The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

จากใจ ศ.ศิลาแลง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Lakkaew Channel, 2021-04-14 01:04:23

จากใจ ศ.ศิลาแลง

จากใจ ศ.ศิลาแลง

จติ ใจสะอาด
ค่อยเรยี นคมั ภรี ์

จติ ใจตอ้ งสะอาดบรสิ ทุ ธิ์เสยี กอ่ น
จึงจะรา่ เรียนหนงั สอื และคมั ภีรโ์ บราณได้
มฉิ ะนนั้ พอไดอ้ ่านพบเคล็ดการปฏบิ ตั ิดีเขา้ สกั อยา่ ง
ก็มกั แอบนาไปใชส้ นองกิเลสตณั หาของตน
หรอื ไดย้ ินวาทะอนั คมคายสวยหรู
ก็มกั ลกั จาไปใชป้ ิดบงั ปมดอ้ ยของตน
พฤติกรรมเหลา่ นี้ จงึ ไมต่ า่ งอะไรกบั การปอ้ นเสบยี ง
หรือการสง่ อาวธุ ใหข้ า้ ศกึ

รู้จักจรงิ จงั
รู้จกั ยืดหยุ่น

บณั ฑิตนอกจากตอ้ งเอาจรงิ เอาจงั ในการทาการสิ่งใดๆ แลว้
ยอ่ มตอ้ งมคี วามยดื หย่นุ ท่ไี ม่ฝืนธรรมชาติจนเกินไปดว้ ย
หากวา่ กวดขนั เครง่ ครดั กนั ทกุ กระเบียดนวิ้ เสียแลว้
ย่อมไดแ้ ตส่ งิ่ ซ่งึ ตายซากไรช้ ีวิตชวี า
ไหนเลยจกั สามารถก่อใหเ้ กดิ พลงั สรา้ งสรรคส์ รรพสิ่งได้

ดอกไมส้ ร้างสสี นั
คนสร้างสงิ่ ดีงาม

เม่อื วสนั ตฤดมู าถงึ
สายลมแสงแดดจะเย็นสบาย
มวลบปุ ผาจะพรอ้ มใจกนั เบ่งบานสวยงาม
ประชนั ดว้ ยเสียงขบั ขานอนั ไพเราะเพราะพรงิ้
ของเหลา่ สกณุ า
ทกุ สิ่งทกุ อยา่ งแสดงออกซ่งึ ความสวยงามฉนั ใด

บณั ฑติ ผมู้ ีความสามารถ
เป็นท่ปี ระจกั ษช์ ดั จนไดม้ ชี ีวิตอนั สขุ สบาย กฉ็ นั นนั้
ท่หี ากไม่คิดสรา้ งสรรคส์ ิง่ ดงี าม ใหไ้ วแ้ ก่โลกบา้ ง
แมน้ ว่าจะมีชีวิตยนื ยาวถึงรอ้ ยปี
กเ็ หมอื นกบั วา่ ไม่ไดเ้ กิดมาเลยแมส้ กั วนั เดยี ว

13. โอวาทของทา่ นเหลย่ี วฝาน

การกระทาความดี

• การกระทาความดีนั้น ทาดีแล้วดจี ริงหรือไม่

ถา้ เราทาเพ่ือประโยชนส์ ขุ ของผอู้ ่นื
ถงึ แมเ้ ราจะตเี ขาก็ดีจะดดุ า่ เขาก็ดี
ก็ลว้ นแตเ่ ป็นการทาดีทงั้ นนั้
แตถ่ า้ เพ่ือประโยชนข์ องเราเองเราจงึ ออ่ นนอ้ มตอ่ ผูอ้ ่นื
ทาความคารวะต่อผอู้ ่นื น่ีเป็นความดปี ลอมไมใ่ ช่ดจี รงิ

• ทาความดีโดยบริสุทธิ์ใจ หรอื แฝงด้วยเจตนาใด ๆ

ขอใหเ้ ร่มิ ไตร่ตรองสารวจตวั เองอยา่ งระมดั ระวงั
อาศยั กาลงั ใจของเราเองซกั ฟอกจิตใจใหส้ ะอาด
ไม่วา่ จะทาอะไรก็ใหค้ ิดถึงประโยชนส์ ขุ ของผูอ้ ่นื ก่อนแลว้
ทาดว้ ยความบรสิ ทุ ธิ์ใจ
ไมแ่ ฝงดว้ ยเจตนาท่จี ะตอ้ งการตอบแทนจากใคร จึงจะ
เป็นความดีโดยบรสิ ทุ ธิ์

• การทาดีทมี่ ีผู้รู้เหน็ และไมม่ ีผู้รู้เหน็

ถา้ เราทาดีมีคนรูเ้ ห็นมากก็กลายเป็นความดที างโลกไป
แต่ทาดีแลว้ ไมม่ ผี รู้ ูเ้ หน็ เหมือนการปิดทองหลงั พระ
น่เี ป็นความดีทางธรรม
ความดที างโลกจะไดร้ บั แต่ช่ือเสียง
เกียรติยศความม่งั ค่งั เป็นผลตอบแทน
การมชี ่ือเสียงโดง่ ดงั นนั้ ชาวโลกเห็นว่ามีบญุ วาสนา
แต่ทางธรรมแลว้ เห็นว่า
ผนู้ นั้ มไิ ดท้ าความดีมากพอกบั การมีช่ือเสยี ง
จึงมกั จะไดร้ บั ผลไม่ดีในบน้ั ปลาย

• ความดีทท่ี าผดิ หรือทาถูก

การทาความดีท่ีคนนาไปเป็นเย่ยี งอยา่ ง
ใหเ้ กิดประโยชนต์ ่อสว่ นรวมไดจ้ ึงจะเป็นความดีท่ีแท้

• ความดีทก่ี ระทาคร่งึ ๆกลางๆและทาอย่างสมบูรณ์

การทาบญุ ดว้ ยเงนิ นอ้ ยนิดกลบั เป็นบญุ ท่ีเต็มเป่ียม
เพราะจติ ใจเต็มไปดว้ ยกุศลเจตนา
แมท้ าบญุ ดว้ ยเงินมากมาย
หากจติ ใจศรทั ธาเพยี งครง่ึ ๆกลางๆ
การทาความดีนนั้ จะมผี ลเพียงครง่ึ ๆกลางๆเท่านนั้
การทาความดีนนั้ เม่ือทาแลว้ ก็แลว้ กนั
อย่าไดน้ ามาคิดถึงบอ่ ยๆ
ราวกบั ว่าการทาความดีนนั้ ช่างใหญ่ยง่ิ นกั
ใครกท็ าไม่ไดเ้ หมือนเรา
ถา้ คิดเชน่ นีค้ วามดกี จ็ ะเหลอื เพยี งครง่ึ เดยี ว
แต่ถา้ ทาแลว้ ไมน่ ามาใส่ใจอีกคิดแต่จะทาอะไรต่อไปอีก
จงึ จะดี จึงจะเป็นความดที ่สี มบรู ณ์

• ความดีใหญ่หรอื เลก็

พลงั แหง่ กศุ ลธรรมจะยิ่งใหญ่หลายเท่านกั
แมจ้ ะเป็นเรือ่ งเล็ก แตถ่ า้ กระทาเพ่อื ชนหมใู่ หญ่แลว้ ไซร้
ความดนี นั้ ก็ใหญ่หลวงย่ิงนกั หากทาดีเพ่อื ตนเองแลว้ ไซร้
แมจ้ ะทาดขี นาดไหนก็ไดผ้ ลนอ้ ยมาก
การทาดีไมว่ ่าจะมากหรือนอ้ ยเพยี งใด
ขนึ้ อย่กู บั เจตนาในการทาความดนี นั้ เพ่ือผูอ้ ่นื หรือเพ่อื ตนเอง

• ความยากงา่ ยในการทาความดี

คนท่มี ีเงนิ มีอานาจนนั้ ถา้ จะทาความดี
ย่อมงา่ ยกว่าผทู้ ่ไี มม่ ีทงั้ เงินและอานาจ
แตพ่ วกนไี้ มช่ อบทาความดี
เพราะฉะนนั้ ผทู้ ่มี โี อกาสทาความดีไดง้ า่ ย
เพราะมีทงั้ เงนิ และอานาจกลบั ไมย่ อมทาความดี
สว่ นผทู้ ่ไี มม่ ีเงินไม่มีอานาจ
กว่าจะทาความดไี ดก้ ็ดว้ ยความยากลาบากยงิ่
น่คี อื ความแตกต่างกนั ในคณุ คา่ ของความดี

ความสขุ ความเจรญิ ทงั้ มวล เกดิ ขนึ้ ท่ใี จก่อนทงั้ สนิ้
การแสวงหาใดๆก็ตาม ตอ้ งเร่มิ ตน้ ท่ีใจก่อน
ไม่เพยี งแต่จะไดค้ ณุ ธรรมความดีงามทางธรรมเทา่ นนั้
ความสขุ ความเจรญิ ลาภยศช่ือเสียงเงินทอง
อนั เป็นความดงี ามทางโลกก็จะติดตามมาเอง

การช่วยเหลอื ผ้อู ืน่ ทาความดี

• ชว่ ยเหลอื ผอู้ ื่นทาความดี

บางคนนนั้ เม่ือรูต้ วั วา่ เขาเป็นคนไมด่ เี สียแลว้
เขากท็ าตวั เหลวแหลกย่ิงขนึ้
เม่ือเป็นคนดไี ม่ไดก้ ็ยอมเป็นคนช่วั เสียเลย
คนเช่นนกี้ ม็ ใี หเ้ หน็ ๆ กนั อยมู่ ากมาย

เราจะตอ้ งสงั เกตว่าเขาผนู้ นั้ มคี วามสามารถอะไรบา้ ง
ถา้ เป็นสงิ่ ท่เี รายงั ไม่มี
ก็จงรบี รบั เอาความดนี นั้ มาใสต่ นเถิดอยา่ ไดร้ ีรอเลย
จะตอ้ งรูจ้ กั ชมเชยสรรเสรญิ
ความดีงามความสามารถของผอู้ ่นื ใหแ้ ผไ่ พศาลไป
อยา่ ไดม้ จี ิตรษิ ยา
ในชวี ติ ระจาวนั ไม่วา่ เราจะพดู สกั คา จะทาอะไรสกั อย่าง
จงอยา่ ทาเพ่อื ประโยชนต์ วั เอง
ตอ้ งถือประโยชนส์ ว่ นรวมเป็นสาคญั

• รักและเคารพทุกคนอย่างเสมอหน้าน้ันเป็ นอยา่ ง ไร

ผดู้ นี นั้ คือคนท่มี ีคณุ งามความดี
และกระทาแตค่ ณุ งามความดอี ย่างสม่าเสมอ
สว่ นคนเลวนนั้ บางทกี ็ซอ่ นอยใู่ นคราบของผดู้ ี
ปะปนกนั บางทีก็ดไู ม่ออก
แต่ถา้ สงั เกตใหด้ แี ลว้
จะเหน็ ความแตกตา่ งราวกบั ขาวและดาทีเดียว

ผดู้ ีมขี อ้ แตกต่างจากคนท่วั ไปนนั้ คือ
มนี า้ ใจรกั และเคารพทกุ อยา่ งเสมอหนา้ กนั
แมท้ กุ คนจะมสี ถานภาพและจติ ใจไม่เหมอื นกนั
แต่ทกุ คนกเ็ ป็นเพ่อื มนษุ ยท์ ่ีตอ้ งเกิดแกเ่ จ็บตายดว้ ยกนั

• สนับสนุนผ้อู ่ืนใหเ้ ป็ นผ้มู คี วามดพี ร้อม

หยกนนั้ มาจากหนิ ชนิดหน่ึง ถา้ เราทงิ้ ขวา้ งไม่สนใจ
กเ็ ป็นเพียงหินธรรมดากอ้ นหนง่ึ
แมภ้ ายในจะมหี ยกเรน้ อยู่
ก็ไม่สามารถปรากฏความมคี ่าของมนั ได้
แตถ่ า้ มนษุ ยน์ ามาเจยี ระไน
เอาความเป็นหยกออกมาจากหิน
แกะสลกั ใหส้ วยงามกจ็ ะเป็นของมีคา่

อย่าลมื ว่าหยกมคี วามงามและความสาคญั ขนึ้ มาได้
เพราะฝีมือของมนษุ ยเ์ อง
คนกเ็ ช่นกนั ถา้ มีคนคอยชว่ ยเหลือ
ใหค้ าแนะนาท่ดี ี
คนธรรมดา ๆ กจ็ ะกลายเป็นคนดีพรอ้ มไปได้
เพราะฉะนนั้ จงใสใ่ จในคนท่ีรกั ดี
ม่งุ ม่นั ท่จี ะเป็นคนดีจงใหค้ วามช่วยเหลือสนบั สนนุ ใหก้ าลงั ใจ
ประคบั ประคองเพ่อื ใหเ้ ขาเป็นคนดพี รอ้ มใหไ้ ด้

• ชที้ างใหผ้ ู้อื่นทาความดี

เกิดมาเป็นมนษุ ย์ ทกุ คนยอ่ มมีศีลธรรมประจาใจอยบู่ า้ ง
มากบา้ งนอ้ ยบา้ งท่ีจะไมม่ เี ลยนนั้ คงหายาก
นอกจากมนษุ ยจ์ ะมวั สาละวนอย่กู บั การแสวงหาลาภ ยศ
เงนิ ทองช่อื เสยี งโดยไม่คานงึ ถงึ ศลี ธรรม
ทาใหต้ อ้ งตกอย่ใู นความหายนะ ถา้ หากพบคนเชน่ นี้
จงพยายามชว่ ยเขาใหพ้ น้ จากความหายนะใหจ้ งได้
ดจุ คนฝันรา้ ย ปลกุ เขาใหต้ นื่ จากความฝัน
ใหค้ วามรูค้ วามคดิ ท่ดี งี ามแกเ่ ขา
เขาจะต่นื จากฝันรา้ ย กลายเป็นคนดีได้

• จะช่วยเหลือผู้ทอ่ี ยู่ในความคับขันได้อยา่ งไร

เคราะห์กรรมย่อมเกิดขึน้ ได้เสมอไม่ว่ากับใคร ๆ หากพบเห็นคนท่ีกาลังตกทุกข์ได้ยาก จะต้อง
ช่วยเหลือใหท้ นั ทว่ งที
และจะตอ้ งแกไ้ ขสถานการณด์ ว้ ยสติปัญญาอยา่ งรอบคอบ
เพ่อื ใหก้ ารชว่ ยนนั้ ประสบความสาเรจ็
การช่วยเหลือนนั้ ไม่ควรคานงึ ถึงว่า จะไดบ้ ญุ ไดค้ ณุ สกั เท่าไร
ขอใหช้ ว่ ยใหไ้ ดท้ นั ทว่ งทีจงึ จะควร

• กระทาสงิ่ ทเี่ ป็ นประโยชนต์ ่อสาธารณะ

ไม่วา่ จะอยใู่ นชนบทเลก็ ๆ หรอื ในเมืองใหญ่ ๆ
หากเป็นเร่ืองเก่ียวกบั ประโยชนส์ ขุ ของสว่ นรวมแลว้
ลกู จะตอ้ งไมท่ อ้ ถอยในการเป็นอาสาสมคั ร
เช่น ขดุ คสู ง่ นา้ เพ่อื ไวใ้ ชใ้ นหนา้ แลง้
หรือสรา้ งทานบเพ่อื ปอ้ งกนั นา้ ทว่ ม
หรือซอ่ มสะพานชารุดเพ่อื ใหก้ ารสญั จรไปมาสะดวก

• ธารงไวซ้ ง่ึ ความเป็ นธรรม

ธรรมะคอื ประทปี ท่สี ่องวิถีทางแหง่ ชวี ิต
เม่ือหนทางขา้ งหนา้ สว่างไสว
ชวี ิตย่อมดาเนินไปตามทศิ ทางอนั ถกู ตอ้ ง
ดจุ ดงั คนท่มี ีนยั ตาดี
ย่อมสามารถเลือกเดนิ ทางท่ีสะดวกท่สี ดุ และดีท่สี ดุ ได้
ธรรมะทาชวี ติ ใหห้ ลดุ พน้ จากหว้ งแห่งความทุกข์
มีอิสรเสรีท่จี ะอย่ใู นโลกต่อไปไดด้ ว้ ยดี

• ไมท่ าตนเป็ นป่ โู สมเฝ้าทรัพย์ – หม่นั บริจาค

คนในโลกนี้ เห็นว่าปัจจยั สี่นนั้ เป็นสิ่งสาคญั ของชีวติ
และเงินเท่านนั้ ท่จี ะบนั ดาลใหไ้ ดม้ าซง่ึ ปัจจยั ส่ี
เพราะฉะนนั้ คนสว่ นมากจงึ ใหค้ วามสาคญั แก่เงนิ เทา่ ชวี ิต
หาไดค้ ิดสกั นิดไม่วา่ หากยงั มลี มหายใจก็ดีอยหู่ รอก
ถา้ หมดลมเม่ือใด มใี ครเคยเอาอะไรติดตวั ไปไดบ้ า้ ง
ผทู้ ่รี กั เงินยง่ิ ชีวิต จงึ ควรฝึกตนใหร้ ูจ้ กั บรจิ าคทรพั ย์
ใหท้ านเสียบา้ ง ใหม่ ๆ ก็จะเกิดความเสยี ดาย
เพราะคนรกั เงินยง่ิ กว่าชวี ติ มกั เป็นคนตระหน่ีใจคอคบั แคบ
แตถ่ า้ หม่นั บรจิ าคกจ็ ะเป็นนิสยั อนั ดีงามขึน้
สามารถบรจิ าคไดม้ ากขนึ้ และไม่นกึ เสยี ดายดงั แต่แรก

• เคารพผอู้ าวุโสกวา่

ในครอบครวั ย่อมมีพ่อแมพ่ ่ปี ้านา้ อาท่ีมีอาวโุ สกว่าเรา
เราตอ้ งเคารพรกั รูจ้ กั ปรนนบิ ตั ิเอาใจใส่ดแู ลทกุ ขส์ ขุ ใหค้ วามสขุ สาราญแก่ทา่ น
ใหค้ วามสนิทสนมกลมเกลียวยมิ้ แยม้ แจม่ ใสเขา้ หากนั พดู จากนั ดว้ ยความไพเราะ
นานไปก็จะเป็นผมู้ นี สิ ยั อนั ดีงาม
ในประเทศเรานนั้ มพี ระมหากษตั รยิ เ์ ป็นประมขุ ท่ีเราจะตอ้ งแสดงความจงรกั ษภ์ กั ดี
รบั ราชการดว้ ยความช่ือสตั ยส์ จุ ริต อยา่ มวั เมาอานาจใชอ้ ารมณต์ ดั สินปัญหา
อย่าทาดว้ ยความลาพองใจ ใหม้ ีความเคารพทกุ คนดจุ ดงั เคารพพระมหากษัตริย์

• รักชวี ิตผอู้ ื่นดุจรักชวี ติ ตนเอง

มนษุ ยจ์ กั ทรงความเป็นมนษุ ยอ์ ยไู่ ดก้ ็ดว้ ยจิตท่ีมเี มตตา กรุณา
การเอาชนะส่งิ ท่ียากท่สี ดุ ก็คือใจของตนเอง
ตอ้ งเร่มิ ปลกู ฝังจิตใจใหม้ ีเมตตากรุณากอ่ น
การส่งั สมคณุ ธรรมใด ๆ
กต็ อ้ งเร่มิ ท่ีจิตอนั ประกอบดว้ ยเมตตากรุณาเช่นกนั

การนาตวั ไหมลงไปตม้ นา้ รอ้ น ๆ
เพ่ือทาเครื่องน่งุ ห่มท่นี ิยมกนั ว่าสวยงามมคี า่ มาก
ท่แี ทเ้ ป็นบาปกรรมโดยไม่รูต้ วั
ความจรงิ ผา้ ไหมมใิ ช่เป็นสิ่งจาเป็นสาหรบั ชวี ิตมนษุ ยเ์ รา
นา่ จะใชผ้ า้ ฝา้ ยท่ไี ม่ตอ้ งเบยี ดเบยี นสตั วจ์ ะมิดกี วา่ หรือ

ใดๆในโลกนหี้ ามีความแตกต่างกนั ไม่
ลว้ นแตเ่ ป็นสภาวธรรมท่ีมนษุ ยส์ มมตุ ิกนั ขนึ้ มา
ผทู้ ่ฝี ึกฝนตนเองจนไมเ่ ห็นความแตกต่าง
ของสภาวธรรมเม่อื ใด
ผนู้ นั้ ก็เขา้ ถึงสภาวธรรมเม่ือนนั้ และไมถ่ กู ความไม่รู้
ไม่เขา้ ใจหลอกหลอนเบียดเบยี น
พน้ จากความรอ้ ยรดั ของกเิ ลสตณั หา อปุ าทานไดห้ มดสิน้

14. ธรรมะมคี ่าด่งั ทอง

1. อานิสงสข์ องศีล

“ดกู ่อนคหบดที งั้ หลาย อานิสงสแ์ ห่งศีลสมบตั ิ (ความถึงพรอ้ มดว้ ยศีล) มี 5 ประการ คือ
• คนมศี ีลยอ่ มถึงพรอ้ มดว้ ยโภคทรพั ยอ์ นั ยิ่งใหญ่ เพราะ ความไมป่ ระมาทเป็นเหตุ นเี้ ป็นอานสิ งสข์ อ้ ท่ี 1
ของการมีศีล
• เกียรติศพั ทอ์ นั งามของคนมีศลี ยอ่ มฟ้งุ ขจรไป นเี้ ป็นอานิสงสข์ อ้ ท่ี 2 ของการมศี ีล
• คนมีศลี จะเขา้ ไปสบู่ รษิ ัท (ชุมชนใด) ไมว่ ่าจะเป็นขตั ติยบรษิ ัท พราหมณบรษิ ัท คหบดบี ริษัท หรือ
สมณบรษิ ัท ย่อมองอาจไมเ่ กอ้ เขิน นเี้ ป็นอานิสงสข์ อ้ ท่ี 3 ของการมีศลี
• คนมีศลี ยอ่ มไมห่ ลงทากาละ (ตาย) นเี้ ป็น อานสิ งสข์ อ้ ท่ี 4 ของการมีศลี
• คนมศี ีลตายไปแลว้ ย่อมเขา้ ถึงสคุ ตโิ ลกสวรรค์ นเี้ ป็นอานิสงสข์ อ้ ท่ี 5 ของการมีศีล

2. สายพณิ -เสียงธรรม

สมยั หนง่ึ พระพทุ ธเจา้ ประทบั อยู่ ณ ภเู ขาคิชฌกฏู ครงั้ นนั้ พระโสณะหลกี เรน้ ออกปฏิบตั ิธรรมอยู่ ณ
ป่าสีตะวนั อยา่ งเครง่ เครียดองคเ์ ดียว ปฏบิ ตั ิอยา่ งไรกไ็ มบ่ รรลธุ รรมจงึ เกดิ ความเบื่อหน่าย คิดจะสกึ ออกไป
ครองเรือน ความคดิ อยา่ งหน่ึงเกิดขนึ้ วา่ เราก็มที รพั ยส์ มบตั มิ ากมายพอท่จี ะทาบญุ ทาทานไดอ้ ยู่ สกึ ออกไป
ดกี ว่ามาทรมานอย่อู ยา่ งนี้

ครานนั้ พระพทุ ธเจา้ ทรงทราบวติ กของพระโสณะดว้ ยพระญาณจงึ เสดจ็ มาโปรด
“โสณะ! เม่อื ครง้ั เธออยคู่ รองเรือนเธอเป็นผชู้ านาญในการดีดพณิ มใิ ช่หรือ?”
“พระเจา้ ขา้ ”

“สายพิณท่ีขึงตงึ เกนิ ไปจะดดี ไดไ้ พเราะไหม?”
“ไมไ่ พเราะ พระเจา้ ขา้ ”
“สายพณิ ท่ีขึงหย่อนเกนิ ไป จะดีดไดไ้ พเราะไหม?”
“ไมไ่ พเราะ พระเจา้ ขา้ ”
“สายพิณท่ีขงึ ไม่ตงึ เกินไป ไม่หย่อนยานจนเกินไป ขึงแต่พอดๆี เสียงพิณท่ีดีดย่อมจะไพเราะใช่
หรอื ไม่?”
“อยา่ งนนั้ พระเจา้ ขา้ ”
“โสณะ! สายพณิ ฉนั ใด การปฏบิ ตั ธิ รรมะกฉ็ ันนนั้ การตงั้ ความเพยี รไวม้ ากเกินไป จิตยอ่ มฟงุ้ ซ่านยาก
แกก่ ารควบคมุ ความเพยี รท่ียอ่ หย่อนเกินไป ก็เกดิ ความเกียจครา้ น
เพราะฉะนนั้ เธอจงตงั้ ความเพียรใหเ้ ป็น มชั ฌมิ า ปานกลางอย่างสม่าเสมอ และจงตงั้ อนิ ทรยี ์ 5 คือ
ศรทั ธา, วริ ยิ ะ, สติ, สมาธิ และปัญญา ใหส้ ม่าเสมอ และจงประคองจิตไวใ้ นระดบั นนั้ เถิดโสณะ”
พระโสณะรบั พทุ โธวาทดว้ ยความใสใ่ จ และตงั้ ใจปฏิบตั ิตามพระโอวาทนนั้ อย่างจรงิ จงั ไมน่ าน ท่านก็
บรรลพุ ระอรหนั ต์ เป็นพระอรยิ บคุ คลองคห์ นึ่งในโลก

3. เกดิ เป็ นคนแสนยาก

สมยั หนง่ึ พระพทุ ธเจา้ ประทบั อยู่ ณ พระเชตวนั กรุงสาวตั ถี ครง้ั นนั้ แล เม่ือพระพทุ ธองคจ์ ะทรงแสดง
ถงึ วา่ การเกดิ มาเป็นคนเรานี้ แสนยากเพียงใด ทรงเอาปลายพระนขาจกิ ฝ่นุ ใหต้ ิดขนึ้ มาเลก็ นอ้ ย แลว้ ตรสั กะ
ภิกษุทงั้ หลายท่ีประชมุ อย่ใู นท่นี นั้ วา่

“ภกิ ษุทงั้ หลาย! เธอจะเขา้ ใจอยา่ งไร? ฝ่นุ เล็กนอ้ ยท่เี ราชอ้ นใหต้ ิดปลายเลบ็ ของเรานี้ กบั ฝ่นุ ในพืน้ มหา
ปฐพีทงั้ โลกอยา่ งไหนจะมากกว่ากนั ?”

“ฝ่นุ ในมหาปฐพมี ากกวา่ จนสดุ ท่จี ะเปรยี บเทียบกนั ไดก้ บั ฝ่นุ ท่ตี ิดปลายพระนขาของพระองคพ์ ระเจา้
ขา้ ”

“ฉนั ใดก็ดภี ิกษุทงั้ หลาย! บรรดาเหลา่ สตั วท์ งั้ หลายท่ีตายไปแลว้ ท่จี ะยอ้ นกลบั ชาติมาเกดิ ในหม่มู นุษย์
อีก มีประมาณนอ้ ย สว่ นมากไปเกดิ ในกาเนิดอ่นื นอกจากมนษุ ย์ จนสดุ ท่จี ะคณานบั ได้ เปรยี บเหมอื นฝ่นุ ท่ตี ิด
ปลายเลบ็ ขอเรา กบั ฝ่นุ ท่วั ไปท่มี ใี นพนื้ มหาปฐพีฉนั นนั้ เหมอื นกนั เพราะเหตวุ ่าการเกิดมาเป็นมนษุ ยไ์ ดย้ ากนกั
ดงั นีแ้ หละ พวกเธอทงั้ หลายจึงไมค่ วรประมาทฯ”

4. เป็ นสามีภรรยากนั ทกุ ชาติ

สมยั หนึ่ง พระพทุ ธเจา้ ประทบั อยู่ ณ เภสกฬามฤคทายวนั ใกลบ้ า้ นสงุ สมุ ารคีระ แควน้ ภคั คะ ครงั้ นนั้
เวลาเชา้ พระพทุ ธองคท์ รงถือบาตรและจวี ร ไดเ้ สด็จเขา้ ไปยงั บา้ นของนกลุ บดิ าคฤหบดี

ณ ท่นี นั้ นกลุ บิดาคฤหบดี และนกลุ มารดาคฤหปตานี ไดเ้ ขา้ มาเฝา้ ถวายบงั คม แลว้ ไดน้ ่งั ในท่ีสมควร
สว่ นขา้ งหนง่ึ ครน้ั แลว้ คฤหบดีผนู้ กลุ บิดา ไดก้ ราบทลู ว่า

“ขา้ แต่พระองคผ์ เู้ จรญิ นบั แต่เวลาท่ีตระกลู ไดน้ าคฤหปตานซี ง่ึ ยงั เป็นสาวมา เพ่ือขา้ พระองค์ ผยู้ งั เป็น
หนมุ่ ขา้ พระองคม์ ิไดร้ ูส้ กึ จะประพฤตินอกใจต่อคฤหปตานแี มด้ ว้ ยใจเลย ท่ไี หนเลยจะประพฤตินอกใจดว้ ยกาย
ไดเ้ ลา่ ขา้ พระองคท์ งั้ สองปรารถนาจะพบกนั และกนั ทงั้ ในปัจจบุ นั ทงั้ ในสมั ปรายภพ”

คหปตานีผนู้ กลุ มารดา กไ็ ดก้ ราบทลู ขนึ้ บา้ งวา่
“ขา้ แต่พระองคผ์ เู้ จรญิ นบั แต่เวลาท่ีตระกลู นาหม่อมฉนั ซง่ึ ยงั เป็นสาวมา เพ่ือใหเ้ ป็นภรรยาของนกลุ
บิดา ซ่งึ ยงั เป็นหน่มุ หม่อมฉันมไิ ดร้ ูส้ กึ ท่จี ะประพฤตินอกใจต่อสามแี มด้ ว้ ยใจเลย ท่ไี หนจะประพฤตินอกใจ แม้
ดว้ ยกายไดเ้ ล่า หมอ่ มฉันทงั้ สองมคี วามปรารถนา ท่จี ะไดพ้ บซง่ึ กนั และกนั ทงั้ ในปัจจบุ นั และทงั้ ในสมั ปรายภพ
พระเจา้ ขา้ ”
พระพทุ ธองคไ์ ดต้ รสั ว่า
“คฤหบดีและคฤหปตานี! ถา้ ภรรยาและสามที งั้ สองมคี วามหวงั ตอ้ งการจะพบกนั และเป็นภรรยาและ
สามีกนั ทงั้ ในปัจจบุ นั และอนาคตแลว้ ไซร้ ทงั้ สองฝ่ายนนั้ เทยี ว พงึ เป็นผมู้ ีศรทั ธาเสมอกนั มีศีลเสมอกนั มีจาคะ
เสมอกนั และมีปัญญาเสมอกนั ภรรยาและสามีทงั้ สองนนั้ ยอ่ มไดพ้ บกนั และกนั ทงั้ ในปัจจบุ นั และทงั้ ใน
อนาคต”

5. จะเทศนาตอ้ งดนู ิสยั คน

พระพุทธเจ้าประทบั อยู่ ณ ปาวารกิ อัมพวนั ใกลเ้ มืองนาลนั ทา ครงั้ นนั้ ผใู้ หญ่บา้ นมีนามวา่ อสิ
พนั ธ์ ไดเ้ ขา้ ไปเฝา้ พระพทุ ธเจา้ แลว้ ทลู ถามความขอ้ งใจของตนว่า

“ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ พระองคท์ รงเกือ้ กลู และอนเุ คราะหส์ ตั วโ์ ลกโดยท่วั หนา้ อย่มู ใิ ชห่ รอื ?”
“อยา่ งนนั้ สิอสพิ นั ธ!์ ตถาคตยอ่ มเกือ้ กลู และอนเุ คราะหส์ ตั วโ์ ลกทงั้ หลายโดยท่วั หนา้ อยู่”
“ก็เม่ือเป็นเช่นนนั้ เหตใุ ดพระองคจ์ ึงทรงแสดงธรรมแก่คนบางพวกและไมท่ รงแสดงธรรมแกค่ นบาง
พวกเลา่ พระพทุ ธเจา้ ขา้ ?”

“อสพิ นั ธ!์ ถา้ อย่างนนั้ เราจะขอถามท่าน ท่านเห็นควรอย่างใด จงตอบอยา่ งนนั้ ท่นี าของชาวนาในโลก
นี้ มอี ยู่ 3 ชนิด คือ

- นาดี
- นาปานกลาง
- นาเลว
นาเลวมดี ินเหลว เคม็ และพนื้ ดินเลว ทา่ นเห็นอย่างไร เม่ือชาวนาตอ้ งการจะปลกู ขา้ ว เขาควรจะปลกู
เขา้ ในนาชนิดไหนก่อนเลา่ ?”
นายบา้ นกราบทลู ว่า
“ควรปลกู ในนาดีก่อน ต่อแต่นนั้ จึงหว่านในนาปานกลาง สว่ นในนาเลวซง่ึ มีดนิ เหลว เคม็ พนื้ ดินเลวนนั้
จะปลกู บา้ งหรือไม่ปลกู บา้ งก็ไมเ่ ป็นไร เพราะในท่สี ดุ กจ็ ะเป็นอาหารของโค พระพทุ ธเจา้ ขา้ ”
“อสิพนั ธ!์ เปรียบเหมือนนาดีฉนั ใด เราย่อมแสดงธรรมงามในเบอื้ งตน้ งามในท่ามกลาง และงามใน
ท่สี ดุ ประกาศพรหมจรรย์ พรอ้ มทงั้ อรรถทงั้ พยญั ชนะบรสิ ทุ ธิบ์ รบิ รู ณส์ ิน้ เชิงแก่ภิกษุและภิกษุณีของเราก่อน ก็
ฉนั นนั้ เหมือนกนั
ขอ้ นนั้ เพราะเหตไุ ร? เพราะภกิ ษุและภกิ ษุณีเหลา่ นี้ มเี ราเป็นท่พี ่งึ เป็นสรณะอยู่
อสิพนั ธ!์ นาเลวมีดนิ เหลว เค็ม พนื้ ดินเลวฉนั ใด เรายอ่ มแสดงธรรม…แก่อญั ญเดียรถีย์ สมณะ
พราหมณ์ และปรพิ าชกของเราเหลา่ นนั้ ในท่สี ดุ ฉนั นนั้
เพราะท่านเหลา่ นนั้ จะพงึ รูธ้ รรมแมบ้ ทเดียว ความรูข้ องท่านเหลา่ นนั้ พงึ เป็นไปเพ่อื ประโยชนส์ ขุ แก่เขา
สนิ้ กาลนาน…”
เม่อื จบพระธรรมเทศนา ผใู้ หญ่บา้ นอสพิ นั ธช์ ่ืนชม และแสดงตนเป็นอบุ าสกตลอดชวี ิต

6. เทวดาก็ชอบตักบาตร

สมยั หนงึ่ พระพทุ ธเจา้ ประทบั อยู่ ณ พระวหิ ารเวฬวุ นั ในเมอื งราชคฤห์ พระมหากสั สปน่งั เขา้ สมาธิ
อย่างใดอย่างหนงึ่ อยู่ ท่ถี า้ ปิปผลคิ หู า ท่านน่งั อย่ตู ลอด 7 วนั พอพน้ 7 วนั ท่านก็ออกจากสมาธิ ไดม้ ีความคิด
วา่ ควรจะเขา้ ไปบิณฑบาตในเมอื งราชคฤหเ์ ถิด

ในโอกาสนนั้ พวกเทวดาประมาณ 500 ไดข้ วนขวายเพ่ือจะถวายบิณฑบาตแก่พระมหากสั สป ท่านได้
หา้ มพวกเทวดาแลว้ จึงเขา้ ไปบิณฑบาตในเมอื งราชคฤห์

พระอินทรต์ อ้ งการจะใหเ้ ป็นบญุ มาก รูว้ า่ พระมหากสั สปเพ่งิ จะออกจากสมาธิ ซง่ึ เขา้ มาแลว้ ถึง 7 วนั
จงึ แปลงกายเป็นคนแกส่ องตายายกาลงั น่งั ทอผา้ อยู่

ขณะนนั้ พระมหากสั สปกาลงั เท่ยี วบณิ ฑบาตอยู่ ชา่ งทอผา้ จาแลงเห็นมาแตไ่ กล ไดอ้ อกไปตอ้ นรบั รบั
บาตรจากพระมหากสั สป แลว้ นาเอามาบรรจอุ าหารทพิ ยจ์ นเตม็ ขณะเม่อื นามาสง่ ใหพ้ ระมหากสั สปกล่นิ
อาหารไดฟ้ ้งุ ขึน้ ทา่ นจงึ กาหนดจติ กร็ ูว้ ่าผนู้ มี้ ใิ ชค่ นแกย่ ากจน ท่ที า่ นตงั้ ใจจะมาโปรด จึงกลา่ ววา่

“ดกู ่อนทา้ วโกสยี ์ มหาบพติ รทากรรมนีแ้ ลว้ แล มหาบพิตรอย่าไดท้ ากรรมอย่างนีอ้ กี เลย”
พระอนิ ทรไ์ ดต้ อบวา่
“ขา้ แตท่ ่านมหากสั สปผเู้ จรญิ แมข้ า้ พเจา้ ก็ตอ้ งการบญุ ขา้ พเจา้ จงึ ตอ้ งทาบญุ ”
พระอนิ ทรท์ รงอภวิ าททา่ นพระมหากสั สป ทรงทาประทกั ษิณแลว้ เหาะขนึ้ สอู่ ากาศ เปลง่ อทุ านใน
อากาศ 3 ครง้ั วา่
โอ ทานเป็นทานยอดย่ิง เราทาไวด้ ีแลว้ กบั พระมหากสั สป
พระพทุ ธเจา้ ทรงไดส้ ดบั เสยี งอทุ านนนั้ ดว้ ยทิพโสตธาตพุ รอ้ มทงั้ เหตกุ ารณท์ งั้ หมด จงึ เปลง่ อทุ านวา่
“เทวดาและมนุษยท์ งั้ หลาย ยอ่ มรกั ใครต่ ่อภกิ ษุ ผถู้ ือการเท่ยี วบิณฑบาตเป็นวตั ร ผเู้ ลีย้ งตนมใิ ช่เลีย้ ง
คนอ่ืน ผคู้ งท่ีสงบแลว้ มีสตทิ ุกเม่ือ”

7. พระพทุ ธเจา้ ก็ยงั ไมพ่ น้ ความแก่

ขา้ พเจา้ ไดส้ ดบั มาแลว้ อยา่ งนี้
สมยั หน่งึ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ประทบั อยู่ ณ ปราสาทของนางวสิ าขามิคารมารดา ในบพุ พาราม ใกล้
กรุงสาวตั ถี
กส็ มยั นนั้ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ เสดจ็ ออกจากท่หี ลีกเรน้ ในเวลาเย็น แลว้ ประทบั น่งั ผนิ พระปฤษฎางคผ์ งิ
แดดในท่มี แี สงแดดสอ่ งมาจากทิศประจิมอยู่
ครงั้ นนั้ ท่านพระอานนทเ์ ขา้ ไปเฝา้ พระผมู้ ีพระภาคเจา้ ถงึ ท่ปี ระทบั ถวายบงั คมพระผมู้ พี ระภาคเจา้ แลว้
บบี นวดพระกายของพระผมู้ ีพระภาคเจา้ ดว้ ยฝ่ามือพลางกราบทลู ว่า
“ขา้ แต่พระองคผ์ เู้ จรญิ น่าอศั จรรย์ ไมเ่ คยมีมาแลว้ เวลานพี้ ระฉววี รรณของพระผูม้ พี ระภาคเจา้ ไม่
บรสิ ทุ ธิ์ผดุ ผ่องเหมือนเม่ือก่อน พระสรีระกห็ ย่อนย่นเป็นเกลยี ว พระกายก็คอ้ มไปขา้ งหนา้ และความแปรปรวน
ของอนิ ทรีย์ คอื พระจกั ษุ พระโสตะ พระฆานะ พระชิวหา พระกาย กป็ รากฏอยู่”
พระผมู้ ีพระภาคเจา้ ตรสั ว่า

“ดกู อ่ นอานนท!์ ขอ้ นเี้ ป็นอย่างนนั้ ชราธรรมย่อมมีในความเป็นหนมุ่ สาว พยาธิธรรมย่อมมีในความไม่
มีโรค มรณธรรมยอ่ มมีในชีวิต ผวิ พรรณไมบ่ รสิ ทุ ธิ์ผดุ ผ่องเหมือนเม่อื ก่อน สรีระก็หย่อนย่นเป็นเกลยี ว กายก็
คอ้ มไปขา้ งหนา้ และความแปรปรวนแหง่ อินทรียค์ อื จกั ษุ โสตะ ฆานะ ชิวหา กาย ก็ปรากฏอย่”ู

พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ผสู้ คุ ตศาสดา ครน้ั ตรสั ไวยกรณภาษิตนจี้ บลงแลว้ จึงไดต้ รสั คาถาประพนั ธต์ อ่ ไปนี้
อีกวา่

“ถงึ ทา่ นจะติความแก่อันเลวทราม ถึงท่านจะติความแก่อันทาใหผ้ ิวพรรณทรามไป รูปอนั น่า
พึงใจก็คงถูกความแกย่ า่ ยีอยู่น่ันเอง

แมผ้ ใู้ ดพงึ มีชวี ิตอยู่ได้ร้อยปี (ผนู้ ั้นก็ไม่พน้ ความตายไปได้) สตั วท์ งั้ ปวงมีความตายเป็ นเบอื้ ง
หน้า ความตายยอ่ มไม่ละเว้นอะไรๆ ยอ่ มยา่ ยีทัง้ หมดทเี ดียว”

8. ท้าวโลกบาลตรวจโลก

ดกู อ่ นภกิ ษุทงั้ หลาย! ในดิถีท่ี 8 แหง่ ปักษ์ พวกอามาตยบ์ รวิ ารของมหาราชทงั้ สเี่ ท่ียวดโู ลกนี้ ดิถีท่ี 14
แหง่ ปักษ์ พวกบุตรของมหาราชทงั้ สเ่ี ท่ียวดโู ลกนี้ วนั อโุ บสถ 15 ค่านนั้ มหาราชทงั้ สี่เท่ยี วดโู ลกนีด้ ว้ ยตนเอง
(เพ่อื สารวจ) วา่

ในหม่มู นษุ ย์ คนท่เี กือ้ กลู มารดาบิดา บารุงสมณพราหมณอ์ ่อนนอ้ มตอ่ ผใู้ หญ่ในสกลุ อธิษฐานอโุ บสถ
ถือปฏชิ าครอโุ บสถ ทาบญุ มีจานวนมากอยหู่ รอื ?

ถา้ ในหมมู่ นษุ ย์ คนท่เี กือ้ กลู มารดาบดิ า ฯลฯ ทาบญุ มีจานวนนอ้ ย มหาราชทงั้ สกี่ ็บอกแก่คณะเทวดา
ดาวดงึ สผ์ นู้ ่งั ประชมุ ในสธุ ัมมาสภาวา่

“ขา้ แตท่ ่านผนู้ ิรทกุ ขท์ งั้ หลาย ในหมมู่ นุษย์ คนท่เี กือ้ กลู มารดาบิดา ฯลฯ ทาบญุ มีจานวนนอ้ ย”
เพราะขอ้ ท่บี อกนนั้ คณะเทวดาดาวดงึ สก์ เ็ สยี ใจ (บ่นกนั ) ว่า ทพิ กายจกั เบาบางเสยี ละหนอ? อสรุ กาย
จกั เต็มไป
แตถ่ า้ ในหม่มู นษุ ย์ คนท่ีเกือ้ กลู มารดาบิดา ฯลฯ ทาบญุ มีจานวนมาก มหาราชทงั้ สี่กบ็ อกแก่คณะ
เทวดาดาวดงึ ส์ ณ สธุ รรมสภาวา่
“ขา้ แต่ท่านผนู้ ิรทุกขท์ งั้ หลาย ในหม่มู นษุ ย์ คนท่เี กือ้ กลู มารดาบิดา ฯลฯ ทาบญุ มจี านวนมาก”
เพราะขอ้ ท่บี อกนนั้ คณะเทวดาดาวดงึ สก์ ็ช่นื ชม (แสดงความยนิ ดี) ว่า ทพิ กายจกั บรบิ รู ณล์ ะพอ่ คณุ
อสรุ กายจกั เบาบาง

9. ท่านเป็ นคนประเภทไหน?

ดกู อ่ นภกิ ษุทงั้ หลาย! บคุ คล 4 จาพวกนมี้ ีปรากฏอยใู่ นโลก บคุ คล 4 จาพวกคอื ใคร? คือ
บคุ คลมืดมาแลว้ มมี ืดไปภายหน้า
บุคคลมืดมาแลว้ มสี ว่างไปภายหน้า
บคุ คลสวา่ งมาแล้ว มมี ดื ไปภายหน้า
บคุ คลสว่างมาแล้ว มสี ว่างไปภายหน้า

กบ็ ุคคลมืดมาแลว้ มมี ืดไปภายหน้า เป็ นไฉน?
บคุ คลบางคนในโลกนี้ เกดิ ในตระกลู ต่า คือ ตระกลู จณั ฑาลกด็ ี ตระกลู ช่างสานก็ดี ตระกลู พรานกด็ ี
ตระกลู ชา่ งหนงั ก็ดี ตระกลู คนรบั จา้ งเทขยะกด็ ี ทงั้ ยากจนขดั สนขา้ วนา้ ของกนิ เป็นอย่อู ย่างเรน้ แคน้ หาอาหาร
และเครอ่ื งน่งุ หม่ ไดโ้ ดยฝืดเคือง ซา้ เป็นคนขรี้ วิ้ ขเี้ หรเ่ ตยี้ แคระ มากไปดว้ ยโรค ตาบอดบา้ ง เป็นง่อยบา้ ง
กระจอกบา้ ง เปลีย้ บา้ ง ไม่ใครไ่ ด้ ขา้ ว นา้ ผา้ ยวดยาน ดอกไม้ ของหอม เคร่ืองลบู ไล้ ท่ีนอน ท่ีอยู่ และเครื่อง
ประทปี
บคุ คลนนั้ ยงั ประพฤติทจุ รติ ดว้ ยกาย วาจา ใจ ครนั้ ประพฤตทิ จุ รติ ดว้ ยกาย วาจา ใจ แลว้ กายแตกตาย
ไปย่อมเขา้ ถึงอบาย ทคุ ติ วินิบาต นรก อย่างนีแ้ ล บคุ คลมืดมาแลว้ มีมืดไปภายหนา้

บคุ คลมืดมาแลว้ มสี ว่างไปภายหน้า เป็ นไฉน?
บคุ คลบางคนในโลกนี้ เกิดในตระกลู ต่า คอื ตระกลู จณั ฑาลกด็ ี ฯลฯ ท่นี อน ท่ีอยู่ และเคร่ืองประทีป
บคุ คลนนั้ ประพฤติสจุ รติ ดว้ ยกาย วาจา ใจ ครนั้ ประพฤติสจุ รติ ดว้ ยกาย วาจา ใจ แลว้ กายแตกตายไปย่อม
เขา้ ถงึ สคุ ตโิ ลกสวรรค์ อย่างนแี้ ล บคุ คลมืดมาแลว้ มีสว่างไปภายหนา้

บคุ คลสว่างมาแล้ว มีมืดไปภายหน้า
บคุ คลบางคนในโลกนี้ เกิดในตระกลู สงู คือ ตระกลู กษัตรยิ มหาศาลก็ดี ตระกลู พราหมณมหาศาลก็ดี
ตระกลู คฤหบดีมหาศาลกด็ ี ม่งั ค่งั มที รพั ยม์ าก มีโภคะมาก มีเงินทอง มีขา้ วของเครื่องใช้ มีทรพั ยธ์ ัญชาตเิ ป็น
อนั มาก ทงั้ มรี ูปรา่ งสะสวยเจรญิ ตาเจรญิ ใจ ประกอบดว้ ยผิวพรรณงดงามย่ิงนกั เป็นผู้มีปกติไดข้ า้ วนา้
ยวดยาน ดอกไม้ ของหอม เครือ่ งลบู ไล้ ท่นี อน ท่ีอยู่ และเครอ่ื งประทปี บคุ คลนนั้ ประพฤติทจุ ริตดว้ ยกาย วาจา
ใจ ครน้ั ประพฤติทจุ รติ ดว้ ยกาย วาจา ใจ แลว้ กายแตกตายไปย่อมเขา้ ถงึ อบาย ทุคติ วนิ ิบาต นรก อยา่ งนแี้ ล
บคุ คลสว่างมาแลว้ มมี ดื ไปภายหนา้

บคุ คลสว่างมาแลว้ มสี ว่างไปภายหน้า
บคุ คลบางคนในโลกนี้ เกิดในตระกลู สงู คือ ตระกลู กษัตรยิ มหาสาล ฯลฯ บคุ คลนนั้ ประพฤตสิ จุ รติ ดว้ ย
กาย วาจา ใจ ครนั้ ประพฤติสจุ ริตดว้ ยกาย วาจา ใจ แลว้ กายแตกตายไปย่อมเขา้ ถึงสคุ ติโลกสวรรค์ อยา่ งนีแ้ ล
บคุ คลสว่างมาแลว้ มสี ว่างไปภายหนา้
ภิกษุทงั้ หลาย! บคุ คล 4 จาพวกนแี้ ล มีปรากฏอย่ใู นโลก

10. สง่ิ ทไี่ มม่ ีผคู้ าประกนั

ดกู ่อนภิกษุทงั้ หลาย! ใครๆ ซ่งึ จะเป็นผรู้ บั ประกนั ธรรม 4 อย่างได้ ไมม่ ี จะเป็นสมณะ หรอื พราหมณ์
หรือเทวดา หรือมาร หรือพรหม หรือใครๆ กต็ ามในโลก ธรรม 4 อยา่ งเป็นไฉน? คือ

1. ใครๆ ซง่ึ จะเป็นผรู้ บั ประกนั ว่า สิ่งทม่ี ีความแก่เป็ นธรรมดา อย่าแก่ ดงั นีไ้ ม่มเี ลย จะเป็นสมณะ
หรือพราหมณ์ หรอื เทวดา หรือมาร หรือพรหม หรอื ใครๆ ก็ตามในโลก

2. ใครๆ ซ่งึ จะเป็นผรู้ บั ประกนั วา่ สิ่งทมี่ ีความเจบ็ ไข้เป็ นธรรมดา อย่าเจบ็ ไข้ ดงั นีไ้ ม่มเี ลย จะเป็น
สมณะ หรือพราหมณ์ หรอื เทวดา หรอื มาร หรือพรหม หรือใครๆ ก็ตามในโลก

3. ใครๆ ซ่งึ จะเป็นผรู้ บั ประกนั วา่ สิ่งทมี่ ีความตายเป็ นธรรมดา อย่าตาย ดงั นีไ้ ม่มเี ลย จะเป็นสมณะ
หรอื พราหมณ์ หรอื เทวดา หรือมาร หรือพรหม หรือใครๆ ก็ตามในโลก

4. ใครๆ ซ่งึ จะเป็นผรู้ บั ประกนั วา่ บาปกรรมเหล่าใดอนั ประกอบด้วยสังกิเลส ทาใหม้ ีภพใหม่
เป็ นไปกับดว้ ยความเร่าร้อน มีทกุ ขเ์ ป็ นวิบาก อานวยใหม้ ชี าติชรามรณะต่อไป วบิ ากของกรรม
เหลา่ นั้น อย่าเกดิ ขึน้ ดงั นี้ ไม่มเี ลย จะเป็นสมณะ หรอื พราหมณ์ หรือเทวดา หรือมาร หรือพรหม หรือใครๆ ก็
ตามในโลก

ภิกษุทงั้ หลาย! ใครๆ ซง่ึ จะเป็นผรู้ บั ประกนั ธรรม 4 อยา่ งนีแ้ ล ไม่มี จะเป็นสมณะ หรอื พราหมณ์ หรือ
เทวดา หรอื มาร หรือพรหม หรือใครๆ ก็ตามในโลก

15. นิทานธรรมบท

1. นายกาละ

อนาถบณิ ฑกิ เศรษฐีจา้ งลูกชายไปฟังธรรม
เขาไปแอบนอน เมื่อเพ่ิมค่าจ้างเขากต็ ง้ั ใจฟัง จึงไดเ้ ป็ นพระโสดาบนั

นายกาละเป็นลกู ชายของท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี แมว้ ่าบิดาจะมีศรทั ธามาก แตเ่ ขาไมไ่ ดเ้ ป็นเหมือน
บดิ าเลย เขาไม่ปรารถนาจะไปเขา้ เฝา้ พระพทุ ธเจา้ ตอนเสดจ็ มาในเรือน เขาก็ไม่ตอ้ งการพบ ไม่ตอ้ งการฟัง
ธรรมและชว่ ยเหลือสงฆ์ แมบ้ ดิ าจะว่ากลา่ วพร่าสอนเขากไ็ ม่ฟัง เศรษฐีคิดวา่ “ถา้ เจา้ กาละยงั มีความคิดเหน็
อยา่ งนนั้ เขาก็จะมอี เวจเี ป็นท่ไี ป เรายงั มีชีวิตอยู่ ลกู ของเราอย่าไดไ้ ปอเวจเี ลย เราจะตอ้ งใชเ้ งินช่วยปรบั เปล่ยี น
ทฏิ ฐิของเขาใหไ้ ด”้ จงึ เรียกเขามาย่นื ขอ้ เสนอวา่ ถา้ เจา้ ยอมรกั ษาอโุ บสถและไปฟังธรรมในพระวหิ ารเชตวนั พอ่
จะใหเ้ งินเจา้ 100 กหาปณะ เจา้ จะวา่ อย่างไร นายกาละตอ้ งการเงินจงึ รบั ปากบิดา

ถึงวนั อโุ บสถ ก็รกั ษาอโุ บสถแลว้ ไปอย่ใู นพระวหิ าร แตไ่ ม่ฟังธรรม เขาหลบไปนอนอย่ใู นท่ที ่ไี มม่ ใี ครเหน็
ถงึ เวลาเชา้ ก็กลบั มาสบู่ า้ น เศรษฐีเห็นลกู ชายกลบั มา ก็ส่งั ใหค้ นรบั ใชร้ บี นาอาหารมาใหเ้ ขาๆกลา่ วว่า ถา้ ผมยงั
ไมไ่ ดร้ บั เงิน ผมก็จะยงั ไม่กินขา้ ว บิดาจงึ นาเงินมาใหต้ ามสญั ญา

วนั รุง่ ขึน้ เศรษฐีย่นื ขอ้ เสนออีกว่า เจา้ จะได้ 1,000 กหาปณะ ถา้ เจา้ ไปยืนฟังธรรมต่อหนา้ พระพกั ตร์
พระศาสดา แลว้ เรียนจดจาบทธรรมะ 1 บท เขารบี ไปพระวิหาร ยืนอยตู่ ่อหนา้ ตงั้ ใจจะเรียนใหไ้ ด้ 1 บทธรรม
แลว้ กลบั มาเอาเงนิ แต่พระพทุ ธเจา้ ทรงทาใหเ้ ขากาหนดจาไมไ่ ดส้ กั บทหนึง่ เขายิ่งพยายามต่อไป จนตกค่า
เขากย็ งั พยายาม และเกิดความเขา้ ใจธรรมท่ีทรงแสดงไปตามลาดบั จนบรรลโุ สดาปัตติผล

รุง่ เชา้ พระพทุ ธเจา้ เสด็จพรอ้ มดว้ ยภิกษุสงฆ์ เขา้ มาในเรือนของเศรษฐี มนี ายกาละตดิ ตามมาดว้ ย
เศรษฐีเหน็ อาการของลกู ชายแลว้ ชอบใจมาก สว่ นเขาก็คิดว่า “หวงั ว่าพ่อจะไมพ่ ดู เร่ืองคา่ จา้ งเรารกั ษาอโุ บสถ
และฟังธรรมนะ” เศรษฐีถวายยาคแู ละของเคีย้ วของบรโิ ภคแก่ภิกษุสงฆแ์ ลว้ กส็ ่งั ใหน้ าอาหารมาใหบ้ ุตรชาย
ดว้ ย

ครน้ั พระพทุ ธเจา้ ทรงเสวยเสรจ็ แลว้ เศรษฐีนาห่อกหาปณะ 1,000 มาวางตรงหนา้ พลางพดู วา่ น่เี งนิ ท่ี
พอ่ บอกวา่ จะให้ ถา้ เจา้ รกั ษาอโุ บสถและไปฟังธรรมในพระวิหาร เขากลา่ วว่าผมไมต่ อ้ งการเงินแลว้ เศรษฐีปลมื้
ใจมาก กราบทลู ว่า วนั นขี้ า้ พระองคช์ อบใจความประพฤติของลกู มากเลย แลว้ กราบทูลเลา่ ใหท้ รงสดบั พระ
ศาสดาตรสั วา่ วนั นโี้ สดาปัตติผลเป็นของบุตรทา่ นแลว้ ประเสรฐิ กว่าจกั รพรรดสิ มบตั ิ ย่งิ กวา่ การไดส้ มบตั ิในเท
วโลกและพรหมโลก แลว้ ก็ตรสั เป็นภาษิตว่า

โสดาปัตตผิ ลประเสริฐกว่าความเป็ นเอกราชราชาในพนื้ ปฐพี
ยง่ิ กวา่ การไปส่สู รวงสวรรคห์ รอื ยิ่งกว่าความเป็ นอธิบดีในโลกทัง้ ปวง

2. พระพทุ ธเจา้ ทรงให้จดั อาหารเลยี้ งคนเขญ็ ใจ

พระพุทธเจ้าส่งให้จดั อาหารให้คนหวิ กินก่อนฟังธรรม

ใกลร้ ุง่ วนั หน่งึ พระพทุ ธเจา้ ประทบั น่งั ตรวจดโู ลกอย่ใู นพระเชตวนั ทรงเหน็ อปุ นิสยั ท่จี ะบรรลโุ สดาปัตติ
ผลของมนษุ ยผ์ เู้ ขญ็ ใจคนหน่ึงท่ีเมอื งอาฬวี จงึ เสด็จมาพรอ้ มดว้ ยภกิ ษุประมาณ 500 รูป ชาว อาฬวไี ดน้ ิมนต์
ใหร้ บั ภตั คนเขญ็ ใจนาโคออกไปเลีย้ งตอนเชา้ ตรู่ เขาไดข้ ่าววา่ พระพทุ ธเจา้ เสด็จมา ก็ตงั้ ใจวา่ เราจะไปฟังธรรม
แตถ่ า้ ว่า โคท่เี ขาเลยี้ งอย่หู ายไปตวั หนง่ึ เขาตดั สินใจตามหาโคกลบั เขา้ ฝงู กอ่ นแลว้ ค่อยไปฟังธรรม พระพทุ ธเจา้
และภกิ ษุสงฆเ์ สวยภตั ตาหารเสรจ็ แลว้ ทรงรบั บาตรแลว้ ทรงน่ิงไมท่ รงทาอนโุ มทนา ทรงดารวิ า่ เราเดนิ ทางไกล
มาสามรอ้ ยโยชนเ์ พ่อื ผใู้ ด ตอนนผี้ นู้ นั้ กาลงั ตามหาโค เขามาเม่อื ไรเราจะแสดงธรรม ฝ่ายคนเข็ญใจพบโคและ
ตอ้ นเขา้ ฝงู เสรจ็ ในเวลากลางวนั แมต้ วั เขาจะหิวมากกย็ งั รีบมาใหท้ นั ฟังธรรม เขาเขา้ มายืนอย่ดู า้ นหนึ่งของท่ี
ประชมุ พระศาสดาทรงทราบว่าเขาหวิ มาก ตรสั บอกแก่คนท่ขี วนขวายถวายทานวา่ ถา้ มีของท่ีเป็นเดนของ
ภิกษุสงฆเ์ หลืออยู่ ก็จงจดั ใหบ้ คุ คลนนั้ บรโิ ภคเถิด ผขู้ วนขวายทานเรยี กเขามาใหบ้ รโิ ภคจนอ่มิ พงึ ทราบว่าการท่ี
พระตถาคตใหจ้ ดั อาหารเลีย้ งผอู้ ่นื นี้ ในพระศาสนานมี้ ีเฉพาะเรื่องนเี้ ร่ืองเดียว เม่อื เขาหายเหน่ือย หายหวิ มีจติ
สงบแลว้ ก็ทรงแสดงพระธรรมเทศนาตามลาดบั คอื อนปุ พุ พกิ ถาและสจั จะ 4 จบพระเทศนา เขาดารงอย่ใู น
โสดาปัตติผลแลว้ เสด็จกลบั

พวกภิกษุท่ตี ามเสด็จมาดว้ ยสนทนากนั ว่า พระศาสดาทรงไมเ่ คยทาเช่นนเี้ ลย แต่วันนีท้ รงทาแก่มนษุ ย์
คนหนงึ่ พระพทุ ธเจา้ ทรงสดบั แลว้ ตรสั วา่ เราเดินทางมาไกลเพราะเห็นอปุ นิสยั ของอบุ าสกคนนี้ เขานาโคไป
เลีย้ งแลว้ ตามหาโคในป่ า เขาจึงหวิ มาก ถา้ เราแสดงธรรมไปเขาก็จะบรรลไุ ม่ไดเ้ พราะทกุ ขท์ ่เี กิดจากความหิว
ภกิ ษุทงั้ หลาย โรคท่ีจะเป็นเหมือนความหิวไมม่ เี ลย หลงั จากนนั้ ก็ตรสั เป็นภาษิตวา่

ความหวิ เป็ นโรคอยา่ งย่งิ
สังขารทัง้ หลายเป็ นทุกขอ์ ย่างยงิ่
เม่อื รู้ตามความจรงิ อยา่ งนั้นแล้ว
พงึ กระทานิพพานใหแ้ จ้ง
เพราะนิพพานเป็ นสุขอยา่ งย่งิ

3. กุฏมุ พี

พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมดาของสงั ขาร
และการละทิง้ ร่างเป็ นดจุ งูลอกคราบ

กฎุ มุ พีคนหนง่ึ ในกรุงสาวตั ถี เกดิ ความเสียใจใหญ่หลวงเพราะบตุ รตาย เขาไปท่ีป่าชา้ แลว้ กร็ ่าไหด้ ว้ ย
ความคิดถึงลกู อย่หู ลายวนั แลว้ พระพทุ ธเจา้ ทรงตรวจดสู ตั วโ์ ลกในเวลาใกลร้ ุง่ ทรงเห็นว่ากฎุ มุ พีจะบรรลโุ สดา
ปัตตมิ รรคได้ ครนั้ เสด็จกลบั จากบิณฑบาตแลว้ กไ็ ดเ้ สด็จไปยงั เรือนของกฎุ มุ พี มภี ิกษุติดตามรูปหนง่ึ เขาเหน็
แลว้ คิดวา่ พระศาสดาคงประสงคท์ ่จี ะมาปฏิสนั ถารกบั เรา จงึ นิมนตใ์ หป้ ระทบั น่งั ในเรือน พระพทุ ธเจา้ ตรสั ถาม
ว่า อบุ าสก ทา่ นทกุ ขเ์ พราะเหตอุ ะไรหนอ ทลู วา่ เพราะพลดั พรากจากบุตร ทรงตรสั สอนว่า อย่าคิดมากเลย
ความตายมไิ ดม้ แี ก่บตุ รของท่านคนเดียว เม่ือความเป็นไปในภพยงั มอี ยู่ ความตายก็ยอ่ มมแี ก่สตั วท์ งั้ หลาย
ทงั้ นนั้ เพราะสงั ขารท่ีเท่ยี งแทไ้ ม่มีอย่แู มแ้ ต่สงั ขารเดยี ว ท่านพงึ พิจารณาเถิดว่า สง่ิ ท่ีมีความตายเป็นธรรมดาก็
ไดต้ ายไปแลว้ ตรสั เลา่ อรุ คชาดก วา่ ดว้ ยพระโพธิสตั วไ์ ม่เสียใจท่ลี กู ตาย เพราะพิจารณาว่าเม่อื สรีระของบตุ รใช้
ไม่ไดแ้ ลว้ จึงละทิง้ ไป เหมือนงลู อกคราบ ฉะนนั้ เขาถูกเผาอยกู่ ็ยอ่ มไมร่ ูถ้ ึงความครา่ ครวญของหมญู่ าติ เขามี
คติอยา่ งไร เขาไปสคู่ ติอยา่ งนนั้ บณั ฑิตในกาลก่อน เม่ือลกู ตายก็ไมเ่ ป็นเหมือนทา่ น ตวั ทา่ นละทิง้ การงานอด
อาหาร เอาแต่รอ้ งไห้ บณั ฑิตไม่เกดิ ความโศก นึกถงึ มรณสติภาวนาบรโิ ภคอาหารและทาการงานต่อไป อบุ าสก
ท่านอยา่ มวั คดิ ว่า ลกู ของเราตายแลว้ ท่จี รงิ ความโศกก็ดี ภยั กด็ ี เม่ือจะเกิด ก็ย่อมองิ อาศยั ของอนั เป็นท่รี กั
นนั้ เอง แลว้ ตรสั เป็นภาษิต

ความโศกย่อมเกิดจากสง่ิ เป็ นทร่ี ัก
ภยั ก็เกิดจากส่งิ เป็ นทรี่ ัก
ผหู้ ลุดพน้ จากสง่ิ เป็ นทร่ี ักแล้ว
ความโศกไมม่ ี ภยั จะมีมาแตท่ ไี่ หน
พอจบพทุ ธดารสั กฎุ มุ พดี ารงอย่ใู นโสดาปัตตผิ ล

4. พระมหาโมคคัลลานะ

พระมหาโมคคัลลานะ

ถามกุศลกรรมทพี่ วกเทพธดิ ามเหศักดิเ์ คยทาไว้
พระมหาโมคคลั ลานะเถระจารกิ ไปในเทวโลก ทา่ นยืนอยู่ท่ปี ระตวู ิมานของเทพธิดาผมู้ ีศกั ดใิ์ หญ่ เม่ือ
เทพธิดาเจา้ ของวิมานมาไหวท้ ่านจึงถามวา่ ทิพยสมบตั ิใหญ่ของทา่ น ท่านไดม้ าเพราะทากรรมอะไร นางกลา่ ว
วา่ อย่าถามเลยเจา้ คะ่ พระเถระกลา่ วว่า จงบอกมาเถิด นางจึงบอกว่าดฉิ นั ไม่ไดถ้ วายทาน ไม่ไดท้ าการบชู า
พระรตั นตรยั ไมไ่ ดฟ้ ังธรรม ทาเพียงรกั ษาคาสตั ยเ์ ทา่ นนั้ พระเถระไปสวู่ ิมานอ่ืนๆและถามถงึ บพุ กรรม เทพธิดา
องคห์ น่งึ ตอบวา่ ดิฉนั ไม่ไดท้ าบญุ เลย สมยั พระพทุ ธเจา้ กสั สปะดิฉนั เป็นนางทาสี มีเจา้ นายดรุ า้ ยหยาบคาย
มาก ยามโกรธก็ใชไ้ มต้ ีศรี ษะดิฉนั ดิฉนั โกรธกจ็ รงิ แตไ่ มต่ อบโต้ ไดแ้ ต่นึกว่าเจา้ นายเขาเป็นใหญ่ ทาใหเ้ ราเสีย
โฉมกไ็ ด้ ตดั อวยั วะของเราก็ได้ เราอยา่ โกรธเขาเลย ดฉิ นั ก็ไมใ่ หค้ วามโกรธเกิดขนึ้ จึงไดท้ ิพยสมบตั ิเหลา่ นเี้ จา้
ค่ะ เทพธิดาองคห์ น่ึงกลา่ วว่า ดฉิ นั เป็นคนดแู ลไร่ออ้ ย เคยถวายออ้ ยลาหน่ึงแก่ภิกษุ เทพธิดาองคอ์ ่นื ๆกลา่ วว่า
ดฉิ นั ไดถ้ วายมะพลบั 1 ผล ฟักทอง 1 ผล ลิน้ จ่ี 1 ผล เหงา้ มนั หน่งึ กามอื สะเดา 1 กามือ ดงั นีจ้ งึ ไดท้ ิพยสมบตั ิ
เหลา่ นี้
พระเถระเขา้ เฝา้ พระพทุ ธเจา้ ในพระเชตะวนั แลว้ กราบทลู ว่า เป็นไปไดห้ รือพระพทุ ธเจา้ ขา้ ท่กี ลา่ วแต่คา
สตั ย์ ระงบั ความโกรธ ถวายมะพรา้ วผลเดียว ก็ไดเ้ สวยทิพยสมบตั ิ ช่างเล็กนอ้ ยเหลือเกนิ ตรสั วา่ เหตใุ ดมาถาม
เรา กพ็ วกเทพธิดาบอกเธอแลว้ ไม่ใชห่ รอื บุคคลกลา่ วเพยี งคาสตั ย์ ระงบั ความโกรธ ใหท้ านเพยี งเล็กนอ้ ย ย่อม
ไปเทวโลกไดจ้ รงิ แลว้
พระพทุ ธองคก์ ต็ รสั เป็นภาษิตวา่

พงึ พูดคาจริง ไม่ควรโกรธ เม่ือถกู เขาขอแมเ้ พียงเล็กน้อยกพ็ ึงให้
ด้วยเหตุ3อยา่ งนีแ้ ม้เพยี งเหตุเดยี วก็พึงไปสวรรคไ์ ด้

5. พระติสสเถระหวงจีวร

ทาจวี รเสรจ็ แลว้ พระติสสะรู้สึกผูกพันในจีวร
มรณภาพเกดิ เป็ นเล็น พระศาสดาทรงระงบั การแบ่งจีวร

พระตสิ สะเป็นชาวสาวตั ถี บวชแลว้ ต่อมาไปจาพรรษาอย่ใู นชนบทก่อนออกพรรษา มีผถู้ วายผา้ สาฎก
เนอื้ หยาบยาว 8 ศอกใหแ้ กท่ ่าน ออกพรรษาปวารณาแลว้ ทา่ นนาผา้ ผืนนนั้ มาฝากพ่สี าวไวใ้ นกรุงสาวตั ถี ฝ่าย
พ่สี าวจบั ผา้ แลว้ ก็คิดวา่ เนอื้ หยาบมากไมส่ มควรจะนอ้ งของเรา จึงนาผา้ ลงโครกในครก สางดา้ ยออกแลว้ ทอให้
เป็นผา้ เนือ้ ละเอียด

วนั หน่งึ พระติสสะนดั ภิกษุและสามเณรใหช้ ว่ ยกนั ทาผา้ สาฎกผืนนนั้ เพ่อื ใชเ้ ป็นจีวรแลว้ ทา่ นจึงมารบั
ผา้ ท่ฝี ากไว้ พ่สี าถวายผา้ ยาว 9 ศอกเป็นผา้ ทอใหมใ่ หท้ ่านๆกจ็ าไม่ได้ กล่าวว่าไมใ่ ชผ่ า้ ของอาตมา ครน้ั พ่ีสาว
อธิบายแลว้ กเ็ กิดความเขา้ ใจ รบั ไปช่วยกนั ตดั เยบ็ ยอ้ มเป็นจวี ร พ่ีสาวกไ็ ดน้ าโภชนะมาถวายภกิ ษุสามเณรท่ี
ช่วยกนั ทาจวี รดว้ ย จีวรเสรจ็ แลว้ พระตสิ สะมองดดู ว้ ยความช่ืนชอบใจรูส้ ึกรกั ในจีวรนนั้ คิดว่า พรุง่ นีเ้ ราจะห่ม
จวี รผืนนี้ พบั แลว้ พาดไวท้ ่รี าวจีวร

แตท่ วา่ ในราตรีนนั้ เองอาหารท่ฉี นั เขา้ ไปเกิดไม่ย่อย พระติสสะมรณภาพแลว้ เกิดเป็นตวั เล็นเกาะอยใู่ น
จีวรผนื นนั้ เม่ือภกิ ษุทงั้ หลายช่วยกนั เผาศพทา่ นแลว้ ตกลงกนั ว่า จีวรของพระตสิ สะตกเป็นของสงฆพ์ วกเราจะ
แบ่งจวี ร แลว้ นาจวี รออกมา ปรากฏว่าเล็นว่ิงไปมาบนจีวรพลางกลา่ ววา่ ภิกษุเหลา่ นกี้ าลงั แย่งจวี รท่เี ป็นของเรา

พระพทุ ธเจา้ ประทบั น่งั อยใู่ นพระคนั ธกฎุ ีในพระเชตะวนั ทรงไดย้ นิ เสียงเล็นพดู อยา่ งนนั้ ดว้ ยทพิ ยโสต
จึงตรสั ใหพ้ ระอานนทไ์ ปแจง้ แก่ภกิ ษุเหลา่ นนั้ ว่า อย่าเพ่ิงแบ่งกนั จงรอใหผ้ ่านไป 7 วนั ไปก่อน

การถึงวนั ท่ี 7 เลน็ ก็ตายไปเกิดในดสุ ิตวมิ าน วนั ท่ี 8 จึงตรสั ใหแ้ บง่ จีวรผนื นนั้ ได้
ภกิ ษุทงั้ หลายสนทนากนั ในธรรมสภาว่า เหตใุ ดจึงทรงใหเ้ ก็บจวี รไว้ 7 วนั ใหแ้ บ่งกนั ในวนั ท่ี 8 พระ
ศาสดาจึงตรสั ว่า พระตสิ สะเกิดเป็นเลน็ หวงแหนจีวรมาก เม่ือโกรธพวกเธอกจ็ ะตายจากเลน็ แลว้ กไ็ ปเกิดใน
นรก เราจึงใหร้ อก่อน ตอนนเี้ ขาเกิดในดสุ ิตแลว้ เราจึงใหแ้ บ่งจวี รได้ ภกิ ษุเหลา่ นนั้ ทลู ว่า ตณั หานหี้ ยาบจรงิ หนอ
จึงตรสั สอนว่า เป็นอย่างนนั้ ตณั หาของสตั วเ์ หลา่ นหี้ ยาบ เหมือนสนิมเกิดจากเหล็ก เกิดขนึ้ แลว้ กดั กอ้ นเหล็กให้
ผกุ รอ่ นไป ตณั หาก็ฉนั นนั้ เกิดขนึ้ ภายในสตั วเ์ หล่านีแ้ ลว้ ทาใหเ้ กิดในนรกเป็นตน้ ทาสตั วใ์ หถ้ ึงความพินาศ แลว้
พระพทุ ธองคก์ ็ทรงตรสั ภาษิตว่า

สนิมเกิดขนึ้ จากเหลก็
ครัน้ เกดิ ขนึ้ แล้วยอ่ มกดั กินเนือ้ เหล็กน่ันเอง ฉันใด
กรรมทงั้ หลายของตน
กย็ ่อมนาคนผู้บริโภคโดยไม่มีปัญญาพิจารณาไปสู่ทุคติ ฉันนั้น

6. สูกรโปตกิ า

พระศาสดาตรัสเล่าอดีตของลูกหมูตวั เมียวา่ เคยเป็ นแมไ่ ก่
เป็ นเจ้าหญิง เป็ นรูปพรหม และเกิดดารสิ บั สนจึงเกิดเป็ นหมู

วนั หน่งึ พระพทุ ธเจา้ เสดจ็ เขา้ ไปในกรุงราชคฤหเ์ พ่อื บณิ ฑบาต ทอดพระเนตรเห็นลกู สกุ รตวั เมยี ตวั หน่งึ
จึงทรงกระทาการแยม้ ใหป้ รากฏ พระอานนทเ์ ถระเหน็ มณฑลแห่งแสงสว่างท่ีเหน็ ไดด้ ว้ ยตาท่เี ปลง่ ออกมาจาก
ชอ่ งพระโอษฐ์ จึงทลู ถามเหตทุ ่สี ง่ แยม้ นนั้ พระศาสดาตรสั ถามว่าเธอลกู หมตู วั นนั้ ไหม ทลู ว่า เหน็ พระเจา้ ขา้ ก็
ตรสั เลา่ ว่า ในสมยั พระพทุ ธเจา้ กกสุ นั ธะ ลกู หมตู วั นเี้ กิดเป็นแมไ่ กอ่ าศยั อย่ใู กลอ้ าสนะศาลา ทาใหไ้ ดฟ้ ังเสยี ง
ธรรมท่ภี กิ ษุผบู้ าเพ็ญเพยี รรูปหน่ึงสาธยายวิปัสสนากรรมฐานอยู่ แม่ไก่ตายแลว้ เกิดเป็นพระราชธิดาพระนาม
ว่าอพุ พรี

วนั หน่งึ ไดเ้ สด็จเขา้ ไปอจุ จาระแลว้ ทอดพระเนตรเห็นหมหู่ นอน ทาปฬุ วกสญั ญาใหเ้ กิดขนึ้ ได้ ทรงบรรลุ
ปฐมฌาน เม่ือสิน้ พระชนมก์ ็เกิดในพรหมโลก ก่อนจตุ ิจากเทวโลก กไ็ ดเ้ กิดความสบั สนในคติ สนิ้ อายแุ ลว้ จงึ
เกดิ ในกาเนิดสกุ ร พระศาสดายงั ประทบั ยนื อย่กู ลางถนนนนั้ ไดต้ รสั โทษของราคตณั หาดว้ ยภาษิต

เมือ่ รากหย่งั แขง็ แรงม่ันคง
ต้นไม้แมจ้ ะถูกตัดลาต้นแลว้ ก็ยงั ผลิใบไดอ้ กี ฉันใด
เมื่อตัณหานุสยั ยงั ไม่ถกู ตัดใหข้ าดไป
ความทกุ ขน์ ีก้ ็ย่อมเกดิ ขึน้ บ่อยๆฉันน้ัน

7. จฬู ธนุคคหะ

ภกิ ษุรูปหนึ่งอยากสกึ พระศาสดาตรัสเลา่ เรอ่ื งอดีต
ภกิ ษุนีเ้ คยเป็ นบณั ฑิตตายเพราะภรรยารักง่าย

ภกิ ษุรูปหนงึ่ จบั สลากยาคแู ลว้ กไ็ ปยงั อาสนศาลา(สถานท่ีน่งั ฉนั )น่งั ดม่ื ยาคู ทา่ นดื่มยาคแู ลว้ ไมม่ ีนา้
ด่ืม จงึ ไปท่บี า้ นหลงั หน่ึง เด็กสาวในเรอื นเห็นแลว้ ถามถงึ เหตทุ ่มี า ทราบแลว้ ไดถ้ วายนา้ ใหท้ า่ นด่ืม เธอเกดิ
ความรูส้ กึ เสน่หาภกิ ษุตงั้ แต่ท่ไี ดเ้ หน็ จงึ กลา่ วว่า หากท่านตอ้ งการดม่ื นา้ ก็นมิ นตใ์ หม้ าท่บี า้ นหลงั นี้

จากวนั นนั้ เม่ือภิกษุไม่ไดน้ า้ ดมื่ จากท่ใี ดก็จะมาท่เี รือนหลงั นี้ เธอก็รบั บาตรนานา้ มาใส่ถวายใหด้ ื่ม
ต่อมาเธอก็นิมนตใ์ หน้ ่งั ฉนั ภตั ตาหารในเรือน แลว้ กล่าวถอ้ ยคาแสดงความเสน่หาว่า ทา่ นผเู้ จรญิ ในเรือนนีม้ ที กุ
อยา่ งอย่พู รอ้ ม จะขาดก็แต่มนษุ ยท์ ่จี ะมาจดั การเท่านนั้

ภกิ ษุนนั้ ไดฟ้ ังแลว้ ก็นาไปครุน่ คิดและอยากจะสกึ คิดมากจนรา่ งกายซูบผอม เพ่อื นภิกษุถามว่าทา่ น
ป่วยเป็นอะไร ก็ตอบว่าผมอยากจะสกึ พวกภิกษุจึงนาตวั เขา้ เฝา้ พระพทุ ธเจา้ ในพระเชตวนั ทรงสอนว่า เธอบวช
ในคาสอนของพระพทุ ธเจา้ ผปู้ รารภความเพียร ทาไมจึงไมใ่ หค้ นอ่นื เขาเรียกเธอว่าพระโสดาบนั หรือพระ
สกทาคามี เธอกลบั ใหค้ นเรยี กเธอว่าคนอยากสึก ทรงถามว่า เหตใุ ดจึงอยากสึก ทา่ นทูลว่า เพราะกมุ าริกาคน
หนง่ึ พดู อย่างนกี้ บั ขา้ พระองค์ ทรงตรสั วา่ นางพดู อย่างนไี้ มน่ า่ อศั จรรยห์ รอก ในปางก่อน นางก็เคยพดู วา่ รกั เธอ
แต่พอเห็นชายอ่ืนเพยี งครูเ่ ดียว นางก็ทาใหเ้ ธอตาย

แลว้ ตรสั เลา่ จฬู ธนคุ คหชาดก ว่าดว้ ยภกิ ษุนเี้ ป็น จฬู ธนคุ หบณั ฑิต เก่งศลิ ปะการยิงธนู นางกมุ ารกิ านี้
เป็นลกู สาวอาจารยท์ ิศาปาโมกข์ กรุงตกั สลิ า อาจารยย์ กลกู สาวใหเ้ ขาๆพาเดนิ ทางกลบั กรุงพาราณสี ระหวา่ ง
ทางมีโจรดกั ปลน้ เขาฆา่ ลกู นอ้ งโจรตายหมด 49 คน พอจะฆ่าหวั หนา้ โจรภรรยาของเขากเ็ กิดเสนห่ าในโจร ย่นื
ดาบใหโ้ จรท่เี พงิ่ เหน็ เม่ือครู่ ฆา่ สามีตวั เอง โจรพานางไปไดห้ น่อยหน่ึงก็คิดไดว้ า่ ต่อไปนางก็อาจจะใหช้ ายคนอ่นื
ฆ่าเรา จงึ ทงิ้ นางและหนีไป แลว้ ทรงตรสั สอนว่า ภกิ ษุเธอจงตดั ปัญหาท่เี กิดเพราะผหู้ ญิงเถดิ แลว้ ตรสั ภาษิต

ตณั หายอ่ มเจริญมากขึน้ เมื่อบุคคลตรึกถึงกาม
เกดิ ราคะจัดชอบแตค่ วามสวยความงามน่ันแหละ
เป็ นการทาเคร่ืองผูกคือตณั หาให้แน่นขึน้
ส่วนผู้ใดยินดีในการระงบั ความรู้สึกมีสติอย่เู สมอเจริญอสุภะ
ผู้นั้นแหละจะทาตัณหาให้สิน้ ไปจะตัดพันธนาการของมารได้
เม่อื จบพระพทุ ธดารสั ภกิ ษุนีด้ ารงอยใู่ นโสดาปัตตผิ ล

8. ทา้ วสกั กเทวราช

พวกเทวดาดาวดงึ สผ์ กู ปัญหา 4 ขอ้
ผ่านไป 12 ปี ไมม่ ใี ครตอบใหย้ ตุ ิได้ ทา้ วสักกะจึงนามาทลู ถามพระพุทธเจ้า
และทูลขอใหพ้ วกภกิ ษุให้ส่วนธรรมทานแกเ่ ทวดา

สมยั หนงึ่ พวกเทวดาในเทวโลกช่อื ดาวดงึ สป์ ระชมุ กนั แลว้ ตงั้ ปัญหาขนึ้ 4 ขอ้ คือ
1ในการใหท้ งั้ หลาย การใหอ้ ะไรประเสรฐิ ท่ีสดุ
2 ในบรรดารสทงั้ หลาย รสอะไรประเสรฐิ ท่ีสดุ
3 ในบรรดาความยินดที งั้ หลาย ความยินดีอะไรประเสรฐิ ท่สี ดุ
4 เพราะอะไรความสิน้ ไปแห่งตณั หาจึงประเสรฐิ ท่สี ดุ

ปรากฏว่าไม่มเี ทวดาองคใ์ ดตอบ 4 ปัญหานไี้ ด้
พวกเทวดาถามพวกเทวดาไปๆมาๆท่วั หม่ืนจกั รวาลสิน้ เวลาไป 12 ปีแลว้ รว่ มกนั นาปัญหานไี้ ปถาม

ทา้ วมหาราชทงั้ 4 แต่พวกทา่ นก็ตอบไมไ่ ด้ แตไ่ ดน้ าหมเู่ ทวดาไปเขา้ เฝา้ ทลู ถามทา้ วสกั กเทวราช ทา้ วสกั กะตรสั
ว่า ไมม่ ใี ครรูค้ าตอบนหี้ รอกเพราะปัญหานีเ้ ป็นพทุ ธวิสยั พวกเราไปเขา้ เฝา้ พระพทุ ธเจา้ ในพระเชตวนั วิหารใน
ราตรีนีก้ นั เถิด

ทา้ วสกั กะและหม่เู ทวดาไหวแ้ ลว้ ยืนอยู่ ทา้ วสกั กะไดท้ ลู ใหท้ รงทราบท่ีมาของปัญหาและกราบทลู ขอให้
ทรงตอบปัญหาเหลา่ นีด้ ว้ ย พระพทุ ธเจา้ ตรสั วา่ สาธุทา่ นมหาราช ตถาคตบาเพ็ญบารมี 30 เตม็ แลว้ มหา
บรจิ าค 5 ครบแลว้ บรรลพุ ระสพั พญั ญตุ ญาณแลว้ กเ็ พ่ือกาจดั ความสงสยั ของชนเชน่ พระองคน์ แี้ หละ ขอจง
ทรงสดบั คาตอบเถดิ

ในการใหท้ งั้ หมดนนั้ การใหธ้ รรมประเสรฐิ ท่ีสดุ
ในบรรดารส รสแห่งธรรมประเสรฐิ ท่ีสดุ
ในบรรดาความยนิ ดี ความยินดีในธรรมอนั ประเสรฐิ ท่สี ดุ
ความสนิ้ ไปแห่งตัณหาประเสรฐิ ท่ีสดุ
เพราะเป็นเหตใุ หถ้ งึ พรอ้ มซง่ึ พระอรหตั
แลว้ ตรสั ภาษิต
การใหธ้ รรมชนะการใหท้ ั้งปวง
รสของธรรมชนะรสทั้งปวง
ความยินดีในธรรมชนะความยินดที ัง้ ปวง
ความสนิ้ ไปแหง่ ตัณหาชนะทุกขท์ งั้ ปวง

ทา้ วสกั กะทรงสดบั คาตอบแลว้ ทลู วา่ เหตใุ ดพระองคไ์ ม่ตรสั บอกใหภ้ ิกษุสงฆใ์ หส้ ว่ นในธรรมทานท่ชี ่ือว่าเป็น
การใหท้ ่ีประเสรฐิ ท่ีสดุ อย่างนแี้ กพ่ วกขา้ พระองคบ์ า้ ง นบั แต่วนั นีไ้ ปขอใหพ้ ระองคโ์ ปรดบอกภกิ ษุสงฆใ์ หใ้ หส้ ว่ น
แหง่ ธรรมแก่พวกขา้ พระองคด์ ว้ ยเถิด พระศาสดาทรงสดบั คาทลู แลว้ ตรสั ใหป้ ระชมุ ภกิ ษุสงฆ์ แลว้ ตรสั ว่า

“ภกิ ษุทัง้ หลาย ต้ังแตบ่ ดั นี้เป็ นต้นไป เม่ือพวกเธอแสดงธรรมในการฟังธรรมครั้งใหญ่ หรือใน
การฟังธรรมปกติ หรอื กล่าวธรรมแกบ่ ุคคลผนู้ ่ังใกล้ หรอื แม้เมือ่ พวกเธออนุโมทนาแลว้ ก็ดี กพ็ งึ ให้
ส่วนบุญแก่สตั วท์ ัง้ หลายทั้งปวง”

9. เศรษฐีรา่ รวยแต่ใช้ชีวติ เศร้าหมอง

เศรษฐีผไู้ ม่มีทายาท เสียชีวติ ราชการใช้เวลาขนทรัพยเ์ ข้าคลังหลวง
นาน 7 วัน พระพุทธเจา้ ตรัสบุพกรรมของเศรษฐี

พระเจา้ ปเสนทโิ กศลทรงทราบว่า เศรษฐีชาวสาวตั ถีคนหนึ่งถึงกาลกิรยิ า(ตาย) เป็นเศรษฐีท่ไี ม่มบี ตุ ร
จึงตรสั ถามเจา้ หนา้ ท่วี ่า ทรพั ยส์ นิ ของผทู้ ่ไี รบ้ ุตรจะตกถงึ แก่ใคร ทลู ว่า ตกถงึ พระราชาพระเจา้ ขา้ จึงทรงใหข้ น
ทรพั ยจ์ ากเรือนเขา้ มาในราชสกลุ ปรากฏวา่ ตอ้ งใชเ้ วลาขนนานถึง 7 วนั เสรจ็ แลว้ พระราชาเสด็จเขา้ เฝา้
พระพทุ ธเจา้ ในพระเชตะวนั พระศาสดาตรสั ถามวา่ เชญิ เถดิ มหาบพติ ร พระองคเ์ สด็จมาจากท่ใี ดหรือ แต่วนั
ทเี ดยี ว ทลู ว่า มคี หบดีผเู้ ป็นเศรษฐีในกรุงสาวตั ถีถงึ แก่กรรมแลว้ เขาไมม่ บี ตุ ร ขา้ พระองคจ์ งึ ใหข้ นทรพั ยไ์ ปไวใ้ น
ราชสกลุ เสรจ็ แลว้ จงึ มาท่ีน่พี ระเจา้ ขา้ แลว้ ทลู เลา่ การขนทรพั ยใ์ ชเ้ วลานานถึง 7 วนั และทลู เลา่ ชีวิตสว่ นตวั ของ
เศรษฐีว่าเป็นคนแปลก มีเงนิ มากแตใ่ ชช้ ีวิตเศรา้ หมอง ไมย่ ินดใี นเคร่ืองอปุ โภคบรโิ ภคดีๆ เช่นเม่อื มีคนนา
อาหารรสเลิศตา่ งๆใสถ่ าดทองเขา้ มาให้ เศรษฐีเห็นแลว้ กก็ ลา่ ววา่ น่พี วกมนษุ ยก์ นิ อาหารกันดีอย่างนเี้ ลย
หรอื พวกเจา้ จะเขา้ มาเยาะเยย้ เราถึงในบา้ นเลยหรือ แลว้ ขวา้ งปาเขาดว้ ยกอ้ นดินและท่อนไม้ จากนนั้ ตนเองก็
กนิ ปลายขา้ วกบั นา้ ผกั ดอง ทงั้ กลา่ วว่า น่ีแหละอาหารของมนษุ ย์ แมม้ ีคนนาผา้ ยาน และรม่ อย่างดีมาให้ ก็
ขวา้ งปาเขาดว้ ยกอ้ นดินและทอ่ นไมข้ บั ไลเ่ ขา แลว้ ตัวเองก็น่งุ หม่ ผา้ ป่าน เดินทางดว้ ยรถเก่าๆใชร้ ม่ ทาดว้ ยใบไม้

พระพทุ ธเจา้ ทรงสดบั แลว้ ตรสั เลา่ อดีตกรรมของเศรษฐีคนนวี้ ่า เขาเคยตอ้ นรบั พระปัจเจกพระพทุ ธเจา้
ช่ือว่า ตครสิขี ดว้ ยการส่งั ใหภ้ รรยาถวายบณิ ฑบาตแกท่ ่าน ส่งั แลว้ ก็เดินออกไป ตวั เขาเป็นผไู้ มม่ ีศรทั ธา โงเ่ ขลา
สว่ นภรรยาเป็นคนมีศรทั ธา คดิ ว่านานแลว้ หนอท่เี ราไดย้ ินเศรษฐีพดู ว่าจงให้ วนั นเี้ ราจะถวายบิณฑบาต
ประณีต รบั บาตรมาแลว้ ถวายโภชนะท่ีประณีตเต็มบาตร ถวายบาตรคืนท่านแลว้ ทา่ นกเ็ ดินออก เศรษฐีกลบั มา
เหน็ ก็ถามว่าสมณะท่านไดอ้ ะไรหรือยงั และจบั บาตรดกู ็เหน็ โภชนะประณีต เกิดความเดอื ดรอ้ นใจเสยี ดายว่าให้
พวกทาสกรรมกรกินบณิ ฑบาตนยี้ งั ดกี ว่าเลย เพราะกินแลว้ ยงั ทาการงานใหเ้ รา สว่ นสมณะนีก้ ินแลว้ กน็ อน
เศรษฐีมีพ่ชี ายอย่คู นหน่ึง มีหลานชายซ่งึ เป็นลกู ของพ่ชี าย คนหนง่ึ

วนั หน่งึ เศรษฐีใหห้ ลานจบั นิว้ มือแลว้ พาเดิน เดก็ นอ้ ยเห็นส่งิ ของต่างๆก็พดู ว่ายานนเี้ ป็นของพ่อผม โค
นเี้ ป็นของพอ่ ผม เศรษฐีฟังแลว้ คดิ ว่าตอนนยี้ งั เป็นเดก็ มนั ยงั พดู อย่างนี้ เม่ือมนั โตขนึ้ มนั คงคิดครอบครองเรือนนี้
จงึ นาหลานชายเขา้ ไปในป่าบบี คอจนตายแลว้ ทงิ้ ศพไวใ้ นป่า

ผลของการตอ้ นรบั โดยการส่งั ใหถ้ วายทานแด่พระปัจเจกพระพทุ ธเจา้ ทาใหเ้ ศรษฐีเขา้ ถึงสคุ ติโลก
สวรรค์ 7 ครง้ั ผลกรรมท่ีเหลือยงั ทาใหเ้ ขาเขา้ ถงึ ความเป็นเศรษฐีในกรุงสาวตั ถีนี้ 7 ครงั้ ผลของความวปิ ฏสิ าร
หรือเดือดเนอื้ รอ้ นใจหรือเสียดายในภายหลงั ว่า ใหพ้ วกทาสกรรมกรกนิ ซะยงั ดีกว่า ทาใหเ้ ศรษฐีไมม่ จี ิตใจ
นอ้ มไปเพ่ือใชเ้ ครอื่ งอปุ โภคบรโิ ภคท่ีดๆี ไม่นอ้ มไปเพ่ือบรโิ ภคกามคณุ 5 ท่ีโอฬาร และผลของการฆา่ บตุ รของ

พ่ชี าย เศรษฐีจึงไหมอ้ ยใู่ นนรกนานหลายแสนปี ผลบาปท่ีเหลือเขาจึงไมม่ บี ตุ ร ทรพั ยส์ ินจงึ ถกู ขนเขา้ ส่คู ลงั
หลวงครงั้ นีเ้ ป็นครง้ั ท่ี 7 บญุ เก่าของเขาหมดสนิ้ แลว้ บญุ ใหม่กไ็ มไ่ ดส้ ่งั สมไว้ ขณะนี้ เศรษฐีนนั้ ถกู เผาไหมอ้ ย่ใู น
มหาโรรุวนรก พระราชาทลู ว่า โอก้ รรมหนกั จรงิ ๆ มีโภคะมากมายขนาดนี้ ไมย่ อมใชส้ อยดว้ ยตนเอง แมม้ ี
พระพทุ ธเจา้ อยใู่ นวิหารใกลๆ้ กก็ ลบั ไม่ทาบญุ กรรม พระศาสดาตรสั ว่า

“เป็นอย่างนนั้ มหาบพิตร บคุ คลผมู้ ีปัญญาทรามไดโ้ ภคะทงั้ หลายแลว้ ย่อมไมแ่ สวงหานิพพาน
อนึ่งตณั หาท่เี กิดขนึ้ เพราะอาศยั โภคทรพั ยท์ งั้ หลาย ยอ่ มฆ่าคนเหลา่ นนั้ ตลอดกาลนาน”

โภคทรัพยท์ ั้งหลายยอ่ มทาลายคนโง่
แตไ่ ม่ทาร้ายคนผูแ้ สวงหาฝ่ัง
คนโง่ย่อมทาลายตนเองดุจทาลายคนอนื่
เพราะความอยากได้โภคทรัพย์

10. ตโยชนะ

กรรมของคน ๓ กลุ่ม

ภกิ ษุพวกหน่ึงเดินทางจะไปเขา้ เฝ้าพระพทุ ธเจา้ ท่พี ระเชตวนั วหิ าร กรุงสาวตั ถี ถงึ ตาบลหน่งึ กเ็ ขา้ ไป
เท่ียวบณิ ฑบาต ชาวบา้ นรบั บาตรแลว้ นมิ นตใ์ หเ้ ขา้ ไปน่งั รอในเรือน รอพวกเขาหงุ ขา้ วและทากบั ขา้ วยงั ไมเ่ สรจ็
ระหวา่ งน่งั รอนนั้ ชาวบา้ นกน็ ายาคมู าใหด้ ื่ม แลว้ ถวายของเคยี้ วเช่นผลไม้ ระหว่างท่ีพวกทา่ นสนทนาธรรมกนั ก็
ไดเ้ หน็ ไฟจากเตาปะทไุ ปติดเสวียนหญา้ (หญา้ ท่รี อ้ ยรดั ไวเ้ ป็นวงกลม) ท่ชี ายคาแลว้ ปลิวตามลมขึน้ ไปบน
อากาศ กาตวั หน่ึงบินเขา้ มาในเสวยี นหญา้ ติดไฟนนั้ แลว้ ถกู เผารา่ งรว่ งลงมาตาย

ภกิ ษุอกี กลมุ่ หนง่ึ โดยสารเรือม่งุ มายงั กรุงสาวตั ถี แตเ่ รือหยดุ น่ิงกลางทะเล คนบนเรือคิดว่าคงมีคน
กาลกณิ ีอย่บู นเรือลานี้ จึงทาฉลากแลว้ ใหท้ ุกคนจบั ปรากฏว่าภรรยาสาวของกปั ตนั เรือจบั ฉลากท่เี ขียนวา่
กาลกณิ ีไดถ้ งึ 3 ครง้ั กปั ตนั จึงตดั สินใจผกู นางกบั ถงุ ทรายแลว้ โยนลงไปในทะเล เรือจึงแลน่ ตอ่ ไปได้

ภกิ ษุ 7 รูปเดินทางมาจากชนบทชายแดน แวะพกั ในถา้ เขตวดั แหง่ หนึ่ง หินกอ้ นใหญ่กลงิ้ ตกลงมาปิด
ปากถา้ ในตอนกลางคนื รุง่ เชา้ พวกทา่ นออกมาไม่ได้ ภิกษุในวดั นนั้ ไดข้ อแรงประชาชน 7 ตาบลมาผลกั กอ้ นหิน
กไ็ มอ่ าจทาใหห้ ินนนั้ ขยบั เขยือ้ นไดเ้ ลย ภกิ ษุอดนา้ อดอาหาร เม่อื ครบ 7 วนั แลว้ กอ้ นหนิ ไดก้ ลงิ้ พน้ จากปากถา้
ไปเอง

ภกิ ษุทงั้ 3 กลมุ่ เขา้ เฝา้ พระศาสดาในพระเชตะวนั ไดก้ ราบทลู เร่อื งท่ีพวกตนประสบมาใหท้ รงทราบ
พระพทุ ธเจา้ จงึ ตรสั เลา่ อดีตกรรมว่า

กาเคยเป็นชาวนา โกรธท่ีโคดอื้ จึงนาฟางมาพนั คอและจุดไฟเผาฆ่าโค
ภรรยากปั ตนั เรือเคยฆ่าสนุ ขั ดว้ ยการถว่ งนา้ ดว้ ยถงุ ทราย
ภกิ ษุ 7รูป เคยเป็นเดก็ ช่วยกนั ปิดรงั ของเหยี้ นาน7วนั
ภิกษุรูปหนงึ่ ทลู ถามวา่ สตั วท์ ่ที าบาปกรรมไว้ หนีไปยงั ท่ีใดๆก็ไม่พน้ ผลของบาปหรอื ทรงตรสั ตอบว่าเป็นอยา่ ง
นนั้ แลว้ พระพทุ ธองคท์ รงตรสั ภาษิตว่า
น่ังอยู่บนอากาศก็ไมพ่ ้น หนีไปอยใู่ นก้นมหาสมุทรลึกก็ไม่พ้น
หลบอยใู่ นซอกเขากไ็ ม่พ้น
ผ้ทู าบาปกรรมยนื บนแผน่ ดินแห่งใดแลว้ จะพ้นจากผลของกรรมช่ัวแผน่ ดินแหง่ นั้นหามีอยู่ไม่

16. สันตวิ รบท
ของเจ้าคุณนรรัตนร์ าชมานิต

• PERSONAL MAGNET
เรอ่ื งท่มี คี นเมตตากรุณา เหน็ อกเหน็ ใจนนั้

เป็นเพราะคณุ ธรรมความดีของตนเอง
หลายประการดว้ ยกนั
เป็นตน้ ว่า วิรยิ ะ อตุ สาหะ บากบ่นั เขม้ แขง็ แรงกลา้ และจติ ใจเมตตากรุณา
ไมเ่ ยอ่ หย่งิ ไมจ่ องหอง เป็นเหตใุ หผ้ ทู้ ่แี วดลอ้ มอยู่
เกิดความเมตตากรุณารกั ใคร่
เหน็ อกเหน็ ใจคดิ ท่ีจะชว่ ยเหลอื

คนซ่งึ มีกรยิ ามารยาทออ่ นโยน สภุ าพน่มิ นวล
ยอ่ มเป็นท่นี ่าเสน่หารกั ใครข่ องคนท่ไี ดพ้ บเห็น
และพยายามท่จี ะชว่ ยเหลอื
น่เี ป็น Personal magnet คอื เสน่หใ์ นตวั ของตวั เอง
เพราะฉะนนั้ จงพยายามรกั ษาคณุ สมบตั ิดงั กลา่ วนีไ้ ว้
จนเป็นเครอ่ื งช่วยตวั เองใหบ้ รรลคุ วามสาเรจ็
สมประสงคท์ กุ ประการ
ทกุ กาลเวลา ทง้ั ปัจจบุ นั และอนาคต

• เมตตา
อยา่ กลวั จงรกั ษาตวั ใหบ้ รสิ ทุ ธิ์

ไม่มีอะไรทาอนั ตรายได้
จงจาไวว้ า่ ถา้ ปรารถนาความเมตตา

และความเหน็ อกเห็นใจจากผอู้ ่นื
กค็ วรสง่ กระแสใจท่ปี ระกอบดว้ ยความเมตตา
และความเห็นอกเห็นใจไปยงั ทา่ นเหลา่ นนั้
แลว้ กจ็ ะไดร้ บั ความเมตตาและความเหน็ อกเห็นใจ
จากท่านเหลา่ นนั้ เช่นเดยี วกนั
น่เี ป็นกฎของจิตตานภุ าพ
แลว้ ความสาเรจ็ ทง้ั หลายท่ปี รารถนา
ก็จะบงั เกิดแก่ตนสมประสงคท์ กุ ประการ
เป็นแน่นอน ไม่ตอ้ งสงสยั เลย

• สบายใจ
คาวา่ “ไม่สบายใจ” อยา่ ใชแ้ ละอย่าใหม้ ีขนึ้ ในใจตอ่ ไป
“ Let it go, and get it out!” กอ่ นมนั จะเกิดตอ้ ง Let it go.ปลอ่ ยใหม้ นั ผา่ นไป
อยา่ รบั เอาความไมส่ บายใจไว้
ถา้ เผลอใจมนั แอบเขา้ มาอยใู่ นใจได้
พอมสี ติรูส้ กึ ตวั ว่าความไมส่ บายใจแอบเขา้ มาอย่ใู นใจ
ตอ้ ง Get it out. ขบั มนั ออกไปทนั ที
อยา่ เลยี้ งเอาความไม่สบายใจไวใ้ นใจมนั จะเคยตวั
ทหี ลงั จะเป็นคนอ่อนแอออดแอด
ทาอะไรผดิ พลาดนดิ ๆหนอ่ ยๆกไ็ ม่สบายใจเคยตวั

เพราะความไม่สบายใจน่แี หละเป็นศตั รู
เป็นมารทาใหใ้ จไม่สงบ
ประสาท สมองไม่ปกติ เป็นเหตใุ หร้ า่ งกายผิดปกติ
พลอยไม่สงบไม่สบายไปดว้ ย
ทาใหส้ มองทบึ ไมป่ ลอดโปรง่ เป็น habit
ความเคยชินท่ไี ม่ดี

เป็นอปุ สรรคกีดขนั้ ขดั ขวางสตปิ ัญญา
ไมใ่ หป้ ลอดโปรง่ แจ่มใส
ตอ้ งฝึกหดั แกไ้ ขปรบั ปรุงจิตใจเสยี ใหม่
ทงั้ กอ่ นท่จี ะทาอะไรหรอื กาลงั ทาอยู่
และเม่อื เวลากระทาเสรจ็ แลว้

ตอ้ งหดั ใหจ้ ิตใจแจม่ ใสรน่ื เรงิ
เกิดปีตปิ ราโมทยเ์ ป็นสขุ สบายอย่เู สมอ
เป็นเหตใุ หเ้ กิดกาลงั กายกาลงั ใจ
มีชีวติ อย่ดู ว้ ยความเบกิ บาน สมองจึงจะเบิกบาน
จะศกึ ษาเลา่ เรียนกเ็ ขา้ ใจจาไดง้ า่ ย
เหมือนดอกไมท้ ่แี ยม้ เบกิ บานตอ้ นรบั หยาดนา้ คา้ ง
และอากาศอนั บรสิ ทุ ธิ์ฉนั นนั้

สันติสุข
พระพทุ ธเจา้ สอนวา่ “ นตถฺ ิ สนตฺ ิ ปร สขุ ”
“สขุ อ่นื ย่งิ กวา่ ความสงบไมม่ ี”
หมายความว่า ความสขุ อ่นื มี

เชน่ ความสขุ ในการดลู ะคร ดหู นงั ในการเขา้ สงั คม
ในการมคี ่รู กั คคู่ รองหรือในการมีลาภยศ
ไดร้ บั ความสขุ สรรเสรญิ
และไดร้ บั ความสขุ จากสงิ่ เหลา่ นีก้ ส็ ขุ จรงิ

แต่วา่ สขุ เหลา่ นมี้ ที กุ ขซ์ อ้ นอย่ทู กุ อย่าง
ตอ้ งคอยแกไ้ ขปรบั ปรุงกนั อย่เู สมอ

ไม่เหมอื นกบั ความสขุ ท่ีเกิดจากสนั ติความสงบ
ซ่งึ เป็นความสขุ ท่เี ยือกเย็น และไมซ่ อ้ นดว้ ยความทกุ ข์
และไมต่ อ้ งแกไ้ ขปรบั ปรุงตกแตง่ มาก

เป็นความสขุ ท่ที าไดง้ า่ ยๆ
เกิดจากกายใจของเราน่เี อง

ทาอะไรไม่ผิดเลย ก็คือไมท่ าอะไรเลย
จงระลกึ ถึงคตพิ จนว์ ่า
“ ทาอะไรไม่ผดิ เลย ก็คอื ไมท่ าอะไรเลย ”

“ ความผิดนีแ้ หละเป็นครูอยา่ งดี
ควรจะรูส้ กึ บญุ คณุ ของตวั เองท่ีทาอะไรผิดพลาด
และควรสบายใจท่ไี ดพ้ บกบั อาจารยผ์ วู้ เิ ศษ
คือความผดิ จะไดต้ รงกบั คาว่า”เจ็บแลว้ ตอ้ งจา!
ตวั ทาเองผิดเอง น่แี หละเป็นอาจารยผ์ วู้ เิ ศษ
เป็นตวั อย่างท่ดี ี
เพ่อื จะไดจ้ ดจาไวส้ งั วรระวงั ไมใ่ หผ้ ิดต่อไป
แลว้ ตงั้ ตน้ ใหม่ดว้ ยความไม่เลินเลอ่ ประมาท
อดตี ท่ผี ดิ ไปแลว้ ผ่านพน้ ลว่ งเลยไปแลว้
แตอ่ าจารยผ์ วู้ ิเศษ
ยงั คงอยคู่ อยกระซิบเตือนใจอย่เู สมอทกุ ขณะ
วา่ ”ระวงั !อยา่ ประมาทนะ!อยา่ ใหผ้ ดิ พลาดเช่นนนั้ อกี นะ!”

• สติสัมปชัญญะ
(ความระลกึ ได้ และความรูต้ วั )
ท่จี ะทาอะไรไมผ่ ิดนนั้ ขอ้ สาคญั อย่ทู ่สี ติ

ถา้ มสี ตคิ มุ้ ครองกายวาจาใจอย่ทู กุ ขณะ จะทาอะไรไมผ่ ดิ พลาดเลย

ท่ผี ดิ พลาดเพราะขาดสติ คอื เผลอ เหม่อ เลนิ เลอ่ ประมาท ระเริง หลงลมื จึง
ผดิ พลาด จงนกึ ถึงคติพจนว์ ่า

“กมุ สตติ า่ งโล่ป้อง อาจแกล้วกลางสนาม”

• “ชวี ิตคือการตอ่ สู้”

ธรรมดาชีวติ ทกุ ชนิด ทง้ั มนษุ ยแ์ ละสตั ว์
ตลอดจนพชื พนั ธุพ์ ฤกษชาติ
เป็นอย่ไู ดด้ ว้ ยการต่อสู้ ตรงกบั คาว่า “Live is figthing”
“ชีวติ คอื การต่อส”ู้ เม่อื ต่อสไู้ มไ่ หวขณะใดกถ็ ึงท่สี ดุ แห่งชีวติ คอื Death ความตาย
เพราะฉะนนั้ ยงั มสี ติอยตู่ ราบใด ถงึ ตายกต็ ายแต่กาย
เช่นกบั ชวี ติ ของพระพทุ ธเจา้ และพระอรหนั ต์
ทา่ นมสี ติไพบลู ยอ์ ย่ทู กุ ขณะจิต ทา่ นจึงทาอะไรไมผ่ ดิ และถงึ ซ่งึ อมตธรรม
คือธรรมท่ไี ม่ตาย ตรงกบั คาว่า Immortal
จงึ เรยี กวา่ ปรนิ ิพพาน

• อานุภาพของไตรสกิ ขาคือ ศีล สมาธิ ปัญญา
ดว้ ยอานุภาพของไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปัญญา นีแ้ ลจึงชนะขา้ ศึก คือ

กิเลสอย่างหยาบ อย่างกลาง
และอย่างละเอียดได!้

ชนะความหยาบคาย ซ่งึ เป็นกิเลสอยา่ งหยาบ ท่ลี ว่ งทางกายวาจาไดด้ ว้ ยศีล
ชนะความยนิ ดียินรา้ ย หลงรกั หลงชงั
ซง่ึ เป็นกิเลสอย่างกลางท่เี กิดในใจไดด้ ว้ ยสมาธิ!
ชนะความเขา้ ใจผิด รูผ้ ิด เห็นผิด จากความเป็นจริงของสงั ขาร ซ่ึงเป็นกิเลศ
อยา่ งละเอียดไดด้ ว้ ยปัญญา
ผใู้ ดศึกษาและปฏิบตั ิตามไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปัญญา นีโ้ ดยพรอ้ มมลู
บรบิ รู ณ์ สมบรู ณแ์ ลว้ ผนู้ นั้ จึงเป็นผพู้ น้ ทกุ ขท์ ง้ั ปวงไดเ้ ป็นแน่นอนไม่ตอ้ งสงสยั เลย!
เพราะฉะนนั้ จงึ ควรสนใจ เอาใจใส่ ตงั้ ใจศกึ ษาและปฏิบตั ิตามไตรสกิ ขา
คือ ศีล สมาธิ ปัญญา นี้ ทกุ เม่อื เทอญ

• ดอกมะลิ
ดอกมะลิ เป็นดอกไมท้ ่ถี กู รบั รองแลว้ ว่า

เป็นดอกไมท้ ่หี อมเยน็ ช่นื ใจท่สี ดุ และขาวบรสิ ทุ ธิ์
ในบรรดาดอกไมท้ ง้ั หลาย

ชวี ติ ของมนษุ ยท์ ่เี ป็นอย่กู ็เช่นเดยี วกบั การเลน่ ละคร
ขอใหเ้ ป็นตวั เอกท่มี ีช่อื เสียงท่สี ดุ
เชน่ เดียวหรือลกั ษณะเดยี วกบั ดอกมะลิ
อย่าเป็นผรู้ า้ ยท่เี ลวท่สี ดุ และใหเ้ หน็ วา่ ดอกมะลินี้
จะบานเต็มท่เี พยี ง ๒-๓ วนั ก็จะเห่ยี วเฉาไป

ฉะนนั้ ขอใหท้ าตวั ใหด้ ที ่ีสดุ เม่อื ยงั มีชีวิตอยู่
ใหห้ อมท่สี ดุ เหมอื นดอกมะลทิ ่เี ร่มิ แยม้ บาน ฉะนนั้

“จงเลอื กทาแตก่ รรมท่ดี ีๆ! นะ”

• ทาดี ดกี วา่ ขอพร
“จงเลอื กทาแต่กรรมท่ดี ๆี นะ”
เตือนใหเ้ ตรยี มตวั ไวด้ าเนินชวี ิตต่อไปเป็นคาแทนคาอวยพรอยา่ งสงู สดุ
ประกอบดว้ ยเหตผุ ล เม่อื ทากรรมดีแลว้ ไม่ใหพ้ รกต็ อ้ งดี
เม่อื ทาช่วั แลว้ จะมาเสกสรรปั้นแตง่ อวยพรอยา่ งไร
กด็ ีไม่ได้
ทาช่วั เหมอื นโยนหนิ ลงนา้ หนิ จะตอ้ งจมลงทนั ที
ไม่มีผวู้ เิ ศษใดๆจะมาเสกเป่าอวยพร
ออ้ นวอนขอรอ้ งใหห้ ินลอยนา้ ขนึ้ มาได้
ทาช่วั จะตอ้ งลม่ จมป่นปี้ เสยี ราศเี กียรตคิ ณุ ช่อื เสียง
เหมือนกอ้ นหนิ หนกั จมลงไปอย่ใู นโคลนใตน้ า้

ทาดีเหมอื นนา้ มนั เบาเม่อื เทลงนา้
ย่อมลอยเป็นประกายมนั ปราบอยเู่ หนือนา้

ทากรรมดียอ่ มมีสง่าราศี มีเกียรติคณุ ช่อื เสยี ง
มแี ตค่ นเคารพนบั ถือยกย่องบชู า
เฟื่องฟ้งุ ฟลู อยนา้ เหมอื นนา้ มนั ลอย
ถึงจะมศี ตั รูหม่รู า้ ยจงใจเกลยี ดชงั ม่งุ รา้ ย
อจิ ฉารษิ ยาแช่งดา่ ใหจ้ ม กไ็ มส่ ามารถจะเป็นไปได้
กลบั จะแพเ้ ป็นภยั แก่ตวั เอง
ขอใหจ้ งตงั้ ใจกลา้ หาญพยายามทาแต่กรรมดีๆ
โดยไมม่ คี วามเกรงกลวั หว่นั ไหวต่ออปุ สรรคใดๆทงั้ สิน้
ผทู้ ่มี ีความเล่อื มใสในคณุ พระรตั นตรยั
ผทู้ ่มี คี วามสขุ และผทู้ ่สี ามารถเจรญิ
ประสงคใ์ ดสาเรจ็ สมประสงค์
กค็ ือผทู้ ่ปี ระกอบกรรมแตค่ วามดีอย่างเดียวน่นั เอง

17. คตธิ รรมสมเดจ็ โต ฯ

“ชีวิตมนษุ ยอ์ ยไู่ ดไ้ มถ่ งึ รอ้ ยปี ก็ตอ้ งตาย
และถกู หามเขา้ ป่าชา้ ”
ดงั นนั้ มนษุ ย์
จงึ ควรประพฤตปิ ฏบิ ตั ิอยใู่ นศีลสมาธิและปัญญา
เพ่อื ใหห้ ลดุ พน้ จากสงสารวฏั
มนษุ ยน์ นั้ อาบนา้ ชาระกายวนั ละสองครง้ั
เพ่อื กาจดั เหง่ือไคล สิ่งโสโครก ท่เี กาะรา่ งกาย
แต่ไมเ่ คยคดิ ชาระจิตใหส้ ะอาด แมแ้ ตเ่ พียงนาทเี ดยี ว

“เราทงั้ หลายเกิดมาเป็นมนษุ ยแ์ ลว้
ลว้ นแตม่ กี รรมผกู พนั กนั มาทัง้ สนิ้
ผกู พนั ในความเป็นมิตรบา้ งเป็นศตั รูบา้ ง
แต่ละชีวิตกย็ ่อมท่ีจะเดนิ ไปตามกรรมวบิ ากของตนท่ไี ดก้ ระทาไว้
ทกุ ชีวติ ลว้ นมีกรรมเป็นเครื่องลขิ ิต
เรือ่ งกฎแห่งกรรม ถา้ เป็นชาวพทุ ธแลว้ ถือว่าเป็นกฎแห่งปัจจตั ตงั
ผตู้ อ้ งการรูต้ อ้ งทาเองรูเ้ อง ถึงเอง แลว้ จะเขา้ ใจ

“ทกุ ขท์ งั้ หลายเกดิ จากการยึดม่นั
ยดึ เขา ยดึ เรา ยดึ คณะ ยึดพวก
เม่ือใดเกิดความยึดม่นั ในส่งิ เหลา่ นนั้
แมเ้ พียงสิง่ เดยี ว เม่อื นนั้ ย่อมเกิดทกุ ข”์
ยศและลาภหาบไปไมไ่ ดแ้ น่
มีเพียงแตต่ น้ ทนุ บญุ กุศล
ทรพั ยส์ มบตั ิทิง้ ไวใ้ หป้ วงชน

แมร้ า่ งตนเขาก็เอาไปเผาไฟ
เม่อื เจา้ มามีอะไรมาดว้ ยเจา้
จะเอาแตส่ ขุ สนกุ ไฉน
เจา้ มามอื เปลา่ เจา้ จะเอาอะไร
เจา้ กไ็ ปมอื เปล่าเหมือนเจา้ มา

ทา่ นทาดีกเ็ สวยกรรมดี
ทาไมด่ กี ็ตกนรกไป
ท่านอยา่ นกึ ว่าทา่ นตายแลว้ สญู เปลา่
ทา่ นทงั้ หลายจะพบกนั ในโลกวิญญาณอกี

หนสี้ ินท่ีท่านสรา้ งขึน้ ในโลกมนษุ ย์
กจ็ ะชดใชก้ นั ในโลกวิญญาณ
ใชไ้ มห่ มดก็ตอ้ งไปเกิด
ไม่อยา่ งนนั้ จะไมเ่ รียกวา่ เวยี นวา่ ยตายเกิด
เม่อื ทา่ นหาเวลาวา่ งไดจ้ งพยายามทาจิตใหส้ งบ
เม่อื จิตสงบดแี ลว้ จะเกิดอานาจทิพย์
ช่วยใหท้ ่านเป็นผมู้ สี มองปลอดโปรง่
มปี ัญญาในการดารงไวซ้ ่งึ สมั มาอาชวี ะ
ความสขุ จะเกิดแก่ท่าน

ถา้ เราม่นั ใจในคาสอนของพระสมั มาสมั พทุ ธเจา้
ฉะนนั้ เจา้ จงหม่นั สะสมบญุ ทงั้ ทาน ศลี ภาวนา ไวอ้ ยา่ งสม่าเสมอ
เทพยดา ฟ้า ดิน จะเอน็ ดชู ว่ ยเหลือเจา้ เอง

ถา้ เจา้ ไม่เคยสรา้ งไว้ ใครท่ไี หนจะมาชว่ ยไดล้ กู เอย๋
ก่อนท่เี จา้ จะเท่ียวไปออ้ นวอน
ขอพง่ึ บารมีหลวงพ่อองคใ์ ดองคห์ นึง่
เจา้ จะตอ้ งมที นุ (บญุ ) ของตวั เองเป็นทนุ เดมิ
ตดิ ตวั ไปบา้ งก่อน
ตอ่ เม่ือบารมีของตวั เจา้ เองยงั ไม่พอ
จงึ ขอรอ้ งยมื บารมีของผอู้ ่นื มาชว่ ยเหลอื
ถา้ มฉิ ะนนั้ แลว้ จะเอาตวั ไม่รอด
เพราะเจา้ จะตอ้ งเป็นหนีบ้ ญุ บารมที ่ีเจา้ รอ้ งขอ
หรอื ยืมคนเขามาจนลน้ พน้ ตวั

ครนั้ เวลาใดท่เี จา้ มีโอกาสทาบญุ ทากุศลบา้ ง
เรยี กวา่ พอจะมีบญุ บารมีเป็นของตวั เองบา้ ง

เจา้ จะตอ้ งไปผ่อนใชห้ นที้ ่เี จา้ เคยขอรอ้ งยมื เขามา
จนหมดสนิ้ แทบไมเ่ หลือสาหรบั ตวั เอง

แลว้ เจา้ จะมบี ญุ กศุ ลใดตดิ ตวั ไวจ้ นุ เจือตวั เองในภพหนา้ ท่ยี งั จะตอ้ งเวียนว่ายตายเกดิ

จงจาไวเ้ ถดิ วา่ เม่ือไดท้ าบญุ ทากศุ ลแลว้ อยา่ คิดวา่ จะไดร้ บั ผลนนั้ ทนั ที
จะทาใหจ้ ติ ใจหดหู่ ทอ้ ถอย แต่จงม่นั ใจเถดิ ว่า ผลบญุ นนั้ ไม่สญู หายไปไหน
เพราะการใหผ้ ลของกรรมนนั้ จะใหผ้ ลตามกาหนด
ถา้ ยงั ไม่ถงึ เวลาสง่ ผลแลว้ แมแ้ ตเ่ ทพเจา้ หรือผทู้ ่มี ฤี ทธิอ์ งคใ์ ด
ท่เี จา้ ไปขอรอ้ งใหช้ ว่ ยเหลือ กไ็ มส่ ามารถใหผ้ ลนนั้ เกิดได้
แต่เม่ือถึงเวลาท่จี ะใหผ้ ลท่วั ฟา้ ดนิ ก็ตา้ นทานผลของกรรมนนั้ ไวไ้ ม่อยู่

ฉะนนั้ จงเตือนใจไวเ้ สมอว่า
ถา้ ประสงคค์ วามสขุ ความเจรญิ โภคสมบตั ิ
จงหม่นั สรา้ งบญุ สรา้ งกศุ ล ไวอ้ ยา่ งสม่าเสมอ
มากบา้ ง นอ้ ยบา้ ง ตามกาลงั ศรทั ธา
ฉะนนั้ ดว้ ยความไมป่ ระมาทจงระลกึ ไวว้ ่า ถา้ ตนเอง ไม่สะสมไวแ้ ลว้
ใครท่ไี หนจะช่วยเจา้ ได้ เจา้ จะมอี ะไรไวเ้ ป็นทนุ เดินทาง
เวียนว่าย ในวฏั ทุกข์ ท่ียงั ตอ้ งผจญตอ่ ไป ไมร่ ูว้ า่ จะจบสิน้ เม่ือไร
จงระลกึ ไวเ้ สมอว่าเจา้ สะสมเตรียมตวั ไวเ้ ดินทางแลว้ หรือยงั
จะรอใหค้ นอ่นื ทาไปใหน้ นั้ จะม่นั ใจดเี ท่ากบั เราเตรียมหาไปเองหรือ
ดงั พทุ ธภาษิต วา่

“ตนนนั้ แลเป็นท่พี ่งึ แห่งตน”
ถา้ ถึงพระนิพพานแลว้ ก็สิน้ เร่ืองย่งุ กนั จงึ ช่อื ว่า เอกนั ตบรมสขุ ดงั นีแ้ ล ฯ

18. ธรรมบทยอดของความดี

คนทาดยี ่อมสขุ ใจในโลกนี้
คนทาดีย่อมสขุ ใจในโลกหนา้
คนทาดีย่อมสขุ ใจในโลกทงั้ สอง
เม่ือคิดว่าตนไดท้ าแต่บญุ กุศล ยอ่ มสขุ ใจ
ตายไปเกดิ ในสคุ ติ ยิ่งสขุ ใจยิ่งขึน้

ความไม่ประมาท เป็นทางอมตะ
ความประมาท เป็นทางแห่งความตาย
ผไู้ ม่ประมาท ไม่มวี นั ตาย
ผปู้ ระมาท ถึงมชี ีวิตอยกู่ ็เหมือนคนตายแลว้

ยศย่อมเจรญิ แก่ผขู้ ยนั
มีสติ มกี ารงานสะอาด
ทางานดว้ ยความรอบคอบระมดั ระวงั
เป็นอย่โู ดยชอบธรรม ไมป่ ระมาท

จิตท่องเท่ยี วไปไกล เท่ียวไปดวงเดียว
ไมม่ ีรูปรา่ ง อาศยั อย่ใู นร่างกายนี้
ใครควบคมุ จิตนไี้ ด้ ย่อมพน้ จากบ่วงมาร

เม่อื รูว้ ่ารา่ งกายนแี้ ตกดบั ง่ายเหมือนหมอ้ นา้
พงึ ปอ้ งกนั จิตใหม้ ่นั เหมอื นป้องกนั เมืองหลวง
แลว้ พงึ รบกบั พญามารดว้ ยอาวธุ คือปัญญา
เม่อื รบชนะแลว้ พงึ รกั ษาชยั ชนะนนั้ ไว้
ระวงั อย่าตกอย่ใู นอานาจมารอกี

อกี ไมน่ าน รา่ งกายนี้
จกั ปราศจากวิญญาณ
ถกู ทอดทิง้ ทบั ถมแผ่นดิน
เหมือนท่อนไมอ้ นั หาประโยชนม์ ไิ ด้

ใครจกั ครองแผน่ ดินนี้ พรอ้ มทงั้ ยมโลกและเทวโลก
ใครจกั เลือกเฟ้นพระธรรมบท ท่ที รงแสดงไวด้ ีแลว้
เหมอื นนายมาลาการผฉู้ ลาด เลอื กเก็บดอกไม้

ไม่ควรแสห่ าความผิดผอู้ ่ืน
หรอื ธุระท่ีเขาทาแลว้ หรือยงั ไม่ทา
ควรตรวจดเู ฉพาะกิจ
ท่ตี นทาหรอื ยงั ไม่ทาเท่านนั้

เม่ือเกิดมาแลว้ จะตอ้ งตาย
ก็ควรสรา้ งบญุ กุศลไวใ้ หม้ าก
เหมือนนายมาลาการรอ้ ยพวงมาลยั
เป็นจานวนมากจากกองดอกไม้

หากแสวงหาไมพ่ บเพ่ือนท่ดี ีกว่าตน
หรือเพ่อื นท่ีเสมอกบั ตน
ก็พงึ เท่ยี วไปคนเดียว
เพราะมติ รภาพ ไม่มใี นหม่คู นพาล

กรรมใดทาแลว้ ทาใหเ้ ดือดรอ้ นภายหลงั
อกี ทงั้ ทาใหร้ อ้ งไหน้ า้ ตานอง
รบั สนองผลของการกระทา กรรมนนั้ ไม่ดี
กรรมใดทาแลว้ ไม่เดือดรอ้ นภายหลงั
ทงั้ ผกู้ ระทาก็เบิกบานสาราญใจ
ไดเ้ สวยผลของการกระทา กรรมนนั้ ดี

ตลอดระยะเวลาท่บี าปยงั ไม่ใหผ้ ล
คนพาลสาคญั บาปหวานปานนา้ ผงึ้
เม่อื ใดบาปใหผ้ ล เม่อื นนั้ เขาย่อมไดร้ บั ทกุ ข์

กรรมช่วั ท่ที าแลว้ ยงั ไมใ่ หผ้ ลทนั ทีทนั ใด
เหมือนนมรีดใหม่ ๆไม่กลายเป็นนมเปรีย้ วในทนั ที
แตม่ นั จะค่อย ๆ เผาผลาญผกู้ ระทาในภายหลงั
หมอื นไฟไหมแ้ กลบ

คาพดู ท่เี หลวไหลไรป้ ระโยชนต์ งั้ พนั คา
ก็สคู้ าพดู ท่มี ีประโยชนค์ าเดียวไม่ได้
เพราะฟังแลว้ ทาใหจ้ ิตใจสงบ

เอาชนะตนไดน้ นั้ แล ประเสริฐ
ผทู้ ่ฝี ึกตนได้ ระวงั ระไวตลอดเวลา
ถึงเทวดา คนธรรพ์ และพระพรหม
กเ็ อาชนะไม่ได้

ผกู้ ราบไหว้ อ่อนนอ้ มถอ่ มตวั
ตอ่ ผใู้ หญ่เป็นนจิ ศลี
ยอ่ มเจรญิ ดว้ ยคณุ ธรรมส่ีประการคือ
อายุ ช่ือเสียง สขุ และกาลงั

ผเู้ ห็นพระธรรมอนั ประเสรฐิ
มีชวี ติ อยวู่ นั เดยี ว
ประเสรฐิ กวา่ ชีวติ ตงั้ รอ้ ยปีของผไู้ มเ่ หน็

พงึ รบี เรง่ กระทาความดี
และปอ้ งกนั จิตจากความช่วั
เพราะเม่อื กระทาความดีชา้ ไป
ใจจะกลบั ยินดีในความช่วั

ถา้ หากจะทาความดี
ก็ควรทาดีบ่อยๆ
ควรพอใจในการทาความดีนนั้
เพราะการส่งั สมความดนี าสขุ มาให้

เม่อื บาปยงั ไมส่ ง่ ผล
คนช่วั ก็เห็นว่าเป็นของดี
ตอ่ เม่อื มนั เผลด็ ผลเม่ือใด
เม่ือนนั้ แหละเขาจงึ รูพ้ ษิ สงของบาป

อย่าดถู กู ความช่วั เล็กนอ้ ยวา่ จกั ไม่สนองผล
นา้ ตกจากเวหาทีละหยาดๆ ยงั เต็มตมุ่ ได้
คนพาลทาความช่วั ทีละเล็กละนอ้ ย
ย่อมเตม็ ดว้ ยความช่วั ไดเ้ ช่นกนั

อย่าดถู กู บญุ เล็กนอ้ ยว่าจกั ไมส่ นองผล
นา้ ตกจากเวหาทีละหยาดๆ ยงั เต็มต่มุ ได้
นกั ปราชญส์ ะสมบญุ ทลี ะเล็กละนอ้ ย
ย่อมเตม็ ดว้ ยบญุ ไดเ้ ชน่ กนั

เม่อื มอื ไมม่ ีแผล
บคุ คลย่อมจบั ตอ้ งยาพษิ ได้
ยาพิษนนั้ ไมส่ ามารถทาอันตรายได้
บาปก็ไมม่ แี กผ่ ไู้ มท่ าบาป

สตั วบ์ างพวกกลบั มาเกดิ อีก
พวกท่ที าบาป ไปนรก
พวกท่ที าดี ไปสวรรค์
พวกท่หี มดอาสวกิเลส ปรินพิ พาน


Click to View FlipBook Version