The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่ม 3 การจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ของส

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

เล่ม 3 การจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ของส

เล่ม 3 การจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ของส

มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั ปฐมวัย
แนบทา้ ยประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เร่อื ง ใหใ้ ช้มาตรฐานการศกึ ษา ระดับปฐมวัย
ระดบั การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน และระดบั การศึกษาข้ันพ้นื ฐานศูนยก์ ารศึกษาพิเศษ

ฉบับลงวนั ที่ ๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั ปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๑ มจี ำ� นวน ๓ มาตรฐาน
ได้แก่
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของเดก็
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
มาตรฐานที่ ๓ การจัดการประสบการณ์ท่ีเน้นเด็กเป็นส�ำคัญแต่ละมาตรฐาน
มีรายละเอียดดงั น้ี
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพเด็ก
๑.๑ มีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแล

ความปลอดภัยของตนเองได้
๑.๒ มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทาง

อารมณ์ได้
๑.๓ มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกท่ีดี

ของสังคม
๑.๔ มีพัฒนาการด้านสติปัญญา ส่ือสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน

และแสวงหาความรไู้ ด้
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ
๒.๑ มีหลกั สตู รครอบคลุมพฒั นาการท้ัง ๔ ด้าน สอดคล้องกบั บรบิ ท

ของท้องถนิ่
๒.๒ จัดครูให้เพียงพอกับชั้นเรียน
๒.๓ สง่ เสริมให้ครมู คี วามเชย่ี วชาญดา้ นการจดั ประสบการณ์

92

การจัดทำ�แผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา

๒.๔ จัดสภาพแวดล้อมและส่ือเพ่ือการเรียนรู้ อย่างปลอดภัย และ
เพยี งพอ

๒.๕ ให้บริการส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพื่อ
สนบั สนุนการจัดประสบการณ์

๒.๖ มีระบบบรหิ ารคุณภาพทเ่ี ปดิ โอกาสใหผ้ เู้ กี่ยวขอ้ งทกุ ฝ่ายมีสว่ นรว่ ม
มาตรฐานที่ ๓ การจดั ประสบการณท์ ี่เน้นเด็กเปน็ ส�ำคญั
๓.๑ จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุล

เต็มศกั ยภาพ
๓.๒ สร้างโอกาสใหเ้ ด็กไดร้ ับประสบการณ์ตรง เลน่ และปฏิบัติอยา่ งมี

ความสุข
๓.๓ จัดบรรยากาศที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ใช้ส่ือและเทคโนโลยีท่ีเหมาะ

สมกบั วัย
๓.๔ ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและน�ำผลการประเมิน

พัฒนาการเดก็ ไปปรบั ปรุงการจัดประสบการณ์และพัฒนาการเด็ก

93

การจดั ท�ำ แผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา

มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ
แนบทา้ ยประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เร่ือง ให้ใชม้ าตรฐานการศกึ ษา ระดับปฐมวัย
ระดบั การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน และระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐานศูนย์การศกึ ษาพเิ ศษ

ฉบบั ลงวนั ที่ ๖ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๑

มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ
พ.ศ. ๒๕๖๑ มจี �ำนวน ๓ มาตรฐาน ไดแ้ ก่
มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผู้เรยี น
๑.๑ ผลการพัฒนาผู้เรียน
๑.๒ คณุ ลักษณะที่พงึ ประสงคข์ องผูเ้ รียน
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ
มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี น้นผู้เรยี นเป็นสำ� คัญ
แตล่ ะมาตรฐานมีรายละเอยี ดดังน้ี
มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพผูเ้ รยี น
๑.๑ ผลการพฒั นาผู้เรยี น
๑) มีพัฒนาการตามศักยภาพของแต่ละบุคคล ที่แสดงออกถึง
ความรู้ ความสามารถ ทักษะตามที่ระบุไว้ในแผนการจัด
การศึกษาเฉพาะบุคคล หรือ แผนการให้บริการช่วยเหลือ
เฉพาะครอบครัว
๒) มีความพร้อมสามารถเข้าสู่บริการช่วงเช่ือมต่อหรือการส่งต่อ
เข้าสู่การศึกษาในระดับท่ีสูงข้ึน หรือการอาชีพหรือ
การด�ำเนนิ ชีวติ ในสงั คมได้ตามศักยภาพของแตล่ ะบคุ คล
๑.๒ คุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
๑) มีคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ตามทส่ี ถานศึกษาก�ำหนด
๒) มคี วามภมู ิใจในท้องถิน่ และความเปน็ ไทย ตามศักยภาพของ
ผู้เรียนแตล่ ะบุคคล

94

การจัดท�ำ แผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา

มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
๒.๑ มเี ป้าหมายวิสัยทศั น์และพันธกจิ ทส่ี ถานศกึ ษากำ� หนดชัดเจน
๒.๒ มรี ะบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษา
๒.๓ ด�ำเนินงานพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตาม

หลกั สตู รสถานศกึ ษาและทกุ กลมุ่ เปา้ หมาย
๒.๔ พฒั นาครูและบุคลากรใหม้ ีความเช่ียวชาญทางวิชาชีพ
๒.๕ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่ีเอ้ือต่อการจัดการ

เรียนรอู้ ยา่ งมีคุณภาพ
๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบริหารจัดการ

และการจัดการเรียนรู้
มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี น้นผูเ้ รยี นเป็นสำ� คญั
๓.๑ การจัดเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถ

นำ� ไปประยกุ ต์ในชีวติ ได้
๓.๒ ใช้ส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรียนรูท้ ีเ่ ออื้ ต่อการเรยี นรู้
๓.๓ มกี ารบริหารจดั การชนั้ เรยี นเชงิ บวก
๓.๔ ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และน�ำผลมา

พัฒนาผ้เู รยี น
๓.๕ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพ่ือพัฒนาและ

ปรบั ปรุงการจัดการเรยี นรู้



95

การจัดท�ำ แผนพฒั นาการจดั การศึกษาของสถานศึกษา

ประกาศส�ำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน
เรื่อง แนวปฏบิ ตั ิการด�ำเนนิ งานประกันคุณภาพการศกึ ษา

ระดับการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พ.ศ.๒๕๖๑
โดยที่มีประกาศใช้กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑
ลงวันท่ี ๒๐ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๑ ได้ก�ำหนดระบบ หลกั เกณฑ์ และวธิ กี ารประกัน
คุณภาพการศึกษาอันส่งผลให้การด�ำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษา
ท้ังหนว่ ยงานตน้ สังกัดหรอื หน่วยงานกำ� กบั ดูแล และหน่วยงานภายนอกท่ีสะท้อน
สภาพการด�ำเนินงานที่แท้จริงและเกิดประสิทธิภาพ และก�ำหนดแนวทางในการ
ขับเคลื่อนการประกันคุณภาพการศึกษาสอดคล้องกับหลักการประคุณภาพ
การศึกษา และมีกลไกปฏิบัติท่ีเอ้ือต่อการด�ำเนินงานตามมาตรฐานการศึกษา
แตล่ ะระดบั ให้เกดิ ประสทิ ธิภาพในการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา
ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน จึงได้จัดท�ำแนวปฏิบัติการ
ด�ำเนนิ งานการประกันคณุ ภาพการศึกษาข้ึนเพ่อื ใหห้ นว่ ยงานตน้ สังกดั สำ� นักงาน
บริหารการศึกษาพิเศษ ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาทั้งประถมศึกษาและ
มัธยมศึกษา ใช้เป็นแนวปฏิบัติในการด�ำเนินการเพื่อการพัฒนาส่งเสริม ก�ำกับ
ดูแล และติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพต่อการพัฒนา
คณุ ภาพการศึกษา โดยมีรายละเอียด ดงั นี้

96

การจดั ท�ำ แผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา

ระดบั สถานศึกษา
ให้สถานศึกษาระดบั การศึกษาขนั้ พน้ื ฐานดำ� เนนิ การดงั ต่อไปน้ ี
๑. ให้สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
ภายในสถานศึกษา เพื่อให้เกิดการพัฒนา และเพื่อเป็นกลไกในการควบคุม
ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาให้เกิดการพัฒนาและสร้างความเช่ือม่ัน
ใหก้ บั สังคม ชมุ ชน และผมู้ สี ว่ นเกีย่ วข้อง
๒. จัดใหม้ ีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา ดงั นี ้
๒.๑ ก�ำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตาม
มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัยและหรือระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน
ท่ีกระทรวงประกาศใช้ และให้สถานศึกษาก�ำหนดเป้าหมายความส�ำเร็จ
ตามมาตรฐานของสถานศึกษาตามบริบท ทั้งน้ี สามารถเพ่ิมเติมมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา นอกเหนือจากท่ีกระทรวงศึกษาธิการประกาศใช้ได้
โดยให้สถานศกึ ษาและผ้เู กีย่ วขอ้ ง ดำ� เนินการและรับผดิ ชอบร่วมกนั
๒.๒ จัดท�ำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ที่สอดคล้อง
กับสภาพปัญหาและความต้องการจ�ำเป็นของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ
โดยสะท้อนคุณภาพความส�ำเรจ็ อย่างชดั เจนตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา
๒.๓ ดำ� เนินการตามแผนพัฒนาการจดั การศึกษาของสถานศึกษา
๒.๔ ประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
โดยกำ� หนดผรู้ บั ผิดชอบ และวิธีการท่เี หมาะสม
๒.๕ ติดตามผลการด�ำเนินการเพ่ือพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพ
ตามมาตรฐานของสถานศึกษา และน�ำผลการติดตามไปใช้ประโยชน์ในการ
ปรบั ปรุงพัฒนา
๒.๖ จัดทำ� รายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report
: SAR) ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา น�ำเสนอรายงานผลการประเมนิ
ตนเองต่อคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐานใหค้ วามเหน็ ชอบ และจัดส่งรายงาน
ดงั กล่าวตอ่ สำ� นักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาเปน็ ประจ�ำทกุ ปี

97

การจดั ทำ�แผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา

๒.๗ พัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพโดยพิจารณาจากรายงานผล
การประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) และตามคำ� แนะนำ� ของ
ส�ำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาหรือส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
เพ่ือให้การประกันคุณภาพการศึกษาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและพัฒนา
อย่างตอ่ เนือ่ ง
๓. สถานศึกษาแต่ละแห่งให้ความร่วมมือกับส�ำนักงานรับรองมาตรฐาน
และประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ในการประเมินคุณภาพภายนอกของ
สถานศึกษา เพื่อปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามข้อเสนอแนะของ
สำ� นักงานรับรองมาตรฐานและประเมนิ คุณภาพการศึกษา (สมศ.) และหนว่ ยงาน
ต้นสังกัดหรอื หนว่ ยงานทก่ี ำ� กับดูแล เพอ่ื นำ� ไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน
ของสถานศึกษา
ระดับสำ� นักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา/สำ� นักบรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ
ส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา/ส�ำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ในฐานะ
หนว่ ยงานต้นสังกัดหรอื หนว่ ยงานที่ก�ำกบั ดแู ล ด�ำเนินการดงั ต่อไปนี้
๑. ศึกษา วิเคราะห์ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
ตลอดจนให้ค�ำปรึกษา ช่วยเหลือและแนะน�ำสถานศึกษา เพื่อการพัฒนาระบบ
ประกันคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาแตล่ ะแหง่ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
๒. รวบรวม และสังเคราะห์รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
(Self-Assessment Report : SAR) พร้อมกับประเด็นต่างๆ ที่ต้องการให้มี
การประเมินผลและการติดตาม ตรวจสอบซ่ึงรวบรวมได้จากหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง
หรือจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับสถานศึกษาแห่งนั้น และจัดส่งไปยังส�ำนักงาน
รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) เพ่ือใช้เป็นข้อมูลและ
แนวทางในการประเมินคุณภาพภายนอก

98

การจดั ทำ�แผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา

๓. ตดิ ตามผลการด�ำเนนิ งาน ปรับปรงุ และพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาของ
สถานศึกษาตามข้อเสนอแนะของส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
คุณภาพการศึกษา (สมศ.) เพื่อการน�ำไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศกึ ษา
๔. ให้ความร่วมมือกับส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ
การศกึ ษา (สมศ.) ในการประเมินคณุ ภาพภายนอก
๕. อาจมอบหมายบุคคลที่ไม่ได้เป็นผู้ประเมินเข้าร่วมสังเกตการณ์ และ
ให้ขอ้ มลู เพ่ิมเตมิ ในกระบวนการประเมนิ คุณภาพภายนอก
ระดับส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน
๑. ส่งเสริม สนับสนุน ให้ค�ำปรึกษา ช่วยเหลือ ต่อส�ำนักงานเขตพื้นที่
การศกึ ษา เพอ่ื การพฒั นาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
๒. ศกึ ษา วเิ คราะห์ สรุปผลรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
(Self-Assessment Report : SAR) และรวบรวมประเด็นท่ีต้องการให้มี
การประเมินผลและติดตามตรวจสอบซึ่งรวบรวมได้จากหน่วยงาน ท่ีเกี่ยวข้องหรือ
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับสถานศึกษา ไปยังส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
คุณภาพการศึกษา (สมศ.) เพื่อใช้เป็นข้อมูลและแนวทางในการประเมินคุณภาพ
ภายนอก
๓. ติดตามผลการด�ำเนินงาน ปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ของสถานศึกษาตามข้อเสนอแนะของส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
คุณภาพการศึกษา (สมศ.) เพ่ือน�ำไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศกึ ษา
๔. ประสานความร่วมมือกับส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
คุณภาพการศึกษา (สมศ.) ในการจัดบุคคลร่วมเป็นผู้ประเมินคุณภาพภายนอก
กับสำ� นกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมนิ คุณภาพการศึกษา (สมศ.)


99

การจัดทำ�แผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา

๕. อาจมอบหมายบุคคลท่ไี มไ่ ด้เปน็ ผปู้ ระเมนิ เข้ารว่ มสงั เกตการณ์ และให้
ขอ้ มูลเพ่ิมเตมิ ในกระบวนการประเมินคณุ ภาพภายนอก

ประกาศ ณ วันท่ี ๑๖ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
นายบุญรักษ์ ยอดเพชร

เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน

100

การจัดท�ำ แผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา

คณะทำ�งาน

ที่ปรกึ ษา เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน
ดร.อำ� นาจ วิชยานุวัต ิ รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน
ดร.วฒั นาพร ระงบั ทกุ ข์ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักทดสอบทางการศึกษา
ดร.วิษณุ ทรพั ย์สมบัต ิ สำ� นกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน


ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ ผอู้ �ำนวยการกลุ่มพฒั นาระบบการประกนั คุณภาพ
ดร.มธุรส ประภาจันทร์ การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน
สำ� นกั ทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
นักวิชาการศกึ ษาชำ� นาญการพเิ ศษ
นางสอุ ารยี ์ ชื่นเจรญิ สำ� นกั ทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
นักวชิ าการศกึ ษาชำ� นาญการ
ดร.ฉตั รชยั หวงั มจี งม ี ส�ำนกั ทดสอบทางการศกึ ษา สพฐ.
นกั วชิ าการศึกษาชำ� นาญการ
นายประสิทธิ์ ท�ำกนั หา สำ� นกั ทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
นกั วิชาการศกึ ษาปฏิบตั ิการ
นางสาวอนงนาฏ อนิ กองงาม สำ� นักทดสอบทางการศกึ ษา สพฐ.


101

การจัดท�ำ แผนพฒั นาการจดั การศึกษาของสถานศึกษา

นางสาวยลดา โพธสิ งิ ห ์ พนกั งานจา้ งเหมาบรกิ าร
สำ� นกั ทดสอบทางการศกึ ษา สพฐ.
นายสทา้ น พวกดอนเค็ง พนกั งานจ้างเหมาบริการ
สำ� นักทดสอบทางการศกึ ษา สพฐ.
นางสาวปทิตตา ฉายแสง พนกั งานจา้ งเหมาบรกิ าร
สำ� นักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.

ผู้ทรงคุณวฒุ ิพิจารณาเนื้อหา ขา้ ราชการบำ� นาญ
ดร.ไพรวัลย ์ พิทักษ์สาลี ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน


คณะยกรา่ งและเขยี นเอกสาร ผอู้ �ำนวยการกลุม่ พัฒนาระบบการประกันคุณภาพ
ดร.มธรุ ส ประภาจันทร์ การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
ส�ำนกั ทดสอบทางการศกึ ษา สพฐ.
นักวิชาการศึกษาชำ� นาญการพเิ ศษ
นางสุอารีย์ ชืน่ เจรญิ ส�ำนกั ทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
นักวิชาการศึกษาช�ำนาญการ
ดร.ฉตั รชยั หวงั มจี งมี ส�ำนกั ทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
นกั วิชาการศึกษาปฏิบัตกิ าร
นางสาวอนงนาฏ อนิ กองงาม ส�ำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
ขา้ ราชการบำ� นาญ
นางณรี สสุ ทุ ธิ ข้าราชการบำ� นาญ
ดร.เกรยี งศกั ดิ์ สุวรรณวัจน ์ ขา้ ราชการบำ� นาญ
นายประกอบ ทองดำ�

102

การจัดทำ�แผนพฒั นาการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา

ผศ.ดร. ดวงใจ ชนะสิทธ์ ิ คณบดีคณะครศุ าสตร์
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม
ผศ.ดร.อรพรรณ ตู้จินดา ผูช้ ่วยคณบดคี ณะครศุ าสตร์
มหาวิทยาลัยราชภฏั นครปฐม
ดร.วัชรพงษ์ แพร่หลาย ผู้อำ� นวยการโรงเรยี นทา่ ชา้ งวทิ ยาคาร
จงั หวัดสงิ หบ์ ุรี
ส�ำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษา
เขต ๕ (สงิ หบ์ รุ )ี
ดร.มยุรยี ์ แพร่หลาย ผอู้ ำ� นวยการโรงเรยี นวิเศษไชยชาญ
“ตนั ติวิทยาภมู ิ” จังหวัดอา่ งทอง
ส�ำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษา
เขต ๕ (สงิ หบ์ ุรี)
ดร.ศริ ิรตั น์ สคุ นั ธพฤกษ์ ผ้อู �ำนวยการโรงเรียนวัดเจา้ ปลกุ (เดมิ ประชาสรรค)์
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ส�ำนักงานเขตพ้ืนที่
การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรอี ยุธยา เขต ๑
นางรติมา ปฤษฎางคเดชา ผู้อำ� นวยการโรงเรียนวชริ ปา่ ซาง จังหวัดลำ� พูน
สำ� นกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษา
เขต ๓๕ (ลำ� ปาง)

คณะบรรณาธิการกิจ ผู้อำ� นวยการกลุ่มพัฒนาระบบการประกนั คณุ ภาพ
ดร.มธุรส ประภาจนั ทร์ การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน
ส�ำนกั ทดสอบทางการศกึ ษา สพฐ.
นกั วิชาการศกึ ษาชำ� นาญการพิเศษ
นางสุอารีย์ ช่นื เจริญ สำ� นกั ทดสอบทางการศึกษา สพฐ.

103

การจัดท�ำ แผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา

ดร.ฉตั รชัย หวงั มจี งม ี นกั วชิ าการศึกษาช�ำนาญการ
ส�ำนกั ทดสอบทางการศกึ ษา สพฐ.
นายประสทิ ธ์ิ ท�ำกนั หา นักวิชาการศกึ ษาชำ� นาญการ
ส�ำนักทดสอบทางการศกึ ษา สพฐ.
นางสาวอนงนาฏ อินกองงาม นักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ
สำ� นักทดสอบทางการศกึ ษา สพฐ.
ดร.เกรียงศักด์ิ สุวรรณวัจน์ ข้าราชการบำ� นาญ
นายประกอบ ทองดำ� ข้าราชการบ�ำนาญ
ดร.วัชรพงษ์ แพรห่ ลาย ผูอ้ ำ� นวยการโรงเรียนท่าชา้ งวิทยาคาร
จังหวัดสิงห์บุรี
ส�ำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา
เขต ๕ (สงิ หบ์ ุร)ี
ดร.มยรุ ยี ์ แพร่หลาย ผู้อำ� นวยการโรงเรยี นวเิ ศษไชยชาญ
“ตนั ติวิทยาภมู ”ิ จังหวดั อ่างทอง
สำ� นักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต ๕ (สิงหบ์ รุ )ี

ออกแบบปก นกั ประชาสัมพนั ธ์ชำ� นาญการ
นางสาวศิรินทพิ ย์ ล้�ำเลศิ สำ� นักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษา
อุบลราชธานี เขต ๔


104

การจดั ทำ�แผนพัฒนาการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา

สาำ นกั ทดสอบทางการศกึ ษา
สำ�นกั ง�นคณะกรรมก�รก�รศึกษ�ข้ันพืน้ ฐ�น

กระทรวงศกึ ษ�ธิก�ร

106 http://bet.obec.go.th ๐ ๒๒๘๘ ๕๗๕๗ - ๘ ๐ ๒๖๒๘ ๕๘๖๒

การจัดท�ำ แผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา


Click to View FlipBook Version