The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวันออก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by cr.cultural.lib, 2021-11-22 01:24:42

เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวันออก

เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวันออก

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

นายโชคดี อมรวฒั น์

ผู้วา่ ราชการจงั หวดั พะเยา
และภรยิ า

นางประภากร อมรวฒั น์

นายกเหลา่ กาชาดจงั หวดั พะเยา
(ชุดผ้าทอมือ “ลายขอเจา้ ฟา้ สิรวิ ณั ณวรฯี ”)
สถานที่ : พระอุโบสถกลางน�ำ้ วดั ศรโี คมค�ำ

ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ขา่ ยวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั พะเยา 097

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

(“ลายขอเจา้ ฟา้ สิรวิ ณั ณวรฯี ”)

นายโชคดี อมรวฒั น์

ผู้วา่ ราชการจงั หวดั พะเยา
และภรยิ า

นางประภาภร อมรวฒั น์

นายกเหลา่ กาชาดจงั หวดั พะเยา

098 ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ขา่ ยวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั พะเยา

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

(ผ้าซน่ิ ทอมือลายน�้ำ ไหล จาก (เสื้อชาติพันธุไ์ ทลอ้ื แต่งลาย ผ้าซน่ิ ทอมือลายจก
กัลยานีผ้าพ้ืนเมือง) จาก กัลยานีผ้าพ้ืนเมือง)

สถานท่ี : พระอุโบสถกลางน�ำ้ วดั ศรโี คมค�ำ

ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ขา่ ยวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั พะเยา 099

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

นายพินิจ แก้วจติ คงทอง

รองผู้วา่ ราชการจงั หวดั พะเยา
(เส้ือไทลอื้ แต่งลายด้นมือ)
สถานที่ : พระอุโบสถกลางน�ำ้ วดั ศรโี คมค�ำ

(เส้ือไทลอ้ื ชายขลบิ ด้วยผ้าแถบสี)

100 ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ขา่ ยวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั พะเยา

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

(เส้ือไทลอ้ื ชายขลบิ ด้วยผ้าแถบสี จาก
กัญยานีผ้าพ้ืนเมือง)

นายเทวา ปญั ญาบุญ

ปลดั จงั หวดั พะเยา
(เสื้อไทลอื้ ชายขลบิ ด้วยผ้าแถบสี จาก กัญยานีผ้าพ้ืนเมือง)

สถานที่ : พระอุโบสถกลางน�ำ้ วดั ศรโี คมค�ำ

ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ขา่ ยวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั พะเยา 101

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

นายไสว ไชยเมือง

วฒั นธรรมจงั หวดั พะเยา
(เสื้อไทลอ้ื ชายขลบิ ด้วยผ้าแถบสี จาก กัญยานีผ้าพ้ืนเมือง)
สถานที่ : พระอุโบสถกลางน�้ำ วดั ศรโี คมค�ำ

102

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

นายถกนธ์ ข่ายสุวรรณ

โยธาธกิ ารและผังเมืองจงั หวดั พะเยา
(เสื้อผ้าทอพื้นเมืองสีธรรมชาติแต่งด้วยลายด้นมือ

จาก กัญยานีผ้าพื้นเมือง)
สถานที่ : พระอุโบสถกลางน�้ำ วดั ศรโี คมค�ำ

103

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

นางสุมิตรา กัณฑมิตร

นายกเทศมนตรเี มืองพะเยา

(ชุดไทลอ้ื แต่งแถบด้วยผ้าทอไทลอื้
จาก กัญยานีผ้าพ้ืนเมือง)
สถานที่ : พระอุโบสถกลางน�ำ้ วดั ศรโี คมค�ำ

104 ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ข่ายวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั พะเยา

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

นายบุญสง่ เมืองกรุง

ประธานสภาวฒั นธรรมจงั หวดั พะเยา

(เส้ือผ้าทอพ้ืนเมืองด้นลายลา้ นนา จาก กัลญานีผ้าพ้ืนเมือง)
สถานที่ : พระอุโบสถกลางน�้ำ วดั ศรโี คมค�ำ

(เสื้อไทลอื้ ชายขลบิ ด้วยผ้าแถบสี จาก กัญยานีผ้าพ้ืนเมือง)

ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ข่ายวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั พะเยา 105

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

(ชุดชาติพันธุไ์ ทลอื้ จาก กัญยานีผ้าพ้ืนเมือง)
สถานท่ี : พระอุโบสถกลางน�้ำ วดั ศรโี คมค�ำ

นางมนต์รกั ธรี านุสรณ์ นางสาวนราภรณ์ มหาวงศ์

หัวหน้าฝ่ายบรหิ ารงานทั่วไป หัวหน้ากลุม่ กิจการพิเศษ

ส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั พะเยา ส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั พะเยา

106 ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ขา่ ยวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั พะเยา

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

นางสาวนนทยา พวงงาม วา่ ที่รอ้ ยตร ี นางสาวสุภาวรรณ อินสี
จารุกิตต์ิ ปัญจวฒั นานันท์
ผู้อ�ำ นวยการกลุม่ สง่ เสรมิ ศาสนา ผู้อ�ำ นวยการกลุม่ ยุทธศาตรแ์ ละ
ผู้อ�ำ นวยการกลุม่ อ�ำ นวยการ
ศิลปะและวฒั นธรรม เฝ้าระวงั ทางวฒั นธรรม
ศพท่ีได้พระราชทานท่ี ๘ พะเยา
ส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั พะเยา ส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั พะเยา
ส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั พะเยา

สถานท่ี : พระอุโบสถกลางน�้ำ วดั ศรโี คมค�ำ

107

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก” กลมุ่ กระเปา๋ ผา้ ดอยหนอก

ท�ำ เนยี บผปู้ ระกอบการผา้ ๒๒๕ หมู่ ๖ ต.บ้านตุ่น อ.เมือง
จ.พะเยา ๕๖๐๐๐
จงั หวดั พะเยา
โทรศพั ท์ ๐๘-๙๕๖๐-๕๐๙๙
กลมุ่ ทอผา้ ไทลอ้ื บา้ นทงุ่ กลว้ ย กลมุ่ ทอผา้ บา้ นปา่ คา
กลมุ่ เจยี มจติ ไหมฝา้ ย
๘๙ หมู่ ๕ ต.ทงุ่ กล้วย ๕๕ หมู่ ๓ ต.ควร อ.ปง
อ.ภูซาง จ.พะเยา ๕๖๑๑๐ จ.พะเยา ๕๖๑๔๐ ๓๐๑ หมู่ ๔ ต.เชยี งบาน อ.เชยี งคำ�
จ.พะเยา ๕๖๑๑๐
โทรศพั ท์ ๐๘-๖๑๙๗-๒๙๑๙ โทรศพั ท์ ๐๘-๔๓๑๗-๗๑๕๔
โทรศพั ท์ ๐๘-๑๑๑๑-๒๓๗๒
กลมุ่ ทอผา้ ไทลอ้ื บา้ นทงุ่ มอก กลมุ่ ท�ำ กระเปา๋ ดน้ มอื
กลมุ่ ดน้ ผา้ ดว้ ยมอื
๑๑๔ หมู่ ๕ ต.บ้านมาง อ.เชยี งม่วน ๑๐ หมู่ ๑๐ ต.ป่าสัก อ.ภูซาง
จ.พะเยา ๕๖๑๖๐ จ.พะเยา ๕๖๑๑๐ ๔๔/๑ หมู่ ๑๐ ต.บ้านต๋อม อ.เมือง
จ.พะเยา ๕๖๐๐๐
โทรศพั ท์ ๐๘-๒๑๘๐-๙๔๖๘ โทรศพั ท์ ๐๙-๘๒๘๔-๔๒๔๖
โทรศพั ท์ ๐๘-๖๙๒๔-๑๓๕๒

กลมุ่ ตดั เยบ็ ผา้ ดน้ มอื ชมุ ชน
วดั เมอื งชมุ

๔๖๗ ต.แม่ตำ๋�
อ.เมือง จ.พะเยา ๕๖๐๐๐

โทรศพั ท์ ๐๘-๙๙๕๕-๐๐๗๔

กจิ การกญั ยานผี า้ พนื้ เมอื ง

๑๘๐ หมู่ ๙ ต.บ้านต๋อม อ.เมือง
จ.พะเยา ๕๖๐๐๐

โทรศพั ท์ ๐๖-๒๔๔๘-๔๒๒๒

กลมุ่ ทอผา้ ไทลอ้ื บา้ นธาตภุ ซู าง

๑๐๓ หมู่ ๑๐ ต.ภูซาง อ.ภูซาง
จ.พะเยา ๕๖๑๑๐

โทรศพั ท์ ๐๘-๙๒๖๔-๘๙๖๓

108 ท�ำ เนียบผู้ประกอบการผ้าจงั หวดั พะเยา

อำ�เภอภูซาง “เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

อำ�เภอแม่ใจ กลมุ่ หตั ถกรรมงานฝมี อื

๒๓๓ หมู่ ๒ ต.ทา่ วงั ทอง อ.เมือง
จ.พะเยา ๕๖๐๐๐

โทรศพั ท์ ๐๘-๗๗๘๘-๓๔๕๐

กลมุ่ หตั ถกรรมเยบ็ ปกั ถกั รอ้ ย

๑๑/๑ หมู่ ๔ ต.ดอกคำ�ใต้ อ.ดอกคำ�ใต้
จ.พะเยา ๕๖๑๒๐

โทรศพั ท์ ๐๙-๓๓๘๔-๖๗๑๕

อำ�เภอเมืองพะเยา กลมุ่ เยบ็ ปกั ถกั รอ้ ยชมุ ชน
หลวงราชสนั ฐาน

๙๔๕/๔ ต.เวยี ง
อ.เมือง จ.พะเยา ๕๖๐๐๐

โทรศพั ท์ ๐๘-๑๙๖๐-๗๑๕๒

กลมุ่ ฮอมมอื บา้ นหว้ ยลกึ

๑๔๐ หมู่ ๑๑ ต.บ้านตุ่น อ.เมือง
จ.พะเยา ๕๖๐๐๐

โทรศพั ท์ ๐๙-๑๔๘๖-๗๕๙๓

กลมุ่ ผา้ มดั ยอ้ มแมอ่ งิ ชโิ บร ิ กลมุ่ สหกรณบ์ รกิ ารพฒั นาอาชพี กลมุ่ ทอผา้ ไทลอื้ บา้ นธาตสุ บแวน
สตรเีมอื งพะเยา
๑๔๒ หมู่ ๒ ต.แม่อิง อ.ภูกามยาว ๑๓๘/๑ หมู่ ๑ ต.หย่วน
จ.พะเยา ๕๖๐๐๐ ๑๓ หมู่ ๘ ต.สันป่าม่วง อ.เมือง อ.เชยี งคำ� จ.พะเยา ๕๖๑๑๐

โทรศพั ท์ ๐๖-๑๖๖๒-๔๔๖๙ จ.พะเยา ๕๖๐๐๐ โทรศพั ท์ ๐๘-๙๙๙๙-๑๘๕๔

โทรศพั ท์ ๐๘-๖๑๑๕-๗๖๗๕

กลมุ่ สมั มาชพี ทอเสอ่ื กก 109
บา้ นดอยอสี าน

๑๕๑ หมู่ ๒ ต.อ่างทอง อ.เชยี งคำ�
จ.พะเยา ๕๖๑๑๐

โทรศพั ท์ ๐๙-๓๐๕๐-๑๗๒๘

ท�ำ เนียบผู้ประกอบการผ้าจงั หวดั พะเยา

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก” นางสาว ดวงดาว ประกอบกจิ วสิ าหกิจกลุม่ ตัดเย็บบา้ นทุ่งเยน็

นาง เกยี ศกั ดร์ิ งุ่ เรอื ง ๗๖ หมู่ ๔ ต.แม่ใส อ.เมือง ๘๔ หมู่ ๑๔ ต.แม่ลาว อ.เชยี งคำ�
จ.พะเยา ๕๖๐๐๐ จ.พะเยา ๕๖๑๑๐
๔๓ หมู่ ๑๐ ต.ทงุ่ กล้วย อ.ภูซาง
จ.พะเยา ๕๖๑๑๐ โทรศพั ท์ ๐๘-๑๕๘๑-๖๖๗๘ โทรศพั ท์ ๐๙-๓๒๙๔-๔๔๙๒

โทรศพั ท์ ๐๙-๖๓๔๕-๙๓๕๔ แสนดี ผ้าฝ้าย

นาง ดวงแข แสนทรงสริ ิ นางสาว ลลิ าวลั ย์บญุ รกั ษา ๒๑๐ หมู่ ๑๐ ต.เชยี งแรง อ.ภูซาง
จ.พะเยา ๕๖๑๑๐
๑๑๐ หมู่ ๑๐ ต.ทงุ่ กล้วย อ.ภูซาง ๕๖ หมู่ ๑๓ ต.ปง อ.ปง
จ.พะเยา ๕๖๑๑๐ จ.พะเยา ๕๖๑๔๐ โทรศพั ท์ อ ๐๘-๔๖๖๐-๕๕๙๙

โทรศพั ท์ ๐๙-๓๐๓๕-๔๙๙๑ โทรศพั ท์ ๐๖-๓๑๓๕-๑๙๖๕ กลมุ่ ถนอมศรผี า้ ทอ

นาง ปารชิ าด แซว่ า่ ง นาย จ�ำ นงค์ปวงค�ำ ๕๒ หมู่ ๕ ต.สันโค้ง อ.ดอกคำ�ใต้
จ.พะเยา ๕๖๑๒๐
๑๔๗ หมู่ ๑๒ ต.ทงุ่ กล้วย อ.ภูซาง ๕ หมู่ ๒ ต.เชยี งแรง อ.ภูซาง
จ.พะเยา ๕๖๑๑๐ จ.พะเยา ๕๖๑๑๐ โทรศพั ท์ ๐๘-๑๐๒๐-๙๓๖๙

โทรศพั ท์ ๐๙-๓๐๖๑-๔๐๐๘ โทรศพั ท์ ๐๘-๔๔๘๕-๗๒๒๕

นาง ศศวิ มิ ล ชยั กลุ ธวชั ลี

๒๖๖ หมู่ ๙ ต.สบบง อ.ภูซาง
จ.พะเยา ๕๖๑๑๐

โทรศพั ท์ ๐๙-๓๒๔๐-๐๓๐๗

นาง สุดา ธรี วณิชนันท์

๒๐๔ หมู่ ๑ ต.ทา่ วังทอง อ.เมือง
จ.พะเยา ๕๖๐๐๐

โทรศพั ท์ ๐๘-๖๙๒๐-๘๗๗๐

นางสาว ชนรดา แซว่ า่ ง

๑๙๙ หมู่ ๑๒ ต.ทงุ่ กล้วย อ.ภูซาง
จ.พะเยา ๕๖๑๑๐

โทรศพั ท์ ๐๖-๑๓๑๔-๔๖๘๙

110 ท�ำ เนียบผู้ประกอบการผ้าจงั หวดั พะเยา

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

กลมุ่ ตดั เยบ็ และถกั โครเชตน์ ติ ตง้ิ

๙๘/๑ หมู่ ๕ ต.รม่ เย็น อ.เชยี งคำ�
จ.พะเยา ๕๖๑๑๐

โทรศพั ท์ ๐๙-๓๑๓๒-๑๗๙๖

กลมุ่ ตดั เยบ็ เสอื้ ผา้ ส�ำ เรจ็ รปู

๑๑ หมู่ ๑๒ ต.เจดียค์ ำ� อ.เชยี งคำ�
จ.พะเยา ๕๖๑๑๐

โทรศพั ท์ ๐๖-๒๖๐๘-๖๒๕๙

กลมุ่ เยบ็ ผา้ หมู่ ๑๑

๑๐๔ หมู่ ๑๑ ต.ห้วยลาน อ.ดอกคำ�ใต้
จ.พะเยา ๕๖๑๒๐

โทรศพั ท์ ๐๙-๓๒๒๗-๔๙๑๑

กลมุ่ ศลิ ปหตั กรรมจากสธี รรมชาติ

๑๗๕ หมู่ ๗ ต.ดอกคำ�ใต้
อ.ดอกคำ�ใต้ จ.พะเยา ๕๖๑๒๐

โทรศพั ท์ ๐๘-๙๔๓๓-๕๓๔๑

นาย นภพล สมฤทธ์ิ กลมุ่ ผา้ ทอแปรรปู สธี รรมชาติ กลมุ่ สตรสี หกรณท์ อผา้ ไทลอ้ื
บา้ นปงใหม่
๑/๔ ถ.รอบเวยี งประตูกลอง ๓๖ หมู่ ๒ ต.หยว่ น อ.เชยี งคำ�
ต.เวยี ง อ.เมือง จ.พะเยา ๕๖๐๐๐ จ.พะเยา ๕๖๑๑๐ ๒๑๐ หมู่ ๘ ต.ทงุ่ กล้วย อ.ภูซาง

โทรศพั ท์ ๐๙-๘๙๓๙-๖๔๖๕ โทรศพั ท์ ๐๘-๑๐๓๑-๗๘๐๗ จ.พะเยา ๕๖๑๑๐

นาย ยทุ ธพล มงุ่ จนั ทร์ โทรศพั ท์ ๐๘-๙๘๖๐-๕๓๘๓

๒๘ หมู่ ๑๐ ต.ทงุ่ กล้วย นาย เอกรนิ ทร์ ลทั ธศกั ยศ์ ริ ิ
อ.ภูซาง จ.พะเยา ๕๖๑๑๐
๑๕๓ หมู่ ๓ ต.แม่อิง อ.ภูกามยาว
โทรศพั ท์ ๐๘-๑๓๖๖-๖๖๕๘ จ.พะเยา ๕๖๐๐๐

โทรศพั ท์ ๐๖-๔๙๙๖-๕๓๙๘

ท�ำ เนียบผู้ประกอบการผ้าจงั หวดั พะเยา 111

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก” ทอผา้ บา้ นรอ่ งปอ กลมุ่ ผลติ ภณั ฑช์ าวเขาแปรรปู

กลมุ่ ทอผา้ ต�ำ บลเวยี ง ๒๓๙ หมู่ ๗ ต.ดงเจน อ.ภูกามยาว ๓๖๙/๖ หมู่ ๑๕ ต.หยว่ น
จ.พะเยา ๕๖๐๐๐ อ.เชยี งคำ� จ.พะเยา ๕๖๑๑๐
๑๙๙ หมู่ ๗ ต.เวยี ง อ.เชยี งคำ�
จ.พะเยา ๕๖๑๑๐ โทรศพั ท์ ๐๙-๔๒๔๙-๙๒๘๕ โทรศพั ท์ ๐๘-๑๘๑๑-๗๑๖๕

โทรศพั ท์ ๐๘-๑๐๒๘-๙๐๗๖ กลมุ่ ผา้ ปกั ชาวเขาอว้ิ เมยี่ นแปรรปู กลมุ่ สตรสี หกรณป์ ระชาภกั ดี

กลมุ่ ทอผา้ ไทลอ้ื บา้ นหยว่ น ๙๒ หมู่ ๑ ต.ผาชา้ งน้อย อ.ปง ๓๒๑ หมู่ ๘ ต.รม่ เย็น อ.เชยี งคำ�
จ.พะเยา ๕๖๑๔๐ จ.พะเยา ๕๖๑๑๐
๑๘๖ หมู่ ๓ ต.หยว่ น อ.เชยี งคำ�
จ.พะเยา ๕๖๑๑๐ โทรศพั ท์ ๐๘-๔๘๐๙-๕๔๒๐ โทรศพั ท์ ๐๙-๘๙๕๔-๙๘๙๕

โทรศพั ท์ ๐๘-๗๑๘๒-๖๗๓๐

คณุ กอ้ ยผา้ ไทย

๓๖๙/๗ หมู่ ๑๕ ต.หยว่ น อ.เชยี งคำ�
จ.พะเยา ๕๖๑๑๐

โทรศพั ท์ ๐๘-๑๘๔๙-๑๒๐๙

กลมุ่ ทอผา้ ไทลอ้ื บา้ นลา้

๗๑ หมู่ ๔ ต.เวยี ง อ.เชยี งคำ�
จ.พะเยา ๕๖๑๑๐

โทรศพั ท์ ๐๘-๓๕๖๕-๐๑๔๐

กลมุ่ ทอผา้ บา้ นบอ่ นอ้ ย

๑๙๕ หมู่ ๔ ต.อ่างทอง
อ.เชยี งคำ� จ.พะเยา ๕๖๑๑๐

โทรศพั ท์ ๐๘-๙๒๗๒-๕๙๒๕

กลมุ่ ปกั ประดษิ ฐล์ ายปกั ชาวเขา

๑๑๖ หมู่ ๘ ต.นาปรงั อ.ปง จ.พะเยา ๕๖๑๔๐

โทรศพั ท์ ๐๖-๒๕๙๓-๙๔๔๖

112 ท�ำ เนียบผู้ประกอบการผ้าจงั หวดั พะเยา

เชยี งราย

“เหนือสุดในสยาม ชายแดนสามแผ่นดิน ถ่ินวฒั นธรรมลา้ นนา
ล�้ำ ค่าพระธาตุดอยตุง”

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

วถิ ีความเป็นมาผ้าทอ
ของจงั หวดั เชยี งราย

เดิมวถิ ีชวี ติ ของชาวบ้านมีความเป็นอยู่เรยี บง่าย เป็นการผลิตเพ่ือใชใ้ นครวั เรอื น พึ่งพาปัจจยั ภายนอกน้อย มีความเอ้ืออาทร

ในชุมชน เป็นสงั คมท่ีใชเ้ งนิ ตราน้อย ที่เห็นได้ทั่วโลกในทุกชุมชนโดยเฉพาะในสงั คมเกษตร ทุกครวั เรอื นจะทอผ้าเพ่ือใชส้ อยและถ่ายทอด
ให้แก่สมาชิกที่เป็นเพศหญิงการทอผ้าเป็นงานศิลปะที่ต้องใช้ทั้งความขยัน ความอดทน ความพยายาม และความประณีต ละเอียดอ่อน
แม่ หรอื ยายจะเป็นผู้อบรมและถ่ายทอดให้แก่บุตรสาวหรอื หลานสาว ส่ังสมเป็นภูมิปัญญาที่ได้รบั การถ่ายทอดจากบรรพบุรุษรุน่ หนึ่งไปสู่อีก
รุน่ หนึ่งเสมือนมรดกทางวฒั นธรรม

ชาวไทลื้อ คือ กลุ่มชาติพันธุ์ท่ีพูดภาษาไต มีถ่ินก�ำ เนิด

ในสิบสองปันนา มณฑลยูนนานสาธารณรฐั ประชาชนจีน ปัจจุบัน
มีไทล้ือจ�ำ นวนมากอาศัยในประเทศไทยกระจายอยู่ใน ๗ จังหวัด
ภาคเหนือ ได้แก่ เชียงใหม่ ลำ�พูน ลำ�ปาง พะเยา แพร่ น่านและ
เชยี งราย อาชพี หลกั ของชาวไทลอื้ คือ เกษตรกรรม มีการทอผ้าเป็น
อาชพี เสรมิ แม้จะมีการปรบั เปล่ียนทางเศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม
นวตั กรรมและยุคสมัยที่เปลย่ี นไป แต่ชาวไทลอ้ื ยงั ยดึ ม่ันใน วถิ ีชวี ติ
อัตลกั ษณ์ความเชอื่ ประเพณี พิธกี รรม และการทอผ้าไวค้ งเดิม
ผ้าทอไทล้ือเป็นเศรษฐกิจสรา้ งสรรค์ท่ีประกอบไปด้วยวัฒนธรรม
ผสมเศรษฐกิจสรา้ งสรรค์และเศรษฐกิจสมัยใหม่


114 วถิ ีความเป็นมาผ้าทอของจงั หวดั เชยี งราย

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

ชาวไทลื้อในชุมชนศรดี อนชยั ชุมชนหาดบ้าย
อ�ำ เภอเชยี งของ และอ�ำ เภอเวยี งแก่น เป็นกลุ่มชาติพันธุ์

ไทลอ้ื ทม่ี วี ฒั นธรรมทส่ี �ำ คัญและโดดเด่นในการทอผา้ มลี กั ษณะพเิ ศษ
ลวดลายบนลายผา้ ทไ่ี ดแ้ สดงออกถงึ อตั ลกั ษณ์ของชาวไทลอ้ื เกดิ จาก
ภมู ปิ ญั ญาของชาวไทลอ้ื คอื ผา้ ซน่ิ ของผหู้ ญงิ ไทยลอื้ ทเี่ รยี กวา่ “ซน่ิ ตา”
ซงึ่ เป็นผ้าท่ีมีลกั ษณะโครงสรา้ งประกอบด้วย ๓ ส่วน คือ หัวซน่ิ สีแดง
ตวั ซน่ิ ลายขวางหลากสี ตนี ซน่ิ สดี �ำ ความเดน่ อยทู่ ตี่ วั ซน่ิ ซงึ่ มรี ว้ ิ ลายขวาง
สลบั สสี ดใส และตรงชว่ งกลางมลี วดลายทท่ี อดว้ ยเทคนคิ ขดิ จก เกาะ
หรอื ลว้ ง เปน็ ลายรปู สตั วใ์ นวรรณคดี ลายเรขาคณติ ลายพรรณพฤกษา
เอกลกั ษณส์ �ำ คญั คอื การทอผา้ ดว้ ยเทคนคิ เกาะ หรอื ลว้ ง หรอื รจู้ กั กนั วา่
“ลายน้ำ�ไหล” ซงึ่ มีความยุ่งยากซบั ซอ้ น แต่ท�ำ ให้เกิดลวดลายและ
สีสันท่ีงดงาม

วถิ ีความเป็นมาผ้าทอของจงั หวดั เชยี งราย 115

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

ผ้าซน่ิ ไทลอื้ บ้านหาดบ้าย
ชุมชนบา้ นหาดบา้ ย อ�ำ เภอเชยี งของ จงั หวดั เชยี งราย

กลมุ่ ไทลอ้ื กลมุ่ ใหญท่ อ่ี พยพมาจากสบิ สองปนั นา มาตงั้ ถน่ิ ฐานอยรู่ มิ ฝ่ งั แมน่ �้ำ โขงเมอื่ ๒๐๐ ปมี าแลว้ บรรพชนไทลอ้ื นยิ มทอผา้ ฝ้าย

จากฟองฝา้ ยทปี่ ลูกเองตามเนินเขาหรอื จากสวนไร่ เชน่ ผา้ ซน่ิ เสอ้ื กางเกง ถุงยา่ ม เปน็ ตน้ โดยปจั จุบนั ชาวไทลอ้ื ยงั คงรกั ษากรรมวธิ กี ารทอผา้
ตามแบบวฒั นธรรมของชาวไทลอ้ื ถอื เปน็ ผา้ ทอไทลอื้ ทม่ี ชี อื่ เสยี งมาอยา่ งยาวนานดว้ ยเอกลกั ษณท์ โี่ ดดเดน่ ทง้ั ลวดลาย ความละเอียด และการ
ให้สีสัน รูปแบบทอผ้าซน่ิ ในโครงสรา้ ง วสั ดุ เทคนิคและสีแบบดั้งเดิมตามจารตี ไทลอื้

116 ผ้าซน่ิ ไทลอ้ื บ้านหาดบา้ ย

ครูสุขาวดี ติยะธะ “เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

ครูชา่ งศิลปหัตถกรรม ปี ๒๕๕๗ การทอลายผ้าใช้เทคนิคการจกท่ียังคง

ชุมชนบ้านหัตถกรรมบา้ นหาดบา้ ย ลวดลายรูปแบบดั้งเดิม เชน่ ลายอีบี้ (แมลงปอ) ลายดอกฮอ้
และลายดอกหน่วย โดยเฉพาะลายดอกหน่วย ถ้าทอลงบนผ้า
ผืนไหนผ้าผืนนั้ นจะมีราคาค่อนข้างสูง เพราะทอได้ยากและ
ใชเ้ วลานาน ลายกาบ ลายดอกจาย ลายดอกบา่ ง ลายดอก ตงั้ กลาง
และลายดอกหบั รวมไปถงึ ลายสตั ว์ มสี สี นั สดใส โดยนิยมใชส้ สี นั
ทตี่ ดั กนั ไปมา ซงึ่ ถอื เปน็ เอกลกั ษณอ์ นั โดดเดน่ เฉพาะตวั ท่ีท�ำ ให้
ผ้าซน่ิ ไทล้ือบ้านหาดบ้ายมีความสวยงามและแตกต่างไปจาก
ผ้าซน่ิ ไทลอื้ ของพื้นที่อื่น

การทอผ้าด้วยเทคนิค เกาะหรอื ลว้ ง ลายอีบ้ี (ลายแมลงปอ)

ผ้าซน่ิ ไทลอื้ บา้ นหาดบา้ ย 117

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

ผ้าซน่ิ ไทลอื้ เชยี งของ
(ศรดี อนชยั )

ชุมชนศรดี อนชยั ไทลอื้ อ�ำ เภอเชยี งของ จงั หวดั เชยี งราย

ลายผา้ ทอผา้ ศรดี อนชยั เป็นลายเอกลกั ษณ์ของไทลอื้

เรยี กวา่ “ลายน�้ำ ไหล” ภาษาไทลอื้ เรยี กวา่ ซน่ิ เกาะลว้ ง มหี ลากหลายลาย
เชน่ ลายเกาะพาน ลายเกาะขัน ลายเกาะเครอื คือเถาวัลย์ต้นไม้
ลายงูลอย(งูลอยในน�ำ้ ) และลายเกาะยอดหนอ่ ไม้ ซงึ่ เปน็ ลายจนิ ตนาการ
ของคนเฒ่าคนแก่ท่ีเข้าไปในป่าเห็นหน่อไม้ก็เอามาเป็นลายผ้า
ถอื เป็นภูมิปัญญาแบบชาวบ้าน

การแตง่ กายทเี่ ปน็ เอกลกั ษณ์ไทลอื้ คอื ผา้ ซน่ิ ของผหู้ ญงิ ไทลอื้
ทเี่ รยี กวา่ “ซน่ิ ตา” ซงึ่ เปน็ ผา้ ซน่ิ ทม่ี ี ๒ ตะเขบ็ มลี กั ษณะโครงสรา้ ง
ประกอบดว้ ย ๓ สว่ นคอื หวั ซน่ิ สแี ดง ตวั ซน่ิ ลายขวางหลากสตี อ่ ตนี ซน่ิ
สีด�ำ ความเด่นอยู่ท่ีตัวซน่ิ มีรว้ ิ ลายขวางสลบั สีสดใส และตรงชว่ งกลาง
มลี วดลายทท่ี อดว้ ยเทคนคิ ขดิ จก เกาะหรอื ลว้ ง เปน็ ลายรปู สตั วใ์ นวรรณคดี
ลายพรรณพฤกษา และลายเรขาคณติ

118 ผ้าซน่ิ ไทลอ้ื เชยี งของ ศรดี อนชยั

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

การทอผ้าด้วยเทคนิค เกาะหรอื ล้วง เป็นเทคนิคที่มีความยุ่งยาก
ซบั ซอ้ น แต่ท�ำ ให้เกิดลวดลาย และสีสันที่งดงามแปลกตา แต่เดิมชาวไทลอ้ื
นิยมทอผ้าลายน�้ำ ไหล โดยใชฝ้ ้ายสีสันท่ีสดใส ทอยอ้ นสลบั กลบั ไปมาตาม
จงั หวะลวดลาย และนิยมฝ้ายสีขาวทอเกาะเป็นขอบ คล้ายฟองคล่ืนของ
สายนำ้�แทรกสลับระหว่างชว่ งลวดลาย แต่ในปัจจุบันได้มีการพัฒนาสีสัน
ให้หลากหลาย และมีการใชเ้ ส้นด้ายท�ำ ด้วยด้ินเงนิ ด้ินทอง เพื่อเพ่ิม
ความหรูหราแวววาวให้ผืนผ้า และเป็นอัตลกั ษณ์อันโดดเด่น
เฉพาะกลุม่ ท่ีแตกต่างจากผ้าซน่ิ ของ
กลุม่ ชาติพันธุไ์ ทกลุม่ อ่ืนๆ

ผ้าซน่ิ ลายน�้ำ ไหล

119

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

ผ้าซน่ิ ไทลอ้ื เวยี งแก่น

กลุม่ ไทลอ้ื อ�ำ เภอเวยี งแก่น จงั วดั เชยี งราย

ผา้ ทอไทลอื้ ของอ�ำ เภอเวยี งแกน่ จะสมั ผสั ไดถ้ งึ ความงดงามบนผนื ผา้ ทอ โดยมกี ารใชศ้ ลิ ปหตั ถกรรมทมี่ คี วามเปน็ มาของชาวไทลอื้

ท�ำ ให้เห็นถึงความเป็นเอกลักษณ์ และสัญลักษณ์ของความเป็นไทล้ือ โดยมีภูมิล�ำ เนามาจากสิบสองปันนา เอกลักษณ์ไทล้ือ คือ ผ้าซน่ิ หรอื
เรยี กว่า “ซน่ิ ตา” ท่ีมี ๒ ตะเข็บ โดยประกอบด้วย ๓ ส่วน คือ หัวซน่ิ สีแดง ตัวซน่ิ ลายขวางหลากสีต่อตีนซน่ิ สีด�ำ มีรว้ ิ ลายขวางสลับสีด�ำ และ
รว้ ิ รอยลายขวางสลบั สีสดใส ตรงกลางจะมีลวดลายท่ีทอด้วยเทคนิค ขดิ จก เกาะหรอื ลว้ ง เป็นลวดลายสัตวใ์ นวรรณคดี ลายพรรณพฤกษา และ
ลายเรขาคณิต เปน็ ทรี่ จู้ กั กนั วา่ “ลายน�้ำ ไหล” ซงึ่ เปน็ เอกลกั ษณอ์ นั โดดเดน่ เฉพาะกลมุ่

ลกั ษณะเด่นที่เป็นอัตลกั ษณ์ชาวไทลอื้ อ�ำ เภอเวยี งแก่น นิยมทอผ้าลายน�ำ้ ไหลใชฝ้ า้ ยสีสันท่ีสดใส ทอยอ้ นสลบั

กลบั ไปมาตามจงั หวะลวดลาย และนิยมฝา้ ยสขี าวทอเกาะเปน็ ขอบคลา้ ยฟองคลน่ื ของสายน�้ำ แทรกสลบั ระหวา่ งชว่ งลวดลาย ในปจั จุบนั ทอไดม้ ี
การพัฒนาสีสันให้หลากหลายขนึ้ และท�ำ ด้วยด้ินเงนิ ด้ินทอง เพ่ือเพ่ิมความหรูหราแวววาวให้ผืนผ้า มีการแต่งลายกลางซน่ิ ให้มีขนาดใหญข่ นึ้
วธิ กี ารทอทง้ั แบบเกาะและจก มลี กั ษณะลายแบบเรขาคณติ ลกั ษณะลายจะเปน็ รว้ ิ ลายขวางสลบั สที สี่ ดใสโดดเดน่ สที นี่ ิยมคอื แดง เหลอื ง
ชมพู เขยี ว มว่ ง

120 ผ้าซน่ิ ไทลอ้ื เวยี งแก่น

เทคนคิ การทอผา้ “เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

เ ป็น รู ป แ บ บ ก า ร ท อ ผ้า ที่นิ ย ม กัน ม า ก ใ น ภ า ค เห นื อ ข อ ง ผ้าซน่ิ ไทลอ้ื เวยี งแก่น 121
ประเทศไทย ในกลมุ่ ไทลอื้ อ�ำ เภอเวยี งแกน่ จงั หวดั เชยี งราย โดยชาวไทลอื้
อ�ำ เภอเวยี งแก่น เรยี กวา่ การ “เกาะ”
เกาะเป็นวธิ ีการทอท่ีไม่ได้ใช้เส้นพุ่งสอดจากรมิ ผ้าด้านหนึ่ง
ไปสรู่ มิ ผา้ อกี ดา้ นหนงึ่ โดยการเกย่ี วและผกู เปน็ หว่ งรอบเสน้ ยนื ไปเปน็ ชว่ ง
ตามจงั หวะลวดลาย เรยี กกันวา่ “ผ้าลายน�ำ้ ไหล” หรอื เป็นห่วงรอบด้าย
เสน้ ยนื เพอ่ื ยดึ เสน้ พงุ่ แตล่ ะชว่ งไว้ ไมไ่ ดใ้ ชด้ า้ ยเสน้ พงุ่ พเิ ศษแบบขดิ และจก
ชาวไทลื้อส่วนใหญ่เรยี กการทอเทคนิคชนิดนี้ว่า “เกาะ” แต่มีชาวไทล้ือ
บางแหง่ ทเ่ี รยี กตา่ งออกไป เชน่ เรยี กวา่ “คลอ้ ง” (ออกเสยี งวา่ “กอ๊ ง”)
“คอ้ น” (ออกเสยี งวา่ “กอ๊ น” ) หรอื “ลว้ ง” (ออกเสยี งวา่ “ลง้ ” ) ชาวไทลอื้
บางแห่งใชว้ ธิ ีเหยียบไม้บังคับขา แล้วใชน้ ้ิวสอดด้ายเส้นพุ่ง จงึ เรยี ก
ลวดลายทเี่ กดิ จากการทอดว้ ยเทคนคิ เกาะและเหยยี บไมน้ วี้ า่ “ดอกย�่ำ แป”

ผ้าจกตามลกั ษณะลวดลาย

๑. ลวดลายอุดมคติ เปน็ ลวดลายทสี่ ะทอ้ นความเชอื่ ในศาสนาออกมา
เปน็ รปู สญั ลกั ษณอ์ นั เกย่ี วเนอ่ื งกบั ศาสนา พบลวดลายลกั ษณะนใี้ นซน่ิ
ตนี จกเปน็ สว่ นใหญ่ ไดแ้ ก่ รปู โคม ขนั น�้ำ ตน้ นาค หงสส์ ะเปา ทปี่ ระกอบ
ขึ้นเป็นซน่ิ ตีนจก นอกจากนี้ยังปรากฏ รูปขันดอก รูปหงส์ในผ้าป้าด
(ผา้ พาดบา่ ) หรอื ลายนาคในหน้าหมอน เปน็ ตน้

๒. ลวดลายคนและสัตว์ ส่วนใหญ่พบในผ้าหลบสะลี (ผ้าปูที่นอน)
ผา้ ปา้ ด ไดแ้ ก่ รปู มา้ ชา้ ง ไก่ ลา ลายเขยี้ วหมา ลายงูเตวตาง ลายฟนั ปลา
และลายคน ในหนา้ หมอนไดแ้ ก่ รปู ปู กบ เปน็ ตน้

๓ . ลวดลายพรรณพฤกษา พบในหน้าหมอนเป็นส่วนใหญ่ ได้แก่
ลายดอกจนั ทร์ กดุ ผกั แวน่ เปน็ ตน้

๔. ลวดลายเปรยี บเทยี บสง่ิ ของใกลต้ วั เชน่ ลายกดุ ตาแสง กดุ พอ่ เฮอื นเมา
กดุ กระแจ กดุ ขอเบด็ กดุ สามเสา พบลวดลายเหลา่ นใี้ นหนา้ หมอน

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

นายประจญ ปรชั ญ์สกุล (ชาย : ผ้าฝ้ายทอมือแต่งแถบไทลอื้ โบราณ)
(หญงิ : ผ้าซน่ิ รางวลั ชนะเลศิ “สุดยอดผ้าไทย ๔ ภูมิภาค”
ผู้วา่ ราชการจงั หวดั เชยี งราย
ผ้าทอผืนงาม ประเภทผ้าฝ้าย พ.ศ. ๒๕๕๙ )
และภรยิ า สถานที่ : จวนผู้วา่ ราชการจงั หวดั เชยี งราย

นางดวงจติ ต์ ปรชั ญ์สกุล

นายกเหลา่ กาชาดจงั หวดั เชยี งราย

122

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

นายประจญ ปรชั ญส์ กุล

ผู้วา่ ราชการจงั หวดั เชยี งราย
และภรยิ า

นางดวงจติ ต์ ปรชั ญส์ กุล

นายกเหลา่ กาชาดจงั หวดั เชยี งราย

(ซน่ิ จกลายแมลงปอ)

(ชาย : เส้ือไทลอ้ื แต่งด้วยด้ายด้นมือ จาก รา้ น พิน บัวละวงค์)
(หญิง : ชุดไทลอื้ จาก กลุม่ ทอผ้าไทลอ้ื บา้ นหาดบา้ ย “สุขาวดี”)

สถานที่ : จวนผู้วา่ ราชการจงั หวดั เชยี งราย

ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ขา่ ยวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งราย 123

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

นายประจญ ปรชั ญส์ กุล

ผู้วา่ ราชการจงั หวดั เชยี งราย

และภรยิ า

นางดวงจติ ต์ ปรชั ญ์สกุล

นายกเหลา่ กาชาดจงั หวดั เชยี งราย

(เสื้อไทลอื้ แต่งด้วยผ้าปักชาวยองบา้ นสันทางหลวง อ.แม่จนั ) (ผ้าทอเกาะลว้ ง
สถานท่ี : จวนผู้วา่ ราชการจงั หวดั เชยี งราย ลายพระอาทิตย์)

124 ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ข่ายวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งราย

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

นายวุฒิชยั เสาวโกมุท

รองผู้วา่ ราชการจงั หวดั เชยี งราย

และภรยิ า

นางจนั ทรเ์ พ็ญ เสาวโกมุท

(ชุดผ้าฝา้ ยทอมือสีธรรมชาติ) (ชาย : ผ้าฝ้ายทอมือแต่งแถบแบบไทลอ้ื โบราณ
จาก รา้ น พิน บัวละวงค์)
(หญิง : ชุดไทลอ้ื )
สถานท่ี : อุทยานศิลปะวฒั นธรรมแม่ฟา้ หลวง

ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ข่ายวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งราย 125

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

วา่ ท่ีรอ้ ยตรณี รงค์ โรจนโสทร

รองผู้วา่ ราชการจงั หวดั เชยี งราย

และภรยิ า

นางศุภกาญจน์ โรจนโสทร

(ชาย : ผ้าฝ้ายทอมือแต่งแถบแบบไทลอ้ื โบราณ
จาก กลุม่ ทอผ้าสตรศี รดี อนชยั )

(หญงิ : ชุดไทลอ้ื ผ้าซน่ิ จกลายตาไก่
ลายแมลงปอ จาก กลุม่ ทอผ้าไทลอ้ื

บ้านหาดบ้าย “สุขาวดี”)
สถานที่ : อุทยานศิลปะวฒั นธรรมแม่ฟา้ หลวง

126 ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ข่ายวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งราย

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

(ชาย : ผ้าฝ้ายทอมือแต่งแถบแบบไทลอ้ื โบราณ วา่ ที่รอ้ ยตรณี รงค์ โรจนโสทร
จาก กลุม่ ทอผ้าสตรศี รดี อนชยั )
(หญิง : ชุดไทลอื้ ผ้าทอลาย จกลายใบพัด รองผู้วา่ ราชการจงั หวดั เชยี งราย
ผสมเกาะยอด )
สถานที่ : อุทยานศิลปะวฒั นธรรมแม่ฟา้ หลวง และภรยิ า

นางศุภกาญจน์ โรจนโสทร

ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ขา่ ยวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งราย 127

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

นายภาษเดช หงส์ลดารมภ์

รองผู้วา่ ราชการจงั หวดั เชยี งราย

(ผ้าฝา้ ยทอมือแต่งแถบแบบไทลอื้ โบราณ)
สถานที่ : อุทยานศิลปะวฒั นธรรมแม่ฟา้ หลวง

128

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

นายวรวทิ ย์ ชยั สวสั ด์ิ

รองผู้วา่ ราชการจงั หวดั เชยี งราย

และภรยิ า

นางรุง่ อรุณ ชยั สวสั ด์ิ

(ชาย : ผ้าฝ้ายทอมือแต่งแถบแบบไทลอื้ โบราณ (ซน่ิ จกลายใบพัดผสมเกาะยอด)
จาก กลุม่ ทอผ้าสตรศี รดี อนชยั )
(หญิง : ชุดไทลอ้ื จาก กลุม่ ผ้าทอไตลอ้ื แม่ดอกแก้ว)
สถานที่ : โรงแรมไชยนารายณ์ รเิวอรไ์ ซด์

ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ขา่ ยวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งราย 129

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

นายประเสรฐิ จติ ต์พลชี พี

ปลดั จงั หวดั เชยี งราย

และภรยิ า

นางสุวาภรณ์ จติ ต์พลชี พี

(ซน่ิ จกลายกาบกุญแจลอ้ มแก้ว (ชาย : ผ้าฝ้ายทอมือแต่งแถบแบบไทลอ้ื โบราณ
ต่อมหลวงผสมเกาะบ้าง) จาก กลุม่ ทอผ้าสตรศี รดี อนชยั )
(หญิง : ชุดไทลอื้ จาก กลุม่ ผ้าทอไตลอ้ื แม่ดอกแก้ว)
สถานท่ี : อุทยานศิลปะวฒั นธรรมแม่ฟา้ หลวง

130 ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ข่ายวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งราย

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

นายพิสันต์ จนั ทรศ์ ิลป์

วฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งราย
(ผ้าไหมแกมฝา้ ยแต่งด้วยลวดลายไทลอ้ื แบบเจา้ นาย)
สถานที่ : อุทยานศิลปะวฒั นธรรมแม่ฟา้ หลวง

ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ขา่ ยวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งราย 131

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

นายกฤษณะ พินิจ

หัวหน้าสาํ นักงานจงั หวดั เชยี งราย

(ผ้าไหมแกมฝา้ ยแต่งด้วยลวดลายไทลอื้ แบบเจา้ นาย
จาก กลุม่ สตรที อผ้าศรดี อนชยั )

สถานที่ : อุทยานศิลปะวฒั นธรรมแม่ฟา้ หลวง

132

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

นางสาวปทั มาภรณ์ จนั ทรคณา ศรสี วสั ด์ิ

ผู้อ�ำ นวยการกลุม่ งานบรหิ ารยุทธศาสตร์

กลุม่ จงั หวดั ภาคเหนือตอนบน ๒

ส�ำ นักงานจงั หวดั เชยี งราย

(เส้ือป๊ ดั จาก กลุม่ ทอผ้าไทลอ้ื บ้านหาดบ้าย “สุขาวดี” (ลายเกาะก้นต่อ เกาะบา้ ง
ซน่ิ จก จาก เฮอื นค�ำ แพง) เกาะยอด เกาะเครอื เกาะปา้ น)
สถานท่ี : อุทยานศิลปะวฒั นธรรมแม่ฟา้ หลวง

ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ข่ายวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งราย 133

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”
(ชุดสวมใส่ประจ�ำ วนั ประยุกต์จากผ้าซน่ิ ตีนจกเชยี งของ)

นางสลกั จฤฎด์ิ ติยะไพรชั

ประธานสภาวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งราย
(ชุดไทลอ้ื ผ้าซน่ิ ตีนจกเชยี งของ)
สถานที่ : สนามสงิ ห์ สเตเดียม

134 ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ข่ายวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งราย

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

นางสลกั จฤฎด์ิ ติยะไพรชั

ประธานสภาวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งราย
(ชุดลา้ นนาไทเขนิ )

สถานที่ : สนามสงิ ห์ สเตเดียม

ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ขา่ ยวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งราย 135

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก” “มรดกภูมิปญั ญา ผ้าล้านนาตะวนั ออก”

ดร.อนุรกั ษ์ อินทร

ประธานหอการค้าจงั หวดั เชยี งราย
(ผ้าฝ้ายทอมือแต่งแถบแบบไทลอ้ื โบราณ
จาก กลุม่ ทอผ้าสตรศี รดี อนชยั )
สถานที่ : อุทยานศิลปะวฒั นธรรมแม่ฟา้ หลวง

136

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

นางนงเยาว์ เนตรประสิทธ์ิ

นายกสมาคมสหพันธท์ ่องเที่ยวภาคเหนือ
(ชุดสวมใส่ประจ�ำ วนั ออกแบบเพื่อยกระดับ

สง่ เสรมิ ผ้าทอไทลอ้ื เชยี งของสู่สากล
จาก YOURS THAILAND)

สถานที่ : อุทยานศิลปะวฒั นธรรมแม่ฟา้ หลวง

ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ขา่ ยวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งราย 137

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

(ผ้าทอไทลอ้ื บา้ นหาดบา้ ย)

ดร.อนงค์ศร ีสิทธอิ าษา (ชุดประยุกต์
จากผ้าทอไทลอ้ื บา้ นหาดบ้าย)
ประธานชมรมรกั ษ์ผ้าลา้ นนา

(ผ้าทอไทลอื้ บ้านหาดบา้ ย)
สถานที่ : อุทยานศิลปะวฒั นธรรมแม่ฟา้ หลวง

138 ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ข่ายวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งราย

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

(ชุดสวมใส่ประจ�ำ วนั ออกแบบเพ่ือยกระดับ
สง่ เสรมิ ผ้าทอไทลอ้ื เชยี งของสู่สากล
จาก YOURS THAILAND)

(ผ้าทอไทลอ้ื บ้านหาดบา้ ย
แต่งลายด้วยผ้าปักมือชาวเขา)

ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ข่ายวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งราย 139

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

นางเบญ็ จมาส บุญเทพ นางสิรริ ตั น์ โอภาพ

ผู้อ�ำ นวยการกลุม่ สง่ เสรมิ ศาสนา ศิลปะและวฒั นธรรม ผู้อ�ำ นวยการกลุม่ ยุทธศาสตรแ์ ละเฝา้ ระวงั ทางวฒั นธรรม

ส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งราย ส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งราย

นางสาวทัศนีย์ ดอนเนตร์ นางสาวสุพิชชา ชุม่ มะโน นายภัทรพงษ์ มะโนวนั

ผู้อ�ำ นวยการกลุม่ กิจการพิเศษ หัวหน้าฝ่ายบรหิ ารทั่วไป หัวหน้ากลุม่ พิธกี ารศพที่ได้รบั พระราชทาน

ส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งราย ส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งราย ส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งราย

140 ชุดลา้ นนา โดย ผู้บรหิ าร บุคคลส�ำ คัญ เครอื ข่ายวฒั นธรรม และบุคลากรของส�ำ นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั เชยี งราย

ท�ำ เนยี บผปู้ ระกอบการผา้ “เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

จงั หวดั เชยี งราย กลุม่ ทอผ้าพื้นเมือง
เชยี งแสน

๙๘ หมู่ ๕ ต.เวยี ง อ.เชยี งแสน
จ.เชยี งราย ๕๗๑๕๐

โทรศัพท์ ๐๖-๑๙๒๕-๒๔๘๕

กลุม่ ทอผ้าพ้ืนเมือง
ยอ้ มสีธรรมชาติ

๖๙ หมู่ ๓ ต.ศรถี ้อย อ.แม่สรวย
จ.เชยี งราย ๕๗๑๘๐

โทรศัพท์ ๐๘-๙๙๕๒-๕๖๗๙

กลุม่ ไทลอ้ื รมิ โขง

๒๗๙ หมู่ ๘ ต.รมิ โขง อ.เชยี งของ
จ.เชยี งราย ๕๗๑๔๐

โทรศัพท์ ๐๙-๕๖๘๗-๓๑๒๙

กลุม่ ผ้าทอไทลอื้ เฮอื นค�ำ แพง กลุม่ ทอผ้าไทลอื้
(บ้านแม่ครูดอกแก้ว) บา้ นหาดบา้ ย
๑๑๙ หมู่ ๑๔ บา้ นศรมี งคล ต.ศรดี อนชยั
๑๖/๑ หมู่ ๗ ต.ศรดี อนชยั อ.เชยี งของ อ.เชยี งของ จ.เชยี งราย ๕๗๑๔๐ ๘๔/๑ หมู่ ๑ ต.รมิ โขง อ.เชยี งของ

จ.เชยี งราย ๕๗๑๔๐ โทรศัพท์ ๐๘-๑๓๖๖-๙๔๔๗ จ.เชยี งราย ๕๗๑๔๐

โทรศัพท์ ๐๘-๑๗๐๖-๕๓๕๐ โทรศัพท์ ๐๙-๗๙๔๙-๑๖๓๘

กลุม่ งานผ้าบา้ นแม่สาด กลุม่ ทอผ้าบา้ นโป่งเทว ี

๒๘๖ หมู่ ๔ ต.แม่กรณ์ อ.เมือง ๑๙๗ หมู่ ๒ ต.บา้ นโป่ง อ.เวยี งป่าเปา้
จ.เชยี งราย ๗๕๐๐๐ จ.เชยี งราย ๕๗๗๐๐

โทรศัพท์ ๐๘-๙๒๖๑-๕๗๕๗ โทรศัพท์ ๐๘-๓๐๘๖-๒๓๗๘

กลุม่ ทอตุงลา้ นนา กลุม่ ทอผ้าพื้นเมือง

๒๗๙ หมู่ ๑๒ ต.ศรดี อนมูล อ.เชยี งแสน ๙๘ หมู่ ๘ ต.สันทราย อ.แม่จนั
จ.เชยี งราย ๕๗๑๕๐
จ.เชยี งราย ๕๗๑๑๐
โทรศัพท์ ๐๘-๙๙๕๒-๖๐๓๓
โทรศัพท์ ๐๖-๒๙๒๗-๑๓๔๔

ท�ำ เนียบผู้ประกอบการผ้าจงั หวดั เชยี งราย 141

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

อำ�เภอแม่สาย กลมุ่ สตรที อผา้ บา้ นครง่ ึ ใต้

อำ�เภอเชยี งของ ๒๓๐ หมู่ ๓ ต.ครง่ ึ อ.เชยี งของ
จ.เชยี งราย ๕๗๑๔๐
อำ�เภอเมืองเชยี งราย
โทรศพั ท์ ๐๘-๕๗๒๓-๒๕๕๔

กลมุ่ หตั ถกรรมผา้ ทอไทลอ้ื
บา้ นหาดบา้ ย

๑๘๑ หมู่ ๑ ต.รมิ โขง อ.เชยี งของ
จ.เชยี งราย ๕๗๑๔๐

โทรศพั ท์ ๐๙-๘๐๐๑-๕๙๗๔

กลมุ่ สตรที อผา้
บา้ นศรดี อนชยั

๑๒๙/๒ หมู่ ๑๔ ต.ศรดี อนชยั อ.เชยี งของ
จ.เชยี งราย ๕๗๑๔๐

โทรศพั ท์ ๐๘-๙๗๕๙-๙๔๙๖

กลมุ่ ทอผา้ ไทลอ้ื บา้ นโปง่ แดง

๔๑๒ หมู่ ๘ ต.ทรายขาว อ.พาน
จ.เชยี งราย ๕๗๑๒๐

โทรศพั ท์ ๐๙-๓๖๗๙-๐๗๓๓

นาง วรากร โสรธรณ์ กลมุ่ ทอผา้ ไทลอ้ื บา้ นวงั ลาว

๖๓ หมู่ ๔ ต.เวยี งเหนือ อ.เวยี งชยั ๒๐ หมู่ ๔ ต.เวยี ง อ.เชยี งแสน
จ.เชยี งราย ๕๗๒๑๐ จ.เชยี งราย ๕๗๑๕๐

โทรศพั ท์ ๐๘-๙๕๕๙-๐๙๘๕ โทรศพั ท์ ๐๘-๙๕๕๒-๕๘๘๑

นาง ศรเพี ญ็ หมนื่ จ�ำ ปา นายพนิ บวั ละวงค์

๒๕ หมู่ ๓ ต.แม่คำ� อ.แม่จนั ๕๐๔ หมู่ ๔ บ้านลานทอง ต.สันทราย

จ.เชยี งราย ๕๗๒๔๐ อ.เมือง จ.เชยี งราย ๕๗๐๐๐

โทรศพั ท์ ๐๘-๖๖๕๔-๕๑๒๑ โทรศพั ท์ ๐๙-๘๕๘๕-๔๕๔๐

142 ท�ำ เนียบผู้ประกอบการผ้าจงั หวดั เชยี งราย

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

ภาคผนวก

ผา้ ทอและเครอ่ ื งถกั ทอ ถอื เปน็ ของใชท้ แี่ สดงออกถงึ การรเิรม่ ิ ความคดิ สรา้ งสรรคข์ องมนษุ ย์ เนอื่ งจากกรรมวธิ กี ารทอผา้ ของ

แตล่ ะพน้ื ทน่ี ั้น มีลักษณะแตกต่างกันทั้งรูปแบบของสีสันและลวดลาย แม้ว่าจะใชว้ ัตถุดิบจากไหมหรอื ฝ้ายก็ตาม ด้วยสาเหตุเหล่าน้ีจึง
ทำ�ให้การทอผ้ามีบทบาทต่อการดำ�รงชวี ติ ของคนไทย

บทบาทของผ้าทอต่อชวี ติ ของคนไทย

ผา้ ทอไดเ้ ขา้ มามบี ทบาทในการด�ำ รงชวี ติ ของมนษุ ยม์ ากขนึ้ เนอ่ื งจากผา้ สามารถตอบสนองตอ่ ความจ�ำ เปน็ ขนั้ พน้ื ฐานของการด�ำ รงชวี ติ
เพราะผ้าทอถือเป็นเครอ่ ื งนุ่งห่มท่ีเป็นหนึ่งในปัจจัยส่ี และยังสามารถบ่งบอกถึงการแบ่งภาระหน้าท่ีระหว่างชายและหญิงในอดีตอีกด้วย
เนื่องจากชาวชนบทส่วนใหญ่มีอาชพี เกษตรกรรมมาตั้งแต่โบราณ ในยามว่างผู้หญิงมักจะทอผ้าและผู้ชายก็จะจดั หา และเตรยี มเครอ่ ื งไม้
เคร่อื งมือในการทำ�ไรน่ า และครวั เรอื น การทอผ้าจึงแสดงให้เห็นถึงความเป็นหญิงได้อย่างชัดเจน นอกจากน้ีผ้าทอยังปรากฏอยู่ในทุก
ชว่ งอายุ เชน่ การประกอบพธิ กี รรมตงั้ แตเ่ กดิ จนกระทงั่ ตาย จะเหน็ ไดว้ า่ ผา้ ไดเ้ ขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการด�ำ รงชวี ติ ประจ�ำ วนั อยา่ งหลกี เลย่ี งไมไ่ ด้ และ
การแตง่ กายยงั เปน็ สง่ิ ทแ่ี สดงใหเ้ หน็ ถงึ ฐานะทางสงั คม กลา่ วคอื ชาวบา้ นทวั่ ไปจะใชผ้ า้ ฝา้ ยเพราะมกี รรมวธิ ที ไ่ี มซ่ บั ซอ้ น สว่ นเจา้ นายหรอื ชนชนั้ สงู
จะแตง่ กายด้วยผ้าไหมและมีลวดลายสวยงามวจิ ติ รบรรจง

การใชผ้ ้าทอในพิธกี รรม
พธิ เี กดิ เปน็ พธิ สี �ำ คญั ทมี่ ผี า้ เขา้ มาเกยี่ วขอ้ ง ผทู้ เี่ ปน็ มารดาจะตอ้ งทอผา้ เตรยี มไวส้ �ำ หรบั เปน็ ผา้ ออ้ ม ผา้ หม่ เสอื้ ผา้ ผา้ หมุ้ ฟกู หมุ้ ทน่ี อน

ส�ำ หรบั เดก็ หลงั จากคลอดกจ็ ะน�ำ เดก็ มาใสก่ ระดง้ โดยปูเบาะและผา้ ขาวรองไว้ ซงึ่ ความหมายของผา้ ขาวเปรยี บเสมอื นชวี ติ ของเดก็ ทข่ี าวบรสิ ุทธ์ิ
ไมม่ อี ะไรมาเปรอะเป้ อื น หากเปน็ ลกู ผหู้ ญงิ จะใสด่ า้ ยเขม็ ไวใ้ นกระดง้ ทเ่ี ดก็ นอนเพราะลกู ผหู้ ญงิ จะตอ้ งเรยี นรเู้ รอ่ ื งการเยบ็ ปกั ถกั รอ้ ยเพอ่ื เตรยี มตวั
เป็นแม่ศรเีรอื น อีกหนึ่งความเชอ่ื ก็คือผู้เป็นมารดาต้องทอผ้าให้กับหมอต�ำ แยผู้ท�ำ คลอดให้เพื่อเป็นการแสดงความขอบคุณและส�ำ นึกบุญคุณ

พิธบี วช สงั คมไทยเปน็ สงั คมทนี่ บั ถอื ศาสนาพทุ ธเปน็ สว่ นใหญ่

คนไทยถือว่าการบวชเป็นการสรา้ งกุศลเพื่อตอบแทนบุญคุณบิดา
และมารดา จงึ มคี วามเชอื่ กนั วา่ ลูกชายทบ่ี วชเรยี นสามารถชว่ ยใหบ้ ดิ า
มารดาไดเ้ กาะชายผา้ เหลอื งขนึ้ สวรรค์ ผา้ ทอไดม้ สี ว่ นเกยี่ วขอ้ งกบั พธิ นี ี้
ต้ังแต่จุดเร่มิ ต้นของพิธีนับตั้งแต่ผ้าที่แต่งตัวนาค มุ้งนอน ที่นอน
ผ้าเหลอื งที่ใชใ้ นพิธกี รรม ในบางพ้ืนที่มีผ้าคลุมศีรษะนาคด้วย

พิธแี ต่งงาน ผา้ ไดเ้ ขา้ มาเกย่ี วขอ้ งกบั พธิ ใี นเรอ่ ื งของผา้ ไหว้

ผา้ ไหวเ้ ปน็ ผา้ ทคี่ บู่ า่ วสาวจะใชแ้ สดงความเคารพญาตผิ ใู้ หญ่ ทง้ั สองฝา่ ย
จะใชไ้ หวใ้ นวนั ท�ำ พธิ แี ตง่ งานกไ็ ด้ หรอื กราบไหวห้ ลงั เสรจ็ สน้ิ งานแตง่ งาน
ก็จะมี ในพิธแี ต่งงานจะมีอีกหนึ่งพิธกี ็คือพิธกี ราบหมอน ฝา่ ยเจา้ สาว
จะต้องเป็นผู้จัดเตรยี มผ้าขาวจ�ำ นวน ๒ ผืน ได้แก่ เส้ือและผ้าซ่ิน
ที่ทอด้วยผ้าไหมเท่านั้น

ภาคผนวก 143

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

ประเพณกี ารสรา้ งธรรม ของภาคเหนอื โดยการเขยี นวรรณกรรมเกย่ี วกบั พระพทุ ธ ศาสนา จารกึ บนในใบลาน อยา่ งประณตี งดงาม

ถอื วา่ จะไดอ้ านสิ งสม์ าก และนยิ มทอผา้ หอ่ คมั ภรี ด์ ว้ ยเสน้ ดา้ ย หรอื ไหมลว้ นๆ ดว้ ยลวดลายทงี่ ดงาม มกี ารวาดภาพพระเวสสนั ดร โดยวาดบนผา้ ผนื ยาว
ตั้งแต่ทศกัณฑ์ทศพรจบถึงนครกัณฑ์ แลว้ ท�ำ เป็นม้วนไว้ ถ้าต้องการแสดงก็คลอ่ี อกมาปดิ ฝาผนัง พอเสรจ็ งานก็เก็บไวต้ ามเดิม

พิธที านตุง ในเรอ่ ื งความเชอ่ื เก่ียวกับการทานตุงหรอื ธง (ทางภาคเหนือ เรยี กว่า “ตุงชอ่ ” หรอื ออกเสียงเป็น “จอ้ ”) ได้กล่าวว่า

ตุงสามารถชว่ ยให้มนุษยพ์ ้นจากการตกนรกได้ ซงึ่ เป็นความเชอ่ื เก่ียวกับทางศาสนาของชาวบา้ น
ตุงมีหลายชนิด และมีขนาดต่างๆ กัน กว้างประมาณ ๓-๕ น้ิว ยาว ๖-๘ น้ิว จนถึง ๗,๐๐๐ วา (๑๔ ก.ม.) กว้าง ๕,๐๐๐ วา (๑๐ ก.ม.)

และตุงมตี ั้งแต่ท�ำ จากกระดาษจนถึงท�ำ ด้วยโลหะ เชน่ ทองเหลอื ง ทองค�ำ หรอื เงนิ นอกจากน้ียงั มตี ุงและชอ่ ทที่ �ำ ด้วยกระดาษสีต่าง ๆ ซงึ่ ใชป้ กั
ที่กอบเจดีย์ทราย ส่วนตุงไชย (ธงชัย) หรอื ตุงไย เป็นตุงใหญ่อาจมีขนาดกว้าง ประมาณ ๒๐ น้ิว ยาวประมาณ ๓-๔ วา ถือว่าตุงย่ิงยาวย่ิง
มีอานิสงส์ ใชป้ ักไวท้ ี่หน้าวดั หรอื ส่งิ ปลูกสรา้ งท่ีท�ำ การฉลองงานปอยหลวง การเอาธงหรอื ตุงไปท�ำ พิธบี ูชาในงานพิธหี รอื งานการกุศลนั้น ได้มี
เชอ่ื วา่ เมื่อตายไปแลว้ พระยมราชได้เห็นธงที่ท�ำ บุญเลย้ี งไปนั้นจะได้ให้ขนึ้ สวรรค์

ประเพณี สงกรานต์ ถือเป็นวันขึ้ นปีใหม่ของไทย

ผ้าจะเข้ามาเกี่ ยวข้องกับวันสงกรานต์โดยในวันท่ีไปรดนำ้�ผู้ ใหญ่
ซึ่งได้แก่ บิดา มารดาครูบาอาจารย์ ญาติผู้ ใหญ่ที่ นับถือโดยการ
นำ�เอาส่ิ งของเคร่อื งสักการะไปมอบแก่บุ คคลท่ี มีพระคุณแก่เรา
หร อื ที่ เราเคารพนั บถื อเพื่ อเป็ นการแสดงความกตั ญญู กตเวที
ตอบแทนพระคุณท่าน ไปขออโหสิกรรมท่าน ท่านก็จะให้พรแก่เรา
สง่ิ ของทน่ี �ำ ไปมอบเปน็ เครอ่ ื งสกั การะ เชน่ ผา้ ผา้ ขาวมา้ เสอื้ ผา้ เชด็ ตวั
ถา้ เปน็ คนฐานะดกี จ็ ะมอบผา้ ไหม ผา้ จก ผา้ ยกดอก เปน็ เครอ่ ื งสกั การะ
และมีการทอธงถวายวดั ในวนั สงกรานต์ เพราะชาวบา้ นถือวา่ ธงเป็น
ของสูง ถา้ ไดท้ �ำ ถวายพระแลว้ จะไดก้ ศุ ลมาก

พิธีส่งเคราะห์ หมายถึง การทำ�พิธีเซ่นสรวงสะเดาะเคราะห์ด้วยการบูชา

โดยเช่ือกันว่าการทำ�พิธีส่งเคราะห์น้ี จะทำ�ให้คนที่เจ็บป่วยหรอื ผู้ที่รบั เหตุรา้ ยต่าง ๆ
รอดพน้ จากอนั ตรายทจี่ ะเกดิ ขนึ้ หรอื จะชว่ ยทเุ ลาเหตรุ า้ ยใหเ้ บาบางได้ การท�ำ พธิ สี ะเดาะเคราะห์
จะกระท�ำ โดยการสง่ เครอ่ ื งเซน่ สรวงไปถวาย เพอื่ เจา้ ทห่ี รอื รกุ ขเทวดาคลายพโิ รธโกรธเคอื ง
แล้วอาจจะหายเจบ็ ป่วย และผ้าได้เข้าเกี่ยวข้อง โดยเป็นส่วนประกอบของเครอ่ ื งเซน่ คือ
ตุงผ้าชายธงเป็นผ้าสามเหลี่ ยม ชายธงขนาดเล็กๆ กว้างประมาณ ๒ น้ิ ว ซึ่งมักจะมี
สีขาว ประกอบด้วยผ้าขาวและผ้าแดง ส�ำ หรบั การประกอบพิธที างไสยศาสตรน์ ้ัน ผ้าขาว
จะเปน็ สว่ นหนงึ่ ของเครอ่ ื งยกครู

144 ภาคผนวก

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

พิธศี พ ผ้าเก่ียวข้องกับพิธีศพ เพราะผ้าขาวที่ใช้ห่อศพ พธิ ปี ลกู เรอื น จะตอ้ งท�ำ พธิ ี “สะเดาะเสนยี ด”เสาทจ่ี ะท�ำ พธิ ี

เปรยี บเสมอื นธรรมทข่ี าวสะอาดไมม่ มี ลทนิ กรรมวธิ ใี นการนงุ่ ผา้ ใหศ้ พ จะตอ้ งมขี า้ วปลาอาหาร ผลไม้ บหุ ร่ หี มาก เมยี่ ง ๕ อนั น�ำ ไปวางมมุ ทงั้ ส่ี
ชั้นในนุ่ งกลับหลังหมด ส่วนชั้นนอกนุ่ งอย่างธรรมดาคือกระดุม ของตวั เรอื น อกี อนั หนงึ่ วางตรงศนู ยก์ ลางทห่ี ลมุ ฝงั เครอ่ ื งพญานาค (เจา้ ท)ี่
อยู่ ข้ างหน้ าซึ่งหมายความว่าคนเรานั้ นธรรมชาติ เกิ ดแล้วต้ องตาย จากน้ันพ่อหมอก็อ่านคาถาปัดรงั ควาน ใชม้ ีดหมอหรอื ขวานถากไม้
ตายแลว้ ต้องเกิดวนเวยี นอยู่ในวฏั สงสารอย่างไม่มีท่ีส้ินสุด ส่วนผ้าที่ ตรงตีนเสาออกพอเป็นพิธี เอาดอกไม้ใส่ลงในสะดวง ๕ อัน เอาไปวาง
ใชค้ ลุมโลงศพจะเป็นส่งิ ท่ีแสดงถึงฐานะของคนตาย ไวม้ มุ บา้ น สว่ นอนั กลางเอาไปลอยน�้ำ เสาทจี่ ะปกนน้ั ตอ้ งปก เสาเอกกอ่ น
ต่อมาก็เสานางและเสาอื่นๆ จนครบ โดยเสาเอกจะต้องเลือกเสา
ที่มีความทนทานแข็งแรง แลว้ จดั มะพรา้ ว หน่อกลว้ ย กลว้ ยเป็นเครอื
ใบเงนิ ใบทอง ผ้านุ่งของผู้ชายมาผูกติดเสามงคล ส่วนเสานางนั้น
ตดิ ผา้ ของผูห้ ญงิ นอกจากนั้นมผี า้ ขาว ผา้ แดงกวา้ งประมาณเกอื บคบื
พันรอบๆ เสาไว้ เสามงคลฝังทางด้านหัวนอน เสานางท่ีจะปกนั้ น
จะอยู่ทางด้านปลายตีน จากนั้ นก็ฝังเสาอ่ืนๆ ซึ่งมียันต์ปิดอยู่ท่ี
ปลายเสาทำ�ด้วยผ้าขาว ผ้าแดง สังกะสีหรอื แผ่นเงนิ ฝังเสรจ็ ก็ผูก
ด้วยด้ายสายสิญจน์ไวโ้ ดยรอบ ท้ิงไว้ ๓-๗ วนั จงึ จะเอาส่งิ เหลา่ น้ีออก

“ผ้าหลบ” ผ้าท่ีใชใ้ นครวั เรอื น

ในวถิ ดี งั้ เดมิ ของกลมุ่ วฒั นธรรมไทยวน ไทลอื้ และไทลาวทตี่ งั้ ถน่ิ ฐานอยูท่ างภาคเหนือนน้ั ไมน่ ิยมมเี ตยี งนอนจงึ ใชท้ ี่ นอนปูกบั พน้ื เรอื น

หรอื ปบู นเสอ่ื ทน่ี อนจะมขี นาดแคบๆ พอดตี วั จงึ ตอ้ งผา้ ทท่ี อขนึ้ เพอ่ื ใชป้ ทู บั ลงบนสะลี หรอื ทน่ี อน ใชผ้ า้ ปทู บั อกี ชน้ั หนงึ่ สามารถซกั ท�ำ ความสะอาด

ได้อย่างง่าย ผ้าปูมักจะเป็นผ้าฝ้ายสีขาวหน้าแคบทอขัดสาน ต้องใชผ้ ้าสองผืนนำ�มาเย็บต่อกันตรงกลาง เพ่ือให้มีขนาดพอดีกับท่ีที่นอน

ผ้าชนิดน้ีเรยี กวา่ “ผ้าหลบ”

“ผ้าหมอนหก หมอนผา”

“การปกั ลายผา้ หนา้ หมอนผาหรอื หมอนหก” ถอื เปน็ งานศลิ ปหตั ถกรรมทมี่ คี วามโดดเดน่
และส�ำ คญั ของเมอื งน่าน เนอื่ งจากตอ้ งอาศยั ความช�ำ นาญในการปกั ลวดลาย ทมี่ คี วามประณตี
ความละเอยี ดละออในอดีต หมอนผาและหมอนหกนี้ มักจะมีการทำ�ขึ้นมาคู่กันเสมอ เพื่อใช้
ประโยชน์โดยทวั่ ไปและใชใ้ นงานพธิ กี ารส�ำ คญั ตา่ งๆ นอกจากนนั้ ยงั ใชเ้ ปน็ เครอ่ ื งหมายบง่ บอก
ทน่ี งั่ ประจ�ำ ของบุคคล ลวดลายผ้าปักหน้าหมอนแสดงให้เห็นถึงฐานะ ยศและบรรดาศักด์ิ
ของผู้ท่ีเป็นเจ้าของ และลวดลายผ้าปักหน้าหมอนแสดงถึงสัญลักษณ์ประจ�ำ ตระกูลหรอื
ประจ�ำ คุ้มที่แตกต่างกันไป ลายปักผ้าหน้าหมอนของเจา้ บ้านผู้ชายส่วนมากจะเป็นลวดลายที่
เป็นเอกลักษณ์ต่างกับภรรยาท่ีสถานะรองลงมา วัสดุท่ีใช้ในการปักสมัยโบราณน้ันจะนิยม
ใช้เส้นไหมเงนิ ไหมทอง เคร่อื งเงนิ แท้ รวมถึงทองค�ำ แท้

ภาคผนวก 145

“เสน่ห์ภูษา ล้านนาตะวนั ออก”

“ผ้าเชด็ ”

ผ้ าเช็ด เป็นคำ�ภาษาไทลื้ อซึ่ งใช้เรยี กผ้าทอชนิ ดหนึ่ ง

ทใี่ ชส้ �ำ หรบั พาดบา่ ถอื เปน็ สญั ลกั ษณป์ ระกอบ เครอ่ ื งแตง่ กายอยา่ งหนงึ่
ของกลมุ่ ชนในวฒั นธรรมไทลอื้ และไทยวน ในแถบภาคเหนอื ทเี่ ปน็ ทนี่ ยิ ม
อย่างแพรห่ ลาย ใชก้ ารพาดลงบนบ่า สำ�หรบั ในโอกาสพิเศษสำ�คัญ
ผ้าเชด็ นิยมทอทั้งฝ้าย และไหม แต่ส่วนใหญ่นิยมทอด้วยฝ้ายสีขาว
ใชเ้ ทคนคิ การทอดว้ ยเทคนคิ การขดิ จก เกาะหรอื ลว้ ง หรอื การจกสลบั สี
เปน็ ลวดลายตา่ งๆ ผา้ เชด็ ทท่ี อตามจารตี ดงั้ เดมิ ของชาวไทลอื้ แต่ โบราณ
จะมหี น้าแคบเลก็ มาก มขี นาดความกวา้ งของหน้าผา้ ประมาณหนงึ่ คบื
หรอื หนงึ่ คบื เศษๆ ของผทู้ อ เทา่ นนั้ สว่ นความยาวกน็ ยิ มใหย้ าวเพยี งพอ
ส�ำ หรบั วางพาดอยูบ่ นไหลไ่ ด้โดยท่ีไม่ลน่ื ไหลหลุดลงมา

“ผ้าตุ้ม”

เป็นผ้าท่ีใช้คลุมตัวเพื่อให้ความอบอุ่น ทั้งหญิงและชาย
ในบางโอกาสก็ผูกหัวท้ายมัดติดกับเสาเรอื นท�ำ เป็นเปลให้เด็กอ่อน
ผา้ ตมุ้ เปน็ ผา้ ทที่ อดว้ ยฝา้ ยป่ นั มอื สขี าวนวล โดยก�ำ หนดเสน้ ยนื เปน็ สขี าว
และสรา้ งลวดลายโดยใชเ้ ส้นยืนพิเศษสีดำ� นำ้�เงนิ สลับขาวตีเกลียว
ในส่วนของพ้ืนเรยี บใชเ้ ทคนิคการทอโดยเหยียบม้า (เหยียบตะกอ)
เพอ่ื สรา้ งพน้ื ผวิ ใหเ้ กดิ ลายตา่ งๆ ซงึ่ จะมลี ายหลากหลาย เปน็ ลวดลาย
ท่ีเย็บต่อกันตรงกลางโดยวธิ ีสอยเป็นลาย ลูกโซ่ ส่วนขอบด้านที่มี
การเก็บลาย ใชผ้ ้าสีแดงกุ๊นในส่วนของหัวผ้า ไม่นิยมกุ๊นสีแดงทั้งผืน
ซงึ่ เปน็ ลกั ษณะพเิ ศษของผา้ ตมุ้ เมอื งลองแตใ่ นกรณเี ดยี วกนั หากไมก่ นุ๊ ขอบ
ก็จะปลอ่ ยเป็นเชงิ ครุยทั้งสองขา้ ง หัวท้าย เพื่อใชเ้ ป็นผ้าปกสะสี

146 ภาคผนวก


Click to View FlipBook Version