The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by graphic, 2022-05-30 02:39:31

e-book

e-book

แผน PDP ภาคประชาชน

ภแผาคนปPรDะPชาชน(National Energy Plan-NEP ภาคประชาชน)
(National จEัดnทาeโดrgย y Plan-NEP ภาคประชาชน)
สถาบนั พลังงานเพ่ืออุตสาหกรรม
สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
และ
มูลนิธิพลงั งานสะอาดเพื่อประชาน

จัดท�ำโดย
สถาบันพลงั งานเพอ่ื อุตสาหกรรม
แสลภะาอมตุลู นสาธิ หพิ กลรงั รงามนแสหะง่ อปารดะเเทพศ่ือไปทรยะชาน



แผน PDP ภาคประชาชน

ภแผาคนปPรDะPชาชน(National Energy Plan-NEP ภาคประชาชน)
(National จEัดnทาeโดrgย y Plan-NEP ภาคประชาชน)
สถาบนั พลังงานเพ่ืออุตสาหกรรม
สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
และ
มูลนิธิพลงั งานสะอาดเพื่อประชาน

สจัดถทาบ�ำโันดพยลงั งานเพอ่ื อุตสาหกรรม
แสลภะาอมตุลู นสาธิ หพิ กลรงั รงามนแสหะง่ อปารดะเเทพศ่ือไปทรยะชาน

2

สารบัญ ส่วนท่ี 1 หน้า 12–16
ส่วนท่ี 2 หน้า 17
1. บทสรุปผบู้ รหิ าร
2. ผลการ Run Model โดยสถาบนั พลงั งานจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ส่วนท่ี 2 หน้า 18-26
สำ� หรบั แผน PDP ภาคประชาชน ส่วนท่ี 2 หน้า 27-34
o สรุปผลการ Run Model ส่วนท่ี 2 หน้า 35-41
o Conservative Case ส่วนท่ี 3 หน้า 42-59
o Rapid Transformation Case ส่วนท่ี 4 หน้า 60-74
o Rapid Transformation Case Rev.1 ส่วนท่ี 5 หน้า 75-90
3. แผนบรหิ ารจดั การนำ้� มนั เชอื้ เพลงิ (Oil Plan) และ
แผนบรหิ ารจดั การกา๊ ซธรรมชาติ (Gas Plan) ส่วนท่ี 6 หน้า 91
4. แผนอนรุ กั ษพ์ ลงั งานภาคประชาชน (EEP) 92-105
5. แผน Energy Storage System (ESS) ภาคประชาชน 106-114
6. แผน AEDP ภาคประชาชน 115-127
128-137
o พลงั งานแสงอาทิตยแ์ ละพลงั งานลม 138-152
153-162
o Smart Grid และ Prosumer
ส่วนท่ี 7 หน้า 163-174
o ยานยนตไ์ ฟฟา้ (Electric Vehicle-EV) ส่วนท่ี 8 หน้า 175-201
ส่วนท่ี 8 หน้า 202-205
o ผลกระทบ EV ตอ่ เชือ้ เพลงิ ชีวภาพ
o โรงไฟฟา้ จากพืชเกษตรเพ่ือเศรษฐกิจฐานราก

o พลงั งานขยะ (Waste to Energy -WTE)

7. แผน Digital Platform และ Transmission Line
8. สมมตฐิ านการวางแผน PDP ภาคประชาชน
9. คณะทำ� งาน

3

แผน PDP ภาคประชาชน
(National Energy Plan-NEP ภาคประชาชน)

ผ้สู นับสนุนการจัดทำ� แผน PDP ภาคประชาชน









8

แผน PDP ภาคประชาชน
(National Energy Plan-NEP ภาคประชาชน)

สารจากรองประธานสภาอตุ สาหกรรมแหง่ ประเทศไทย (ส.อ.ท.)
และประธานสถาบนั พลงั งานเพอ่ื อตุ สาหกรรม

สถาบนั พลงั งานเพ่ืออตุ สาหกรรม กล่มุ อตุ สาหกรรมหมนุ เวียน สภาอตุ สาหกรรมแห่งประเทศไทย และ
มลู นิธิพลงั งานสะอาดเพ่ือประชาชน ไดจ้ ดั ทำ� แผนพลงั งานชาตภิ าคประชาชน (National Energy Plan) โดยท่ี
ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการเสนอความเห็น เรียกว่า “NEP ภาคประชาชน” เพ่ือสะทอ้ นความเป็นจริง
ในภาวะปัจจุบันท่ีมีการเปล่ียนแปลงต่างๆ เกิดขึน้ อย่างรวดเร็ว เพ่ือใชร้ บั มือกับการเปล่ียนแปลงในยุค
Digital Disruption และการเปล่ยี นผา่ นทางดา้ นพลงั งาน (Energy Transition)

การจดั ทำ� แผน NEP ภาคประชาชน มีเป้าหมายสนบั สนนุ ใหป้ ระเทศไทยเรง่ แทนท่ีพลงั งานฟอสซิลดว้ ย
พลงั งานหมนุ เวียน และมีการกำ� หนดเป้าหมายลดก๊าซเรือนกระจกใหส้ อดคลอ้ งกบั แผน NDC (Nationally
Determined Contribution) มงุ่ สกู่ ารลดการปลอ่ ยก๊าซคารบ์ อนไดออกไซดส์ ทุ ธิเป็นศนู ย์ (Carbon Neutrality)
อย่างเป็นรูปธรรม ผ่านการศกึ ษาและวิเคราะหผ์ ลกระทบค่าไฟฟ้า เปรยี บเทียบตน้ ทนุ แต่ละประเภทพลงั งาน
บนฐานท่เี ป็นธรรม เพ่อื ลดภาระประชาชนท่ตี อ้ งแบกรบั ตน้ ทนุ คา่ ใชจ้ า่ ย โดยคำ� นงึ ถงึ ความเช่ือมโยงดา้ นพลงั งาน
ท่ีมีผลกระทบกบั ภาคสว่ นอ่ืนของประเทศ โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ภาคเศรษฐกิจ อตุ สาหกรรม การคา้ และการลงทนุ

ผมหวงั เป็นอย่างย่ิงว่า “NEP ภาคประชาชน” จะมีส่วนช่วยใหผ้ กู้ ำ� หนดนโยบาย ภาครฐั และหน่วยงาน
ท่ีเก่ียวขอ้ ง นำ� เอาขอ้ มลู แนวความคดิ และขอ้ เสนอแนะไปประกอบการพิจารณาปรบั ประยกุ ตใ์ ช้ เพ่ือประโยชน์
ตอ่ ทกุ ภาคสว่ น และตอ่ ประเทศชาตติ อ่ ไป ขอบคณุ ครบั

นายสมโภชน์ อาหนุ ยั

รองประธานสภาอตุ สาหกรรมแหง่ ประเทศไทย (ส.อ.ท.)
และประธานสถาบนั พลงั งานเพอื่ อตุ สาหกรรม

9

แผน PDP ภาคประชาชน
(National Energy Plan-NEP ภาคประชาชน)

สารจากประธานคณะท�ำ งาน PDP ภาคประชาชน สภาอตุ สาหกรรมแหง่ ประเทศไทย
แผนพลงั งานชาติ National Energy Plan (NEP)

สภาอตุ สาหกรรมแหง่ ประเทศไทย โดยสถาบนั พลงั งานเพ่ืออตุ สาหกรรมและมลู นิธิพลงั งานสะอาดเพ่ือประชาชน
ไดต้ ระหนกั และไดใ้ หค้ วามสำ� คญั รวมถงึ มีความกงั วลเก่ียวกบั การเปล่ียนผา่ นพลงั งานของประเทศในชว่ งเวลานีแ้ ละ
อีกย่ีสิบปีขา้ งหนา้ เป็นอย่างมาก อันสืบเน่ืองมาจากการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี ท่ีเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว
(Disruption Technologies) ภาวะโลกรอ้ นอนั ทำ� ใหก้ ติกาโลกเปล่ียนแปลงไปจากเดิมอย่างไม่เคยปรากฎมาก่อน
กติกาโลกใหม่นีม้ ีผลใหป้ ระเทศไทยตอ้ งประกาศเจตนารมณอ์ นั ตอ้ งสอดคลอ้ งกบั นานาประเทศโดยหลีกเล่ียงไม่ได้
และตอ้ งยอมรบั จากการประกาศนีโ้ ดยปรยิ าย โดยเม่ือวนั ท่ี 1 พฤศจิกายน 2564 เวลา 16.00 น. ตามเวลาทอ้ งถ่ิน
ท่ีเมืองกลาสโกว์ สหราชอาณาจกั ร ซ่ึงตรงกบั เวลา 23.00 น. ของไทย ณ ศนู ยก์ ารประชุม The Scottish Event
Campus ท่านนายกรฐั มนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทรโ์ อชา ไดก้ ล่าวถอ้ ยแถลงต่อท่ีประชุมระดับผูน้ ำ� COP26
ประกาศเจตนารมณ์ไทยพรอ้ มยกระดับการแก้ไขปัญหาสภาพภูมิอากาศอย่างเต็มท่ีดว้ ยทุกวิถีทาง ในโอกาส
ดังกล่าว ท่านนายกรฐั มนตรีไดป้ ระกาศเจตนารมณว์ ่าไทยพรอ้ มยกระดับการแกไ้ ขปัญหาภูมิอากาศอย่างเต็มท่ี
เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายความเป็นกลางทางคารบ์ อนภายในปี ค.ศ. 2050 และบรรลุเป้าหมายการปล่อยก๊าซ
เรือนกระจกสทุ ธิเป็นศูนยไ์ ดใ้ นปี ค.ศ. 2065 การประกาศนีส้ ่งผลต่อทงั้ ภาคอุปสงคแ์ ละอุปทานทางดา้ นพลงั งาน
ของประเทศไทยโดยตรง ทำ� ใหป้ ระเทศตอ้ งปรบั ตัวและทำ� การเปล่ียนผ่านพลงั งานอย่างเร่งด่วน คือเปล่ียนจาก
การใชพ้ ลงั งานหลกั จากฟอสซิลมาเป็นพลงั งานสะอาดในจำ� นวนมากขึน้ ในเวลาอนั รวดเร็ว นอกจากนีป้ ระเทศไทย
และนานาประเทศยังได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โรคระบาดอันเน่ืองมาจาก ไวรัส Covid-19 ตลอดจน
สงครามระหว่างรสั เซียและยูเครน ท่ีมีผลทำ� ใหร้ าคานำ้� มันเชือ้ เพลิงและก๊าซธรรมชาติ มีราคาสูงขึน้ หลายเท่าตวั
และประการสำ� คญั ยงั มีการประกาศจากสหภาพยโุ รป (EU) เก่ียวกบั มาตรการปรบั คารบ์ อนก่อนขา้ มพรมแดน หรือ
Carbon Border Adjustment Mechanism (CBAM) ซง่ึ ปัจจบุ นั เป็นหนง่ึ ในประเดน็ ท่ีหลายประเทศท่วั โลก รวมทงั้ ไทย
กำ� ลงั จับตามองเป็นพิเศษ เน่ืองจากเกรงว่าอาจเป็นปัจจัยท่ีส่งผลใหก้ ารส่งออกไปยังสหภาพยุโรปตอ้ งเผชิญกับ
กฎระเบียบดา้ นส่ิงแวดลอ้ มท่ีเขม้ งวด ปัจจัยท่ีไดก้ ล่าวมาแลว้ ขา้ งตน้ ทำ� ใหภ้ าคอุตสาหกรรม ภาคส่งออกสินคา้
ท่ีใช้พลังงานเข้มข้นในการผลิตมีต้นทุนท่ีเพ่ิมสูงขึน้ จากการถูกเรียกเก็บค่าธรรมเนียม หรือ “ค่าปรับ” ในการ
ปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากสินคา้ เพ่ือใหไ้ ดม้ าตรฐานการผลิตท่ีปลอดคารบ์ อนตามท่ีรฐั บาลสหภาพยุโรปกำ� หนด
ซ่ึงส่งผลกระทบต่อความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรม โดยเฉพาะอุตสาหกรรมเพ่ือการส่งออกสินคา้
และผลติ ภณั ฑไ์ ปยงั ประเทศในกลมุ่ สหภาพยโุ รป

ดว้ ยปัจจัยท่ีรุมเรา้ ดังกล่าวมีผลต่อการจัดหาเชือ้ เพลิงมาผลิตพลังงานโดยเฉพาะพลังงานในภาคไฟฟ้าท่ีใช้
ก๊าซธรรมชาติมาผลิตไฟฟ้ามากถึงรอ้ ยละ 70 พลงั งานท่ีสะอาดจะตอ้ งนำ� มาทดแทนพลงั งานเดิมท่ีมาจากฟอสซิล
เพ่ือนำ� มาป้อนให้แก่ ภาคการผลิต ภาคอุตสาหกรรม ภาคการค้าและภาคบริการ อย่างรวดเร็วและเร่งด่วน
โดยตอ้ งมีตน้ ทุนท่ีไม่สูงขึน้ ซ่ึงเป็นเร่ืองท่ีกระทำ� ไดย้ ากในช่วงเวลานี ้ การประกาศของประเทศไทยต่อนานาชาติ
ถึงแมจ้ ะเป็นการประกาศไปในอนาคตในอีก 28 ปีขา้ งหนา้ ใช่ว่าจะไม่มีผลกระทบในวนั นี้ เพราะองคก์ รขา้ มชาติ
ขนาดใหญ่ท่ีมีฐานการผลติ การคา้ การลงทนุ ในประเทศไทยไดต้ ระหนกั และขยบั ตวั แลว้ โดยไดก้ ำ� หนดนโยบายในระดบั
องคก์ ร (Corporate Policy) ไปถงึ หว่ งโซอ่ ปุ ทานทงั้ หมดตอ้ งใชพ้ ลงั งานสะอาดมาผลติ สนิ คา้ บรกิ าร โดยมีผลบงั คบั ใช้
ในระดบั องคก์ ร (Corporate Policy) มีอตั ราเรง่ มากกวา่ ในระดบั ประเทศอยา่ งนอ้ ย 10 ปี โดยผลเหลา่ นีไ้ ดก้ ระทบตอ่
ผปู้ ระกอบการทกุ ระดบั โดยเฉพาะในระดบั SMEs แลว้

10

แผน PDP ภาคประชาชน
(National Energy Plan-NEP ภาคประชาชน)

ดงั ท่ีไดก้ ล่าวมาแลว้ นนั้ การทำ� แผนพลงั งานชาติท่ีภาครฐั กำ� ลงั จดั ทำ� ขึน้ ใหม่นี้ จึงมีความสำ� คญั อย่างย่ิง
และรฐั ซ่ึงเป็นผูก้ ำ� หนดนโยบายพลังงานชาติ ไม่สมควรท่ีจะใชส้ มมุติฐานท่ีเคยใชใ้ นอดีต ในการจัดทำ�
แผนพลงั งานชาติใหมไ่ ดอ้ ีกตอ่ ไป เพราะสมมตุ ฐิ านเดมิ ในอดีต ไมส่ ามารถกำ� หนดทิศทางพลงั งานของประเทศ
ไดแ้ ลว้ ในปัจจุบนั และอนาคต อีกทงั้ แผนพลงั งานถา้ เพียงมีแผนเดียว จะมีความยืดหยุ่นต่ำ� จึงเป็นไปไม่ได้
ท่ีจะนำ� มาใชใ้ นสถานการณด์ ังท่ีไดก้ ล่าวมาแลว้ ได้ ประการสำ� คัญแผนพลังงานชาติควรจะเป็นแผนท่ีมุ่ง
ผลสมั ฤทธิ์ในดา้ นความสามารถ ท่ีจะใหป้ ระเทศบรรลเุ ปา้ หมายความเป็นกลางทางดา้ นคารบ์ อนในปี ค.ศ. 2050
ดงั นนั้ จึงทำ� ใหเ้ กิดแนวคิดและจดั ทำ� แผนพลงั งานชาติ (ภาคประชาชน) สภาอตุ สาหกรรมแห่งประเทศไทย
ใหม้ ีความยืดหย่นุ มากท่ีสดุ โดยจดั ทำ� แผนเป็นกรณีศกึ ษา 3 กรณี คือ 1.กรณีสถานการณแ์ บบอนรุ กั ษ์นิยม
2.กรณีสถานการณแ์ บบเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว และ 3.กรณีสถานการณแ์ บบเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว
Rev.1 ทงั้ นี้ ไดน้ ำ� สมมตุ ฐิ านดา้ นการใชย้ านยนตไ์ ฟฟา้ มาเป็นอปุ สงคร์ ว่ มในปรมิ าณเพ่ิมดว้ ย

ผลการวิเคราะหแ์ ละประเมินพบว่า การใชม้ าตรการประหยดั พลงั งานตอ้ งแกไ้ ขปรบั ปรุงใหเ้ พ่ิมปริมาณ
อยา่ งเรง่ ดว่ นควรกำ� หนดในเปา้ หมายท่ีชดั เจนในแผนพลงั งานชาติ และใหภ้ าครฐั นำ� ไปใชอ้ ยา่ งจรงิ จงั กฎหมาย
กฎระเบียบทางดา้ นงบประมาณท่ีเก่ียวขอ้ ง อาทิเช่น การกำ� หนดใหเ้ งินงบประมาณดา้ นสาธารณูปโภค
ท่ีประหยดั ไดจ้ ากมาตรการประหยดั พลงั งานในภาครฐั สามารถนำ� ไปใชไ้ ดใ้ นรูปแบบตา่ งๆ เช่น จ่ายตอบแทน
ใหแ้ ก่ บริษัท องคก์ ร นิติบุคคลใดท่ีทำ� งานดา้ นบริการประหยัดพลงั งานใหแ้ ก่ภาครฐั ไดต้ ามท่ีไดต้ กลงกัน
เป็นตน้ อนั ดบั ถดั ไปท่ีตอ่ มาจากมาตรการประหยดั พลงั งาน Energy Efficiency (EE) แลว้ ก็จะมาถงึ มาตรการ
การจัดหาพลังงาน ท่ีแต่เดิมใช้พลังงานจากฟอสซิลเป็นหลักมาเป็นระบบผสมผสาน (Energy MIX)
คือ พลงั งานจากฟอสซลิ มาผสมกบั พลงั งานหมนุ เวียน (Renewable Energy) โดยกำ� หนดใหม้ ีปรมิ าณพลงั งาน
หมนุ เวียนในอตั ราสว่ นผสมท่ีสงู ขนึ้ อยา่ งมีนยั และตอ้ งคำ� นงึ ถงึ ความม่นั คงในระบบไฟฟา้ ของประเทศควบคกู่ นั
ไปดว้ ย ทงั้ นีใ้ นเวลาเดียวกนั ไมค่ วรลงทนุ ในโรงไฟฟา้ ใหม่ อนั ใชพ้ ลงั งานจากฟอสซลิ มาผลติ ไฟฟา้ ตอ่ ไป เพราะ
จะเป็นภาระต่อตน้ ทนุ ของประเทศในอนาคต อีกทงั้ ตอ้ งกำ� หนดมาตรการในการส่งเสริมและสนบั สนนุ การใช้
ระบบกกั เก็บพลงั งาน Energy Storage System (ESS) ในระบบพลงั งานทกุ ระดบั อย่างเป็นระบบ โดยรฐั
ควรมนี โยบายท่ชี ดั เจนออกมาอยา่ งเรง่ ดว่ น โดยสามารถนำ� ไปใชท้ งั้ ในระบบผลติ (Generator) และระบบจำ� หนา่ ย
(Distributor) ประการสำ� คญั การใหค้ วามสำ� คญั กบั การกำ� หนดการปลดปลอ่ ยก๊าซเรอื นกระจก ตอ้ งคำ� นงึ ถึง
ตน้ ทุนการบำ� บดั การปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก มาเป็นเกณฑใ์ นการพิจารณาและเห็นควรใหอ้ ยู่ในทุกสตู ร
การคำ� นวณ มิฉะนนั้ การกำ� หนดประเภทชนิดเชือ้ เพลิง จะไม่มีการเปล่ียนแปลงไปจากแผนพลงั งานชาติเดิมๆ
แตอ่ ย่างใด ประการสดุ ทา้ ยแผนพลงั งานชาติตอ้ งมีมากวา่ หน่งึ แผน ตอ้ งมีแผนสำ� รอง แผนเรง่ ดว่ น เพราะเรา
อยใู่ นโลกในยคุ ท่ีมีการเปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเรว็ มีมิติท่ีเป็นตวั แปรหลายดา้ น และไมส่ ามารถควบคมุ ไดแ้ มแ้ ต่
ประเทศท่ีพฒั นาขนาดใหญ่ท่ีสดุ ในโลกก็ตาม

ดร.สวุ ทิ ย์ ธรณนิ ทรพ์ านชิ

ประธานคณะทำ� งาน PDP ภาคประชาชน สภาอตุ สาหกรรมแหง่ ประเทศไทย

11

แผน PDP ภาคประชาชน
(National Energy Plan-NEP ภาคประชาชน)

สารจากประธานมลู นธิ พิ ลงั งานสะอาดเพอ่ื ประชาชน
มูลนิธิพลงั งานสะอาดเพ่ือประชาชนขอขอบคุณ สถาบนั พลงั งานเพ่ืออุตสาหกรรม ภายใตส้ ภาอุตสาหกรรม

แหง่ ประเทศไทย ท่ีใหโ้ อกาสมลู นิธิฯ มีสว่ นรว่ มในการจดั ทำ� แผน PDP ภาคประชาชน (National Energy Plan – NEP
ภาคประชาชน) ในครงั้ นี้ ซง่ึ สอดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงคข์ องมลู นิธิฯ คือ การสนบั สนนุ และสง่ เสรมิ ช่วยเหลือนโยบาย
ภาครฐั และภาคเอกชนในดา้ นการใชพ้ ลงั งานหมนุ เวียนทดแทนพลงั งานจากฟอสซลิ และดา้ นการอนรุ กั ษพ์ ลงั งานและ
ส่งิ แวดลอ้ ม

มลู นิธิฯ คาดหวงั ว่าการจดั ทำ� PDP-NEP ภาคประชาชนนี้ จะมีส่วนช่วยใหก้ ารกำ� หนดแผนของภาครฐั ไดร้ บั
มมุ มองท่ีหลากหลายรวมถงึ ขอ้ มลู ท่ีรอบดา้ นมากขนึ้ กวา่ ในอดีตท่ีผา่ นมา เช่น การใหค้ วามสำ� คญั ของมิติดา้ นการลด
ก๊าซเรอื นกระจกและมิตดิ า้ นเศรษฐกิจฐานรากเพ่ือลดความเหล่อื มลำ้� ไมย่ ่ิงหยอ่ นไปกวา่ มิตดิ า้ นความม่นั คงของระบบ
ไฟฟา้ และประสงคอ์ ยา่ งย่ิงท่ีจะเหน็ การแปรนโยบาย 4D1E หรอื Decarbonization, Digitalization, Decentralization,
Deregulation, Electrification ไปสกู่ ารลงมือปฏิบตั โิ ดยไมช่ กั ชา้ และมีกรอบระยะเวลาท่ีแนน่ อน เพ่ือใหบ้ รรลเุ ปา้ หมาย
ตา่ งๆ ของประเทศ อาทิ ลดการปลอ่ ยก๊าซเรอื นกระจก (NDC Target) ใหไ้ ดร้ อ้ ยละ 40 ภายในปี ค.ศ. 2030 (ถา้ มีการ
สนบั สนนุ จากประเทศพฒั นาแลว้ ); Carbon Neutrality ในปี ค.ศ. 2050; Net Zero GHG Emission ในปี ค.ศ. 2065;
ตลอดจนแผนผลิตไฟฟ้าจากพลงั งานหมนุ เวียนในแผนพลงั งานชาติท่ีปรบั สดั สว่ นเพ่ิมขนึ้ จากรอ้ ยละ 30 เป็นไม่นอ้ ย
กวา่ รอ้ ยละ 50 ทงั้ นี้ เพ่ือไปบรรลเุ ปา้ หมายใหญ่ของโลกในการปอ้ งกนั มิใหเ้ กิดมหนั ตภยั ตอ่ มวลมนษุ ยชาติ ดว้ ยการ
ควบคมุ อณุ หภมู ิพืน้ ผิวโลกไมใ่ หเ้ พ่ิมสงู ขนึ้ เกินกวา่ 1.5 องศาเซลเซียสในปี ค.ศ. 2100

นอกจากเปา้ หมายดงั กลา่ วแลว้ เปา้ หมายขององคก์ รเอกชนและผปู้ ระกอบการทงั้ หลายก็มีความสำ� คญั เรง่ ด่วน
และตอ้ งบรรลเุ ป้าหมายต่างๆ นนั้ ก่อนเป้าหมายของประเทศเสียอีก ดงั นนั้ การลงมือปฏิบตั ิตามนโยบายใหท้ นั ต่อ
สถานการณก์ ารเปล่ียนผ่านพลงั งานจากฟอสซิลไปส่พู ลงั งานสะอาดนนั้ จึงมีความจำ� เป็นอย่างย่ิงยวด เพ่ือนำ� พา
ประเทศไทย อตุ สาหกรรมไทย การคา้ การส่งออกของไทย และประชาชนคนไทย รอดพน้ จากแรงกดดนั จากกติกา
โลกใหม่ และสามารถปรบั ตวั ใหย้ นื อยใู่ นเวทโี ลกไดอ้ ยา่ งแขง็ แรงและย่งั ยนื ตลอดไปและหากปฏบิ ตั ไิ ดต้ ามหลกั เศรษฐกจิ
พอเพียง คือ มีความพอดี มีเหตผุ ล มีภมู ิคมุ้ กนั ดว้ ยความรูค้ ่คู ณุ ธรรม ก็จะย่ิงทำ� ใหช้ าติไทยเรากา้ วพน้ จากกบั ดกั
รายไดป้ านกลางไปสกู่ ารเป็นประเทศพฒั นาแลว้ ไดต้ อ่ ไป

นายนที สทิ ธปิ ระศาสน์

รองประธานมลู นธิ พิ ลงั งานสะอาดเพอื่ ประชาชน
ปฏบิ ตั หิ นา้ ทป่ี ระธานมลู นธิ พิ ลงั งานสะอาดเพอ่ื ประชาชน

บทสรปุ ผู้บรหิ าร

แผน PDP ภาคประชาชน หรอื NEP ภาคประชาชน

13

แผน PDP ภาคประชาชน
(National Energy Plan-NEP ภาคประชาชน)

บทสรปุ ผบู้ รหิ าร

พลงั งานเป็นปัจจยั พืน้ ฐานท่ีสำ� คญั ของประเทศท่ีจะมีผลกระทบทงั้ ทางภาคเศรษฐกิจ สงั คม อตุ สาหกรรม ขนสง่ ภาคธรุ กิจ
ตลอดจนการประกอบอาชีพ และการดำ� รงชีวิตประจำ� วนั ของประชาชน ความตอ้ งการดา้ นพลงั งานมีเพ่ิมมากขนึ้ ตลอดเวลา
ในขณะทแ่ี นวโนม้ ของการพฒั นาดา้ นพลงั งานในปัจจบุ นั นบั วา่ อยใู่ นชว่ งหวั เลยี้ วหวั ตอ่ ของการเปลย่ี นแปลงทจ่ี ะนำ� ไปสพู่ ลงั งาน
ในรูปแบบใหมใ่ นอนาคตอนั ใกลน้ ี้

ในส่วนของประเทศไทย มีการนำ� เขา้ พลงั งานฟอสซิล ไม่ว่าจะเป็นก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน และนำ้� มนั อย่างต่อเน่ือง
โดยเฉพาะในปัจจุบัน ประเทศไทยใชก้ ๊าซธรรมชาติเป็นเชือ้ เพลิงหลักสำ� หรบั การผลิตไฟฟ้ามากกว่ารอ้ ยละ 60 ดังนั้น
ความผนั ผวนทางดา้ นราคาเชือ้ เพลิงในตลาดโลก จะมีผลกระทบโดยตรงต่อราคาดา้ นพลงั งานในประเทศ ดงั นนั้ การจดั หา
พลงั งาน โดยมีการกระจายใหเ้ กิดความสมดลุ และมีความพอเพียง รวมถงึ การคำ� นงึ ถงึ พลงั งานเพ่ือส่งิ แวดลอ้ ม จงึ เป็นส่งิ ท่ี
สำ� คญั ตอ่ ประเทศไทย โดยจะตอ้ งคำ� นงึ ถงึ การเปล่ยี นผา่ นดา้ นพลงั งาน ท่ีจะตอ้ งมงุ่ เนน้ สพู่ ลงั งานสีเขียวอยา่ งจรงิ จงั
แผนพลังงานชาติ และแผนพัฒนากำ� ลังผลติ ไฟฟา้

เม่ือวนั ท่ี 4 สิงหาคม 2564 คณะกรรมการนโยบายพลงั งานแห่งชาติ (กพช.) ไดเ้ ห็นชอบกรอบแผนพลงั งานชาติ ซ่งึ มี
เปา้ หมายหลกั ในการลดการปลดปลอ่ ยก๊าซคารบ์ อนไดออกไซดส์ ทุ ธิเป็นศนู ย์ หรอื Carbon Neutrality ภายในปี ค.ศ. 2065
ซง่ึ มีทิศทางในการกำ� หนดนโยบายใน 5 ดา้ น ไดแ้ ก่ 1.การลดการปลอ่ ยก๊าซเรอื นกระจกในภาคพลงั งาน 2. การมงุ่ สกู่ ารลงทนุ
พลงั งานสะอาด 3. การดำ� เนินนโยบาย 4D1E เพ่ือเพ่ิมความสามารถในการแขง่ ขนั ของภาคพลงั งาน 4. การเพ่ิมสดั สว่ นการ
ใชพ้ ลงั งานทดแทน และ 5. การพฒั นาโครงสรา้ งพืน้ ฐานเพ่ือรองรบั การเปล่ียนผ่านดา้ นเทคโนโลยี โดยสำ� นกั นโยบายและ
แผนพลงั งาน ไดจ้ ดั รบั ฟังความคดิ เหน็ ในชว่ งไตรมาสท่ี 4 พ.ศ. 2564 เพ่ือจดั ทำ� แผนพลงั งานชาตทิ ่ีจะเป็นแผนท่ีกำ� หนดทิศทาง
ของกรอบเป้าหมายนโยบายดา้ นพลงั งานท่ีชดั เจน เป็นการบูรณาการแผนดา้ นพลงั งานต่างๆ เขา้ ดว้ ยกัน เพ่ือจะใหเ้ ห็น
ภาพทิศทาง และเป้าหมายดา้ นพลงั งาน ไม่ว่าจะเป็นการเปล่ียนผ่านดา้ นพลงั งานจากการใชฟ้ อสซิลไปส่พู ลงั งานสะอาด
รวมไปถึงนวัตกรรมดา้ นพลงั งานท่ีจะมารองรบั การเปล่ียนผ่าน และสะทอ้ นถึงถอ้ ยแถลงเจตจำ� นงคท์ ่ีประเทศไทย โดย
นายกรฐั มนตรีไดแ้ ถลงไปในการประชุมรฐั ภาคีกรอบอนุสญั ญาสหประชาชาติว่าดว้ ยการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ
สมยั ท่ี 26 หรอื COP26 ท่ีไดจ้ ดั ขนึ้ ในชว่ งวนั ท่ี 31 ตลุ าคม – 12 พฤศจิกายน 2564 ท่ีผา่ นมา ซง่ึ นายกรฐั มนตรไี ดป้ ระกาศ
เปา้ หมายความเป็นกลางทางคารบ์ อนของประเทศไทยและการปลอ่ ยคารบ์ อนสทุ ธิเป็นศนู ยภ์ ายในปี ค.ศ. 2050

ในสว่ นของแผนพฒั นากำ� ลงั ผลติ ไฟฟา้ ของประเทศ หรอื PDP นนั้ สนพ. ก็กำ� ลงั อยใู่ นระหวา่ งการเตรยี มปรบั ปรุงแผนจาก
PDP 2018 rev.1 ไปสู่ PDP 2022 และรวมถงึ แผนยอ่ ยดา้ นพลงั งานอีก 4 แผน ไดแ้ ก่แผนบรหิ ารจดั การก๊าซธรรมชาติ (Gas
Plan) แผนบรหิ ารจดั การนำ้� มนั เชือ้ เพลงิ (Oil Plan) แผนพฒั นาพลงั งานทดแทน และพลงั งานทางเลือก (AEDP) และ แผน
อนรุ กั ษพ์ ลงั งาน (EEP) และจะรวบรวมและจดั ทำ� ใหเ้ ป็นแผนพลงั งานชาติ ซง่ึ จะเป็นการกำ� หนดทิศทางสำ� หรบั นโยบายดา้ น
พลงั งานของประเทศไทย ซง่ึ คาดวา่ จะเสรจ็ และนำ� มาใชไ้ ดภ้ ายในปี 2566 นี ้
แผนพลงั งานชาติ และแผนพัฒนากำ� ลังผลติ ไฟฟา้ ภาคประชาชน

สถาบนั พลงั งานเพ่ืออตุ สาหกรรม สภาอตุ สาหกรรมแห่งประเทศไทย (สถาบนั ฯ) และ มลู นิธิพลงั งานสะอาดในฐานะท่ี
เป็นส่วนหน่ึงของภาคพลงั งานของประเทศ ตระหนกั ถึงความสำ� คญั ท่ีจะตอ้ งมีส่วนรวมในการผลกั ดนั และนำ� เสนอแนวทาง
ในการดำ� เนนิ ยทุ ธศาสตร์และนโยบายดา้ นพลงั งานของประเทศ จงึ ไดม้ กี ารศกึ ษา และนำ� เสนอแผนพลงั งานชาตภิ าคประชาชน
ระหว่างปีค.ศ. 2021-2051 โดยการวางแผนหรือจำ� ลองสถานการณไ์ วใ้ นรูปแบบต่างๆ ทัง้ ในกรณีปกติ และกรณีท่ีการ

14

แผน PDP ภาคประชาชน
(National Energy Plan-NEP ภาคประชาชน)

เปล่ียนผ่านของเทคโนโลยีรวดเรว็ กว่าท่ีคาดการณ์ และนำ� เสนอมมุ มองรวมถึงขอ้ เสนอแนะดา้ นการพฒั นาพลงั งานของ
ประเทศอย่างรอบดา้ น เพ่ือเป็นแนวทางในการนำ� เสนอความเห็น และขอ้ เสนอแนะเพ่ือประกอบการพิจารณากำ� หนด
ยทุ ธศาสตร์ และนโยบายดา้ นพลงั งานของประเทศตอ่ ไป

ในการศกึ ษาแผนพลงั งานชาติ และแผนพฒั นากำ� ลงั ผลิตไฟฟ้าภาคประชาชน สถาบนั ฯ ไดจ้ ดั ตงั้ คณะทำ� งานหลกั
และคณะทำ� งานยอ่ ย ไดแ้ ก่ คณะทำ� งานดา้ นแผน Oil & Gas ดา้ นพลงั งานทดแทน ดา้ นแผนอนรุ กั ษพ์ ลงั งาน ดา้ น EV &
Energy Storage System และดา้ น Digital Platform ขนึ้ มา เพ่ือทำ� การศกึ ษา รบั ฟังความคดิ เหน็ และรวบรวมผลการศกึ ษา
และนำ� ไปใชเ้ ป็นขอ้ มลู ในแบบจำ� ลองแผน PDP และนำ� เสนอผลการทดสอบ ขอ้ คดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะตา่ งๆ ในรายงาน
การศกึ ษาในครงั้ นี้ และมีการนำ� เสนอขอ้ คิดเห็นและขอ้ เสนอแนะของแตล่ ะแผน ซง่ึ ไดร้ วบรวมไวใ้ นเอกสารประกอบการ
นำ� เสนอของแตล่ ะคณะทำ� งานยอ่ ยไวใ้ นรายงานฉบบั นี้
สรปุ ผลการศึกษาแผนพัฒนากำ� ลังผลิตไฟฟา้ ภาคประชาชน

คณะทำ� งาน ไดร้ วบรวมผลการศกึ ษาของคณะทำ� งานยอ่ ยของแตล่ ะแผน แลว้ นำ� มาใสใ่ นแบบจำ� ลอง เพ่ือใชใ้ นการ
วางแผน และจำ� ลองสถานการณ์ โดยไดท้ ำ� การศกึ ษาเป็น 2 กรณี ไดแ้ ก่ สถานการณแ์ บบอนรุ กั ษน์ ิยม (Conservative
Scenario-CS) และสถานการณแ์ บบเปล่ยี นแปลงอยา่ งรวดเรว็ (Rapid Transformation Scenario-RT) และในภายหลงั
ไดม้ ีการปรบั ปรุงเพ่ิมเติม โดยการปรบั ปรุงสถานการณแ์ บบเปล่ียนแปลงอย่างรวดเรว็ (RT Rev1) เพ่ือใหส้ อดคลอ้ งกบั
สถานการณป์ ัจจบุ นั ซง่ึ ทงั้ 3 กรณีมีสมมตฐิ านหลกั ๆ รายละเอียดดงั ตอ่ ไปนี้

สมมตฐิ าน กรณี CS กรณี RT กรณี RT Rev1
<1 <0.7
LOLE (วนั ตอ่ ปี ) <0.7 31.75 33.00
อตั ราแลกเปลยี่ น (USD/บาท) 31.75 ลดการปลอ่ ยคารบ์ อนในภาคการผลติ ไฟฟา้ ได้100%ภายในปี ค.ศ.
นโยบายการปลอ่ ยคารบ์ อน ลดการปล่อยคารบ์ อนในภาค 2050 โดยจะมกี ารชดเชยการปลอ่ ยกา๊ ซคารบ์ อน (Carbon offset)
การผลติ ไฟฟา้ ได้ 50% ภายใน ประมาณ 10 ลา้ นตนั จากโควตา้ ทไ่ี ดจ้ ากกจิ กรรม Land Use, Land
อตั ราการเตบิ โต GDP ปี ค.ศ.2050 และลดการปลอ่ ย Use Change and Forestry (LULUCF)
เป้าหมายยานยนตไ์ ฟฟ้า คารบ์ อนได้75% ในปี ค.ศ.2070
และมกี ารใชเ้ ทคโนโลยกี ารดกั จบั 3.0-2.7% 3.0-2.7%
ความตอ้ งการพลงั งานไฟฟ้า การใชป้ ระโยชน์ และการกกั เกบ็ 100%ของเปา้ หมาย100@35ทก่ี ำ� หนดโดยคณะกรรมการนโยบาย
ทงั้ หมด (GWh) คารบ์ อน(CCUS)ในสว่ นทเ่ี หลอื ยานยนตไ์ ฟฟา้ แหง่ ชาติ
ความตอ้ งการไฟฟ้าทงั้ หมด 3.0-2.7%
(MW) 50% ของเป้าหมาย 100@35 568,281 ในปี ค.ศ.2051
ท่ีก�ำหนดโดยคณะกรรมการ
นโยบายยานยนตไ์ ฟฟา้ แหง่ ชาติ 78,895 ในปีค.ศ. 2051
567,491 ในปี ค.ศ.2051
78,557 ในปีค.ศ.2051

15

แผน PDP ภาคประชาชน
(National Energy Plan-NEP ภาคประชาชน)

สมมตฐิ าน กรณี CS กรณี RT กรณี RT Rev1

สดั สว่ นเชอื้ เพลงิ ผลติ ไฟฟ้า กำ� หนดสดั สว่ นREรวมกบั โรงไฟฟา้ ก�ำหนดสัดส่วน RE รวมกับ กำ� หนดสดั สว่ นRE รวมไมเ่ กนิ
ตา่ งประเทศไมเ่ กนิ 90% โรงไฟฟา้ ตา่ งประเทศไมเ่ กนิ 90% 83% โรงไฟฟา้ กา๊ ซธรรมชาตมิ ี
โรงไฟฟ้าถา่ นหนิ เป็นไปตามสัญญาซือ้ ขายไฟฟ้า โรงไฟฟา้ เชอื้ เพลงิ ถา่ นหนิ ลกิ ไนต์ สดั สว่ นใน Energy Mix อยา่ ง
ต้นทุนโรงไฟฟ้าและระบบ ของภาครฐั หรอื ตามอายโุ รงไฟฟา้ 0% หลงั จากปี ค.ศ. 2042 นอ้ ย 10% ซง่ึ มกี ารปรบั ราคา
กกั เกบ็ พลงั งาน ถา่ นหนิ กา๊ ซธรรมชาตใิ นระยะสนั้ ตาม
ขอ้ มลู จากคณะทำ� งานกลมุ่ ตา่ งๆ แนวโนม้ ราคาก๊าซธรรมชาติ
ท่ีปรบั ขึน้ แต่ในระยะยาวยงั
คงใช้อัตราเดิมและสัดส่วน
โรงไฟฟ้าจากต่างประเทศไม่
เกนิ 7%
ย ก เ ลิ ก โ ร ง ไ ฟ ฟ้ า ถ่ า น หิ น
ทงั้ หมดตงั้ แตป่ ี ค.ศ. 2040

ขอ้ มลู จากคณะทำ� งานกลมุ่ ตา่ งๆ ขอ้ มูลจากคณะทำ� งานกลุ่ม
ต่างๆ และปรบั ตน้ ทุนระบบ
กักเก็บพลังงาน อ้างอิง
NREL-USA 2021

สถาบนั พลงั งานเพ่อื อตุ สาหกรรม ส.อ.ท.และมลู นธิ ิพลงั งานสะอาดไดร้ บั ความอนเุ คราะหจ์ ากสถาบนั วจิ ยั พลงั งานจฬุ าลงกรณ์
มหาวทิ ยาลยั ในการนำ� ขอ้ มลู สมมตฐิ านตา่ งๆ ไปประมวลผลในโปรแกรมวางแผนพลงั งานไฟฟา้ ท่พี ฒั นาโดยสถาบนั วจิ ยั พลงั งานฯ
และไดผ้ ลการรนั โปรแกรมในการวางแผนฯ ดงั นี้

ผลการวางแผน กรณี CS กรณี RT กรณี RT Rev1

กาลงั ผลติ ไฟฟ้า ณ ธนั วาคม 51,739 51,749 51,749
ค.ศ. 2020 (MW) 68,484 68,534 67,984
กาลงั ผลติ ไฟฟ้าใหม่ ในชว่ ง -50,366 -51,026 -51,008
ปี ค.ศ. 2021 – 2051 (MW) 69,857 69,257 68,725
กาลงั ผลติ ไฟฟ้าทป่ี ลดออกจากระบบ อยใู่ นเกณฑ์ <0.7 วนั ตอ่ ปี อยใู่ นเกณฑ์ <1.0 วนั ตอ่ ปี อยใู่ นเกณฑ์ <0.7 วนั ตอ่ ปี
ในชว่ งปี ค.ศ.2021 – 2051 (MW) สงู สดุ ประมาณ 70% ในปีค.ศ. สงู สดุ ประมาณ 58% ในปีค.ศ. สูงสุดประมาณ 56% ใน
รวมกำ� ลงั ผลติ ไฟฟ้าทงั้ สนิ้ ถงึ ปี 2024ตำ่� สดุ ประมาณ4.4%ใน 2024ตำ่� สดุ ประมาณ5.9%ใน ปีค.ศ. 2024 ตำ่� สดุ ประมาณ
ค.ศ. 2051 (MW) ปีค.ศ. 2051 ปีค.ศ. 2046 3.4% ในปีค.ศ. 2045
LOLE
Reserve Margin(%)

16

แผน PDP ภาคประชาชน
(National Energy Plan-NEP ภาคประชาชน)

รปู แสดงพลงั งาน (GWh) ในระบบไฟฟา้ จากแหลง่ เชอ้ื เพลงิ ประเภทตา่ งๆ ใน 3 กรณี
เทยี บในปี ค.ศ. 2022, 2030, 2040, 2051

รปู แสดงเปรยี บเทยี บตน้ ทนุ การผลติ ไฟฟา้ (ไมร่ วมระบบสง่ และระบบจ�ำ หนา่ ย) ใน 3 กรณี
เทยี บในปี ค.ศ. 2022, 2030, 2040, 2051 (บาท/หนว่ ย)

ผลการจดั ท�ำ PDP ตามสมมตฐิ านของ

กลมุ่ อตุ สาหกรรมพลงั งานหมนุ เวยี น

สถาบนั วจิ ยั พลงั งาน จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ,
12 กรกฎาคม 2564

Conservative Case

19

แผน PDP ภาคประชาชน
(National Energy Plan-NEP ภาคประชาชน)

Cหัวขo้อnกาsรนe�ำเrสvนอative Case

1 สมมตฐิ านขอ้ มลู จากสภาอตุ สาหกรรมแหง่ ประเทศไทย
2 สมมตฐิ านเงอ่ื นไขทใี่ ชใ้ นการวางแผน
3 ผลการจดั ทำ� แผน PDP ตามสมมตฐิ านทกี่ ำ� หนด
4 สรปุ ผลการจดั ทำ� แผน

20

แผน PDP ภาคประชาชน
(National Energy Plan-NEP ภาคประชาชน)

สมมตฐิ านขอ้ มลู จากสภาอตุ สาหกรรมแหง่ ประเทศไทย

ขอ้ มลู ทใ่ี ชใ้ นการวางแผน

21

แผน PDP ภาคประชาชน
(National Energy Plan-NEP ภาคประชาชน)

ขอ้ มลู ทใ่ี ชใ้ นการวางแผน

22

แผน PDP ภาคประชาชน
(National Energy Plan-NEP ภาคประชาชน)

ขอ้ มลู ทใ่ี ชใ้ นการวางแผน

23

แผน PDP ภาคประชาชน
(National Energy Plan-NEP ภาคประชาชน)

สมมตฐิ านเงอ่ื นไขทใ่ี ชใ้ นการวางแผน

เงอ่ื นไขทใ่ี ชใ้ นการวางแผน
n ชว่ งเวลาท่ีพิจารณา 2021 - 2051
n รายช่ือโรงไฟฟา้ ท่ีมี PPA แลว้ ตามแผน PDP2018 rev.1 ใหเ้ ขา้ ตาม SCOD เดมิ
n นำ� โรงไฟฟา้ พลงั นำ้� ตา่ งประเทศ และโรงไฟฟา้ แขง่ ขนั ทงั้ หมดออกจากแผน
n นำ� โรงไฟฟา้ ของ กฟผ. ไดแ้ ก่ โรงไฟฟา้ สรุ าษฏรธ์ านี โรงไฟฟา้ พระนครใต้ (ทดแทน) โรงไฟฟา้ พระนครเหนือ (ทดแทน)
ออกจากแผน
n เกณฑค์ วามเช่ือถือไดข้ องระบบไฟฟา้
n โอกาสเกิดไฟฟา้ ดบั ไมเ่ กิน 0.7 วนั ตอ่ ปี
n เง่ือนไขสดั สว่ นกำ� ลงั ผลติ : โรงไฟฟา้ กลมุ่ พลงั งานหมนุ เวียน, โรงไฟฟา้ จากตา่ งประเทศ ไมเ่ กิน 90%
n เง่ือนไขสดั สว่ นการใชเ้ ชือ้ เพลงิ : ไมก่ ำ� หนดเง่ือนไขท่ีใชใ้ นการวางแผน

24

แผน PDP ภาคประชาชน
(National Energy Plan-NEP ภาคประชาชน)

ผลการจดั ท�ำ แผน PDP ตามสมมตฐิ านทก่ี �ำ หนด

ผลการวางแผน PDP ภาคประชาชน กรณี
Conservative Case

25

แผน PDP ภาคประชาชน
(National Energy Plan-NEP ภาคประชาชน)

ผลการวางแผน PDP ภาคประชาชน กรณี
Conservative Case

26

แผน PDP ภาคประชาชน
(National Energy Plan-NEP ภาคประชาชน)

สรปุ ผลการจดั ท�ำ แผน

สรปุ ผลการจดั ท�ำ แผนตามสมมตฐิ าน กรณี
Conventional Case
n มาตรการประหยดั พลงั งาน (EE) และ IPS ค่อนขา้ งสงู โดยเฉพาะช่วงปีทา้ ยๆ ทำ� ใหค้ วามตอ้ งการพลงั งานไฟฟ้า
เพ่ิมขนึ้ นอ้ ยและมีการเพ่ิมโรงไฟฟา้ นอ้ ยลง
n โรงไฟฟา้ สว่ นใหญ่ท่ีเขา้ สรู่ ะบบไฟฟา้ สว่ นจะเป็นโรงไฟฟา้ Solar+ESS เน่ืองจากกำ� หนดเง่ือนไขอตั ราการปลดปลอ่ ย
CO2 ท่ีต่ำ� มาก
n โรงไฟฟ้าพลงั ความรอ้ นรว่ มท่ีเพ่ิมเขา้ สรู่ ะบบถกู เพ่ิมเฉพาะในกรณีท่ีสดั สว่ นกำ� ลงั ผลิตไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าพลงั งาน
หมนุ เวียนและโรงไฟฟา้ ตา่ งประเทศใกลเ้ คียงกบั เง่ือนไขบงั คบั ท่ีกำ� หนดใหไ้ มเ่ กิน 90%
n โรงไฟฟา้ ท่ีเขา้ สรู่ ะบบก่อนปี 2034 คือโรงไฟฟา้ ท่ีเขา้ ตามแผน PDP และ AEDPหลงั จากปี 2034 เป็นตน้ ไป จะมี
โรงไฟฟา้ Solar+ESS เขา้ สรู่ ะบบมากขนึ้
n ตน้ ทนุ อตั ราคา่ ไฟฟ้าสว่ นใหญ่คือคา่ AP เน่ืองมาจากโรงไฟฟ้าท่ีไดเ้ ดินเคร่อื งสว่ นใหญ่คือโรงไฟฟ้า Solar + ESS
ท่ีมีแคต่ น้ ทนุ คา่ ก่อสรา้ งและบำ� รุงรกั ษาคงท่ี ไมม่ ีคา่ เชือ้ เพลงิ

27

แผน PDP ภาคประชาชน
(National Energy Plan-NEP ภาคประชาชน)

Rapid Transformation Case

28

แผน PDP ภาคประชาชน
(National Energy Plan-NEP ภาคประชาชน)

หRวั aขp้อiกdารTนrำ�aเสnนsอformation Case

1 สมมตฐิ านขอ้ มลู จากสภาอตุ สาหกรรมแหง่ ประเทศไทย
2 สมมตฐิ านเงอื่ นไขทใี่ ชใ้ นการวางแผน
3 ผลการจดั ทำ� แผน PDP ตามสมมตฐิ านทก่ี ำ� หนด
4 สรปุ ผลการจดั ทำ� แผน

29

แผน PDP ภาคประชาชน
(National Energy Plan-NEP ภาคประชาชน)

สมมตฐิ านขอ้ มลู จากสภาอตุ สาหกรรมแหง่ ประเทศไทย

ขอ้ มลู ทใ่ี ชใ้ นการวางแผน

30

แผน PDP ภาคประชาชน
(National Energy Plan-NEP ภาคประชาชน)

ขอ้ มลู ทใ่ี ชใ้ นการวางแผน

31

แผน PDP ภาคประชาชน
(National Energy Plan-NEP ภาคประชาชน)

ขอ้ มลู ทใ่ี ชใ้ นการวางแผน

สมมตฐิ านเงอ่ื นไขทใ่ี ชใ้ นการวางแผน

เงอ่ื นไขทใ่ี ชใ้ นการวางแผน
n เง่ือนไขการวางแผนท่วั ไป
• ชว่ งเวลาท่ีพิจารณา 2021 - 2051
• รายช่ือโรงไฟฟา้ ท่ีมี PPA แลว้ ตามแผน PDP2018 rev.1 ใหเ้ ขา้ ตาม SCOD เดมิ
• นำ� โรงไฟฟา้ พลงั นำ้� ตา่ งประเทศ และโรงไฟฟา้ แขง่ ขนั ทงั้ หมดออกจากแผน
• นำ� โรงไฟฟา้ ของ กฟผ. ไดแ้ ก่ โรงไฟฟา้ สรุ าษฏรธ์ านี โรงไฟฟา้ พระนครใต้(ทดแทน) โรงไฟฟา้ พระนครเหนอื (ทดแทน)
ออกจากแผน
• เกณฑค์ วามเช่ือถือไดข้ องระบบไฟฟา้
• โอกาสเกิดไฟฟา้ ดบั ไมเ่ กิน 1 วนั ตอ่ ปี
• เง่ือนไขสดั สว่ นกำ� ลงั ผลติ : โรงไฟฟา้ กลมุ่ พลงั งานหมนุ เวียน, โรงไฟฟา้ จากตา่ งประเทศ ไมเ่ กิน 90%
• เง่ือนไขสดั สว่ นการใชเ้ ชือ้ เพลงิ : โรงไฟฟา้ เชือ้ เพลงิ ถ่านหินลกิ ไนต์ 0% หลงั จากปี ค.ศ. 2042

32

แผน PDP ภาคประชาชน
(National Energy Plan-NEP ภาคประชาชน)

ผลการจดั ท�ำ แผน PDP ตามสมมตฐิ านทก่ี �ำ หนด

ผลการวางแผน PDP ภาคประชาชน กรณี
Rapid Transformation Case

33

แผน PDP ภาคประชาชน
(National Energy Plan-NEP ภาคประชาชน)

ผลการวางแผน PDP ภาคประชาชน กรณี
Rapid Transformation Case

34

แผน PDP ภาคประชาชน
(National Energy Plan-NEP ภาคประชาชน)

สรปุ ผลการจดั ท�ำ แผน

สรปุ ผลการจดั ท�ำ แผนตามสมมตฐิ าน กรณี
Rapid Transformation Case
n มาตรการประหยดั พลงั งาน (EE) และ IPS คอ่ นขา้ งสงู โดยเฉพาะช่วงปีทา้ ยๆ ทำ� ใหค้ วามตอ้ งการพลงั งานไฟฟา้
เพ่ิมขนึ้ นอ้ ยและมีการเพ่ิมโรงไฟฟา้ นอ้ ยลง
n โรงไฟฟา้ สว่ นใหญ่ท่เี ขา้ สรู่ ะบบไฟฟา้ สว่ นจะเป็นโรงไฟฟา้ Solar+ESS เน่ืองจาก กำ� หนดเง่อื นไขอตั ราการปลดปลอ่ ย
CO2 ท่ีต่ำ� มาก
n โรงไฟฟา้ พลงั ความรอ้ นรว่ มท่ีเพ่ิมเขา้ สรู่ ะบบถกู เพ่ิมเฉพาะในกรณีท่ีสดั สว่ นกำ� ลงั ผลิตไฟฟา้ ของโรงไฟฟา้ พลงั งาน
หมนุ เวียนและโรงไฟฟา้ ตา่ งประเทศใกลเ้ คียงกบั เง่ือนไขบงั คบั ท่ีกำ� หนดใหไ้ มเ่ กิน 90%
n เง่ือนไขการปลดปล่อย CO2 ท่ีต่ำ� มากทำ� ใหจ้ ำ� เป็นตอ้ งเพ่ิมโรงไฟฟ้า Solar+ESS เขา้ ส่รู ะบบจำ� นวนมากตงั้ แต่
ชว่ งปีแรกๆ ของการวางแผน ทำ� ใหค้ า่ LOLE คอ่ นขา้ งต่ำ� กวา่ เกณฑก์ ารวางแผน
n ตน้ ทนุ อตั ราคา่ ไฟฟา้ สว่ นใหญ่คือคา่ AP เน่ืองมาจากโรงไฟฟา้ ท่ีไดเ้ ดินเครอ่ื งสว่ นใหญ่คือโรงไฟฟา้ Solar + ESS
ท่ีมีแคต่ น้ ทนุ คา่ ก่อสรา้ งและบำ� รุงรกั ษาคงท่ี ไมม่ ีคา่ เชือ้ เพลงิ
n เน่ืองจากความตอ้ งการพลงั งานไฟฟา้ ลดลงในปีทา้ ยๆ ทำ� ใหอ้ ตั ราคา่ ไฟฟา้ คอ่ นขา้ งสงู

35

แผน PDP ภาคประชาชน
(National Energy Plan-NEP ภาคประชาชน)

ตภอ่าพกรารวกมำ�ขหอ้ นสดังเสกมตมติฐาน

36

แผน PDP ภาคประชาชน
(National Energy Plan-NEP ภาคประชาชน)

ภาพรวมขอ้ สงั เกตตอ่ การก�ำ หนดสมมตฐิ าน

n ค่าพยากรณค์ วามตอ้ งการใช้ไฟฟ้า และความตอ้ งการใช้ไฟฟ้าสูงสุด
• ยงั ไมม่ ี profile ของ captive demand แบบ COGEN ท่ีสอดคลอ้ งกบั รูปแบบการใชไ้ ฟฟา้ ของภาคอตุ สาหกรรม
n สมมตฐิ านในการจดั ทำ� แผน
• มาตรการประหยดั พลงั งาน (EE) และ captive demand มีคา่ สงู มาก ในบางกรณีศกึ ษาในชว่ งปีทา้ ยๆ กำ� ลงั ผลติ
ในสว่ นนีม้ ีคา่ เทียบเทา่ กบั ครง่ึ หนง่ึ ของความตอ้ งการใชไ้ ฟฟา้ สงู สดุ ของทงั้ ประเทศ และทำ� ใหค้ วามตอ้ งการพลงั งาน
ไฟฟา้ ของระบบไฟฟา้ ลดลงอยา่ งมาก
• ตน้ ทนุ เงินลงทนุ Solar+ESS ต่ำ� มาก ในระยะยาวต่ำ� กว่า CCGT ทงั้ ๆ ท่ีเป็นราคาต่อ Contracted Capacity
(ใช้ Installed Capacity ของ Solar ~7x และ ESS รองรบั ~20hr.)
• มาตรการ DR มีคา่ สงู มาก ในกรณี Rapid Transformation อาจมากกวา่ Potential Technical DR
n สมมตฐิ านในการจดั ทำ� แผน
n การกำ� หนดให้ Demand response เขา้ และออกเป็นรายปีทำ� ใหก้ ารแสดงผลในสว่ นของการเพ่ิม – ปลดโรงไฟฟ้า
ผิดเพีย้ นไป (มีโรงไฟฟา้ เขา้ และออกจากระบบ แตล่ ะปีมากกวา่ ความเป็นจรงิ )
n ขนาดของโรงไฟฟา้ ตวั เลือกท่ีเลก็ ลงเม่ือเทียบกบั PDP2018r1 และความเช่ือถือไดท้ ่ีสงู ของโรงไฟฟา้ พลงั แสงอาทิตย์
ทำ� ใหค้ ่า LOLE ค่อนขา้ งต่ำ� แมจ้ ะมีกำ� ลงั ผลิตพ่ึงไดข้ องระบบสูงกว่าความตอ้ งการใชไ้ ฟฟ้าสูงสุดเพียงเล็กนอ้ ย
(คา่ กำ� ลงั ผลติ ไฟฟา้ สำ� รองคอ่ นขา้ งต่ำ� )
n สมมตฐิ าน Carbon Neutrality Target
n กำ� หนด CO2 emission ต่ำ� มาก ในต่างประเทศอาจอาศยั การปลกู ตน้ ไมร้ ่วมดว้ ยเพ่ือดดู ซบั Carbon ออกจาก
ระบบดว้ ย ไมไ่ ดจ้ ำ� กดั เปา้ หมายจากการผลติ ไฟฟา้ เพียงอยา่ งเดียว
n จากผลการจดั ทำ� แผน PDP จะตอ้ งใชพ้ ืน้ ท่ีตดิ ตงั้ Solar Farm จำ� นวนมาก (อาจมีปัญหาการจดั หาพืน้ ท่ี)

37

แผน PDP ภาคประชาชน
(National Energy Plan-NEP ภาคประชาชน)

สมมตฐิ านในการรนั ครง้ั ท่ี 3

Rapid Transformation Scenario-Rev1

ในการรนั ครงั้ ท่ี 3 สำ� หรบั กรณี Rapid Transformation Scenario-Rev1 นนั้ มีการปรบั สมมตฐิ านใหส้ อดคลอ้ งกบั
ความคิดเหน็ ของคณะทำ� งานแตล่ ะคณะและความเหน็ ท่ีไดจ้ ากการรบั ฟังความคิดเหน็ มาปรบั ปรุงเพ่ิมเตมิ อีกทงั้ มีการ
ทบทวนและปรบั ตน้ ทนุ ตา่ งๆ ใหท้ นั สมยั มากย่งิ ขนึ้ โดยสมมตฐิ านท่ีมีการปรบั เปล่ยี นจากการรนั Rapid Transformation
Scenario ครงั้ ท่ีผา่ นมามี ดงั นี้
n ปรบั สดั สว่ นโรงไฟฟา้ ก๊าซธรรมชาตใิ นสว่ น Energy Mix ใหม้ ีสดั สว่ นประมาณ 10%
n ปรบั สดั สว่ น Renewable Portfolio (พลงั งานชีวมวล / ก๊าซชีวภาพ / พลงั งานลม / พลงั งานแสงอาทิตย+์ ESS /
พลงั งานขยะ/พลงั นำ้� ขนาดเลก็ ) ไมเ่ กิน 83%
n สดั สว่ นโรงไฟฟา้ พลงั นำ้� ในประเทศและตา่ งประเทศมีสดั สว่ นประมาณ 7%
n ยกเลกิ โรงไฟฟา้ ถ่านหินตงั้ แตป่ ี 2040
n ปรบั ราคาก๊าซธรรมชาตใิ นระยะสนั้ ตามแนวโนม้ ราคาก๊าซธรรมชาตทิ ่ีปรบั ขนึ้ แตใ่ นระยะยาวยงั คงใชอ้ ตั ราเดมิ
n ปรบั ตน้ ทนุ ของระบบกกั เก็บพลงั งาน (ESS) โดยอา้ งอิงราคาจากรายงานการศกึ ษาของ NREL-USA 2021
n ปรบั อตั ราแลกเปล่ยี น USD = 33 บาท



สรปุ ผลการวางแผนพฒั นาก�ำ ลงั ผลติ ไฟฟา้ ของประเทศไทย ภาคประชาชน
ค.ศ. 2021 – 2051
ผลการ Run Model RT-Rev1 (รนั ครง้ั ท่ี 3)
1) กำ� ลังการผลิตใหม่ ในช่วง ปี 2021 - 2051 เพ่ิมขึน้ จากกำ� ลังการผลิตติดตั้ง ณ เดือนธันวาคม 2020
สรุปไดด้ งั นี้

กำ� ลงั ผลติ ไฟฟา้ ณ ธนั วาคม 2020 เมกะวัตต์
กำ� ลงั ผลติ ไฟฟา้ ใหม่ ในชว่ งปี 2021 – 2051
กำ� ลงั ผลติ ไฟฟา้ ท่ีปลดออกจากระบบ ในชว่ งปี 2021 – 2051 51,749
รวมกำ� ลงั ผลติ ไฟฟา้ ทงั้ สนิ้ ถงึ ปี 2051 67,984
-51,008
68,725

38

แผน PDP ภาคประชาชน
(National Energy Plan-NEP ภาคประชาชน)

2) กำ� ลังผลิตไฟฟ้าทเ่ี ข้าและออกจากระบบในช่วงปี 2021 - 2051 แยกตามประเภทเชอื้ เพลงิ

รูปที่ 1: กำ� ลงั ผลติ ไฟฟำ้ ทเี่ ขำ้ และออกจำกระบบรำยเชอื้ เพลงิ

หมายเหตุ: พลังงานแสงอาทิตย+ESS หลังปี 2043 เขา้ มาในระบบในปริมาณทนี� อ้ ยลงเนอื� งจากความตอ้ งการใชไ้ ฟฟา้ จาก EV เร�มิ อ�มิ ตวั ในขณะทพี� ลงั งาน
แสงอาทิตย+ESS ทเี� ขา้ มาในระบบกอ่ นหนา้ นย�ี ังไมห่ มดอายุการใชง้ านจึงไมจ่ าํ เปน็ ตอ้ งสรา้ งมาทดแทน สว่ นโรงไฟฟา้ กา๊ ซธรรมชาตใิ หมเ่ ขา้ มาในระบบเพอื�
แทนทโี� รงไฟฟา้ เกา่ ทหี� มดอายุไป ทงั� นเี� พอื� รักษาสัดสว่ นกาํ ลังการผลิตไฟฟา้ จากกา๊ ซธรรมชาตไิ มใ่ หต้ �าํ กวา่ รอ้ ยละ 10 ของกาํ ลงั การผลติ ทงั� หมดในระบบ

3) สัดส่วนกา� ลังผลิตรวมในช่วงปี 2021 - 2051 แยกตามประเภทเชือ้ เพลงิ

รูปที่ 2: กำ� ลงั ผลติ รวมในระบบแยกรายเชอื้ เพลงิ

39

แผน PDP ภาคประชาชน
(National Energy Plan-NEP ภาคประชาชน)

4) สัดส่วนการใช้พลังงานในช่วงปี 2021 - 2050 แยกตามประเภทเชอื้ เพลงิ

รูปที่ 3: สดั สว่ นการใชพ้ ลงั งานแยกรายเชอื้ เพลงิ
5) ปริมาณกำ� ลังผลิตไฟฟ้าสำ� รอง (%) และ Loss of Load Probability (LOLP) ในช่วงปี 2021 - 2050

รูปที่ 4: กำ� ลงั ผลติ สำ� รองและ Loss of Load Probability (LOLP)

40

แผน PDP ภาคประชาชน
(National Energy Plan-NEP ภาคประชาชน)

6) ปรมิ าณการปลดปลอ่ ยกา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซดต์ อ่ หนงึ่ หน่วยพลงั งาน (kgCO2/kWh) ในชว่ งปี 2021 - 2050

รูปที่ 5: ปรมิ าณการปลดปลอ่ ยก๊าซคารบ์ อนไดออกไซดต์ อ่ หน่งึ หนว่ ยพลงั งาน
7) ค่าไฟฟ้าเฉลี่ยตอ่ หน่วย (THB/kWh) ในช่วงปี 2021 - 2050

รูปที่ 6: คา่ ไฟฟา้ เฉลยี่ ตอ่ หนว่ ย

41

แผน PDP ภาคประชาชน
(National Energy Plan-NEP ภาคประชาชน)

8) สรุปความสำ� คัญของผลการ Run Model RT-Rev1
n โรงไฟฟา้ ก๊าซธรรมชาติเขา้ ระบบมากขนึ้ ณ ปี ค.ศ.2051 มีสดั สว่ นโรงไฟฟา้ ก๊าซธรรมชาติประมาณ 16.67% ของ
กำ� ลงั ผลติ ตดิ ตงั้ แตใ่ นการผลติ พลงั งานไฟฟา้ พบวา่ Model ไมเ่ ดนิ เครอ่ื งโรงไฟฟา้ ก๊าซธรรมชาติ ทำ� ให้ Energy Mix
มีสดั ส่วนโรงไฟฟ้าก๊าซธรรมชาติประมาณ 5.18% เน่ืองจาก ตน้ ทุนในการผลิตไฟฟ้าจากก๊าซธรรมชาติสงู กว่า
Solar+ESS ดงั นนั้ Model จงึ เลือกผลติ ไฟฟา้ จาก Solar+ESS แทน
n สดั ส่วน Renewable Portfolio (พลงั งานชีวมวล / ก๊าซชีวภาพ / พลงั งานลม / พลงั งานแสงอาทิตย+์ ESS /
พลงั งานขยะ/พลงั นำ้� ขนาดเลก็ ) ณ ปี ค.ศ.2051 ประมาณ 83.65%
n สดั สว่ นโรงไฟฟา้ พลงั นำ้� ในประเทศและตา่ งประเทศ ณ ปี ค.ศ.2051 มีสดั สว่ นประมาณ 7%
n Demand Response ณ ปี ค.ศ. 2051 ประมาณ 4.16%
n การปลอ่ ยคารบ์ อนจากการผลติ ไฟฟา้ ท่ี Run Model ออกมาใกลเ้ คียงกบั เปา้ หมาย

42

แผน PDP ภาคประชาชน
(National Energy Plan-NEP ภาคประชาชน)

แจ(Oผดั iนกl บPารรlaกิหn๊าาซ)รธจแรลดั ระกแมาผชรนานตบำ�้ ิมร(ิหันGาเaชรs้อื เPพlaลnงิ )

43

แผน PDP ภาคประชาชน
(National Energy Plan-NEP ภาคประชาชน)

แผนบรหิ ารจดั การน�ำ้ มนั เชอ้ื เพลงิ (Oil Plan)
และแผนบรหิ ารจดั การกา๊ ซธรรมชาติ (Gas Plan)

1. ความเปน็ มา
สถาบนั พลงั งานเพ่ืออตุ สาหกรรม (“IIE”) มีวตั ถปุ ระสงคเ์ พ่ือใหบ้ ริการ สนบั สนนุ ผปู้ ระกอบการอตุ สาหกรรม

ในการอนรุ กั ษพ์ ลงั งาน ใหม้ กี ารใชพ้ ลงั งานอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ รวมถงึ การประสานงานและใหค้ วามรว่ มมอื กบั ภาครฐั
และผมู้ ีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี ดา้ นพลงั งาน ทงั้ นี้การศกึ ษาแนวนโยบายดา้ นพลงั งาน และนำ� เสนอขอ้ คดิ เหน็ ในแผนพลงั งาน
ท่สี ำ� คญั ของประเทศจะเป็นประโยชนต์ อ่ การจดั การดา้ นพลงั งานรวมไปถงึ การกำ� หนดนโยบาย และทศิ ทางของประเทศ
ซง่ึ จะสง่ ผลตอ่ การพฒั นาเศรษฐกิจในท่ีสดุ

สถาบนั ฯ เหน็ ถงึ ความสำ� คญั ของการศกึ ษาแนวทางในการสง่ เสรมิ และพฒั นาดา้ นพลงั งาน จงึ ไดต้ งั้ คณะทำ� งาน
กลมุ่ ยอ่ ยเพ่ือทำ� การศกึ ษาแผนพลงั งานภาคประชาชน ซง่ึ ประกอบไปดว้ ยแผนพฒั นากำ� ลงั การผลติ ไฟฟา้ หรอื PDP
ภาคประชาชน แผนพฒั นาพลงั งานทดแทนและพลงั งานทางเลือก แผนบริหารจดั การนำ้� มนั เชือ้ เพลิง แผนบริหาร
จดั การก๊าซธรรมชาติ แผนอนรุ กั ษพ์ ลงั งาน และแผน Digital Platform และ Transmission line โดยมีวตั ถปุ ระสงค์
เพ่ือเป็นการแลกเปล่ยี นมมุ มองผมู้ ีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี ทงั้ ภาครฐั เอกชนและประชาชน เพ่ือเป็นแนวทางในการพฒั นาการ
จดั การพลงั งานใหม้ ีประสทิ ธิภาพท่ีย่งั ยืนมากขนึ้

ทงั้ นี้ โดยในการศกึ ษาสว่ นนี้ จะเป็นการศกึ ษาแผนบรหิ ารจดั การดา้ นนำ้� มนั เชือ้ เพลงิ และก๊าซธรรมชาติ ซง่ึ เป็น 2
แผนหลกั ในแผนพลงั งานชาติ
2. ความสำ�คัญ

เม่ือวนั ท่ี 15 สิงหาคม 2557 คณะกรรมการนโยบายพลงั งานแห่งชาติ (กพช.) มีมติใหก้ ระทรวงพลงั งานจดั ทำ�
แผนบูรณาการในภาพรวมระยะยาว (TIEB) โดยจะมีระยะเวลาของแผนสอดคลอ้ งกับแผนพฒั นาเศรษฐกิจและ
สงั คมแห่งชาติของสำ� นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ (สศช.) โดยแผน TIEB นี้
ประกอบไปดว้ ย

ทมี่ า : http://www.eppo.go.th/index.php/th/plan-policy/tieb

44

แผน PDP ภาคประชาชน
(National Energy Plan-NEP ภาคประชาชน)

เม่ือวนั ท่ี 19 มีนาคม 2020 ไดเ้ ห็นชอบแผนพฒั นากำ� ลงั การผลิตไฟฟา้ ปี 2018 ฉบบั ปรบั ปรุงครงั้ ท่ี 1 (PDP2018
Revision 1) โดยมีเปา้ หมายเพ่ือกระจายระบบผลติ ไฟฟา้ เพ่ือความม่นั คงในระดบั ภมู ิภาคใหส้ ามารถพง่ึ พาตนเองได้ โดย
โรงไฟฟ้าเชือ้ เพลิงฟอสซิลยงั คงเป็น 1 ในแนวทางเพ่ือรกั ษาความม่นั คง และมีการศกึ ษาความตอ้ งการไฟฟ้า และกำ� ลงั
การผลติ ไฟฟา้ รายภมู ิภาค

ทมี่ า :
สำ� นกั งานปลดั กระทรวงพลงั งาน
เม่ือวันท่ี 4 สิงหาคม 2564 กพช. ไดม้ ีมติเห็นชอบกรอบแผนพลังงานชาติ ซ่ึงมีเป้าหมายหลักในการลดการ
ปลดปลอ่ ยก๊าซคารบ์ อนไดออกไซดส์ ทุ ธิเป็นศนู ย์Carbon Neutrality ภายในปี ค.ศ. 2065 - 2070 ซง่ึ มที ศิ ทางในการนโยบาย
(Policy Direction) 5 ดา้ น ไดแ้ ก่

ทมี่ า : สำ� นกั งานปลดั กระทรวงพลงั งาน

45

แผน PDP ภาคประชาชน
(National Energy Plan-NEP ภาคประชาชน)

3. กรอบแนวคิดและเป้าหมายของแผนงานที่เกย่ี วขอ้ ง
ตลอดระยะเวลาท่ีผ่านมา พลงั งานฟอสซิลทงั้ 2 ชนิด คือ นำ้� มนั เชือ้ เพลิง และก๊าซธรรมชาติ เป็นพลงั งานท่ีมี

ความสำ� คัญ และมีสัดส่วนการใช้ท่ีสูงมากโดยเฉพาะในภาคขนส่ง และภาคการผลิตไฟฟ้า การกำ� หนดกรอบ
แผนพลงั งานชาติท่ีม่งุ เนน้ เป้าหมาย Carbon Neutrality ก็จะส่งผลกระทบต่อแผนบรหิ ารและจดั การก๊าซธรรมชาติ
เพราะทิศทางการพฒั นาดา้ นพลงั งานในอนาคตจะมีการเปล่ียนแปลงไปอย่างมาก แต่พลงั งานทงั้ 2 ชนิดจะยงั คง
มคี วามสำ� คญั ในระดบั หนง่ึ และยงั คงมคี วามจำ� เป็นตอ้ งมกี ารจดั ทำ� แผนบรหิ ารจดั การนำ้� มนั เชอื้ เพลงิ และก๊าซธรรมชาติ
เพ่ือใหม้ ีการบรหิ ารจดั การพลงั งานใหม้ ีประสทิ ธิภาพ และเกิดความสมดลุ ของการใชพ้ ลงั งาน

ท่ีผา่ นมา ภาครฐั ไดม้ ีการจดั ทำ� แผนบรหิ ารจดั การนำ้� มนั เชือ้ เพลงิ และ ก๊าซธรรมชาติ โดยมีสาระสำ� คญั ดงั นี้
n แผนบรหิ ารจดั การนำ้� มนั เชือ้ เพลงิ 2015 (Oil plan 2015) มีการกำ� หนดแนวทางและแผนบรหิ ารจดั การดงั นี้
o แนวทางในการบรหิ ารจดั การดา้ นนำ้� มนั เชือ้ เพลงิ
- การสนบั สนนุ มาตรการประหยดั นำ้� มนั เชือ้ เพลงิ ตามแผน EEP
- การบรหิ ารจดั การชนิดเชือ้ เพลงิ ใหเ้ หมาะสมกบั กลมุ่ ผใู้ ช้
- การปรบั โครงสรา้ งราคา LPG NGV ใหเ้ หมาะสม
- การผลกั ดนั การใช้ Biofuel ตามท่ีกำ� หนดไวใ้ นแผน AEDP
- การสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การลงทนุ ในโครงสรา้ งพืน้ ฐาน
o แผนบรหิ ารจดั การนำ้� มนั เชือ้ เพลงิ ปรบั ปรุงมาตรฐานโรงกล่นั Euro 5 และ 6
- สง่ เสรมิ นำ้� มนั คารบ์ อนต่ำ� และ Biofuel ในสดั สว่ นท่ีเหมาะสม
- นำ� เทคโนโลยีดจิ ิทลั มาใชใ้ นการกำ� กบั ดแู ล และพฒั นาโครงสรา้ งพืน้ ฐาน
- สง่ เสรมิ การปรบั เปล่ยี นการใชพ้ ลงั งานในภาคเศรษฐกิจตา่ งๆ เป็นไฟฟา้
n แผนบริหารจดั การก๊าซธรรมชาติ 2018 (Gas plan 2018) มีการกำ� หนดแนวทางและแผนการบริหารจดั การ
ดา้ นก๊าซธรรมชาติ ดงั นี้
o แนวทางในการบรหิ ารจดั การดา้ นก๊าซธรรมชาติ
- การสง่ เสรมิ การใชก้ ๊าซธรรมชาตใิ นภาคเศรษฐกิจตา่ งๆ เพ่ือลดปัญหามลพิษ
- การเรง่ สำ� รวจ แหลง่ ก๊าซภายในประเทศเพ่ิมเตมิ
- การพฒั นาโครงสรา้ งพืน้ ฐานใหม้ ีความเหมาะสม และใชป้ ระโยชนอ์ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
- การสง่ เสรมิ ใหเ้ กิดการแขง่ ขนั ในธรุ กิจก๊าซ
o แผนบรหิ ารจดั การดา้ นก๊าซธรรมชาติ
- สง่ เสรมิ การใช้ LNG ในภาคอตุ สาหกรรมและขนสง่ แทนนำ้� มนั และถ่านหิน
- การบรหิ ารจดั การก๊าซ และการนำ� เขา้ LNG เพ่ือรองรบั ความตอ้ งการท่ีจะเพ่ิมขนึ้
- การพฒั นาโครงสรา้ งพืน้ ฐาน
- การเปิดเสรี การซือ้ ขายก๊าซธรรมชาติ
n ในสว่ นกรอบแผนพลงั งานชาติ (National Energy Plan) ท่ี กพช. ไดเ้ หน็ ชอบไปแลว้ นนั้ ไดม้ ีการกำ� หนดเปา้ หมาย
หลกั ในการลดการปลดปลอ่ ยก๊าซคารบ์ อนไดออกไซดส์ ทุ ธิเป็นศนู ย์Carbon Neutrality ภายในปี ค.ศ. 2065 - 2070
และมีการกำ� หนดแนวทางหลกั ดงั นี้
- การเพ่ิมสดั สว่ นการผลติ พลงั งานหมนุ เวียน ไมน่ อ้ ยกวา่ 50%
- การปรบั เปล่ียนเป็นการใชพ้ ลงั งานสีเขียวมากขนึ้ โดยตงั้ เปา้ EV 30@30 น่นั ก็คือการผลติ รถ ZEV ใหไ้ ด้
อยา่ งนอ้ ย 30% ภายในปี 2030
- การมงุ่ เนน้ เรอ่ื ง Efficiency ในการใชพ้ ลงั งานใหม้ ากกวา่ 30%
- การปรบั โครงสรา้ งกิจการพลงั งานเพ่ือรองรบั 4D1E

46

แผน PDP ภาคประชาชน
(National Energy Plan-NEP ภาคประชาชน)

4. การศึกษา วิเคราะห์แผนบริหารจดั การน�้ำ มันเชอ้ื เพลิง
กา๊ ซธรมชาติ และข้อเสนอแนะ

ภาพรวมของพลงั งานในอนาคต โดยเฉพาะในช่วงเปล่ียนผ่านทางดา้ นพลงั งานนี้ คณะทำ� งานดา้ น Oil & Gas
เหน็ วา่ นำ้� มนั เชอื้ เพลงิ จะยงั คงมคี วามสำ� คญั ในระดบั หนง่ึ และความตอ้ งการนำ้� มนั จะปรบั ลดลงไป ซง่ึ จะมกี ารเปลย่ี นแปลง
มากนอ้ ยเพียงใดก็จะขึน้ อยู่กับปัจจัยสนับสนุนต่างๆ เช่น นโยบายภาครฐั ในเร่ืองการส่งเสริมยานยนตไ์ ฟฟ้า หรือ
พลงั งานทางเลอื กอ่ืนๆ นโยบาย Carbon Neutrality การสง่ เสรมิ Bio Fuel รวมถงึ ขอ้ ตกลงจากการประชมุ สดุ ยอดดา้ น
สภาพภมู ิอากาศ ของนานาประเทศ และ การพฒั นาเทคโนโลยียานยนต์ เป็นตน้

ในดา้ นก๊าซธรรมชาติ คณะทำ� งาน Oil & Gas เห็นว่าก๊าซธรรมชาติจะยงั คงเป็นเชือ้ เพลิงหลกั อยู่ต่อไป และ
โรงไฟฟ้าก๊าซธรรมชาติ ยงั คงมีความสำ� คญั ต่อความม่นั คงของระบบไฟฟ้าของประเทศ การกำ� หนดสดั ส่วนเชือ้ เพลิง
ก๊าซธรรมชาตจิ งึ ควรมีการปรบั เปล่ยี นใหเ้ หมาะสม รวมถงึ ควรมีการคำ� นงึ ถงึ การใชป้ ระโยชนจ์ าก Infrastructure ท่ีมีอยู่
แลว้ อยา่ งคมุ้ คา่

การศกึ ษาการกำ�หนดสัดสว่ นเชอื้ เพลิงในแผนพัฒนาไฟฟา้ หรือ PDP

ในการหารือกับคณะทำ� งานอ่ืนๆ เพ่ือกำ� หนดและทดสอบสมมติฐานเพ่ือศึกษาแผนพฒั นาไฟฟ้าของประเทศท่ี
เหมาะสม ซ่ึงคณะทำ� งานไดด้ ำ� เนินการไปก่อนท่ีจะมีกำ� หนดกรอบแผนพลงั งานชาติมา แต่โดยภาพรวมก็เป็นไปใน
ทิศทางเดียวกนั กบั กรอบแผนพลงั งานชาติ โดยทางคณะทำ� งานไดก้ ำ� หนดสมมตฐิ านตา่ งๆ ทงั้ ในเรอ่ื งราคาก๊าซธรรมชาติ
และสมมตฐิ านอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั เชือ้ เพลงิ ฟอสซลิ ในเบือ้ งตน้ ดงั นี้
1. สมมติฐานราคาก๊าซธรรมชาติ

กราฟที่ 1 แสดงสมมตฐิ านราคาก๊าซธรรมชาตแิ บบ Rapid Transformation Scenario1

47

แผน PDP ภาคประชาชน
(National Energy Plan-NEP ภาคประชาชน)

กราฟที่ 2 แสดงสมมตฐิ านราคาก๊าซธรรมชาตแิ บบ Conservative Scenario2

หมายเหตุ :

1 - กำ� หนดลดกา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซด์ (CO2) ภาคไฟฟา้ 50% ภายในปี 2050 และ ลด 75% ภายในปี 2070
- CO2 สว่ นทเี่ หลอื 25% ใชเ้ ทคโนโลยกี ารดกั จบั การใชป้ ระโยชน์ และการกกั เกบ็ คารบ์ อน (Carbon Capture,
Utilization and Storage: CCUS)
2 - กำ� หนดลดก๊าซคารบ์ อนไดออกไซตภ์ าคไฟฟา้ 100% โดยชดเชยผา่ นเทคโนโลยกี ารดกั จบั การใชป้ ระโยชน์ และ
การกกั เก็บคาร์บอน (Carbon Capture, Utilization and Storage: CCUS) และการปลูกป่ าในส่วนทใี่ หม้ ี
โรงไฟฟา้ จากกา๊ ซธรรมชาตเิ พอื่ ความสมดลุ และความมน่ั คงของระบบ

2. การยกเลกิ การสรา้ งโรงไฟฟา้ ถ่านหินใหม่
3. การกำ� หนดประสิทธิภาพของโรงไฟฟ้าท่ีใชก้ ๊าซธรรมชาติเป็นเชือ้ เพลิง ซ่ึงทางคณะทำ� งานประมาณการไวว้ ่า

เทคโนโลยดี า้ นประสทิ ธิภาพของโรงไฟฟา้ นา่ จะพฒั นาไปใกลเ้ คยี งจดุ สงู สดุ แลว้ จงึ มกี ารคาดการณว์ า่ ประสทิ ธิภาพ
ณ วนั นีอ้ ยทู่ ่ีประมาณ 64% และจะเพ่ิมไปสงู สดุ ท่ี 65% ในระยะเวลา 7 ปีขา้ งหนา้
4. คณะทำ� งานเห็นว่า เชือ้ เพลิงฟอสซิลยังคงมีความสำ� คัญ และ NG และ LNG จะเป็นพลงั งานฟอสซิลหลกั
ซง่ึ ควรจะตอ้ งมีการกำ� หนดสดั สว่ นเชือ้ เพลงิ โดยมีกำ� ลงั การผลติ ของเชือ้ เพลงิ ก๊าซธรรมชาตทิ ่ีเหมาะสม เพ่ือเหตผุ ล
ในเรอ่ื งของความม่นั คงดา้ นระบบไฟฟา้ และการใช้ Infrastructure ตา่ งๆ อยา่ งคมุ้ คา่
5. นโยบายในเร่ือง Carbon Neutrality เป็นปัจจยั สำ� คญั ต่อแผนดา้ นพลงั งานทุกแผน ซ่ึงในปัจจุบนั รฐั ยงั พูดถึง
Net zero greenhouse gas ท่ีปี 2065-2070 ซง่ึ จะมีผลกระทบท่ีสำ� คญั ตอ่ ทงั้ อปุ สงคแ์ ละอปุ ทานของไฟฟา้

48

แผน PDP ภาคประชาชน
(National Energy Plan-NEP ภาคประชาชน)

ขอ้ คดิ เหน็ และเสนอแนะส�ำ หรบั แผนบรหิ ารจดั การเขอ้ื เพลงิ และมาตรการสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ

1. ขอ้ มลู ประกอบการเสนอแผนบรหิ ารจดั การดา้ นนำ้� มนั เชือ้ เพลงิ และก๊าซธรรมชาติ
n นโยบายในการสง่ เสรมิ ยานยนตไ์ ฟฟา้ จะมผี ลกระทบตอ่ ความตอ้ งการไฟฟา้ รวมถงึ ปรมิ าณการใชก้ า๊ ซธรรมชาตหิ รอื ไม่
n นโยบาย Carbon Neutrality มสี ว่ นสำ� คญั และมผี ลกระทบตอ่ การพฒั นาเชอื้ เพลงิ ฟอสซลิ อยา่ งไรกต็ าม ก๊าซธรรมชาติ
ยงั คงเป็นเชือ้ เพลงิ หลกั ท่ีสำ� คญั โดยเฉพาะในเร่อื งความม่นั คง และเสถียรภาพของระบบไฟฟา้ ในช่วงเปล่ียนผา่ น
ดา้ นพลงั งาน ตลอดแผน PDP ฉบบั นี้
n ประเดน็ ท่ีควรมีการศกึ ษาเพ่มิ เตมิ คอื ในเรอ่ื งของความสามารถ ศกั ยภาพ และประสทิ ธิภาพ ของระบบการผลติ ไฟฟา้
จากพลงั งานแสงอาทติ ย์ควบคกู่ บั ระบบกกั เก็บพลงั งาน สามารถทดแทน และแขง่ ขนั ไดก้ บั โรงไฟฟา้ เชือ้ เพลงิ ฟอสซลิ
อยา่ งไร และเม่ือไหร่
2. ขอ้ เสนอแนะสำ� หรบั การจดั ทำ� แผนบรหิ ารจดั การดา้ นนำ้� มนั เชือ้ เพลงิ
n นโยบายยานยนตไ์ ฟฟ้า จะมีผลโดยตรงต่อแผนการใชน้ ำ้� มนั ของประเทศ ซ่ึงควรจะมีการกำ� หนดแผนมารองรบั
ท่ีชดั เจน รวมถงึ การคำ� นงึ ถงึ การกำ� หนดแผนการสง่ เสรมิ ยานยนตไ์ ฟฟา้
n ยงั ควรมีการสง่ เสรมิ Bio fuel ในระดบั ท่ีเหมาะสม และไมเ่ ป็นภาระตอ่ ผบู้ รโิ ภคจนเกินไป
n ควรมีการสง่ เสรมิ การพฒั นาเทคโนโลยี การวจิ ยั และพฒั นา เชือ้ เพลงิ Biofuel โดยเฉพาะท่ีตอ้ งใชใ้ นยานยนตส์ ำ� หรบั
การบรรทกุ นำ้� หนกั มาก รวมไปถงึ Bio Jet และ Bio Fuel
n ควรมกี ารทบทวนเรอ่ื งปรมิ าณสำ� รองนำ้� มนั ตามกฏหมายเพ่อื ไมใ่ หเ้ ป็นภาระตอ่ ผปู้ ระกอบการมากจนเกนิ ไป เน่อื งจาก
ความจำ� เป็นของการสำ� รองนำ้� มนั เชือ้ เพลงิ ในอนาคตอาจจะลดลง จากการท่ีมีพลงั งานประเภทอ่ืนมาทดแทน
n ควรมีการกำ� หนดมาตรการสง่ เสรมิ ทางดา้ นภาษีท่ีเหมาะสม เพ่ือสง่ เสรมิ และชว่ ยเหลือผปู้ ระกอบการในการพฒั นา
และลงทนุ เพ่ือปรบั ปรุงคณุ ภาพของนำ้� มนั
3. ขอ้ เสนอแนะสำ� หรบั การจดั ทำ� แผนบรหิ ารจดั การดา้ นก๊าซธรรมชาติ
n ควรยกเลกิ การสง่ เสรมิ โรงไฟฟา้ ถ่านหิน อยา่ งไรก็ตาม ยงั มีประเดน็ ท่ีควรพิจารณาสำ� หรบั เทคโนโลยีถ่านหินสะอาด
(Cleaned Coal Technology) ท่ีเป็น zero emission เชน่ การติดตงั้ ระบบ Carbon Capture ยงั ควรมีการสง่ เสรมิ
หรอื ไม่
n ตอ้ งมีการสง่ เสรมิ เรอ่ื งตลาดก๊าซเสรี ใหเ้ กิดการแขง่ ขนั ในดา้ นการจดั หาก๊าซธรรมชาติ
n ควรเรง่ การประกาศใช้ TPA CODE ทงั้ ในระบบทอ่ สง่ และจำ� หนา่ ย ซง่ึ ปัจจบุ นั คณะกรรมการกำ� กบั กิจการพลงั งาน
กำ� ลงั อยใู่ นระหวา่ ง การรบั ฟังความคดิ เหน็ ในเรอ่ื งการเปิดใหใ้ ชร้ ะบบทอ่ ขนสง่ แตใ่ นสว่ นของระบบจำ� หนา่ ย ยงั ไมม่ ี
การกำ� หนดใหม้ ีการใหบ้ ุคคลท่ี 3 สามารถใชท้ ่อจำ� หน่าย อาจจะตอ้ งเรง่ ดำ� เนินการในเร่ืองนี้ เพ่ือใหค้ รอบคลมุ
ทงั้ ระบบ
n ก๊าซธรรมชาติจะยงั คงมีบทบาทสำ� คญั สำ� หรบั แผนพลงั งานใหม่นี้ ดงั นนั้ จึงยงั คงมีการกำ� หนดสดั ส่วนเชือ้ เพลิง
โรงไฟฟา้ โดยมสี ดั สว่ นของโรงไฟฟา้ ท่ใี ชก้ ๊าซธรรมชาตเิ ป็นเชือ้ เพลงิ ใหม้ คี วามเหมาะสม โดยคำ� นงึ ถงึ เรอ่ื งความม่นั คง
ในระบบไฟฟา้ และการใชป้ ระโยชนจ์ าก Infrastructure ท่ีไดม้ ีอยแู่ ลว้
n การสง่ เสรมิ โรงไฟฟ้า SPP ระบบ Cogeneration ยงั มีความจำ� เป็น เพราะจะมีส่วนช่วยส่งเสรมิ เร่ืองความม่นั คง
และมีเสถียรภาพในการจัดส่งไฟฟ้า สำ� หรบั ภาคอุตสาหกรรม และเป็นปัจจัยท่ีสำ� คัญในการตัดสินใจลงทุน
ของภาคอตุ สาหกรรม ซง่ึ สง่ ผลถงึ ความเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกิจของประเทศ


Click to View FlipBook Version