The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หากท่านใดต้องการ Download file สำหรับอ่านแบบ Offine สามารถคลิกได้ที่นี่

ออกแบบและผลิตรูปเล่มโดย : Natnaree Chouywattana (Email: [email protected])

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Pinhathai Nunuan, 2021-03-30 06:38:44

ใบงานที่ 7 การออกแบบงานสวัสดิการการศึกษาในโรงเรียน : มุมมองของนักสังคมสงเคราะห์

หากท่านใดต้องการ Download file สำหรับอ่านแบบ Offine สามารถคลิกได้ที่นี่

ออกแบบและผลิตรูปเล่มโดย : Natnaree Chouywattana (Email: [email protected])

rayon Set -- Crayon Set -ใบงานท่ี 7 การออกแบบงานสวสั ดกิ ารการศึกษาayon Set -
ในโรงเรยี น : มมุ มองของนกั สังคมสงเคราะห์
- Crayon Set -
วิชา นโยบายและสวสั ดกิ ารการศึกษาสําหรบั เดก็ พิเศษ(ดค.362)
- Crayon Set -
SCHOOL

อาจารย์ผู้สอน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนูนวล
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ใบงานท่ี 7 การออกแบบงานสวสั ดกิ ารการศึกษา
ในโรงเรยี น : มุมมองของนกั สังคมสงเคราะห์

วชิ า นโยบายและสวัสดิการการศึกษาสําหรบั เดก็ พิเศษ(ดค.362)

อาจารยผ์ สู้ อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทัย หนูนวล
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

การออกแบบงานสวัสดิการการศึกษาในโรงเรียน rayon Set -yon Set -

หนังสือรวบรวมงานเขียนของนักศึกษาในช้ันเรียนวิชานโยบายสวัสดิการการศึกษา (ดค.362) - Crayon Set -
ภาคการศึกษา 2/2563 จํานวน 23 คน ตามรายช่ือท่ีปรากฏในช้ินงานต่าง ๆ เป็นการนําเสนอการ- Crayon Set -
ออกแบบงานสวัสดิการการศึกษาใน 23 โรงเรียนตามความสนใจ พบว่า มีโรงเรียนในหลายระดับช้ัน
ต้ังแต่การศึกษาระดับปฐมวัย ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา ท้ังโรงเรียนขนาดเล็ก กลางและใหญ่
เป็นโรงเรียนท่ีต้ังอยู่ในส่วนต่าง ๆ ของประเทศตามภูมิภาคต่าง ๆ ซ่ึงเป็นกรณีศึกษาท่ีมีความ
หลากหลายทง้ั ในเชงิ บริบทพื้นท่ี ระดบั ชน้ั การศึกษา และขนาดของโรงเรยี น

ผู้เขียนงานทุกคนนําเสนอสถานการณ์นักเรียนในโรงเรียน โดยมีข้อมูลพื้นฐานประกอบการ
อธิบาย การนําเสนอข้อมูลการจัดสวัสดิการการศึกษาท่ีระบุ กิจกรรม บริการท่ีมีการดําเนินการใน
โรงเรียนต่าง ๆ ทําให้ผู้อ่านเข้าใจสถานการณ์นักเรียน และทิศทางการจัดสวัสดิการการศึกษาใน
โรงเรียน ณ ชว่ งเวลาปจั จบุ ัน

การออกแบบงานสวัสดิการการศึกษาในโรงเรียนด้วยฐานข้อมูลต่าง ๆ ท่ีผู้เขียนแต่ละคนได้
เรียบเรียงข้ึน จะนํามาสู่การทําความเข้าใจแนวทางการจัดสวัสดิการการศึกษาในโรงเรียน
ด้วยมุมมอง บทบาทของนักสังคมสงเคราะห์ท่ีคํานึงถึงการพัฒนาเด็กอย่างรอบด้านด้วยกิจกรรม
บริการท่ีจะช่วยหนุนเสริมให้นักเรียนได้รับการส่งเสริม พัฒนาตามศักยภาพความสามารถ ด้วยการ
คํานึงถึงความแตกต่างรายบุคคล โดยคํานึงถึงสิ่งแวดล้อมทางสังคมท่ีจะเป็นทรัพยากรท่ีสําคัญท่ีจะ
หนุนเสริมให้งานการจัดสวัสดิการการศึกษาในโรงเรียนเป็นงานท่ีจะถูกนํามาสร้างสรรค์ให้เกิดข้ึนใน
ระบบโรงเรยี น เพื่อพัฒนาผูเ้ รียนสามารถเติบโตและพัฒนาในระบบการศึกษาท่พี ึงเปน็

ผู้เขียนทุกคนหวังว่า งานการศึกษาคร้ังน้ีของพวกเรา จะเป็นส่วนหน่ึงของชุดความรู้สําหรับ
ผู้สนใจ ผู้เก่ียวข้องในงานการศึกษาจะนําสู่การแลกเปล่ียน เรียนรู้ร่วมกัน เป็นอีกบทสนทนาท่ีจะช่วย
ให้เกิดแรงบันดาลใจในการร่วมสร้างการเปล่ียนแปลงในโรงเรียนด้วยการคํานึงถึงงาน “สวัสดิการ
การศึกษา”

- Crayon Set -ขอขอบคุณทกุ โรงเรียน ทกุ ขอ้ มลู ท่นี าํ สู่การเขียนงานทกุ ช้นิ คร้งั น้ี
ผู้สอนชน้ั เรยี นดค. 362 ภาคการศึกษา 2/2563

สารบัญ

เรอื่ ง 6105490020 หนา้
6105490038
1. ธนวรรณ จันทรย์ งค์ 6105610411 1 - 10
2. วณชิ ญา บุญวาที 6105610536 11 - 20
3. ธีมา จติ รเพียรคา้ 6105610692 21 - 23
4. กุลนันท์ บญุ เฉลียว 6105610700 24 - 28
5. ชญานนท์ ครองราชย์ 6105680117 29 - 35
6. ชไมธร จติ มน่ั 6105680166 36 - 37
7. ธวัชชัย กลู หลกั 6105680182 38 – 41
8. ธนปรชั ญ์ เมอื งพวน 6105680356 42 – 49
9. เบญจวรรณ อุทธิยา 6105680406 50 – 59
10. ฐติ าพร แอนกาํ โภชน์ 6105680604 60 – 64
11. ผกามาศ กันทรประเสริฐ 6105680844 65 - 70
12. นชิ านนั ท์ เปียสัมประทวน 6105680919 71 - 78
13. รม่ ฉตั ร โนรี 6105680927 79 - 84
14. ศศิภา แยม้ บุบผา 6105681420 85 – 92
15. ศศิกานต์ โค้ววิลัยแสง 6105681438 93 - 96
16. รตมิ า แกว้ จอ้ น 6105681628 97 - 100
17. สุธิดา หนวู ัน 6105681636 101 - 106
18. มนต์ธชั จติ กลาง 6105681644 107 - 113
19. จิรภัทร ไกรนรา 6105681719 114 – 116
20. คธั รนิ ทร์ บวั ทอง 6105681750 117 – 125
21. ฟา้ ประดับดาว สุวรรณคร 6208680279 126 – 135
22. ปานตะวัน เฝ้าดา่ น 136 - 140
23. ศรุตา เขยี วผวิ 141 - 146

ใบงานท่ี 7
การออกแบบสวัสดิการการศึกษา: มุมมองและขอ้ เสนอของนกั สังคมสงเคราะห์

ให้นักศึกษาใช้กรอบ/ขอบเขตทางความคิดน้ีประกอบการออกแบบสวัสดิการการศึกษาใน
โรงเรยี นท่เี ลือก

นํ า เ ส น อ ผ่ า น ก า ร เ ขี ย น ง า น 1 ช้ิ น ต า ม ร า ย ล ะ เ อี ย ด ใ น ข้ อ 1 – 3 ท้ั ง น้ี นั ก ศึ ก ษ า
สามารถเพ่ิม/ปรับหัวข้อได้ตามความเหมาะสม ความยาวของงานเขียนช้ินน้ี ไม่เกิน 10 หน้ากระดาษ
A4 ส่งงานไม่เกินวันท่ี 28 มีนาคม 2564 เวลา 10.00 น. และเตรียมการนําเสนอในช้ันเรียนตาม
กําหนด (จะตกลงรูปแบบ/แนวทาง/ลาํ ดบั การนาํ เสนอในวันท่ี 22 มนี าคม 2564/การเรียนคร้งั ตอ่ ไป)

✿ คะแนนรายงาน 20 คะแนน
✿ การนําเสนอในช้นั เรยี นตามกาํ หนด 10 คะแนน
✿ ส่งในรปู แบบไฟล์ Word และ PDF

1. สถานการณเ์ ด็กในโรงเรียนเป็นอยา่ งไร
✿ ชอ่ื โรงเรยี น
✿ ระดับการศึกษา
✿ สังกดั
✿ จาํ นวน/สถติ ขิ ้อมูลเด็กและบุคลากรในโรงเรียน/บทบาทหนา้ ท่ี

2. สวสั ดิการ กจิ กรรม บริการภายในโรงเรียนมีอะไรบ้างและดําเนนิ การโดยใคร
3. สวัสดิการท่เี หมาะสําหรบั เด็กในโรงเรียน ควรเปน็ อยา่ งไร
✿ กจิ กรรม บรกิ ารอะไรบา้ ง
✿ รปู แบบ แนวทาง รูปแบบการจัดควรเปน็ อยา่ งไร
✿ ทาํ ไมจงึ ควรเปน็ เช่นนน้ั
✿ บทบาท หน้าทน่ี กั สังคมสงเคราะห์ในโรงเรียนควรเป็นอยา่ งไร
✿ บทบาทภาคส่วนอ่นื ๆ ควรมหี น้าท่ี บทบาทอย่างไร

ขอบคุณทกุ ใบงานทม่ี ุกคนมุง่ ม่นั และต้งั ใจ ❤
ครู

8 มนี าคม 2564

วชิ า สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศึกษาสําหรบั เดก็ พิเศษ Section 810001 อาจารย์ผู้สอน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนนู วล
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563

ธนวรรณ จนั ทร์ยงค์ 6105490020

ใบงานที่ 7
การออกแบบงานสวสั ดิการการศึกษา โดยนักสังคมสงเคราะหใ์ นโรงเรยี น

โรงเรยี นบ้านปลายแหลม ต.บอ่ ผุด อ.เกาะสมยุ จ.สุราษฎร์ธานี

โรงเรียนประถมศึกษาขนาดกลาง สํากดั สํานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาสุราษฎร์ธานเี ขต 1

ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 1 - ประถมศึกษาชัน้ ปที ี่ 6 จาํ นวนทั้งหมด 280 คน
สถานการณ์ ณ ปจั จบุ ันของโรงเรยี น

ปญั หา • นกั เรยี นไมม่ ีความรบั ผดิ ชอบ ทํางานไม่สะอาด
ความต้องการ • นกั เรยี นมปี ญั หาดา้ นการพูด อ่าน เขยี น
• นักเรยี นมปี ญั หาดา้ นคณติ ศาสตร์
• นกั เรยี นติดโทรศัพท์ สมาธิสั้น

• ทุนการศึกษา

สวสั ดกิ าร • School Lunch
• เรียนฟรี 15 ปี
• นันทนาการ กฬี าสี สวดมนต์ บาํ เพ็ญประโยชน์

ชุมชน/เครือขา่ ย • อนามยั และ รพ.สต. ใหบ้ รกิ ารตรวจสุขภาพ
• ครู D.A.R.E ใหค้ วามร้เู กย่ี วกับสารเสพติด
• ผ้ปู ระกอบการโรงแรม มอบทุนการศึกษา

1

SCHOOL

วิชา สค.362 นโยบายและสวสั ดิการการศึกษาสําหรบั เด็กพิเศษ Section 810001 อาจารยผ์ สู้ อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนูนวล
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563

งานสวสั ดกิ ารดา้ นการศึกษา

ซ่ึงทางนักศึกษาได้ค้นหาข้อมูลเพ่ิมเติมจากนโยบายจากกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2564
เน่ืองจากเป็นการทํางานภายในโรงเรียน นักสังคมสงเคราะห์จําเป็นต้องเข้าใจนโยบายการทํางาน
ของโรงเรียนด้วย และคํานึงถึงแนวทางการปฏิบัติการ ขอบเขตและข้อจํากัดของการทํางานของ
คุณครู เพื่อจะได้เป็นการบูรณาการทํางานให้ได้ประสิทธิภาพและใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ไม่เป็น
การเพ่ิมภาระหน้าท่ีท่ียากลําบากเกินตัวแก่ทางคุณครูและโรงเรียน และเพ่ือการส่ือสารท่ีถูกต้องไม่
ก้าวก่ายงานผิดส่วนอีกด้วย การเข้าใจในการทํางานของคุณครูและโรงเรียนจะช่วยให้นักสังคม
สงเคราะห์เข้าใจถึงบริบทของคุณครูและโรงเรียน และแนะนําบริการทางการศึกษาท่ีเหมาะสมกับ
สถานการณท์ โ่ี รงเรียนกําลังพบเจออยู่ไดด้ แี ละเหมาะสมท่สี ุด

โดยนักศึกษาเห็นควรว่า สวัสดิการด้านการศึกษาน้ันควรเร่ิมจากตัวองค์กรหรือโรงเรียน
ก่อน การปรับรูปแบบนโยบายของโรงเรียนให้สอดคล้องกับปัญหาท่ีเกิดข้ึน เป็นแผนระยะสั้นและ
พัฒนาปรับปรุงเป็นแผนระยะยาวได้ และสิ่งท่ีควรให้ความใส่ใจรายละเอียดเป็นพิเศษอีกหน่ึงด้านท่ี
คุณครูและนักสังคมสงเคราะห์สามารถช่วยพัฒนา ส่งเสริมและช่วยให้คําแนะนําท่ีถูกต้องในการ
ดูแลเด็กได้น้ันคือ ผู้ปกครอง และเม่ือเรามีความพร้อมด้านปัจจัยท่ีจะช่วยส่งเสริมให้เด็กได้มี
พัฒนาการตามช่วงวัยอย่างถูกต้องแล้ว ส่ิงท่ีควรมีเตรียมพร้อมไว้น้ันคือ การเฝ้าระวังอยู่เสมอ
การไม่ละเลยหรือลดละจากความรู้และทักษะท่ีได้สร้างข้ึน ส่งผลให้คุณครู ผู้ปกครอง สามารถ
เฝา้ ดูลูกของตนเองหรอื นักเรียนของตนเองใหส้ ามารถมพี ัฒนาการท่ถื กู ตอ้ งและเหมาะสมได้

ชุมชน อีกหน่ึงบทบาทท่ีมีความสําคัญในการเฝ้าระวังเด็กนักเรียนหรือลูกหลานในชุมชน
ของตนเอง การสร้างเสริมทักษะในการเฝ้าระวังภัยให้แก่คนในชุมชน ไม่ว่าจะเป็นภัยจากสารเสพ
ติด การพนัน เกมส์ ภัยจากโซเชียลมีเดียท่ีเด็กไม่สามารถรู้เท่าทันได้ รวมถึงปัญหาด้านสุขภาพท่ี
อาจมีสาเหตุจากส่ิงแวดล้อมภายในชุมชน ปัญหาความยากจน การว่างงานของครอบครัวนําไปสู่
ครอบครัวท่ีไม่แข็งแรงอาจจะเกิดความรุนแรงในครอบครัวข้ึนได้ การส่งเสริมความรู้ให้แก่ชุมชนก็
จะช่วยให้โรงเรียนสามารถมีหูตาในการช่วยสอดส่องดูแลเด็กนักเรียนและการร่วมด้วยช่วยกัน
ของผู้ปกครองท่ีสามารถแลกเปล่ียนเรียนรู้ความคิดเห็นและพัฒนาแนวทางในการดูแลเด็กได้ดี
ย่งิ ข้นึ

ภาครัฐหรือหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง การสร้างภาคีเครือข่ายในด้านต่าง ๆ เช่น สาธารณะสุข
ความปลอดภัย ทุนการศึกษา ท่ีจะช่วยให้ดูแลเด็กนักเรียนได้ครอบคลุมปัญหาในทุก ๆ ด้าน
และจะชว่ ยสนบั สนุนการทํางานของโรงเรียนให้มีประสิทธภิ าพมากย่งิ ขน้ึ

2

SCHOOL

วิชา สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศึกษาสําหรบั เด็กพิเศษ Section 810001 อาจารย์ผสู้ อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนูนวล
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563

ตารางกจิ กรรมส่งเสรมิ และพัฒนาทกั ษะคณุ ครูและโรงเรียน

กิจกรรม รายละเอยี ดกิจกรรม ผรู้ บั ผิดชอบ ผเู้ ข้ารว่ ม
สืบเสาะปัญหาของตัวน้อย ร่ ว ม พู ด คุ ย แ ล ก เ ป ล่ี ย น นกั สังคม คณุ ครู
ความคิดเห็น ให้คุณครูได้ สงเคราะห์
รูท้ ันตัวนอ้ ยของฉัน ม อ ง เ ห็ น แ ล ะ ต ร ะ ห นั ก ถึ ง คณุ ครู
ให้ครูชว่ ยเองนะ ปั ญ ห า ข อ ง เ ด็ ก ไ ท ย ท่ี นักสังคม
เกิดข้ึนภายในโรงเรียนว่ามี สงเคราะห์ คุณครู
ปั ญ ห า อ ะ ไ ร ป ร ะ เ ภ ท ใ ด บคุ ลากรดา้ น
มีความรุนแรงของปัญหา นกั สังคม การศึกษา
อยู่ในระดับใด ร่วมไปถึง สงเคราะห์
ท รั พ ย า ก ร ใ น ก า ร แ ก้ ไ ข แพทย์
ปัญหาน้ัน ๆ อีกด้วย อีก นกั จติ วิทยา
ท้ังยังเป็นการเปิดกว้างใน
ปัญหาความแตกต่างของ
เด็กนักเรียนแต่ละคนท่ีมี
เ ฉ พ า ะ ต น ใ ห้ คุ ณ ค รู ไ ด้
ทราบและไม่ด่วนตัดสินใจ
จ า ก ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ข อ ง
ตนเอง
อ บ ร ม ใ ห้ ค ว า ม รู้ ใ น ก า ร
สังเกตถึงความผิดปกติใน
พั ฒนาการเด็กท่ีมีความ
แปลกแยกไปจากเดิมหรือ
จากเด็กคนอ่ืน ๆ ผ่านการ
อ บ ร ม ท า ง ท ฤ ษ ฎี แ ล ะ
ท ด ส อ บ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ผ่ า น
การทดลองลงมอื ปฏบิ ัติ
อ บ ร ม ใ ห้ ค ว า ม รู้ ด้ า น
ทรัพยากรท่ีจะสามารถให้
คําแนะนํา หรือคําปรึกษาท่ี
ถูกต้องในการพู ดคุยกับ
นักเรียนท่ีมีปัญหา รวมไป
ถึงวิธีการส่งต่อนักเรียนท่ี
มี ปั ญ ห า เ ข้ า สู่ ร ะ บ บ ก า ร
รกั ษาและฟ้ นื ฟู

3

SCHOOL

วิชา สค.362 นโยบายและสวัสดิการการศึกษาสําหรับเดก็ พิเศษ Section 810001 อาจารยผ์ สู้ อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทัย หนูนวล
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563

กจิ กรรม รายละเอียดกิจกรรม ผู้รับผิดชอบ ผเู้ ข้ารว่ ม
ปิดผนึกปญั หาเปดิ ความรู้ การสร้างส่ือการเรียนการ นักสังคม คุณครู
สู่ความย่งั ยืน สอนโดยใช้ความทันสมัย สงเคราะห์
ของเทคโนโลยีท่ีมี เพื่ อ ผ้เู ชย่ี วชาญ
ดึ ง ดู ด ค ว า ม ส น ใ จ ใ ห้ แ ก่ เฉพาะดา้ น
นักเรียน และเพ่ิ มความ สําหรับเดก็ ทม่ี ี
สนุกสนานในการเรียนมาก ความพิเศษ
ย่ิ ง ข้ึ น ร ว ม ถึ ง ก า ร ใ ห้
ค ว า ม รู้ ใ น ก า ร ใ ช้ แ ล ะ
ดั ด แ ป ล ง ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้
เคร่ืองมือในการเก็บข้อมูล
สังเกตพฤติกรรมของเด็ก

ร่ ว ม กั น ส ร้ า ง เ ค ร่ื อ ง มื อ บคุ ลากรฝ่ายบริหารของโรงเรยี น
ถอดบทเรียนจากปัญหาท่ี คณุ ครู
เ กิ ด ข้ึ น เ พ่ื อ ส ร้ า ง นักสังคมสงเคราะห์
เคร่ืองมือเป็นตัวช่วยให้แก่ นักจติ วิทยา
คุณครูในแต่ละกลุ่มสาระ
การเรียนรู้เพื่ อปรับใช้ใน
กิ จ ก ร ร ม ข อ ง แ ต่ ล ะ วิ ช า
เพ่ือเฝ้าระวัง พู ดคุย และ
ช่วยฟ้ ืนฟู ปัญหาท่ีอาจจะ
เกิดข้ึนได้อีกในอนาคตกับ
เดก็ นกั เรยี นรุ่นต่อ ๆ ไป

โดยการสร้างเคร่ืองมือหรือการให้ความรู้เสริมทักษะแก่คุณครูน้ันควรเป็นหัวข้อเร่ือง
พ้ืนฐานในพัฒนาการตามช่วงวัยของเด็ก การดูแลเด็ก ซ่ึงสามารถเพ่ิมหัวข้อเร่ืองเฉพาะเจาะจง
ลงไปเพิ่มเติมได้ตามสถานการณ์ท่ีโรงเรียนกําลังพบเจออยู่ เช่น การให้ความรู้เพ่ิมเติมแก่คุณครู
ในเร่ือง โรคบกพร่องทางการเรียนรู้ การประเมินและเก็บข้อมูลเบ้ืองต้นว่า ควรใช้คําถามเช่นไร
สังเกตอย่างไร และควรให้ความใส่ใจในรายละเอียดใดเป็นพิเศษต่อเด็กนักเรียน และสามารถ
กระจายความรู้สู่ชุมชนในการจัดกิจกรรมร่วมกันได้เพื่อเช่ือมสัมพันธ์กันในชุมชนและเฝ้าระวังภัย
เพื่อความเขม้ แข็งและม่นั คง

4

SCHOOL

วชิ า สค.362 นโยบายและสวสั ดิการการศึกษาสําหรับเดก็ พิเศษ Section 810001 อาจารยผ์ สู้ อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนนู วล
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563

ตารางกจิ กรรมส่งเสริมและพัฒนาทกั ษะผูป้ กครอง

กิจกรรม รายละเอียดกจิ กรรม ผู้รบั ผดิ ชอบ ผู้เข้าร่วม
ผู้ปกครอง
เหลา่ นางฟา้ และ ทักทาย พูดคุย คุณครู
เทพบตุ รของลกู ตวั แลกเปลย่ี น นักสังคมสงเคราะห์ ผู้ปกครอง
นอ้ ย ประสบการณ์การเลย้ี ง
ดลู กู ของตนเอง ผูป้ กครอง
ปญั หาส่วนตวั ของเดก็ เดก็
ปญั หาท่เี คยเกดิ ข้นึ ใน
ครอบครวั รวมถงึ
ความคาดหวังต่อการ
ดูแลเดก็ ของโรงเรยี น

ลูกตวั น้อยสบายดมี ้ยั การอบรมให้ความรู้ ใน คุณครู
เอ่ย การสังเกต อาการ นกั สังคมสงเคราะห์
พฤติกรรมของลูก นักจิตวิทยา
และแนวทางการดแู ล แพทย์
ลูกไม่วา่ จะเป็นการ
สื่อสาร การสร้างวินยั
การใหร้ างวัลหรือทาํ
โทษทเ่ี หมาะสม

ใส่ใจนิดเสรมิ รอยยม้ิ สร้างกิจกรรมร่วมกนั คุณครู
หนอ่ ย กับเด็ก เสรมิ ความรู้ นักสังคมสงเคราะห์
ให้กบั ผูป้ กครองผ่าน นักจติ วทิ ยา
กิจกรรมทล่ี งมอื ทาํ
รว่ มกบั เดก็ ยงั เป็น
การเชอ่ื มสมาน
ความสัมพันธใ์ หก้ ับ
ครอบครัวแล้วยังเปน็
การทท่ี ําให้คุณครู นกั
สังคมสงเคราะห์
สามารถเก็บข้อมลู ดว้ ย
การสังเกตผ่านการทํา
กิจกรรมรว่ มกนั ใน
ครอบครวั

5

SCHOOL

วิชา สค.362 นโยบายและสวัสดิการการศึกษาสําหรับเดก็ พิเศษ Section 810001 อาจารยผ์ ู้สอน ผศ.ดร.ป่ ินหทัย หนูนวล
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563

กจิ กรรม รายละเอยี ดกิจกรรม ผ้รู บั ผดิ ชอบ ผู้เข้ารว่ ม
ผู้ปกครอง
เติมใจใส่ความรัก การอบรมใหค้ วามรใู้ น แพทย์ คุณครู
การดูแลเดก็ แก่ นักจติ วิทยา
*ในกรณที เ่ี ดก็ พบเจอ ผู้ปกครองให้เขา้ ใจถึง นักสังคมสงเคราะห์
ปัญหาและต้องได้รับ สาเหตุ อาการของโรค
การดูแลเป็นพิเศษ และวธิ ีการรกั ษา รวม
ไปถึงให้ความรดู้ า้ นการ
สังเกตอาการของโรค
ทอ่ี าจพัฒนาดขี น้ึ หรอื
แย่ลง รวมไปถึงการ
เฝ้าระวงั ไมใ่ ห้เกิด
ปญั หาอน่ื ๆตามมา

ตารางกจิ กรรมพัฒนาการเสริมทกั ษะเดก็

กิจกรรม รายละเอียดกจิ กรรม ผรู้ ับผิดชอบ

สวสั ดเี พ่ือนใหม่ การทักทายสวัสดีเพ่ื อนใหม่ คุณครู
ต้ อ น รั บ เ ปิ ด ภ า ค เ รี ย น ใ น ทุ ก
ภาคการศึ กษา เพื่ อละลาย
พฤติกรรมของเด็กนักเรียน
และทักทายอาจารย์เป็นคร้ัง
แ ร ก เ พื่ อ ก า ร เ ช่ื อ ม
ความสัมพันธท์ ด่ี ีตอ่ กนั

น่ไี งเพื่อนของฉนั กิจกรรมเสริมความรู้ผ่านการ คณุ ครู

ทํากิจกรรมร่วมกันของเด็ก นกั จิตวิทยา
ใ น เ ร่ื อ ง ข อ ง ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง นักสังคมสงเคราะห์
ของเพ่ื อนร่วมห้องร่วมช้ัน

ละลายความแตกต่างให้เท่า

เ ที ย ม กั น แ ล ะ เ ส ริ ม ใ ห้ เ ด็ ก

ม อ ง เ ห็ น ถึ ง ก า ร

เอ้อื เฟ้ อื เผอ่ื แผซ่ ง่ึ กันและกนั

6

SCHOOL

วิชา สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศึกษาสําหรบั เดก็ พิเศษ Section 810001 อาจารยผ์ ู้สอน ผศ.ดร.ป่ ินหทัย หนูนวล
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2563

สวสั ดิการเสริมสร้าง เรยี นรู้ และเฝา้ ระวงั

สวสั ดิการ รายละเอยี ด ผูร้ ับผิดชอบ

การตรวจสุขภาพ การตรวจสุขภาพทางกายและ แพทย์ / นักจติ วิทยา / รพ.
จิตใจของเด็กอย่างละเอียด สต.
และมีการเก็บข้อมูลอย่างเป็น คณุ ครู
ระเบียบและสามารถนํามาใช้ได้
ง่าย และติดตามประวัติหรือ
ส่งตอ่ ไดท้ ันที

การตรวจพัฒนาการ การประเมิน ทดสอบ ความรู้ แพทย์ / นักจติ วทิ ยา /นัก
ความสามารถของเด็กในการ สังคมสงเคราะห์ / คณุ ครู
คิ ด วิ เ ค ร า ะ ห์ ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้
ความรู้ และการใช้ความเฉลยี ว
ฉลาดในชีวิตประจาํ วนั

การตรวจโภชนการ การตรวจสอบตารางอาหาร นักโภชนาการ / คุณครู / แม่
ในม้ือเท่ียง อาหารว่างเช้าเย็น ครวั
ระหว่างวัน หรืออาหารในม้ือ
พิ เ ศ ษ ว่ า มี ค ร บ เ พี ย ง พ อ
สํ าหรับเด็กในแต่ละช่วงวัย
หรือไม่ รวมไปถึงการอบรมให้
ความรู้แก่คุณครู แม่ครัว ท่ีจะ
สามารถควบคุมดูแลอาหารให้
แตล่ ะม้อื ของเด็กได้

กิจกรรมและสวัสดิการท่ีนักศึกษาได้จัดข้ึนน้ันจะส่งเสริมไปทางด้านการเฝ้าระวังและการ
รับมือ หากเรามีความพร้อมในด้านความรู้ ทักษะในการทํางาน เม่ือเด็กนักเรียนเกิดปัญหาข้ึน เรา
จะสามารถเข้าแก้ปัญหาได้ทันถ่วงทีและสามารถทํางานอย่างเป็นสักส่วนข้ันตอนได้ อีกท้ังจะช่วย
ให้เราได้ใช้ทรัพยากรท่ีมีในการช่วยเหลือแก้ไขปัญหาท่ีเกิดข้ึนได้อย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ
สามารถนําไปประยุกต์ได้ในทุกสถานการณ์ การจะปรับเปล่ียนและสร้างความพร้อมในการรับมือ
กับปัญหาของเด็กน้ันต้องทําความเข้าใจในปัญหาท่ีอาจจะเกิดข้ึนได้ภายในเด็ก เม่ือเราเข้าใจแล้ว
จะสามารถดําเนินการชว่ ยเหลือเด็กและครอบครัวไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

7

SCHOOL

วิชา สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศึกษาสําหรับเดก็ พิเศษ Section 810001 อาจารย์ผู้สอน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนูนวล
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563

ตวั อยา่ งการจัดกจิ กรรมในโรงเรียนบา้ นปลายแหลม

เม่อื ทางโรงเรียนไดร้ บั ร้ถู ึงปญั หาในภาพรวมของเด็กแล้ว ควรเรียกประชมุ คุณครแู ละดําเนินการ
ดงั น้ี

กิจกรรม รายละเอยี ด ผูร้ ับผดิ ชอบ ผู้เขา้ ร่วม

Say hello my เป็นกิจกรรมการประเมินและ คุณครู เด็กนักเรยี น
friend
เ ก็ บ ข้ อ มู ล เ ด็ ก นั ก เ รี ย น ใ น นกั สังคม
เบ้ืองต้นถึงพั ฒนาการตาม สงเคราะห์
ช่วงวัย เป็นการทํากิจกรรม

ผ่านด่าน (ฟงั พู ด อ่าน เขียน)

และมีการทํากิจกรรมให้รางวัล

ท่ีไม่มีความจริงจังใด ๆ เพ่ือให้

เด็ก ๆ รู้สึกสนุกสนานในการ

ร่วมกจิ กรรม

ผปู้ กครองมือใหม่เติม เม่ือพบเด็กท่ีมีปัญหาทางการ นักสังคม ผ้ปู กครอง
พลังแก่ลูกนอ้ ย เ รี ย น รู้ อ ย่ า ง ชั ด เ จ น แ ล้ ว สงเคราะห์
เ ร า ค ว ร ใ ห้ คํ า แ น ะ นํ า แ ก่ ท า ง
ผู้ปกครอง นอกเหนือจากการ คณุ ครู
รักษาแล้ว เราต้องคอยติดตาม
การดูแลเด็กจากครอบครัวอีก
ด้วย เพื่อให้ครอบครัวเป็นอีก
ตัวช่วยในการรักษาและฟ้ ืนฟู
อาการของเด็กให้ดขี น้ึ

รวมไปถึงการแนะนํา การเรียน
ก า ร ส อ น ท่ี อ า จ จ ะ มี รู ป แ บ บ
เปล่ียนไปให้ผู้ปกครองได้ร่วม
ทํ า ก า ร บ้ า น แ ล ะ ใ ช้ เ ว ล า กั บ
นักเรียนมากยง่ิ ข้นึ

8

SCHOOL

วชิ า สค.362 นโยบายและสวสั ดิการการศึกษาสําหรบั เดก็ พิเศษ Section 810001 อาจารย์ผู้สอน ผศ.ดร.ป่ นิ หทัย หนนู วล
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563

กิจกรรม รายละเอยี ด ผู้รับผิดชอบ ผเู้ ข้าร่วม
เด็กนักเรยี น
ไม่เป็นไร เราเพ่ือนกนั กิจกรรมสร้างความเข้าใจแก่ คณุ ครู
เ ด็ ก นั ก เ รี ย น ใ น โ ร ค ค ว า ม
บ ก พ ร่ อ ง ท า ง ก า ร เ รี ย น รู้ ใ ห้ นักจิตวิทยา
นักเรียนได้เข้าใจและปฏิบัติตน
กั บ เ พื่ อ ท่ี เ ป็ น โ ร ค น้ี อ ย่ า ง นกั สังคม
เหมาะสมและถูกต้อง เพ่ือไม่ให้ สงเคราะห์
เกิดความแตกต่างหรือการตี
ตราข้นึ ในหอ้ งเรยี น

ท้ังน้ีในการทํากิจกรรมควรมีการติดตามผลและประเมินผลอย่างสม่ําเสมอ และถอด
บทเรียนจากส่ิงท่ีเกิดข้ึนอย่างสม่ําเสมออีกด้วย เพ่ือการแก้ไขปัญหาท่ีถูกต้องและรวดเร็วหาก
เกิดความผิดพลาดใดข้ึนมาในข้ันตอนการดูแลหรือรักษาเด็ก และยังเป็นการฝึกฝนและ
ประสบการณท์ ด่ี ีให้แก่คุณครใู นการทาํ งานรว่ มกบั วชิ าชีพอน่ื ๆ อกี ดว้ ย

บทบาทนกั สังคมสงเคราะห์
1. รับรายละเอียดและประเมนิ ระดับความรนุ แรงของปัญหาท่เี กิดข้นึ จากโรงเรียน

2. ประเมินเด็กถึงลักษณะ ระยะเวลา และความรุนแรงของอาการ และสอบถามข้อมูลจาก
ผู้ปกครองเบ้อื งตน้

3. ส่งตัวเด็กเข้ารับการวินิจฉัยกับแพทย์เฉพาะทาง + การเย่ียมบ้านเพื่อสํารวจส่ิงแวดล้อมและ
ปจั จยั เออ้ื ตอ่ พัฒนาการเดก็

4. ให้ความรู้แก่คุณครูในการสังเกต ดูแล เก็บข้อมูลจากเด็กท่ีมีลักษณะผิดปกติไปจากเดิม
รวมถึงประสานหน่วยงานท่ีมีความเฉพาะเช่ียวชาญเข้าให้ความรู้แก้คุณครูและแนะแนวการทําสื่อ
การเรียนการสอนท่ีมีลักษณะพิเศษสําหรับเด็กท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ และจัดกิจกรรม
เก่ยี วกบั ความรดู้ า้ นโรคบกพรอ่ งทางการเรียนรแู้ กน่ กั เรียน

5. จัดกลุ่มพูดคุยแลกเปล่ียนถึงสาเหตุ ลักษณะอาการ วิธีการดูแล ข้อควรระวังในกลุ่มผู้ปกครอง
ท่ีต้องดูแลเด็กท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ และประชาสัมพันธ์ความรู้ให้แก่ชุมชนให้ได้ทราบ
เพื่อเป็นการชว่ ยสอดส่องดแู ลเด็กในชมุ ชน

บทบาทท่ีสําคัญท่ีสุดของนักสังคมสงเคราะห์คือ การดึงและประสานงานทรัพยากรท่ีมีเข้า
มาให้ความช่วยเหลือแนะนําแก่คุณครู โรงเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน ในการดูแลและเฝ้าระวังภัยแก่
เด็กหรือลูกหลานในชุมชนของตน และพัฒนาเคร่ืองมือทางวิชาชีพให้คุณครูได้นําไปใช้ได้อย่าง
เป็นประโยชน์มากข้ึน ทําให้คุณครูมีเคร่ืองมือในมือของตนและมีความรู้ความสามารถท่ีจะใช้
เคร่ืองมือน้ันให้เกิดประโยชน์ในการดูแลเด็กนักเรียนได้โดยไม่ต้องพึ่งนักสังคมสงเคราะห์ หากไม่มี

9

SCHOOL

วชิ า สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศึกษาสําหรบั เดก็ พิเศษ Section 810001 อาจารยผ์ ู้สอน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนนู วล
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563

อุปสรรคท่ียากเกินกว่าความสามารถและขอบเขตหน้าท่ีของนักสังคมสงเคราะห์ นักสังคม
สงเคราะห์จะเป็นตัวช่วยในการสนับสนุน คิดค้น ให้คําแนะนําแก่คุณครูในการดูแลเด็กให้เด็ก
สามารถมีพัฒนาการตามวัยและเติบโตเป็นผู้ใหญ่ท่ีมีคุณภาพและมีความพร้อมท้ังทางร่างกาย
อารมณ์จติ ใจได้ในอนาคต

10

SCHOOL

วิชา สค.362 นโยบายและสวัสดิการการศึกษาสําหรบั เด็กพิเศษ Section 810001 อาจารย์ผสู้ อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนนู วล
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563

วณิชญา บุญวาที 6105490038
ขอ้ มลู เบอ้ื งต้นเก่ยี วกับโรงเรียน

โรงเรียนตราษตระการคุณ จังหวัดตราด เป็นโรงเรียนสหศึกษาขนาดใหญ่ ในสังกัด
สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเขต 17 เปิดสอนต้ังแต่ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1
ถึงระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 โดยจากข้อมูลสถิติจํานวนนักเรียนภายในโรงเรียนของปี 2563
มีจํานวนนักเรียนท้ังส้ิน 1,958 คน โดยแบ่งออกเป็นนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้นจํานวน
1,052 คน และนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนปลายจํานวน 906 คน และมีจํานวนครูใน
โรงเรียน 115 คน ซ่ึงอัตราส่วนระหว่างครูกับนักเรียนจะคิดเป็น 1 : 17 หรือกล่าวได้ว่าครู 1 คน
จะต้องรับหน้าท่ีในการดูแลเด็กประมาณ 17 คน โดยโรงเรียนได้มีการกําหนดจํานวนครูประจําช้ัน
เพื่อดูแลเด็กช้ันละประมาณ 2 คน สําหรับนักเรียน 1 ห้องเรียน โดยหลักสูตรการเรียนท่ีเปิดสอน
ภายในโรงเรียน มดี งั น้ี

§ หลกั สูตรระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ ประกอบด้วย
- หอ้ งเรียนพิเศษทางด้านวิทยาศาสตร์
- หอ้ งเรียนพิเศษ English Program
- ห้องเรียนท่วั ไป

§ หลักสูตรระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ประกอบด้วย
- หอ้ งเรียนพิเศษวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยแี ละสิ่งแวดล้อม
- แผนการเรียนวทิ ยาศาสตร์ – คณติ ศาสตร์
- แผนการเรยี นวทิ ยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ – คอมพิวเตอร์
- แผนการเรยี นวทิ ยาศาสตร์ – คณติ ศาสตร์ – ภาษาองั กฤษ
- แผนการเรียนภาษาอังกฤษ – ภาษาจีน

กิจกรรมและสวัสดิการทางการศึกษาท่มี สี ําหรบั เด็กภายในโรงเรียน
1. กจิ กรรมโฮมรูม (Homeroom)

เป็นกิจกรรมท่ีถูกจัดให้เป็นหน่ึงในช่ัวโมงของระยะเวลาเรียน โดยกิจกรรมจะถูกจัดข้ึน
ทุก ๆ วันจันทร์ ในช่วงเวลาของคาบเรียนสุดท้าย โดยใน 1 ห้องเรียนจะมีนักเรียนประมาณ
30 – 40 คน และมีครูท่ีปรึกษาประจําช้ันประมาณ 2 คนในการดูแลเด็ก ซ่ึงการแบ่งหน้าท่ีของ
การดูแลจะเป็นการตกลงของครูประจําช้ันว่าจะแบ่งการดูแลเด็กในลักษณะรูปแบบใด แต่ส่วน
ใหญ่ครูประจําช้ันจะแบ่งจํานวนนักเรียนในการดูแลคนละคร่ึง เพ่ือให้การดูแลเด็กมีความท่ัวถึงให้
ได้มากทส่ี ุด โดยวตั ถปุ ระสงค์ของการทาํ กจิ กรรมโฮมรมู จะมสี าระสําคญั ดังน้ี

- เพื่อให้ครูท่ีปรึกษาประจําช้ันได้มีโอกาสพบและพู ดคุยกับนักเรียนท่ีอยู่ภายใต้การ
ดูแลอย่างใกล้ชิดมากข้ึน และได้พู ดคุยเก่ียวกับประเด็นต่าง ๆ ท่ีนอกเหนือจาการ
เรียนในวิชาเรยี นปกติ

11

SCHOOL

วชิ า สค.362 นโยบายและสวสั ดิการการศึกษาสําหรับเดก็ พิเศษ Section 810001 อาจารยผ์ ูส้ อน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนูนวล
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2563

- เพ่ือสร้างโอกาสให้เกิดความเข้าใจ และเกิดความสัมพันธ์อันดีระหว่างนักเรียนและ
ครูท่ปี รึกษาประจําช้นั เรยี น

ซ่ึงประเด็นในการพู ดคุยของกิจกรรมโฮมรูมจะมีความแตกต่างกันไปในแต่ละช้ันเรียน
โดยการดําเนินการจะเป็นครูท่ีปรึกษาประจําช้ันเรียนท่ีจะเตรียมประเด็นต่าง ๆ ในการพู ดคุยใน
สัปดาห์น้ัน ๆ แต่ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นการแจ้งข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ของทางโรงเรียนให้แก่
นักเรียนภายในห้องทราบ และเป็นการพู ดคุยเก่ียวกับพฤติกรรมของนักเรียนท่ีได้รับแจ้งจากครู
ประจาํ วชิ าทา่ นอ่นื ๆ ครูท่ปี รกึ ษาประจําช้นั ก็จะรับทราบและเป็นผู้พูดคยุ ตักเตือน

2. การเย่ยี มบา้ นนกั เรยี น

เป็นบริการท่ีดําเนินการโดยครูท่ีปรึกษาประจําช้ันเรียนท่ีจะเป็นผู้ลงพ้ื นท่ีเย่ียมบ้าน
ซ่ึงมีวัตถุประสงค์หลักๆ คือ เพ่ือเป็นการเก็บข้อมูลผ่านการสํารวจสภาพความเป็นอยู่ของทาง
บ้าน สํารวจความปลอดภัยของเด็กในสภาพท่ีแท้จริง และเพื่อให้ครูประจําช้ันได้มีโอกาสพูดคุยกับ
ผู้ปกครองเก่ียวกับเร่ืองต่าง ๆ เก่ียวกับพฤติกรรมของเด็กในช่วงเวลาท่ีอยู่ท่ีบ้าน โดยเบ้ืองต้น
ทางโรงเรียนจะมีเอกสารสําหรับให้นักเรียนภายในช้ันเรียนเป็นผู้กรอกข้อมูลเก่ียวกับประวัติของ
ตนเอง ประวัตขิ องผปู้ กครอง ลักษณะของการอย่อู าศัย การวาดแผนท่บี ้านและจดุ สําคญั ท่จี ะเป็น
จดุ สังเกตใหส้ ําหรบั ครทู ่จี ะทาํ การลงเย่ยี มบา้ น

แต่การเย่ียมบ้านนักเรียนจะเป็นในลักษณะของการสุ่มลงพ้ืนท่ีเพื่อเย่ียมบ้าน โดยในแต่ละ
ช้ันเรียนจะมีรูปแบบของการเลือกบ้านนักเรียนท่ีจะลงเย่ียมในลักษณะท่ีแตกต่างกันไป โดยจะเป็น
การพิจารณาจากครูประจําช้ันว่านักเรียนคนใดควรจะมีโอกาสได้รับการลงเย่ียมบ้าน และครูจะเป็น
ผู้ประสานงานกับนักเรียนเบ้ืองต้นว่าจะทําการลงพื้ นท่ีเย่ียมบ้าน เช่น นักเรียนท่ีขอรับ
ทุนการศึกษา นักเรียนท่ีอยู่ในพื้นท่ีใกล้เคียงท่ีเป็นละแวกเดียวกัน เป็นต้น ซ่ึงอาจทําให้การเย่ียม
บ้านไม่สามารถทําได้ครบทุกคน เพราะเน่ืองด้วยจํานวนนักเรียนและการมีระยะเวลาท่ีจํากัดของ
การเรียน จึงอาจทําให้ครูไม่ได้เห็นลักษณะสภาพความเป็นอยู่ท่ีแท้จริงของเด็กภายในห้องเรียนได้
ครบทกุ คน

3. บรกิ ารแนะแนวเก่ยี วกับการศึกษา

เป็นบริการแนะแนวทางการศึกษา ซ่ึงการให้คําปรึกษาจะดําเนินการโดยครูฝ่ายแนะแนว
ซ่ึงทางโรงเรียนมีห้องสําหรับการให้บริการการแนะแนวโดยเฉพาะ เม่ือนักเรียนมีข้อสงสัยเก่ียวกับ
แผนการเรียน หรือการศึกษาต่อก็สามารถเข้าไปใช้บริการขอคําปรึกษาจากครูฝ่ายแนะแนวได้ และ
นอกจากน้ียังมีช่องทางใน Facebook Page “ห้องแนะแนว ตราษตระการคุณ” ในการขอรับการ
ปรึกษา และติดตามข้อมูลข่าวสารได้อีกหน่ึงช่องทาง ซ่ึงบริการแนะแนวทางการศึกษา ทําให้เด็ก
นักเรียนสามารถทราบถึงข้อมูลข่าวสารต่าง q ท่ีมีความเก่ียวข้องกับการเรียน ไม่ว่าจะเป็นข้อมูล
เก่ียวกับทุนการศึกษา การเปิดรับสมัครการเข้าเรียนของสถาบันต่าง ๆ ทําให้เด็กภายในโรงเรียน
มีข้อมลู สําหรบั การตัดสินใจในการศึกษาในระดบั ตอ่ ไปได้มากขน้ึ

12

SCHOOL

วิชา สค.362 นโยบายและสวัสดิการการศึกษาสําหรับเดก็ พิเศษ Section 810001 อาจารยผ์ ู้สอน ผศ.ดร.ป่ ินหทัย หนูนวล
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563

4. ทุนการศึกษา

เ ด็ ก นั ก เ รี ย น ท่ี เ ข้ า ม า ศึ ก ษ า ภ า ย ใ น โ ร ง เ รี ย น ล้ ว น ม า จ า ก ค ร อ บ ค รั ว ท่ี มี ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง
หลากหลาย ซ่ึงมีความแตกต่างท้ังในด้านของเศรษฐกิจการเงิน เด็กหลายๆคนมีการประสบ
ปัญหาการขาดแคลนทุนทรัพย์ทางด้านการเรียน ทุนการศึกษาตรงน้ีจึงเป็นส่ิงท่ีจะช่วยสนับสนุน
ค่าใช้จ่ายให้แก่ผู้ปกครองและนักเรียนได้ส่วนหน่ึง โดยจากการเก็บรวบรวมข้อมูลพบว่าลักษณะ
ของทุนการศึกษาทม่ี ีภายในโรงเรยี นมีดงั น้ี

- ทุนการศึกษาสําหรับนักเรียนยากจน โดยทุนการศึกษาน้ีเป็นทุนการศึกษาท่ีทาง
ภาครัฐจะเป็นผู้สนับสนุน ซ่ึงกระบวนการในการขอรับทุนการศึกษาจะพิจารณา
จากข้อมูลจากเอกสารท่ีนักเรียนได้กรอกข้อมูล โดยมีครูประจําช้ันเป็นผู้
ประสานงานในการส่งเอกสารและรวบรวมข้อมูล เพ่ือเป็นการอํานวยความสะดวก
แก่นักเรียนท่ีจะย่ืนเอกสารขอทุนการศึกษานักเรียนยากจน ซ่ึงผลการพิจารณาข้ัน
สุดท้ายจะข้ึนอยู่กับการพิจารณาคุณสมบัติของหน่วยงานต้นสังกัดของโรงเรียน

- ทุนการศึกษาสําหรับนักเรียนยากจนแต่เรียนดี เป็นทุนทางการศึกษาท่ีมอบให้กับ
นักเรียนท่ีมีผลการเรียนดี โดยการพิ จารณาคัดเลือกผู้มีคุณสมบัติจะมีการ
พิจารณาผ่านทางครูประจําช้ันในการคัดเลือกเด็กท่ีมีความเหมาะสม ซ่ึงจะมีการ
มอบทุนในทุก ๆ ปีการศึกษา โดยเงินสนับสนุนจะมาจากสมาคมศิษย์เก่าของ
โรงเรียนตราษตระการคุณ ครูท่ีมีความประสงค์จะมอบทุนการศึกษา และบุคคล
จากภายนอกท่ีมีความต้องการจะบริจาคสมทบทุน ซ่ึงนักเรียนจะได้รับทุน
รายละประมาณ 3,000 บาท และไมใ่ ช่ทนุ ต่อเน่อื ง

5. ธนาคารโรงเรยี น

ภายในโรงเรียนจะมีโครงการธนาคารโรงเรียน ซ่ึงโครงการน้ีเป็นการร่วมมือกับทาง
ธนาคารออมสินในการจําลองสาขาของธนาคารไว้ภายในโรงเรียน โดยภายในธนาคารโรงเรียนจะมี
ครูผู้ดูแลจํานวน 2 – 3 คน และมีการเปิดโอกาสให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในการเป็นผู้ดําเนินการ
ทางธนาคารด้วยตนเอง และจะมีการเสริมสร้างความรู้เก่ียวกับการทํางานผ่านการรับคําปรึกษา
จากครผู ู้ดูแล ทําใหน้ ักเรียนเกดิ ประสบการณ์ทาํ งานในธนาคารท่มี คี วามเสมอื นจริงมากยง่ิ ข้ึน

นอกจากน้ีธนาคารโรงเรียนยังมีวัตถุประสงค์ในการเสริมสร้างให้นักเรียนมีนิสัยท่ีรักการ
ออมมากข้ึน ผ่านการให้นักเรียนทุก ๆ คนได้มีโอกาสเปิดบัญชีกับธนาคารออมสินผ่านทาง
ธนาคารโรงเรียนแห่งน้ี โดยเร่ิมต้นเปิดบัญชีโดยใช้เงิน 50 บาท นักเรียนท่ีเปิดบัญชีกับทาง
ธนาคารโรงเรียนจะได้รับเล่มสมุดบัญชีกลับมา และจะสามารถนําเงินเข้ามาฝากในบัญชีได้เร่ือย ๆ
ตามความสะดวกของเด็กแต่ละคนโดยสามารถฝากได้ต้ังแต่ 1 บาทข้ึนไป ในกรณีท่ีมีความ
ประสงค์ท่ีจะถอนเงินก่อนจบปีการศึกษาก็สามารถทําได้ โดยการนําสมุดบัญชีไปแจ้งกับนักเรียนท่ี
ทําหน้าท่ีอยู่ในธนาคารโรงเรียน และจะได้รับเงินหลังจากทํารายการสําเร็จ และเม่ือจบปีการศึกษา
ก็จะไดร้ ับเงนิ ออมเหล่านค้ี นื พรอ้ มดอกเบย้ี ตลอดระยะเวลาท่ฝี ากเงินเข้าบญั ชี

13

SCHOOL

วิชา สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศึกษาสําหรบั เด็กพิเศษ Section 810001 อาจารย์ผสู้ อน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนนู วล
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563

6. การเลอื กวิชาเสรี

วิชาเลือกเสรีเป็นหน่ึงในวิชาของการเรียนท่ีพ่ึงมีการดําเนินการเพิ่มเข้ามา โดยจะให้
นักเรียนสามารถเลือกเรียนวิชาท่ีตนเองมีความสนใจ ซ่ึงในหน่ึงสัปดาห์จะเรียนวิชาท่ีเลือกท้ังหมด
2 ช่ัวโมง ซ่ึงวิชาท่ีมีให้เลือกส่วนใหญ่จะเป็นวิชาท่ีเสริมทักษะต่าง ๆ ท่ีอยู่นอกเหนือจากวิชาเรียน
ซ่ึงในปีการศึกษา 2563 ได้มีการเปิดวิชาเรียนให้สําหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5 และช้ัน
มัธยมศึกษาปีท่ี 6 เท่าน้ัน เน่ืองจากยังขาดบุคลากรครูท่ีมีความรู้เฉพาะด้านสําหรับการสอน
โ ด ย วิ ช า ท่ี เ ปิ ด ส อ น เ ช่ น วิ ช า ทํ า ข น ม ไ ท ย วิ ช า เ ขี ย น แ บ บ วิ ช า จั ด ส ว น ใ น ภ า ช น ะ แ ล ะ
เทคโนโลยีการเกษตร วิชาเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน วิชาดนตรีไทยและสากล วิชาภาษาจีน
ภาษากัมพู ชา และภาษาบาลี และวิชา Start – up เป็นต้น โดยวิชาท่ีกล่าวมาข้างต้นจะไม่มีเปิด
สอนเป็นวิชาท่ัว ๆ ไปในโรงเรียน แต่จะเปิดให้นักเรียนได้มีสิทธิเลือกลงทะเบียนเรียนตามความ
ต้องการและความสนใจ ซ่ึงในหน่ึงวิชาจะเปิดให้นักเรียนลงทะเบียนได้ 20 คน เพื่อให้เกิดการดูแล
ท่มี ีความทว่ั ถึงและเพื่อให้เกิดประสิทธภิ าพในการเรียนร้ใู ห้ได้มากทส่ี ุด

7. บริการ PS School

เป็นการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศส่วนกลางให้เข้ามามีส่วนช่วยในการดูแลนักเรียน
เพ่ือเป็นการเพิ่มช่องทางให้ผู้ปกครองและครูประจําช้ันสามารถมีส่วนร่วมในการดูแลนักเรียนได้
อย่างมีประสิทธิภาพมากข้นึ ภายในระบบ PS School จะมกี ารทาํ งานในลักษณะดังน้ี

- ระบบสําหรับการลงเวลาเข้า – ออกโรงเรียนของนักเรียน ซ่ึงเช่ือมโยงกับระบบ
การการสแกนใบหน้า สแกนลายน้ิวมือ โดยเม่ือนักเรียนลงช่ือเข้า – ออกโรงเรียน
ระบบจะทําการแจ้งข้อมูลการลงเวลาให้ผู้ปกครองและครูประจําช้ันให้รับทราบได้
ทันทผี า่ นทาง Application

- ระบบการแจ้งข่าวสารถึงผู้ปกครอง โดยทางโรงเรียนจะมีการแจ้งเก่ียวกับ
ข่าวสาร การประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ ให้กับผู้ปกครองได้รับทราบ แจ้งผลการเรียน
ของเดก็ นอกจากนย้ี งั มชี ่องทางในการติดตอ่ ส่ือสารกับผู้ปกครอง

- ระบบความประพฤติของนักเรียน ซ่ึงใช้ในการเก็บข้อมูลความประพฤติของ
นักเรียน ภายในระบบจะมีการบันทึกคะแนนความประพฤติของนักเรียน
และสามารถค้นหารายงานความประพฤติของนกั เรียนเป็นรายบุคคลได้

สวัสดิการและกิจกรรมต่าง ๆ ทางการศึกษา ท่ีถูกจัดข้ึนภายในโรงเรียนตราษตระการ
คุณท่ีกล่าวไปในข้างต้นค่อนข้างมีความหลากหลาย แต่จากการรวบรวมข้อมูลเบ้ืองต้นจากทาง
โรงเรียนก็ได้พบว่าสวัสดิการและกิจกรรมทางการศึกษาท่ีมีข้ึนในโรงเรียนเหล่าน้ียังไม่สามารถ
ครอบคลุมความต้องการของเด็กภายในโรงเรียนได้ท้ังหมด เน่ืองจากภายในโรงเรียนมีเด็กท่ีมี
ความแตกต่างกันหลายๆกลุ่ม และปัจจุบันได้มีสถานการณ์ต่าง ๆ ท่ีเข้ามามีผลกระทบต่อเด็ก
โดยตรง ทําให้เด็กแต่ละคนมีเกิดปัญหาท่ีมีความเฉพาะ เช่น การมีสภาวะความเครียดท่ีเกิดข้ึนกับ
เด็กนักเรียน การท่ีมีนักเรียนบางคนไม่สามารถปรับตัวกับการเรียนได้ ซ่ึงเป็นผลให้นักเรียนมีผล

14

SCHOOL

วิชา สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศึกษาสําหรับเด็กพิเศษ Section 810001 อาจารย์ผู้สอน ผศ.ดร.ป่ ินหทัย หนูนวล
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563

การเรียนท่ีแย่ลงกว่าคนอ่ืน ๆ ภายในห้อง และการท่ีเด็กไม่สามารถปรับตัวกับการใช้ชีวิตภายใน
โรงเรียนอาจจะด้วยสาเหตุทางอารมณ์และพฤติกรรม เป็นต้น ซ่ึงปัญหาท่ีเกิดข้ึนยังไม่ได้รับการ
แก้ไขปัญหาท่ีจริงจังมากพอ หากปล่อยไว้ก็จะนําไปสู่การท่ีเด็กต้องออกจากโรงเรียนอย่าง
กะทันหัน เน่ืองจากไม่สามารถแบกรับปัญหาเหล่าน้ีเอาไว้ได้ และนอกจากน้ีบุคลากรครูบางส่วนยัง
ไม่มีความเข้าใจในปัญหาท่ีเกิดข้ึนกับเด็กภายในโรงเรียนอย่างแท้จริง เช่น ปัญหาเก่ียวกับสภาวะ
ซึมเศร้า ปัญหาทางด้านพฤติกรรมท่ีเด็กแสดงออก เป็นผลให้เด็กไม่ได้รับการดูแลและไม่ได้รับ
การช่วยเหลืออยา่ งถกู ต้องตามท่คี วรจะได้รบั

การจัดสวสั ดิการทางการศึกษาทเ่ี หมาะสมสําหรับเดก็ ในโรงเรยี น
1. การเยย่ี มบ้านนักเรียน

โรงเรียนตราษตระการคุณ มีการลงพ้ืนท่ีสําหรับเย่ียมบ้านนักเรียนอยู่แล้ว แต่มีลักษณะ
เป็นแบบการสุ่มเย่ียม จึงทําให้ไม่สามารถลงพ้ืนท่ีเย่ียมบ้านนักเรียนได้ครบทุกคน เน่ืองจาก
จํานวนนักเรียนภายในหน่ึงห้องมีมากพอสมควร ซ่ึงในความเป็นจริงน้ันการลงพื้นท่ีเย่ียมบ้าน
นักเรียนถือว่าเป็นสิ่งสําคัญท่ีจะได้มาซ่ึงข้อมูลท่ีแท้จริง เพราะปัจจัยเก่ียวกับสภาวะความเครียด
ส่วนหน่ึงเป็นผลมาจากสภาวะภายในครอบครัว การเย่ียมบ้านจึงมีความสําคัญท่ีจะช่วยให้ครู
ประจําช้ันสามารถเข้าใจในพฤติกรรมต่าง ๆ ของเด็กได้มากข้ึน และทําให้เห็นถึงสภาพความ
เป็นอยู่ของเด็ก สภาพแวดล้อมรอบ ๆ ตัวเด็ก และได้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างเด็กกับคนใน
ครอบครัว จึงอยากให้มีการเพ่ิมเติมแนวทางของการเย่ยี มบ้านในมลี กั ษณะดังน้ี

§ การวางแผนก่อนการลงพ้ืนทเ่ี ย่ยี มบา้ น
1) ทางโรงเรียนจะต้องมีการประชาสัมพั นธ์เก่ียวกับการเย่ียมบ้านนักเรียนให้แก่
ผู้ปกครองทราบต้งั แตใ่ นชว่ งตน้ ปกี ารศึกษา โดยจะตอ้ งมีการประชาสัมพันธใ์ นรูปแบบ
ท่ีมีความหลากหลาย เพื่อให้ข้อมูลการประชาสัมพันธ์สามารถส่งไปถึงผู้ปกครองของ
เด็กทุกคนได้ครบ เช่น การประชาสัมพันธ์แจ้งข่าวสารผ่านทาง Application PS
School การจัดทาํ จดหมาย หรอื เอกสารถงึ ผปู้ กครอง เปน็ ตน้
2) การแบ่งนักเรียนสําหรับการลงเย่ียมบ้านเป็นส่ิงสําคัญท่ีจะช่วยให้ครูประจําช้ัน
สามารถเย่ียมบ้านนักเรียนได้ครบทุกคน โดยครูประจําช้ันอาจจะมีการแบ่งจํานวน
นักเรียนออกเป็นคร่ึงหน่ึง ต่อการดูแลของครูหน่ึงคน แล้วจากน้ันจึงค่อยทําการ
ติดต่อขอลงเย่ียมบ้าน และอาจจะมีวางแผนการเย่ียมบ้านต้ังแต่ต้นของปีการศึกษา
ท้ังในเร่ืองของระยะทาง การดูพ้ืนท่ีระยะห่างความใกล้ และความไกล ในละแวกน้ันมี
นักเรียนอาศัยอยู่ก่ีคน เพ่ื อให้เกิดการวางแผนและประหยัดเวลาในการเดินทาง
ซ่ึงหากมีการวางแผนท่ีดีก็จะทําให้ครูประจําช้ันสามารถลงพ้ืนท่ีเย่ียมบ้านนักเรียนได้
ครบทุกคน และจะทําให้มีข้อมูลในการท่ีจะสามารถนํามาพัฒนา และออกแบบรูปแบบ
ของการเรียนใหส้ อดคล้องกบั เด็กทกุ คนได้

15

SCHOOL

วชิ า สค.362 นโยบายและสวัสดิการการศึกษาสําหรบั เดก็ พิเศษ Section 810001 อาจารยผ์ สู้ อน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนนู วล
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563

3) ครูประจําช้ันท่ีมีหน้าท่ีในการลงเย่ียมบ้าน จะต้องมีการศึกษาข้อมูลเก่ียวกับเด็ก
นักเรียนเบ้ืองต้นในเร่ืองต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเร่ืองท่ีแผนท่ีการเดินทาง ระยะทางของ
บ้าน สมาชิกภายในครอบครัวว่าเด็กพักอาศัยอยู่กับใคร เพื่อเป็นการเตรียมความ
พร้อม ต้องมีการเตรียมประเด็นในการพูดคุยให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์และต้องทํา
การนัดหมายเวลากับผูป้ กครองลว่ งหน้า เพื่อให้เกิดความพร้อมท้งั สองฝา่ ย

§ การเก็บรวบรวมข้อมูลการเยย่ี มบา้ นนกั เรียน

การเก็บรวบรวมข้อมูลในระหว่างการลงพื้นท่ีเย่ียมบ้านนักเรียนเป็นส่ิงท่ีมีความสําคัญมาก
ท่ีสุด เพราะถือเป็นวัตถุประสงค์หลักในการเย่ียมบ้าน โดยการเย่ียมบ้านจะต้องมีการใช้ทักษะต่าง ๆ
เข้ามาช่วย เพ่ือให้มีการเก็บข้อมูลได้อย่างครบถ้วนและสามารถนําข้อมูลเหล่าน้ันมาใช้ในการ
ส่งเสริม ป้องกัน หรือแก้ไขปัญหานักเรียนได้เป็นรายบุคคล ซ่ึงครูประจําช้ันควรจะมีการบันทึกลง
ในแบบบันทึกการเย่ียมบ้านอย่างละเอียดและครบถ้วน และสามารถนําแบบบันทึกเหล่าน้ีมาประเมิน
เดก็ ไดใ้ นภาพรวม โดยประเด็นท่คี วรจะใหค้ วามสําคญั มดี ังน้ี

- ด้านท่อี ยู่อาศัยและบรบิ ทสิ่งแวดลอ้ มรอบ ๆ
- ด้านการใช้ชีวิตและการทํากิจกรรมของเด็กในช่วงเวลาท่อี ย่ทู ่บี า้ น
- ด้านลักษณะการเล้ียงดูของครอบครัว บรรยากาศ และความสัมพันธ์ภายใน

ครอบครวั
- ด้านเศรษฐกิจและรายได้ของครอบครวั
- ด้านพฤติกรรมของเด็กในความคิดเหน็ ของผูป้ กครอง
- สิ่งทผ่ี ปู้ กครองมีความต้องการจากครแู ละโรงเรียน

ซ่ึงประเด็นต่าง ๆ เหล่าน้ีจะช่วยให้ครูและนักสังคมสงเคราะห์สามารถนํามาใช้ในการ
ประเมินเด็กและครอบครัวได้ ท้ังการประเมินในเร่ืองของความเส่ียงต่าง ๆ ท่ีจะเกิดข้ึนกับเด็ก
สภาพความเป็นอยู่ ความปลอดภัย และความสัมพันธ์ในครอบครัว ซ่ึงสามารถช่วยให้เข้าใจใน
พฤติกรรมของเดก็ ท่แี สดงออกในระยะเวลาของการอยภู่ ายในโรงเรยี นไดเ้ ป็นรายบุคคล

§ บทบาทหนา้ ทข่ี องนกั สังคมสงเคราะห์
1) บทบาทผู้ให้คําปรึกษาแก่ครูสําหรบั การเตรยี มความพร้อมก่อนการเยย่ี มบา้ น
- ให้คําปรึกษาและช่วยเหลือครูให้มีความพร้อมสําหรับการลงเย่ียมบ้านนักเรียน
โดยส่งเสริมให้ครูเห็นถึงความสําคัญของการเย่ียมบ้าน ส่งเสริมการเตรียมพร้อม
เก่ียวกับประเด็นต่าง ๆ ท่ีสําคัญ และให้ความรู้เก่ียวกับการใช้ทักษะต่าง ๆ
ท่ีมีความจําเป็นในการท่ีจะนํามาปรับใช้ เช่น ทักษะการสังเกต ทักษะการต้ังคําถาม
เป็นต้น เพ่ื อให้ครูสามารถเก็บรวบรวมข้อมูลของนักเรียนแต่ละคนได้อย่าง
ครบถว้ นมากทส่ี ุด
2) บทบาทในการลงพ้ืนท่สี ํารวจและเยย่ี มบ้านของนักเรียนร่วมกบั ครูประจาํ ชน้ั
- ในกรณีท่ีครูประจําช้ันสังเกตว่ามีเด็กนักเรียนท่ีมีความเสี่ยง หรือมีปัญหาทางด้าน
ต่าง ๆ เช่น ปัญหาทางด้านพฤติกรรมท่ีมีความก้าวร้าว ปัญหาของการมีสภาวะ

16

SCHOOL

วิชา สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศึกษาสําหรบั เดก็ พิเศษ Section 810001 อาจารยผ์ สู้ อน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนูนวล
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563

ซึมเศร้า หรือปัญหาอ่ืน ๆ ท่ีควรได้รับการช่วยเหลือเป็นกรณีพิเศษ นักสังคม
สงเคราะห์ก็จะต้องมีส่วนในการลงพ้ืนท่ีเย่ียมบ้านพร้อมกับครูประจําช้ัน และค่อย
สังเกตและสอบถามในประเด็นอ่ืน ๆ เพิ่มเติม เพื่อให้มีความชัดเจน และเกิดความ
เข้าใจในสาเหตุทแ่ี ท้จริง และนาํ ขอ้ มลู ทไ่ี ดม้ าประเมินความเส่ียง หรือความต้องการ
ท่ีเร่งด่วน และนําข้อมูลการประเมินเหล่าน้ีไปจัดทําเป็นแผนการช่วยเหลือให้มีความ
สอดคล้องกบั ปญั หาและความตอ้ งการของเดก็ ในแตล่ ะคน
3) บทบาทในการเป็นคนกลางเพื่ อประสานและทํางานร่วมกับหน่วยงานต้นสังกัด
โรงเรียน ครู ครอบครวั และชุมชน
- ในกรณีท่ีแผนการดําเนินงานท่ีจัดทําร่วมกับครูประจําช้ันหลังจากการเย่ียมบ้าน
ของเด็กนักเรียนมีความเก่ียวข้องและต้องการความช่วยเหลือจากครอบครัวและ
ชุมชน นักสังคมสงเคราะห์จะต้องทําหน้าท่ีอํานวยความสะดวกในการเป็นคนกลาง
สําหรับประสานงานต่าง ๆ เพ่ือเป็นการช่วยให้ครูประจําช้ันสามารถทํางานได้อย่าง
สะดวกมากข้นึ
§ บทบาทของภาคส่วนอ่นื ๆ
1) บทบาทของสํานักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษา
- ฝึกอบรมบุคลากรท่ีอยู่ภายใต้สังกัดให้มีความรู้ ความสามารถ และทักษะต่าง ๆ
ท่ีจะนําไปใช้ในการปฏิบัติงานเพื่ อดูแลนักเรียนภายในโรงเรียนได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
- ออกแบบแผนการดําเนินงานท่ีมีความชัดเจนและช้ีให้เห็นถึงความสําคัญของการ
เย่ยี มบ้าน เพ่ือเป็นการสร้างความตระหนกั ให้กบั โรงเรียน
2) บทบาทของโรงเรยี น
- โรงเรียนควรมีหน้าท่ีในการสร้างความตระหนักให้ครูภายในโรงเรียนเห็นถึง
ความสําคญั ของการลงเยย่ี มบา้ น และการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี น
- เป็นผู้ประสานงาน หรือประชาสัมพันธ์การทํางานท่ีจะเกิดข้ึนให้กับบุคคลและ
หน่วยงานอ่ืน ๆ ภายนอกได้ทราบ เช่น หน่วยงานต้นสังกัด เครือข่ายผู้ปกครอง
เป็นต้น
- พัฒนาระบบการจัดเก็บข้อมูลการเย่ียมบ้านนักเรียนให้มีความเป็นระเบียบมากข้ึน
เพื่อท่ีจะนําไปใช้ประโยชน์สําหรับการสวัสดิการและบริการทางการศึกษาท่ีมีความ
เหมาะสมกบั เด็กทกุ ๆ คนภายในโรงเรียน
-
3) บทบาทของครอบครัว
- ทําหน้าท่ีในการให้ความร่วมมือในการให้ข้อมูลท่ีเป็นความจริง เน่ืองจากครอบครัว
เป็นบุคคลท่ีมีความใกล้ชิดกับเด็กมากท่ีสุด การให้ความร่วมมือในการให้ข้อมูลท่ี
ตรงกับความเป็นจริงกับครูประจําช้ัน หรือนักสังคมสงเคราะห์ท่ีทําหน้าท่ีในการลง
เย่ียมบ้าน เพื่ อให้ได้ข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์ต่อการส่งเสริม พั ฒนา ป้องกัน
และแกไ้ ขปัญหาของนกั เรยี นได้

17

SCHOOL

วชิ า สค.362 นโยบายและสวสั ดิการการศึกษาสําหรบั เดก็ พิเศษ Section 810001 อาจารยผ์ ้สู อน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนูนวล
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563

2. บรกิ ารและกจิ กรรมให้คาํ ปรกึ ษาทางด้านจิตใจ อารมณ์ และการปรบั ตวั

เน่ืองจากการศึกษาในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาท่ีมีขนาดใหญ่ มักจะเกิดการแข่งขันเกิด
ข้ึนอยู่ตลอดเวลา เด็กหลายคนเกิดความกดดันจากการแข่งขันเหล่าน้ี เป็นผลทําให้เด็กใน
โรงเรียนบางกลุ่มเกิดสภาวะของความเครียด และนอกจากน้ีปัญหาทางด้านอ่ืน ๆ ท่ีเข้ามามี
ผลกระทบต่อเด็กโดยตรงก็ก่อให้เกิดความเครียดได้ ซ่ึงความเครียดเป็นส่ิงท่ีส่งผลกระทบต่อ
พฤติกรรม สภาวะทางอารมณ์ และการเข้าสังคมของเด็กนักเรียนเป็นอย่างมาก นอกจากน้ี
บุคลากรทางการศึกษาก็เป็นอีกหน่ึงกลุ่มเป้าหมายท่ีควรให้ความสําคัญ เน่ืองจากบุคลากรต้อง
เผชิญกับความกดดันและปัญหาต่าง ๆ เช่นกัน เช่น ความเครียดจากการเตรียมความพร้อมใน
การจัดทําแผนการสอนสําหรับนักเรียน ซ่ึงการท่ีบุคลากรมีความเครียดก็จะส่งผลกระทบต่อการ
ปฏิบัติต่อเด็กได้ ด้วยเหตุน้ีทางโรงเรียนจึงต้องมีการจัดบริการให้คําปรึกษา โดยมีแนวทางใน
ของการจัดกจิ กรรมและบริการดังน้ี

§ การจดั เตรยี มสําหรับบรกิ ารให้คําปรึกษากับผู้เชย่ี วชาญหรอื นักสังคมสงเคราะห์
1) วางแผนและเตรียมผู้ท่ีมีความเช่ียวชาญเก่ียวกับทางด้านจิตวิทยาและการให้คําปรึกษา
เ พื่ อ ใ ห้ เ ข้ า ม า ทํ า ง า น ร่ ว ม กั บ นั ก เ รี ย น แ ล ะ บุ ค ล า ก ร ท่ี ป ฏิ บั ติ ง า น ใ น โ ร ง เ รี ย น
โดยมีวัตถุประสงค์ในการป้องกัน ฟ้ ืนฟู สภาพจิตใจ และแก้ไขปัญหาความเครียดท่ี
เกิดข้ึนในรายบุคคล หรืออาจให้นักสังคมสงเคราะห์ในโรงเรียนเป็นผู้ให้คําปรึกษา
ภายในโรงเรียนดว้ ยตนเอง
2) จัดเตรียมห้องสําหรับการให้คําปรึกษาโดยเฉพาะ ซ่ึงสามารถใช้ห้องแนะแนวเป็น
สถานท่ีในการเข้ารับคําปรึกษา ซ่ึงการมึห้องสําหรับให้คําปรึกษาจะทําให้มีพ้ืนท่ีสําหรับ
ให้บริการ สร้างความรู้สึกท่ีเป็นส่วนตัว และสร้างความสบายใจของผู้ท่ีจะขอรับ
คําปรกึ ษา
3) ส่งเสริมให้ครูประจําช้ัน และผู้ปกครองท่ีมีความใกล้ชิดเด็กทําการการสังเกต
และประเมินเด็กภายใต้การดูแลของตนเองเก่ียวกับพฤติกรรมต่าง ๆ ท่ีเด็กแสดงออก
เบ้อื งตน้ ไมว่ ่าจะเป็นในเรอ่ื งของการปรบั ตวั เข้ากับกลมุ่ เพ่ือน และการปรับตัวทางด้าน
การเรียน เพ่ือเป็นการคัดกรองในสําหรับนักเรียนท่ีอาจจะมีสภาวะความเสี่ยงต่าง ๆ
หากพบว่านักเรียนมีแนวโน้มท่ีจะมีความเส่ียง ครูประจําช้ันก็จะเป็นผู้ประสานงานไปยัง
นกั สังคมสงเคราะห์เพ่ือให้มกี ารตดิ ตามให้การช่วยเหลอื ต่อไป

§ การจดั กิจกรรมเพ่ิมเติมเพ่ือส่งเสรมิ ป้องกนั และแกไ้ ขปัญหา
1) มีการประเมินผลเก่ียวกับสภาวะทางจิตใจ อารมณ์ ความเครียด และพฤติกรรมการ
รับมือของนักเรียนและบุคลากรภายในโรงเรียนเป็นระยะ โดยอาจจัดให้มีการประเมินปี
การศึกษาละ 1 – 2 คร้ัง โดยประสานงานกับทางครูประจําช้ัน และฝ่ายต่าง ๆ
ของโรงเรยี น ในการท่จี ะประชาสัมพันธ์เร่อื งของการทําแบบประเมนิ ผล
2) จัดกิจกรรมการให้ความรู้และการรับมือกับความเครียด โดยประสานงานกับหน่วยงาน
สาธารณสุขของจังหวัด เน้นเร่ืองของการรับมือในสภาวะความเครียด การทําความ

18

SCHOOL

วิชา สค.362 นโยบายและสวัสดิการการศึกษาสําหรับเด็กพิเศษ Section 810001 อาจารยผ์ ู้สอน ผศ.ดร.ป่ นิ หทัย หนูนวล
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2563

เข้าใจและช่วยเหลือบุคคลอ่ืน ๆ เม่ือพวกเขาต้องประสบกับปัญหาความเครียด
นอกจากน้ียังจะต้องให้ความรู้แก่ครูภายในโรงเรียนให้เข้าใจในพฤติกรรม และสภาวะ
ทางอารมณท์ ่เี กิดข้นึ กับเด็ก เพ่ือให้สามารถดูแล และให้คาํ ปรึกษาเบอ้ื งตน้ แก่นักเรยี นได้
3) จัดกิจกรรมกลุ่มในลักษณะเพื่อนท่ีปรึกษา ซ่ึงเป็นกิจกรรมกลุ่มท่ีจะช่วยส่งเสริมให้
นักเรียนภายในห้องได้มีส่วนร่วมในการดูแลเพื่อนของตนเอง ผ่านการให้คําปรึกษา
และการแนะแนวปัญหาต่าง ๆ ไมว่ ่าจะเปน็ เรอ่ื งการเรยี น ปัญหาชีวิต ความเครียดตา่ ง
ๆ เป็นการชว่ ยใหเ้ ขา้ ถึงกลมุ่ นกั เรยี นทม่ี ปี ญั หาได้มากข้นึ
§ บทบาทหนา้ ทข่ี องนักสังคมสงเคราะห์
1) บทบาทผใู้ ห้คําปรกึ ษารายบุคคลใหแ้ ก่นกั เรยี นและบคุ ลากรภายในโรงเรยี น
- การทําหน้าท่ีในการให้คําปรึกษาจะต้องมีการใช้ทักษะในการให้คําปรึกษาเข้ามาช่วย

นอกจากน้ียังจะต้องปฏิบัติงานอยู่บนฐานคิดเร่ืองความแตกต่าง เพราะแต่ละ
บุคคลมีการเผชิญปัญหาท่ีแตกต่างกัน และนักสังคมสงเคราะห์จะต้องมีการ
บนั ทกึ ข้อมลู อย่างละเอียดในทุก ๆ คร้งั ของการใหค้ าํ ปรึกษา
2) บทบาทผู้รวบรวมข้อมูล ประเมิน รายงานผล และวางแผนการจัดกิจกรรมท่ีช่วย
ส่งเสริม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาร่วมกับครแู ละฝ่ายผูบ้ รหิ ารของโรงเรียน
- นักสังคมสงเคราะห์จะทําหน้าท่ีรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับการประเมินต่าง ๆ ผ่านการ
ลงบันทึกรายงานการประเมินอย่างละเอียดและครบถ้วน ไม่ว่าจะเป็นการประเมิน
ทางด้านอารมณ์ ความเครียด พฤติกรรม และต้องมีการจัดการประชุมการ
รายงานผลของกจิ กรรมตา่ ง ๆ กบั ฝา่ ยผบู้ ริหารและครูภายในโรงเรยี นเป็นระยะ
- ทําหน้าท่ีในการนําข้อมูลท่ีได้จาการประเมินมาหาแนวทางในการจัดกิจกรรม หรือ
สวัสดิการทางการศึกษาเพื่อพัฒนา ป้องกัน และแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ท่ีอาจจะมี
ผลกระทบต่อนักเรียนภายในโรงเรียนในอนาคตร่วมกับการประชุมกับครูและ
ผู้บริหารของโรงเรียน และหน่วยงานท่ีมีความเก่ียวข้องเพ่ือให้แผนงานสามารถ
รองรับปัญหาและกล่มุ เปา้ หมายได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ
3) บทบาทผูป้ ระสานงานกบั หน่วยงานทเ่ี กย่ี วข้อง
- ประสานงานในการจัดหาบุคลากรท่ีมีความเช่ียวชาญทางด้านจิตวิทยาให้เข้ามามี
ส่วนร่วมในการให้คําปรึกษา รวมถึงการประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ ให้มีส่วน
รว่ มในการจัดกิจกรรมทม่ี ีความเฉพาะในเร่อื งน้นั ๆ

§ บทบาทของภาคส่วนอน่ื ๆ

1) บทบาทของโรงเรียน
- มีหน้าท่ีในการให้ความสําคัญกับและมองเห็นปัญหาในเร่ืองสภาวะทางอารมณ์และ

ความเครยี ดท่เี กิดข้นึ กบั นักเรียนและครภู ายในโรงเรยี นให้มากข้นึ
- ให้การสนับสนุนการป้องกันและแก้ไขสภาวะความเครียดและการปรับตัวของ

นักเรียนจะทําให้การดําเนินกิจกรรมต่าง ๆ มีความสะดวกมากข้ึน และทําให้

นักเรยี นในกลมุ่ น้สี ามารถไดร้ ับบรกิ ารและกจิ กรรมท่เี ปน็ ประโยชน์

2) บทบาทของหนว่ ยงานสาธารณสุข

19

SCHOOL

วิชา สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศึกษาสําหรับเด็กพิเศษ Section 810001 อาจารยผ์ สู้ อน ผศ.ดร.ป่ ินหทัย หนูนวล
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563

- ทําหน้าท่ีในการให้ความรู้เร่ืองความเครียด และการรับมือกับความเครียดแก่เด็ก
และครูทุกคนในโรงเรียน ผ่านกิจกรรมท่ีนักสังคมสงเคราะห์ให้การประสานงาน
และจดั ทาํ ข้นึ

- ให้ความร่วมมือในการเข้าประชุมร่วมกับทางโรงเรียนเพื่ อหาแนวทางในการ
ส่งเสริม ป้องกัน ฟ้ ืนฟู และแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับเร่ืองของสภาวะ
อารมณ์ ความเครยี ด และการปรับตวั ของนกั เรยี นภายในโรงเรยี น

3) บทบาทของครอบครวั
- ทําหน้าท่ีในการสังเกตพฤติกรรมของเด็ก และคอยติดต่อประสานงานกับครู
ประจําชน้ั หรอื เครือขา่ ยผู้ปกครองเพ่ือแลกเปลย่ี นข้อมูลเปน็ ระยะ
- เป็นผู้ให้กําลังใจเด็กและสนับสนุนกิจกรรมต่าง ๆ ตามชอบและความสนใจ มีความ
เขา้ ใจในพฤตกิ รรมของเด็ก และไม่สร้างความกดดันใหก้ ับเด็กทอ่ี ยู่ภายใตก้ ารดแู ล

4) บทบาทของชุมชน
- ในกรณีท่ีทางโรงเรียนได้ขยายขอบเขตการดูแลโดยให้ชุมชนเข้ามามีส่วนในการ
ช่วยเหลือ ชุมชนก็จะมีหน้าท่ีในการสังเกตการณ์ และสอดส่องดูแลเด็กในพ้ืนท่ี
นอกเหนือจากการดูแลของผู้ปกครอง ท้ังในเร่ืองของความปลอดภัยและ
พฤติกรรมตา่ ง ๆ ของเดก็

20

SCHOOL

วชิ า สค.362 นโยบายและสวสั ดิการการศึกษาสําหรับเดก็ พิเศษ Section 810001 อาจารยผ์ สู้ อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนนู วล
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563

ธมี า จติ รเพียรคา้ 6105610411
ขอ้ มูลท่วั ไปของโรงเรยี นกรณศี ึกษา

โรงเรียนเทศบาล 4 สิทธิไชยอุปถัมภ์ เป็นโรงเรียนประถมศึกษา สังกัด เทศบาลนคร
สมุทรปราการ จัดต้ังอยู่ใกล้แหล่งชุมชน และชุมชนแถวน้ีจัดต้ังอยู่ใกล้กับสะพานปลา และโรงงาน
อุตสาหกรรม ดังน้ันนักเรียนท่ีศึกษาอยู่ในโรงเรียนส่วนใหญ่จะเป็นเด็กท่ีพ่อแม่ย้ายมาจากต่างถ่ิน
เพื่อนมาทํางาน และส่วนใหญ่จะมีรายได้ปานกลางไปจนถึงรายได้น้อยซ่ึงร้อยได้น้อยจะเป็น
ส่วนมาก ผู้ให้ข้อมูลกล่าวว่า ครอบครัวของเด็กในโรงเรียนส่วนใหญ่จะเป็นเด็กท่ีมีครอบครัวไม่
สมบูรณ์ เชน่ ครอบครวั เล้ยี งเด่ยี ว ครอบครัวขา้ มรนุ่ และพ่อแม่วยั ร่นุ ครอบครัวขาดความพรอ้ ม
ในการเล้ียงดูเด็ก และขาดการสนับสนุนด้านการเรียนจากทางบ้าน อีกท้ังคาดหวังว่าการท่ีส่งลูก
มาโรงเรียนโรงเรียนจะทําหน้าท่ีดูแลแทนได้ ปัญหาส่วนใหญ่ของเด็กประกอบไปด้วย ครอบครัวมี
รายได้น้อยขาดทุนทรัพย์ ขาดความอบอุ่นไม่มีคนคอยอบรมและส่ังสอนเร่ืองมารยาทในการเข้า
สังคมทําให้เด็กมีนิสัยท่ีก้าวร้าวโผงผาง ติดเกมส์ และเด็กท่ีต้องดูแลตนเอง ทําให้เด็กน้ันต้องการ
ความรักความเอาใจใส่จากครูและบุคลากรในโรงเรียนรวมไปถึงเพ่ือนๆของตน และต้องความการ
ทุนทรัพย์ มีจํานวนนักเรียนท่ีศึกษาท้ังหมด ณ ปัจจุบัน 116 คน บุคลากรในโรงเรียนประกอบไป
ด้วย ครู 40 คน งานธุรการทําเอกสาร 4 คน และภารโรง 3 คน

กิจกรรมและสวัสดิการท่โี รงเรยี นจัดทําขน้ึ เพ่ือส่งเสรมิ ความต้องการขอ้ งเด็กในหลายๆด้าน
- ด้านสุขภาพโรงเรยี นส่งเสรมิ ด้านสุขภาพประกอบกบั การทาํ งานรว่ มกบั หน่วยงานรัฐ
- ดา้ นทุนการศึกษามีการจดั หาทุนการศึกษาจากมูลนธิ แิ ละผ้อู นุเคราะห์
- ส่งเสริมให้เด็กร่วมกิจกรรมเพื่อส่งเสริมประเพณีและวัฒนธรรมตามวันสําคัญต่าง ๆ
อีกท้ังมีการร่วมทํากิจกรรมกับท่องถ่ิน เช่น งานวันเด็ก งานลอยกระทง และการออก
หน่วยรว่ มกบั ชมุ ชน

บริการและสวสั ดิการของโรงเรยี น
- ด้านการให้ความช่วยเหลือเด็กนักเรียน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโดยการเย่ียมบ้าน
และประเมิณความพร้อมของเด็กและครอบครัวเบ้ืองต้น ถ้าเด็กมีปัญหาเร่ืองขาดแคลน
ทุนทรพั ย์โรงเรยี นจะนําเรอ่ื งส่งตอ่ ไปทร่ี ะบบเพ่ือขอรับทนุ
- ด้านสุขภาพ สําหรับเด็กท่ีมีปัญหาสุขภาพกายจะส่งต่อไปท่ีโรงพยาบาลและสถานอนามัย
ใกล้โรงเรียน ด้านสุขภาพจิตโรงเรียนจะมีการตรวจสอบและแนะนําผู้ปกครองในการส่ง
ต่อไปยังหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง และมีประกันอุบติเหตุ แต่มีเง่ือนไขเฉพาะเด็กท่ีผู้ปกครอง
เสียค่าใช้จา่ ยเองเทา่ นน้ั และส่วนใหญผ่ ู้ปกครองจะทาํ ให้
- ด้านการศึกษา บริการแนะแนวการศึกษา โควตานักเรยี นเรียนดี

ตาม พรบ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2556 มาตรา 4 กล่าวว่า สถานพัฒนาและฟ้ นื ฟู หมายความว่า
สถานท่ี โรงเรียน สถาบัน หรือศูนย์ท่ีจัดข้ึนเพื่อให้การบําบัดรักษา การฟ้ ืนฟู สมรรถภาพท้ัง
ทางด้านร่างกายและจิตใจ ตลอดจนการศึกษา แนะแนว และการฝึกอบรมอาชีพแก่เด็กท่ีจําต้อง
ได้รับการสงเคราะห์หรือคุ้มครองสวัสดิภาพเป็นกรณีพิเศษ(พรบ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ.2556,2556)
ดังน้ัน โรงเรียนจึงไม่ได้เป็นเพี ยงแค่สถานท่ีท่ีให้ความรู้เพี ยงอย่างเดียว แต่หากรวมถึง

21

SCHOOL

วชิ า สค.362 นโยบายและสวสั ดิการการศึกษาสําหรบั เด็กพิเศษ Section 810001 อาจารยผ์ สู้ อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทัย หนนู วล
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563

เพื่อบําบัดรักษา ฟ้ ืนฟู สมรรถภาพท้ังด้านร่างกาย และจิตใจ ตลอดจนการศึกษา แนะแนว
และการฝึกอบรมอาชีพแก่เด็กท่ีจําเป็นจะต้องได้รับการสงเคราะห์หรือคุ้มครองสวัสดิภาพเป็น
พิเศษ และมีหน้าดูแลสวัสดิภาพของเด็กในขณะท่ีศึกษาอยู่อย่างครบถ้วน ดังน้ันโรงเรียนควรมี
การจดั สรรสวสั ดิการด้านอน่ื ๆ ทน่ี อกเหนอื จากการให้การศึกษาเพียงอยา่ งเดียว

สวัสดกิ ารการศึกษาทเ่ี หมาะสมกบั เดก็ ในโรงเรียน
เน่ืองจากทางโรงเรียนมีการบริการและสวัสดิการในด้าน การให้ความช่วยเหลือนักเรียน

เบ้ืองต้น ด้านสุขภาพ ด้านการศึกษา ด้านทุนการศึกษา มีการจัดกิจกรรมร่วมกับชุมชนเพื่อ
ส่งเสริมประเพณสี ําคญั และกิจกรรมของท้องถ่นิ แตย่ ังขาดบรกิ ารในด้านอ่นื ได้แก่

1. การบริการด้านจิตวิทยา ควรมีนักจิตวิทยาหรือจิตแพทย์ผู้เช่ียวชาญในการให้คําปรึกษา
และช่วยเหลือแก่ท้ังครูและนักเรียน เพราะนอกจากนักเรียนท่ีประสบปัญหาด้านอารมณ์
และจิตใจอย่างรุนแรงและจําเป็นต้องได้รับการช่วยเหลือแล้ว ครูท่ีทําหน้าให้การดูแลเด็ก
นักเรียนก็สมควรได้รับบริการตรวจสภาพจิตใจและความพร้อมของบุคลากรด้วย
เน่ืองจากครูเป็นผู้ต้องทํางานใกล้ชิดและดูแลเด็กโดยตรงการสํารวจความพร้อมและ
สภาพจิตใจของผู้สอนจึงเป็นส่ิงท่ีมีความจําเป็นอย่างมากความพร้อมของครูจะส่งผลให้
ครูสามารถดแู ลเดก็ ในโรงเรยี นไดอ้ ยา่ งเตม็ ท่ี

2. บริการสังคมสงเคราะห์ประจําโรงเรียน ให้ความช่วยเหลือนักเรียนท่ีมีปัญหาในการปรับตัว
ซ่ึ ง นั ก สั ง ค ม ส ง เ ค ร า ะ ห์ ป ร ะ จํ า โ ร ง เ รี ย น จ ะ ทํ า ห น้ า ท่ี ร่ ว ม กั บ ท า ง บ้ า น แ ล ะ ท า ง โ ร ง เ รี ย น
หรือร่วมกับโรงเรียนและชุมชนในท้องถ่ิน เพื่อสืบค้นหาสาเหตุหรือท่ีมาของปัญหาและ
ดําเนินการร่วมกับฝ่ายต่าง ๆ ท่ีจําเป็นต้องของความร่วมมือในการแก้ปัญหาน้ัน ๆ
เน่ืองจากสภาพครอบครัวของเด็กส่วนใหญ่จะเป็นครอบครัวท่ีไม่สมบูรณ์ เช่น ครอบครัว
เล้ียงเด่ียว ครอบครัวข้ามรุ่น และพ่อแม่วัยรุ่น ครอบครัวขาดความพร้อมในการเล้ียงดู
เด็ก และขาดการสนับสนุนด้านการเรียนจากทางบ้าน อีกท้ังคาดหวังว่าการท่ีส่งลูกมา
โรงเรียนโรงเรียนจะทําหน้าท่ีดูแลแทนได้ทําให้เด็กท่ีศึกษาอยู่ในโรงเรียนแห่งน้ีขาดการทํา
ความเข้าใจและการเอาใจใส่จากครอบครัว ดังน้ันบทบาทของนักสังคมสงเคราะห์จึงมี
ความจําเป็น เน่ืองจากปัจจุบันระบบการดูแลนักเรียนจากครูน้ันอาศัยการเย่ียมบ้านและ
สํารวจเบ้ืองต้นเพียงอย่างเดียว ซ่ึงไม่สามารถให้บริการช่วยเหลือนักเรียนและครอบครัว
ในการปรับตัวได้อย่างตรงจุด การมีนักสังคมสงเคราะห์มาทํางานด้านน้ีโดยตรงจะทําให้
การทํางานร่วมกับเด็ก ครอบครัวของเด็ก และชุมชน ในการทํางานร่วมกันหลายฝ่าย
เป็นไปได้ง่ายกว่า เน่ืองจากจรรยาบรรณของวิชาชีพสังคมสงเคราะห์เน้นเร่ืองความเป็น
กลางและการรักษาความลับของผู้ใช้บริการเป็นอย่างมาก อีกท้ังนักสังคมสงเคราะห์ไม่มี
ส่วนได้ส่วนเสียกับการศึกษาของเด็ก ส่งผลให้การดําเนินงานร่วมกับฝ่ายต่าง ๆ เป็นไป
อย่างมปี ระสิทธภิ าพ

3. บริการนันทนาการ เป็นบริการท่ีมุ่งให้นักศึกษาได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ โดยการเปิด
โอกาสให้นักเรียนได้ร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรตามความสนใจของตน สถานการณ์ ณ
ปัจจุบัน ครูส่วนใหญ่ในโรงเรียนมุ่งหวังให้เด็กทําแต่การบ้าน และต้ังใจเรียนไม่ส่งเสริมใน

22

SCHOOL

วิชา สค.362 นโยบายและสวัสดิการการศึกษาสําหรบั เด็กพิเศษ Section 810001 อาจารยผ์ สู้ อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทัย หนนู วล
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563

กิจกรรมนันทนาการตามวัย ดังน้ันควรส่งเสริมความเข้าใจต่อบุคลากรในโรงเรียนเพื่อให้
ส่งเสริมให้เด็กได้ทํากิจกรรมนันทนาการท่ีเหมาะสมกับวัย และเปิดโอกาสให้เด็กเรียนรู้
ความสนใจของตนเองควบค่ไู ปกบั การเรียน
4. บริการแนะแนว เด็กในโรงเรียนส่วนใหญ่เป็นเด็กท่ีขาดความรักและความเอาใจใส่จาก
ครอบครัว เด็กบางคนต้องดูแลตนเอง การส่งเสริมบริการท่ีช่วยให้เด็กเรียนรู้ท่ีจะ
ชว่ ยเหลือตนเอง แก้ปัญหาเบ้อื งต้นดว้ ยตนเองอย่างถกู วิธี จงึ มคี วามจาํ เปน็
5. กิจกรรมปฐมนิเทศ บริการน้ีจัดเพ่ือให้นักเรียนและผู้ปกครองได้เข้าใจมาตรฐานทาง
การศึกษาของโรงเรียน เข้าใจวิธีการเรียนการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน และ
เข้าใจได้ว่าโรงเรียนสามารถสนองความต้องการของนักเรียนในด้านท่ีเก่ียวข้องกับ
นักเรียนมากน้อยเพียงใด กิจกรรมน้ีจะช่วยให้เด็กได้รับความเอาใจใส่จากผู้ปกครองมาก
ข้ึน เข้าใจรูปแบบการเรียนการสอน และช่วยในการปรับตัวของเด็กให้เข้ากับสังคมใน
โรงเรยี น
6. ควรจัดบริการห้องเรียนท่ีเหมาะสมกับจํานวนเด็กนักเรียนและครู เน่ืองจากปัญหาความไม่
พร้อมของอัตราส่วนระหว่างครู 1 คน ต่อนักเรียน 27 - 30 คนต่อห้อง อาจทําให้เด็กทุก
คนไม่ได้รับการดูแลอย่างท่ัวถึงและมีประสิทธิภาพ การจัดบริการห้องเรียนท่ีเหมาะสมกับ
เด็กจะชว่ ยส่งเสรมิ ใหก้ ารเรียนมีประสิทธภิ าพมากย่งิ ข้นึ

23

SCHOOL

วชิ า สค.362 นโยบายและสวัสดิการการศึกษาสําหรบั เด็กพิเศษ Section 810001 อาจารยผ์ สู้ อน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนูนวล
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563

กลุ นันท์ บญุ เฉลียว 6105610536

1) ขอ้ มูลท่วั ไป และสถานการณข์ องโรงเรียน

โรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร เป็นโรงเรียนในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน
พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เป็นโรงเรียนประจําจังหวัดหนองคายและเป็นโรงเรียนประเภท
โรงเรียนมัธยมขนาดใหญ่พิ เศษ ปัจจุบันจัดการศึกษาระดับมัธยมศึกษารูปแบบสหศึกษา
มีนักเรียนท้ังหมดจํานวน 3,430 คน ปัจจุบันนายธวัช บรรเลงรมย์ ดํารงตําแหน่งผู้อํานวยการ
โรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร, นายคม ราชคํา ดํารงตําแหน่งรองผู้อํานวยการฝ่ายบริหารงาน
บุคคล, นายสุทัศน์ จิประพั นธ์ ดํารงตําแหน่งรองผู้อํานวยการฝ่ายบริหารงานวิชาการ,
นายอาทิตย์ สอนกุลภักดี ดํารงตําแหน่งรองผู้อํานวยการฝ่ายบริหารงานงบประมาณ และนาย
สราวุฒิ พิมโยธา ดํารงตําแหน่งรองผู้อํานวยการฝ่ายบริหารงานท่ัวไป มีจํานวนบุคลากรจํานวน
ชาย 72 คนและหญิง 127 คน รวมท้ังหมด 199 คน ส่ วนฝ่ายบุคลากรของโรงเรียน
คอื ฝา่ ยผชู้ ่วยผู้อาํ นวยการ, ฝ่ายสนบั สนุนการสอน และกลุม่ สาระการเรียนรู้ 8 กลมุ่ สาระ ได้แก่

1. กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย
2. กลมุ่ สาระการเรียนรูค้ ณติ ศาสตร์
3. กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์
4. กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม ศาสนา และวัฒนธรรม
5. กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ุขศึกษาและพลศึกษา
6. กลมุ่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ
7. กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
8. กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาต่างประเทศ

มีการเปิดการเรียนการสอนต้ังแต่ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1-6 มีการแบ่งสายการเรียนของช้ัน
มัธยมศึกษาตอนต้นออกเป็น 5 ประเภท ได้แก่ นักเรียนท่ีมีความสามาถพิเศษเฉพาะด้าน (Gifted
Program), สู่มาตรฐานสากล (World Class Program), ส่งเสริมและพัฒนาอัจฉริยภาพด้าน
วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ (Talented Program), การเรียนการสอนตามหลักสู ตร
ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร เ ป็ น ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ (English Program) แ ล ะ ห้ อ ง เ รี ย น น า น า ช า ติ
(International Program) โดยท่ีสายการเรียนท้ัง 5 ประเภทน้ีมีการเรียนการสอนท่ีแตกต่างกัน
ท้ังรายวิชา การจัดตารางเรียน การเรียนโดยคุณครูคนไทยและคุณครูต่างชาติ ส่วนช้ัน
มัธยมศึกษาตอนปลายมีการแบ่งสายการเรียนออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ นักเรียนท่ีมีความสามาถ
พิเศษเฉพาะด้าน (Gifted Program), สู่มาตรฐานสากล (World Class Program), ส่งเสริมและ
พัฒนาอัจฉริยภาพด้านวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ (Talented Program) และห้องเรียน
นานาชาติ (International Program) โดยแผนการเรียนการสอนน้ันมีความคล้ายคลึงกับช้ัน
มัธยมศึกษาตอนต้น แต่มีความแตกต่างของโปรแกรม World Class ท่ีแบ่งสายการเรียนเป็น 2
สาย คอื วทิ ย-์ คณติ และสายศิลปภ์ าษา มีการสอนภาษาท้งั หมด 8 ภาษาด้วยกนั ไดแ้ ก่

1. ภาษาสเปน

2. ภาษาจีน

3. ภาษาญ่ปี ่นุ

4. ภาษาเกาหลี

24

SCHOOL

วชิ า สค.362 นโยบายและสวัสดิการการศึกษาสําหรบั เดก็ พิเศษ Section 810001 อาจารย์ผ้สู อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนูนวล
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563

5. ภาษาฝร่งั เศส
6. ภาษาเยอรมนั
7. ภาษาลาว
8. ภาษาเวยี ดนาม

อีกท้ัง Gifted Program ของช้ันมัธยมปลายยังมีสายการเรียนด้านกฎหมายโดยเฉพาะ
มีการเรียนการสอนท่ีเตรียมพร้อมให้เด็กนักเรียนสอบเข้าเรียนต่อในคณะนิติศาสตร์ระดับ
มหาวิทยาลัย ได้เชิญอาจารย์ด้านนิติศาสตร์มาบรรยายในห้องเรียน มีการทําศาลจําลอง
และคุณครูนําเด็กนักเรียนไปแข่งด้านวิชาการอีกมากมาย โรงเรียนยังมีการแบ่งบ้านท่ีเรียกว่า
“เฮ้าส์” ออกเป็น 5 บ้าน ได้แก่ บ้านพลอยแดง, บ้านพยับหมอก, บ้านเขียวเสวย, บ้านอินทนิล
และบ้านชัยพฤกษ์ โดยแต่ละบ้านจะมีการเก็บคะแนนบ้านคล้ายกับบ้านในภาพยนตร์แฮร่ี พอต
เตอร์ จากกิจกรรมต่าง ๆ ท่ีจัดข้ึน เช่น งานกีฬาสี, กิจกรรมบ๊ิกคลีนน่ิงเดย์, กิจกรรมวันปีใหม่
และการตรวจเครอ่ื งแตง่ กาย เป็นต้น มีคุณครปู ระจําบ้านเป็นหวั หนา้ ผู้ดูแลความเรียบร้อย

2) สวสั ดกิ าร กจิ กรรมและบริการท่มี ใี นโรงเรยี น

ในส่วนของกจิ กรรมและบริการภายในโรงเรียน อาทิ
1. บริการด้านสุขภาพ ท่ีเด็กนักเรียนสามารถเข้ารับการรักษาท่ีโรงพยาบาลโดยใช้ประกัน

สุขภาพของนักเรยี น อีกท้งั ยงั สามารถทาํ เรอ่ื งเบกิ เงนิ คืนได้ และยงั มบี รกิ ารห้องพยาบาล
สําหรับนักเรียนท่ีเจ็บป่วย จะมีพยาบาลจากหน่วยงานโรงพยาบาลท่ีทํางานร่วมกับ
โรงเรยี นเขา้ มาดูแลรกั ษานักเรยี น
2. งานบริการด้านอุบัติเหตุ โดยนักเรียนจะรับได้การประกันภัยจากบริษัทประกันท่ีทํางาน
ร่วมกันกับโรงเรียนในการท่ีให้ความคุ้มครองและสิทธิประโยชน์สูงสุดแก่โรงเรียน นักเรียน
และบุคลากรในโรงเรียนเป็นประจําทุกปี อีกท้ังยังป้องกัน ดูแล และจ่ายค่าประกันอุบัติเหตุ
หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องจะเข้ามาในความรู้นักเรียนในแต่ละปี ท้ังความรู้ในการขับข่ีรถจักยาน
ยนตใ์ หป้ ลอดภัยและการขบั ข่รี ถให้ถกู กฎจราจร
3. บริการงานแนะแนว ท่ีมีการให้ปรึกษาเก่ียวกับการศึกษาต่อท้ังมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือ
แม้แต่การศึกษาต่อระดับมหาวิทยาลัยจากคุณครูผู้เช่ียวชาญและรุ่นพี่ท่ีเป็นศิษย์เก่า ท่ีจะมี
การจัดค่ายในโรงเรียนประจําทุกปี ในการแนะนํามหาวิทยาลัยและคณะการเรียนการสอน
ของมหาวทิ ยาลัย
4. กิจกรรมวันเกียรติยศ ในช่วงเวลากลางวันมีการมอบโล่รางวัลนักเรียนดีเด่น
และประกาศนียบัตรสําหรับนักเรียนท่ีได้ผลการเรียนเกียรตินิยม ส่วนในการจัดงานตอน
กลางคืน คือเวที แสง สี เสียง มีการแสดงต่าง ๆ ของนักเรียนในโรงเรียนและมีการเชิญ
วงดนตรีท่เี ปน็ ทน่ี ยิ มของวยั รุ่นมาแสดงดนตรสี ดในงาน
5. กิจกรรมสัปดาห์วิทยาศาสตร์ประจําปี โดยมีกิจกรรมต่าง ๆ ดังน้ี การแข่งขันวาดภาพ
ระดับช้ัน ม.ต้น และ ม.ปลาย, การแข่งขันจรวดขวดน้ํา, นิทรรศการวิทยาศาสตร์
สาขาวิชาชีววิทยา เคมี ฟิสิกส์ ดาราศาสตร์, การแข่งขันตอบปัญหาวิทยาศาสตร์
ระดบั ชน้ั ม.ต้น และ ม.ปลาย, ตอบปญั หาวิทยาศาสตรท์ ว่ั ไป, การแข่งขนั เดินแฟชน่ั โชวช์ ดุ

25

SCHOOL

วิชา สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศึกษาสําหรบั เดก็ พิเศษ Section 810001 อาจารย์ผูส้ อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนนู วล
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563

Recycle อีกท้ังยังให้ความรู้เก่ียวกับวิทยาศาสตร์ และกิจกรรมท่ีนักเรียนในโรงเรียนมี
ส่วนรว่ ม
6. งานกฬี าสีภายใน ท่โี รงเรียนจัดขน้ึ เป็นประจาํ ทุกปี

ปัญหาความตอ้ งการของนกั เรยี น และนกั สังคมสงเคราะห์ในโรงเรียนท่อี ยากใหม้ สี วัสดกิ าร
เหล่าน้ี ท้ังบริการด้านจิตวิทยา (Psychological Service) ท่ีบุคลากรในโรงเรียนยังไม่ตระหนัก
และเห็นความสําคัญของบริการตรงน้ี ไม่มีนักจิตวิทยาเข้ามาให้ความช่วยเหลือในการวินิจฉัยและ
ให้การรักษาแก่นักเรียนท่ีมีปัญหาลึกซ้ึงเกินกว่าท่ีครูจะสามารถให้ความช่วยเหลือด้านอารมณ์และ
จิตใจได้ จึงจําเป็นต้องอาศัยนักจิตวิทยาหรือจิตแพทย์ช่วยบําบัดให้การรักษาตามความจําเป็น
เพราะตัวนักเรียนในโรงเรียนส่วนมากมีความเครียดจากระบบการเรียนท่ีเข้มงวด, บริการด้าน
การเงิน (Financial Services) ช่วยเหลือนักเรียนท่ีขาดแคลนทุนทรัพย์ ให้สามารถศึกษาต่อจน
จบการศึกษา, บริการการรับเข้าเรียน (Admission Services) ให้นักเรียนสามารถทราบถึง
ข้อมูลสถานศึกษาและแผนการเรียนการสอนว่ามีความเหมาะสมกับความสนใจ ความถนัดและ
ความต้องการของตนเองหรือไม่ และบริการสําหรับนักเรียนท่ีมีความพิการ ในส่วนน้ีโรงเรียนเอง
ก็ยังไม่มีสวัสดิการสําหรับเด็กพิเศษกลุ่มน้ี ซ่ึงสร้างความยากลําบากให้แก่นักเรียนท่ีมีความพิเศษ
เป็นอย่างมาก ผลท่ีเกิดกับเด็กนักเรียนส่วนใหญ่ คือการท่ีนักเรียนหลายคนไม่ถนัดในส่ิงท่ีตนเอง
เรียน หรือมีความสนใจในด้านอ่ืนมากกว่า และอาจจะมาจากความต้องการของผู้ปกครองเองท่ี
อยากให้ลูกเรียนตามใจตนเองโดยไม่คํานึงถึงความต้องการและความถนัดของเด็กนักเรียน
อีกท้ังยังมีเด็กนักเรียนอีกจํานวนมากท่ีมีความต้องการปรึกษาปัญหาท่ัวไปหรือปัญหาเก่ียวกับ
วัยรนุ่ ท่คี ณุ ครไู ม่สามารถให้การปรึกษาได้

3) การจดั สวัสดิการทเ่ี หมาะสมสําหรบั เด็กในโรงเรียน

ตัวนักสังคมสงเคราะห์ในโรงเรียนเองอยากให้มีการจัดสวัสดิการการศึกษาท่ีเหมาะสมกับ
เดก็ ในโรงเรียนใหส้ อดคล้องกับสถานการณข์ องเดก็ นักเรียนในปจั จุบัน ได้แก่

• บริการด้านจิตวิทยา (Psychological Services) โดยท่ีมีนักจิตวิทยาหรือจิตแพทย์จาก
หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องเข้ามาประจําท่ีโรงเรียน มีการจัดต้ังหน่วยบริการทางสุขภาพจิต
อย่างจริงจัง ให้การช่วยเหลือ วินิจฉัย ให้คําปรึกษาสําหรับเด็กท่ีประสบปัญหาทางด้าน
อารมณ์และจิตใจ รวมถึงการบําบัด อาจจะใช้เทคนิควิธีการรักษาเป็นรายบุคคลหรือกลุ่ม
ตามความจําเป็นและความเห็นของนักจิตวิทยาหรือจิตแพทย์ นอกจากน้ียังให้การอบรม
เก่ียวกับเร่ืองทางจิตสําหรับบุคลากรอีกด้วย และนักสังคมสงเคราะห์ควรเข้าไปมีส่วนร่วม
ในการให้คําปรึกษาเบ้ืองต้น มีการจัดห้องให้คําปรึกษาโดยเฉพาะ เพราะตัวนักเรียนใน
โ ร ง เ รี ย น ส่ ว น ม า ก มี ค ว า ม เ ค รี ย ด จ า ก ร ะ บ บ ก า ร เ รี ย น ท่ี เ ข้ ม ง ว ด ใ น ด้ า น วิ ช า ก า ร
เช่น การเรียนแผนวิทย์-คณิต, การเรียนโปรแกรม Talented ท่ีมีการแยกสายการเรียน
เป็นสายแพทย์และสายวิศวกรรม และการเรียนโปรแกรม Gifted สายกฎหมาย ท่ีนักเรียน
เองอาจจะมีความเครียดท่ีต้องเตรียมตัวหรือต้องเผชิญกับความต้องการของตนเองใน
ก า ร เ รี ย น ส า ย ก า ร เ รี ย น ต่ า ง ๆ เ ร็ ว เ กิ น ไ ป แ ท น ท่ี ค ว ร จ ะ ค่ อ ย ๆ ค้ น ห า ต น เ อ ง
อย่างค่อยเปน็ ค่อยไป

26

SCHOOL

วิชา สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศึกษาสําหรับเด็กพิเศษ Section 810001 อาจารย์ผสู้ อน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนนู วล
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563

• การช่วยเหลือในคําปรึกษา (Counseling) ในการให้คําปรึกษาน้ีจะรวมอยู่บริการด้าน
จิตวิทยาด้วย แต่จะเน้นท่ีตัวนักสังคมสงเคราะห์ท่ีทํางานกับโรงเรียนจะเข้ามามีบทบาทเป็น
หลัก การให้คําปรึกษาสําหรับนักเรียนและบุคลากร อาทิ ให้การปรึกษานักเรียนท่ีมีปัญหา
การเรียน ปัญหาครอบครัว ปัญหาวัยรุ่น ปัญหาการปรับตัว ฯลฯ อาจจะมีการทํางาน
ร่วมกับครอบครัวของนักเรียนในบางกรณี หรือร่วมกับโรงเรียนและชุมชน เช่น การอบรม
ให้ความรู้ให้กับผู้ปกครอง รวมถึงการดูแลเก่ียวกับสิทธิต่าง ๆ ของนักเรียนและบุคลากร
งานด้านนจ้ี ะเน้นให้คําปรึกษาและดแู ลด้านสิทธติ า่ ง ๆ ของนกั เรียนและบคุ ลากร

• บริการด้านการเงิน (Financial Services) ท่ีจะต้องดําเนินการโดยฝ่ายบริหารงาน
งบประมาณ สําหรับเด็กนักเรียนท่ีขาดแคลนทุนทรัพย์ โดยท่ีสามารถทําเร่ืองขอการผันค่า
เทอมเป็นกรณีพิเศษสําหรับเด็กท่ีมีฐานะยากจน และการให้ทุนการศึกษานักเรียนท่ีมีความ
ประสงค์อยากเรียนจบการศึกษาโดยไม่คํานึงถึงผลการเรียน ในตัวจังหวัดหนองคายเองมี
เด็กนักเรียนจํานวนหน่ึงท่ีไม่ต้องการท่ีจะเรียนจบในวุฒิการศึกษาท่ีสูง เพราะเด็กบางคนท่ี
อาจจะเป็นเด็กท่ีผลการเรียนไม่ดี มีความประพฤติท่ีไม่เหมาะสม แต่อยากศึกษาต่อจนจบ
เพ่ือท่จี ะได้วุฒกิ ารศึกษาไปทํางานได้ในอนาคต

• และมีอีกหน่ึงโครงการท่ีอยากจะจัดต้ังข้ึนในโรงเรียนเพื่อสวัสดิการของนักเรียน คือ
“โครงการส่ งเสริมการจัดการศึ กษาเพ่ื อพั ฒนาศั กยภาพทางวิชาการสํ าหรับเด็กท่ีมี
ความต้องการพิเศษเรียนร่วมกับเด็กปกติ” เพื่อให้เด็กท่ีมีความต้องการพิเศษประเภท
บกพร่องทางการได้ยิน บกพร่องทางการมองเห็น บกพร่องทางสติปัญญา ออทิสติก
และบกพร่องทางการเรียนรู้ สามารถพัฒนาตนเองตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ
ร่วมกับเด็กปกติท่ัวไปในช้ันเรียน โรงเรียนจึงต้องเห็นความสําคัญท่ีจะต้องเร่งพัฒนา
ครูผู้สอนและบุคลากรในโรงเรียน รวมถึงพัฒนาหลักสูตรการสอนให้มีประสิทธิภาพและ
เกิดประสิทธิผลมากท่ีสุด เพื่อส่งผลให้เด็กท่ีมีความต้องการพิเศษสามารถพัฒนาตนเอง
เต็มตามศักยภาพ เป็นบุคคลมีคุณภาพ โดยกําหนดเป็นกิจกรรมท่ีจะดําเนินการรองรับ
โครงการจาํ นวน 3 กิจกรรม คือ
1. กิจกรรมอบรมครูผู้สอนเขียนแผนการสอนเฉพาะบุคคล (IEP) ท่ีต้องมีการเข้มงวด
และพัฒนาหลักสูตรใหเ้ ขา้ กับเด็กพิเศษ
2. กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อนในการเรียนในห้องเรียนท่ีมีท้ังเด็กปกติและเด็กพิเศษ ให้มี
การช่วยเหลือกันระหว่างเด็กนักเรียน นักสังคมสงเคราะห์จะเข้าไปมีบทบาทในการให้
ความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับกลุ่มเด็กพิเศษให้เด็กปกติ เพื่อให้เกิดความเข้าใจและสร้าง
มิตรภาพท่ีดีกับเด็กพิเศษ ไม่มองเด็กพิเศษว่าแปลกแยกจากตนเอง มีการช่วยเหลือ
ซ่งึ กนั และกนั
3. กิจกรรมชุมนุมสร้างสรรค์ชีวิต ท่ีมีกิจกรรมท่ีเหมาะสม ให้กับเด็กพิเศษในการนันท
การเรียนรู้พัฒนาทักษะชีวิตเพ่ือท่จี ะได้ช่วยเหลอื ตนเองได้

และอยากให้มีการจัดสวัสดิการสําหรับเด็กพิเศษโดยเฉพาะ ถึงแม้จํานวนเด็กนักเรียนท่ี
เป็นเด็กพิ เศษจะมีจํานวนน้อยมาก แต่เด็กเหล่าน้ีก็เหมือนกับเด็กนักเรียนท่ัวไป ท่ี

27

SCHOOL

วิชา สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศึกษาสําหรบั เด็กพิเศษ Section 810001 อาจารยผ์ ูส้ อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนูนวล
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563

บุคลากร คุณครู และเพื่อนให้ความสําคัญกับเด็กเหล่าน้ี ท้ังสวัสดิการพ้ืนฐานสําหรับเด็ก
พิเศษ การปรับสภาพแวดล้อมของโรงเรียน เช่น ทางสําหรับวิลแชร์, บันไดข้ึนลงอาคาร
หรือลิฟท์สําหรับผู้พิการ เป็นต้น บริการด้านการฟ้ ืนฟู สมรรถภาพ ท้ังด้านร่างกาย
อารมณ์ และจิตใจทผ่ี บู้ รหิ ารและบคุ ลากรควรสนับสนนุ เปน็ อย่างมาก

28

SCHOOL

วชิ า สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศึกษาสําหรับเดก็ พิเศษ Section 810001 อาจารย์ผู้สอน ผศ.ดร.ป่ ินหทัย หนูนวล
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563

ชญานนท์ ครองราชย์ 6105610692

การออกแบบสวัสดิการทางการศึกษาในโรงเรยี นสุราษฎรพ์ ิทยา

โรงเรียนสุราษฎร์พิ ทยา เป็นโรงเรียนสหศึกษาระดับมัธยมศึกษา เปิดสอนต้ังแต่ระดับช้ัน
มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ต อ น ต้ น ถึ ง ร ะ ดั บ มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ต อ น ป ล า ย ใ น ร ะ ดั บ ก า ร ศึ ก ษ า ต้ั ง แ ต่ มั ธ ย ม ศึ ก ษ า
ช้นั ปที ่ี 1 - 6 ในเขตพื้นท่บี รกิ ารอําเภอเมืองสุราษฎร์ธานี
สังกัด : สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน
พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
พันธกจิ :
1) พัฒนานักเรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล มีความเป็นเลิศ ทันต่อการเปล่ียนแปลงใน
ศตวรรษท่ี 21
2) ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ และมีวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียง
3) พัฒนาระบบบริหารจัดการโรงเรียนด้วยระบบคุณภาพ มุ่งสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้
ข้อมูลครูและบุคลากร : ปัจจุบันโรงเรียนสุราษฎร์พิทยามีคณะครู-อาจารย์ผู้สอนรวมท้ังหมด 135
คน ครูอัตราจ้าง 7 คน และมีห้องเรียนท้ังหมดจํานวน 72 ห้อง และครูท่ีปรึกษามีจํานวนประมาณ
1-2 คนตอ่ 1หอ้ งในแตล่ ะระดับชน้ั โดยสามารถแสดงตารางจําแนกบุคลากรได้ ดงั น้ี

29

SCHOOL

วชิ า สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศึกษาสําหรับเด็กพิเศษ Section 810001 อาจารย์ผสู้ อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทัย หนนู วล
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563

ข้อมูลนักเรียน : มีจํานวนนักเรียนท้ังหมด 2,804 คน สามารถแสดงตารางนักเรียนในแต่
ละระดับช้นั เรียนได้ ดังน้ี

ท่ีมา : รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self – Assessment Report :
SAR-2562)
โรงเรียนสุราษฎร์พิทยาเป็นโรงเรียนท่ีมีความโดดเด่นในด้านโครงงานวิทยาศาสตร์ และมุ่งเน้น
ส่งเสริมความรู้ทางวิชาการและส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพของนักเรียนในวิชาคณิตศาสตร์และ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซ่ึงมีห้องปฏิบัติการโครงงานวิทยาศาสตร์ โดยมีเคร่ืองมืออุปกรณ์
การเรียนท่ีใช้ได้จริง นอกจากน้ียังพบว่ามีการส่งเสริมนักเรียนในด้านกิจกรรมท่ีมุ่งเน้นการ
แข่งขันทางวิชาการ เช่น การสอบแข่งขันค่ายสอวน. การแข่งศิลปหัตถกรรมภาคใต้ การแข่งขัน
โครงงานวิทยาศาสตร์ เป็นต้น และในหน่ึงห้องเรียนจะมีนักเรียนจํานวนท้ังหมดประมาณ 50 คน
โดยสามารถแบ่งการเรียนการสอนได้ ดงั น้ี

ระดับช้นั มธั ยมศึกษาตอนต้น
• ห้องเรยี นทว่ั ไป (ห้อง 1-6) จํานวน 6 ห้อง

• ห้องเรียนพิเศษสามภาษา (Multilanguage Program: MLP) (หอ้ ง 7-8) จํานวน 2 ห้อง

• ห้ อ ง เ รี ย น พิ เ ศ ษ ส่ ง เ ส ริ ม ค ว า ม เ ป็ น เ ลิ ศ ท า ง ด้ า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ค ณิ ต ศ า ส ต ร์
และภาษาอังกฤษแบบเข้มข้น (Science Mathematics Bilingual Program: SMBP)
(หอ้ ง 9) จํานวน 1 หอ้ ง

• ห้องเรียนพิเศษส่งเสริมความเป็นเลิศทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี
(Enriched Science and Technology: EST) (ห้อง 10-11) จํานวน 2 ห้อง

ระดับชน้ั มัธยมศึกษาตอนปลาย
• แผนการเรยี นภาษาจนี ภาษาไทย และภาษาองั กฤษ (ห้อง 1-2) จาํ นวน 2 ห้อง

• แผนการเรียนภาษาไทย-สังคมศึกษา (ห้อง 3) จาํ นวน 1 หอ้ ง

• แผนการเรยี นคณิตศาสตร-์ ภาษาองั กฤษ (ห้อง 4-5) จาํ นวน 2 ห้อง

• แผนการเรยี นวทิ ยาศาสตร-์ คณติ ศาสตร์ (ห้อง 6-8) จํานวน 2 หอ้ ง

30

SCHOOL

วชิ า สค.362 นโยบายและสวสั ดิการการศึกษาสําหรับเด็กพิเศษ Section 810001 อาจารย์ผู้สอน ผศ.ดร.ป่ นิ หทัย หนูนวล
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563

• ห้องเรียนพิเศษส่งเสริมด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ (Science
Mathematics and English : SME) (หอ้ ง 9-10) จาํ นวน 2 หอ้ ง

• ห้องเรียนพิเศษส่งเสริมความเป็นเลิศด้านวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ (Gifted Science
Program: GSP) (หอ้ ง 11-12) จํานวน 2 ห้อง

• ห้องเรียนพิเศษส่งเสริมความเป็นเลิศด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และ
ส่ิ ง แ ว ด ล้ อ ม ( Science, Mathematics, Technology and Environment: SMTE)
(หอ้ ง 13) จาํ นวน 1 หอ้ ง

1. สถานการณ์เด็กในโรงเรียน : จากข้อมูลเบ้ืองต้นของโรงเรียนและจากการสัมภาษณ์ผู้ท่ีมีส่วน
เก่ียวข้องกับโรงเรียนสุราษฎร์พิทยา พบว่าโรงเรียนมีความมุ่งเน้นไปท่ีผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการเป็น
อย่างมาก และให้ความสําคัญต่อสายการเรียนวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ โดยเฉพาะมุ่ง
ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ให้แก่เด็กนักเรียนห้องโครงการพิเศษ ซ่ึงทําให้เด็ก
นักเรียนในห้องท่ัวไปไม่ได้รับการส่งเสริมทางการศึกษาท่ีเท่าเทียม ส่งผลให้นักเรียนห้องการเรียน
ท่ัวไปถูกลดทอนบทบาทและคุณค่าทางสังคมในโรงเรียน เด็กนักเรียนถูกมองข้ามและไม่ได้รับการ
ส่งเสรมิ ศักยภาพในด้านท่ตี นถนดั มากนัก นอกจากน้ี มปี ญั หาทพ่ี บในโรงเรียน ดงั ต่อไปน้ี
- การศึกษาของนักเรียนห้องปกติท่ัวไป ท่ีพบคือการเรียนการสอนตามหลักสูตรตําราของ
กระทรวงศึกษาธิการหรือตามหลักสูตรแกนกลางท่ีสอนเน้ือหาท่ีไม่สามารถนําไปปรับใช้ในชีวิตจริง
ได้ และทําให้นักเรียนช้ันมัธยมปลายมีความรู้ไม่เพียงพอต่อการนําความรู้ท่ีได้จากโรงเรียนไปสอบ
เข้าต่อในระดับมหาวิทยาลัย ทําให้เด็กนักเรียนส่วนมากต้องเรียนพิเศษควบคู่ไปด้วย ส่งผลต่อท้ัง
สุขภาพกายและสุขภาพจิต นกั เรยี นไม่มเี วลาวา่ งท่เี พียงพอในการนาํ ไปใชท้ าํ อย่างอน่ื
- คุณครูจะให้ความสนใจเด็กเรียนเก่งและส่งเสริมเฉพาะเด็กเก่ง ส่งผลให้บรรยากาศในห้องเรียน
ไมไ่ ด้ส่งเสรมิ ให้เกดิ การเรียนรู้ เด็กคนอ่นื ๆ โดนกีดกันความสามารถของตน การถกู ทําให้เป็นอ่นื
- การบังคับใช้กฎระเบียบท่ีเข้มงวดและเกินความจําเป็น เช่น การบังคับใช้กฎระเบียบในเร่ืองการ
แต่งกายและทรงผม การจดรายช่ือนักเรียนท่ีมาเรียนสายหรือนักเรียนท่ีไม่เข้าแถว เพื่อนําไปสู่
การทําโทษนกั เรยี น
- โรงเรียนเน้นการสร้างช่ือเสียง เน้นการแข่งขันและผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษา การจัดระดับของ
โรงเรียน
- ครูขาดการมีปฎิสัมพันธ์ท่ีดีต่อเด็ก รวมไปถึงมีการตัดสินเด็กนักเรียนบางคนในด้านลบไม่รับ
ฟงั ในเหตุผลของนักเรียน ซ่ึงส่งผลเสียต่อนักเรียน ทําให้นักเรียนไม่กล้าท่ีจะบอกเล่าพูดคุยกับครู
เม่อื พบปญั หา ไม่ไวใ้ จครู
- เด็กขาดแรงจูงใจในการเรียน เน่ืองจากเหตุผลบางอย่างเช่น การโดนละเลยจากครู เพื่อนใน
หอ้ ง งานเยอะเกินไป ขาดความสุขในการเรียน ทําใหเ้ ด็กไมส่ ่งงานตามกําหนดการ
- การกําหนดเกณฑ์เกรดเฉล่ียเพื่อการใช้โควต้าศึกษาต่อในระดับช้ัน ม.ปลายของนักเรียนช้ัน
มัธยมศึกษาช้ันปีท่ี 3 ซ่ึงทําให้ให้นักเรียนเกิดความเครียดในการทําเกรดให้ถึงเกณฑ์ท่ีกําหนดไว้
เพ่ือทจ่ี ะสามารถเรยี นต่อและเลือกแผนการเรยี นทต่ี นสนใจในระดับชน้ั ม.ปลาย ดังน้ี

31

SCHOOL

วิชา สค.362 นโยบายและสวัสดิการการศึกษาสําหรับเด็กพิเศษ Section 810001 อาจารย์ผู้สอน ผศ.ดร.ป่ ินหทัย หนนู วล
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563

เกณฑ์การพิจารณาคดั เลือกนักเรียน ม.3

แผนการเรยี น เกรดเฉลย่ี สะสม(GPAX) เกรดเฉลย่ี วชิ าเฉพาะ

1. แ ผ น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ 3.00 ขน้ึ ไป 1. คณิตศาสตร์ ไมต่ ่าํ กวา่ 3.00

คณติ ศาสตร์ 2. วิทยาศาสตร์ ไม่ตา่ํ กวา่ 3.00

2. แ ผ น ค ณิ ต ศ า ส ต ร์ 3.00 ขน้ึ ไป 1. คณติ ศาสตร์ ไมต่ ่าํ กว่า 3.00

ภาษาองั กฤษ 2. ภาษาองั กฤษ ไมต่ า่ํ กวา่ 3.00

3. แผนภาษาไทย สั งคม2.75 ขน้ึ ไป 1. ภาษาไทย ไม่ตา่ํ กวา่ 2.50

ศึกษา 2. สังคม ไม่ต่าํ กวา่ 2.50

4. แผนภาษาจีน ภาษาไทย2.75 ข้นึ ไป 1. ภาษาอังกฤษ ไมต่ า่ํ กวา่ 3.00

ภาษาองั กฤษ 2. ภาษาไทย ไมต่ า่ํ กวา่ 2.50

2. สวสั ดิการ กิจกรรม และบริการของโรงเรยี นท่พี บ มดี งั น้ี
- การสอนซ่อมเสริม เข้าค่ายติวเข้มแนวข้อสอบ o-net เพื่อเพ่ิมระดับคะแนนและผลสัมฤทธ์ิทาง
วชิ าการของโรงเรียน ดําเนินการโดยครปู ระจําชน้ั เรยี นและครใู นระดับ
- สถานศึกษามีความพร้อมในเร่ืองเทคโนโลยีเพื่ อการเรียนการสอน เช่น โปรเจคเตอร์
คอมพิวเตอร์ ทวี ี อุปกรณ์ทางวทิ ยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์พกพา (โนต้ บุ๊คส์)
-การจดั ประชมุ ผปู้ กครอง รวมถงึ การแตง่ ตง้ั สมาคมผ้ปู กครองในแต่ละระดบั ช้นั
-ทัศนศึกษา ท่ีส่งเสริมให้นักเรียนได้มีการเรียนรู้ภายนอกห้องและได้ทํากิจกรรมนอกห้องเรียน
ร่วมกบั เพ่ือนๆและครู ส่งเสริมความสัมพันธ์ท่ดี ี ดาํ เนินการโดยครปู ระจําช้นั เรียน
- มีการจัดต้ังชมรม ท่ีมุ่งให้นักศึกษาได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ โดยการเปิดโอกาสให้นักเรียน
ได้ร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรตามความสนใจของตนและส่งเสริมศักยภาพของตน เช่น ชมรม
ดนตรี ชมรมภาษา ชมรมTobe1 เปน็ ตน้
- จัดติวแก่นักเรียนช้ันม.3 และม.6 เพ่ืออํานวยความสะดวกให้นักเรียนได้อบรมความรู้ เพิ่มเติม
จากการเรียนเพ่ือนําไปใช้สอบเข้าตอ่ ไป
- บริการสุขภาพ เช่น คลินิกสุขภาพ การฉีดวัคซีน การตรวจสุขภาพ มีห้องพยาบาลไว้รองรับ
นกั เรียน บันทกึ สถิตกิ ารรักษาตามอาการปว่ ย เช่นดังกราฟตอ่ ไปน้ี

32

SCHOOL

วชิ า สค.362 นโยบายและสวสั ดิการการศึกษาสําหรับเดก็ พิเศษ Section 810001 อาจารยผ์ ูส้ อน ผศ.ดร.ป่ ินหทัย หนูนวล
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563

- ทุนการศึกษาท่ีมอบให้แก่นักเรียนท่ีมีผลการเรียนดี เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนนักเรียนท่ีขาด
แคลน โดยในการสมัครทนุ ดังกลา่ ว จะต้องมีเกรดเฉลย่ี ตามเกณฑข์ องการขอรับทุน
- มีแนะแนวการศึกษา จัดกิจกรรมแนะแนวอาชีพแก่นักเรียนช้ัน ม.ปลายโดยการเชิญรุ่นพ่ีศิษย์
เก่ามาบอกเล่าประสบการณ์การเรียนต่อและทํางาน การประชาสัมพันธ์ทางวิชาการรวบรวมข้อมูล
ให้แก่นักเรียนเก่ียวกับโควต้าการศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย ดําเนินการโดยครูแนะแนวของช้ัน
ม.ปลาย
- การจัดกิจกรรมทางศาสนาตามวันสําคัญทางศาสนาตามหลักวิถีพุทธ ส่งเสริมให้เด็กนักเรียนมี
คุณธรรมและจริยธรรมอันดีงาม เช่น ทําบุญตักบาตร ทําความสะอาดวัด ดําเนินการโดยหัวหน้า
ระดบั และครปู ระจําช้นั
- อาหารทถ่ี ูกสุขอนามยั มรี ้านอาหารทห่ี ลากหลายและเพียงพอตอ่ จาํ นวนนักเรียน
- การจัดประชุมผู้ปกครอง ประชุมเทอมละ 1 คร้ังก่อนเปิดภาคเรียน ดําเนินการโดยครูประจําช้ัน
เรยี นแตล่ ะหอ้ งเรยี น โดยจะมกี ารนดั หมายผปู้ กครองเพื่อมาประชุม
- ห้องสมดุ สนามบาส สนามบอล โรงยมิ และห้องกจิ กรรมส่งเสริมพัฒนาผเู้ รยี น เป็นต้น

3. ออกแบบสวัสดิการท่เี หมาะสมสําหรบั เดก็ ในโรงเรยี นสุราษฎรพ์ ิทยา
- ครูแต่ละวิชาควรมีการจัดการเรียนการสอนแบบ Active learning เน้นการพัฒนาการเรียนรู้
ตามศักยภาพของผู้เรียน โดยให้นักเรียนเป็นจุดศูนย์กลางของการเรียนรู้ และครูควรปฏิบัติต่อ
นักเรียนทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน นักเรียนได้ฝึกลงมือปฏิบัติจริง การเรียนการสอนไม่ได้เป็น
เพียงแค่การป้อน-รับความรู้เพียงอย่างเดียวในห้องเรียน และการเรียนการสอนไม่ควรเป็นแบบ
ท่องจํา เด็กนักเรียนควรท่ีจะได้สัมผัสและเรียนรู้ร่วมกันและเกิดการโต้ตอบทางความคิด
เพ่ือก่อใหเ้ กดิ การเรยี นรอู้ ย่างแท้จรงิ เป็นตน้
- ส่งเสริมให้มีนักสังคมสงเคราะห์ในโรงเรียนน้ี เพ่ือทําหน้าท่ีในการให้คําแนะนํา ให้การปรึกษา
รวมถึงคอยสอดส่องสังเกตพฤติกรรมต่าง ๆ ของนักเรียนท่ีมีแนวโน้มว่าอาจมีความเครียดหรือ
การมีพฤติกรรมท่ีแปลกไปของนักเรียนเพ่ือท่ีจะสามารถเข้าช่วยนักเรียนได้อย่างรวดเร็ว นักเรียน
สามารถได้รับการบําบัด มีผู้เช่ียวชาญในการรับฟังและให้คําปรึกษาแก่ตน คอยให้กําลังใจ

33

SCHOOL

วชิ า สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศึกษาสําหรบั เด็กพิเศษ Section 810001 อาจารยผ์ สู้ อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทัย หนูนวล
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563

เข้าใจในอารมณ์ความคิดและความต้องการของนักเรียนและสามารถพัฒนาอาการหรือพฤติกรรม
ให้ดีขน้ึ ได้
- ส่งเสริมการค้นหาตนเอง รับรู้ตัวตนของตัวนักเรียนเอง เพราะว่าสายการเรียนอ่ืน ๆ
ถูกลดทอนคุณค่าลง เน่ืองจากเป็นโรงเรียนท่ีให้ความสําคัญกับวิทย์-คณิตทําให้นักเรียนบางส่วน
ไม่สามารถได้รับการส่งเสริมในด้านอ่ืน ๆ อย่างเด่นชัด ไม่สามารถค้นหาตนเองเจอว่าตนชอบและ
ถนัดด้านใดเป็นพิเศษ จนทําให้ต้องฝืนเรียนหนักในวิชาทางวิทย์คณิตท่ีมีความยากและเครียด
การแข่งขันและความกดดันในการเรียน การเรียนพิเศษเพ่ิมเติมจากท่ีโรงเรียน ซ่ึงทําให้ส่งผลต่อ
สุขภาพจิตของนักเรียนเป็นอย่างมาก และเด็กไม่ได้รับการสนับสนุนอย่างเด่นชัดในด้านอ่ืน ๆ
มากเท่าท่ีควร ดังน้ันควรมีการปรับรูปแบบหรือเน้ือหาให้เหมาะสมตามความถนัดของเด็กนักเรียน
โดยนักเรียนสามารถร่วมออกแบบการเรียนการสอนท่ีเหมาะกับความชอบและความถนัดของ
ตนเองได้
- งานสัมพันธ์บ้าน โรงเรียน และชุมชนในการเย่ียมบ้านของนักเรียนเพ่ือสังเกตแวดล้อมความ
เป็นอยู่ สถานการณ์ของเด็กที่บ้านเป็นอย่างไร เด็กนักเรียนมีความสัมพันธ์ต่อและครอบครัวและ
ชมุ ชนยงั ไง
- สมุดบันทึกพฤติกรรม เช่น พฤติกรรมของเด็กในโรงเรียนท่ีทําให้ครูได้สื่อสารกับผู้ปกครอง
อย่างแท้จริง ไม่ใช่เพียงแค่เขียนรายงานข้อมูลท่ัว ๆ ไป เพื่อนําข้อมูลไปทําการช่วยเหลือป้องกัน
แก้ไข ส่งเสริมจิตใจของเด็กได้รับการดูแล หรือในสมัยน้ีพ่อแม่กับครูสามารถติดต่อกันได้ง่ายข้ึน
ด้วยเทคโนโลยีท่ีทันสมัย อาจจะมีการสร้างไลน์กลุ่มไว้ให้ครูกับผู้ปกครองได้คุยกัน ทําให้พ่อแม่
รับรูพ้ ฤตกิ รรมของลกู ท่โี รงเรยี นไดส้ ะดวกและรวดเร็วข้นึ
- ควรมีห้องแนะแนวทใ่ี หค้ าํ ปรกึ ษา เพื่อให้เดก็ นกั เรยี นไดม้ พี ้ืนทใ่ี นการระบายหรือการขอคําปรึกษา
โดยมีบุคลากรและผู้เช่ียวชาญในการแนะแนว และให้คําปรึกษา เช่น นักจิตวิทยาหรือจิตแพทย์ นัก
สังคมสงเคราะห์ ให้ความช่วยเหลือนักเรียนท่ีอาจประสบปัญหาทางพฤติกรรมอารมณ์และจิตใจ
หรือมีความเครียดจากการเรียน ปัญหาอ่ืน ๆ การให้คําแนะนําด้านการปรับตัวในโรงเรียน อาจใช้
เ ท ค นิ ค ห รื อ วิ ธี ก า ร รั ก ษ า เ ป็ น ร า ย บุ ค ค ล ห รื อ ก ลุ่ ม ก็ ไ ด้ ต า ม ค ว า ม จํ า เ ป็ น แ ล ะ ค ว า ม เ ห ม า ะ ส ม
เพ่ือส่งเสริม ป้องกัน แก้ไข และช่วยให้นักเรียนได้สํารวจและทําความเข้าใจในตนเองได้มากข้ึนและ
เพื่อให้เด็กสามารถส่ือสารต่อครอบครวั ครู มากข้นึ
- นอกจากน้ีควรท่ีจะให้มีการจัดการอบรมและให้คําปรึกษาเก่ียวกับเร่ืองทางจิตวิทยาแก่ครูเพ่ือ
ส่งเสริมในการเข้าใจเด็กมากข้ึน จิตใจของเด็กนักเรียนควรได้รับการดูแลเอาใจใส่ มีคนคอยเข้าใจ
ในความแตกต่างของตน และเพ่ือส่งเสริมให้บรรยากาศการเรียนในห้องดีข้ึน ครูพยายาม
หลีกเล่ียงการใช้วาจาตําหนิ ว่ากล่าวรุนแรง หรือทําให้เด็กอับอายขายหน้า มีการให้คําชมเชย
หรือรางวัล เม่ือเด็กปฏิบัติตัวดี การให้คุณค่าแก่เด็กและท่ีสําคัญคือหลีกเล่ียงการตี หรือการ
ลงโทษ เม่ือเด็กกระทําผิด ควรพู ดคุยกันด้วยเหตุและผลเพ่ือนําไปสู่การมีสัมพันธภาพท่ีดีระหว่าง
เด็กและครู ทาํ ให้เด็กมคี วามเชอ่ื ม่นั และกลา้ ทจ่ี ะปรึกษาครไู ด้มากข้นึ เม่อื เกิดปัญหา

- บทบาท หน้าท่ีนักสังคมสงเคราะห์ในโรงเรียน : มีส่วนร่วมในการออกแบบกิจกรรมให้สอดคล้อง
ท้ังในมิติกาย สังคม อารมณ์ รวมถึงการจัดอบรมแก่ครูและผู้ปกครองในการส่งเสริมการรับรู้และ
เข้าใจพฤติกรรม อารมณ์จิตใจและสังคมของเด็กนักเรียน รวมถึงควรมีการคอยสังเกต
พฤติกรรม อารมณ์และสังคมโดยรอบของนักเรียนอยู่เสมอ คอยส่งเสริมให้นักเรียนได้สํารวจและ
มีความเข้าใจในตนเองไดม้ ากขน้ึ จัดกล่มุ พูดคุยของนักเรียนในการแลกเปล่ยี นประเดน็ ของตนเอง

34

SCHOOL

วชิ า สค.362 นโยบายและสวัสดิการการศึกษาสําหรบั เดก็ พิเศษ Section 810001 อาจารยผ์ ้สู อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทัย หนนู วล
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563

มีการให้ความช่วยหลือในด้านการปรับตัว โดยนักสังคมสงเคราะห์ต้องตระหนักเสมอว่า
กระบวนการปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์ควรมีความเช่ือมโยงสัมพั นธ์ระหว่างมนุษย์และ
ส่ิงแวดล้อม ชุมชนและโรงเรียน นักสังคมสงเคราะห์ประสานงานร่วมกับครอบครัวและโรงเรียนใน
การสร้างความม่ันคงทางจิตใจและส่งเสริมการสร้างสัมพั นธภาพร่วมกันของเด็กและครู
ผู้ปกครอง ชุมชน และมีความเข้าใจต่อกัน เช่น การเปิดกลุ่มย่อยในการพู ดคุย ทําหน้าท่ีร่วมกับ
ทางครอบครัวและโรงเรียนรวมถึงชุมชน เพ่ือค้นหาสาเหตุและร่วมหาแนวทางป้องกันและแก้ไข
ปญั หาทอ่ี าจส่งผลตอ่ เด็ก
บทบาทของโรงเรียน : ลดความตึงเครียดทางการศึกษาลง ลดการเข้มงวดในกฎระเบียบท่ีไม่
สมเหตุสมผล ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ส่งเสริมให้เด็กนักเรียนได้ใช้เวลาว่างพักผ่อนหรือค้นหา
ตนเอง ส่งเสริมกจิ กรรมนนั ทนาการ เป็นตน้

35

SCHOOL

วชิ า สค.362 นโยบายและสวสั ดิการการศึกษาสําหรบั เด็กพิเศษ Section 810001 อาจารยผ์ ู้สอน ผศ.ดร.ป่ ินหทัย หนูนวล
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2563

ชไมธร จิตม่นั 6105610700

การออกแบบสวัสดกิ ารการศึกษา : มมุ มองและขอ้ เสนอของนกั สังคมสงเคราะห์

กรณีศึกษา : โรงเรียนปราจณิ ราษฎอาํ รงุ (ป.ร.อ.)

สถานทต่ี ้งั : อ.เมอื ง จังหวดั ปราจนี บุรี
สังกัด: สํานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามัธยม เขต 7
ขนาดของโรงเรียน: เปน็ โรงเรยี นมธั ยมศึกษาขนาดใหญพ่ ิเศษ
จํานวนนักเรียนและจํานวนบุคลากร: มีจํานวนนักเรียนประมาณ 3,442 คน แบ่งเป็นมัธยมต้น
1,590 คน มัธยมปลาย 1,852 คน มีจํานวนบคุ ลากรในโรงเรียนประมาณ 229 8น
เปดิ สอนต้งั แต่ระดบั : มัธยมศึกษาปที ่ี 1 – 6
สถานการณ์เด็กในโรงเรียน : เด็กส่วนใหญ่เป็นเด็กท่ีผู้ปกครองมีทุนทรัพย์ แต่ด้วยความท่ี
โรงเรียนมีจํานวนนักเรียนมากเกินไป ไม่สอดคล้องกับจํานวนบุคลากรในโรงเรียน ทําให้ไม่สามารถ
ดูแลนักเรียนได้อย่างท่ัวถึง ทางโรงเรียนมีวิชาแนะแนวแต่อาจารย์ประจําวิชาจํานวน 2 ท่าน ทําให้
นักเรียนไม่สามารถเข้าถงึ การขอความชว่ ยเหลอื ได้ทกุ คน
กิจกรรม / บริการทม่ี ี

1. กิจกรรมนันทนาการ จะปรับเปล่ียนไปทุกปีข้ึนอยู่กับกรรมการนักเรียนจะเขียน
โครงการอะไรข้ึนมา เช่น ปีการศึกษาในขณะท่ีนักศึกษาได้ศึกษาอยู่น้ันมีการจัดการ
แข่งขันกีฬานักเรียน โดยจะให้นักเรียนจัดต้ังทีมข้ึนมา เพื่อแข่งขันในประเภทกีฬาท่ี
ตนและทีมสนใจ ชิงทุนการศึกษา 10,000 บาท ประเภทของกีฬามีหลากหลายให้
เ ลื อ ก เ ช่ น ฟุ ต บ อ ล ว อ ล เ ล ย์ บ อ ล ช า ย ห า ด แ บ ด มิ น ตั น ปิ ง ป อ ง
ตระกรอ้ เปน็ ต้น

2. สัปดาห์วิชาการ ให้แต่ละกลุ่มสาระโชว์ผลงานและมีกิจกรรมให้นักเรียนเข้าร่วม
เพื่อคน้ หาศักยภาพของตนเอง

3. ทุนกยศ. มีอาจารย์ประจําโครงการเป็นผู้ดําเนินโครงการและทําการคัดเลือก
นักเรียนท่มี คี วามจาํ เป็น

4. อาจารยท์ ป่ี รึกษา : มคี าบ Home Room คอยเช็ควา่ มนี ักเรยี นขาดหรอื ไม่ อพั เดท
กจิ กรรมท้งั ในและนอกโรงเรยี น พูดคุยเร่อื งท่วั ไป

36

SCHOOL

วชิ า สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศึกษาสําหรบั เด็กพิเศษ Section 810001 อาจารย์ผู้สอน ผศ.ดร.ป่ ินหทัย หนูนวล
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563

5. มีคาบประชุมระดับ : เป็นคาบเรียนท่ีเอาไว้อัพเดทกิจกรรมในและนอกโรงเรียน
หรือถ้าเป็นของช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ก็จะมีการจ้างติวเตอร์ข้างนอกเข้าสอน
สําหรับการสอบระดบั ชาติ (GATPAT , O-NET)

การจัดสวัสดกิ าร
กิจกรรม/บริการท่ีอยากให้เกิดข้ึน : จากท่ีได้ศึกษาในร้ัวของโรงเรียนคิดว่าควรมีนักสังคม

สงเคราะห์หรือนักจิตวิทยาในโรงเรียนเพ่ือให้บริการนักเรียนได้ตรงจุด สามารถให้คําปรึกษาถึง
ปัญหา ให้คําแนะนํากับนักเรียน ครอบครัว บุคลากรในโรงเรียนโดยตรง ช่วยเหลือในด้าน
ผู้ใช้บริการต้องการความช่วยเหลือ เพราะนักศึกษามองว่า การแข่งขันทางการศึกษาสูงข้ึนทุกปี
หรือเด็กบางคนอาจมีปัญหาในชีวิตท่ีตัวเค้าเองมากว่าเป็นปัญหาใหญ่มาก ๆ แต่คนภายนอก
อาจจะมองว่าเป็นเร่ืองนิดเดียว ก็ไม่กล้าท่ีจะเดินเข้าไปปรึกษาใคร อาจจะเป็นกิจกรรมกลุ่มท่ีให้
นักเรียน ผู้ปกครอง บุคลากรในโรงเรียน เข้ามาแลกเปล่ียนความคิดเห็น เล่าถึงปัญหาท่ีกําลัง
เผชิญ หรือปัญหาท่ีผ่านไปได้แล้ว เปรียบเสมือนเป็นโครงการเพ่ือนช่วยเพื่อน โดยอาจจะดําเนิน
โครงการหลังเลิกเรียนหรือวันเสาร์ - อาทิตย์ โดยมีผู้ดําเนินโครงการเป็นนักสังคมสงเคราะห์
หรือนักจิตวิทยา เน่ืองจากเป็นผู้เช่ียวชาญและความสามารถเข้าถึงการให้ความช่วยเหลือได้อย่าง
ตรงจดุ

37

SCHOOL

วิชา สค.362 นโยบายและสวสั ดกิ ารการศึกษาสําหรับเด็กพิเศษ Section 810001 อาจารย์ผสู้ อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทยั หนูนวล
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2563

ธวชั ชัย กลู หลกั 6105680117

“โรงเรยี นบ้านประจัน จงั หวดั ปัตตานี”

สถานการณ์

โรงเรียนบ้านปะจัน ตําบลปะจัน อําเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษาประถมศึกษาปัตตานี เขต 2 เป็นโรงเรียนขนาดเล็กเปิดสอนในระดับช้ันอนุบาลถึง
ระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 มีนักเรียนระดับช้ันอนุบาล 89 คน 4 ห้องเรียน และระดับช้ัน
ประถมศึกษา 149 คน 6 ห้องเรียน รวมท้ังสิ้น 232 คน 10 ห้องเรียน มีบุคลากรทางการศึกษา
26 คน เป็นผู้บริหาร 1 คน ข้าราชการครู 10 คน พนักงานราชการ 5 คน ธุรการ 1 คน วิทยากร
อิ ส ล า ม ศึ ก ษ า 3 ค น นั ก ก า ร ภ า ร โ ร ง 1 ค น พ นั ก ง า น รั ก ษ า ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย 2 ค น
และ แม่ครัว 3 คน มีวิสัยทัศน์ในการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานควบคู่อิสลามศึกษาสอดคล้องกับ
อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม มีคุณภาพตามเกณฑ์มากท่านสภาพแวดล้อมน่าอยู่ก้าวทันเทคโนโลยี
มุ่งสู่อาเซียนและภายใต้ความร่วมมือของชุมชน มีคําขวัญของโรงเรียนท่ีว่า “โรงเรียนน่าอยู่
คณุ ครูแสนดี นักเรียนมีคณุ ภาพ”

บทบาทหน้าท่ีของบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนบ้านประจันหลัก ๆ เป็นไปตามบทบาท
หน้าท่ีท่ัวไป คือ การจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา วิเคราะห์ผู้เรียน จัดกิจกรรมให้นักเรียน
ได้ฝึกปฏิบัติฝึกคิดวิเคราะห์โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบลงมือทํา (Active Learning) การดูแล
นักเรียน ส่งเสริมศักยภาพการเรียนรู้ท้ังด้านวิชาการและการดําเนินชีวิต ผ่านรูปแบบการสอน
กิจกรรม โครงการ บริการต่าง ๆ ท่ีสถานศึกษากําหนด และบทบาทหน้าท่ีของบุคลากรใน
โรงเรียนแห่งน้ีท่ีสํ าคัญเป็นพิ เศษคือการทําให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้เข้าในท่ามกลางความ
หลากหลากทางวัฒนธรรมภาษา ติดต่อร่วมมือกับชุมชน หน่วยงานภายนอก เน่ืองจากโรงเรียน
บ้านปะจัน เป็นโรงเรียนหน่ึงในพ้ืนท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ มีวิถีชีวิตวัฒนธรรมร่วมกับชุมชน
มีอัตลักษณ์ด้านภาษาท่ีโดดเด่น แตกต่างจากพื้นท่ีอ่ืนท่ีใช้ภาษาไทยกลางซ่ึงเป็นภาษาราชการและ
ภาษาไทยพ้ืนเมือง โดยใช้ภาษา "มลายูถ่ิน" ในการส่ือสาร ส่งผลกระทบให้เด็กในพ้ืนท่ีจํานวนมาก
ท่ีใช้ภาษามลายูถ่ินเป็นหลักในชีวิตประจําวันปรับตัวไม่ทัน ไม่สามารถเข้าถึงองค์ความรู้พื้นฐาน
กระทบต่อการเรียนรู้ในโรงเรียน เน่ืองจากการเรียนการสอนและส่ือการสอนเป็นภาษาทางการ
หรือภาษาไทยท้ังหมด ทําให้เด็กในโรงเรียนท่ีมีภาษาแม่เป็นภาษามลายูถ่ิน และมีภาษาไทยเป็น
ภาษาท่ีสอง ต้องปรับตัวอย่างหนักเพื่อให้สามารถเข้าถึงการศึกษาได้ และมีบางคนท่ีต้องหลุด
ออกจากระบบการศึกษาจากโรงเรยี นนไ้ี ปเพราะไมส่ ามารถใชภ้ าษาในการส่ือสารเรยี นรู้ได้

38

SCHOOL

วชิ า สค.362 นโยบายและสวัสดกิ ารการศึกษาสําหรับเด็กพิเศษ Section 810001 อาจารย์ผูส้ อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทัย หนูนวล
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2563

สวัสดิการ บริการ กจิ กรรม

สวัสดิการทางการศึกษาของโรงเรียนบ้านประจัน เร่ิมต้นจากการรับนักเรียน โรงเรียนมี
การจัดทําข้อมูลสํ ามะโนประชากรวัยเรียนมีการประชาสั มพั นธ์ผ่านช่องทางท่ีหลากหลายมีการ
ติดตามเด็กให้เขาเรียน ส่งเสริมกิจกรรมนักเรียน โรงเรียนมีการดูแลระบบช่วยเหลือนักเรียน
จัดกิจกรรมต่าง ๆ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานมีการจัดต้ังสภานักเรียน
ด้านคุณภาพชีวิต มีการจัดกิจกรรมโรงเรียนสีขาวปลอดยาเสพติด ส่งเสริมสุขภาพอนามัย
โรงเรียนมีการใช้โปรแกรมไทยสคูลลันช์ในการจัดอาหารกลางวัน น้ําด่ืมสะอาดให้กับผู้เรียน มีการ
ป้องกันโรคระบาดท่ีอาจจะเกิดข้ึนในสถานศึกษาตรวจสุขภาพช่องฟนั บันทึกข้อมูลน้ําหนักส่วนสูง
และมีการดําเนินงานอาหารเสริมนม ให้กับผู้เรียนอย่างมีคุณภาพ มีบริการนันทนาการแหล่ง
เรียนรู้ศูนย์งานเกษตรเพ่ือการเรียนรู้ ศูนย์ศิลปะ งานอาชีพวิถีชุมชน และในด้านนันทนาการมี
สนามกีฬา ได้แก่ สนามเปตอง สนามวอลเลย์บอล สนามตะกร้อ สนามฟุ ตบอล นอกจากน้ียังมี
พ้ืนท่ีพักผ่อน ห้องสมุด ห้องบริการคอมพิวเตอร์ ในด้านสภาพแวดล้อมโรงเรียนมีบรรยากาศและ
สภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้มีการปรับภูมิทัศน์ท้ังภายในและภายนอกอย่างต่อเน่ือง
เพราะนักเรียนในโรงเรียนน้ันเป็นเด็กเล็กกับจึงจําเป็นมากในการเน้นความสะอาดสวยงามร่มร่ืน
และความปลอดภยั เปน็ สําคญั

สวัสดิการ บริการ ท่ีเป็นการดูแลของโรงเรียนท่ีสําคัญคือการทําให้นักเรียนสามารถ
เรียนรู้ได้เข้าในท่ามกลางความหลากหลากทางวัฒนธรรมภาษา โดยการเข้าร่วมโครงการทวิ–พหุ
ภาษา (ภาษาไทย–มลายูถ่ิน) โดยองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ ประเทศไทย (UNICEF
Thailand) และสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล การจัดการศึกษาแบบ
ทวิ–พหุภาษา (ภาษาไทย–มลายูถ่ิน) เร่ิมต้นด้วยภาษาแม่ กล่าวคือเด็กจะพัฒนาทักษะการฟงั และ
พู ดภาษาแม่ก่อนแล้วจึงเรียนรู้การอ่านและเขียนภาษาแม่ ส่วนภาษาไทยจะเร่ิมต้ังแต่ภาคเรียนท่ี
สองในช้ันอนุบาล 1 ตามลําดับข้ันตอนเดียวกันคือพัฒนาทักษะการฟงั ก่อนจึงจะฝึกพู ด หลังจาก
น้นั เด็กจะถ่ายโอนทกั ษะการอา่ นและเขียนภาษามลายูถ่นิ ไปสู่การอ่านและการเขียนภาษาไทย โดยใช้
แบบเรียนเตรียมอ่านเขียนท่ีผลิตข้ึนมาโดยเฉพาะข้ันตอนการเรียนรู้ตามลําดับฟัง–พู ด–อ่าน–
เขียน เป็นไปตามลําดับธรรมชาติของการรับภาษาของมนุษย์ในการเรียนรู้และพัฒนาภาษาแม่ซ่ึง
มีความแตกต่างอย่างมากจากโรงเรียนส่วนใหญ่ในเขตพื้นท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ซ่ึงครูมักจะ
เร่ิมต้นด้วยการสอนเขียน โดยสั่งให้นักเรียนคัดตัวอักษร คําศัพท์ และลอกประโยคภาษาไทย
ก่อนท่ีเด็กจะเข้าใจภาษาพูดในภาษาไทยด้วยซ้ํา น่ีเป็นเหตุผลสําคัญอีกประการหน่ึงท่ีทําให้นักเรียน
ไทยเช้ือสายมลายูช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 กว่าคร่ึงหน่ึงมีทักษะอ่านเขียนภาษาไทยต่ํากว่าเกณฑ์มาก
เน่ืองจากมีความเป็นไปได้น้อยมากท่ีเด็กจะสามารถอ่านและเขียนภาษาท่ีตนเองพู ดได้ยังไม่คล่องดี
พอการจัดการศึกษาแบบทวิ–พหุภาษา (ภาษาไทย–มลายูถ่ิน) ช่วยให้เด็กสามารถเช่ือมโยงภาษา
วัฒนธรรมและประสบการณ์ชีวิตจากท่ีบ้านสู่การเรียนรู้ในช้ันเรียนได้เป็นอย่างดี เพราะเด็กมี
พ้ืนฐานจาก “สิ่งทร่ี ้”ู สําหรบั การเรียน “สิ่งท่ไี ม่รู”้ เพ่ิมเติมในโรงเรยี น

39

SCHOOL

วชิ า สค.362 นโยบายและสวัสดิการการศึกษาสําหรับเด็กพิเศษ Section 810001 อาจารย์ผูส้ อน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนูนวล
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563

สวัสดิการ บริการ กจิ กรรม ท่เี หมาะสมสําหรับเด็กในโรงเรยี น

จากการท่ีผู้เขียนได้ศึกษาบริบทของโรงเรียนบ้านประจัน ท่ีอยู่ในพื้นท่ีจังหวัดชายแดน
ภาคใต้ซ่ึงมีประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม มีบริบทในการใช้ภาษาไทยและภาษามลายู
ควบคู่กัน โดยภาษามาลายูท่ีจะเป็นภาษาท่ีส่ือสารกันในครอบครัวและคนใกล้ชิด ในขณะท่ี
ภาษาไทยคือภาษาราชการและอยู่ในระบบการศึกษาภาคบังคับ ทําให้เร่ืองน้ีเป็นสาเหตุท่ีทําให้
นักเรียนโรงเรียนบ้านประจันเกิดจากอุปสรรคในด้านการเรียนรู้ภาษาไทย เด็กหลายคนเม่ือเข้ามา
เรียนมีปัญหาฟังอ่านและเขียนภาษาไทยไม่ได้ ในมุมมองของผู้เขียนในฐานะนักศึกษาสังคม
สงเคราะห์ มีความเห็นว่าสวัสดิการท่ีเหมาะสมของโรงเรียนบ้านประจันคือ การส่งเสริมการเรียรู้
ของนักเรียนโดยออกแบบการจัดการเรียนการสอนท่ีเหมาะสมสําหรับเด็กในโรงเรียน ส่งเสริมการ
เรียนรู้ใหม่ ๆ เช่น การทัศนะศึกษา แนะแนวการศึกษาต่อ การส่งเสริมให้นักเรียนเข้าถึงช่องทาง
การเรียนรู้ ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยี เตรียมความพร้อมในการศึกษาระดับท่ีสูงข้ึนหลังจบ
การศึกษาจากโรงเรียน โดยเน้นการใช้ทุนทางภาษาและวัฒนธรรมท้องถ่ินเป็นฐานและเช่ือมโยง
ภาษาและวัฒนธรรมกับส่วนกลางมากข้ึน โดยเร่ิมต้ังแต่เด็กเล็กในช้ันอนุบาลพัฒนาดําเนิน
โครงการทวิภาษาของโรงเรียน เพราะหากทราบบริบทในพื้นท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้แล้ว พบว่า
นอกเหนือจากปัจจัยด้านภาษาท่ีส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ของนักเรียนแล้ว ยังมีปัจจัยเร่ือง
ความไม่สงบรวมอยู่ด้วยดังน้ันการเรียนการสอนด้วยภาษามาลายูท้องถ่ินจึงถือเป็นการให้เกียรติ
เคารพสิ่งท่ีชุมชนภาคภูมิใจเน่ืองจากภาษามลายูท้องถ่ินเป็นภาษาพู ดในชีวิตประจําวันอยู่แล้วเม่ือ
เกิดการส่ือสารระหว่างกันและกันของคนในพื้นท่ีได้เข้าใจมากข้ึนก็จะทําให้ชุมชนเข้มแข็งช่วยลด
ความขัดแย้งท่ีอาจจะเกิดข้ึนรวมท้ังส่งเสริมให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างเข้าใจเข้าสู่ระบบ
การศึกษาในขน้ั ท่สี ูงยง่ิ ข้นึ ตอ่ ไปได้

บทบาทของนักสังคมสงเคราะห์ในโรงเรียน สําหรับในกรณีของโรงเรียนบ้านประจันน้ี
คือการร่วมกับคุณครู และชุมชนในการสร้างความเข้าใจ ร่วมพัฒนา ส่งเสริมการเรียนรู้ของ
นักเรียนในโรงเรียนกลุ่มน้ี ท่ีมีความพิเศษจะต้องได้รับการดูแล ส่ิงแรกคือการใช้ต้นทุนท่ีมีให้เกิด
ประโยชน์สูงสุด น่ันคือการถอดบทเรียนโครงการกับการจัดการศึกษาแบบทวิ–พหุภาษา ท่ีใช้
ภาษาแม่เป็นพื้ นฐานในการเช่ือมโยงไปสู่การเรียนการสอนภาษาไทยในปีแรก ๆ การจัด
ประสบการณ์เรียนรู้ในช้ันเรียนจะใช้ภาษาแม่เป็นหลักจนถึงช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 แล้วจึงเร่ิมใช้
ภาษาไทยเป็นส่ือหลักในการจัดการเรียนการสอน ช่วยให้นักเรียนมีทักษะในการส่ือสารมี
ปฏสิ ัมพันธ์โดยราบร่นื ไมข่ ดั แยง้ กับท้งั วฒั นธรรมทอ้ งถน่ิ ซง่ึ กระทรวงศึกษาธกิ ารอนุโลมใหค้ รพู ูด
ภาษามลายูถ่ินกับเด็กอนุบาล 1 และ 2 แต่ไม่มีการสอนอ่านเขียนภาษาแม่ซ่ึงเป็นคนละโครงการ
กับการจัดการศึกษาแบบทวิ–พหุภาษา ดังน้ันการถอดบทเรียนจากโครงการน้ีอาจช่วยพัฒนา
รูปแบบการจัดการศึกษาของโรงเรียนสองภาษาให้ดีย่ิงข้ึนได้และเสริมสร้างความเข้าใจของนัก
สังคมสงเคราะห์ ร่วมกับโรงเรียน และชุมชน ในการจัดสวัสดิการท่ีเหมาะสมต่อไปได้ ในการจัด
สวัสดิการท่ีส่งเสริมการเรียรู้ของนักเรียนโดยออกแบบการจัดการเรียนการสอนท่ีเหมาะสม
สําหรับเด็กในโรงเรียน ส่งเสริมการเรียนรู้ใหม่ ๆ เช่น การทัศนะศึกษา แนะแนวการศึกษาต่อ
การส่งเสริมให้นักเรียนเข้าถึงช่องทางการเรียนรู้ ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยี เตรียมความพร้อมใน
การศึกษาระดับท่ีสูงข้ึนหลังจบการศึกษาจากโรงเรียน ในขณะเดียวกับก็ต้องดูช่วยเหลือในเร่ือง

40

SCHOOL

วชิ า สค.362 นโยบายและสวัสดิการการศึกษาสําหรับเด็กพิเศษ Section 810001 อาจารย์ผสู้ อน ผศ.ดร.ป่ ินหทัย หนนู วล
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563

ของครอบครัวในการสร้างการรับรู้ ความเข้าใจกับผู้ปกครอง ในการส่งเสริมนักเรียน เพราะส่วน
ใหญ่แล้วนักเรียนท่ีจบการศึกษาจะต้องทํางานต่อ อยุ่ในชุมชน ไม่ได้เรียนต่อในระดับท่ีสูงข้ึน
ถึงแม้ว่ากฎหมายระบุให้ศึกษาตามการศึกษาภาคบังคับก็ตาม แต่ด้วยข้อจํากัดทางภาษาและฐานะ
ทางการเงินของครอบครัวก็เป้นปัจจัยหน่ึงท่ีทําให้การส่งเสริมการเรียนรู้น้ีอาจทําได้ไม่ง่ายนัก
การจัดสวัสดิการน้ีจึงมีความสําคัญมากท่ีนักสังคมสงเคราะห์จะต้องมีบทบาทในการทํางาน
รว่ มกบั โรงเรียน ครอบครัว ชุมชน และภาคส่วนอน่ื ๆ ด้วย

นอกจากบทบาทของนักสังคมสงเคราะห์ท่ีได้กล่าวไป ผู้เขียนมีความเห็นว่าควรมีบทบาท
ของภาคส่วนอ่ืน ๆ สําหรับการจัดสวัสดิการทางการศึกษาของโรงเรียนบ้านประจันด้วย ถ้าหากมี
ความเป็นได้ภาคส่วนแรกคือหน่วยงานท่ีดูแลวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ เช่น สภาวิชาชีพสังคม
สงเคราะห์ สมาคมนักสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ควรมีบทบาทร่วมกับหน่วยงานด้าน
นโยบายการศึกษา สถาบันทางการศึกษา ผลักดัน และสร้างให้มีนักสังคมสงเคราะห์ทาง
การศึกษาเพื่อให้เกิดนักสังคมสงเคราะห์ทางการศึกษาท่ีสามารถมาขับเคล่ือนให้เกิดสวัสดิการ
ดังกล่าวได้ ภาคส่วนต่อมา คือหน่วยงานด้านการศึกษา เช่น กระทรวงศึกษาธิการ ศึกษาธิการ
จังหวัด สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ส่งเสริมการเรียนรู้ให้นักเรียนท่ีมีข้อจํากัดทางด้านภาษา
สามารถเข้าถึงได้ โดยวิธีการสนับสนุนการเรียนการสอนแบบโรงเรียนสองภาษา อบรมพัฒนา
เตรียมความพร้อมครูผู้สอน ให้มีความรู้เข้าใจในเร่ืองอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม ให้บุคลากรคูท่ีมี
ความรู้ความสามารถ โดยอาจจะใช้การบูรณาการร่วมกับโครงการครูคืนถ่ินท่ีรับครูบรรจุใน
ท้องถ่ินตัวเอง เพื่อป้องกันปัญหาการย้ายออกของครูต่างถ่ิน จุดประสงค์หลักคือ เพ่ือคัดเลือก
คนดีคนเก่งเข้ามาในวิชาชีพครู เม่ือสําเร็จการศึกษาแล้ว สามารถบรรจุในภูมิลําเนาตนเอง
เพ่ือเป็นการพัฒนาชุมชนท้องถ่ิน ลดปัญหาการโยกย้ายแก้ปัญหาการขาดแคลนครูในพื้นท่ี
การศึกษา และสามารถเข้าใจ นักเรียน โรงเรียน ชุมชน ส่งเสริมการเรียนรู้ของนักเรียนได้เต็มท่ี
อีกภาคส่วนท่ีสําคัญคือประชาสังคม ชุมชน ท่ีจะต้องเห็นความสําคัญถึงการพัฒนา และโอกาสใน
การเติบโตการใช้ชีวิตของนักเรียน เพราะโรงเรียนต้ังอยู่ในชุมชน ด้วยเร่ืองค่านิยม วัฒนธรรม
การรักหวงแหนในภาษาถ่ิน ท่ีคนในชุมชนมีส่วนสําคัญในการร่วมพัฒนาส่งเสริมน้ี ภาคส่วน
สุดท้ายท่ีสุดครอบครัวท่ีมีส่วนส่งเสริมมากท่ีสุด ต้องมีบทบาทคือการเตรียมความพร้อมส่งเสริม
การเรียนรู้พื้นฐานเรอ่ื งภาษา เปิดโอกาสในการเรยี นรขู้ องนกั เรยี น

ท้ายท่ีสุดแล้วสวัสดิการการศึกษา กิจกรรม หรือบริการด้านอ่ืน ๆ น้ันก็มีความสําคัญ
เช่นกัน ในการพัฒนา ส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กทุกคน เพียงแต่ในการเสนอสวัสดิการในงาน
เขียนน้ีมุ่งเน้นไปท่ีสวัสดิการท่ีเหมาะสมกับโรงเรียนบ้านประจันเท่าน้ัน สิ่งท่ีทําให้ผู้เขียนเลือกจัด
สวัสดิการท่ีกล่าวไปข้างต้นเพราะผู้เขียนเช่ือว่าต้องจัดการศึกษาแบบครอบคลุม ไม่กีดก้ันพื้นเพ
หรือสถานะ ท้ังทางร่างกาย สติปัญญา สังคม อารมณ์ หรือภาษา ควรจัดให้เด็กทุกคนได้มี
โอกาสเข้าถึงการศึกษาอย่างเท่าเทียมกัน โดยคํานึงถึงความหลากหลายทางภาษาและวัฒนธรรม
ของเด็กพร้อมท้ังจัดการศึกษาท่ีตอบสนองความต้องการพิเศษของแต่ละคน เป็นดังประโยคแรก
ท่ไี ดม้ าเรียนในวชิ านท้ี ่วี า่ “Education for all, and All for Education” อยา่ งแท้จรงิ

41

SCHOOL

วชิ า สค.362 นโยบายและสวสั ดิการการศึกษาสําหรบั เดก็ พิเศษ Section 810001 อาจารย์ผสู้ อน ผศ.ดร.ป่ ินหทยั หนนู วล
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563

ธนปรชั ญ์ เมอื งพวน 6105680166

โรงเรียนบา้ นไทยสามคั คี
สังกดั สํานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 1

จัดต้ังและเปิดทําการสอนเม่ือวันท่ี 10 สิงหาคม พ.ศ. 2486 โดยนายแดง สีหานนท์
ผู้ใหญ่บ้าน พร้อมชาวบ้าน ในระยะแรกได้ใช้ศาลาวัดเป็นสถานท่ีศึกษา เปิดทําการสอนในช้ัน
ประถมศึกษาปีท่ี 1 มีนายสุนทร จงรักษ์ เป็นครูใหญ่คนแรก ช่ือ “โรงเรียนบ้านทุ่งมน” ซ่ึงในปี
พ.ศ. 2509 ได้เกิดอุทกภัยน้ําท่วมหมู่บ้านทุ่งมน ทําให้บ้านเรือนราษฎรได้รับความเสียหายเป็นอัน
มาก ชาวบ้านจึงพร้อมใจกันย้ายบ้านเรือนมาอยู่ท่ี “โคกใหญ่” หลังน้ําลดทางราชการได้จัดสรร
ท่ีดินโคกใหญ่ให้เป็นท่ีปลูกสร้างบ้านเรือนและเปล่ียนช่ือหมู่บ้านใหม่ว่า “บ้านไทยสามัคคี” โรงเรียน
ได้ย้ายมาอยู่ท่ีแห่งใหม่ด้วย และได้ต้ังช่ือว่า “โรงเรียนบ้านไทยสามัคคี” ตามช่ือหมู่บ้าน นับรวมถึง
ปกี ารศึกษา 2563 เปน็ เวลา 77 ปี

ท่ตี ง้ั ของโรงเรยี นมีอาณาเขต ดังน้ี

Ø ทิศเหนอื จรดกับวดั ชัยมงคล
Ø ทศิ ใต้ จรดกบั ท่ดี นิ เอกชน
Ø ทิศตะวันออก จรดกบั ถนนศรีเชียงใหม-่ โพธต์ิ าก
Ø ทิศตะวันตก จรดกบั ทส่ี าธารณะ

ในพ้ื นท่ีเขตบริการประกอบด้วยสภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะเป็นชุมชน
ขนาดกลางอยู่ห่างจากอําเภอศรีเชียงใหม่ประมาณ 3 กิโลเมตร มีประชากรประมาณ 1,500 คน
บริเวณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียน ได้แก่ ทุ่งนา วัด บ้านเรือนราษฎร อาชีพหลักของชุมชนคือ
เกษตรกรรม เน่ืองจากพ้ื นท่ีเป็นท่ีราบลุ่มประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุ ทธ ประเพณี/
ศิลปวัฒนธรรมท้องถ่ินท่ีเป็นท่ีรู้จักโดยท่ัวไป คือ งานบุญมหาชาติประจําปี ผู้ปกครองส่วนใหญ่
จบการศึกษาระดับประถมศึกษา ร้อยละ 20 ประกอบอาชีพรับจ้าง ร้อยละ 80 ประกอบอาชีพ
เกษตรกรรม ฐานะทางเศรษฐกจิ /รายได้โดยเฉล่ยี 5,000 บาทตอ่ ปี

บางส่วนของครอบครัวในชุมชนมีลักษณะครอบครัวเป็นครอบครัวข้ามรุ่นและครอบครัว
เล้ียงเด่ียว เน่ืองจากพ่อหรือแม่ หรือท้ังพ่อและแม่ของเด็กต้องไปทํางานท่ีต่างถ่ินเพื่อหารายได้
แล้วส่งกลับมาจุนเจือครอบครัว ทําให้เด็กบางส่วนมีพฤติกรรมการแสดงออกท่ีไม่เหมาะสมจาก
การเล้ียงดูท่ีดูแลเอาใจใส่ไม่เพียงพอ การขาดพฤติกรรมต้นแบบหรือการแสดงออกทางบทบาท
จากพ่อหรือแม่ท่ีคอยกระตุ้นและตอบสนองตามพัฒนาการแต่ละช่วงวัย อีกท้ังความสัมพันธ์ท่ีห่าง
เหินระหว่างเด็กกับผู้ปกครองจากการไปทํางานต่างถ่ิน นอกจากน้ันในกรณีท่ีเด็กย้ายถ่ินตาม
ผู้ปกครองไปมาระหว่างจังหวัดยังทําให้เกิดผลกระทบต่อการเรียนของเด็กท่ีไม่ต่อเน่ืองและการ
ปรับตัวต่อสภาพแวดล้อมใหม่ๆ ท้ังเด็กท่ีย้ายเข้ามาและย้ายออกไปจากโรงเรียน ในทางกลับกัน
บางครอบครัวเด็กก็ได้รับพฤติกรรมต้นแบบท่ีไม่เหมาะสมจากสมาชิกในครอบครัวหรือชุมชนด้วย
เช่นกัน เพราะชุมชนบางส่วนยังมีการม่ัวสุมเล่นการพนันและส่ิงเสพติดท่ีทําให้เด็กเกิดพฤติกรรม
เลียนแบบ นอกจากน้ันบางส่วนของครอบครัวในชุมชนยังประสบปัญหาทางเศรษฐกิจเน่ืองจาก
รายได้ท่ีไม่แน่นอนจากอาชีพท่ีรายได้ไม่ม่ันคง หรือการหย่าร้างของผู้ปกครอง ทําให้เด็กเม่ือจบ

42

SCHOOL

วชิ า สค.362 นโยบายและสวัสดิการการศึกษาสําหรับเดก็ พิเศษ Section 810001 อาจารย์ผ้สู อน ผศ.ดร.ป่ ินหทัย หนนู วล
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563

การศึกษาระดับช้ันประถมศึกษาแล้วไม่ได้ศึกษาต่อในระดับการศึกษาข้ันต่อไปเพราะไม่มีทุนทรัพย์
อีกท้ังค่านิยมของชุมชนไม่ได้ส่งเสริมให้เด็กมีความรู้สึกสนใจหรือมีแรงจูงใจท่ีจะศึกษาต่อ มักคิด
เพียงว่าเรียนช้ันประถมไปเฉยๆ ให้มันจบแล้วออกมาทํางานหาเงินเล้ียงชีพดังเช่นผู้ปกครองส่วน
ใหญ่ในชุมชนท่ีมักจบการศึกษาระดับประถมศึกษาเท่าน้ัน โดยสามารถสรุปภาพรวมของ
สถานการณเ์ ด็กในโรงเรียนบ้านไทยสามคั คีได้ดังน้ี

1. การไปทํางานต่างถ่ินของผู้ปกครองทําให้เด็กขาดการดูแลเอาใจใส่ท่ีเพียงพอและเกิด
ความห่างเหินในความสัมพันธ์ระหว่างเด็กและผู้ปกครองซ่ึงส่งผลต่อพฤติกรรมของ
เด็ก

2. การย้ายถ่ินของผู้ปกครองทําให้เด็กเรียนไม่ต่อเน่ืองและยากในการปรับตัวกับ
สภาพแวดลอ้ มใหมๆ่ ส่งผลให้มผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นท่ลี ดลง

3. ชุนชนบางส่วนยังมีการม่ัวสุมเล่นการพนันและส่ิงเสพติดทําให้เด็กเกิดพฤติกรรม
เลียนแบบ

4. ผ้ปู กครองบางส่วนมีอาชีพไมม่ ่นั คง รายได้ไม่แน่นอนส่งผลตอ่ การศึกษาต่อของเดก็
5. ผูป้ กครองบางคนหยา่ รา้ งกนั ส่งผลให้ขาดการสนับสนนุ การศึกษากับลกู

โรงเรียนบ้านไทยสามัคคีอยู่ในเขตบริการของเทศบาลตําบลหนองปลาปาก เปิดทําการ
สอน 2 ระดับ คือ ระดับปฐมวัยและระดับประถมศึกษา ในรอบ 4 ปีการศึกษาท่ีผ่านมามีนักเรียน
เฉล่ียปีการศึกษาละ 95 คน และคาดการณ์ใน 4 ปีการศึกษาข้างหน้าจะมีนักเรียนเฉล่ียปี
การศึกษาละ 100 คน กล่าวได้ว่าโรงเรียนบ้านไทยสามัคคีถือเป็นโรงเรียนขนาดเล็ก เน่ืองจาก
โรงเรียนขนาดเล็กคือโรงเรียนท่ีมีจํานวนนักเรียนน้อยกว่า 120 คนลงมาน่ันเอง ซ่ึงตาม
ยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 1 โรงเรียนบ้านไทยสามัคคีได้ถูก
กําหนดให้จัดต้ังเป็นโรงเรียนแกนนําจัดการเรียนร่วม ซ่ึงมีความมุ่งหมายให้มีการพัฒนานักเรียน
ปกติกับนักเรียนท่ีมีความต้องการพิเศษสามารถอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างเป็นสุขโดยคํานึงถึง
สิทธิและความเสมอภาคทางการศึกษา ซ่ึงทางโรงเรียนมีการวัดผลและประเมินผลเพ่ือคัดกรอง
นักเรียนท่ีมีสภาพพิการหรือบกพร่องทางการเรียนรู้ต้ังแต่ระดับช้ันประถมศึกษาช้ันปีท่ี 2 เป็นต้น
ไป โดยในปีการศึกษาปัจจุบันโรงเรียนมีนักเรียนท่ีมีสภาพพิการหรือบกพร่องทางการเรียนรู้
ซ่ึงจากการคัดกรองล้วนเป็นเด็กท่ีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ (Learning Disabilities)
หรอื เด็ก LD จาํ นวน 15 คน เรยี นรว่ มในโรงเรียน

43

SCHOOL

วิชา สค.362 นโยบายและสวัสดิการการศึกษาสําหรับเดก็ พิเศษ Section 810001 อาจารยผ์ ูส้ อน ผศ.ดร.ป่ นิ หทัย หนนู วล
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคการเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563

โดยมีขอ้ มลู จาํ นวนนักเรยี นและข้อมลู จาํ นวนบคุ ลากรประจาํ ปกี ารศึกษา 2563 ดังน้ี

1. ข้อมูลจาํ นวนนักเรยี น ประจําปกี ารศึกษา 2563 (ข้อมูล ณ วนั ท่ี 17 กรกฎาคม 2563)

ชัน้ เรยี น นักเรียนทั้งหมด นกั เรยี นท่มี ีสภาพ นักเรียนทีอ่ า่ นไม่ นักเรียนที่ได้รับ
พิการบกพร่อง ออกเขียนไม่ได้ จัดสรรงบอุดหนุน

ปัจจัยพื้นฐาน

ชาย หญงิ รวม ชาย หญงิ รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญงิ รวม

1. อนุบาลปที ี่ 1 7 6 13 - - - - - - 7 6 13

2. อนุบาลปีที่ 2 3 5 8- - -- - -3 5 8

รวม 10 11 21 - - - - - - 10 11 21

3. ประถมศึกษาปีท่ี 1 5 5 10 - - - - - - 5 5 10

4. ประถมศึกษาปที ี่ 2 4 4 8 4 - 4 - - - 4 4 8

5. ประถมศึกษาปที ่ี 3 6 7 13 2 1 3 - - - 6 7 13

6. ประถมศึกษาปีท่ี 4 5 6 11 3 - 3 - - - 5 6 11

7. ประถมศึกษาปีที่ 5 9 3 12 - 2 2 - - - 9 3 13

8. ประถมศึกษาปที ่ี 6 6 9 15 2 1 3- - -6 9 15

รวม 35 34 69 11 4 15 - - - 35 34 69
45 90
รวมท้ังสิ้น 45 45 90 11 4 15 - - - 45
รวม
2. ขอ้ มูลจาํ นวนบคุ ลากร (ข้อมูล ณ วนั ท่ี 16 พฤษภาคม 2562)
1
อันดับเงนิ เดอื น/ค่าจา้ ง วุฒกิ ารศึกษา -
7
ตําแหนง่ คศ1 คศ คศ คศ ต่ํากวา่ ปริญญา ปริญญา สูงกว่า -
1
2 3 4 ปริญญา ตรี โท ปรญิ ญา -
1
ตรี โท 1
11
1. ผ้อู าํ นวยการโรงเรยี น -- 1 - - - 1 -

2. รองผอู้ าํ นวยการโรงเรียน - - - - - - - -

3. ครูประจําการ --7- - 6 1 -

4. ครพู นกั งานราชการ ---- - - - -

5. ครอู ัตราจา้ ง 1 --- - 1 - -

6. ครพู ่ีเลีย้ ง/ครพู ิเศษ ---- - - - -

7. ธรุ การ 1 --- 1 - - -

8. นกั การภารโรง 1 --- 1 - - -

รวม 3--8 2 7 2 -

จากวิสัยทัศน์ของโรงเรียนท่ีว่าโรงเรียนบ้านไทยสามัคคีได้บริหารจัดการโดยใช้โรงเรียน
เป็นฐาน มุ่งพัฒนาครู และบุคลากร ตลอดท้ังมุ่งเน้นให้ผู้เรียนทุกคนมีมาตรฐานการเรียนรู้เป็นไป
ตามเป้าหมายของหลักสูตร มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีเป็นเคร่ืองมือในการแสวงหาความรู้
และพัฒนาท้ังด้านร่างกายและจิตใจเพ่ือให้เด็กทุกคนมีสุขภาพกายและจิตใจท่ีสมบูรณ์ ยึดม่ันใน

44

SCHOOL

วิชา สค.362 นโยบายและสวสั ดิการการศึกษาสําหรับเด็กพิเศษ Section 810001 อาจารยผ์ ู้สอน ผศ.ดร.ป่ นิ หทัย หนนู วล
คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ภาคการเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563

การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และน้อมนําหลัก

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการเรียนการสอนทําให้โรงเรียนมีการจัดสวัสดิการ กิจกรรม

บริการผ่านโครงการ/กจิ กรรมตามแผนงานตา่ ง ๆ ดังน้ี

แผนงาน โครงการ/กิจกรรม

1. แผนงานบริหารวิชาการ - พัฒนาศักยภาพผูเ้ รยี นระดบั ปฐมวยั

- คาราวานเสริมสรา้ งเด็กปฐมวัย

- บ้านนักวทิ ยาศาสตร์นอ้ ย

- จดั บริการสารสนเทศและICT

- จดั บรกิ ารหนงั สือยืมเรยี นและแบบฝกึ หดั

- จัดหา ผลติ และใช้ส่ือเทคโนโลยี

- ห้องสมุดมีชวี ิต

- ส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน

- ยกระดบั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น

- ส่งเสริมและพัฒนาทักษะการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนสื่อ

ความโดยใชร้ ูปแบบพหรุ ะดบั

- โรงเรียนแกนนําจดั การเรียนร่วม

- ส่งเสริมคุณภาพการศึกษา

- หลักสูตรจินตคณติ คดิ เลขเร็วด้วยลกู คิดญ่ปี นุ่

- ส่งเสริมพัฒนาการทําวิจัยในชน้ั เรยี น

- นิเทศภายใน

- ประชุมเชงิ ปฏบิ ตั ิการ

- ตลาดวชิ า

2 . แ ผ น ง า น ก า ร เ งิ น แ ล ะ - เสริมสรา้ งประสิทธิภาพการบรหิ ารจัดการศึกษา

งบประมาณ - ประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน

3. แผนงานบรหิ ารงานบคุ คล - พัฒนาศักยภาพบุคลากร

4. แผนงานบรหิ ารงานท่วั ไป - ส่งเสรมิ สุนทรยี ภาพและลักษณะนิสัยดา้ นศิลปะ และดนตรี

- ส่งเสรมิ ความเปน็ เลิศด้านการกฬี า

- ลกู เสือเดินทางไกล เข้าคา่ ยพักแรม

- วนั สําคัญ

- ระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียน

- สื่อสารปฏิสัมพันธ์และบริหารช้ันเรียนทางบวก สันติวิธีของ

ครูกบั นกั เรียน

- จดั บริการปัจจัยพ้ืนฐานสําหรบั นักเรยี นยากจนขาดแคลน

- จดั บรกิ ารเงนิ ค่าอปุ กรณ์การเรียนสําหรับนักเรยี น

- จดั บริการเงินค่าเคร่อื งแบบนกั เรียน

- จดั บริการอาหารกลางวนั สําหรับนักเรียน

- อาหารและนา้ํ ปลอดภัย

- ทศั นศึกษา

45

SCHOOL


Click to View FlipBook Version