The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่ม 3 การจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ของส

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

เล่ม 3 การจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ของส

เล่ม 3 การจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ของส

การจดั ทาำ

แผนพฒั นาการจดั การศกึ ษา

ของสถานศกึ ษา

สาำ นักทดสอบทางการศึกษา

ส�ำ นักง�นคณะกรรมก�รก�รศกึ ษ�ขัน้ พนื้ ฐ�น 105

กระทรวงศึกษ�ธกิ �ร การจดั ทำ�แผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา

การจดั ท�ำ แผนพัฒนา
การจัดการศึกษา
ของสถานศกึ ษา

สำ� นกั ทดสอบทางการศกึ ษา
สำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน

การจัดท�ำแผนพัฒนาการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา

ISBN : ๙๗๘-๖๑๖-๕๖๔-๐๗๕-๖
ปที ี่พิมพ์ : พ.ศ.๒๕๖๓
จ�ำนวนพิมพ ์ : ๑,๐๐๐ เลม่
จดั พมิ พโ์ ดย : สำ� นกั ทดสอบทางการศกึ ษา
สำ� นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
ลขิ สทิ ธเ์ิ ป็นของ : สำ� นกั ทดสอบทางการศกึ ษา
ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
โทรศพั ท ์ : ๐-๒๒๘๘-๕๗๕๗-๘
โทรสาร : ๐-๒๖๒๘-๕๘๖๒
เว็ปไซต ์ : http://bet.obec.go.th
พิมพท์ ี่ : ห้างหนุ้ ส่วนจ�ำกัด  เอ็น.เอ.รัตนะเทรดด้งิ  
ที่อยู่ ๑๓/๑๔ ม.๕ แขวงบางดว้ น เขตภาษีเจริญ กทม. ๑๐๑๖๐
โทร.๐๘๑-๗๓๒-๔๒๔๖

ค�ำน�ำ

กระทรวงศึกษาธิการ มีการปฏิรูประบบการประเมินและการประกัน
คุณภาพการศึกษา โดยมีการปรับปรุงมาตรฐานและประเด็นพิจารณา
ให้สะท้อนถึงคุณภาพอย่างแท้จริง ก�ำหนดเกณฑ์และรายการประเมิน
แบบองค์รวม (Holistic Assessment) ซงึ่ เป็นการประเมนิ โดยใช้ขอ้ มลู เชิงประจักษ์
(Evidence Based) ลดภาระการจัดท�ำเอกสารที่ใช้ในการประเมิน ยึดหลัก
การตัดสินระดับคุณภาพตามหลักการตัดสินโดยอาศัยความเช่ียวชาญ
(Expert Judgment) ของผู้ประเมิน และใช้การตรวจทานผลการประเมิน
โดยคณะกรรมการประเมินในระดบั เดียวกัน (Peer Review) ปรบั กระบวนทัศน์
ในการประเมินที่มีเป้าหมายเพื่อการพัฒนาบนพ้ืนฐานบริบทของสถานศึกษา
มีการประกาศใช้กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑
ในการปรบั ปรงุ ระบบ หลกั เกณฑ์ และวิธกี ารประกนั คณุ ภาพการศึกษาเพอ่ื ให้มี
กลไกการปฏิบัติที่เอื้อต่อการด�ำเนินการตามมาตรฐานการศึกษา ของแต่ละระดับ
และเกิดประสิทธิภาพในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา และประกาศใช้
มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และระดับ
การศึกษาขั้นพ้ืนฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ ประกาศ ณ วันที่ ๖ สิงหาคม
พ.ศ. ๒๕๖๑ เพ่ือเป็นหลักในการเทียบเคียงส�ำหรับสถานศึกษา หน่วยงาน
ต้นสังกัด และส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาทั้งประถมศึกษาและมัธยมศึกษา
ในการพัฒนา ส่งเสริม สนับสนุน ก�ำกับดูแล และติดตามตรวจสอบคุณภาพ
การศกึ ษา



การจดั ทำ�แผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา

ดังนั้น เพ่ือเป็นการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาระบบการประกัน
คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาให้มีความเข้มแข็งตามกฎกระทรวง
การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ส�ำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษา
ข้ันพ้ืนฐาน จึงได้จัดท�ำคู่มือชุดน้ีขึ้น เพ่ือให้ส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
สามารถใชเ้ ป็นแนวทางในการสง่ เสรมิ สนับสนุน นเิ ทศ ติดตาม และชว่ ยเหลอื
สถานศึกษาในการด�ำเนินการประกันคุณภาพการศึกษา และสถานศึกษา
สามารถใช้เป็นแนวทางในการด�ำเนินงานการประกันคุณภาพภายใน
ของสถานศึกษา และเตรียมความพร้อมส�ำหรบั การประเมนิ คุณภาพภายนอกตอ่ ไป
ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ขอขอบคุณผู้บริหาร
ครู อาจารย์ ศึกษานิเทศก์ และผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่านท่ีมีส่วนร่วมในการจัดท�ำ
คูม่ อื ชดุ นใ้ี หส้ มบรู ณ์ และหวงั วา่ สถานศกึ ษาทุกสงั กดั ทจ่ี ัดการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน
จะได้รับประโยชน์จากคู่มือชุดน้ี ใช้คู่มือชุดนี้เป็นแนวทางในการพัฒนาระบบ
การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาให้มีคุณภาพ บรรลุตามเป้าหมาย
ท่กี ำ� หนดไว้ไดอ้ ย่างยงั่ ยืน

(นายอำ� นาจ วิชยานวุ ตั )ิ
เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน



การจัดทำ�แผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา

ค�ำชแ้ี จง

หลังจากกระทรวงศึกษาธิการได้ออกกฎกระทรวงการประกันคุณภาพ
การศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ นโยบายปฏิรูประบบการประเมินและการประกัน
คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา และประกาศมาตรฐานการศึกษา
ระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน และระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
ศูนย์การศึกษาพิเศษ พ.ศ. ๒๕๖๑ สำ� หรบั ใหส้ ถานศึกษาใช้เป็นแนวทางด�ำเนินงาน
เพ่ือการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา และเตรียมการส�ำหรับ
การประเมินคุณภาพภายนอก ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงได้
จัดท�ำคู่มือ ส�ำหรับให้ส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาและสถานศึกษาใช้เป็น
แนวทางในการปฏิบัติเพ่ือการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายใน
ของสถานศึกษาให้เข้มแข็ง
โดยคู่มือน้ี มีจ�ำนวน ๕ เล่ม มีเนื้อหาสาระครอบคลุมรายละเอียด
ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ซึ่งน�ำเสนอ
หลักการ เหตุผล แนวคิด และกรณีตัวอย่างเก่ียวกับการพัฒนาตามระบบ
การประกันคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ดงั นี้

เล่มท่ี ชอ่ื เอกสาร สาระสำ� คัญ

๑ แนวทางการพฒั นาระบบ แนวคิดและหลักการเก่ียวกับการประกันคุณภาพ
การประกนั คณุ ภาพ การศึกษา แนวทางการพัฒนาระบบการประกัน
การศกึ ษาตามกฎ คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา และกรณี
กระทรวงการประกัน ศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบและแนวทางการพัฒนา
คณุ ภาพการศกึ ษา ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
พ.ศ. ๒๕๖๑ สถานศึกษาใหเ้ ขม้ แข็ง



การจดั ทำ�แผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา

เลม่ ท่ี ชื่อเอกสาร สาระส�ำคญั

๒ การก�ำหนดมาตรฐาน แนวคิด หลักการ แนวทางการก�ำหนดมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศกึ ษา การศึกษาของสถานศึกษา และตัวอย่าง
การก�ำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา

๓ การจดั ท�ำแผนพฒั นา แนวคดิ หลกั การ ความสำ� คญั กระบวนการจดั ท�ำ
การจดั การศกึ ษา และตัวอย่างของแผนพัฒนาการจัดการศึกษา
ของสถานศกึ ษา ของสถานศึกษาและแผนปฏิบัติการประจ�ำปี
(Action Plan)

๔ การจัดทำ� รายงาน หลักการเขียนรายงานผลการประเมินตนเอง
ผลการประเมินตนเอง ข้ันตอน โครงสรา้ ง และตัวอย่าง การจัดท�ำรายงาน
ของสถานศึกษา ประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

๕ การเตรียมความพร้อม ความหมาย หลักการ แนวคิดและวัตถุประสงค์
ของสถานศึกษาเพอื่ รับ ของการประเมินคุณภาพภายนอก การเตรียม
การประเมนิ คุณภาพ ความพร้อมของสถานศึกษาเพ่ือรับการประเมินคุณภาพ
ภายนอก ภายนอก และตัวอย่างแนวทางการเตรียมข้อมูล/
ร่องรอยหลักฐานเชิงประจกั ษ์



การจดั ทำ�แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา

สารบญั

คำ� นำ� ก
ค�ำชแี้ จง ค
สารบญั จ
ตอนท่ี ๑ บทน�ำ ๓

ตอนท่ี ๒ แนวคิด หลักการ และความส�ำคญั ๙
l แนวทางการพฒั นาระบบการประกันคุณภาพภายใน
สถานศกึ ษา ๑๐
l ขน้ั ตอนการดำ� เนินงานตามวงจรคุณภาพการบริหารงาน
เชิงระบบ (PDCA) ๑๔
l การจดั ท�ำและนำ� ไปสกู่ ารใช้แผนพัฒนาการจัดการศึกษา
ของสถานศึกษา ๑๖

ตอนที่ ๓ กระบวนการจดั ท�ำแผนพัฒนาการจัดการศึกษา
ของสถานศึกษา ๒๑
l ขัน้ ตอนการจัดท�ำแผนพัฒนาการจัดการศึกษา
ของสถานศกึ ษา (ระยะ ๓ - ๕ ป)ี ๒๓
l ตัวอย่างเค้าโครง โครงการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ๓๘



การจดั ทำ�แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา

ตอนที่ ๔ การจดั ทำ� แผนปฏบิ ตั ิการประจ�ำปี (Action Plan) ๕๓
l วตั ถปุ ระสงค์ของการจัดท�ำแผนปฏิบัติการประจ�ำปี ๕๓
l ประโยชน์ท่ไี ดร้ บั จากแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำ� ปี ๕๔
l ข้นั ตอนการจดั ทำ� แผนปฏบิ ตั กิ ารประจ�ำปี ๕๔
l ตัวอยา่ งแผนปฏิบตั กิ ารประจำ� ป ี ๖๐
l ตวั อย่างแบบฟอร์มโครงการ ๖๖
l ตวั อย่างโครงการ ๗๑

บรรณานกุ รม ๗๙
ภาคผนวก ๘๑
คณะท�ำงาน ๑๐๑



การจัดท�ำ แผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา

๑ตอนที่
บทนำ�



๑ตอนที่
บทนำ�

ตามท่ีกระทรวงศึกษาธิการได้ออกกฎกระทรวงการประกันคุณภาพ
การศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ และได้มีการประกาศในราชกิจจานุเบกษา ลงวันท่ี
๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ และได้ก�ำหนดไว้ชัดเจนให้สถานศึกษาแต่ละแห่ง
“…จัดท�ำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพ
ตามมาตรฐานการศึกษาและด�ำเนินการตามแผนพัฒนาที่ก�ำหนดไว้...”
ซ่ึงส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ทบทวนการด�ำเนินการ
เรื่องการประกันคุณภาพการศึกษาและได้จัดท�ำแนวทางปฏิบัติการด�ำเนินการ
ประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อให้หน่วยงานต้นสังกัด ได้แก่ ส�ำนักเขตพ้ืนที่
การศึกษา ทั้งประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ส�ำนักงานบริหารการศึกษาพิเศษ
ได้ด�ำเนินการได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม เป็นไปในทิศทางเดียวกับประกาศ
ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เร่ือง แนวปฏิบัติการด�ำเนินงาน
ประกันคุณภาพการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๖๑ ก�ำหนดให้
สถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานด�ำเนินการ โดยในข้อ ๒ ต้องจัดให้มีระบบ
ประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา (๒.๒) จัดท�ำแผนพัฒนา
การจัดการศึกษาของสถานศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการ
จ�ำเป็นของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ โดยสะท้อนคุณภาพความส�ำเร็จ
อย่างชัดเจนตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา การพัฒนาคุณภาพ
การจัดการศึกษาตามบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของสถานศึกษาจึงต้อง
ขับเคล่ือนให้สอดคล้องเหมาะสมกับพ้ืนฐานของแนวคิด หลักการและ

3

การจัดทำ�แผนพัฒนาการจดั การศึกษาของสถานศึกษา

ความส�ำคัญของการวิเคราะห์ ใช้และพัฒนาท่ีอิงต่อการวางแผนพัฒนา
เชิงกลยุทธ์โดยใช้แผนพัฒนาการจัดการศึกษาสู่ความมีคุณภาพตามมาตรฐาน
ของสถานศึกษาเป็นส�ำคัญตอบสนองต่อการพัฒนาอย่างถูกต้อง เหมาะสม
และเป็นไปตามเจตนาของการสร้างระบบการประกันคุณภาพทางการศึกษาที่มี
ประสทิ ธิภาพ ดังแสดงในแผนภาพท่ี ๑

คณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา

• ด้านผลลัพธ์ • ดา้ นกระบวนการ

เนอ้ื หาสาระ แผนพัฒนาการจดั การศึกษา แนวคดิ /หลักการ
• การสร้าง ใช้ และพฒั นา ของสถานศึกษา • พัฒนาคุณภาพ

หลกั สตู รของสถานศกึ ษา แผนปฏิบัตกิ ารประจ�ำปี ตามมาตรฐานการศกึ ษา
• การจดั ประสบการณ์ ของสถานศึกษา • บรหิ ารจดั การ

เรยี นรู้ และกิจกรรม รายงานผลการปฏิบัตกิ าร เชิงกลยุทธ์
สนบั สนุนการเรยี นรู้ ประจำ� ปีของสถานศึกษา • มีสว่ นร่วม
• การบรหิ ารจดั การ • เชอ่ื มโยงระบบประกัน
สถานศกึ ษา กระบวนการติดตาม ตรวจสอบ
• การพัฒนาเพิ่มพูน และประเมนิ ผลการพฒั นา/ คณุ ภาพ
สมรรถนะบคุ ลากร • ยึดบรบิ ทสถานศกึ ษา
การปฏบิ ัติการประจำ� ปี • สรา้ งวัฒนธรรมคุณภาพ
ของสถานศกึ ษา
ของสถานศึกษา

แผนภาพท่ี ๑ กรอบแนวคิดการจัดท�ำแผนพัฒนาการจัดการศกึ ษา
และแผนปฏิบตั ิการประจ�ำปีของสถานศกึ ษา
และสาระสำ� คญั ทเี่ ก่ียวข้อง

4

การจดั ทำ�แผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา

จากแผนภาพท่ี ๑ สามารถอธิบายเพ่ือช้ีให้เห็นถึงความส�ำคัญของ
แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาและแผนปฏิบัติการประจ�ำปีท่ีเป็น
เครื่องมือจ�ำเป็นของสถานศึกษาในการส่ือสารกระบวนการด�ำเนินการให้กับ
บุคลากรที่เกี่ยวข้องภายในสถานศึกษาได้ยึดเป็นแนวทางท่ีชัดเจนส�ำหรับ
การปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบในองคาพยพของการจัด
การศึกษาของสถานศึกษา โดยแผนพัฒนาการจัดการศึกษาสะท้อนการขับเคลอ่ื น
กระบวนการด�ำเนินการตามวิสัยทัศน์และพันธกิจท่ีเป็นฉันทามติของผู้ที่
รับผิดชอบการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ผู้รับโอกาสของการจัดการศึกษา
และผู้ส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพตามเจตนารมณ์ ท่ีก�ำหนด
ไว้ตามกฎหมายทางการศึกษาท่ีเกี่ยวข้อง การน�ำแผนพัฒนาการจัดการศึกษา
ไปสู่การจัดท�ำแผนปฏิบัติการประจ�ำปีเพื่อการด�ำเนินการตามโครงการ กิจกรรม
และวัตถุประสงค์ จนกระท่ังได้ข้อมูลสารสนเทศในการจัดท�ำรายงาน
ผลการปฏิบัติงานประจ�ำปีของสถานศึกษา ซ่ึงมีกระบวนการติดตาม ตรวจสอบ
และประเมินผล การบรรลเุ ปา้ หมายคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
บคุ ลากรผูท้ �ำหนา้ ทดี่ ังกลา่ ว จงึ จำ� เปน็ ท่จี ะตอ้ งมีความรคู้ วามเข้าใจ ความสมั พันธ์
เชื่อมโยงระหว่างแผนพัฒนาการจัดการศึกษาและแผนปฏิบัติการประจ�ำปี
เพื่อน�ำไปสู่การพัฒนาท่ีมีประสิทธิภาพ กระทั่งได้ข้อมูลสารสนเทศจากการ
ประเมินผลการปฏิบัติประจ�ำปี ในการน�ำไปประยุกต์ใช้ ส�ำหรับการพัฒนา
คณุ ภาพการศึกษาทห่ี มุนเวยี นใช้ประโยชน์จากขอ้ มูลสารสนเทศ โดยสถานศึกษา
จัดท�ำเป็นเอกสารสรุปผลการด�ำเนินการท่ีเป็นรายงานผลการปฏิบัติการประจ�ำปี
ของสถานศึกษา และสถานศึกษาจะได้ประโยชน์จากการใช้เพื่อการจดั ท�ำรายงาน
ผลการประเมนิ ตนเอง (SAR: Self - Assessment Report) ได้ตอ่ ไป

5

การจัดทำ�แผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา



๒ตอนท่ี

แนวคดิ หลกั การ และความสำ�คญั



๒ตอนที่

แนวคิด หลักการ และความสำ�คญั

การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาให้ความส�ำคัญกับการ
จัดการศึกษาตามแนวทาง เป้าหมาย อุดมการณ์ของกฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับการ
จัดการศึกษา ท้ังยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
แผนการศึกษาแห่งชาติ ตลอดจนพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ก�ำหนดให้
หน่วยงาน ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การจัดการศกึ ษาและสถานศกึ ษา ดำ� เนนิ การจดั ท�ำแผน
พัฒนาการจัดการศึกษาที่ยึดแนวคิดพ้ืนฐาน หลักการ ให้สอดคล้องกับการ
บริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ การเปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนมีส่วนร่วม
ตลอดกระบวนการด�ำเนินการ การใช้สารสนเทศส�ำหรับการพัฒนาคุณภาพ
การสร้างวัฒนธรรมคุณภาพของสถานศึกษา และการจัดท�ำระบบการพัฒนา
อย่างมีประสิทธิภาพ สถานศึกษาด�ำเนินการพัฒนาเพื่อมุ่งสร้างคุณภาพ
ตามมาตรฐานการศึกษาตามทร่ี ะบไุ ว้ในขอ้ ๓ ของกฎกระทรวงการประกันคุณภาพ
การศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ โดยการจัดท�ำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถาน
ศกึ ษาอย่างเป็นระบบ โดยสะทอ้ นคุณภาพความสำ� เร็จอย่างชัดเจนตามมาตรฐาน
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามประกาศส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
เรื่อง แนวปฏิบัติการด�ำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับการศึกษา
ขั้นพน้ื ฐาน พ.ศ. ๒๕๖๑

9

การจดั ท�ำ แผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา

แนวทางการพฒั นาระบบการประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา
สถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ควรออกแบบระบบการประกัน
คณุ ภาพภายในทมี่ แี นวทางหลกั ดงั น้ี
๑. ก�ำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและค่าเป้าหมาย
ความส�ำเร็จ
๒. จัดทำ� แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา
๓. ดำ� เนินงานตามแผนพัฒนาการจดั การศึกษาของสถานศึกษา
๔. ประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา
๕. ตดิ ตามผลการดำ� เนนิ การเพ่อื พัฒนาสถานศึกษาใหม้ คี ุณภาพ
๖. จัดท�ำรายงานผลการประเมินตนเอง (SAR: Self - Assessment
Report)
๗. พัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพ ภายใต้การใช้ผลการประเมินคุณภาพ
ภายในให้เกิดประสิทธิภาพและพัฒนาอย่างต่อเน่ือง (ประกาศส�ำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน เรือ่ ง (แนวปฏิบัติการด�ำเนินงานประกันคณุ ภาพ
การศกึ ษา ระดบั การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๖๑)
การขับเคล่ือนคุณภาพการจัดการศึกษา เน้นการใช้แผนพัฒนาการจัด
การศึกษาและการบริหารจัดการสถานศึกษาเชิงกลยุทธ์ควบคู่กัน เพ่ือให้เกิด
ความชดั เจน เหมาะสม และสามารถด�ำเนนิ การพฒั นาสู่อนาคต ได้อยา่ งเปน็ ระบบ
และมีการบริหารจัดการสถานศึกษาซ่ึงเน้นความเป็นระบบ มีความเป็นเหตุเป็นผล
ยึดกระบวนการเชิงกลยุทธ์เพ่ือการด�ำเนินการ จึงต้องเช่ือมโยงและมีความสัมพันธ์
ระหว่างกัน ซ่ึงสามารถอธบิ ายดังแสดงในแผนภาพท่ี ๒

10

การจัดท�ำ แผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา

ค�ำถามทางเชงิ กลยทุ ธ์ กระบวนการบริหาร รายละเอยี ดของกระบวนการบริหาร

๑. สถานศกึ ษาตอ้ งการไปสจู่ ดุ ใด ๑. การบรหิ ารเชงิ กลยทุ ธ์ การกำ� หนดทิศทางทีส่ ถานศึกษามงุ่ ไปสู่
(Where do we want to go?) ๑.๑ การกำ� หนดทศิ ทางของสถาน เป้าหมายเปรียบเสมอื นผลลัพธ์ปลายทาง
ศึกษา ท่สี ถานศกึ ษาตอ้ งการบรรลุในการ
กำ� หนดทศิ ทางของสถานศึกษาประกอบ
ด้วยการก�ำหนดวิสัยทัศน์ พนั ธกจิ และ
เป้าประสงคห์ ลกั

๒. ปัจจบุ ันสถานศกึ ษาอยู่ ณ จดุ ใด ๑.๒ การศกึ ษาสถานภาพของสถาน การศึกษาวเิ คราะหถ์ ึงข้อมูลสารสนเทศ
(Where are we now?) ศกึ ษา และปจั จยั ท่มี ผี ลกระทบตอ่ สถานศกึ ษา
ทั้งในเชิงบวกและเชิงลบ ซ่ึงแยกปัจจยั ที่
วิเคราะห์ออกเปน็ การวิเคราะห์ผู้มสี ่วนได้
สว่ นเสยี และการวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ ม
ทง้ั ทเี่ ปน็ ปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายใน

๓. สถานศึกษาไปจดุ นั้นไดอ้ ย่างไร ๑.๓ การวางกลยุทธ์ของสถานศกึ ษา การนำ� ข้อมลู สารสนเทศและปัจจัยทไ่ี ด้
(How do we get there?) จากการศึกษาวิเคราะห์ สถานภาพและ
การกำ� หนดทิศทางของสถานศึกษาจดั ท�ำ
เป็นกลยทุ ธร์ ะดับต่าง ๆ รวมทงั้ ประเมิน
และคัดเลอื กว่ากลยุทธใ์ ดท่ีมีความเหมาะสม
กบั สถานศกึ ษามากท่ีสดุ เพ่ือกำ� หนด
ประเด็นกลยุทธเ์ ปา้ ประสงค์ ตัวชว้ี ัด
เป้าหมายและกลยุทธ์

๔. สถานศกึ ษาจะตอ้ งทำ� หรือปรับ ๒. การน�ำกลยุทธส์ ู่การปฏบิ ตั ิของ เมื่อสถานศึกษาไดศ้ กึ ษาวิเคราะหป์ ัจจัย
เปลีย่ นอะไรเพ่อื ไปจุดนัน้ สถานศกึ ษา ตา่ ง ๆ กำ� หนดทศิ ทางการพฒั นาและ
(What do we have to do or วางกลยทุ ธแ์ ลว้ ตอ้ งน�ำกลยทุ ธท์ ีไ่ ด้
change?) วางแผนไว้มาดำ� เนินการประยกุ ต์
เพื่อปฏิบัติใหเ้ กิดผลผลิตและผลลัพธ์
ตามวตั ถปุ ระสงค์ทีต่ ้งั ไว้

๕. สถานศึกษาจะวัดความก้าวหนา้ ๓. การควบคมุ และประเมินผล การตดิ ตาม ตรวจสอบความก้าวหน้า
และรูไ้ ดว้ ่าได้ไปถงึ ท่หี มายอยา่ งไร กลยุทธข์ องสถานศึกษา ปญั หาอุปสรรค ตลอดจนความส�ำเร็จ
ตอ้ งการไปส่จู ดุ ใด และความลม้ เหลวของโครงการ/กจิ กรรม
(How do we measure our ตา่ ง ๆ ทป่ี ระกอบขนึ้ เปน็ กลยุทธ์ของ
progress and know we’ve สถานศึกษา พจิ ารณาความสัมพันธข์ อง
gotten there?) ผลทเ่ี กิดขึ้นระหวา่ งเป้าหมายของแผน
พัฒนาการจดั การศึกษาและแผนปฏิบตั ิ
การประจำ� ปี ซง่ึ เนน้ การพัฒนาคณุ ภาพ
การจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา
อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง

แผนภาพท่ี ๒ ความสมั พันธร์ ะหว่างคำ� ถามเชงิ กลยทุ ธ์ กระบวนการบรหิ าร
และรายละเอียดของกระบวนการบรหิ าร

11

การจดั ทำ�แผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา

การบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ของสถานศึกษาเป็นกระบวนการศึกษา
วิเคราะห์ สังเคราะห์ ออกแบบ และวางแผนด�ำเนินการที่ให้เห็นความส�ำคัญ
กบั การมองความสำ� เร็จของปจั จุบันสอู่ นาคต ภายใต้การพจิ ารณาถงึ ความเป็นPไปaไgดe้ | ๕
ในกกาารรใบชร้คิหวาารมจสัดากมาารเรชถิงขกอลงยบุทุคธ์ขลอางกสรถใานนสศถึกาษนาศเปึก็นษการดะ้วบยวกนากรารระศึกดษมาทรวิัเพคยราาะกหร์มสาังใเชค้ราะห์
ออกแแบบละแกลาะวราพงิแจผานรดณําเานถินึงกทาารทงเี่ใลห้เือหก็นตคว่าางมสๆําคอัญยก่าับงกราอรมบอคงคอวบาแมสลําะเรช็จัดขเอจงนปัจวจ่าุบจันะสสู่อานมาาครตถภายใต้
การพิจนา�ำรพณาาสถึงถคาวนามศเึกป็นษไาปไไปด้ใสนู่เกปา้ารใหชม้ควาายมตสาามมาภราถรขกองิจบทุคี่สลอากดรคในลส้อถงากนัศบึกวษิสาัยดท้วยัศกนาร์ รพะัดนมธทกริจัพยากร
มาใช้แแลละะกเาปรพ้าิจปารระณสางถคึงท์หาลงเักลทือกี่วตา่างงไวๆ้ อนยอ่ากงรจอาบกคนอั้บนแลกะาชรัดวเจานงวแ่าผจนะสกาลมยาุทรถธน์เํากพี่ยาวสขถ้าอนงศกึกับษาไปสู่
เป้าหกมายรวติเาคมรภาาะรหก์ทิจทุกี่สปอัจดจคัยลท้อี่คงากดับวว่าิสจัยะทกัศ่อนใ์ หพ้เันกธิดกกิจารแเลปะลเี่ยป้นาปแรปะลสงงใคน์หอลนักาทค่ีวตาแงไลวะ้ ทนอี่จกะจมาี กนั้น
การวาผงแลผกนรกะลทยบทุ ธต์เ่อกี่ยสวถขาอ้ นงกศบั ึกกษาราว เิ ทครั้งาใะนหแท์ งุก่ขปอจั งจโยั อทกคี่ าาดสวแ่าลจะะกอ่อุปใหส้เรกริดคกาเรพเป่ือลจี่ยะนบแปอลกงทในิศอทนาางคตและ
ที่จะมทีผล่ีสกถระาทนบศตึก่อษสถาากน�ำศหึกษนาดทข้ัง้ึนในอแยง่ข่าองงชโอัดกเาจสนแใลนะอกุปาสรรดรค�ำเเนพิ่ือนจกะาบรอสกทู่อิศนทาาคงทต่ีสไถดา้อนศยึก่าษงาเกปํา็นหนดขึ้น
อย่างชรดั ะเบจนบใดนกงั แารสดดํางเนใินนกแาผรนส่อูภนาาพคทตไ่ี ด๓อ้ ยา่ งเป็นระบบ

แผนภแาผพนภทา่ีพ๓ที่ 3กากรารบบรรหิหิ าารรจจัดกดั ากรเาชริงกเชลยงิ ทุกธล์ ยทุ ธ์

วงจรคุณภาพการบริหารเชิงระบบ (PDCA)
การพัฒนาระบบการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จะต้องออกแบบการดําเนินการภายใน

สถานศึกษาท่ีเน้นการสร้างความเข้าใจสําหรับบุคลากรที่เกี่ยวข้องให้ตรงกันในทุกขั้นตอนการดําเนินการ
เข้าใจ1ค2วามสมั พันธเ์ ชอ่ื มโยงระหว่างขน้ั ตอนของการดาํ เนินการ และสถานศึกษาสว่ นใหญ่จะยึดข้ันตอนของ
วงจรคุณภกาารพจัดกทาำ�แรผบนพรฒัิหนาากรางราจัดนกเารชศิงึกรษาะขอบงบสถา(นPศDึกษCาA) เพื่อขับเคลื่อนคุณภาพ ทั้งขับเคล่ือนคุณภาพของ
สถานศึกษา ท้ังขับเคล่ือนคุณภาพงานของกลุ่มงาน ท้ังขับเคล่ือนคุณภาพของบุคคลท่ีมีบทบาทหน้าท่ีและ

วงจรคณุ ภาพการบริหารเชิงระบบ (PDCA)

การพัฒนาระบบการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จะต้องออกแบบ
การด�ำเนินการภายในสถานศึกษาท่ีเน้นการสร้างความเข้าใจส�ำหรับบุคลากร
ท่ีเก่ียวข้องให้ตรงกันในทุกข้ันตอนการด�ำเนินการ เข้าใจความสัมพันธ์เชื่อมโยง
ระหว่างข้ันตอนของการด�ำเนินการ และสถานศึกษาส่วนใหญ่จะยึดขั้นตอน
ของวงจรคุณภาพการบริหารงานเชิงระบบ (PDCA) เพ่ือขับเคลื่อนคุณภาพ
ทั้งขับเคลื่อนคุณภาพของสถานศึกษา ท้ังขับเคลื่อนคุณภาพงานของกลุ่มงาน
ทั้งขับเคล่ือนคุณภาพของบุคคลที่มีบทบาทหน้าท่ีและความรับผิดชอบเฉพาะตน
ภายใต้ ๔ ขนั้ ตอนสำ� คญั ประกอบดว้ ย
P : Planning การวางแผนพัฒนาคุณภาพ
D : Doing การปฏบิ ัติงานตามแผนพฒั นาคณุ ภาพ
C : Checking การตรวจสอบ ประเมนิ ผลการพัฒนาคณุ ภาพ
A : Action การปรับปรงุ และพัฒนาคุณภาพ
การขับเคล่ือนวงจรคุณภาพการบริหารเชิงระบบ (PDCA) ดังPแaสgดeง| ๖ 
ในแผนภาพที่ ๔
P
การวางแผน

การวาPงแผน

A A D D
ปรบั ปรงุ และพัฒนา ปรปบั รปับรปงุ แรลุงะแพลฒัะ นา ปฏบิ ัติ ปฏบิ ัติ

C
ตรวจสอบ

C
ตรวจสอบ

แผนภาพท่ีแ๔ผนภวางพจทร่ี 4ควณุ งจภรคาุณพภกาพากรารบบรรหิิหาารงรางนาเชนิงรเะชบงิบร(ะPDบCบA) (PDCA)

ขน้ั ตอนการดาํ เนนิ งานตามวงจรคณุ ภาพการบรหิ ารงากนาเรชจัดงิ ทร�ำะแบผนบพฒั(PนDากCาAรจ)ัดการศกึ ษาของสถานศึกษา 13
สถานศึกษาจะต้องประยุกต์ใช้วงจรคุณภาพ เพื่อให้สอดคล้องเหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา

ข้นั ตอนการดำ� เนินงานตามวงจรคณุ ภาพการบรหิ ารงานเชิงระบบ (PDCA)
สถานศึกษาจะต้องประยุกต์ใช้วงจรคุณภาพ เพ่ือให้สอดคล้องเหมาะสม
กบั บริบทของสถานศึกษา โดยยดึ การพัฒนาคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษาที่เกิดจากการประยุกต์ใช้ข้อมูลสารสนเทศมาออกแบบ วางแผน
การบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ ซึ่งบุคลากรที่เก่ียวข้องมีส่วนร่วมต่อการขับเคล่ือน
การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาจนเกิดเป็นวัฒนธรรมคุณภาพในสถานศึกษา
โดยทุกคนยึดม่ันท่ีจะด�ำเนินการอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ มีรายละเอียด
ประกอบดว้ ย ๔ ขั้น ดังน้ี คอื
ข้ันการวางแผนพฒั นาคณุ ภาพ P : Planning เป็นขัน้ การก�ำหนดกรอบ
รายละเอียดของการด�ำเนินการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ผ่านการศึกษา
วิเคราะห์ สังเคราะห์ ส�ำหรับการวางแนวทาง เพื่อพัฒนาด้วยการพิจารณา
คัดเลือกแนวทางท่ีมีความเหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษาท่ีสุดในการแก้ไข
ปรับปรุง เปล่ียนแปลง และพัฒนาคุณภาพโดยจะช่วยส่งเสริมให้การคาดการณ์
สง่ิ ท่จี ะเปน็ ผลส�ำเร็จในอนาคต มคี วามชัดเจนมากท่สี ดุ
ข้ันการปฏิบัติงานตามแผนพัฒนาคุณภาพ D : Doing เป็นข้ันการน�ำ
แนวทางทีผ่ า่ นการวางแผนไวอ้ ยา่ งชดั เจน มาสกู่ ารปฏิบตั ิตามกจิ กรรม ซึ่งกำ� หนด
ไว้ในแนวทางดงั กลา่ ว เพ่อื สร้างความสำ� เร็จให้บรรลุตามวตั ถุประสงค์ ทงั้ การแก้ไข
ปรบั ปรงุ เปล่ียนแปลง และพฒั นาคุณภาพจนเกิดประสทิ ธิภาพสงู สดุ
ข้นั การตรวจสอบประเมนิ ผลการพัฒนาคณุ ภาพ C : Checking เปน็ ขนั้
การเลือกใช้วิธีการและเคร่ืองมือเพ่ือเก็บรวบรวมข้อมูลสารสนเทศจากการ
ด�ำเนินการแก้ไข ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง และพัฒนาคุณภาพส�ำหรับน�ำมา
วิเคราะห์ แปลผล และเปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์และเง่ือนไขของความส�ำเร็จ
จากการดำ� เนนิ การว่าบรรลุผลสำ� เร็จหรอื ไม่ อยา่ งไร

14

การจดั ท�ำ แผนพัฒนาการจดั การศึกษาของสถานศึกษา

ข้ันการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพ A : Action เป็นขั้นการน�ำผล
การประเมินมาพิจารณาอย่างละเอียดรอบคอบ และตัดสินในการพิจารณาแนวทาง
ส�ำหรับการแก้ไข ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง และพัฒนาคุณภาพไปประยุกต์ใช้
เพอ่ื สรา้ งกระบวนการสนับสนนุ ความก้าวหนา้ อย่างเป็นระบบและมคี วามP ตa ่อg เeน|อื่ ๗ง
พัฒนาคสุณถภานพไศปึกปษระายวุกาตง์ใชแ้เผพน่ือสแรล้าะงกอรอะบกวแนบกาบรกสานัรบพสนัฒุนนควาาคมุณก้าภวหานพ้ากอยา่ารงจเปัด็นกราะรบศบแึกลษะา
ขมอคี วงาสมตถ่อาเนนื่อศง ึกษา โดยการประยุกต์ใช้วงจรคุณภาพการบริหารงานเชิงระบบ
พ(ปขPับลรDะเวคCยัตลุกA่ือรตน)ส์ใชวถส(ง้วDา�ำจงนyรจหศใnรึหกรคaษ้เบัุณกmาิดกภวคาาาicวงพราแ)กกมผาเซนำ�ปรแึ่กงบ็นลจรับพะิหะลอาวทวอรัตา�งำกรงาแในแ(หบDเผบช้วyิงnกนงรaาจะรmแรบพลiดบcัฒ)ะ�ำน(PเอซานDคอึ่งCินจุณกAะไภแท)ปาําบพอใหบกยส้วาข่าํางรหจงบัจรรเัดเดปับกคําก็นาเลานรรรศ่ือินกะึกไนําปบษกวอาบับยขงแ่าอจวงงลารเสปงะใแถ็นหมผารน้เนีคะกศบวแึกดิบาลษแคมะาลอวตะโอามด่อกมีคยเแวกนเบปาาื่อบมรน็ ง
ดตังอ่ แเนสื่อดง งในแผดนังแภสดางพไวท้ในี่ แ๕ผนภาพที่ 5

P P
AD
AD
C
P C คณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา
AD คณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา ของสถานศึกษา
ของสถานศกึ ษา
แกไ้ ข ปรบั ปรุง เปล่ียนแปลงและ
C พัฒนาคุณภาพสงู ขึน้ อย่างเปน็
คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา ระบบและตอ่ เนือ่ ง
ของสถานศึกษา

แผนภาพที่ ๕แวผนงภจารพคที่ ุณ5 วภงจารพคณุ กภับาพกกบัากราพรพัฒฒั นนาคาณุคภณุ าพภอยา่าพงเปอ็นยระ่าบงบเแปละน็ ตอ่รเะนอื่บงบและต่อเนือ่ ง

15

การจดั ทำ�แผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา

การจดั ทำ� และนำ� ไปสกู่ ารใช้แผนพฒั นาการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา
เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ซึ่งต้อง
ก�ำหนดไว้ในแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มีความสอดคล้องกับ
มาตรฐานของการประกันคุณภาพภายใน ประกอบด้วย มาตรฐานด้านผลลัพธ์
(มาตรฐานคุณภาพผู้เรียน ที่จ�ำแนกเป็นผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผู้เรียน
และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน) กับมาตรฐานด้านกระบวนการ (มาตรฐาน
ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ กับมาตรฐานด้านกระบวนการจัด
การเรยี นการสอนทเี่ น้นผูเ้ รยี นเป็นสำ� คญั ) โดยสถานศึกษาด�ำเนนิ การศึกษา วิเคราะห์
สังเคราะห์ นโยบายทางการจดั การศึกษา แนวทางการพฒั นาคุณภาพการจดั การ
ศึกษาของหน่วยงานต้นสังกัด จุดเน้นการพัฒนากลุ่มเป้าหมายของการศึกษา
ผลท่ีเกิดจากการสังเคราะห์ผลการประเมินในรอบปีท่ีผ่านมา ที่เน้นเป้าหมาย
คุณภาพตามมาตรฐานซ่ึงบุคลากรที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมตลอดกระบวนการ
ด�ำเนินการพัฒนาคุณภาพ ตอบสนองต่อความต้องการพัฒนาคุณภาพ
ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียด้วยการตรวจสอบความสอดคล้องกับข้อมูลสารสนเทศ
ท่ีถูกต้อง เหมาะสม เพียงพอ ชัดเจน ซ่ึงจะก่อให้เกิดประสิทธิภาพของ
การด�ำเนินการพัฒนา ส�ำหรับการบริหารสถานศึกษาเชิงกลยุทธ์ผ่านแผนพัฒนา
การจัดการศึกษา และแผนปฏิบัติการประจ�ำปีของสถานศึกษาท่ีได้จัดสร้างข้ึน
และน�ำไปสกู่ ารใช้อยา่ งเป็นระบบ
บุคลากรในสถานศึกษาควรศึกษาความสัมพันธ์ ความเช่ือมโยง
และความเป็นเหตุเป็นผลของการน�ำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
และแผนปฏิบัติการประจ�ำปีของสถานศึกษา ซ่ึงสามารถสรุปสาระส�ำคัญที่แสดง
ให้เห็นความสัมพันธ์เช่ือมโยงระหว่างการใช้แผนท้ัง ๒ ลักษณะ ดังแสดง
ในแผนภาพท่ี ๖


16

การจดั ท�ำ แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา

แผนพัฒนาการจัดการศึกษา • Educational Development Plan
ของสถานศึกษา • เป็นแผนแม่บทท่ีสถานศึกษาก�ำหนดกรอบความสำ� เรจ็ แนวทาง

ดำ� เนนิ การ การตดิ ตาม ตรวจสอบและประเมนิ ผลเพือ่ ตรวจสอบ
การบรรลตุ ามเป้าหมาย
• ระยะเวลาด�ำเนินงาน ๓ – ๕ ปี
• กำ� หนดเป้าหมายการดำ� เนนิ งาน ๓ – ๕ ปี
• นำ� ผลการดำ� เนินงานจากแผนปฏิบตั ิการประจำ� ปที ่ผี า่ นมาแล้ว
มาปรบั ใหเ้ หมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบนั
• แนวทางการดำ� เนนิ งานกำ� หนดกรอบไวก้ ว้าง ๆ ตามนโยบายของ
รัฐบาล
• วิเคราะหน์ โยบาย ยุทธศาสตร์ เปา้ ประสงค์ จุดเน้นของกระทรวง
ศกึ ษาธิการ สพฐ. เพอื่ วางแผนการพัฒนาคุณภาพ
• โครงการ/กจิ กรรม ออกแบบไวต้ ลอด ๓ – ๕ ปี มีความเช่อื มโยงและ
สามารถดำ� เนินการเพื่อใหเ้ กดิ คุณภาพภายในองคร์ วมระยะยาว

แผนปฏิบัติการประจ�ำปี • Action Plan
ของสถานศกึ ษา • เป็นแผนทีเ่ กดิ จากการวิเคราะหแ์ ผนพัฒนาการจดั การศึกษา

เพ่ือการดำ� เนนิ งานเป็นรายปี
• ระยะเวลาด�ำเนนิ งาน ๑ ปี
• น�ำเป้าหมายของแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ลงสู่การปฏบิ ตั ิ

ในแตล่ ะปี
• มกี ารปรับปรุง ระหวา่ งการปฏิบตั ติ ามแผนปฏบิ ตั ิการประจำ� ปี
• กิจกรรมในโครงการ กำ� หนดไว้ชัดเจน สามารถปฏบิ ัติใหเ้ กิดเปน็

รูปธรรม
• วเิ คราะหโ์ ครงการ/กจิ กรรมในแผนพัฒนาการจดั การศึกษา

เพอ่ื ดำ� เนนิ การ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผล
• โครงการ/กิจกรรม เลือกดำ� เนินการกอ่ นหลงั ในแต่ละปตี ามล�ำดับ

โดยพจิ ารณาจากความส�ำคญั

แผนภาพท่ี ๖ ความสมั พันธ์ ความเชื่อมโยง และความเปน็ เหตเุ ป็นผล
ของการน�ำแผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา
และแผนปฏบิ ัตกิ ารประจ�ำปีของสถานศกึ ษา

17

การจดั ท�ำ แผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา

แนวคิดในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จะต้อง
ด�ำเนินการให้บรรลุตามเป้าหมายของการจัดการศึกษาตามกฎหมายที่เก่ียวข้อง
กับการจัดการศึกษา ที่เน้นให้มีการด�ำเนินการอย่างเป็นระบบและปฏิบัติการ
อย่างต่อเนื่อง โดยส่งเสริมสนับสนุนให้มีการวางแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา
ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่ยึดสภาพปัญหา ความต้องการของชุมชน
ท้องถิ่น ควบคู่ไปกับการให้ความส�ำคัญของการใช้ข้อมูลสารสนเทศที่เป็นปัจจัยหลัก
ส�ำหรับการวางแผนร่วมกันระหว่างบุคลากร ท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษา
ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้อง สถานศึกษาจะต้องมีการระดมสมองเพ่ือการวิเคราะห์
สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก เพ่ือให้ได้ข้อสรุปในการพัฒนาการจัดการศึกษา
ของสถานศึกษาที่เน้นผู้ให้บริการทางการศึกษา ซ่ึงมีความสอดคล้อง เหมาะสม
กับความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เปิดโอกาสให้บุคลากรท่ีเก่ียวข้อง ร่วมคิด
รว่ มออกแบบ ร่วมวางแผน ร่วมจัดท�ำแผนพฒั นาการจัดการศึกษา ในการก�ำหนด
วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย เงื่อนไข และภาพแห่งความส�ำเร็จท่ีครอบคลุม
ภารกิจและความรับผิดชอบ ส�ำหรับการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
ที่สถานศึกษาได้ก�ำหนดผ่านแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
และแผนปฏิบัติการประจ�ำปีของสถานศึกษา จ�ำเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องด�ำเนินการ
อย่างมีคุณภาพ มีประสิทธิภาพ และถูกต้องตามหลักวิชาการ ท่ียึดหลักการ
และทฤษฎีทางการศึกษาที่เก่ียวข้อง ท้ังด้านการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic -
Management) วงจรคุณภาพการบริหารงานเชิงระบบ (PDCA) การจัดท�ำและ
น�ำไปสู่การใช้แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จึงเป็นท่ีน่ายอมรับ
และเช่ือถือได้ว่าการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาตามแนวคิด
หลักการที่เสนอความเช่ือมโยงการวางกรอบแผนพัฒนาการจัดการศึกษา
ดังกล่าว จะสามารถขับเคลื่อนสถานศึกษาผ่านการท�ำโครงการ/กิจกรรม
ตามแผนปฏิบัติการประจ�ำปี จนกระท่ังบรรลุเป้าหมายคุณภาพตามมาตรฐาน
ของสถานศกึ ษาไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ ด�ำเนนิ การไดอ้ ย่างเป็นระบบและมีความต่อเนอื่ ง

18

การจัดทำ�แผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา

๓ตอนท่ี

กระบวนการจดั ทำ�แผนพัฒนา
การจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา



๓ตอนที่

กระบวนการจัดทำ�แผนพฒั นา
การจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา

กระบวนการจัดท�ำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
เป็นข้ันตอนของการก�ำหนดเป้าหมายและแนวทางในการพัฒนาการจัดการ
ศึกษาของสถานศึกษาในช่วงระยะเวลาที่ก�ำหนด (๓ – ๕ ปี) โดยจัดท�ำไว้เป็น
ลายลักษณ์อักษรเพ่ือให้เกิดความม่ันใจว่าสถานศึกษาจะด�ำเนินการตามข้ันตอน
ท่ีก�ำหนดร่วมกัน โดยอาศัยหลักการและแนวคิดการบริหารจัดการโดยใช้วงจร
คุณภาพดงั แสดงในแผนภาพที่ ๗

21

การจดั ท�ำ แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา

วิเคราะหป์ ัญหา อปุ สรรค และความตอ้ งการจำ� เปน็ ของสถานศกึ ษา
SWOT Analysis and TOWS Matrix

สถานศึกษารว่ มกนั ก�ำหนดวสิ ยั ทศั น์ พนั ธกจิ เป้าหมาย ก(Pาlรaวnาnงiแnผgน)
จดั ทำ� แผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษาที่มุ่งพฒั นาคุณภาพ

สถานศกึ ษาทัง้ ระบบตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา
(ระยะ ๓-๕ ปี)

จัดท�ำแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำ� ปี

ด�ำเนินการตามแผน ก(Dาoรปinฏgิบ)ตั ิตามแผน

ติดตาม ตรวจสอบและประเมนิ ก(Cาhรตeรcวkจinสgอ)บ/ประเมิน

พฒั นาและปรับปรงุ การด�ำเนินงาน ก(Aาcรtปioรบัnป) รุงและพัฒนา

แผนภาพท่ี ๗ หลักการและแนวคดิ การบรหิ ารจดั การโดยใชว้ งจรคุณภาพ
กับการจดั ท�ำแผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา

22

การจัดท�ำ แผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา

ขน้ั ตอนการจดั ทำ� แผนพฒั นาการจดั การศึกษาของสถานศึกษา (ระยะ ๓ - ๕ ป)ี
การจัดท�ำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาท่ีมุ่งคุณภาพ
สถานศึกษาท้ังระบบตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา (ระยะ ๓ - ๕ ปี)
สถานศึกษาสามารถดำ� เนนิ การไดต้ ามขนั้ ตอนดงั แสดงในแผนภาพที่ ๘

แต่งตงั้ คณะทำ� งาน

รวบรวมขอ้ มูลสารสนเทศเกย่ี วกับสภาพภายในและภายนอก
ของสถานศึกษา

วเิ คราะห์และประเมินศักยภาพของสถานศกึ ษา

ก�ำหนดทิศทางการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
วสิ ยั ทศั น์ พันธกจิ และเป้าประสงค์

ก�ำหนดกรอบกลยทุ ธการพัฒนา วตั ถุประสงค์เชงิ กลยทุ ธ์ ตัวชว้ี ดั
ค่าเปา้ หมาย กลยุทธ์รเิ รม่ิ โครงการ

จัดท�ำแผนพัฒนาการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษาทม่ี ่งุ พัฒนาคุณภาพ
ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

แผนภาพที่ ๘ ขัน้ ตอนการจดั ทำ� แผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา
(ระยะ ๓-๕ ป)ี

23

การจดั ทำ�แผนพฒั นาการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา

ขน้ั ที่ ๑ แตง่ ต้ังคณะท�ำงาน
๑. คณะท�ำงานควรประกอบด้วยผู้ที่เกี่ยวข้อง ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียใน
การจัดการศึกษาท้ังภายนอกและภายในโรงเรียน ได้แก่ ผู้แทนคณะกรรมการ
สถานศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน / ครู / นกั เรียน / ชุมชน / องค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่
ทงั้ น้ีควรมผี ู้ทรงคุณวุฒเิ ป็นทีป่ รกึ ษาดว้ ย คณะกรรมการ และคณะทำ� งาน อาจจำ� แนก
เป็นด้าน ๆ ตามความเหมาะสม เช่น คณะกรรมการท่ีปรึกษา คณะกรรมการ
อำ� นวยการ คณะกรรมการดำ� เนินการแตล่ ะดา้ น เช่น ด้านข้อมลู และสารสนเทศ
โดยก�ำหนดบทบาทหน้าท่ีให้สามารถจัดท�ำแผนพัฒนาการจัดการศึกษา
เพอื่ พัฒนาโรงเรียนให้บรรลวุ ตั ถุประสงค์และมปี ระสทิ ธภิ าพ
๒. สร้างความรู้ความเข้าใจคณะท�ำงาน และบุคลากรที่เกี่ยวข้องเก่ียวกับ
การวางแผนการพฒั นาการศกึ ษา
ข้ันที่ ๒ รวบรวมข้อมูลสารสนเทศเก่ียวกับสภาพภายในและภายนอก
ของสถานศกึ ษา
ข้อมูลพ้ืนฐานและระบบสารสนเทศต้องถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน
ครอบคลุม งานทุกด้าน ท้ังด้านวิชาการ ด้านงบประมาณ ด้านบุคลากร
และด้านบริหารทั่วไป โดยใช้เคร่ืองมือและเทคโนโลยีในการเก็บรวบรวมข้อมูล
วิเคราะห์ข้อมูล น�ำเสนอข้อมูลท่ีถูกต้องเที่ยงตรงจากแหล่งข้อมูลที่เช่ือถือได้
มีการวิเคราะห์สารสนเทศ วิเคราะห์ความขาด - เกิน เทียบกับเกณฑ์มาตรฐาน
เพ่ือจะใช้เป็นฐานข้อมูลในการจัดท�ำแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ตัวอย่างข้อมูล
สารสนเทศ
๑. ขอ้ มลู พ้ืนฐานดา้ นปรมิ าณ อาทิ นักเรยี นจำ� แนกตามระดับชนั้ ครูและ
บุคลากรทางการศกึ ษา ทด่ี ินและส่ิงกอ่ สร้าง
๒. ข้อมูลด้านคุณภาพผู้เรียน อาทิ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกระดับ
ประกอบด้วย ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา ระดับชาติ

24

การจัดทำ�แผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา

คุณภาพผู้เรียนจากผลการประเมินคุณภาพภายในและภายนอก สุขภาพผู้เรียน
รายงานผลการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา รวมถึงนโยบายอื่น ๆ
ทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั ผู้เรียน เป็นตน้
๓. ขอ้ มูลดา้ นกระบวนการบริหารและการจดั การ อาทิ กฎหมาย นโยบาย
ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา หลกั สตู รสถานศึกษา รายงานผล
การด�ำเนินงานท่ีเก่ียวข้องกับการจัดการศึกษา แหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอก
สถานศึกษา ปราชญ์ชาวบ้าน ภูมิปัญญาท้องถิ่น บันทึกรายงานการประชุม
รายงานผลการประเมินคุณภาพภายใน รายงานผลการประเมินภายนอก
ของสถานศึกษา เป็นต้น
๔. ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอน อาทิ หลักสูตรในแต่ละระดับ
แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดประสบการณ์ บันทึกหลังสอน แฟ้มสะสม
ผลงานของครู การบรหิ ารจดั การชนั้ เรยี น ส่อื สารสนเทศที่ใช้ในการจัดการเรยี น
การสอน เปน็ ตน้
๕. นโยบายทเ่ี กีย่ วขอ้ งในระดับตา่ งๆ
ข้ันท่ี ๓ การวเิ คราะห์ข้อมูลเก่ยี วกับสภาพภายในและภายนอกของสถานศึกษา
การวิเคราะห์ข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องกับสภาพภายในด้านจุดเด่น จุดท่ีควร
พัฒนา สภาพภายนอกด้านโอกาส และอุปสรรคของสถานศึกษาน้ัน
มีการวเิ คราะหห์ ลายแนวทาง เช่น Scenario Planning / Five Forces Model /
BSC / KPI / SWOT Analysis / TOWS Matrix เปน็ ตน้ โดยในเอกสารฉบบั น้ี
ไดย้ กตวั อยา่ งการวเิ คราะห์ขอ้ มูลดว้ ยวธิ ี TOWS Matrix ดังนี้

25

การจดั ทำ�แผนพัฒนาการจดั การศึกษาของสถานศึกษา

26 ตัวอยา่ งการวเิ คราะหข์ ้องมูลดว้ ยวธิ ี TOWS Matrix

การจดั ทำ�แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา   ปจั จัยภายใน จุดแข็ง Strengths = S จดุ ออ่ น Weaknesses = W
 
  S๑ นักเรยี นมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และมีคณุ ลักษณะ W๑ นักเรยี นมีผลสัมฤทธติ์ ำ�่ กว่าเกณฑ์ท่กี ำ� หนด
ทพ่ี ึงประสงค์ตามหลักสตู ร W๒ นกั เรียนยังขาดทักษะการเรียนทีส่ �ำคัญในศตวรรษท่ี ๒๑
ปจั จยั ภายนอก
โอกาส Opportunities = O S๒ นักเรียนสุขภาพกาย สุขภาพจติ ท่ีดี โดยเฉพาะทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ การสอื่ สาร การคิดค�ำนวณ
S๓ สถานศกึ ษามีหลกั สตู รสถานศึกษาทเ่ี หมาะสมกบั ผ้เู รียน W๓ การจดั กระบวนการจดั การเรยี นการสอนยงั ไมใ่ ช้รปู แบบการเรยี น
O๑ ต้นสงั กัดและหน่วยงานเอกชนให้การสนบั สนุนการศกึ ษา
O๒. ชมุ ชนมเี อกลักษณ์ ขนบธรรมเนียม ประเพณีทเี่ ดน่ ชัด สอดคลอ้ งกับท้องถนิ่ การสอนทห่ี ลากหลาย
O๓. ความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยี ท�ำใหน้ กั เรียนสามารถแสวงหาความรู้
กลยทุ ธ์เชงิ รุก SO Strategies กลยุทธ์เชิงแก้ไข WO Strategies
จากแหล่งความรตู้ ่าง ๆ ไดด้ ว้ ยตนเอง SO๑ ปลูกฝังนักเรยี นใหม้ คี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และมีคณุ ลักษณะท่ี WO๑ เรง่ ยกระดับผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นของนักเรยี นใหส้ ูงขึน้ โดยนำ�
O๔. ชมุ ชน อปท. หนว่ ยงานภาครัฐสถาบนั ศาสนา
พงึ ประสงค์ โดยใชเ้ อกลกั ษณ์ ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี เทคโนโลยที ท่ี ันสมยั มาใชเ้ พม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการจดั การเรียนรู้
มสี ว่ นร่วมในการบริหารจัดการศกึ ษาทีเ่ ข้มแข็ง และเครือขา่ ยความร่วมมือกบั ชุมชน สถาบันทางศาสนาอยา่ งใกลช้ ิด SO๒ พฒั นานักเรียนใหม้ ที กั ษะ
O๕. มแี หลง่ เรยี นรู้และภมู ปิ ัญญาภายนอกใหศ้ ึกษาอย่างหลากหลาย SO๒ เสริมสรา้ งนักเรียนสขุ ภาพกาย สุขภาพจิต
ท่ีดีดว้ ยความร่วมมอื กับหนว่ ยสาธารณสขุ ในพื้นที่ การเรยี นรทู้ ีส่ �ำคัญในศตวรรษท่ี ๒๑ โดยมุ่งเนน้ ทักษะการคดิ
อุปสรรค์ Threats = T SO๓ พฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษาสอดคล้องกับท้องถนิ่ และ วิเคราะห์ การสอ่ื สาร การคดิ คำ� นวณ
T๑ นโยบายการจำ� กดั อัตรากำ� ลงั ความต้องการและความถนัดของผเู้ รยี นโดยใช้แหลง่ เรยี นรู้ SO๓ ปรับปรงุ การจดั กระบวนการจัดการเรยี นการสอนและกจิ กรรม
T๒ นโยบายการศึกษามีการเปลย่ี นแปลงบอ่ ยส่งผล และภูมิปัญญาภายนอกใหศ้ กึ ษาอยา่ งหลากหลาย การเรียนรดู้ ้วยรูปแบบท่ีหลากหลาย โดยใช้เทคโนโลยที ที่ ันสมยั
และให้แหลง่ เรียนร้ใู นชมุ ชน
ให้โรงเรียนมีความยงุ่ ยากการบริหารจดั การ กลยทุ ธ์เชิงปอ้ งกนั ST Strategies
T๓ ปฏิสมั พนั ธ์ระหวา่ งบ้าน วัด โรงเรยี นไมต่ อ่ เนือ่ ง สง่ ผลตอ่ ST๑ เสริมสร้างความรว่ มมือระหวา่ งบ้าน วัด โรงเรยี น กลยุทธเ์ ชิงรับ WT Strategies
WT๑ พัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการภายในสถานศกึ ษาให้เข้มแขง็
พฤติกรรมไม่พงึ ประสงค์ของนกั เรยี น อยา่ งใกล้ในการดแู ลนักเรียนอย่างใกล้
T๔ อัตราการหยา่ ร้างของผู้ปกครองมีแนวโนม้ สงู ขึน้ ท�ำให้เดก็ อาศยั พร้อมรับการเปลยี่ นแปลง

กบั บคุ คลอนื่ ส่งผลตอ่ ความพร้อมในการเรยี นร้ขู องนักเรยี น

คน้ หาให้พบ นำ�มาวิเคราะห์ เอาไปใช้ประโยชน์ในการกำ�หนดกลยทุ ธร์ เิ ร่มิ

ขนั้ ท่ี ๔ การกำ� หนดทิศทางการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
ทิศทางการจัดการศึกษาของสถานศึกษา เป็นการก�ำหนดเป้าหมาย
ท่ีสถานศึกษาต้องด�ำเนินการจัดการศึกษา เปรียบเสมือนเป็นผลลัพธ์ระดับสูง
ที่สถานศึกษาต้องการที่จะบรรลุ ซึ่งการก�ำหนดทิศทางของสถานศึกษาเป็น
กระบวนการทบี่ ุคลากรทกุ ฝ่ายของสถานศกึ ษา รว่ มกนั ตัง้ ปณธิ านความมุ่งหวงั ตัง้ มนั่
ปรารถนาท่ีจะพัฒนาสถานศึกษาไปสู่ความส�ำเร็จ โดยร่วมกันระดมพลังปัญญา
วจิ ารณญาณ และแรงบันดาลใจ ตรวจสอบ ทบทวน กลัน่ กรอง จัดวางสร้างสรรค์
สภาพที่พึงประสงค์ของสถานศึกษาทิศทางของสถานศึกษาประกอบด้วย
วิสัยทศั น์ พนั ธกจิ เป้าประสงค์ มสี าระสำ� คญั ดงั น้ี

27

การจัดทำ�แผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา

๔.๑ การก�ำหนดวสิ ัยทศั น์ (Vision)
วิสัยทัศน์จะเป็นการมองไปในอนาคต (Future Perspective)
เป็นส่ิงที่จะบอกถึงสิ่งที่สถานศึกษาอยากจะเป็นในอนาคต เป็นการบอกถึง
ทศิ ทางขององคก์ รในอนาคต ขอเสนอแนวทางกำ� หนดวสิ ัยทศั น์ ดังนี้

ตัวอย่างการกำ� หนดวิสัยทัศน์

ด้าน ภาพความสำ�เรจ็ ในอนาคต กำ�หนดวสิ ยั ทัศน์

คุณภาพผเู้ รียน นกั เรยี นมีผลสมั ฤทธิท์ างวิชาการเพมิ่ ขึ้น
มคี วามเปน็ เลศิ ทางวิชาการ มที กั ษะที่
จำ�เปน็ ในศตวรรษท่ี ๒๑ เป็นคนดี
มีคุณธรรม จรยิ ธรรม มีวนิ ยั ซื่อสัตย์ ภายในปี..............มุ่งพัฒนา
มีจติ สาธารณะ รกั ในสถาบนั หลักของชาติ ให้ผู้เรยี นเป็นคนดี คนเก่ง
ยึดมัน่ การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย มีความเป็นไทย พร้อม
อนั พระมหากษัตริยเ์ ป็นประมุข มสี ุขภาวะ สำ�หรบั วถิ ีชวี ิตในศตวรรษ
ท่ีดี และมภี มู คิ มุ้ กนั จากภยั ในทุกรปู แบบ ที่ ๒๑

คุณภาพการจดั สถานศกึ ษามีหลักสูตรสถานศกึ ษาท่ี
การเรยี นการสอน เหมาะสมกบั ผ้เู รียนสอดคล้องกบั ท้องถิน่
ทีเ่ นน้ ผู้เรียน การเปลย่ี นแปลง มกี ระบวนการจัด
เป็นสำ�คัญ กระบวนการเรียนรู้ทเี่ น้นผ้เู รียนเป็นสำ�คญั
และมกี ารวัดผลประเมินผลนกั เรยี น
ในรูปแบบท่ีหลากหลายตามสภาพจริง

คุณภาพการบริหาร เปน็ โรงเรียนคณุ ภาพช้ันนำ�ทมี่ ีเอกลกั ษณ์
จดั การ อนั โดดเดน่ มรี ะบบการประกันคณุ ภาพ

ภายในทเี่ ขม้ แขง็ มผี ลงานเป็นท่ีประจกั ษ์
มีสภาพแวดลอ้ มทีอ่ บอนุ่ ปลอดภัยเอ้อื ต่อ
การเรยี นรู้ มีแหลง่ เรียนรทู้ ีม่ ีคุณภาพ
ไดร้ ับการยอมรับและเชอื่ มัน่ ของชมุ ชน สังคม
และไดร้ ับความรว่ มมือจากทกุ ภาคส่วน
ในการจัดการศกึ ษา

28

การจดั ท�ำ แผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา

๔.๒ การก�ำหนดพันธกิจ (Mission)
พันธกิจเป็นบทบาทหน้าท่ีของสถานศึกษา ท่ีต้องด�ำเนินการเพื่อให้
วิสัยทัศน์เป็นจริง พันธกิจจึงเป็นการบ่งบอกหน้าที่ของสถานศึกษาท่ีก�ำลังท�ำ
หรือจะท�ำในอนาคตให้แก่ ผู้รับบริการ หรือสังคมได้รับรู้ว่าเราก�ำลังท�ำอะไร
ขอ้ ความที่ปรากฏในพันธกจิ มักระบุผลผลิตของสถานศกึ ษา กลุม่ หรอื ผรู้ ับบริการ
หรือวิธีการดำ� เนินงานและความรบั ผดิ ชอบของสถานศกึ ษา

ตัวอยา่ งการก�ำหนดพันธกจิ

วสิ ัยทัศน์ (Vision : V) มุ่งพัฒนาใหผ้ ้เู รยี นเปน็ คนดี คนเก่ง มคี วามเปน็ ไทย
พร้อมสำ�หรับวิถชี ีวิตในศตวรรษท่ี ๒๑

มาตรฐานการศกึ ษา Key Word สำ�คัญของวิสัยทัศน์ พนั ธกิจของสถานศกึ ษา

๑. ด้านคุณภาพ V๑ ผู้เรยี นเปน็ คนดี ๑. ปลกู ฝังคุณธรรม จริยธรรม
ของผเู้ รยี น V๒ ผูเ้ รยี นเปน็ คนเก่ง คุณลักษณะท่พี ึงประสงค์
ด้านกระบวน V๓ มีความเป็นไทย เป็นพลเมอื งทดี่ ี มคี วามเป็นไทย
การเรยี นการสอน V๔ พรอ้ มสำ�หรับวถิ ชี ีวติ ภูมคิ ุ้มกนั จากภัยในทุกรปู แบบ
ท่เี น้นผู้เรยี น ในศตวรรษที่ ๒๑ มสี ุขภาวะทีด่ ี และมีวถิ ีชีวติ
เป็นสำ�คญั ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ
๒. ด้านการบริหาร พอเพยี ง
และการจัดการ
๒. พัฒนาผเู้ รยี นให้มพี ัฒนาการ
สมวัย มผี ลสัมฤทธ์ทิ างวิชาการ
สงู ขนึ้ และมีทกั ษะการเรยี นรู้ที่
สำ�คัญในศตวรรษท่ี ๒๑

๓. พัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรยี น
การสอน และการวดั ผลประเมิน
ผลที่เน้นผูเ้ รยี นเปน็ สำ�คญั



29

การจดั ท�ำ แผนพัฒนาการจดั การศึกษาของสถานศึกษา

๔.๓ การกำ� หนดเป้าประสงค์ (Goal)
เป้าประสงค์ เป็นส่ิงที่คาดหวังในอนาคต หรือผลลัพธ์ที่องค์กร
ต้องการให้เกดิ ขึ้น โดยมคี วามเชอื่ มโยงกับวสิ ัยทัศน์และพันธกจิ เพอื่ เปน็ แนวทาง
ในการกำ� หนดกลยุทธ์ และประเมินผลความสำ� เรจ็ ต่อไป

ตัวอยา่ งการกำ� หนดเปา้ ประสงค์

วิสยั ทัศน์ (V) พนั ธกิจ (M) เปา้ ประสงค์ (G)
มุ่งพัฒนาให้ผ้เู รยี น ๑. ปลูกฝงั คุณธรรม จรยิ ธรรม ๑. นักเรยี นมีคุณธรรม จริยธรรม
เป็นคนดี คนเก่ง
มคี วามเป็นไทย คณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค์ คุณลกั ษณะที่พึงประสงค์
พรอ้ มสำ�หรบั วถิ ีชวี ิต ความมีวนิ ยั ในตนเองสงู มวี ินัยในตนเองสงู เปน็ พลเมือง
ในศตวรรษที่ ๒๑ เปน็ พลเมืองที่ดี ทดี่ ี มคี วามเป็นไทยภมู ิคุ้มกัน
มีความเปน็ ไทยภูมิคุ้มกัน จากภยั ในทกุ รูปแบบ มสี ขุ ภาวะ
จากภัยในทุกรูปแบบ ทด่ี ี และมีวถิ ีชีวติ ตามหลกั
มีสุขภาวะท่ีดี และมวี ิถี ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
ชวี ติ ตามหลักปรชั ญาของ ๒. นกั เรียนใหม้ ีพฒั นาการสมวัย
เศรษฐกจิ พอเพียง มีผลสมั ฤทธ์ิทางวิชาการสงู ขน้ึ
๒. พัฒนานักเรียนใหม้ ีผล และมีทกั ษะการเรยี นรูท้ ่ีสำ�คัญ
สมั ฤทธทิ์ างวชิ าการสูงขึ้น ในศตวรรษที่ ๒๑
และมที ักษะการเรยี นร้ทู ่ี ๓. สถานศกึ ษามหี ลักสตู ร
สำ�คญั ในศตวรรษท่ี ๒๑ จัดกระบวนการเรียนการสอน
๓. พฒั นาหลักสตู ร และการวดั ผลประเมนิ ผลทเี่ น้น
กระบวนการเรียนการสอน ผู้เรียนเป็นสำ�คญั
และการวดั ผลประเมินผล
ท่เี นน้ ผู้เรียนเป็นสำ�คัญ

30

การจัดท�ำ แผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา

วธิ ีเขยี นเป้าประสงค์ คณุ คา่ ทมี่ อบให้ ความเปลย่ี นแปลงในอนาคต

กล่มุ ทส่ี ถานศึกษามอบคุณคา่ ให้

ผู้เรียน คณุ ธรรม จรยิ ธรรม มวี นิ ยั ในตนเองสูง เป็นพลเมอื ง
คุณลักษณะทพี่ งึ ประสงค์ ทีด่ ี มีความเปน็ ไทยภมู คิ มุ้ กัน
จากภัยในทกุ รปู แบบ มีสขุ ภาวะท่ดี ี
และมวี ิถีชวี ิตตามหลกั ปรชั ญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง

ข้ันตอนที่ ๕ การก�ำหนดกรอบกลยุทธ์พัฒนาการศึกษาของสถานศึกษา
(Strategic Formulation)
การกำ� หนดกลยุทธ์ (Strategic Formulation) ของสถานศึกษา เป็นการเลอื ก
วิธีการท�ำงานท่ีแยบคาย สู่จุดหมายปลายทางอย่างมีทิศทางที่เหมาะสม
สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา ตอบสนองวิธีการสู่จุดหมาย
ปลายทางระดับนโยบาย สามารถดำ� เนนิ การไดป้ ระสบความส�ำเร็จ นำ� ไปปฏิบัตไิ ด้จริง
การก�ำหนดกลยุทธ์เป็นการน�ำข้อมูลและความรู้ต่าง ๆ ท่ีได้รับจากขั้นตอน
การก�ำหนดทิศทางของหน่วยงานและการศึกษาสถานภาพหน่วยงาน (SWOT -
Analysis) ด้วยการวิเคราะห์ สภาพแวดล้อมท่ีเป็นจุดแข็ง (Strength)
จุดอ่อน (Weakness) โอกาส (Opportunity) และอุปสรรค (Threat) ของสถานศกึ ษา
มาจัดท�ำเป็นกลยุทธ์ในรูปแบบต่างๆ การก�ำหนดกลยุทธ์เปรียบเสมือนการตอบ
คำ� ถามวา่ “เราจะไปถงึ จุดนน้ั ไดอ้ ยา่ งไร? หรอื เราจะบรรลุทิศทางของหนว่ ยงาน
ได้อย่างไร? (How do we get there?)” กรอบกลยุทธ์ของสถานศึกษา
ประกอบด้วยประเด็นกลยุทธ์ระดับสถานศึกษา วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ ตัวชี้วัด
คา่ เปา้ หมาย กลยทุ ธร์ เิ รม่ิ (กลยุทธร์ ะดับแผนงาน)

31

การจัดท�ำ แผนพฒั นาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา

๕.๑ การก�ำหนดประเดน็ กลยุทธ์ (กลยุทธ์ระดับสถานศกึ ษา)
ประเด็นกลยุทธ์ระดับสถานศึกษา Strategic Issues เป็นประเด็น
กลยุทธ์หลักท่ีสถานศึกษาก�ำหนดการด�ำเนินงานเพ่ือให้บรรลุทิศทาง
การจัดการศึกษาของสถานศึกษา โดยวิเคราะห์จากพันธกิจ และเป้าประสงค์
แลว้ มาก�ำหนดเป็นประเดน็ กลยทุ ธ์ (ซ่งึ ขน้ึ อยกู่ ับบริบทของสถานศึกษา)

ตวั อยา่ งการจัดทำ� ประเด็นกลยทุ ธ์

พนั ธกิจ เปา้ ประสงค์ ประเด็นกลยทุ ธ์

๑. ปลกู ฝงั คณุ ธรรม จริยธรรม ๑. นักเรียนให้มีพฒั นาการสมวัย ๑. พัฒนาศักยภาพผเู้ รยี นสวู่ ถิ ี
คุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ มผี ลสมั ฤทธท์ิ างวิชาการ ในศตวรรษที่ ๒๑
เปน็ พลเมืองท่ดี ี มคี วามเป็นไทย สูงขน้ึ และมีทักษะการเรียนรู้ ๒. ปลกู ฝังคุณธรรม จริยธรรม
ภมู ิคมุ้ กนั จากภัยในทกุ รูปแบบ ท่ีสำ�คัญในศตวรรษที่ ๒๑ และคา่ นยิ มท่พี งึ ประสงค์
มสี ขุ ภาวะทดี่ ี และมวี ิถีชีวติ ๒. นักเรียนมคี ุณธรรม ๓. พัฒนากระบวนการเรียน
ตามหลักปรชั ญาของ จรยิ ธรรม คุณลักษณะ การสอนทเี่ นน้ ผเู้ รียน
เศรษฐกจิ พอเพียง ที่พงึ ประสงค์ เปน็ พลเมืองทด่ี ี เปน็ สำ�คัญ
๒. พฒั นานักเรยี นใหม้ ผี ล มภี มู คิ มุ้ กนั จากภยั ในทกุ รปู แบบ ๔. พฒั นาประสิทธภิ าพ
สมั ฤทธ์ิทางวชิ าการสงู ขนึ้ มสี ุขภาวะท่ีดี และมีวถิ ีชีวิต การบริหารจัดการ
และมที กั ษะการเรยี นรู้ ตามหลกั ปรชั ญาของ
ทีส่ ำ�คญั ในศตวรรษที่ ๒๑ เศรษฐกจิ พอเพียง
๓. พัฒนาหลักสตู ร ๓. สถานศึกษามีหลักสูตร
กระบวนการเรียนการสอน สถานศึกษา หลักสูตรเสรมิ
และการวัดผลประเมินผล กระบวนการจดั การเรียนรู้
ทเ่ี น้นผู้เรยี นเปน็ สำ�คญั และการวัดผลประเมนิ ผล
๔. พฒั นาครเู ป็นครูยคุ ใหม่ ตามสภาพจริงและเนน้
ทมี่ ขี ดี ความสามารถ ผเู้ รียนเปน็ สำ�คญั
ในการจัดการเรียนรู้รองรับ
การเปลี่ยนแปลง
และสามารถปฏิบัติงานได้ตา
มาตรฐานวิชาชีพ

32

การจดั ทำ�แผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา

พันธกจิ เป้าประสงค์ ประเดน็ กลยทุ ธ์

๕. พัฒนาระบบการบรหิ าร ๔. ครเู ป็นครูยคุ ใหม่ท่มี ีขดี
จัดการทีด่ ตี ามหลกั ธรรมาภบิ าล ความสามารถในการ
เปน็ ทย่ี อมรบั ชองชมุ ชน จัดการเรียนรู้รองรบั
สังคม และทกุ ภาคส่วน การเปลี่ยนแปลง และ
เข้ามามผี ูม้ สี ่วนร่วมในการ สามารถปฏบิ ัติงานได้ตาม
จัดการศกึ ษา มาตรฐานวิชาชพี
๕. สถานศกึ ษามีระบบการ
บริหารจัดการที่ดตี าม
หลกั ธรรมาภบิ าล เปน็ ท่ี
ยอมรับชองชมุ ชนสังคม และ
ทุกภาคส่วนเข้ามามผี มู้ ี
สว่ นรว่ มในการจดั การศกึ ษา

๕.๒ การก�ำหนดวัตถุประสงค์เชงิ กลยุทธ์
วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ เป็นผลส�ำเร็จต่างๆ ท่ีต้องการบรรลุภายใต้
ประเด็นกลยุทธ์ โดยการก�ำหนดวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ของสถานศึกษา
โดยวเิ คราะหจ์ ากเป้าประสงค์และมาตรฐานการศึกษาเปน็ หลัก

ตวั อยา่ งการกำ� หนดวัตถปุ ระสงค์เชงิ กลยทุ ธ์

เป้าประสงค์ : u ผู้เรียนมพี ฒั นาการสมวยั v มผี ลสมั ฤทธิท์ างวิชาการสูงขึ้นและ w มที ักษะ
การเรยี นรูท้ สี่ ำ�คญั ในศตวรรษท่ี ๒๑

ประเดน็ กลยทุ ธ์ วัตถปุ ระสงคเ์ ชิงกลยุทธ์

พัฒนาศักยภาพผเู้ รียน ๑. เด็กปฐมวยั มีพัฒนาการสมวัยด้านรา่ งกาย อารมณ์-จิตใจ
สู่วถิ ใี นศตวรรษที่ ๒๑ สงั คมและสตปิ ัญญา

๒. ผ้เู รียนมีผลสัมฤทธิ์วิชาการสูงขึ้น
๓. นักเรียนมที กั ษะการเรยี นร้สู ำ�คญั ในศตวรรษที่ ๒๑

33

การจัดทำ�แผนพฒั นาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา

๕.๓ การก�ำหนดตวั ช้วี ดั และค่าเปา้ หมาย
ตัวชี้วัด (Key Performance Indicators) เป็นตัวชี้วัดของ
วัตถปุ ระสงค์เชิงกลยุทธ์ ซงึ่ ตัวชว้ี ดั เหล่านีจ้ ะเป็นเครื่องมือทใ่ี ชใ้ นการวัดว่าองค์กร
บรรลวุ ัตถุประสงค์เชิงกลยทุ ธใ์ นแต่ละกลยุทธ์หรือไม่
ค่าเป้าหมาย เป็นความส�ำเร็จท่ีสถานศึกษาต้องการจะบรรลุ
ในแต่ละตวั ช้ีวัด

ตัวอย่างการก�ำหนดตวั ชีว้ ัดและคา่ เปา้ หมาย
ประเด็นกลยุทธ์ท่ี ๑ พฒั นาศักยภาพผ้เู รียนสู่วถิ ใี นศตวรรษท่ี ๒๑

วัตถปุ ระสงค์ ตวั ช้ีวดั ขอ้ มลู พนื้ ฐาน คา่ เป้าหมาย
เชงิ กลยุทธ์
๑. เดก็ ปฐมวัย ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ๒๕๖๖
มีพฒั นาการ
ดา้ นร่างกาย - รอ้ ยละของนกั เรยี น ๙๐.๒๕ ๙๒.๕๐ ๙๔.๐๐ ๙๖.๐๐ ๙๘.๐๐ ๑๐๐
ด้านอารมณ์ ระดบั กอ่ นประถมศกึ ษา
และจิตใจ ทม่ี ีพฒั นาการผา่ นเกณฑ์ ตัวชว้ี ัดกำ�หนดใหส้ อดคล้องกับประเดน็ พิจารณา
ดา้ นสังคม และ ในระดบั ดีขึ้นไป ในแตล่ ะมาตรฐานการศึกษา
ด้านสตปิ ัญญา

ตัวอยา่ งการก�ำหนดตวั ชวี้ ัดตามมาตรฐานการศึกษา
มาตรฐานท่ี ๑ ด้านคุณภาพผเู้ รยี น
๑.๑ ผลสัมฤทธ์ทิ างวชิ าการของผเู้ รยี น

ประเดน็ ย่อย ตวั ช้วี ัด
๑) มคี วามสามารถในการอา่ น การเขยี น ร้อยละของนกั เรยี นทม่ี ีความสามารถในการอ่าน
การสื่อสารและการคิดคำ�นวณ การเขยี น การส่อื สารและการคิดคำ�นวณ
๒) มคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คดิ อยา่ งมี ร้อยละของนักเรียนทมี่ ีความสามารถในการ
วจิ ารญาณ อภปิ รายแลกเปล่ยี นความคิดเห็นและ คดิ วเิ คราะห์ คดิ อยา่ งมีวิจารญาณ อภิปรายแลกเปลย่ี น
แกป้ ัญหา ความคิดเหน็ และแกป้ ญั หา

34

การจัดทำ�แผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา

๕.๔ การก�ำหนดกลยุทธร์ ิเร่ิม (Strategic Initiative)
กลยทุ ธ์รเิ ริ่มเปน็ วิธีการที่ดที ีส่ ดุ โดดเด่น ท่ีแตกตา่ งจากเดิมทสี่ ถานศึกษา
จะต้องท�ำเพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ โดยน�ำผลจากการวิเคราะห์
TOWS Matrix และนโยบายที่เก่ยี วขอ้ งในระดับตา่ งๆ

ตวั อยา่ งการกำ� หนดกลยทุ ธร์ ิเร่มิ

วัตถุประสงค์ ตวั ชวี้ ดั ขอ้ มูลพน้ื ฐาน ค่าเปา้ หมาย กลยทุ ธ์รเิ ริม่
เชิงกลยุทธ์
๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ๒๕๖๖

๑. เด็กปฐมวยั - รอ้ ยละของ ๙๐.๒๕ ๙๒.๕๐ ๙๔.๐๐ ๙๖.๐๐ ๙๘.๐๐ ๑๐๐ - พัฒนาเด็กปฐมวัย
มพี ัฒนาการ นักเรยี นระดบั ใหม้ พี ฒั นาการสมวยั
ดา้ นรา่ งกาย กอ่ นประถมศกึ ษา รอบด้าน ด้วยการ
ดา้ นอารมณ์ ที่มีพัฒนาการ จัดประสบการณ์
และจติ ใจ ผ่านเกณฑ์ใน ท่หี ลากหลาก
ด้านสงั คม และ ระดับดขี ้ึนไป โดยความรว่ มมือ
ด้านสติปญั ญา กบั ผูป้ กครอง
อย่างใกลช้ ิด


วธิ เี ขยี นกลยทุ ธ์ริเรมิ่

กลยทุ ธร์ ิเร่ิม : พฒั นาเด็กปฐมวัยใหม้ ีพัฒนาการสมวัยรอบด้านโดยการจดั ประสบการณ์ กจิ กรรมในรูปแบบ
ท่ีหลากหลาย และการ่วมมือกับผปู้ กครองอยา่ งใกลช้ ดิ

ทศิ ทาง/จดุ เน้น(จะทำ�อะไร?) กิจกรรม(จะทำ�อย่างไร?)

พฒั นาเด็กปฐมวยั ให้มีพัฒนาการสมวยั รอบดา้ น โดยการจดั ประสบการณ์ กิจกรรมในรูปแบบท่ี
หลากหลาย และการรว่ มมือกบั ผ้ปู กครองอย่างใกล้ชดิ

35

การจดั ท�ำ แผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา

๕.๕ โครงการและกจิ กรรม
การกำ� หนดโครงการ / กจิ กรรมระยะ ๓ - ๕ ปี เปน็ การกำ� หนดโครงการ /
กจิ กรรมแตล่ ะกลยทุ ธร์ เิ รม่ิ ทคี่ าดจะดำ� เนนิ การในระยะ ๓ - ๕ ปี เพอื่ ตอบสนอง
วตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ กลยทุ ธ์ ตวั ชวี้ ดั และคา่ เปา้ หมาย ของโรงเรยี นในระยะ ๓ - ๕ ปี

ตวั อย่างการเขียนโครงการ/กจิ กรรม
ประเด็นกลยุทธท์ ่ี ๑ พฒั นาศักยภาพผเู้ รียนสู่วิถีในศตวรรษท่ี ๒๑

วตั ถุประสงค์เชงิ กลยทุ ธ์ กลยทุ ธร์ ิเรม่ิ โครงการ/กจิ กรรมหลัก หนว่ ยทีร่ บั ผิดชอบ

๑. นักเรียนระดบั พัฒนาเดก็ ปฐมวัยให้ โครงการพฒั นาการจัด ฝา่ ยวิชาการ
กอ่ นประถมศึกษา มพี ฒั นาการสมวยั ประสบการณ์เดก็ ปฐมวัย
มีพฒั นาการด้าน รอบด้าน ด้วยการจัด กจิ กรรมหลัก
ร่างกาย ดา้ นอารมณ์ ประสบการณ์ ทีห่ ลากหลาก ๑. บ้านนกั วิทยาศาสตร์
และจติ ใจ ด้านสงั คม โดยความรว่ มมือกบั นอ้ ย
และดา้ นสติปญั ญา ผปู้ กครองอยา่ งใกล้ชิด ๒. ผลติ สอื่ สร้างสรรค์
สำ�หรบั เดก็ ปฐมวัย
๓. จดั ประสบการณแ์ บบ
STEM

36

การจัดทำ�แผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา

ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งวัตถปุ ระสงคเ์ ชงิ กลยทุ ธ์ ตัวชี้วดั คา่ เปา้ หมาย กลยทุ ธ์รเิ ริ่มและโครงการ

ผลสำ� เรจ็ จะบรรลุผลหรอื ไม่นั้น ผลจากการวัดผล
จะวดั ผลจากสิ่งใด ควรอยใู่ นระดบั ใดถอื ว่าสำ� เร็จ

วตั ถุประสงค์เชิงกลยทุ ธ์ ตัวชว้ี ดั คา่ เปา้ หมาย กลยุทธร์ ิเรม่ิ โครงการ/กิจกรรม

เดก็ ปฐมวยั มพี ัฒนาการ ร้อยละของนกั เรยี น ร้อยละ พฒั นาเดก็ โครงการพฒั นาการ
ดา้ นร่างกาย ระดบั กอ่ นประถม ๙๔.๐๐ ปฐมวัยใหม้ ี จัดประสบการณ์
ดา้ นอารมณแ์ ละจติ ใจ ศกึ ษาทม่ี ีพัฒนาการ พัฒนาการสมวัย เดก็ ปฐมวยั
ดา้ นสงั คม ผ่านเกณฑใ์ นระดับ รอบดา้ นดว้ ยการ กิจกรรม
และดา้ นสติปญั ญา ดีข้นึ ไป จัดประสบการณ์ - บา้ นนกั วทิ ยาศาสตร์น้อย
ท่หี ลากหลาก - BBL
โดยความรว่ มมอื - STEM
กบั ผู้ปกครอง
อยา่ งใกล้ชิด

ผลสำ� เรจ็ ท่ีต้องการบรรลุคือสิง่ ใด ทำ� อยา่ งไรใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายความส�ำเรจ็

แผนภาพท่ี ๙ ความสัมพนั ธร์ ะหว่างวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์
ตัวชีว้ ดั ค่าเป้าหมาย กลยุทธ์รเิ รมิ่ และโครงการ

37

การจดั ท�ำ แผนพฒั นาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา

ข้ันที่ ๖ จัดท�ำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งพัฒนา
คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา

ตวั อย่างเค้าโครง โครงการตามแผนพฒั นาการจัดการศกึ ษา
ปก

แผนพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษา พ.ศ.......…… - ………
โรงเรยี น......................................................

บันทึกการใหค้ วามเหน็ ชอบแผนพัฒนาการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน
คำ� นำ� : สาระส�ำคัญที่ควรเน้นคือ การประกาศแสดงเจตนารมณ์การใช้แผน
พฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ในการจัดการศกึ ษาขอสถานศึกษา และควรมี
การลงนามโดยผู้บริหารสถานศึกษา และประธานคณะกรรมการ
สถานศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน
สารบัญ

38

การจัดทำ�แผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา

สว่ นท่ี ๑
บรบิ ทของโรงเรียน
ขอ้ มลู ทวั่ ไปของโรงเรยี น
- ประวัติความเป็นมาของสถานศกึ ษา
- ภารกจิ โครงสร้างการบริหาร
ข้อมูลพ้ืนฐานการจัดการศกึ ษา
- ขอ้ มลู ประชากรวัยเรียนในเขตบรกิ าร
- ข้อมูลนกั เรียน
- ขอ้ มูลครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
- ขอ้ มลู ทีด่ ินและส่งิ ก่อสร้าง
ข้อมูลสภาพชมุ ชน
- การปกครอง
- การประกอบอาชีพ
- ลักษณะความเป็นอยู่ของชมุ ชน
ข้อมลู ผลการด�ำเนนิ งาน
- ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน ผลการทดสอบระดบั ชาติ
- ผลการประเมินคณุ ภาพการศึกษา (SAR)
- ข้อมูลอน่ื ๆ
นโยบายสำ� คญั ทีเ่ กีย่ วขอ้ งขอ้ ง
- ยุทศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี
- นโยบาย จดุ เน้นของหน่วยงานทางการศกึ ษา
- ฯลฯ

39

การจดั ท�ำ แผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา

สว่ นที่ ๒
ผลการวเิ คราะห์ศักยภาพสถานศกึ ษา

ผลการการวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มภายใน

จดุ แข็ง (Strength :S) จดุ ออ่ น (Weakness :W )

S๑ นกั เรยี นมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และมี W๑ นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นต�ำ่ กวา่
คุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ตามหลกั สูตร เกณฑ์ทก่ี �ำหนด

S๒ สถานศึกษามหี ลกั สูตรสถานศกึ ษา W๒ นกั เรียนยงั ขาดทักษะทักษะการเรยี น
ทีเ่ หมาะสมกบั ผ้เู รียนสอดคล้องกบั ท้องถ่นิ ทสี่ �ำคัญในศตวรรษที่ ๒๑ โดยเฉพาะทักษะ
มหี ลกั สูตรเพม่ิ เตมิ ทสี่ อดคล้องกบั การคดิ วเิ คราะห์ การสื่อสาร การคดิ คำ� นวณ
ความตอ้ งการและความถนัด

S๓ W๓ การจดั กระบวนการจัดการเรียนการสอน
ยงั ไมใ่ ชร้ ปู แบบการเรยี นการสอน
ทีห่ ลากหลาย ท�ำให้ผลสมั ฤทธิท์ างวิชาการ
ไมเ่ ป็นไปตามเป้าหมาย

ผลการวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายนอก

โอกาส (opportunity :O) อุปสรรค (Threat :T)

O๑ ผูป้ กครอง ชุมชน องคก์ รปกครองส่วน T๑ อตั ราการหยา่ รา้ งของผ้ปู กครองมีแนวโน้ม
ทอ้ งถิ่นให้การสนบั สนุนและใหค้ วามรว่ มมือ สงู ขึน้ ทำ�ใหเ้ ด็กอาศยั กับบุคคลอ่นื ส่งผล
ในการจดั การศกึ ษาของโรงเรียน ต่อความพรอ้ มในการเรียนรู้ของนักเรยี น

O๒ เทคโนโลยี นวตั กรรมมีความทันสมัย ราคาถูก T๒ นโยบายการศกึ ษามีการเปลี่ยนแปลงบอ่ ย
สามารถจดั หามาใช้เพมิ่ ประสิทธิภาพ ส่งผล ใหโ้ รงเรียนมคี วามยุง่ ยากการบริหาร
การจัดการศกึ ษา จดั การ

O๓ แหล่งเรยี นรู้ในชมุ ชนมคี วามหลากหลาย
ทงั้ ทเ่ี กี่ยวกับอาชพี และภูมปิ ัญญา

40

การจัดท�ำ แผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา

กลยทุ ธ์การพฒั นาตามศักยภาพ
๑. ปลูกฝังนักเรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์
โดยความร่วมมือกบั ผ้ปู กครอง ชมุ ชน องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ินอย่างใกล้ชิด
๒. เร่งยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้นด้วยกิจกรรมพัฒนา
นักเรยี นท่หี ลากหลายโดยความรว่ มมือผปู้ กครอง ชมุ ชน องค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ
และ ICT ที่ทนั สมยั
๓. พัฒนานักเรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ท่ีส�ำคัญในศตวรรษท่ี ๒๑
โดยมุง่ เน้นทักษะการคดิ วเิ คราะห์ การสื่อสาร การคดิ คำ� นวณ
๔. พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาสอดคล้องกับท้องถ่ินและความต้องการ
และความถนัดของผ้เู รยี นโดยมงุ่ เนน้ การใช้แหล่งเรยี นรู้ในชุมชน
๕. ปรับปรุงการจัดกระบวนการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรม
การเรยี นรู้ดว้ ยรปู แบบทีห่ ลากหลาย โดยใช้เทคโนโลยที ่ีทนั สมัยและให้แหลง่ เรยี นรู้
ในชุมชน

41

การจดั ทำ�แผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา


Click to View FlipBook Version