น่าน 55120
โทรศัพท์ 08-6911-7383

กลุม่ ทอผ้าบ้านดอนไชย กลุม่ ตัดเย็บบ้านดอนไชย

85 หมู่ 3 ต.ศลิ าแลง อ.ปวั 99 หมู่ 3 ต.ศลิ าแลง อ.ปวั
จโท.นรา่ศนัพ ท5์50182-09998-7517 จ.น่าน 55120
โทรศัพท์ 08-9854-6903

050 ท�ำ เนียบผู้ประกอบการผ้าจงั หวดั น่าน

อำ�เภอปวั “เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

อำ�เภอภูเพียง กลุม่ ทอผ้าพ้ืนเมืองบา้ นสลี
อำ�เภอเมืองน่าน
146 หมู่ 2 ต.พระพุทธบาท
อ.เชียงกลาง จ.นา่ น 55160
โทรศัพท์ 08-4809-9639

กลุม่ ทอผ้าพ้ืนเมืองลายโบราณ
บ้านป่าฝางสามัคคี

29 หมู่ 13 ต.บ่อสวก
อ.เมอื ง จ.นา่ น 
โทรศัพท์ 08-6776-1159

กลุม่ ทอผ้ายอ้ มสีธรรมชาติ
บา้ นห้วยหาด-หลกั ลาย

28 หมู่ 7 ถ.นำ�ย้ าว-บอ่ เกลอื ต.อวน
โอท.ปรัวศัพจ.ทน์ า่ 0น- 554571320-1608

กลุม่ นารผี ้าทอไทยพวน

159 หมู่ 1 ต.ปา่ คา อ.ทา่ วังผา
จ.น่าน 55140
โทรศัพท์ 06-2229-5596

กลุม่ อาชพี ทอผ้าวดั กู่เส้ียว นาง บุญมี บรคิ ุต กลุม่ บา้ นงานผ้า

160 หมู่ 8 ต.ด่ใู ต้ อ.เมือง 170 หมู่ 2 ต.ศิลาแลง อ.ปวั 53 หมู่ 4 ต.ปา่ คาหลวง อ.บ้านหลวง
จ.น่าน 55000 จ.น่าน 55120 จโท.นรา่ศนัพ ท5์50169-01376-6959
โทรศัพท์ 06-3682-8182 โทรศัพท์ 08-7249-8112

กลุม่ ทอผ้าบา้ นหลา่ ยหนอง กลุม่ ทอผ้าพ้ืนเมืองบา้ นสถาน

45 หมู่ 9 ต.สถาน อ.นาน้อย 14 หมู่ 2 ต.สถาน อ.นาน้อย
จ.น่าน 55150 จ.น่าน 55150
โทรศัพท์ 08-7190-2805 โทรศัพท์ 08-6196-3199

ท�ำ เนียบผู้ประกอบการผ้าจงั หวดั น่าน 051

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก” กลุม่ สตรอี นุรกั ษ์ผ้าน่าน กลุม่ อาชพี สตรที อผ้าบา้ นทุ่งสุน

กลุม่ ปทุมวรรณผ้าทอไทลอ้ื 169 หมู่ 1 ต.ท่งุ ช้าง อ.ทงุ่ ช้าง 156 หมู่ 4 ต.งอบ อ.ท่งุ ช้าง
จ.น่าน 55130 จ.น่าน 55130
14 หมู่ 7 ต.ท่าวังผา อ.ทา่ วังผา โทรศัพท์ 08-1025-8274 โทรศัพท์ 08-9521-5029
จโท.นร่าศนัพ ท5์501-540475-5236
นาง แจม่ ใส ต๊ะแก้ว
กลุม่ ผ้าทอไทลอื้ สีธรรมชาติ กลุม่ สัมมาชพี บ้านนาทะนุง
บา้ นดอนมูล 144 หมู่ 3 ต.ศิลาแลง อ.ปวั
159 หมู่ 3 ต.นาทะนุง อ.นาหมื่น จโท.นรา่ศนัพ ท5์50182-09998-7517
62 หมู่ 2 ต.ศรภี ูมิ อ.ท่าวงั ผา จโท.นรา่ศนัพ ท5์50188-03324-3706
จ.น่าน 55140
โทรศัพท์ 08-0852-7399

กลุม่ มาทิพย์ผ้าทอบ้านดู่ใต้

22 หมู่ 2 ต.ดใู่ ต้ อ.เมอื ง
จโท.นรา่ศนัพ ท5์ม5ือ0ถ0ือ008-1724-6728

กลุม่ ทอผ้าบ้านใหม่

96 หมู่ 8 ต.ส้าน อ.เวยี งสา
จ.น่าน 55110
โทรศพั ท์ 08-5634-7992

กลุม่ สง่ เสรมิ อาชพี
บ้านเชยี งราย

56 หมู่ 8 ต.ดใู่ ต้ อ.เมอื ง
จ.นา่ น 55000
โทรศัพท์ 08-7577-5176

กลุม่ สตรเี ยบ็ ผ้าหม้อห้อม
บา้ นหนองห้า

169 หมู่ 3 ต.ศรษี ะเกษ อ.นาน้อย
จโท.นรา่ศนัพ ท5์501-550478-9154
052 ท�ำ เนียบผู้ประกอบการผ้าจงั หวดั น่าน

นาง ระเบยี บ อินทะรงั ษี “เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

21 หมู่ 1 ต.พระพทุ ธบาท นาง วรติ ตา รวมศิลป์
อ.เชียงกลาง จ.น่าน 55160
โทรศัพท์ 08-1366-1666 103 หมู่ 1 ต.บ่อสวก
อ.เมอื ง จ.น่าน 
วสิ าหกิจชุมชนทอผ้า โทรศัพท์ 08-4524-0339
บา้ นนาปงพัฒนา
นาง อรทัย อินรงั
72 หมู่ 11 ต.บอ่ สวก
โอท.เรมศอื ัพงทจ์.0น่า-5น7  05-3141 167 หมู่ 1 ต.ปา่ กลาง อ.ปัว
จ.นา่ น 55120
นาง บุญเยยี่ ม เทพกอม โทรศพั ท์ 09-0971-2787

29 หมู่ 5 ต.ชนแดน อ.สองแคว นาง อรวรรณ บุณยเสนา
จ.น่าน 55160
โทรศพั ท์ 08-4481-0893 129 หมู่ 3 ต.เมืองจงั อ.ภเู พยี ง
จ.นา่ น 55000
กลุม่ ทอผ้าบ้านส้านเหนือ โทรศพั ท์ 08-6570-1648

126 หมู่ 10 ต.ส้าน อ.เวียงสา นางสาว กฤตติกา พันธวงค์
จ.น่าน 55110
โทรศพั ท์ 08-7175-9579 87 หมู่ 4 ต.เมืองจงั
โอท.รภศเู พัพยีทง์ 0จ8.น-่า3น3 50530-509018
นาง แพว เนตรทิพย์ นาง เรณุกา ธนะสมบตั ิ
นางสาว จุฑามณี ศรเี ทพ
141 หมู่ 1 ต.ศิลาแลง อ.ปัว 32 หมู่ 6 ต.หนองแดง อ.แมจ่ ริม
จ.น่าน 55120 จ.น่าน 55170 16 หมู่ 10 ต.ส้าน อ.เวียงสา
โทรศัพท์ 08-9851-8918 โทรศพั ท์ 09-3310-0496 จ.นา่ น 55110
โทรศพั ท์ 08-2758-8902
วสิ าหกิจชุมชนศรดี าแฮนด์เมด วสิ าหกิจชุมชนทอผ้าบา้ นนามน
053
104 หมู่ 6 ต.ศลิ าแลง อ.ปัว 88 หมู่ 7 ต.บ่อสวก อ.เมอื ง
จ.น่าน 55120 จ.น่าน 
โทรศพั ท์ 09-1632-1623 08-1762-0101
โทรศพั ท์

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก” วสิ าหกิจชุมชนกลุม่ ผ้าทอมือ วสิ าหกิจชุมชนกลุม่ สตร ี
ลายโบราณ ทอผ้าลายโบราณบา้ นรอ้ งแง
นางสาว ณัฐาศินี เสฏฐพงศ์โชค
33 หมู่ 5 ต.บ่อสวก 140 หมู่ 7 ต.วรนคร อ.ปัว
256 หมู่ 3 ต.มว่ งตึ๊ด อ.ภเู พียง อ.เมือง จ.น่าน  จ.น่าน 55120
จ.นา่ น 55000 โทรศัพท์ 08-9999-2742 โทรศัพท์ 08-6188-8306
โทรศัพท์ 08-7187-7880
วสิ าหกิจชุมชนกลุม่ สมใจหมาย
นางสาว รพินพร หาญยุทธ วสิ าหกิจชุมชนกลุม่ สตรที อผ้า ผ้าทอ

156 หมู่ 6 ต.ศิลาแลง อ.ปัว 1ล4า0ยโหบมรู่ 7าณต.วบร้านนครรออ้ .งปแัว ง 31 หมู่ 11 ต.บอ่ สวก
โจท.นรา่ศนัพ ท5์50182-06188-8306 อ.เมือง จ.นา่ น 
จโท.นร่าศนัพ 5ท5์ 102-05479-2098 โทรศัพท์ 08-1-98-5915

วสิ าหกิจชุมชนกลุม่ ทอผ้า กลุม่ ทอผ้าพื้นเมืองบา้ นศรอี ุดม กลุม่ ทอผ้าบา้ นหลา่ ยทุ่ง
บ้านซาวหลวง
หมู่ 1 ต.เชียงกลาง อ.เชียงกลาง 8 หมู่ 3 ต.ปอน อ.ทงุ่ ชา้ ง
166 หมู่ 5 ต.บอ่ สวก โจท.นร่าศนัพ ท5์50186-06182-2913 จ.นา่ น 55130
อ.เมือง จ.นา่ น  โทรศัพท์ 08-4809-1446
โทรศัพท์ 08-9520-7523

วสิ าหกิจชุมชนกลุม่ ทอผ้าปูโต๊ะ วสิ าหกิจชุมชนบา้ นโคมค�ำ
บ้านเชยี งโคม ม่วงตึ๊ด

91 หมู่ 2 ต.เชียงกลาง 152 หมู่ 4 ต.ม่วงตึ๊ด อ.ภเู พยี ง
อ.เชียงกลาง จ.น่าน 55160 จ.น่าน 55000
โทรศัพท์ 0-5036-855 โทรศพั ท์ 08-9854-0387

วสิ าหกิจชุมชนกลุม่ ปวั นพเก้า วสิ าหกิจชุมชนผ้าทอลายน�้ำ ไหล
ผ้าไทย ผสมลายยกมุกบ้านถ่อน หมู่ 1

464 หมู่ 2 ต.เจดยี ช์ ยั อ.ปวั 22 หมู่ 1 ต.จอมพระ อ.ท่าวงั ผา
จ.นา่ น 55120 จ.น่าน 55140
โทรศพั ท์ 08-1954-8340 โทรศพั ท์ 08-6188-3645

วสิ าหกิจชุมชนกลุม่ ผลติ ภัณฑ์ วสิ าหกิจชุมชนผ้าทอแม่สา

จ35ากหผมู่้า1บต้า.นนานนาอ้ รยาอบ.นานอ้ ย 80 หมู่ 3 ต.แมส่ า อ.เวยี งสา
จ.น่าน 55150 จ.นา่ น 55110
โทรศัพท์ 0-5475-4228 โทรศพั ท์ 08-4687-4379

054 ท�ำ เนียบผู้ประกอบการผ้าจงั หวดั น่าน

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

แพร่

“หม้อห้อมไม้สัก ถ่ินรกั พระลอ ชอ่ แฮศรเี มือง
ลอื เลอื่ งแพะเมืองผี คนแพรน่ ี้ใจงาม”

055

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

วถิ ีความเป็นมาผ้าทอ
ของจงั หวดั แพร่

การทอผา้ ของสตรชี าวเมอื งแพร่ ในสมยั กอ่ นจะใชก้ ไี่ มท้ อผา้ ซงึ่ เปน็ วฒั นธรรมพน้ื ถน่ิ ดง้ั เดมิ ของสตรชี าวลา้ นนา การทอผา้

ล้านนาเป็นงานศิลปหัตถกรรมที่ผลิตจากเส้นใยธรรมชาติ ด้วยฝีมือที่ละเอียด ประณีตงดงาม ทำ�ให้ผ้าฝ้ายและผ้าไหมได้รบั การยกย่อง
และยอมรบั ให้เป็นผ้าแห่งวฒั นธรรมเครอ่ ื งนุ่งห่มคู่ล้านนาไทยมาโดยตลอด ดังจะเห็นได้จากความนิยมในการน�ำ เอาผ้าลา้ นนา มาประยุกต์ใช้
เป็นเครอ่ ื งแต่งกายของคนทุกระดับชนั้ ทั้งในชวี ติ ประจ�ำ วนั และโอกาสพิเศษต่างๆ
การทอผ้าถือเป็นงานศิลปหัตถกรรมบน “ผืนผ้า” มีวญิ ญาณ
มีความหมายและมีคุณค่าสะท้อนถึงเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของ
ผู้สวมใส่ โดยเฉพาะผ้าตีนจกเมืองลอง เป็นงานหัตถกรรมที่ลูกหลาน
เมืองลองมีความภาคภูมิใจที่ได้เป็นผู้สืบทอด รูปแบบลวดลาย สีสัน
ท่ีวจิ ิตรสวยงามที่ปรากฏบนผืนผ้าแสดงให้เห็นถึงความละเอียด
ประณีตบรรจง ความต้ังใจ มุ่งม่ัน จิตท่ีเป็นสมาธิ ความอ่อนโยน
สุขุมเยือกเย็น สรา้ งสรรค์งานศิลปะท่ีงดงามทรงคุณค่ามาชา้ นาน
ลวดลายบนผืนผ้าของเมืองลองน้ันจะเต็มไปด้วยเรอ่ ื งราวอันแสดง
ถึงความยึดมั่นในพระพุทธศาสนา รูปสัตว์หรอื ดอกไม้พันธุ์ไม้ต่างๆ
ลว้ นเปน็ ตัวแทนและบง่ บอกถงึ ความสุขเปน็ เรอ่ ื งราวทมี่ าจากวถิ ชี วี ติ
ของชาวเมืองลองท้ังส้ิน

056 วถิ ีความเป็นมาผ้าทอของจงั หวดั แพร่

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

ผ้าที่ทอด้วยเทคนิคท่ีท�ำ ให้ผ้าทอเกิดลวดลาย โดยเพ่ิมด้าย
เส้นพุ่งพิเศษ ท�ำ โดยใชข้ นเม่น ไม้ หรอื น้ิวมือสอดนับด้ายเส้นยืน
แล้วยกขึ้นสอดใส่ด้ายเส้นพุ่งพิเศษเข้าไป ท�ำ ให้เกิดลวดลายเฉพาะ
จุดหรอื เป็นชว่ งๆ และท�ำ ให้สามารถสลบั สีลวดลายได้หลากสี
ผ้าจกนิยมใส่กันมากในกลุ่ มเช้ือสายไทลาว ไทยวน และ
ไทโยนกและนิยมทอผ้าหน้าแคบเพื่อน�ำ ไปต่อเชงิ หน้าซน่ิ จงึ เรยี กวา่
“ซน่ิ ตีนจก” ผ้าจกน้ีมีกระบวนการทอยุ่งยากกว่า มีทั้งชนิดท่ีทอด้วย
ไหมหรอื ฝ้ายและไหมผสมกัน เช่น ใช้ด้ายเส้นยืนเป็นฝ้ายแล้วใช้
เส้นพุ่งเป็นไหม และในแต่ละแถวจะใชฝ้ ้ายหรอื ไหมต่างสีมาจกแทน
สีพ้ืน เพื่อให้เกิดลวดลายสีสัน ดอกดวงต่างๆ ตามท่ีก�ำ หนดไวใ้ นลาย

ผ้าอีกประเภทหนึ่ง ที่มีความเป็นเอกลักษณ์ไม่แพ้ผ้าตีนจก
ก็คือ “ผ้าหม้อห้อม” คือ ผ้าฝ้ายทอมือสีพื้นชนิดหนึ่ง ผ่านกรรมวธิ ี
การย้อมเป็นสีครามหรอื สีนำ้�เงนิ เข้ม โดยใช้ใบครามนำ�ไปต้มใน
หม้อขนาดใหญ่ (ส่วนในภาคอีสานใช้ใบครามหมักผสมกับน้ำ�ด่าง
ให้เป็นสีครามเพ่ือการย้อมติดทนนาน) คนพ้ืนเมืองเรยี กใบคราม
ว่ า “ใบห้อม” ผ้ าที่ ย้ อมด้ วยใบห้ อมจึงเร ยี กว่ า “ผ้ าหม้ อห้อม”
เสอ้ื และกางเกงทต่ี ดั ดว้ ยผา้ หมอ้ หอ้ ม จงึ เรยี กวา่ “เสอื้ หมอ้ ห้อม”และ
“กางเกงหม้อห้อม” ผ้าหม้อห้อมท่ีมีชื่อเสียงเป็นของจังหวัดแพร่
ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ผ้าทอของจังหวัดแพร่ โดยเฉพาะผ้าหม้อห้อม
ของบ้านทุ่งโฮ้ง

วถิ ีความเป็นมาผ้าทอของจงั หวดั แพร่ 057

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

ซน่ิ ตีนจก เมืองลอง

เมืองลอง เป็นชุมชนโบราณอำ�เภอหนึ่งในจังหวัดแพร่ เมืองลองในอดีตเป็นเมืองของชาวไทยวนหรอื ชาวโยนก เน่ืองจากเป็น

เมืองหน้าด่านส�ำ คัญเมืองหนึ่งทางทิศใต้ของอาณาจกั รล้านนา ชาวไทยวนเป็นกลุ่มชนท่ีมีวัฒนธรรมต่างๆ รวมท้ังด้านการแต่งกายเป็นแบบ
เดยี วกบั ชาวไทยวน หรอื ชาวโยนกเมอื งอนื่ ในอาณาจกั รลา้ นนาโดยทวั่ ไป ไทยวนมเี ทคนิคและศลิ ปะในการทอผา้ ในรปู แบบของตนเอง ผู้หญิง
ไทยวนนิยมแต่งกายด้วยผ้าซน่ิ ทอชนิดต่างๆ และผ้าซน่ิ ตีนจกเป็นผ้าซน่ิ ที่ทอขึ้นเพื่อใชใ้ นโอกาสพิเศษ โดยวัสดุที่ใชใ้ นการทอมีท้ังที่เป็น
ฝา้ ยไหม ด้นิ เงนิ ด้นิ ทอง ทอเปน็ ผา้ ลวดลายสวยงาม จงึ ท�ำ ให้ผา้ ทอจงั หวดั แพรม่ ชี อ่ื เสียงสืบทอดตอ่ กันมานานจนเปน็ ทร่ี ูจ้ กั แพรห่ ลาย น่ันคอื
ผ้าตีนจก อ�ำ เภอลอง จงั หวดั แพร่ น่ันเอง

เอกลักษณ์ผ้าซ่นิ ตีนจกเมืองลอง ผ้าซ่นิ ตีนจกเมืองลอง เป็นผ้าทอท่ีมีลวดลายและสีท่ีงดงาม ซงึ่ ผ้าจกเมืองลองในอดีต

ส่วนใหญ่เป็นการทอเพื่อน�ำ มาต่อกับผ้าถุง หรอื ท่ีเรยี กวา่ ซน่ิ ด้วยการน�ำ มาท�ำ เป็นเชงิ ผ้าถุง หรอื ตีนซน่ิ ท�ำ ให้ผ้าซน่ิ มีความโดดเด่น สวยงาม
ด้วยลวดลายจากเชงิ หรอื ตีนซ่ินท่ีนำ�มาต่อนั้นมากย่ิงขึ้น ผ้าซ่ินท่ีต่อเชงิ ด้วยผ้าทอตีนจก จงึ เรยี กกันว่า ซ่ินตีนจก วัสดุที่นำ�มาใชท้ อตีนซ่ิน
เชน่ ไหม เส้นเงนิ เส้นทอง วสั ดุที่น�ำ มาทอส่วนของตีนซน่ิ ยังแสดงถึงฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมของผู้สวมใส่อีกด้วย

058 ซน่ิ ตีนจก เมืองลอง

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

การทอผ้าตีนจกเมืองลอง มีท้ังท่ีทอเพื่อใชเ้ องในครอบครวั ใชเ้ ป็น
เครอ่ ื งนุ่งห่ม หรอื ใชเ้ ป็นผ้าสไบ ส�ำ หรบั ในโอกาสพิเศษในเทศกาล
ต่างๆ หรอื ผู้หญิงมักทอเม่ือใชใ้ นพิธแี ต่งงานของตน หรอื ทอไวใ้ ช้
ปิดหน้าศพ หรอื คลุมศพในงานศพของตน และการทอเพื่อใชใ้ นงาน
พิธกี รรมทางศาสนา และพิธตี ่างๆ เชน่ ท�ำ บุญ พิธกี รรมทางศาสนา
ผู้ทอจะทอขึ้นด้วยความประณีต มีสีสัน ลวดลายงดงามเป็นพิเศษ

ความพิเศษของผ้าจกเมืองลอง อยู่ท่ีการออกแบบ

จดั วางลวดลายไดอ้ ยา่ งอสิ ระ การเรยี กชอื่ ลาย จงึ ไมไ่ ดเ้ รยี กชอ่ื ลายหลกั
ทอี่ ยูต่ รงกลางผา้ เสมอไป เพราะผูท้ ออาจทอสลบั กนั ระหวา่ งลายหลกั
และลายประกอบ และเมื่อทอได้ขนาดความยาวตามท่ีต้องการแล้ว
ถงึ จะจบดว้ ยลวดลายพเิ ศษ ซงึ่ ถอื กนั วา่ เปน็ สว่ นทช่ี า่ งทอผา้ แตล่ ะคน
จะแอบสอดแทรกสัญลักษณ์ของตนไว้ เพื่อให้รู้ได้ว่าผ้าน้ีฝีมือใคร
เปน็ ผทู้ อ ชาวลองจะเรยี กเครอ่ ื งหมายเฉพาะของผทู้ อนว้ี า่ “หมายซน่ิ ”
ส่วนของลวดลาย จะประกอบไปด้วย “ลายหลกั ” และ “ลายประกอบ”
ถ้าลายหลักที่เป็น “ลายดอก” จะมีลวดลายโบราณอยู่ ๑๒ ลาย คือ
๑. ลายนกคู่กินน้ำ�รว่ มต้น ๒. ลายสำ�เภาลอยน้ำ� ๓. ลายนกแยงเงา
(นกส่องกระจก) ๔. ลายขามดแดง ๕. ลายขากำ�ปุ้ง ๖. ลายขอไล่
๗. ลายหม่าขนัด (สับปะรด) ๘. ลายจันแปดกลีบ ๙. ลายดอกจนั
๑๐. ลายขอดาว ๑๑. ลายขอผักกูด ๑๒. ลายดอกขอ

ซน่ิ ตีนจก เมืองลอง 059

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

ลกั ษณะของผา้ ซน่ิ ตนี จกเมอื งลอง มเี อกลกั ษณแ์ ละลกั ษณะเดน่ แบง่ เปน็ ๓ สว่ น คอื

๑. หัวซน่ิ นิยมใชผ้ ้าขาวและแดงต่อกัน
๒. ตัวซน่ิ นิยมวางลายทอให้เกิดลายทางขวางบนล�ำ ตัวของซน่ิ ตามวฒั นธรรมดั้งเดิม
จะเป็นลายขวางบนพ้ืนสีเหลือง
๓. ตีนซน่ิ คือส่วนท่ีเป็นตีนจกที่น�ำ มาต่อกับตัวซน่ิ ทอด้วยเทคนิค จก บนเส้นยืนสีด�ำ
และสีแดง ส่วนลายดอกจะใชส้ ีตัดกันในกลุ่มสีแบบโบราณเอกลักษณ์ด้ังเดิม และจะจบลาย
ดว้ ยหางสะเปาซงึ่ มลี กั ษณะเปน็ แถบเสน้ สี และจะนยิ มจกลวดลายเฉพาะสว่ นครง่ ึ บนของตนี ซน่ิ
โดยเวน้ พ้ืนสีแดงส่วนล่างไว้

ในโอกาสพิเศษสตรชี ้ันสูง กลุ่ มชนชั้นปกครองในเมืองนคร เมืองลองและ

เมอื งต้า ผูส้ วมใส่ผา้ ซน่ิ ตีนจกน้ัน จะสวมใส่เพอื่ แสดงสถานภาพทางสงั คมของตนเอง วสั ดุทใี่ ช้
ในการทอมีทั้งที่เป็นฝ้าย ไหม ไหมเงนิ ไหมค�ำ ทอเป็นผ้าลวดลายสวยงาม สีสันวจิ ติ รบรรจง
ตามท่ีปรากฏบนผืนผ้า แสดงให้เห็นถึงความละเอียด ประณีต ความตั้งใจมุ่งมั่น มีสมาธิ
ในการสรา้ งสรรค์จนิ ตนาการลวดลายในทุกส่วนของการทอ

060 ซน่ิ ตีนจก เมืองลอง

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

ผ้าหม้อห้อม

ในปจั จุบนั แหลง่ ผลติ เส้ือผ้าหม้อห้อมอยู่ท่ี “บา้ นทุ่งโฮง้ ต�ำ บลทุ่งโฮง้ อ�ำ เภอเมืองแพร”่ เป็นแหลง่ ผลติ ท่ีใหญ่ที่สุดและมีชอ่ื เสียงท่ีสุด
ประวตั ิของบ้านทุ่งโฮง้ ตามค�ำ บอกเลา่ ของผู้เฒ่าผู้แก่ในหมู่บา้ นเลา่ วา่ บ้านทุ่งโฮง้ เป็นหมู่บ้านของชาว “ไทพวน” ท่ีถูกกวาดต้อน และอพยพ
มาจากแขวงเชยี งขวาง สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว เมื่อประมาณ พ.ศ.๒๓๔๐ – ๒๓๕๐ โดยคนกลุม่ แรกได้เดินทางมาถึงเมืองแพร่
และไดต้ งั้ บา้ นเรอื นอยนู่ อกก�ำ แพงเมอื งแพร่ ทางทศิ เหนือดา้ นประตเู ลยี้ งมา้ ตอ่ มาจงึ ไดย้ า้ ยจากทต่ี ง้ั เดมิ มาตงั้ หมบู่ า้ นขนึ้ ใหม่ บรเิวณทเ่ี ปน็ ทตี่ ง้ั
“บ้านทุ่งโฮ้งใต้” ในปัจจุบัน และอยู่กันเรอ่ ื ยมาจนประมาณ พ.ศ.๒๓๖๐ – ๒๓๘๐ จึงมีกลุ่มไทพวนกลุ่มใหม่อพยพเข้ามาและต้ังหมู่บ้าน
ห่างจากเดิมประมาณ ๒๐๐ เมตร เป็น “หมู่บา้ นทุ่งโฮง้ เหนือ” ในปจั จุบัน

ผ้าหม้อห้อม 061

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

กรรมวธิ ใี นการผลติ

จังหวัดแพรม่ ีชื่อเสียงด้านผ้าหม้อห้อม ซึ่งหมู่บ้านทุ่งโฮ้งเป็นแหล่งผลิต

ผ้าหม้อห้อมที่ใหญ่ท่ีสุด มีการสืบทอดกันมายาวนาน สืบทอดภูมิปัญญาท้องถ่ินในชุมชน
ด้วยเสน่ห์ของการย้อมผ้าแบบธรรมชาติ โดยใชว้ ัตถุดิบจากต้นห้อม ในอดีตน้ันผ้าหม้อห้อม
เป็นผ้าฝ้ายทอมือหรอื ผ้าดิบสีขาว “ผ้าหม้อห้อม” เป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่สืบทอดกันมา
ของชาวไทพวนบา้ นทุง่ โฮง้ ผา้ หมอ้ หอ้ ม เปน็ ภูมปิ ญั ญาทมี่ กี ารสบื ทอดมายาวนาน ปจั จุบนั ไดม้ ี
การพัฒนาทั้งรูปแบบและเทคนิคมากมาย
ตน้ หอ้ ม เปน็ พชื ลม้ ลุก ชอบความชุม่ ชน้ื มกั จะขนึ้ อยูบ่ รเิวณปา่ ตน้ น�ำ้ ล�ำ ธาร ตน้ โตเตม็
ท่ีจะสูงประมาณ ๑ เมตร และหากแก่เต็มท่ีจะสังเกตได้จากรอยหยดนำ้�สีน้ำ�เงนิ ที่แห้งอยู่บน
พื้นดินใต้ต้นห้อม สีท่ีใชใ้ นการย้อมผ้าแบบโบราณดั้งเดิมนั้นได้จากพืช ๓ ชนิด

๑. ต้นห้อม
๒. ต้นห้อมเครอื หรอื ต้นเบิก
๓. ต้นคราม

062 ผ้าหม้อห้อม

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

ลวดลายผ้าหม้อห้อม

ปจั จบุ นั ไดม้ กี ารพฒั นารปู แบบของผา้ หมอ้ หอ้ มไปหลากหลายรปู แบบ
โดยการปรบั วธิ กี ารและเทคนคิ ในผลติ เพอื่ ปรบั เปลย่ี นใหเ้ หมาะสม
กับการใชง้ านและยุคสมัย ซงึ่ มี ๓ รูปแบบหลกั คือ

๑. หม้อห้อมท่ียอ้ มครามจากสีธรรมชาติ
๒. หมอ้ หอ้ มสงั เคราะห์ มที ง้ั การใชผ้ า้ ยอ้ มสคี รามมาจากโรงงาน
หรอื การน�ำ ผา้ ดบิ มายอ้ มเอง บา้ งกย็ อ้ มแบบบาตกิ เยบ็ แลว้ กผ็ า่ น
กรรมวธิ ฟี อกให้นุ่ม ป้องกันสีตก ขึน้ อยู่กับความต้องการของผู้ซอ้ื
๓. หมอ้ หอ้ มทน่ี �ำ เนอื้ ผา้ ทงั้ สองแบบมาใชผ้ สมผสานกนั ซงึ่ เปน็
โอกาสให้ลูกค้าเลอื กได้ตามรสนิยม ตามโอกาสแห่งการใชส้ อย

ผูผ้ ลติ และรา้ นคา้ ตา่ งๆ กไ็ ดม้ กี ารออกแบบพฒั นาการตดั เยบ็
ตกแต่งผ้าหม้อห้ อม เพื่ อให้ ลู กค้ าได้เลือกซ้ือตามรสนิ ยม และ
โอกาสในการใชร้ วมไปถึงการใชล้ วดลายเทคนิคการทอ การเพ้นท์ลาย
สกรนี ลาย มดั ยอ้ ม จมุ่ ยอ้ มและการเขยี นเทยี น เพอ่ื ใหเ้ ปน็ ไปตามยคุ สมยั
และตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการของลกู คา้ ทกุ เพศ ทกุ วยั และทกุ เทศกาล

ผ้าหม้อห้อม 063

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

ซน่ิ ก่านคอควายหรอื ซน่ิ แหล้

“ซน่ิ ก่านคอควายหรอื ซน่ิ แหล้” อ�ำ เภอสูงเม่น เป็นผ้าซน่ิ ท่ีใชใ้ นชวี ติ ประจ�ำ วัน ตัวซน่ิ มีส่วนใหญ่ลักษณะสีด�ำ แถบแดงใหญ่คาดและ
มแี ถบสแี ดงเลก็ สลบั กบั เสน้ สดี �ำ ทอี่ ยูด่ า้ นบนและเชงิ ผา้ ซน่ิ สว่ นหวั ซน่ิ นิยมตอ่ ดว้ ยผา้ สขี าว โดยเฉพาะจงั หวดั แพรท่ ม่ี ชี อื่ เสยี งในด้านการผลิต
ใชเ้ ป็นเอกลกั ษณ์ในการเเสดงออกถึงเรอ่ ื งแต่งกายของท้องถ่ิน

ซน่ิ ก่าน หรอื ซน่ิ ก่านคอควาย คือ ซน่ิ ท่ีใชน้ ุ่งในชวี ติ ประจ�ำ วนั ของคนเมืองแพร่ ส่วนใหญ่พบท่ีอ�ำ เภอเมืองแพร่ อ�ำ เภอสูงเม่น

อ�ำ เภอเด่นชยั อ�ำ เภอรอ้ งกวาง และอ�ำ เภอสอง มีลกั ษณะเป็นซน่ิ ลายขวาง ล�ำ ตัว เยบ็ ๑ ตะเข็บ ทอด้วยเทคนิคขัดสานธรรมดา โดยใชฝ้ ้ายหรอื
ไหมเป็นวสั ดุในการทอ ชอื่ เรยี กซน่ิ ชนิดน้ีให้ความส�ำ คัญกับ “ลายก่าน” ซงึ่ เป็นแถบลายสีแดงขนาดใหญ่ ๒ แถวบน-ลา่ งของตัวซน่ิ โดยมีลาย
รว้ ิ สีด�ำ หรอื สีน้ำ�เงนิ เข้ม ขนาดเล็ก ๑ แถวคั่นอยู่ตรงกลางแถบสีแดงนี้ ทั้งน้ีเวลานุ่งจะเห็นแถบสีแดงน้ีปรากฏชดั เจนค่ันอยู่ระหว่างหัว ตัว
และตีน ซงึ่ เป็นโครงสรา้ งหลกั ของซน่ิ รูปแบบซน่ิ ก่าน หรอื ซน่ิ ก่านคอควาย ที่พบในจงั หวดั แพร่ มี ๔ แบบ ได้แก่

๑. “ซน่ิ แหล”้ ค�ำ วา่ “แหล”้ ในภาษา ซน่ิ กา่ นคอควาย
ถ่ิ นล้านนาตะวันออก หมายถึ ง สี ดำ� หรอื
สีน้ำ�เงนิ เข้ม ซ่ินแหล้แบบดั้งเดิมจึงหมายถึง ซน่ิ กา่ นคอควาย
ลกั ษณะตัวซน่ิ ที่มีสีเข้ม โดยทอเป็นลายรว้ ิ สีด�ำ
สลับสีครามหรอื สีห้อม ทั้งน้ีในปัจจุบันพบว่า ซน่ิ ตามะนาว
ในจงั หวดั แพรน่ ิยมทอตวั ซน่ิ ใหเ้ ปน็ พนื้ สดี �ำ ลว้ น
ไมไ่ ดท้ อเปน็ ลายรว้ ิ แนวขวางสลบั สดี งั แตก่ อ่ น
๒. “ซน่ิ ส้ิว” ค�ำ ว่า “ส้ิว” ในภาษาถ่ิน
ล้านนาตะวันออกหมายถึง สีเขียว ซน่ิ ส้ิวจงึ มี
สีเขยี วเป็นลกั ษณะเด่น โดยตัวซน่ิ ทอเป็นลาย
รว้ ิ สีเขียวสลับสีด�ำ หรอื สีเขียวสลบั สีคราม
๓. “ซ่ินไก” ตัวซ่ินทอเป็นลายขวาง
ใชเ้ ส้นด้ายพุ่งท่ี “ป่ ันไก” คือ ผ่านการป่ ันหรอื
ตีเกลียวเส้นใยสองสีท่ีต่างกันเข้าด้วยกัน เชน่
ใชส้ ีแดงป่ ันกับสีเหลอื ง สีด�ำ ป่ ันเข้ากับสีเหลอื ง
สีด�ำ ป่ ันเข้ากับสีเขยี ว เป็นต้น
๔. “ซ่ิ นมุ ก” ตั วซ่ิ นทอด้ วยเทคนิ ค
มุกเส้นยืนพิเศษ ลายรูปแปดเหลี่ยมสีเขียว
หรอื สีคราม โดยมี ๒ แถวบน-ล่างที่ออกเป็น
สีเหลืองเพื่ อให้เห็นเป็นเส้นค่ั นระหว่างหัว
ตัว และตีน

064 ผ้าก่านคอควายหรอื ซน่ิ แหล้

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

ซน่ิ ตา

ซน่ิ ตา (ออกเสียงวา่ “ซน่ิ ต๋า”) เป็นซน่ิ ท่ีใชน้ ุ่งในชวี ติ ประจ�ำ วนั ของสตรชี าวไทยวน
ทอเป็นลายขวางล�ำ ตัวด้วยฝา้ ยหรอื ไหมเย็บ ๑ ตะเขบ็ ประกอบด้วยโครงสรา้ ง ๓ ส่วน คือ
หัวซ่ินเป็นผ้าพ้ืนสีแดง ๑ ผืน หรอื เป็นผ้าพื้น ๒ ผืน สีแดงและสีขาว หรอื สีดำ� และ
สีขาว ตัวซ่ินทอเป็นลายร้วิ แนวขวางลำ�ตัว ตีนซ่ินเป็นผ้าพื้นสีดำ� สีแดง สีน้ำ�เงนิ เข้มหรอื
สีน้ำ�ตาล ท้ังน้ียังพบว่าตีนซ่ินตาท่ีพบในพ้ืนท่ีจงั หวัดแพร่ บางผืนยังทอแทรกด้วยลายรว้ ิ
แนวขวางล�ำ ตัวขนาดเลก็ สีด�ำ ๒ แถว ที่เกิดจากการสลบั สีเส้นยนื จดั วางอยู่ชว่ งบนของตีนซน่ิ
เรยี กวา่ “ค้ิว” หรอื “ค้ิวซน่ิ ” หรอื “ค้ิวด�ำ ”

ก ารออกแบบลวดลายในตัวซ่ินตาน้ันชา่ งทอจะนำ�เส้นด้ายสีต่างๆ มาพันกับไม้ไผ่

ขนาดบางให้เกิดเป็นลวดลายสลับสีตามท่ีต้องการ เรยี กว่า “คาดแซง” ซึ่งจะนำ�ไปเป็นต้น
แบบของการสลับสีด้ายเส้นยืนในข้ันตอนการขึ้นเส้นยืน ให้มีความแตกต่างกันออกไปตาม
แต่ละลวดลาย ลักษณะเด่นของซน่ิ ตา คือการตกแต่งลวดลายด้วยเทคนิคขัดสานธรรมดาให้
เป็นลายรว้ ิ แนวขวางล�ำ ตัว ท่ีเกิดจากการสลบั สีเส้นยืนเป็นกลุม่ ๆ จดั วางลายรว้ ิ แนวขวางโดย
ให้ระยะท่ีเท่ากันสม�่ำ เสมอ เรยี กว่า “ตา” หากลายรว้ ิ มีขนาดเล็กลงกว่าปกติ เรยี กว่า “ตาซวิ ”
ซงึ่ กลุม่ ลายรว้ ิ แนวขวางล�ำ ตัวนี้มีสีสันและลวดลายที่หลากหลาย แบง่ ได้ ๔ แบบ คือ
๑. “ซน่ิ ตาเหลม้ ” (ออกเสียงวา่ “ต๋า-เลม่ ”) ตัวซน่ิ เป็นลายรว้ ิ สลบั สีตัดกันอยา่ งชดั เจน
หรอื เป็นลายรว้ ิ ท่ีมีการให้สีแบบไลร่ ะดับ
๒. “ซน่ิ ตาสามแลว” (ออกเสียงวา่ “ต๋า-สาม-แลว”) ตัวซน่ิ เป็นลายรว้ ิ มีลกั ษณะเด่น
ที่แต่ละแถวของลายรว้ ิ ประกอบด้วยเส้นลายรว้ ิ สีด�ำ หรอื สีขาว ๓ เส้น
๓. “ซ่ินตาหมู่” (ออกเสียงว่า “ต๋า-หมู่”) ตัวซ่ินทอเป็นลายรว้ ิ หลากสี เชน่ สีเหลือง
สีส้ม สีแดง สีด�ำ แต่สีท่ีนิยมมากท่ีสุดคือสีเหลือง ในบางผืนมีการตกแต่งด้วยการใชเ้ ส้นด้าย
เทคนิคป่ ันไกแทรกเขา้ ไปในกลุม่ ลายรว้ ิ ด้วย
๔. “ซน่ิ ตาตอบ” (ออกเสียงว่า “ต๋า-ตอบ”) บางแห่งเรยี กว่า “ซน่ิ ตาขีด” ตัวซน่ิ เป็น
ลายตารางขนาดเล็ก ที่เกิดจากการสลับสีด้ายเส้นพุ่งและด้ายเส้นยืนให้เป็นลายรว้ ิ แนวขวาง
และลายรว้ ิ แนวต้ังมาบรรจบกัน โดยจดั วางให้มีระยะที่เท่ากันสม�่ำ เสมอ

ซน่ิ ตา 065

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

นายสมหวงั พ่วงบางโพ

ผู้วา่ ราชการจงั หวดั แพร่

หม้อห้อมเขียนเทียน “ลายขอเจา้ ฟา้ สิรวิ ณั ณวรฯี ”
รา้ น : อวกิ าหม้อห้อมแฟชนั่

สถานที่ : พิพิธภัณฑ์เมืองแพร่ “คุ้มเจา้ หลวง”

066

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

(ชุดหม้อห้อม “ลายขอเจา้ ฟา้ สิรวิ ณั ณวรฯี ”)

(ผ้าซน่ิ จกทอเต็มตัว ลายข้าวพันก้อน นายสมหวงั พ่วงบางโพ
จาก รา้ นนวลจนั ทรผ์ ้าทอไทย)
ผู้วา่ ราชการจงั หวดั แพร่

และภรยิ า

นางวนั ทนา พ่วงบางโพ

นายกเหลา่ กาชาดจงั หวดั แพร่

(ผ้าซน่ิ จกทอเต็มตัว ลายขอผักกูด
จาก รา้ นนวลจนั ทรผ์ ้าทอไทย)
สถานที่ : พิพิธภัณฑ์เมืองแพร่ “คุ้มเจา้ หลวง”

ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ข่ายวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั แพร่ 067

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

นายสมหวงั พ่วงบางโพ

ผู้วา่ ราชการจงั หวดั แพร่

และภรยิ า

นางวนั ทนา พ่วงบางโพ

นายกเหลา่ กาชาดจงั หวดั แพร่

(ผ้าทอมือแต่งลาย จาก อวกิ าหม้อห้อมแฟชนั่ ) (ผ้าซน่ิ จกลายนกกินน�ำ้ รว่ มต้น)
สถานท่ี : พิพิธภัณฑ์เมืองแพร่ “คุ้มเจา้ หลวง”

068 ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ขา่ ยวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั แพร่

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

(“ลายขอเจา้ ฟา้ สิรวิ ณั ณวรฯี ”)

นายวเิ ชยี ร อนุสาสนนันท์

รองผู้วา่ ราชการจงั หวดั แพร่
และภรยิ า

นางเกศสุดา อนุสาสนนันท์

(ผ้าทอ “ลายขอเจา้ ฟา้ สิรวิ ณั ณวรฯี ”)
สถานท่ี : พิพิธภัณฑ์เมืองแพร่ “คุ้มเจา้ หลวง”

ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ข่ายวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั แพร่ 069

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

(ซน่ิ ลายโคมชอ่ น้อยตุงชยั )

นายวเิ ชยี ร อนุสาสนนันท์

รองผู้วา่ ราชการจงั หวดั แพร่

และภรยิ า

นางเกศสุดา อนุสาสนนันท์

(ชาย : ผ้าทอมือ“ลายขอเจา้ ฟา้ สิรวิ ณั ณวรฯี ”
หญงิ : เสื้อหม้อห้อมแต่งลาย
จาก อวกิ าหม้อห้อมแฟชนั่ )
สถานท่ี : พิพิธภัณฑ์เมืองแพร่ “คุ้มเจา้ หลวง”

070 ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ขา่ ยวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั แพร่

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

นางจติ รา สิทธนานุวฒั น์

วฒั นธรรมจงั หวดั แพร่

(ซน่ิ ลายนกกินน�ำ้ รว่ มต้น)

(ผ้าซน่ิ จกลายนกกินน�้ำ รว่ มต้น)
สถานท่ี : พิพิธภัณฑ์เมืองแพร่ “คุ้มเจา้ หลวง”

ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ข่ายวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั แพร่ 071

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

นางจติ รา สิทธนานุวฒั น์

วฒั นธรรมจงั หวดั แพร่

(ซน่ิ ตีนจกลายเชยี งแสนหงส์ด�ำ )

072 ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ขา่ ยวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั แพร่

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

นายเอกชยั วงศ์วรกุล

ประธานสภาวฒั นธรรมจงั หวดั แพร่

(“ลายขอเจา้ ฟา้ สิรวิ ณั ณวรฯี ”) (หม้อห้อมเขียนเทียน“ลายขอเจา้ ฟา้ สิรวิ ณั ณวรฯี ”
จาก อวกิ าหม้อห้อมแฟชนั่ )
สถานท่ี : พิพิธภัณฑ์เมืองแพร่ “คุ้มเจา้ หลวง”

ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ขา่ ยวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั แพร่ 073

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

นางประนอม ทาแปง

ศิลปนิ แห่งชาติ สาขาประณีตศิลป์
ศิลปะการทอผ้า พ.ศ. ๒๕๕๓

(ซน่ิ จกเมืองลองแบบเต็มตัว)
สถานท่ี : พิพิธภัณฑ์เมืองแพร่ “คุ้มเจา้ หลวง”

074

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

(ซน่ิ จกเมืองลองแบบเต็มตัว) นางธนั กมน ทรธวพงศ์
(ซน่ิ จกเมืองลอง)
ที่ปรกึ ษาประธานกรรมาธกิ ารการท่องเท่ียว
จงั หวดั แพร่

(ซน่ิ จกไหมเต็มตัว ลายเครอื นกคุ้มและ
ลายโก้งเก้งในเครอื ดอกต่อม หางสะเปาลายขอน�ำ้ คุ

จาก พิพิธภัณฑ์โกมลผ้าโบราณ)
สถานที่ : พิพิธภัณฑ์เมืองแพร่ “คุ้มเจา้ หลวง”

075

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

นายอิทธพิ ล ปัญญาแฝง

ประธานหอศิลป์เมืองแพร่

(ชุดหม้อห้อมย้อมแบบโบราณ)
สถานท่ี : พิพิธภัณฑ์เมืองแพร่ “คุ้มเจา้ หลวง”

076 ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ข่ายวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั แพร่

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

นายสรายุทร คมสัน

ผู้อนุรกั ษ์มรดกไทยดีเด่นด้านภาษา
ประจ�ำ ปพี ุทธศักราช ๒๕๖๓

(Sing - Saa - Ra - Sat จาก บายศร ีครเี อชนั่ )
สถานที่ : พิพิธภัณฑ์เมืองแพร่ “คุ้มเจา้ หลวง”

(ผ้าตีนจกลายเชยี งแสนหงส์ด�ำ ) (เส้ือหม้อห้อมประยุกต์ จาก หม้อห้อมวษิ ณุ)

ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ขา่ ยวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั แพร่ 077

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

เด็กหญงิ นัชชา ฟรานเชสก้า บอยด์

โรงเรยี นเจรญิ ศิลป์

(ผ้าจกลายนกกินน�้ำ รว่ มต้น)

นายสรายุทร คมสัน

ผู้อนุรกั ษ์มรดกไทยดีเด่นด้านภาษา

ประจ�ำ ปพี ุทธศักราช ๒๕๖๓

078

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

เด็กหญงิ กันติชา ปญั ญาศิลป์

โรงเรยี นเจรญิ ศิลป์

เด็กหญงิ กันต์กนิษฐ์ ปัญญาศิลป์ นายวรพล ภาโนมัย

โรงเรยี นเจรญิ ศิลป์ เยาวชนผู้มีใจรกั ษ์ผ้าทอเมืองแพร่

(ผ้าทอย้อมสีธรรมชาติ จาก รา้ นนวลจนั ทรผ์ ้าทอไทย)
สถานที่ : พิพิธภัณฑ์เมืองแพร่ “คุ้มเจา้ หลวง”

079

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

สถานท่ี : พิพิธภัณฑ์เมืองแพร่ “คุ้มเจา้ หลวง”
ผ้าซน่ิ จาก นางประนอม ทาแปง

(ซน่ิ แหล)้ (ซน่ิ ตามะนาว) (ซน่ิ แหล)้

080 ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ขา่ ยวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั แพร่

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ข่ายวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั แพร่ 081

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก” นาย แทนดิลก หลา้ ค�ำ มี

ท�ำ เนยี บผปู้ ระกอบการผา้ 326/3 หมู่ 2 ต.ทงุ่ โฮง้ อ.เมือง
จโท.แรพศรพั  ่ 5ท์40080-03075-6101
จงั หวดั แพร่
นาย นพวงค์ มนตร ี
กลุม่ ทอผ้าไตลอ้ื ต�ำ บลบ้านถ่ิน กลุม่ สัมมาชพี ชุมชนคนวงั หลวง
94/3 หมู่ 14 ต.ห้วยอ้อ อ.ลอง
2หมู่ ต.บ้านถิ่น อ.เมือง 209/1 หมู่ 2 ต.วงั หลวง อ.หนองม่วงไข่ จโท.แรพศรพั  ่ 5ท์40185-07720-1300
จโท.แรพศรพั  ่ 5ท์40080-01180-9349 จโท.แรพศรพั  ่ 5ท์40187-07726-1220
นาย ประชา ตันแก้ว
กลุม่ ทอผ้าบา้ นปิน นาง จนั ทรห์ อม กันกา
400/493 หมู่ 9 ต.นาจกั ร อ.เมือง
73/7 หมู่ 5 ต.บา้ นปนิ อ.ลอง 119 หมู่ 8 ต.ป่าแมต อ.เมือง จโท.แรพศรพั  ่ 5ท์40090-00236-9615
โจท.แรพศรัพ ่ 5ท4์ 01-550458-1447 โจท.แรพศรัพ ่ 5ท4์ 0080-01765-5031
นาย พงศ์พันธุ์ วงค์ตะวนั
กลุม่ ทอผ้ายกลายบ้านต้นห้า นาย กฤษณะ วลั ลภาชยั
7/3 หมู่ 5 ต.ชอ่ แฮ อ.เมือง
98 หมู่ 8 ต.ป่าแมต อ.เมือง 59/4 หมู่ 5 ต.ทงุ่ โฮง้ อ.เมือง โจท.แรพศรพั  ่ 5ท์40080-06186-7068
โจท.แรพศรัพ ่ 5ท4์ 0080-00674-8316 จโท.แรพศรพั  ่ 5ท์40090-08796-3992
นาย วษิ ณุ จนั ทรท์ รา

59/2 หมู่ 5 ต.ทงุ่ โฮง้ อ.เมือง
จโท.แรพศรพั  ่ 5ท์40080-09191-2811

นาง จนิ ตนา ชยั รตั น์

105/2 หมู่ 8 ต.ปา่ แมต อ.เมือง
จโท.แรพศรพั  ่ 5ท์40080-00674-8316

082 ท�ำ เนียบผู้ประกอบการผ้าจงั หวดั แพร่

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

นาง วภิ า จกั รบุตร

167 หมู่ 5 ต.ทงุ่ โฮง้ อ.เมือง
โจท.แรพศรพั  ่ 5ท4์ 0080-04373-8897

อำ�เภอเมืองแพร่ นาง สุพิน นาห้วย

อำ�เภอลอง 1163 หมู่ 8 ต.ป่าแมต อ.เมือง
จโท.แรพศรพั  ่ 5ท4์ 0080-00674-8316

อำ�เภอเด่นชยั นาง อินแต่ง จาวรรณกาศ

99 หมู่ 1 ต.รอ่ งกาศ อ.สูงเม่น
โจท.แรพศรัพ ่ 5ท4์ 0183-09698-1805

นาง ตอน ไชยโชค นาง ลดั ดา ทะเจรญิ นางสาว กัญจนา ปลากุน

5 หมู่ 6 ต.ปากกาง อ.ลอง 28/1 หมู่ 5 ต.ทงุ่ โฮง้ อ.เมือง 53 หมู่ 8 ต.หัวทงุ่ อ.ลอง
จโท.แรพศรพั  ่ 5ท4์ 0195-03136-3182 โจท.แรพศรพั  ่ 5ท4์ 0080-04617-4437 จโท.แรพศรพั  ่ 5ท4์ 0195-03213-4331

นาง นงลกั ษณ์ ค�ำ มีสวา่ ง นาง วนั เพ็ญ จกี ัน นางสาว ขวญั ดาว ถ่ินสุข

94 หมู่ 2 ต.แม่คำ�มี อ.เมือง 108 หมู่ 8 ต.ป่าแมต อ.เมือง 173/2 หมู่ 1 ต.บา้ นถิ่น อ.เมือง
จโท.แรพศรพั  ่ 5ท4์ 0080-01765-1436 โจท.แรพศรพั  ่ 5ท4์ 0080-01287-5241 จโท.แรพศรพั  ่ 5ท4์ 0080-06959-4964

นาง เพ็ญศร ีฟูค�ำ นาง วนั เพ็ญ โลกค�ำ ลอื นางสาว ณัฐนันท์ กันกา

2 2หมู่ ต.แม่คำ�มี อ.เมือง 144 หมู่ 3 ต.แม่คำ�มี อ.เมือง 119 หมู่ 8 ต.ปา่ แมต อ.เมือง
จโท.แรพศรพั  ่ 5ท4์ 0080-03200-0917 โจท.แรพศรพั  ่ 5ท4์ 0080-04489-8529 โจท.แรพศรัพ ่ 5ท4์ 0080-09998-8554

ท�ำ เนียบผู้ประกอบการผ้าจงั หวดั แพร่ 083

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก” นางสาว รตั ติยา เพาะเจาะ นาย วุฒิชยั อุดข้วน

นางสาว นันท์นภัสร์ 7 หมู่ 6 ต.นาจักร อ.เมือง 115/2 หมู่ 9 ต.หวั ท่งุ อ.ลอง
โสภณปยิ เดชากุล จ.แพร ่ 54000 จ.แพร่ 54150
โทรศัพท์ 06-3229-3244 โทรศัพท์ 09-3136-3182
400/249 หมู่ 9 ต.นาจกั ร
อโท.เรมศือัพง ทจ.์ แ0พ8ร- ่ 254306020-4459 นาย ศุภชยั สาขา

นางสาว เนตรดาว แซบ่ ู้ นางสาว วาสนา ก๋องแก้วเฮยี ง 26 หมู่ 4 ต.แมย่ างฮอ่ อ.รอ้ งกวาง
จ.แพร ่ 54140
73/6 หมู่ 5 ต.บ้านปนิ 8 หมู่ 8 ต.แม่พุง อ.วังชนิ้ โทรศัพท์ 09-7993-9974
โอท.ลรอศงัพจท.แ์ 0พ8ร ่ -564111560-5596 จโท.แรพศรัพ ่ 5ท4์ 0196-02663-5824
นาย สถาพร ชุม่ เชอ้ื
นางสาว บุศรา อภิมังคละ นางสาว ศิรริ ตั น์ วงศ์อารนิ ทร์
227 หมู่ 8 ต.หว้ ยออ้ อ.ลอง
106/1 หมู่ 2 ต.ทงุ่ โฮง้ อ.เมอื ง 5 หมู่ 7 ต.แม่หล่าย อ.เมือง จ.แพร ่ 54150
จ.แพร่ 54000 โจท.แรพศรัพ ่ 5ท4์ 0060-04659-2496 โทรศัพท์ 08-1903-1623
โทรศัพท์ 06-2393-6395
วสิ าหกิจชุมชนกลุม่ ผ้ายอ้ ม
นางสาว ปณิดา เสนาธรรม บรษิ ัทผ้าไทยลา้ นนา จ�ำ กัด
2ห6ม0้อหหม้อู่ 5มตโบ.ทรงุ่ โาฮณ้ง อ.เมอื ง
41 หมู่ 5 ต.ทงุ่ โฮง้ อ.เมือง 140/10 หมู่ 2 ต.ทงุ่ กวาว อ.เมือง จ.แพร่ 54000
จ.แพร ่ 54000 จโท.แรพศรัพ ่ 5ท4์ 0090-08760-8005 โทรศัพท์ 08-1235-5055
08-1110-4442
โทรศัพท์มือถือ วสิ าหกิจชุมชนหม้อห้อมทุ่งเจรญิ
ยอ้ มสีธรรมชาติ
นางสาว พรรณี ทองสุข วสิ าหกิจชุมชนกลุม่ ตัดเย็บผ้า
มัดย้อมบ้านแม่ค�ำ มีต้นม่วง 291 หมู่ 5 ต.ทุ่งโฮง้ อ.เมือง
274 หมู่ 6 ต.ทุ่งโฮง้ อ.เมอื ง จ.แพร่ 54000
จ.แพร่ 54000 4/1 หมู่ 2 ต.แมค่ ำ�มี อ.เมอื ง โทรศัพท์ 08-9851-3048
โทรศัพท์ 0-5462-2274 จ.แพร ่ 54000
โทรศัพท์ 08-7098-0921 วสิ าหกิจชุมชนหัตถกรรมผ้าด้นมือ
ชุมชนเม่นทองพัฒนา หมู่ ๒
นางสาว รตั ติกาล เพ็ชรรตั น์ นาง ยุพา จดจ�ำ
232/2 หมู่ 2 ต.สงู เม่น อ.สงู เม่น
307/11 หมู่ 2 ต.ทุง่ โฮ้ง อ.เมอื ง 112 หมู่ 3 ต.นาพูน อ.วังช้ิน จ.แพร่ 54130
จ.แพร่ 54000 จ.แพร่ 54160 โทรศัพท์ 06-3459-5363
โทรศัพท์ 06-5416-9556 โทรศัพท์ 08-7041-1229

084 ท�ำ เนียบผู้ประกอบการผ้าจงั หวดั แพร่

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

กลุม่ ผ้าทอมือไหมแกมฝา้ ย

119 หมู่ 8 ต.ป่าแมต อ.เมอื ง
จ.แพร่ 54000
โทรศัพท์ 08-1765-5031

นางสาว ไหม เรอื นค�ำ

101 หมู่ 9 ต.ร่องกาศ อ.สูงเมน่
จ.แพร่ 54130
โทรศัพท์ 08-9851-2981

นางสาว อรญา สินทรพั ย์

3/58 ถ.เหมืองหติ ต.ในเวยี ง
อ.เมอื ง จ.แพร ่ 54000
โทรศัพท์ 06-1292-9364

นาง รชยา ชมมัชยา กลุม่ ทอผ้ากะเหรย่ ี งครบวงจร นาย ปวรศิ ร์ ใจนันท์

150/2 หมู่ 4 ต.รอ่ งฟอง 99/3 หมู่ 7 ต.แม่เกงิ๋ อ.วงั ชิน้ 326/1 หมู่ 2 ต.ทงุ่ โฮง้ อ.เมอื ง
อ.เมอื ง จ.แพร ่ 54000 จ.แพร ่ 54160 จ.แพร ่ 54000
โทรศัพท์ 08-1998-8210 โทรศัพท์ 09-2709-3901 โทรศัพท์ 08-5107-2159

นาง รชั นีกรณ์ ศิรอิ ินภิบาล กลุม่ ทอผ้าตีนจกบ้านเหลา่ นาง ประนอม ทาแปง

20/1 หมู่ 3 ต.หัวท่งุ อ.ลอง 63 หมู่ 9 ต.แม่ป้าก อ.วงั ช้นิ 97/2 หมู่ 2 ต.หวั ทุ่ง
จ.แพร่ 54150 จ.แพร ่ 54160 อโท.ลรอศงัพจท.์แ0พ-ร5่ 4545185-30443
โทรศัพท์ 08-6181-3579 โทรศัพท์ 08-0752-7644

นาง จรี นันท์ ค�ำ แพงอาจ นาง จริ าพร วงค์เหลา่ นาย อนุรกั ษ์ จกั รบุตร

2/3 หมู่ 5 ต.ช่อแฮ อ.เมอื ง 96 หมู่ 2 ต.ทุ่งโฮ้ง อ.เมอื ง 249 หมู่ 5 ต.ท่งุ โฮ้ง อ.เมือง
จ.แพร ่ 54000 จ.แพร่ 54000 จ.แพร ่ 54000
โทรศัพท์ 08-5710-8264 โทรศัพท์ 0-5453-3430 โทรศัพท์ 06-2251-1788

ท�ำ เนียบผู้ประกอบการผ้าจงั หวดั แพร่ 085

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก” วสิ าหกิจชุมชนกลุม่ ตัดเย็บผ้า วสิ าหกิจชุมชนหม้อห้อมทุ่งเจรญิ

กลุม่ ผ้ามัดย้อมบ้านแม่พวก ม4/ัด1ยหอ้ มมู่ 2บตา้ .แนมแค่ ม�ำ ม่คี �ำ มีต้นม่วง 2ย9อ้ 1มหสมีธู่ 5รรตม.ทชุ่งาโฮตง้ ิ
อ.เมือง จ.แพร่ 54000 อ.เมือง จ.แพร ่ 54000
2 หมู่ 5 ต.ห้วยไร่ อ.เดน่ ชยั โทรศัพท์ 08-7098-0921 โทรศัพท์ 08-9851-3048
จ.แพร ่ 54110
โทรศัพท์ 08-0501-2624 วสิ าหกิจชุมชนหัตถกรรมผ้าด้นมือ
ชุมชนเม่นทองพัฒนา หมู่ ๒
กลุม่ สตรสี หกรณ์หม้อห้อม นาง ยุพา จดจ�ำ
เวยี งทอง 232/2 หมู่ 2 ต.สูงเมน่ อ.สงู เมน่
112 หมู่ 3 ต.นาพนู จ.แพร่ 54130
93 หมู่ 2 ต.เวียงทอง อ.สงู เมน่ อ.วังชนิ้ จ.แพร่ 54160 โทรศัพท์ 06-3459-5363
จ.แพร่ 54000 โทรศัพท์ 08-7041-1229
โทรศัพท์ 08-6921-7392

นาง ดวงเดือน วลั ลงั กา

115 หมู่ 8 ต.ป่าแมต อ.เมอื ง
จ.แพร ่ 54000
โทรศัพท์ 08-4042-9214

นาย อุเทน สีสะอาด

97 หมู่ 1 ต.ชอ่ แฮ อ.เมอื ง
จ.แพร่ 54000
โทรศัพท์ 08-7449-5194

นาง ยุพิน สายส�ำ เภา

147/2 หมู่ 5 ต.ทุ่งโฮง้
โอท.เรมศือัพงทจ์ .0แ6พร-4 ่ 5249060-09546

บรษิ ัท บายศร ีครเี อชนั่ จ�ำ กัด

124/5 หมู่ 1 ต.เหมืองหมอ้
อ.เมือง จ.แพร ่ 54000
โทรศัพท์ 0-5452-6720
086 ท�ำ เนียบผู้ประกอบการผ้าจงั หวดั แพร่

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

พะเยา

“กวา๊ นพะเยาแหลง่ ชวี ติ ศักด์ิสิทธพ์ิ ระเจา้ ตนหลวง บวงสรวงพ่อขุนง�ำ เมือง
งามลอื เลอ่ื งดอยบุษราคัม”

087

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

วถิ ีความเป็นมาผ้าทอ
ของจงั หวดั พะเยา

ผ้าทอของจงั หวัดพะเยา มีประวัติศาสตรก์ ารเชอ่ื มโยง การโยกย้ายถ่ินฐานจากหลายท่ี จงึ ท�ำ ให้เกิดผ้าทอท่ีเป็นเอกลักษณ์

ของตนเอง จงั หวดั พะเยา เปน็ จงั หวดั ในภาคเหนือทมี่ กี ลุม่ ชาวไทลอ้ื ไดเ้ ขา้ มาตง้ั ถน่ิ ฐานอยูอ่ าศยั จ�ำ นวนมากทอ่ี �ำ เภอเชยี งค�ำ อ�ำ เภอเชยี งมว่ น
และอ�ำ เภอปง ที่อ�ำ เภอเชยี งค�ำ โดยเฉพาะที่ต�ำ บลหยว่ น มีชาวไทลอ้ื ได้เขา้ มาตั้งถ่ินฐานมากท่ีสุด ได้มีการถ่ายโอนศิลปวฒั นธรรม ประเพณี
และความเชอ่ื ต่าง ๆ อันเคยปฏิบตั ิสืบเนื่องกันมา ดังเชน่ วฒั นธรรมความเชอ่ื เก่ียวกับภพภูมิโลกหน้า ซงึ่ ก่อให้เกิดประเพณีการตาน หรอื อุทิศ
ปราสาทมณฑป ส่งิ ของเครอ่ ื งใช้ อาหารไปไวภ้ ายภาคหน้าทั้งเพื่อตนเองและผู้ลว่ งลบั งานชา่ งศิลปหัตถกรรมและภูมิปญั ญาแขนงต่าง ๆ

แมห้ ลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรจ์ ะกลา่ วถงึ การอพยพของชาวไทลอื้ กลมุ่ นวี้ า่ มาพรอ้ มกบั
ชาวไทลื้อที่อาศัยอยู่ในจังหวัดน่าน แต่ลักษณะผ้าทอของชาวไทลื้อในเขตน้ี มีลักษณะที่
แตกต่างจากไทลื้อในจังหวัดน่าน ผ้าซ่ินไทล้ือของเชยี งคำ�และเชยี งม่วนมีโครงสรา้ งตาม
มาตรฐานของ “ซน่ิ ตา” และมีผ้าซน่ิ ที่เป็นเอกลกั ษณ์ของท้องถ่ินคือ ซน่ิ ที่มีลายตกแต่งขนาด
เลก็ ตรงกลางตัวซน่ิ ซงึ่ ทอด้วยเทคนิคเกาะ ลกั ษณะคลา้ ยสายน�้ำ แต่เรยี กกันวา่ “ลายผักแวน่ ”
ซงึ่ แต่เดิมใชไ้ หมลาว (ซอื้ มาจากประเทศลาว) เป็นเส้นพุ่งทอสลบั สี มีสีท่ีนิยมคือ สีเขียวและ
สีชมพูสด เทคนิคการทอผ้าและวธิ กี ารสรา้ งลวดลายบนผ้าทอไทลอื้ เป็นที่ทราบกันโดยท่ัวไป
วา่ การท�ำ ความเขา้ ใจในชอื่ เรยี กเทคนิควธิ กี ารทอผ้าแบบต่างๆ เป็นส่งิ ท่ีจ�ำ เป็นในการศึกษา

088 วถิ ีความเป็นมาผ้าทอของจงั หวดั พะเยา

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

แ ล ะ มั ก จ ะ พ บ ว่ า ตำ � ร า ด้ า น ผ้ า ท อ ส่ ว น ใ ห ญ่ จ ะ ป ร า ก ฏ ช ่ือ
เรยี กเทคนิคการทอผ้าประกอบการอธิบายเรอ่ ื งราวของผ้าไว้ด้วย
นอกจากน้ียังพบว่าการเลือกใชส้ ีสันและการใชล้ วดลายตลอดจนถึง
เทคนิคของการทอผ้า ยังสามารถบ่งบอกถึงเร่อื งราวความเป็นมา
และแยกเอกลักษณ์ของผ้าทอในแต่ละพ้ืนที่ได้ โดยเฉพาะเทคนิค
การทอผ้าในกลุม่ คนตระกูลไทก็เป็นท่ีประจกั ษ์กันโดยทั่วไปวา่ ผู้หญิง
ชาวไทล้ือมีความสามารถในการทอผ้าด้วยเทคนิคหลากหลาย ท�ำ ให้
ผา้ ทอของชาวไทลอ้ื งดงามดว้ ยการผสมผสานลวดลายและสสี นั ตา่ งๆ
ซงึ่ เทคนิคที่ชาวไทลอ้ื ใชใ้ นการทอผ้า คือ เกาะ หรอื ลว้ ง เทคนิคเกาะ
คือการใชเ้ ส้นด้ายพุ่งธรรมดาหลายสี พุ่งย้อนกลับไปมาเป็นชว่ งๆ
ทอดว้ ยเทคนิคการขดั สานธรรมดา แตม่ กี ารเกาะเกยี่ วและผูกเปน็ ห่วง
รอบด้ายเส้นยืนเพ่ือยึดเส้นพุ่งแต่ละชว่ งไว้โดยไม่ใชเ้ ส้นพุ่งพิเศษ
เพ่ิมเข้าไป เป็นเทคนิคการทอผ้าท่ีรูจ้ กั กันน้อยในกลุ่มคนตระกูลไท
และถือเป็นอัตลักษณ์เฉพาะของชาวไทลื้อ เทคนิคนี้เป็นท่ีนิยมใน
การทอลวดลายบนผ้าซน่ิ ของชาวไทล้ือในแถบลุ่มแม่น�้ำ โขงตอนบน
ของประเทศลาว และพบในกลุ่มชาวไทลื้อในจังหวัดน่าน เชยี งราย
และพะเยา

วถิ ีความเป็นมาผ้าทอของจงั หวดั พะเยา 089

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

วถิ ีชวี ติ ของชาวไทลอ้ื ในพะเยา มีวถิ ีการด�ำ รงชวี ติ อย่างเรยี บง่าย ส่วนใหญ่จะตั้งบา้ นเรอื นเป็นกลุม่ อยูร่ มิ ฝ่ ังแม่น�้ำ เอกลกั ษณ์

อย่างหนึ่งของบ้านไทลื้อคือจะมีบ่อนำ้�ไว้ประจ�ำ แต่ละบ้าน นอกจากนั้นก็ยังมีการปลูกพืชผักสวนครวั อยู่ในบรเิ วณบ้านด้วย โดยปกติแล้ว
ชาวไทลื้อจะประกอบอาชพี ทำ�ไรน่ า หลังจากหมดส้ินฤดูทำ�นาแล้วผู้หญิงไทลื้อก็จะรวมกลุ่มทอผ้า ทุกบ้านจะมีเครอ่ ื งทอผ้าที่เรยี กว่า หูก
โดยมเี หลา่ แมอ่ ยุ๊ นงั่ เปน็ ประธานประจ�ำ อยใู่ ตถ้ นุ เรอื น ท�ำ หน้าทเ่ี สมอื นเปน็ คณุ ครสู อนเดก็ ๆ ใหเ้ รยี นรกู้ ารท�ำ ผา้ จากเสน้ ฝา้ ยเลก็ ๆ สอดประสาน
รอ้ ยเรยี ง ถัก ทอ ต่อกันจนเป็นผืนผ้าไวส้ วมใส่ ซงึ่ ผ้าทอไทลอื้ นั้นถือวา่ มีเอกลกั ษณ์โดดเด่นสวยงามไม่แพ้ผ้าทอจากที่อื่น

ผหู้ ญงิ ไทลอื้ ทกุ คนจะตอ้ งทอผา้ เปน็ ในยุคสมยั ทย่ี งั ไมม่ ผี า้ ขายจากโรงงาน ไมม่ เี สอ้ื ส�ำ เรจ็ รปู ใหซ้ อื้ หาจากตลาด ลกู สาวบา้ นใด

ทอผ้าไม่เป็นจะยังออกเรอื นไม่ได้หรอื แม้แต่เวลาบ่าว (ผู้ชาย) อยากจีบสาวบ้านใด จะไม่สามารถชักชวนกันไปคุยในที่ลับหูลับตาผู้ใหญ่
จ�ำ เป็นอยา่ งย่ิงท่ีจะต้องมาท�ำ ท่ีชวนพูดคุยกันที่ใต้ถุนบา้ น ระหวา่ งที่สาวก�ำ ลงั น่ังทอผ้าอยู่


090 วถิ ีความเป็นมาผ้าทอของจงั หวดั พะเยา

ผา้ ซน่ิ ของผหู้ ญงิ ไทลอ้ื โดยเฉพาะ “ซน่ิ ตา” เปน็ ผา้ ซน่ิ “เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”
“ลายผักแวน่ ”
ท่ีมี ๒ ตะเข็บและมีโครงสรา้ งประกอบด้วย ๓ ส่วนแยกจากกัน คือ
หัวซน่ิ สีแดง ตัวซน่ิ ลายขวางหลากสี ต่อท้ายด้วยตีนซน่ิ สีด�ำ ท้ังหมด
นี้มีความเด่นอยู่ท่ีตัวซน่ิ ซงึ่ ผู้ทอจะท�ำ ให้เกิดเป็นรว้ ิ ลายขวางสลับสี
สดใส ตรงชว่ งกลางมีลวดลายที่ทอด้วยเทคนิคขิด จก เกาะหรอื ล้วง
เป็นลายรูปสัตวใ์ นวรรณคดี ลายพรรณพฤกษาและลายเรขาคณิต


เอกลักษณ์ลวดลายผ้าทอไทลื้อที่ส�ำ คัญ เชน่ ลายมุก

ลายเกาะผักแว่น ลายดอกขอเครอื ลายม้า ลายดอกตั้ งเป็นต้น
ปจั จุบนั มกี ารประยุกตล์ วดลายเพม่ิ ขนึ้ ตามความตอ้ งการของตลาด
แตย่ งั คงความประณตี ไวต้ ามแบบดงั้ เดมิ จุดเดน่ ส�ำ คญั ของการทอผา้
แบบไทลอื้ ดง้ั เดมิ นั้น คอื ลกั ษณะลวดลายและวธิ กี ารทอ ทม่ี กั มี
การแสดงใหเ้ หน็ ถงึ เรอ่ ื งราวความเปน็ มาของชนชาตลิ อื้ หรอื บางครงั้ ก็
ใชเ้ พ่ือแสดงภูมิล�ำ เนาและสถานภาพของผู้สวมใส่สะท้อนเอกลกั ษณ์
ของชาติพันธุต์ นเองในผ้าทอแต่ละชน้ิ จนมีค�ำ กลา่ ววา่


“ผ้าทอไทล้ือนั้นไม่ใชแ่ ค่ผ้า แต่เปรยี บเสมือน
สมุดภาพท่ีบันทึกถึงประวัติศาสตรแ์ ละความเป็นมา
ของผทู้ อผา้ เพราะส�ำ หรบั ชาวไทลอื้ นน้ั การทอผา้ กค็ อื
ส่งิ ถ่ายทอดความเป็นมาของชนชาติเสมอ”

วถิ ีความเป็นมาผ้าทอของจงั หวดั พะเยา 091

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

ผ้าทอไทลอื้ เชยี งค�ำ -เชยี งม่วน

กลุม่ ไทลอ้ื อ�ำ เภอเชยี งค�ำ -อ�ำ เภอเชยี งม่วน จงั หวดั พะเยา

เชยี งคำ�-เชยี งม่วนเป็นพ้ืนที่อันอุดมสมบูรณ์

เป็นเมืองดินด�ำ น้ำ�ชุม่ ชาวไทล้ือตั้งบ้านเรอื นไม่ต่างจากชนชาติไท
กลมุ่ อนื่ ๆ คอื ตง้ั บา้ นเรอื นตามลมุ่ แมน่ �้ำ ท�ำ การเกษตร ท�ำ นา ท�ำ สวน
ต้ังแต่อดีตวถิ ีชีวติ ใกล้ชิดธรรมชาติ อดีตสตรชี าวไทล้ือต้องทอผ้า
เปน็ ปจั จยั ๔ ของการด�ำ รงชวี ติ ผา้ ทอ เครอ่ ื งนงุ่ หม่ เครอ่ ื งใชท้ เ่ี ปน็ ผา้ นนั้
ชาวไทล้ือสืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน ถึงแม้ว่ากาลเวลาจะเปล่ียนไป
แต่ชาวล้ือยังคงรกั ษาส่ิงที่บรรพชนน�ำ ลงมาจากสบิ สองปนั นาในอดตี
ท�ำ ให้ชาวลื้อเชยี งค�ำ และเชยี งม่วนมีความพิเศษ โดดเด่นเฉพาะตัว
มคี วามภาคภมู ิ มจี ติ วญิ ญาณ การแตง่ กายของชาวลอ้ื เชยี งค�ำ มองแล้ว
จ ะ ท ร า บ ไ ด้ ทั น ที ว่ า พ ว ก เข า ต้ อ ง ม า จ า ก เ มื อ ง เชีย ง คำ � เ ป็ น แ น่ แ ท้
สตรใีสเ่ สอ้ื ป๊ ดั ด�ำ หอ้ มคราม บางตวั ตดิ แถบสตี า่ งๆ เลก็ นอ้ ย นงุ่ ซน่ิ ต๋า
เกาะดอกผกั แวน่ โพกศรษี ะดว้ ยผา้ สขี าว หรอื สอี อ่ นๆ สะพายยา่ มแดง

092 ผ้าทอไทลอื้ เชยี งค�ำ -เชยี งม่วน

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

ผชู้ ายใสเ่ สอ้ื แขนยาวสขี าวหรอื สอี อ่ นๆ คลา้ ยเสอื้ กยุ้ เฮงแบบจนี “ลายชา้ ง”
มกั สวมทบั ดว้ ยเสอ้ื ปาทป่ี กั ดว้ ยเลอื่ ม นงุ่ กางเกงคลา้ ยของจนี โบราณ เรยี กว่า “ลายดาวลอ้ มเดือน”
เตย่ี วเปาโหยง่ สามดกู หวั ขาว โพกศรษี ะดว้ ยผา้ สขี าวหรอื ออ่ นๆ ทง้ิ ปอยผ้า
ลงด้านขา้ ง ผ้าทอไทลอื้ เชยี งค�ำ -เชยี งม่วน 093

ไทล้ื อจะมีเอกลักษณ์ ที่ โดดเด่นในการทอผ้า

โดยเฉพาะชดุ ไทลอื้ อ�ำ เภอเชยี งค�ำ -เชยี งมว่ นจะมเี สอ้ื ป๊ ดั ผา้ ถงุ ลายผกั แวน่
ลายน�้ำ ไหลผกั แวน่ ทอดว้ ยเทคนคิ เกาะ มลี ายประกอบทอดว้ ยเทคนิคขดิ
เส้ือผ้าของชาวไทล้ือจะมีการทอลวดลายท่ีบ่งบอกถึงฐานะทางสังคม
ของผสู้ ว่ มใส่ โดยผา้ ของไทลอ้ื แยกออกเปน็ ๒ ประเภทคอื ผา้ ทใี่ ชใ้ นพิธีกรรม
และผ้าส�ำ หรบั ใชใ้ นครวั เรอื น ผ้าที่ใชใ้ นครวั เรอื น เชน่ “ผ้าห่มต�ำ่ ก้าว”
ท่ีปจั จุบนั หาคนท�ำ ไม่ได้แลว้ ต�่ำ ก้าวเป็นภาษาลอื้ มี ๒ ความหมาย คือ
๑.เป็นชอื่ ลาย ๒.เป็นวธิ ีการท�ำ “ต�่ำ ” แปลว่า การทอ “ก้าว” แปลว่า
การง้างไม้เพ่ือที่จะใส่ลายขนึ้ แลว้ สอดให้เกิดลวดลาย สีที่นิยมคือ สีด�ำ
แดง ขาว ทอให้เกิดเป็นลายตารางส่ีเหลย่ี มขนาดใหญ่ ลวดลายมีขนาด
เลก็ สเ่ี หลย่ี มขนมเปยี กปูน เปน็ การทอทย่ี ากลายใหญซ่ บั ซอ้ น ราคาแพง
ปัจจุบันได้นำ�เอาลวดลายมาประยุกต์ใชใ้ นผ้าแบบต่างๆ สอดให้เกิด
ลวดลาย ผา้ หม่ ลายตาราง เรยี กกนั วา่ “ผา้ หม่ ตาแสง” หรอื “ผา้ หม่ สแ่ี ป”
หรอื เรยี กอกี อยา่ งวา่ “ผา้ หม่ ตาโกง้ ” เปน็ ผา้ ฝา้ ยทอยกดอก สที น่ี ยิ มคือ
สีด�ำ แดง ขาว

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

การแตง่ กายของเจา้ นาย หรอื เจา้ เมอื ง ทงั้ ชายและหญิง

จะแต่ งกายด้ วยเส้ื อผ้ าท่ี มี คุ ณภาพสู งขึ้ น เช่น ผ้ าไหม ผ้ าแพร
ถ้าเป็นผ้าถุงก็จะทอเสรมิ ด้วยด้ิ นเงนิ ด้ิ นทอง ลวดลายสวยงาม
มีความวจิ ิตรประณีตมากขนึ้
การแต่งกายเจา้ นายผู้หญงิ จะสวมผ้าซน่ิ ตีนจก ใชไ้ หมทอง
เป็นไหมยืน ท�ำ รว้ ิ ที่ผืนซน่ิ แล้วต่อด้ายตีนจก ยกดอกด้วยไหมทอง
บนพนื้ สแี ดง หรอื ซน่ิ ยกดอกจกดว้ ยมอื ใชไ้ หมทองทง้ั พน้ื บางครง้ั เปน็ ผา้ ซน่ิ
ตีนจกปักด้ินเงนิ ด้ินทองท้ังผืน สวมเสื้อแขนยาวคอกลมคอกระเชา้
มผี า้ สะหวา้ ยแหลง้ ในบางครง้ั จะเปน็ ซน่ิ ตอ่ ตนี ตอ่ เอวทอดว้ ยผา้ ฝา้ ยสตี า่ ง ๆ
การแต่งกายเจา้ นายผู้ชาย โดยท่ัวไปจะแต่งกายเรยี บง่าย
จะนุ่งผ้าต้อย อาจเป็นผ้าไหมลายเป็นตารางโตๆ เสื้อสีขาว แขนยาว
มกี ระดมุ หา้ เมด็ ถา้ เปน็ งานพธิ ตี า่ งๆ จะนงุ่ ผา้ หลายสี สวมเสอ้ื ราชปะแตน
หรอื เป็นชุดขา้ ราชการเต็มยศ

“ผ้าเชด็ หลวง”

“ไหมทอง” ส่วนผ้าที่ใชใ้ นการประกอบพิธกี รรมตามความเชอ่ื

ของชาวไทลอื้ พะเยา เชน่ “ผ้าเชด็ หลวง” ลกั ษณะคลา้ ยตุง ชาวไทลอ้ื
จะท�ำ ผ้าเชด็ หลวงเพื่อถวายเชน่ เดียวกับการถวายตุง โดยแขวนไว้
ในวหิ าร สันนิษฐานไว้ว่าโครงสรา้ งและลวดลายของผ้าเช็ดหลวงนี้
สืบเน่ืองมาจากความเชื่อด้ังเดิมของชาวไทลื้อก่อนที่จะมานับถือ
ศาสนาพุทธ และไดน้ �ำ มาปรบั ใชใ้ นพธิ กี รรม การถวายทานเปน็
พุทธบูชาเพ่ืออุทิศให้แก่บรรพบุรุษ “ผ้าจวี รพระเจา้ ” หรอื “ผ้ามุณจนะ”
ทอถวายเป็นพุทธบูชาในชว่ งเทศกาลออกพรรษา และในงานต้ังธรรม
เทศน์มหาชาติ นอกจากนี้ยังมีการพบบทบาทของผ้าไทลอื้ พะเยาใน
กิจกรรมส�ำ คัญทางศาสนา ซงึ่ ทั้งหญงิ และชายจะนิยมสวมใส่เพื่อเข้า
รว่ มในงานกิจกรรมต่างๆ เชน่ ศิลปะการแสดง การฟอ้ นดาบฟอ้ นเจงิ
ตบมะพาบ ฟอ้ นนก ฟอ้ นปอยบง้ั ไฟ ขบั เปา่ ป่ ี ขบั ปา่ หาโหล (เขา้ ปา่ หาฟนื )
ขบั โลงน�ำ้ โลงหนอง (ลงน�ำ้ ขบั เกยี้ วบา่ ว-สาว) หรอื แมแ้ ตใ่ ชใ้ นกจิ กรรม
วันสำ�คัญทางประเพณีของไทล้ือ เชน่ การบวชลูกแก้ว ตานธรรม
ตานก๋ วยสลาก ตานเข้ าพรรษา ออกพรรษา ฮ้ องขวั ญควาย
แฮกนา เลยี้ งผีเมืองเตวดาเฮอื น ผีหม้อนึ่ง เตาไฟ ผิดผีสาว
สืบชะตาหลวง กินแขก ประเพณีสงกรานต์ สูมาด�ำ หัวผู้เฒ่าผู้แก่

094 ผ้าทอไทลอ้ื เชยี งค�ำ -เชยี งม่วน

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

ในปัจจุบันวัฒนธรรมการทอผ้าไทล้ือแบบด้ังเดิมค่อยๆ

ลดน้อยจนหาชมไดย้ ากขนึ้ เรอ่ ื ยๆ ส�ำ หรบั ผทู้ นี่ ยิ มและตอ้ งการพบเหน็
ความงามอันวจิ ิตรบนผืนผ้าทอไทล้ือพะเยาจะพบเห็นความงาม
ละลานตาเหล่าน้ีจากผ้าท่ีชาวไทล้ือนำ�ออกมาใชส้ วมใส่ในเทศกาล
แต่ละเดือนท่ี ชาวไทล้ื อจัดกิจกรรม เช่น เดือนเจ๋ียง (เดือนอ้าย)
ปอยขึ้ นพระธาตุ ขึ้ นเรอื นใหม่ กินแขก (แต่งงาน) เดือนกรรม
เข้ากรรม (อยู่ ปรวิ าสกรรม) ตานข้าวใหม่ เดือนสาม เลี้ ยงผีเมือง
ป๋ ี ใหม่ไตล้ื อ เดือนส่ี สืบชาตาหลวงบวชตุ๊ กินแขก ขึ้ นเฮือนใหม่
ขนื้ เฮอื นใหมเ่ ดอื นเจด็ ปอยแรกนา (ปกั เสาแรกนาในนา บชู าขวญั ขา้ ว)
เดอื นแปดปอยพระบาท (บูชาชกั ผา้ รอยพระพุทธบาท) เดอื นเกา้ ตาน
เขา้ พรรษา ตานขา้ วหยาดน�ำ้ ตานธรรม อทุ ศิ สว่ นกศุ ลไปใหญ้ าตพิ นี่ อ้ ง
ผมู้ พี ระคณุ ท่ีลว่ งลบั ไปแลว้ เป็นต้น

ผ้าทอไทลอื้ เชยี งค�ำ -เชยี งม่วน 095

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

นายโชคดี อมรวฒั น์

ผู้วา่ ราชการจงั หวดั พะเยา

และภรยิ า

นางประภากร อมรวฒั น์

นายกเหลา่ กาชาดจงั หวดั พะเยา

(ชุดผ้าทอมือ “ลายขอเจา้ ฟา้ สิรวิ ณั ณวรฯี ”)
สถานท่ี : พระอุโบสถกลางน�ำ้ วดั ศรโี คมค�ำ

096


Click to View FlipBook Version