The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนจัดการเรียนรู้ ชีววิทยา ว31242

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Snackjira Siri, 2022-09-05 10:40:46

แผนจัดการเรียนรู้ ชีววิทยา ว31242

แผนจัดการเรียนรู้ ชีววิทยา ว31242

ภาคเรียนถี่
2/2564

แผนการจัดการเรยี นรู้

รายวิชา ชวี วิถยา เพิ่มเตมิ 2
รหสั ว32142 ช๊ันมธั ยมศึกษาปีถ่ี 4

นางจริ าณัฐ สาธพิ า

กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิถยาศาสตรแ์ ละเถคโนโลยี

สำนกั งำนเขตพน้ื ทก่ี ำรศกึ ษำมัธยมศกึ ษำพะเยำ
สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขั้นพ้ืนฐำน กระทรวงศึกษำธกิ ำร

แผนการจัดการเรยี นรู้

รหสั วิชา ว32142 ช่อื รายวิชา ชวี วิทยา 2 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรียนท่ี 2

ช่ือหนว่ ยการเรียนรู้ พนั ธุศาสตร์

แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี 1 เรอื่ ง การศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดล (1) เวลา 2 ชัว่ โมง

ผู้สอน นางจริ าณฐั สาธิพา

..............................................................................................................................................................................

1. มาตรฐานการเรยี นรู้

มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถา่ ยทอดลักษณะทางพนั ธุกรรม

ววิ ฒั นาการของสิ่งมีชวี ติ ความหลากหลายทางชวี ภาพ การใชเ้ ทคโนโลยชี ีวภาพที่มผี ลกระทบต่อ

มนษุ ย์และส่งิ แวดล้อม มีกระบวนการสบื เสาะหาความรูแ้ ละจติ วิทยาศาสตร์ ส่ือสารสง่ิ ท่ีเรียนรแู้ ละนา

ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

2. ผลการเรยี นรู้

2.1 อธบิ ายและสรุปการศกึ ษาพันธศุ าสตร์ของเมนเดล ความนา่ จะเปน็ และกฎการแยก กฎแหง่

การรวมกล่มุ อย่างอสิ ระ และการผสมเพือ่ ทดสอบ รวมท้งั ลกั ษณะทางพนั ธุกรรมที่นอกเหนอื กฎของ

เมนเดลได้

2.2 ต้งั คาถามทอี่ ยู่บนพ้ืนฐานของความร้แู ละความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์ หรือความสนใจ หรือจาก

ประเดน็ ที่เกิดขึน้ ในขณะน้นั ที่สามารถทาการสารวจตรวจสอบหรอื ศกึ ษาค้นควา้ ได้อย่างครอบคลมุ

และเชื่อถอื ได้

3. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด

เมนเดลได้ศกึ ษาลกั ษณะตา่ ง ๆ ของถัน่ ลนั เตา 7 ลกั ษณะท่แี ตกต่างกนั อย่างชดั เจน คอื ความสงู ของ

ลาตน้ รูปร่างของฝกั รปู รา่ งของเมลด็ สขี องเมล็ด ตาแหนง่ ของดอก สขี องดอก และสขี องฝัก ซึง่

พบวา่ ลักษณะในรนุ่ พ่อแมจ่ ะปรากฏออกมาในรุน่ ลกู เสมอ ทาใหเ้ มนเดลคน้ พบกฏเกณฑท์ ี่สาคญั

ทางด้านพันธุศาสตร์ และสามารถอธบิ ายพ้ืนฐานของการถ่ายทอดลกั ษณะทางพันธกุ รรมของส่ิงมชี วี ติ

ได้ ทาให้เมนเดลไดร้ บั การยกยอ่ งเป็นบิดาแห่งวิชาพนั ธศุ าสตร์

4. สาระการเรียนรู้

ความรู้

ประวัติของเมนเดล และวธิ ีการค้นพบกฎการถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธุกรรม

ทกั ษะ/กระบวนการ
1) ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
2) ทกั ษะการคดิ
3) ทกั ษะการเรยี นรู้
4) ทักษะการแกป้ ัญหา
5) ทักษะกระบวนการทางานกลมุ่

5. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
5.1 สบื ค้นขอ้ มูล วเิ คราะห์ อภิปราย อธิบาย และสรุปผลการทดลองของเมนเดล
5.2 นาความรูว้ ิธีการคน้ พบกฎการถ่ายทอดลกั ษณะทางพันธกุ รรมของเมนเดลไปอธิบายเกย่ี วกับการ
ถา่ ยทอดลกั ษณะทางพันธกุ รรม

6. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์
6.1 ใฝ่เรยี นรู้
6.2 มงุ่ ม่ันในการทางาน

7. สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน
7.1 ความสามารถในการส่ือสาร
7.2 ความสามารถในการคดิ
7.3 ความสามารถในการแก้ปญั หา

8. กระบวนการจดั การเรียนรู้
ขั้นนาเข้าสูบ่ ทเรียน
1) ครแู นะนาคาอธบิ ายรายวิชา ว 31242 เพ่อื ใหน้ กั เรียนทราบสาระสาคัญท่ีจะเรยี นรใู้ นภาคเรยี นน้ี
วิธีการวัดผล และเกณฑ์ท่ีใชใ้ นการประเมินผลการเรยี น
2) ครใู หน้ กั เรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน โดยครูยังไม่เฉลยคาตอบทถี่ กู ต้อง เพ่อื วดั ความรู้พ้ืนฐาน
เดมิ ของนกั เรยี น
3) ครทู บทวนลักษณะของส่งิ มีชวี ิตจากท่ีนักเรยี นไดเ้ รียนร้มู าแล้วว่า ลกั ษณะของสิง่ มีชีวิต คอื
สามารถสบื พนั ธ์ุเพ่อื ดารงเผ่าพันธุไ์ ดโ้ ดยการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมจากร่นุ หนึ่งไปสู่อีกรุ่น
หนึง่ ได้
ขั้นจดั การเรยี นรู้
จดั กจิ กรรมการเรยี นรูโ้ ดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ซง่ึ มขี น้ั ตอน ดังน้ี

1) ครนู าเสนอ power Point ให้นักเรยี นดูรูปลูกสัตว์และคนทมี่ ีลักษณะเหมอื นพ่อและแม่ แลว้ ให้
นักเรยี นร่วมกนั อภปิ รายว่าส่งิ มีชีวติ ท่เี หน็ ในรปู มลี ักษณะใดท่เี หมือนพ่อแมบ่ า้ ง จนนักเรยี นได้
ข้อสรปุ รว่ มกันว่าลักษณะของสิ่งมชี วี ิตสามารถถ่ายทอดจากพอ่ แมม่ าสูล่ ูกได้

2) ครตู ั้งคาถามถามนักเรยี นว่า “ลักษณะทีส่ ่งผ่านจากพอ่ แมส่ ูล่ ูกได้นน้ั มีกระบวนการอยา่ งไรและ
ลกั ษณะทุกลักษณะท่สี ง่ ไปยงั ลกู ถูกสง่ ไปไดท้ ุกลกั ษณะหรือไม่” แล้วใหน้ กั เรียนร่วมกนั อภิปราย
แสดงความคิดเหน็ อย่างอสิ ระ โดยครยู งั ไม่เฉลยคาตอบที่ถูกตอ้ ง แล้วชีแ้ จงให้นกั เรยี นทราบวา่
ความคดิ ของนกั เรียนจะถูกต้องหรือไม่ นักเรยี นสามารถเรียนรูไ้ ดจ้ ากการศึกษาในเรือ่ งพันธกุ รรม

3) ครนู าเสนอ รูปเกรเกอร์ โยฮัน เมนเดล แลว้ อธิบายให้นักเรยี นเข้าใจวา่ เมนเดลเป็นบิดาของวชิ า
พนั ธุศาสตร์ เน่ืองจากเขาไดท้ าการทดลองผสมพันธ์ถุ วั่ ลันเตาหลาย ๆ รุน่ และสงั เกตลกั ษณะของ
ถวั่ พบว่า บางลักษณะในรนุ่ พอ่ แมจ่ ะปรากฏออกมาในรนุ่ ลกู เสมอ ทาใหเ้ มนเดลค้นพบกฏเกณฑ์
ทส่ี าคญั อย่างยิ่งทางพนั ธศุ าสตร์ และสามารถอธบิ ายพื้นฐานการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ของสิ่งมชี วี ติ ได้

4) ครูตัง้ คาถามเพือ่ นาไปส่กู ารสืบค้นและการอภิปรายวา่ “เมนเดลมีวธิ ีการอย่างไรจงึ ทาใหค้ ้นพบ
หลกั การถ่ายทอดทางพันธุกรรม” แลว้ ให้นกั เรียนแบง่ กลุ่ม กลุม่ ละ 5 – 6 คน แตล่ ะกลุ่มศึกษา
หวั ขอ้ การศึกษาพันธศุ าสตรข์ องเมนเดลจากหนังสือเรียน และร่วมกนั อภิปราย โดยครทู าหนา้ ท่ี
บันทกึ สิ่งท่นี กั เรียนสงั เกตได้จากการทากจิ กรรมบนกระดาน ครูและนักเรยี นร่วมกนั ตรวจสอบผล
การสืบค้นโดยนักเรยี นควรไดร้ บั ข้อสรปุ ร่วมกนั วา่ ประเด็นสาคัญท่ีทาให้เมนเดลค้นพบหลกั การ
ถ่ายทอดทางพนั ธกุ รรม คอื
- การเลอื กถ่วั ลนั เตา ซง่ึ เป็นพชื ทเ่ี หมาะสมใช้ในการทดลองผสมพันธุ์ เพราถั่วลนั เตามีอายสุ ั้น
จึงปรากฏผลการทดลองได้ในชว่ งเวลานน้ั และโครงสร้างดอกท่สี ามารถควบคมุ การผสมได้
- การเลอื กลักษณะของถ่ัวลันเตาท่ีแตกตา่ งกันอยา่ งชัดเจนมาผสมกนั โดยเลอื กมา 7 ลกั ษณะ
แตล่ ะลักษณะมคี วามแตกตา่ งกนั 2 แบบ
- การเลือกวิธีการผสมพันธโ์ุ ดยนาลกั ษณะของต้นพอ่ และแมท่ ี่พนั ธ์แุ ทใ้ ห้มาผสมกันทีละ
ลักษณะ ทาให้วเิ คราะห์ผลการทดสองได้ง่าย
- วิเคราะห์ผลการทดลองโดยใชห้ ลักคณติ ศาสตร์ เร่ือ งความนา่ จะเปน็

5) ใหน้ ักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกนั อภปิ ราย ตอบคาถามในหนงั สอื เรยี น “นักเรียนคดิ ว่ามีเหตผุ ล
อะไรบ้างทที่ าใหเ้ มนเดลเลอื กถ่ัวลันเตาเปน็ พชื ทดลอง” ตัวแทนกลุ่มนาเสนอผลการอภปิ รายกลมุ่
ละ 1ขอ้ ซง่ึ ควรมแี นวคาตอบดังนี้
- เปน็ พชื ฤดูเดยี ว อายุสั้น ทาใหเ้ ห็นผลการทดลองไดใ้ นระยะเวลาไมน่ าน

- ปลกู ง่าย เจรญิ เตบิ โตเร็ว ให้ลุกหลานแต่ละครัง้ จานวนมาก
- มหี ลายลักษณะในพันธ์ุเดยี ว แตล่ ะลักษณะแตกต่างกันอย่างชดั เจน
- เปน็ ดอกสมบรู ณ์เพศ และสามารถควบคมุ การผสมข้ามได้
ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั ตรวจสอบผลการอภปิ รายและสรุปเหตุผลท่ีเมนเดลเลือกถวั่ ลันเตาเปน็ พชื
ทดลองรว่ มกัน
6) ครูกระตนุ้ ใหน้ ักเรียนอยากรเู้ กยี่ วกบั ลักษณะของถวั่ ลันเตา และวิธีการทดลองของเมนเดล โดยตัง้
คาถาม ดงั นี้
- เมนเดลเลอื กลกั ษณะของถั่วลันเตาอย่างไรมาผสมกนั บ้าง เพราอะไร
- ลักษณะขอวถ่ัวลันเตาที่เมนเดลเลอื กศึกษามอี ะไรบ้าง
- เมนเดลมวี ธิ กี ารผสมถ่ัวลันเตาอย่างไร
นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกนั สบื ค้นขอ้ มลู จากหนงั สือเรียน ตวั แทนกลุ่มนาเสนอผลการอภปิ ราย ครู
และนักเรียนรว่ มกนั ตรวจสอบผลการอภปิ ราย โดยสรุปได้วา่ เมนเดลเลือกถวั่ ลนั เตาที่มีลกั ษณะ
แตกตา่ งกนั อย่างชัดเจนมาผสมกนั เพอ่ื ใหง้ า่ ยตอ่ การวิเคราะหผ์ ลทีป่ รากฏในรนุ่ ลูกหลาน โดย
ลักษณะที่เมนเดลเลือกมี 7 ลกั ษณะ คือ ความสูงของลาต้น รปู ร่างของฝัก รปู ร่างของเมล็ด สีของ
เมล็ด ตาแหน่งของดอก สีของดอก และสขี องฝกั โดยผสมภายในดอกเดยี วกันหลายช่วั รุ่นจนได้
พันธแุ์ ท้ นาลักษณะพันธ์ุแท้ของพ่อและแม่มาผสมกนั ทลี ะลักษณะ แลว้ สังเกตลักษณะที่ปรากฏ
ในรุ่นลูกเปรียบเทยี บกบั ลักษณะท่ีปรากฏในรุ่นพอ่ แม่
กิจกรรมรวบยอด
1) ใหน้ กั เรียนตอบคาถามตอ่ ไปน้ี
- เพราะเหตุใดเมนเดลจึงได้รบั การยกย่องว่าเป็นบดิ าแห่งพันธุศาสตร์
- ถั่วลนั เตามลี กั ษณะเหมาะสมตอ่ การนามาศกึ ษาการถา่ ยทอดลกั ษณะทางพันธกุ รรมอย่างไร
- ลักษณะถว่ั ลนั เตา 7 ลักษณะทเี่ มนเดลนามาศกึ ษามอี ะไรบ้าง
- Self – pollination แตกต่างจาก cross – pollination อย่างไร
- ลักษณะท่ีปรากฏในรุ่น F1 แตกต่างจากรุ่น F2 อย่างไร
2) ครตู รวจสอบการบันทึกความรูท้ ่ีไดจ้ าการเรยี นและการตอบคาถาม
9. สอื่ และแหลง่ การเรียนรู้
สื่อ
9.1 คาอธบิ ายรายวชิ า ว32124
9.2 ขอ้ สอบก่อนเรียน

9.3 Power point ประกอบการเรยี นรู้ เรอื่ ง การศึกษาพนั ธศุ าสตร์ของเมนเดล (1)

9.4 หนังสือเรยี น รายวชิ าเพ่ิมเติม ชีววทิ ยา 2 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4-6 ของ สสวท

แหลง่ การเรยี นรู้

9.5 หนังสือวารสารวิทยาศาสตร์

9.6 สารานุกรมวิทยาศาสตร์

9.7 อนิ เทอรเ์ นต็

10. การวัดและประเมินผล

เป้าหมาย หลกั ฐาน เคร่ืองมอื วดั เกณฑ์การประเมนิ

สาระสาคญั -สมุด -การถาม/ตอบ -สามารถตอบคาถามได้

-ประวัตขิ องเมนเดลและ อยา่ งถูกตอ้ ง

วิธีการค้นพบกฏการถ่ายทอด

ลกั ษณะทางพนั ธุกรรม

ผลการเรยี นรู้ -สมดุ -การถาม/ตอบ -สามารถตอบคาถามได้

-อธิบายและสรปุ การศึกษา อย่างถูกต้อง

พนั ธศุ าสตร์ของเมนเดล

ความนา่ จะเปน็ และกฎการ

แยก กฎแห่งการรวมกลุ่ม

อย่างอสิ ระ และการผสมเพื่อ

ทดสอบ รวมท้ังลกั ษณะทาง

พันธกุ รรมทน่ี อกเหนือกฎของ

เมนเดลได้

-ตัง้ คาถามที่อยู่บนพน้ื ฐาน -สมดุ -การถาม/ตอบ -สามารถตอบคาถามได้

ของความรู้และความเขา้ ใจ อย่างถกู ต้อง

ทางวทิ ยาศาสตร์ หรือความ

สนใจ หรือจากประเดน็ ท่ี

เกิดขึ้นในขณะน้นั ทส่ี ามารถ

ทาการสารวจตรวจสอบหรอื

ศึกษาค้นคว้าได้อยา่ ง

เปา้ หมาย หลกั ฐาน เคร่ืองมอื วดั เกณฑก์ ารประเมิน
ครอบคลุมและเชอ่ื ถือได้
คณุ ลกั ษณะ -การเขา้ -ความตรงตอ่ เวลาและ -การเข้าชัน้ เรยี นสายไม่เกนิ
-ใฝเ่ รียนรู้ ช้นั เรยี น จานวนครง้ั ทเ่ี ขา้ เรยี น 15 นาที และจานวนคร้ัง
ท่เี ข้าเรียนมากกวา่ 80 %
-มงุ่ ม่นั ในการทางาน -ความสนใจใน -การถาม/ตอบ -สามารถตอบคาถามได้
การเรยี น อย่างถกู ต้อง

11. บนั ทกึ หลังการสอน
ผลการสอน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปัญหา/อุปสรรค
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ข้อเสนอแนะ/วิธีแก้ไข
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
บันทกึ การส่งแผนจดั การเรยี นรู้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
(..……………………………….……)
นางจริ าณัฐ สาธพิ า
ความเหน็ หวั หนา้ กลุ่มสาระ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
(..……………………………….……)
นางสาวทพิ วรรณ เมืองมลู
ความเหน็ ของรองผู้อานวยการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

(..……………………………….……)
นางสาวกฤติมา มะโนพรม
ความเหน็ ของผ้อู านวยการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

(..……………………………….……)
นายปิยะ ใจชุ่ม

แผนการจดั การเรียนรู้

รหัสวชิ า ว32142 ชือ่ รายวิชา ชีววิทยา 2 ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 4

กล่มุ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรยี นท่ี 2

ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ พนั ธศุ าสตร์ เวลา 2 ชวั่ โมง

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 2 เรื่อง การศกึ ษาพันธุศาสตร์ของเมนเดล (2) และกฎของความน่าจะเป็น

ผู้สอน นางจริ าณัฐ สาธพิ า

..............................................................................................................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจกระบวนการและความสาคญั ของการถา่ ยทอดลักษณะทางพนั ธุกรรม

ววิ ฒั นาการของสง่ิ มีชวี ติ ความหลากหลายทางชวี ภาพ การใชเ้ ทคโนโลยีชีวภาพทีม่ ีผลกระทบตอ่

มนษุ ย์และส่ิงแวดล้อม มกี ระบวนการสืบเสาะหาความรูแ้ ละจิตวทิ ยาศาสตร์ ส่อื สารสิง่ ที่เรียนรูแ้ ละนา

ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

2. ผลการเรยี นรู้

2.1 อธิบายและสรุปการศกึ ษาพันธุศาสตรข์ องเมนเดล ความน่าจะเปน็ และกฎการแยก กฎแหง่

การรวมกลุ่มอยา่ งอสิ ระ และการผสมเพอ่ื ทดสอบ รวมทงั้ ลกั ษณะทางพันธกุ รรมทน่ี อกเหนอื กฎของ

เมนเดลได้

2.2 ตงั้ คาถามที่อยู่บนพน้ื ฐานของความร้แู ละความเข้าใจทางวทิ ยาศาสตร์ หรอื ความสนใจ หรือจาก

ประเดน็ ทเ่ี กดิ ขึน้ ในขณะนั้นท่ีสามารถทาการสารวจตรวจสอบหรือศกึ ษาคน้ ควา้ ได้อยา่ งครอบคลมุ

และเชือ่ ถือได้

3. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด

- เมนเดลพบว่าลกั ษณะต่าง ๆ ท้ัง 7 ลกั ษณะมีหน่วยควบคุม เรียกวา่ ยีน (gene) โดยสามารถ

แสดงออกเป็นลักษณะเดน่ (dominant gene) หรอื ลกั ษณะดอ้ ย (recessive gene) ได้

และสามารถถ่ายทอดจากรุน่ พ่อแมไ่ ปสูร่ ่นุ ลกุ หลานได้

- เมนเดลใช้กฎของความนา่ จะเป็น (probability) ในการวเิ คราะห์ข้อมลู จากผลการทดลอง

ทาให้สามารถอธบิ ายอตั ราส่วนของลกั ษณะเด่นและลักษณะดอ้ ยทีเ่ กดิ ข้นึ ในร่นุ ลูกได้

4. สาระการเรียนรู้

ความรู้

- วิธีการค้นพบกฎการถา่ ยทอดลกั ษณะทางพันธกุ รรม

- กฎของความน่าจะเป็น

ทักษะ/กระบวนการ
1) ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
2) ทกั ษะการคดิ
3) ทกั ษะการเรียนรู้
4) ทกั ษะการแกป้ ัญหา
5) ทกั ษะกระบวนการทางานกลมุ่

5. จุดประสงค์การเรยี นรู้
5.1 สบื ค้นข้อมูล วิเคราะห์ อภิปราย อธบิ าย และสรุปผลการทดลองของเมนเดล
5.2 อธบิ ายความหมายและยกตัวอย่าง ลกั ษณะเดน่ ลักษณะดอ้ ย ยีนเด่น ยนี ด้อย แอลลีล โลคัส
ฮอมอโลกสั โครโมโซม ฟโี นไทป์ จีโนไทป์ ฮอมอโลกัสจีนโนไทป์ เฮเทอโรไซกสั จีนโนไทป์ ฮอมอไซกัส
โดมิแนนทแ์ ละฮอโมไซกัสรีเซสซีพ
5.3 สบื คน้ ข้อมูล วิเคราะห์ และอภิปรายกฎของความน่าจะเป็น
5.4 นาความรู้วิธกี ารค้นพบกฎการถา่ ยทอดลักษณะทางพันธุกรรมของเมนเดลและกฎของความนา่ จะ
เป็นไปอธิบายเกย่ี วกับการถา่ ยทอดลกั ษณะทางพันธกุ รรม

6. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์
6.1 ใฝ่เรยี นรู้
6.2 ม่งุ มัน่ ในการทางาน

7. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
7.1 ความสามารถในการสื่อสาร
7.2 ความสามารถในการคิด
7.3 ความสามารถในการแกป้ ญั หา

8. กระบวนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
ข้ันนาเข้าสูบ่ ทเรยี น
1. ครูทบทวนความรูท้ ี่นกั เรยี นไดเ้ รียนรมู้ าเกยี่ วกับลักษณะของถว่ั ลันเตาทเ่ี มนเดลเลือกมาศึกษาว่า
มีลกั ษณะใดบ้าง และเพราะอะไรเมนเดลจึงเลอื กศึกษาการถ่ายทอดลกั ษณะพนั ธกุ รรมของถัว่
ลนั เตา โดยตัง้ ประเดน็ คาถาม ดังนี้
- ลกั ษณะถว่ั ลนั เตาทเี่ มนเดลนามาศึกษามีลกั ษณะใดบา้ ง (ความสงู ของลาต้น รปู ร่างของฝัก
รปู ร่างของเมลด็ สีของเมล็ด ตาแหน่งของดอก สีของดอก และสีของฝัก)

- เพราะเหตุใดเมนเดลจึงเลอื กศกึ ษาการถา่ ยทอดลักษณะทางพันธกุ รรมของถ่วั ลนั เตา (ถว่ั
ลนั เตามอี ายุส้นั จึงปรากฏผลการทดลองได้ในช่วงเวลาสัน้ และโครงสรา้ งดอกท่ีสามารถ
ควบคมุ การผสมได้)

2. นกั เรียนรว่ มกนั อภิปรายคาตอบ เพือ่ เช่ือมโยงไปสู่การเรยี นรู้ เรอ่ื ง การศึกษาพนั ธุศาสตร์ของเมนเดล (2)
และกฎของความน่าจะเปน็

ขัน้ จัดการเรียนรู้
จัดกจิ กรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ซ่งึ มีข้ันตอน ดังน้ี
1) ครนู าเสนอ power point ใหน้ ักเรยี นดรู ูปการผสมพันธุ์ถว่ั ลนั เตา แล้วตั้งประเดน็ คาถามให้

นกั เรียนรม่ กนั อภปิ รายตามประเด็นตอ่ ไปน้ี
- รุ่น F1 ทีเ่ กดิ จากพอ่ ฝกั สเี ขยี วและแม่ฝกั สีเหลืองจะไดฝ้ ักสอี ะไร และถ้าสลบั ลกั ษณะสขี อง

ต้นพ่อและต้นแม่ ลกั ษณะร่นุ ลูกทีเ่ กิดมาจะเปน็ อย่างไร
- เพราะเหตใุ ดลกั ษณะฝักสีเหลอื งจงึ ไม่ปรากฏในรนุ่ F1
- ถ้าลกั ษณะของพอ่ และแมไ่ มเ่ ป็นพนั ธ์ุแท้ ลกั ษณะสีฝกั ของรนุ่ ลกู จะเปน็ ดงั ภาพนี้หรือไม่

นักเรียนร่วมกนั สืบคน้ และวิเคราะห์ขอ้ มูล โดยควรได้ข้อสรปุ ร่วมกนั ว่า รุน่ F1 มีฝีกสีเขยี ว
เสมอแมว้ า่ จะสลบั ลกั ษณะของตน้ พอ่ และตน้ แมก่ ็ตาม ลักษณะฝักสีเหลอื งจะไม่ปรากฏในรุ่น
F1 เพราะลกั ษณะฝักสเี หลอื งเป็นลกั ษณะดอ้ ย แต่ถา้ ลักษณะฝักสีเขียวของพอ่ และแมไ่ ม่เปน็
พนั ธุแ์ ท้ ลกู รุ่น F1 จะมที ้งั ลักษณะฝักสีเขยี วและฝักสเี หลอื ง
2) ครูนาเสนอ Power point ให้นกั เรียนดตู ารางแสดงผลการผสมพนั ธุ์ถว่ั ลันเตาพันธ์ุแท้ทเ่ี ป็นรุ่น
พ่อแมล่ กั ษณะตา่ ง ๆ ให้นกั เรียนรว่ มกนั อภิปรายข้อมลู ต่าง ๆ ท่ีอยใู นตารางแล้วรว่ มตอบคาถาม
ต่อไปน้ี
- ลักษณะท่ีปรากฏในรุ่น F2 แตกต่างจากลกั ษณะที่ปรากฏในรนุ่ F1 อยา่ งไร (ลักษณะท่ี
ปรากฏในรนุ่ F1 จะเปน็ ลกั ษณะของรุ่นพ่อหรอื แมเ่ พยี งลกั ษณะเดยี ว ส่วนในรนุ่ F2 จะมี
ลกั ษณะทัง้ ของพอ่ และแม)่
- จากข้อมลู ในตารางจะสรุปการถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรมของแตล่ ะลักษณะอย่างไร (ถา้
พ่อแม่เป็นพนั ธุ์แท้ ลักษณะทถี่ ่ายทอดไปยงั รุ่น F1 จะแสดงออกลกั ษณะของพอ่ หรือของแม่
สว่ นในรุ่น F2 จะแสดงออกทั้งลักษณะของพ่อและแม่ ในอัตราสว่ นลักษณะเดน่ : ลักษณะ
ดอ้ ย ประมาณ 3:1)
3) ครูอธิบายให้นักเรยี นเข้าใจวา่ หนว่ ยทีค่ วบคุมลกั ษณะเดน่ และลกั ษณะด้อยนเ้ี มนเดลเรียกว่า

แฟกเตอร์ ซึง่ ปัจจบุ ันเรียกว่า ยนี โดยเรียกยนี ทคี่ วบคมุ ลักษณะฝกั สเี ขียวว่ายีนเดน่ และเรียกยีน
ท่คี วบคมุ ลกั ษณะฝกั สเี หลืองว่ายนี ดอ้ ย แลว้ ครูให้ข้อมูลเพิ่มเตมิ เกีย่ วกบั การเขยี นสัญลักษณ์แทน
ยีนวา่ นิยมใช้ภาษาอังกฤษตวั พมิ พ์ใหญ่แทนยีนเด่น และตัวพมิ พเ์ ล็กแทนยีนด้อย หรอื อาจใช้
สัญลกั ษณ์อืน่ ๆ ได้อีก เช่น การใช้เครือ่ งหมายบวกและเครอื่ งหมายลบ เปน็ ตน้
4) ใหน้ กั เรยี นตอบคาถามในหนังสอื เรยี นดงั นี้
- จากตารางแสดงผลการผสมพันธุถ์ ัว่ ลนั เตาพันธุ์แท้ท่ีเป็นรุ่นพอ่ แม่ลกั ษณะต่าง ๆ บอกได้

หรือไมว่ า่ ลักษณะใดของถว่ั ลนั เตาเป็นลกั ษณะเด่น และลักษณะใดเป็นลักษณะด้อย (บอกได้
โดยลกั ษณะเดน่ คอื ลักษณะตน้ สูง ฝักอวบ เมล็ดกลม เมล็ดสเี หลอื ง ออกดอกที่กิ่ง ดอกสมี ว่ ง
และฝกั สีเขียว เพราะเป็นลักษณะที่ปรากฏในร่นุ F1 สว่ นลกั ษณะด้อย คอื ต้นเตี้ย ฝักแฟบ
เมล็ดขรขุ ระ เมล็ดสีเขียว ออกดอกท่ยี อด ดอกสีขาว และฝกั สีเหลือง ซ่งึ เปน็ ลกั ษณะท่ี
ปรากฏในรุ่น F2)
- แฟกเตอรท์ ่คี วบคุมลกั ษณะฝักสีเหลอื งในรุน่ F1 หายไปจรงิ หรอื ไม่ เพราเหตใุ ด (ไม่ไดห้ ายไป
เพราะในรุ่น F1 แสดงลกั ษณะฝักสเี ขียว สว่ นลักษณะฝักสเี หลืองจะไม่แสดงออก แสดงวา่
แฟกเตอร์ทค่ี วบคุมลักษณะฝักสีเขยี วจะข่มแฟกเตอร์ลกั ษณะฝกั สเี หลือง ทาให้ลักษณะฝกั สี
เหลอื งทีแ่ ฝงอยู่ในรุ่น F1 จะปรากฏในร่นุ F2 ต่อไป)
5) ครอู ธบิ ายคาต่าง ๆ ที่จาเปน็ ตอ้ งใช้ในวชิ าพันธศุ าสตร์ โดยให้นกั เรียนรว่ มกันอภิปรายและสรุป
ความหมายของคาต่อไปนี้
- ยีนเด่น (Dominant gene) คือ ยนี ที่แสดงลกั ษณะออกมาให้เหน็ ได้ในสภาพเฮเทอโรไซกสั
แม้ว่าจะมยี ีนเดน่ เพียงยีนเดยี ว เรียกลกั ษณะทปี่ รากฏว่า ลักษณะเดน่ (dominant trait)
- ยีนดอ้ ย (Recessive gene) คือ ยนี ทแี่ สดงลักษณะออกมาให้เห็นได้น้อยกว่าอกี ยีนในสภาพ
ท่ีเปน็ เฮเทอโรไซกัส และจะแสดงลักษณะดอ้ ยออกมาไดต้ ้องมียีนด้อย 2 ยนี ในสภาพทเี่ ปน็
ฮอมอไซกัสรีเซพซพี เรียกลกั ษณะที่ปรากฏนีว้ ่าลักษณะดอ้ ย (recessive trait)
- แอลลีล (allele) คือ ยีนที่อยู่บนโลคัสเดียวกนั บนฮอมอโลกัสโครโมโซม
- โลคัส (locus) คอื ตาแหน่งของยีนทเี่ ปน็ แอลลลี กัน และอยู่ตรงกันบนฮอมอโลกสั โครโมโซม
- ฮอมอโลกัสโครโมโซม (homologous chromosome) คือ โครโมโซมทมี่ ีลกั ษณะเหมือนกนั
ขนาดเทา่ กนั และมเี ซนโทรเมยี รต์ รงกนั
- จโี นไทป์ (genotype) คอื รูปแบบของยีนทอี่ ยเู่ ป็นคู่ เพือ่ ควบคมุ ลักษณะทางพนั ธกุ รรม
- ฟีโนไทป์ (phenotype) คือ ลักษณะที่ปรากฏซง่ึ เป็นผลของการควบคมุ จีโนไทป์

- ฮอมอโลลัสจโี นไทป์ (homologous genotype) คอื รปู แบบของจโี นไทปท์ ่มี ีแอลลีล 2 แอล
ลีลท่ีแตกต่างกัน

6) ครตู ัง้ คาถามถามนกั เรยี นว่า การทดลองของเมนเดลสรุปว่าอัตราสว่ นของลักษณะที่ปรากฏในรุ่น
F2 คอื 3:1 น้นั เมนเดลใช้หลักการอะไรในการสรุป และเพราะอะไรอัตราส่วนนจี้ ึงไมป่ รากฏใน
รุ่น F1 ดว้ ย ใหน้ ักเรยี นรว่ มกนั อภปิ รายคาตอบ โดยครยู งั ไม่เฉลยคาตอบทถี่ ูกต้อง เพอ่ื นาไปสู่
การเรยี นรเู้ ร่ือง กฎของความน่าจะเป็น

7) ครอู ธิบายให้นักเรียนเขา้ ใจวา่ เมนเดลใช้กฎของความน่าจะเป็นในการวเิ คราะห์ข้อมลู จากผลการ
ทดลอง ทาให้ร้อู ตั ราสว่ นของลักษณะเดน่ และลกั ษณะดอ้ ยในรนุ่ F2 ได้

8) ครอู ธบิ ายหลกั การของความน่าจะเป็นของเหตกุ ารณใ์ ดเหตุการณ์หน่งึ วา่ จะเทา่ กบั หนึ่งส่วนของ
เหตุการณท์ ี่เกดิ ขึ้นท้งั หมด เชน่
- โยนเหรยี ญ 1 อนั จะมเี หตุการณ์ท่เี กดิ ขน้ึ 2 แบบ คอื ออกหัวและออกกอ้ ย ดังนน้ั ความ
น่าจะเปน็ ของการออกหวั จงึ เท่ากบั ½ และความน่าจะเป็นของการออกกอ้ ยเท่ากบั ½
- การโยนลูกเตา๋ 1 ครงั้ จะมีโอกาสเกดิ เหตุการณ์ได้ 6 แบบ คือ ออกแตม้ เปน็ 1,2,3,4,5,6
ดังนน้ั ความนา่ จะเปน็ ของการออกแต้มเป็นแตม้ ใดแตม้ หนึง่ จึงเท่ากบั 1/6 นัน้ เอง

9) ครอู ธบิ ายหลกั การกฎของความน่าจะเปน็ ใหน้ กั เรียนเขา้ ใจว่ามี 2 ขอ้ คือ
- เหตุการณ์ 2 เหตกุ ารณ์ทีส่ ามารถเกดิ ข้ึนไดพ้ ร้อมกนั โอกาสของการเกดิ เหตกุ ารณ์ต่าง ๆ
พรอ้ มกนั เทา่ กับผลคูณของเหตกุ ารณ์ทีจ่ ะเกดิ ข้ึนแต่ละเหตุการณ์ เช่น กรโยนเหรยี ญ 2 อนั
พร้อมกนั เหรียญแตล่ ะอันมีโอกาสออกหวั เท่ากบั ½ และโอกาสออกก้อยเทา่ กับ ½ ดังนน้ั
โอกาสของการออกหัวพรอ้ มกันจึงเท่ากบั ½ x ½ = ¼ โอกาสของการออกกอ้ ยพร้อมกนั
จะเท่ากับ ½ x ½ = ¼ และโอกาสของการออกหวั และออกก้อยจะเทา่ กับ 2/4 หรือ ½
- เหตกุ ารณ์ 2 เหตุการณ์ทีไ่ มส่ ามารถเกิดขึ้นไดพ้ ร้อมกนั โอกาสของการเกิดเหตุการณ์อย่างใด
อยา่ งหน่งึ จะเท่ากับ ผลบวกของโอกาสทจ่ี ะเกิดแต่ละเหตกุ ารณ์ เช่น การโยนลูกเตา๋ 1 ครัง้
มีโอกาสออกแตม้ 1,2,3,4,5,6 อยา่ งละ 1/6 ดงั นนั้ โอกาสโยนลกู เตา๋ 1 คร้งั แลว้ ออกเปน็
แตม้ คูเ่ ท่ากับ 1/6 + 1/6 +1/6 = 3/6 หรอื ½ ซ่ึงได้จากผลบวกของโอกาสที่จะเกดิ แต้มเป็น
2,4 และ 6

10) ให้นกั เรียนตอบคาถามในหนงั สือเรยี น ดงั น้ี
- ยกตัวอยา่ งเหตุการณท์ ี่จะใช้ความนา่ จะเปน็ ในอธิบายมาอยา่ งนอ้ ย 2 เหตุการณ์ (เช่นเมอื่
โยนเหรียญ 3 อนั พร้อมกัน โอกาสของการออกหวั ทั้ง 3 เหรยี ญเท่ากบั ½ x ½ x ½ = 1/8

หรอื โอกาสในการโยนลูกเต๋า 2 ลกู พรอ้ มกนั โดยมลี ูกหน่งึ ออกแตม้ 1 และอกี ลูกหนง่ึ ออก
แตม้ 6 เทา่ กบั (1/6 x 1/6 + (1/6 x 1/6) = 1/8)
กิจกรรมรวบยอด
1. ให้นกั เรยี นตอบคาถามต่อไปน้ี
- จากขอ้ มลู ในตารางการผสมพันธุ์ถ่ัวลันเตา 7 ลักษณะจะสรปุ การถ่ายทอดลกั ษณะทาง
พนั ธุกรรมของแต่ละลกั ษณะไดอ้ ยา่ งไร
- ถา้ G เป็นยีนทีค่ วบคมุ ลักษณะฝักสีเขียว และ g เปน็ ยนี ที่คบคมุ ลักษณะฝกั สเี หลอื ง ถา้ ถวั่
ลนั เตารนุ่ F1 มีลักษณะฝกั สีเขียวท้ังหมด แสดงวา่ ยีนชนดิ ใดเปน็ ยนี ด้อย เพราอะไร
- ถา้ ผสมถั่วลันเตารุ่น F1 ทมี่ ีจีโนไทป์ Rr เข้าดว้ ยกัน โอกาสที่ยนี รนุ่ F2 จะเขา้ คู่กันมกี ี่แบบ
อะไรบา้ ง
2. ครูตรวจสอบการบันทึกความรทู้ ่ไี ดจ้ ากการเรียนและการตอบคาถาม
9. สื่อและแหล่งการเรยี นรู้
สอื่
1) Power point ประกอบการเรียนรู้ เรือ่ ง การศกึ ษาพันธุศาสตรข์ องเมนเดล (2) และกฎของความ
นา่ จะเป็น
2) หนงั สอื เรยี น รายวิชาเพิ่มเติม ชีววทิ ยา 2 ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 4-6 ของ สสวท
แหลง่ การเรยี นรู้
1) หนงั สือหรือวารสารวิทยาศาสตร์
2) สารานกุ รมวิทยาศาสตร์
3) อินเทอรเ์ น็ต

10. การวดั และประเมนิ ผล

เปา้ หมาย หลกั ฐาน เครื่องมือวดั เกณฑ์การประเมนิ
-การถาม/ตอบ -สามารถตอบคาถามได้
สาระสาคญั -สมดุ -การถาม/ตอบ อย่างถูกต้อง

-ประวตั ิของเมนเดลและวธิ กี าร -การถาม/ตอบ -สามารถตอบคาถามได้
อย่างถกู ตอ้ ง
ค้นพบกฏการถา่ ยทอดลกั ษณะ -ความตรงตอ่ เวลาและ
จานวนคร้ังทเ่ี ขา้ เรยี น -สามารถตอบคาถามได้
ทางพันธุกรรม -การถาม/ตอบ อยา่ งถูกต้อง

ผลการเรียนรู้ -สมุด -การเข้าชนั้ เรียนสายไม่เกนิ
15 นาที และจานวนครง้ั
-อธิบายและสรุปการศึกษาพนั ธุ ทเ่ี ข้าเรยี นมากกวา่ 80 %
-สามารถตอบคาถามได้
ศาสตร์ของเมนเดล ความน่าจะ อยา่ งถกู ตอ้ ง

เป็นและกฎการแยก กฎแหง่

การรวมกลุ่มอยา่ งอิสระ และ

การผสมเพอ่ื ทดสอบ รวมท้งั

ลกั ษณะทางพนั ธุกรรมท่ี

นอกเหนอื กฎของเมนเดลได้

-ตงั้ คาถามทอ่ี ยบู่ นพน้ื ฐานของ

ความรู้และความเข้าใจทาง -สมุด

วิทยาศาสตร์ หรือความสนใจ

หรอื จากประเดน็ ท่ีเกิดขนึ้ ใน

ขณะน้ันที่สามารถทาการสารวจ

ตรวจสอบหรอื ศึกษาค้นควา้ ได้

อยา่ ง

ครอบคลุมและเชอื่ ถอื ได้

คณุ ลักษณะ

-ใฝเ่ รียนรู้ -การเขา้

ชัน้ เรยี น

-มุ่งมัน่ ในการทางาน -ความสนใจใน
การเรียน

11. บนั ทึกหลงั การสอน
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ปญั หา/อุปสรรค
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ข้อเสนอแนะ/วิธีแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

บนั ทกึ การสง่ แผนจัดการเรียนรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

(..……………………………….……)
นางจริ าณฐั สาธพิ า

ความเหน็ หัวหน้ากลมุ่ สาระ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

(..……………………………….……)
นางสาวทพิ วรรณ เมอื งมลู
ความเห็นของรองผู้อานวยการ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

(..……………………………….……)
นางสาวกฤติมา มะโนพรม

ความเหน็ ของผู้อานวยการ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

(..……………………………….……
นายปยิ ะ ใจชุ่ม

แผนการจัดการเรียนรู้

รหสั วิชา ว32142 ช่ือรายวิชา ชีววิทยา 2 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 2

ชอ่ื หนว่ ยการเรยี นรู้ พันธศุ าสตร์

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 3 เร่อื ง กฎแห่งการแยกและการรวมกลมุ่ อยา่ งอสิ ระ เวลา 2 ช่วั โมง

ผูส้ อน นางจริ าณัฐ สาธพิ า

..............................................................................................................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ว1.2 เขา้ ใจกระบวนการและความสาคัญของการถา่ ยทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรม

ววิ ฒั นาการของสิ่งมีชีวติ ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้เทคโนโลยชี ีวภาพทีม่ ีผลกระทบต่อ

มนุษย์และส่งิ แวดลอ้ ม มกี ระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวทิ ยาศาสตร์ สื่อสารส่งิ ทเี่ รยี นรู้

และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์

2. ผลการเรยี นรู้

1) อธิบายและสรุปการศกึ ษาพันธศุ าสตรข์ องเมนเดล ความน่าจะเปน็ และกฎการแยก กฎแหง่

การรวมกลุ่มอยา่ งอสิ ระ และการผสมเพอ่ื ทดสอบ รวมทั้งลักษณะทางพนั ธุกรรมทน่ี อกเหนือ

กฎของเมนเดลได้

2) ต้งั คาถามทอ่ี ยู่บนพน้ื ฐานของความร้แู ละความเขา้ ใจทางวิทยาศาสตรห์ รือความสนใจ หรือ

จากประเดน็ ท่ีเกิดข้นึ ในขณะน้นั ท่สี ามารถทาการสารวจตรวจสอบหรือศึกษาคน้ คว้าไดอ้ ยา่ ง

ครอบคลุมและเชอื่ ถอื ได้

3. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด

- กฎแหง่ การแยก มีใจความวา่ ยีนท่อี ย่เู ป็นคู่จะแยกออกจากันในระหวา่ งการสร้างเซลล์

สบื พันธโุ์ ดยเซลล์สืบพนั ธ์แุ ต่ละเซลล์จะได้รับเพยี งแอลลีลใดแอลลีลหน่ึง

- กฎแหง่ การรวมกลมุ่ อยา่ งอิสระ มใี จความวา่ ยีนท่ีเปน็ คกู่ นั เมอื่ แยกออกจากกนั แล้ว จะจัด

กลุม่ อยา่ งอสิ ระกับยีนอ่นื ซงึ่ แยกออกจากค่เู ช่นกนั เพ่อื เข้าไปยงั เซลล์สืบพันธ์ุ

4. สาระการเรียนรู้

ความรู้

- กฎแหง่ การแยก - กฎแห่งการรวมกล่มุ อยา่ งอิสระ

ทกั ษะ/กระบวนการ

1) ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

2) ทักษะการคดิ
3) ทกั ษะการเรียนรู้
4) ทกั ษะการแกป้ ญั หา
5) ทักษะกระบวนการทางานกล่มุ
5. จุดประสงค์การเรยี นรู้
1) อธิบายและสรปุ เก่ยี วกบั กฎแหง่ การแยกและการรวมกลุ่มอย่างอิสระ
2) นากฎแหง่ การแยกไปหาโอกาสในการเกดิ จีโนไทป์และฟโี นไทป์แบบต่าง ๆ ในรุน่ F1 และ F2

ของการผสมพิจารณาลกั ษณะเดียว
3) นากฎแหง่ การรวมกลุ่มอยา่ งอิสระ ไปหาโอกาสในการเกิดเซลล์สบื พนั ธท์ุ ีม่ กี ลมุ่ ของยนี ต่างกัน

และอตั ราส่วนของจีโนไทปแ์ ละฟีโนไทปใ์ นรนุ่ F1 และ F2 ของการผสมพจิ ารณา 2 ลักษณะ
6. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

1) ใฝเ่ รยี นรู้
2) มุ่งมน่ั ในการทางาน
7. สมรรถนะสาคัญของผ้เู รียน
1) ความสามารถในการสอ่ื สาร
2) ความสามารถในการคิด
3) ความสามารถในการแก้ปัญหา
8. กระบวนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้
ขัน้ นาเขา้ ส่บู ทเรียน
1) ครตู ้ังคาถามถามนกั เรยี นวา่ อัตราสว่ น 3 : 1 ในการทดลองของเมนเดลเกิดขึ้นไดอ้ ยา่ งไร โดยให้

นักเรยี นดผู ลการโยนเหรียญประกอบ นกั เรียนร่วมกนั ตอบคาถามตามความคิดเห็นของแต่ละคน
2) ครูสรุปคาตอบใหน้ กั เรียนเขา้ ใจว่า การโยนเหรยี ญในภาพท่ี 15-5 โอกาสทจ่ี ะเปน็ ไปได้มี 3 แบบ

คือ ออกหวั 2 เหรียญ ออกหวั และออกกอ้ ย และออกกอ้ ยทง้ั สองเหรียญ ในอัตราสว่ น 1:2:1 เพื่อ
เช่ือมโยงไปสู่การเรียนรู้ เร่ืองกฎแห่งการแยกและกฎแห่งการรวมกลุ่มอยา่ งอสิ ระ
ขนั้ จัดการเรียนรู้

จดั กจิ กรรมการเรียนรโู้ ดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ซงึ่ มขี ัน้ ตอนดงั น้ี
1) ครูนาเสนอ power point เร่ือง กฎแห่งการแยก โดยใหน้ ักเรียนดูรปู การผสมพนั ธุ์ถั่วลันเตาฝักสี

เขยี วกบั ฝักสเี หลอื ง และรปู การผสมถวั่ ลนั เตาดอกสีม่วงในรุ่น F1 ท่ีมีจีโนไทปเ์ ดียว คอื

เฮเทอโรไซกัส เพื่อเชอ่ื มโยงกฎความนา่ จะเป็นกับกฎการแยกของเมนเดล โดยต้ังประเดน็ คาถาม
ใหน้ กั เรยี นรว่ มกันอภปิ รายตามประเด็นตอ่ ไปน้ี
ในการผสมการพจิ ารณาเพียง 1 ลกั ษณะ เพราะเหตุใดอัตราสว่ นฟีโนไทปข์ องรุน่ F2 จงึ มีลักษณะเด่น
ต่อลกั ษณะด้อย เท่ากับ 3:1 นกั เรียนรว่ มกัยตอบคาถาม โดยควรได้ข้อสรปุ รว่ มกนั ว่า ถว่ั ลันเตาฝกั สี
เขียวมจี ีโนไทป์ Gg โดย G และ g มโี อกาสท่ีจะแยกออกจากกันไปยงั เซลล์ไข่และสเปริ ม์ เท่า ๆ กนั คือ
½ เม่อื เกดิ การปฏสิ นธโิ อกาสทส่ี เปิรม์ จะเข้ารวมกับเซลลไ์ ขไ่ ด้ 3 แบบ คือ GG Gg และ gg ใน
อัตราสว่ น 1: 2 : 1 โดยมฟี โี นไทป์ 2 แบบ คือ ฝกั สเี ขียวต่อฝกั สเี หลอื งในอตั ราส่วน 3 : 1
2) ครสู รุปให้นกั เรยี นฟงั วา่ กฎแหง่ การแยก ซงึ่ เป็นกฎข้อที่ 1 มใี จความสาคญั วา่ ยีนทอ่ี ยูเ่ ปน็ ค่จู ะ
แยกออกจากกนั ระหวา่ งการสรา้ งเซลลส์ ืบพันธ์ุ โดยเซลล์สืบพันธุ์แตล่ ะเซลล์จะได้รบั เพยี งแอลลีล
ใดแอลลีลหนง่ึ ทาใหส้ ามารถทานายลกั ษณะในรุ่น F1 ได้ เม่ือรูจ้ โี นไทปข์ องรนุ่ พ่อแม่
3) ครูใหน้ กั เรยี นตอบคาถามในหนงั สอื เรยี น ดงั น้ี
- จากภาพที่ 15-6 รุน่ F1 มีโอกาสสร้างสเปริ ์มหรอื เซลล์ไขก่ ช่ี นิด อะไรบา้ ง รุน่ F2 มจี โี นไทป์

และฟีโนไทป์กี่ชนดิ อะไรบ้าง และมีอัตราสว่ นเทา่ ใด (รุน่ F1 มีโอกาสสร้างสเปริ ม์ หรอื เซลล์
ไขไ่ ด้ 2 ชนดิ คอื G และ g ซ่งึ เป็นไปตามกฎแหง่ การแยกของเมนเดล ส่วน F2 มจี ีโนไทป์ 3
แบบ คอื GG Gg และgg ในอตั ราส่วน 1:2:1 และมีฟโี นไทป์ 2 แบบ คือ ลกั ษณะฝักสีเขยี ว
และลกั ษณะฝกั สีเหลืองในอัตราสว่ น 3:1)
- การเขา้ ค่ขู องยีนเปน็ ไปตามกฎความนา่ จะเปน็ อย่างไร
(ยีน G ของสเปิร์มมโี อกาสไปรวมกบั ยนี G ของเซลลไ์ ข่ = ½ x ½ =1/4)
ยีน G ของสเปิรม์ มโี อกาสไปรวมกบั ยีน g ของเซลลไ์ ข่ = (½ x ½ ) + (½ x ½) = 2/4
ยีน g ของสเปิรม์ มโี อกาสไปรวมกับยนี g ของเซลล์ไข่ = ½ x ½ =1/4)
4) ครอู ธิบายเขา้ ใจวา่ ในสมยั นนั้ ยงั ไมม่ ีความรเู้ กี่ยวกบั การแบ่งเซลลแ์ บบไมโอซิส ทาใหเ้ มนเดลไมร่ ู้
วา่ ยนี ทีเ่ ป็นคู่กันจะแยกออกจากันในระหว่างท่มี ีการสรา้ งเซลล์สืบพันธุ์ ตาเมนเดลนาหลกั
คณิตศาสตร์ เรอื่ ง กฎความนา่ จะเปน็ มาใชว้ เิ คราะห์ข้อมลู ทาให้คน้ พบกฎแห่งการแยกได้
5) ครูนาเสนอ power point เรอ่ื งกระบวนการแบ่งเซลลแ์ บบไมโอซสิ ในการสร้างเซลลส์ ืบพนั ธุ์ โดย
อธบิ ายให้นกั เรยี นเขา้ ใจวา่ ฮอมอไซกสั โครโมโซมจะแยกออกจากกนั ในระยะแอนนาเฟส I
เชน่ เดียวกบั การแยกของคู่ยีน ทาให้ในเซลลส์ บื พันธไ์ุ ม่ปรากฏยนี ทีเ่ ป็นแอลลีลกัน และไม่มีฮ
อมอโลกัสโครโมโซม โดยถ้ายนี อยูใ่ นสภาพท่ีเป็นเฮเทอโรไซกสั เมอ่ื แบง่ เซลล์แล้วเซลล์สืบพนั ธจ์ุ ะ
มี 2 แบบ แตล่ ะแบบมีโอกาสเกิดเท่ากับ ½

6) ครนู าเสนอ power point เรอื่ ง การขม่ ไม่สมบรู ณ์ โดยถามคาถามนักเรยี นวา่ ในการผสมพนั ธุ์
ของพอ่ แม่ทมี่ ลี ักษณะแตกต่างกัน 2 ลกั ษณะพร้อมกนั การแยกคู่ของยนี ไปยังเซลลส์ ืบพันธจ์ุ ะ
เหมอื นกับการแยกคู่ของยนี ท่ีพจิ ารณาลกั ษณะเดียวหรอื ไม่ โดยครยู งั ไมเ่ ฉลยคาตอบท่ีถูกตอ้ ง

7) ครอู ธบิ ายพร้อมยกตวั อยา่ งการผสมพิจารณาลักษณะเดียว (monohybrid cross) และการผสม
พิจารณาสองลกั ษณะ (dihybrid cross) ใหน้ กั เรียนฟงั แล้วใหน้ กั เรียนดรู ปู การผสมพจิ ารณาสอง
ลกั ษณะโดยนาพอ่ พนั ธ์ุที่มีลักษณะเมล็ดกลมสเี หลืองผสมพนั ธก์ุ บั แมพ่ นั ธท์ุ มี่ ีลกั ษณะเมล็ดขรุขระ
สเี ขียว

8) ครสู รปุ ผลการทดลองของเมนเดลใหน้ ักเรียนเหน็ วา่ รูปร่างของเมลด็ และสีขอเมล็ดมกี ารถา่ ยทอด
อย่างเปน็ อสิ ระตอ่ กัน แล้วตัง้ คาถามถามนักเรยี น ดงั น้ี
- ร่นุ F1 มโี อกาสสรา้ งเซลล์สืบพันธไ์ุ ดก้ ่ีแบบ อะไรบ้างและรูปแบบยีนในเซลล์สบื พันธเ์ุ ป็นไป
ตามกฎการแยกหรือไม่ (รุ่น F1 สรา้ งสเปริ ์มและเซลล์ไขไ่ ด้ 4 แบบ คือ RY Ry rY ry โดยยีน
แต่ละคูข่ อง RrYy จะแยกออกจากกนั ตามกฎการแยกของเมนเดล และไปเลือกจับกับยีนใด
ยนี หน่งึ ของยนี อกี คูห่ นึ่งอย่างอิสระ)
- ร่นุ F2 มโี อกาสเกิดจโี นไทป์และฟโี นไทปก์ แ่ี บบ อะไรบา้ ง (รนุ่ F2 มีโอกาสเกิดจีโนไทป์ได้ 9
แบบ คือ RRYY RRYy RRyy RrYy Rryy RrYY rrYY rrTy rryy และมโี อกาสเกิดฟโี นไทป์ 4
แบบ ไดแ้ ก่ เมล็ดกลมสเี หลอื ง เมล็ดกลมสีเขยี ว เมล็ดขรุขระสีเหลือง และเมล็ดขรุขระสเี ขียว
ในอตั ราสว่ น 9:3:3:1)
- รุ่น F2 มีโอกาสเกดิ ฟีโนไทป์ทมี่ ีลักษณะเหมือนร่นุ พอ่ แมเ่ ป็นเท่าใด (ร่นุ F2 มโี อกาสที่จะ
เกิดฟโี นไทปเ์ หมือนรุ่นพ่อแมเ่ ทา่ กบั 2/16 โดยมโี อกาสเกิด RRYY และ rryy = 1/16 +
1/16 = 2/16)

9) ครูตงั้ คาถามถามนกั เรียนวา่ ร่นุ F2 มฟี ีโนไทป์ 9:3:3:1 เกิดขน้ึ ได้อย่างไร ใหน้ ักเรียนร่วมกนั
อภิปรายคาตอบของคาถาม หรือแสดงวิธีคิดแล้วนาเสนอหน้าชน้ั เรียน โดยครูอธบิ ายใหเ้ ข้าใจว่า
ถ้านาแต่ละลกั ษณะ คือ ลักษณะรปู รา่ งของเมลด็ และลกั ษณะสขี องเมลด็ มาแยกศึกษา จะได้
อัตราส่วนของลกั ษณะเมล็ดกลมกบั เมล็ดขรขุ ระเทา่ กับ 3: 1 และอตั ราส่วนของลกั ษณะเมลด็ สี
เหลอื งกบั เมลด็ สเี ขียวเทา่ กบั 3:1 เมือ่ นาอตั ราสว่ นของสองลักษณะมาคณู กนั จะได้รนุ่ F2 ทมี่ ี
ฟีโนไทป์ 4 ลกั ษณะ อัตราสว่ น 9:3:3:1 ซ่งึ เป็นไปตามกฎการคูณของความน่าจะเป็น

10) ครูสรุปใหน้ ักเรยี นเขา้ ใจวา่ การแยกคขู่ องยนี ทง้ั 2 คู่ไปยงั เซลลส์ ืบพันธแุ์ ละการรวมกันอย่าง
อสิ ระ ทาให้คน้ พบกฎแห่งการรวมกลมุ่ อย่างอสิ ระทส่ี ามารถนาไปอธิบายการผสมทพ่ี ิจารณา
มากกวา่ 1 ลกั ษณะได้ แลว้ ใหน้ กั เรยี นร่วมกันสรปุ ใจความของกฎการถ่ายทอดลักษณะทาง

พนั ธุกรรมอกี ครง้ั หนงึ่ โดยครสู รุปใหน้ กั เรียนฟังวา่ ความเปน็ อสิ ระของแฟกเตอรข์ องเมนเดล

เกิดข้ึนจากการทีแ่ ฟกเตอร์เหล่านัน้ อยบู่ นฮอมอโลกสั โครโมโซมต่างคู่กนั

กจิ กรรมรวบยอด

1) ให้นักเรยี นทาแบบทดสอบ เพ่อื ทบทวนความรทู้ ีน่ ักเรยี นได้รบั จากการเรยี นโดยใหน้ ักเรียนตอบ

คาถามต่อไปน้ี

- รุ่น F1 มีโอกาสสร้างเซลล์สบื พันธ์ไุ ดก้ ี่แบบ อะไรบ้างและรูปแบบยนี ในเซลล์สืบพันธุ์เป็นไป

ตามกฎแหง่ การแยกหรอื ไม่

- รุ่น F2 มีโอกาสเกิดจโี นไทป์และฟโี นไทปก์ แี่ บบ อะไรบ้าง

- รนุ่ F2 มีโอกาสเกิดฟโี นไทป์ทม่ี ีลกั ษณะเหมือนรุ่นพอ่ แม่เปน็ เทา่ ใด

2) ครตู รวจสอบการบนั ทกึ ความรู้ทีไ่ ด้จากการเรยี นและการตอบคาถาม

9. สื่อและแหลง่ การเรียนรู้

สอ่ื

1) Power point ประกอบการเรียนรู้ เร่อื ง กฎแห่งการแยกและการรวมกล่มุ อยา่ งอิสระ

2) หนังสือเรยี น รายวชิ าเพิม่ เตมิ ชีววทิ ยา 2 ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 4-6 ของ สสวท

แหลง่ การเรียนรู้

1) หนงั สือหรอื วารสารวทิ ยาศาสตร์

2) สารานุกรมวทิ ยาศาสตร์

3) อนิ เทอรเ์ นต็

10. การวดั และประเมนิ ผล

เป้าหมาย หลักฐาน เครือ่ งมือวัด เกณฑ์การประเมิน

สาระสาคัญ

-กฎแหง่ การแยก -สมดุ -การถาม/ตอบ -สามารถตอบคาถามได้

อยา่ งถูกตอ้ ง

-กฎแหง่ การรวมกลุ่มอย่าง -สมดุ -การถาม/ตอบ -สามารถตอบคาถามได้

อิสระ อย่างถูกต้อง

ผลการเรยี นรู้ -สมุด -การถาม/ตอบ -สามารถตอบคาถามได้
อย่างถกู ตอ้ ง
-อธิบายและสรปุ การศึกษาพนั ธุ -ความตรงต่อเวลาและ
จานวนครั้งทีเ่ ข้าเรียน -การเข้าชน้ั เรยี นสายไม่เกิน
ศาสตรข์ องเมนเดล ความนา่ จะ -การถาม/ตอบ 15 นาที และจานวนคร้งั
ทีเ่ ขา้ เรยี นมากกวา่ 80 %
เปน็ และกฎการแยก กฎแหง่ -สามารถตอบคาถามได้
อยา่ งถกู ตอ้ ง
การรวมกลมุ่ อยา่ งอิสระ และ

การผสมเพ่อื ทดสอบ รวมทัง้

ลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมที่

นอกเหนือกฎของเมนเดลได้

-ต้ังคาถามท่อี ย่บู นพ้นื ฐานของ

ความรู้และความเข้าใจทาง

วทิ ยาศาสตร์ หรือความสนใจ

หรอื จากประเด็นทเ่ี กดิ ขึน้ ใน

ขณะนัน้ ทีส่ ามารถทาการสารวจ

ตรวจสอบหรือศกึ ษาค้นควา้ ได้

อย่างครอบคลุมและเช่ือถอื ได้

คณุ ลักษณะ

-ใฝ่เรียนรู้ -การเขา้

ชั้นเรียน

-มุ่งมัน่ ในการทางาน -ความสนใจใน
การเรียน

11. บนั ทึกหลงั การสอน
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ปญั หา/อุปสรรค
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ข้อเสนอแนะ/วิธีแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

บนั ทกึ การสง่ แผนจัดการเรียนรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

(..……………………………….……)
นางจิราณฐั สาธพิ า

ความเหน็ หัวหนา้ กลมุ่ สาระ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

(..……………………………….……)
นางสาวทพิ วรรณ เมอื งมลู
ความเห็นของรองผู้อานวยการ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

(..……………………………….……)
นางสาวกฤตมิ า มะโนพรม

ความเหน็ ของผู้อานวยการ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

(..……………………………….……)
นายปยิ ะ ใจชุ่ม

แผนการจัดการเรยี นรู้

รหัสวิชา ว32142 ชื่อรายวิชา ชวี วทิ ยา 2 ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 4

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรยี นท่ี 2

ชอ่ื หนว่ ยการเรยี นรู้ พนั ธศุ าสตร์

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 4 เรื่อง การผสมเพื่อทดสอบ การขม่ ไมส่ มบูรณ์ เวลา 2 ชั่วโมง

ผูส้ อน นางจริ าณฐั สาธิพา

..............................................................................................................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ว1.2 เขา้ ใจกระบวนการและความสาคัญของการถา่ ยทอดลกั ษณะทางพันธกุ รรม

วิวฒั นาการของสิ่งมชี ีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้เทคโนโลยีชีวภาพทีม่ ผี ลกระทบตอ่

มนุษย์และส่งิ แวดล้อม มกี ระบวนการสบื เสาะหาความรแู้ ละจิตวทิ ยาศาสตร์ สื่อสารสง่ิ ท่ีเรยี นรู้และนา

ความรู้ไปใช้ประโยชน์

2. ผลการเรยี นรู้

1) อธิบายและสรปุ การศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดล ความนา่ จะเป็นและกฎการแยก กฎแหง่ การ

รวมกลมุ่ อย่างอสิ ระ และการผสมเพ่อื ทดสอบ รวมท้งั ลักษณะทางพันธกุ รรมทน่ี อกเหนือกฎของ

เมนเดลได้

2) ตัง้ คาถามทีอ่ ยู่บนพื้นฐานของความรูแ้ ละความเข้าใจทางวทิ ยาศาสตร์ หรอื ความสนใจหรอื จาก

ประเด็นทเี่ กิดข้นึ ในขณะน้นั ท่ีสามารถทาการสารวจตรวจสอบหรือศกึ ษาคน้ คว้าได้อยา่ ง

ครอบคลมุ และเชอ่ื ถือได้

3. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด

- การผสมเพอื่ ทดสอบ เป็นวธิ กี ารหนึง่ ทีใ่ ช้ในการทดสอบหาจีโนไทปข์ องสง่ิ มชี วี ติ ท่ีสงสยั โดย

นาสิง่ มชี วี ติ ที่สงสยั ไปทดสอบกับสง่ิ มชี ีวิตท่มี ีลกั ษณะดอ้ ย ถา้ ลกู ท่ีเกิดมามีลักษณะเดน่

ทงั้ หมด แสดงว่าจีโนไทป์ของสง่ิ มชี วี ติ ทสี่ งสยั เปน็ ฮอมอไซกสั แตถ่ า้ ลูกท่ีเกดิ มามลี ักษณะเดน่

: ลกั ษณะด้อยเทา่ กับ 1:1 แสดงวา่ ส่ิงมีชีวติ ท่ีสงสัยมจี ีโนไทปเ์ ป็นเฮเทอโรไซกัส

- การขม่ ไมส่ มบรู ณแ์ ละการขม่ ร่วมกนั เปน็ ลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมที่เปน็ ส่วนขยายของเมนเดล

โดยการข่มไมส่ มบรู ณ์จะทาให้ร่นุ F1 ท่ีเกดิ มามลี ักษณะผสม คอื แสดงออกทัง้ ลกั ษณะเด่น

และลักษณะดอ้ ย สว่ นการข่มร่วมกนั จะทาให้รนุ่ F1 แสดงลักษณะเด่นได้เทา่ ๆ กัน

4. สาระการเรียนรู้
ความรู้
- การผสมเพอื่ ทดสอบ
- การข่มไมส่ มบูรณ์
- การข่มร่วมกัน
ทกั ษะ/กระบวนการ
1) ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
2) ทักษะการคิด
3) ทักษะการเรียนรู้
4) ทกั ษะการแก้ปัญหา
5) ทกั ษะกระบวนการทางานกลุ่ม

5. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1) อธบิ ายหลักการและความสาคัญของวิธกี ารผสมเพือ่ ทดสอบได้
2) สืบคน้ ข้อมูล อภปิ ราย และอธิบายการข่มไม่สมบูรณ์ และการขม่ รว่ มกันได้
3) นาความรู้ไปใช้ในการหาโอกาสเกดิ ลักษณะทถ่ี า่ ยทอดทางพันธุกรรมที่เปน็ ส่วนขยายของพนั ธุ
ศาสตรเ์ มนเดล

6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1) ใฝ่เรยี นรู้
2) มุ่งมัน่ ในการทางาน

7. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน
1) ความสามารถในการสอื่ สาร
2) ความสามารถในการคิด
3) ความสามารถในการแก้ปัญหา

8. กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ข้นั นาเข้าสู่บทเรยี น
ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั ทบทวนสิง่ ทน่ี กั เรยี นได้เรียนรู้ไปแลว้
ข้ันจัดการเรียนรู้
จดั กิจกรรมการเรยี นรโู้ ดยใช้กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ ซ่งึ มีขนั้ ตอน ดงั น้ี

1) ครนู าเสนอ power point เร่ือง การผสมเพอื่ ทดสอบ โดยใหน้ กั เรยี นดูรูปกระต่ายและหนแู กสบ้ี
แล้วครูตัง้ คาถามถามนักเรียนวา่ กระต่ายและหนูแกสบท้ี ีเ่ ห็นในรปู มจี ีโนไทปอ์ ย่างไร ถา้
- กรณกี ระตา่ ยขนสดี าและกระต่ายขนสีขาว โดยมลี ักษณะขนสดี าเป็นลักษณะเดน่
- กรณหี นูแกสบข้ี นสนี ้าตาลและขนสีขาว โดยมีลักษณะสีดาเป็นลกั ษณะเดน่
นกั เรยี นร่วมกนั ตอบคาถาม โดยได้ขอ้ สรปุ ว่า ในกรณขี องกระตา่ ย ถา้ กาหนด B
เป็นแอลลีลขนสีดา และ b แทนแอลลลี ขนสขี าว กระต่าบขนสขี าวเปน็ ลกั ษณะด้อยจะแสดง
ลกั ษณะสขี าวเมอ่ื จีโนไทป์ bb สว่ นกระตา่ ยขนสีดาซ่ึงเป็นลกั ษณะเด่นจะแสดงขนสดี าไดแ้ ม้
จะมแี อลลลี B เพยี งแอลลีลเดียว ดงั นนี้ จโี นไทปข์ องกระต่ายขนสดี า จะเป็น 2 แบบ คอื BB
หรอื Bb แสดงว่าเป็นฮอมอไซกัสหรือเฮเทอโรไซกสั ก็ไดแ้ ละในกรณีของหนูแกสบ้ีก็สามารถ
อธิบายได้โดยใชห้ ลกั การเดียวกนั

2) ครูต้งั คาถามถามนักเรยี นวา่ เรารไู้ ดอ้ ยา่ งไรวา่ กระตา่ ยขนสดี าและหนูแกสบีข้ นสีขาสมีจโี นไทป์
เป็นฮอมอไซกัสหรือเฮเทอโรไซกสั นักเรียนร่วมกยั อภปิ รายคาตอบ โดยครยู ังไมเ่ ฉลยคาตอบที่
ถกู ตอ้ ง

3) ครูอธิบายให้นกั เรียนฟงั ว่า การผสมเพ่อื ทดสอบ (testcroos) เป็นวธิ กี ารหนง่ึ ทีใ่ ช้ในการทดสอบ
หาจโี นไทป์ของสงิ่ มีชวี ติ ที่สงสัย โดยนาส่ิงมีชีวติ ที่สงสยั ไปทดสอบกับสิ่งมีชีวิตทมี่ ีลกั ษณะดอ้ ย ถ้า
ลกู ทเ่ี กิดมามีลักษณะเดน่ ทง้ั หมด แสดงวา่ จีโนไทปข์ องส่งิ มชี ีวติ ท่ีสงสัยเป็นฮอมอไซกัส แตถ่ ้าลูกท่ี
เกดิ มามีลกั ษณะเด่น : ลักษณะดอ้ ย เท่ากับ 1:1 แสดงวา่ สง่ิ มีชีวติ ที่สงสัยมีจโี นไทป์เป็นเฮเทอ
โรไซกัส พร้อมยกตัวอยา่ งการผสมเพ่อื หาจโี นไทป์ของกระต่ายขนสดี า

4) ครอู ธิบายเพ่ิมเตมิ เกย่ี วกบั การผสมกลับ (backcross) ว่าในสมัยของเมนเดลยังไม่มีการคน้ พยการ
แบง่ เซลลแ์ บบไมโอซสิ แตเ่ มนเดลรไู้ ดว้ ่าลกั ษณะสีของดอกในรนุ่ F1 ทเี่ ปน็ สีม่วงน้นั เป็นพันธ์ุผสม
มีจีโนไทป์เปน็ เฮเทอโรไซกสั Pp และลักษระของดอกในรุน่ F2 ทเ่ี ปน็ สีม่วงมจี ีโนไทป์เป็นเฮเทอโร
ไซกัส Pp อยู่ 2/3 และเป็นฮอมอไซกสั PP อยู่ 1/3 ได้โดยการนาต้นท่ีมดี อกสมี ่วงในรุ่น F1มา
ถ่าย (ละออง) เรณูข้ามกับดอกสขี าวในรุ่น P ถา้ ลูกที่เกมิ ามีดอกสมี ว่ งทัง้ หมด แสดงวา่ ดอกสมี ่วง
ในรนุ่ F1 มีจโี นไทปเ์ ปน็ PP แตถ่ า้ ลูกที่เกดิ มามีดอกสมี ว่ ง : สขี าว เทา่ กับ 1:1 แสดงว่าดอกสมี ่วง
ในรนุ่ F1 มจี โี นไทป์ Pp นกั วิทยาศาสตรเ์ รยี กการทดสอบของเมนเดลโดยการนาร่นุ ลกู กลบั ไป
ผสมพันธ์กุ บั รุ่นพ่อแม่ว่า การผมกลบั

5) ครนู าเสนอ power point เรือ่ ง การข่มไมส่ มบูรณ์ โดยถามคาถามนกั เรียนว่า เมอื่ นาต้นบานเย็น
ดอกสแี ดงผสมกบั ดอกสีขาว รนุ่ F1 จะมลี ักษณะอย่างไร นกั เรียนรว่ มกนั อภิปรายคาตอบ โดย
การข้อสรุปร่วมกนั วา่ การผสมพนั ธตุ์ น้ บานเยน็ ดอกสแี ดงซ่ึงเป็นลักษณะเดน่ กบั ดอกสขี าวซง่ึ เปน็

ลกั ษณะด้อย ถา้ จีโนไทปข์ องพอ่ แม่เปน็ ฮอมอไซกสั ทั้งคู่ ลูกรนุ่ F1 จะมีดอกสีแดงทงั้ หมด แต่ถ้า
พอ่ และแม่เป็นเฮเทอโรไซกัสทง้ั คู่ ลูกรุ่น F1 จะมดี อกสีแดงตอ่ ดอกสีขาวอตั ราส่วนเทา่ กับ 1:1
6) ครนู าเสนอผลการทดลองของคาร์ล คอรเ์ ลนส์ ทพี่ บวา่ เมือ่ นาตน้ บานเยน็ ดอกสแี ดงและดอกสี
ขาวผสมกันจะไดด้ อกสชี มพู ซ่งึ ไมเ่ ป็นไปตามกฎของเมนเดล แลว้ ถามนกั เรยี นวา่ เปน็ เพราะเหตุ
ใดพร้อมทั้งร่วมกนั สรปุ การผสมพนั ธุ์ต้นบานเยน็ ดอกสีแดงกบั ดอกสีขาวท่เี ป็นไปตามกฎของเมน
เดล และตามการทดลองของคาร์ล คอรเ์ รนส์รว่ มกัน
7) ครูใหน้ กั เรยี นศกึ ษาขอ้ มูลเกย่ี วกบั การผสมต้นลน้ิ มงั กรพนั ธ์ุดอกสีแดงและดอกสีขาว ซง่ึ ได้รุ่น F1
ดอกสชี มพู และรุ่น F2 มีอตั ราสว่ นดอกสแี ดง : ดอกสีชมพู : ดอกสีขาว เท่ากับ 1:2:1 แล้วสรุป
รว่ มกันว่าลกั ษณะสีของดอกล้ินมงั กรถูกควบคมุ ดว้ ยยีน 2 แอลลลี โดยแอลลีลหน่งึ ข่มแอลลีลที่
เปน็ คูก่ นั ไมส่ มบรู ณ์ แล้วถามคาถามนักเรียนว่า
- รุน่ F2 มีฟโี นไทปแ์ ละจโี นไทป์เปน็ อย่างไร ในอตั ราส่วนเทา่ ใด และแตกต่างจากผลการ

ทดลองของเมนเดลอยา่ งไร
(รุ่น F2 มอี ตั ราสว่ นของจโี นไทป์ RR : RR’ : R’R’ เท่ากบั 1: 2: 1 และมีอตั ราส่วนของฟีโน
ไทป์เป็นดอกสีแดง : ดอกสีชมพู : ดอกสีขาว เท่ากับ 1 : 2 : 1 แตผ่ ลการทดลองของ
เมนเดล รนุ่ F2 มี 2ลกั ษณะ คือ ลักษณะเดน่ : ลกั ษณะด้อย เทา่ กับ 3 : 1 )
8) ครใู หน้ กั เรียนศกึ ษาการถา่ ยทอดลกั ษณะผมหยิก ผมเหยยี ดตรงและผมหยักศก จากน้ันให้
นกั เรียนตอบคาถามตอ่ ไปนี้
- ลกู ท่ีเกดิ จากพอ่ และแม่ทมี่ ีผมหยักศกจะมฟี ีโนไทปอ์ ยา่ งไร อัตราสว่ นเทา่ ใด
(ลกู ทเ่ี กดิ มาจะมฟี โี นไทปแ์ ละจไี ทป์ 3 แบบ คอื ผมหยิก (HH) ผมหยกั ศก (HH’) : ผมเหยียด
ตรง (H’H’) โดยมอี ัตราสว่ นเท่ากบั 1: 2 : 1)
- ถ้าพอ่ ผมเหยยี ดตรงและแมผ่ มหยิก ลูกที่เกิดมาจะมฟี ีโนไทป์เปน็ อย่างไร
(ลกู ท่ีเกดิ มาจะมเี สน้ ผมหยกั ศก)
- เหตุใดการถ่ายทอดลักษณะเส้นผมในคนจึงเป็นการข่มไมส่ มบรู ณ์
(เพราะแอลลลี ของผมเหยียดตรงและแอลลีลของผมหยกิ เป็นแอลลีลเดน่ ไมส่ มบรู ณ์ ทาให้
ฟโี นไทป์ของลูกที่เกดิ มาแตกต่างจากพ่อแม่และอยู่ระหว่างฟีโนไทป์ของพอ่ แม่ที่เปน็ ฮอมอไซกัส)
9) ครนู าเสนอ Power point เรื่องการขม่ ร่วมกนั โดยถามคาถามนกั เรียนว่า หมู่เลือด ABO ของคน
ถา่ ยทอดมาได้อย่างไร นกั เรียนรว่ มกนั อภปิ รายคาตอบ โดยครอู ธบิ ายเกย่ี วกบั หมูเ่ ลอื ดระบบ
ABO ทนี่ กั เรียนไดเ้ รียนรมู้ าแล้ว โดยให้ศึกษาการถ่ายทอดหมู่เลือด AB ของลกู ทเ่ี กิดจากพอ่ และ
แมท่ ีม่ หี มู่เลอื ด A และ B ทีเ่ ป็นฮอมอไซกัสโดมิแนนทห์ รอื เมื่อพอ่ และแมม่ หี ม่เู ลือด A และ B ท่ี

เป็นเฮเทอโรไซกัส และการถา่ ยทอดสีขนในมา้ ท่มี ขี นสโี รน ซึ่งนักเรยี นควรได้ข้อสรปุ ร่วมกนั วา่
แอลลีลของหมู่เลือดและสขี นของสัตว์บางชนดิ เป็นแอลลีลท่แี สดงลกั ษณะเด่นได้ทง้ั คู่ จึง
แสดงออกร่วมกนั ได้ทั้ง 2 ลักษณะ
กิจกรรมรวบยอด
1) ใหน้ ักเรยี นตอบคาถามตอ่ ไปน้ี
- ลกู ท่ีเกิดจากพ่อและแมท่ ่มี ีผมหยักศกจะมีฟีโนไทปแ์ ละจโี นไทป์อยา่ งไร อตั ราสว่ นเท่าใด
- ถ้าพ่อผมเหยียดตรงและแมผ่ มหยิก ลกู ทเ่ี กิดมาจะมีฟโี นไทป์เป็นอยา่ งไร
- เหตใุ ดการถ่ายทอดลกั ษณะเสน้ ผมในคนจงึ เปน็ การขม่ ไม่สมบรู ณ์
2) ครตู รวจสอบการบันทกึ ความรูท้ ่ีไดจ้ ากการเรยี นและการตอบคาถาม
9. สือ่ และแหล่งการเรยี นรู้
ส่อื
1) Power Point ประกอบการเรียนรู้ เร่ือง การผสมเพอ่ื ทดสอบ การขม่ ไมส่ มบรู ณ์ และการขม่
รว่ มกัน
2) หนงั สอื เรียน รายเพ่ิมเตมิ ชีววทิ ยา 2 ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 4-6 ของ สสสวท
แหล่งการเรยี นรู้
1) หนังสอื หรอื วารสารวิทยาศาสตร์
2) สารานุกรมวทิ ยาศาสตร์
3) อนิ เทอร์เน็ต

10. การวดั และประเมินผล หลักฐาน เคร่อื งมอื วัด เกณฑก์ ารประเมิน
เป้าหมาย -สามารถตอบคาถามได้อยา่ ง
-สมดุ -การถาม/ตอบ ถกู ต้อง
สาระสาคญั -สามารถตอบคาถามไดอ้ ยา่ ง
-การสมเพอื่ ทดสอบ ถกู ตอ้ ง
-สามารถตอบคาถามได้อย่าง
-การขม่ ไม่สมบรู ณ์ -สมุด -การถาม/ตอบ ถูกตอ้ ง
-สามารถตอบคาถามไดอ้ ยา่ ง
-การขม่ รว่ มกัน -การถาม/ตอบ ถกู ต้อง

ผลการเรียนรู้ -สมุด -การถาม/ตอบ -การเข้าชน้ั เรยี นสายไมเ่ กิน 15
นาที และจานวนคร้งั ท่เี ข้าเรยี น
-อธิบายและสรุปการศึกษาพันธุ -ความตรงตอ่ เวลาและ มากกวา่ 80 %
จานวนครง้ั ทเี่ ขา้ เรียน -สามารถตอบคาถามไดอ้ ยา่ ง
ศาสตร์ ของเมนเดล ความน่าจะ ถูกตอ้ ง

เปน็ และกฎการแยก กฎแห่งการ

รวมกล่มุ อย่างอิสระ และการผสม

เพอื่ ทดสอบ รวมทั้งลกั ษณะทาง

พนั ธุกรรมที่นอกเหนือกฎของเมน

เดลได้

-ต้ังคาถามท่อี ยู่บนพืน้ ฐานของ

ความรู้และความเขา้ ใจทาง

วทิ ยาศาสตร์ หรือความสนใจ

หรือจากประเด็นทเี่ กิดขน้ึ ใน

ขณะนนั้ ทีส่ ามารถทาการสารวจ

ตรวจสอบหรอื ศกึ ษาคน้ คว้าได้

อย่างครอบคลมุ และเชื่อถอื ได้

คุณลกั ษณะ

-ใฝ่เรยี นรู้ -การเขา้ ชนั้

เรยี น

-มุ่งมั่นในการทางาน -ความสนใจใน -การถาม/ตอบ
การเรียน

11. บนั ทึกหลงั การสอน
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ปญั หา/อุปสรรค
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ข้อเสนอแนะ/วิธีแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

บนั ทกึ การสง่ แผนจัดการเรียนรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

(..……………………………….……)
นางจริ าณฐั สาธิพา

ความเหน็ หัวหนา้ กลมุ่ สาระ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

(..……………………………….……)
นางสาวทพิ วรรณ เมอื งมูล
ความเห็นของรองผู้อานวยการ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

(..……………………………….……)
นางสาวกฤตมิ า มะโนพรม

ความเหน็ ของผู้อานวยการ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

(..……………………………….……)
นายปยิ ะ ใจช่มุ

แผนการจัดการเรยี นรู้

รหสั วิชา ว32142 ช่ือรายวิชา ชีววทิ ยา 2 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 4

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรียนท่ี 2

ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ พนั ธศุ าสตร์

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 5 เรอ่ื ง มัลตเิ ปลิ แอลลลี และพอลิยีน เวลา 2 ช่วั โมง

ผสู้ อน นางจริ าณัฐ สาธิพา

..............................................................................................................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ว1.2 เขา้ ใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธุกรรม

วิวัฒนาการของสิง่ มชี วี ติ ความหลากหลายทางชวี ภาพ การใชเ้ ทคโนโลยีชวี ภาพทม่ี ผี ลกระทบตอ่

มนุษยแ์ ละสงิ่ แวดล้อม มกี ระบวนการสบื เสาะหาความรแู้ ละจติ วิทยาศาสตร์ สอื่ สารสิง่ ทเ่ี รยี นรู้และนา

ความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

2. ผลการเรยี นรู้

1) อธบิ ายและสรปุ การศึกษาพนั ธศุ าสตรข์ องเมนเดล ความน่าจะเป็นและกฎการแยก กฎแห่งการ

รวมกลมุ่ อย่างอสิ ระ และการผสมเพ่ือทดสอบ รวมทงั้ ลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมท่ีนอกเหนอื กฎของ

เมนเดลได้

2) ตัง้ คาถามทอี่ ยู่บนพื้นฐานของความรู้และความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์ หรอื ความสนใจ หรือจาก

ประเด็นทเี่ กดิ ขน้ึ ในขณะนัน้ ท่ีสามารถทาการสารวจตรวจสอบหรือศกึ ษาค้นคว้าได้อย่างครอคลุม

และเชื่อถอื ได้

3. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด

- มัลติเปิลแอลลีล คอื ยนี หรอื แอลลีลที่มากกวา่ 2 ชนดิ ทค่ี วบคมุ ลักษณะใดลักษณะหน่ึงของ

ส่งิ มีชีวิต

- พอลยี ีน คือ กลมุ่ ของยนี หลายคู่ที่ควบคมุ ลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมลักษณะเดียว

4. สาระการเรียนรู้

ความรู้

- มลั ติเปิลแอลลลี

- พอลยิ ีน

ทกั ษะ/กระบวนการ

1) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

2) ทักษะการคดิ
3) ทักษะการเรยี นรู้
4) ทกั ษะการแก้ปญั หา
5) ทกั ษะกระบวนการทางานกลุ่ม
5. จุดประสงค์การเรยี นรู้
1) สืบคน้ ข้อมลู และเปรียบเทียบลักษณะทางพนั ธกุ รรมของมัลติเปิลแอลลีลและพอลยิ ีนได้
2) นาความรู้ไปใช้ในการหาโอกาสเกิดลกั ษณะท่ีถ่ายทอดทางพนั ธุกรรมท่ีเปน็ สว่ นขยายของพันธุ

ศาสตรเ์ มนเดล
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์

1) ใฝ่เรยี นรู้
2) มุง่ มัน่ ในการทางาน
7. สมรรถนะสาคัญของการเรยี น
1) ความสามารถในการสอ่ื สาร
2) ความสามารถในการคดิ
3) ความสามารถในการแกป้ ญั หา
8. กระบวนการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
ขั้นนาเขา้ สบู่ ทเรียน
1) ครแู ละนักเรียนรว่ มกนั ทบทวนสงิ่ ทน่ี กั เรียนได้เรียนรู้ไปแลว้
2) ครทู บทวนความหมายของแอลลีล และแอลลีลที่ควบคุมลักษณะหมูเ่ ลือด คอื IA IB และ i ที่

นักเรียนได้เรียนร้มู าแล้ว โดยตงั้ คาถามถามนักเรยี นว่า ลักษณะทุกลกั ษณะของสิง่ มีชวี ติ ยีนท่ี
ควบคุมเพยี ง 2 แอลลีลเทา่ น้นั หรือไม่ นกั เรยี นรว่ มกันอภิปรายคาตอบ โดยครยู งั ไมเ่ ฉลยคาตอบ
ทถี่ กู ต้อง
ขน้ั จัดการเรยี นรู้

จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ซึ่งมีขน้ั ตอนดังนี้
1) ครูนาเสนอ power point เร่อื ง มลั ตเิ ปิลแอลลีล แล้วให้นักเรยี นสืบค้นขอ้ มูลการถ่ายทอด

ลักษณะทางพันธกุ รรมของหมเู่ ลือดระบบ ABO วา่ ควบคมุ ดว้ ยแอลลีลใดบา้ ง ซึ่งนกั เรียนควรได้
ขอ้ สรปุ รว่ มกันวา่ หม่เู ลือด ABO ควบคุมด้วบแอลลลี 3 แอลลีล คือ IA IB และ I ซง่ึ อย่ใู นโลคสั
เดยี วกนั บนฮอโมโลกัสโครโมโซมคู่เดยี วกัน แล้วต้ังคาถามถามนักเรยี นว่า
- เม่อื แอลลีลที่ควบคุมหมูเ่ ลือดมอี ย่ดู ้วยกนั 3 แอลลลี จะมจี โี นไทปเ์ กิดขึ้นไดก้ ่แี บบ และ

มีฟโี นไทป์ท่แี สดงออกอย่างไรบา้ ง (หมเู่ ลือด A และ B มีจีโนไทป์ 2 แบบ คอื IAIA IAi และ IBIB
IBi ตามลาดบั สว่ นหมเู่ ลอื ด AB และ O มจี ีโนไทปแ์ บบเดยี ว คอื IAIB และ ii ตามลาดบั )
2) ครใู ห้นกั เรียนศกึ ษาการตรวจสอบหมู่เลอื ด โดยอธิบายใหน้ ักเรียนเข้าใจว่า การศกึ ษาการ
ถา่ ยทอดลกั ษณะทางพันธุกรรมของหมเู่ ลอื ด สามารถใช้ตรวจสอบเพื่อยืนยนั เบ้ืองต้นไดว้ า่ บุคคล
น้ันมคี วามสมั พนั ธ์เปน็ พ่อ – ลูก หรือ แม่ – ลูกกนั หรอื ไม่ โดยยกตวั อย่างกรณีทพ่ี อ่ มีหมูเ่ ลอื ด AB
และแมม่ หี มูเ่ ลือด A และกรณที ี่พ่อมหี มเู่ ลือด A และแมม่ หี มเู่ ลอื ด B แลว้ ให้นกั เรยี นทานายชนดิ
ของหมเู่ ลือดที่เกิดจากพ่อและแมท่ มี่ หี มเู่ ลือดตา่ ง ๆ
3) ครูนาเสนอ power point เรอื่ ง พอลยิ นี โดยถามคาถามนกั เรยี นวา่ ลักษณะหนึ่งของสง่ิ มชี วี ติ ถกู
ควบคุมด้วยยีนเพียงคู่เดยี วเสมอไปหรอื ไม่ และมลี ักษณะทางพันธกุ รรมใดบ้างท่ีถกู ควบคมุ ดว้ ย
ยีนหลายคู่ นักเรยี นรว่ มกนั อภิปรายคาตอบ โดยครยู งั ไมเ่ ฉลยคาตอบที่ถูกต้อง
4) ครูอธบิ ายใหน้ ักเรยี นเขา้ ใจว่า ลักษณะทางพนั ธกุ รรมทศี่ กึ ษาโดยเมนเดล เปน็ ลกั ษณะท่ีสามารถ
สงั เกตเห็นความแตกต่างไดช้ ัดเจน เช่น ลักษณะดอกท่เี ป็นดอกสมี ่วงหรอื สขี าว ซ่ึงควบคุมด้วยยนี
เพียง 1 คู่ แต่ลักษณะทางพันธกุ รรมบางชนดิ มียีนท่คี วบคมุ มากกวา่ 1 ยีน ตาแหน่งขึ้นไป
เรยี กวา่ พอลิยนี ซงึ่ เปน็ กลมุ่ ของยนี หลายคทู่ ่ีควบคุมลักษณะทางพนั ธกุ รรมลกั ษณะเดยี ว
5) ครใู ห้นกั เรยี นศึกษาข้อมูลเกย่ี วกับการถ่ายทอดลกั ษณะสขี องเมลด็ ข้าวสาลที ี่เกิดจากการผสมของ
พันธแุ์ ท้เมลด็ สแี ดงเข้มกบั เมล็ดสีขาว แล้วตัง้ คาถามนกั เรียนว่า
- ลกั ษณะสขี องเมล็ดขา้ วสาลถี ูกควบคุมดว้ ยยนี ก่คี ู่ มีลักษณะใดเป็นลกั ษณะเดน่ และลกั ษณะ
ดอ้ ย
- ร่นุ F1 มสี ีอะไร
- รนุ่ F1 เมือ่ ผสมกันเองจะไดร้ นุ่ F2 ที่มสี ขี องเมล็ดข้าวสาลีถกู ควบคุมด้วยยีน 3 คู่ โดยเมล็ดสี
แดงเป็นลักษณะเดน่ เมล็ดสีขาวเป็นลักษณะด้อย รุ่น F1 มสี ีชมพู รุ่น F2 มีเมล็ดมีแตกต่างกนั
6) ครใู ห้นกั เรยี นสงั เกตจานวนของยนี เดน่ จโี นไทป์ของแต่ละร่นุ และการแสดงออกของยนี แตล่ ะคู่
ซึง่ นกั เรียนควรไดข้ ้อสรปุ ร่วมกันวา่ รนุ่ F1 มเี มลด็ สชี มพู เนอื่ งจากจีโนไทป์มแี อลลลี เดน่ และ
แอลลีลดอ้ ย จานวนเท่ากนั คอื 3 แอลลีล (R1r1R2r2R3r3) แต่เมือ่ รุ่น F1 คือ R1r1R2r2R3r3 เท่ากับ
20/64 หรอื 5/16
7) ครยู กตวั อย่างลักษณะทางพนั ธกุ รรมอนื่ ๆ ทเ่ี กิดจากพอลียนี เชน่ สขี นของสุนัข และสีตาของคน
ที่ทาให้ฟโี นไทปแ์ ตกต่างกนั เลก็ น้อยลดหลั่นกันตามจานวนยนี เดน่ แล้งอธิบายใหน้ ักเรยี นเขา้ ใจว่า
เมื่อนามาเขยี นกราฟจะสังเกตเหน็ ลักษณะที่แตกตา่ งกนั ลดหลั่นกันไป มกี ารกระจายแบบโค้งปกติ
เรียกว่า ลกั ษณะทางพนั ธุกรรมทีแ่ ปรผันอย่างตอ่ เนอื่ ง หรอื ลักษณะทางปรมิ าณ ส่วนลักษณะท่ี

แตกตา่ งกนั อย่างชดั เจน เช่น การมีลักยมิ้ หรือไมม่ ีลักย้ิม เปน็ ลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมทแี่ ปรผันไม่

ตอ่ เน่ือง

กจิ กรรมรวบยอด

1) นักเรยี นและครรู ว่ มกนั อภิปราย โดยใช้แนวคาถามต่อไปนี้

- การควบคมุ ลักษณะทางพันธกุ รรมโดยมลั ติเปลิ แอลลีลแตกต่างจากการควบคมุ ลกั ษณะทาง

พนั ธกุ รรมดว้ ยพอลิยีนอยา่ งไร

ลักษณะที่ควบคุมดว้ ยมลั ตเิ ปิลแอลลลี ลกั ษณะทีค่ วบคุมดว้ ยพอลยิ ีน

1. ควบคมุ ด้วยยนี 1 คู่ในบุคคลหนึ่ง 1. ควบคมุ ด้วยยีนหลายคู่

2. ควบคมุ ด้วยยนี หลายแอลลลี ในตาแหนง่ 2. ควบคมุ ดว้ ยยนี หลาตาแหนง่ ของฮอโมโลกสั

เดียวกนั บนฮอมอโลกัสโครโมโซม โครโมโซมตา่ งคู่กัน

3. ลักษณะทีแ่ สดงออกมีความแตกต่างกนั อย่าง 3. ลกั ษณะทแ่ี สดงออกลดหลน่ั กัน เปน็ การแปร

เดน่ ชัด เป็นการแปรผันแบบไม่ต่อเน่ือง ผนั แบบตอ่ เน่ือง

4. สง่ิ แวดล้อมมอี ทิ ธพิ ลต่อการแสดงออกนอ้ ย 4. สิง่ แวดล้อมมีผลตอ่ การแสดงออกของ

มากหรือไมม่ เี ลย ลกั ษณะ

5. เป็นลักษณะเชงิ คุณภาพ 5. เป็นลกั ษณะเชิงปริมาณ

2) ครตู รวจสอบการบันทกึ ความรทู้ ไี่ ดจ้ ากการเรียนและการตอบคาถาม

9. สอ่ื และแหลง่ การเรียนรู้

สื่อ

1) Power point ประกอบการเรียนรู้ เรอื่ ง มัลตเิ ปิลแอลลีลและพอลิยีน

2) หนงั สือเรียน รายวิชาเพ่มิ เติม ชวี วทิ ยา 2 ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4-6 ของ สสวท

แหล่งการเรียนรู้

1) หนงั สอื หรือวารสาริทยาศาสตร์

2) สารานกุ รมวิทยาศาสตร์

3) อินเทอร์เน็ต

10. การวดั และประเมนิ ผล หลกั ฐาน เครื่องมือวดั เกณฑก์ ารประเมนิ
เปา้ หมาย -สามารถตอบคาถามไดอ้ ยา่ ง
-สมุด -การถาม/ตอบ ถกู ต้อง
สาระสาคญั -สามารถตอบคาถามไดอ้ ยา่ ง
-มลั ตเิ ปิลแอลลีล ถกู ตอ้ ง
-สามารถตอบคาถามได้อยา่ ง
-พอลิยีน -สมุด -การถาม/ตอบ ถกู ต้อง

ผลการเรียนรู้ -สมุด -การถาม/ตอบ -การเข้าชน้ั เรยี นสายไมเ่ กิน 15
นาที และจานวนคร้งั ทเ่ี ขา้ เรยี น
-อธิบายและสรุปการศกึ ษาพันธุ -ความตรงต่อเวลาและ มากกว่า 80 %
จานวนคร้ังท่เี ขา้ เรยี น -สามารถตอบคาถามได้อยา่ ง
ศาสตร์ ของเมนเดล ความนา่ จะ ถูกต้อง

เป็นและกฎการแยก กฎแห่งการ

รวมกล่มุ อย่างอสิ ระ และการผสม

เพือ่ ทดสอบ รวมทัง้ ลักษณะทาง

พันธุกรรมที่นอกเหนอื กฎของเมน

เดลได้

-ตงั้ คาถามท่ีอยูบ่ นพ้นื ฐานของ

ความรูแ้ ละความเขา้ ใจทาง

วทิ ยาศาสตร์ หรอื ความสนใจ

หรือจากประเดน็ ทเ่ี กิดขน้ึ ใน

ขณะนนั้ ทสี่ ามารถทาการสารวจ

ตรวจสอบหรือศึกษาค้นควา้ ได้

อย่างครอบคลมุ และเชอ่ื ถือได้

คณุ ลักษณะ

-ใฝ่เรยี นรู้ -การเข้าชน้ั

เรียน

-มุง่ มนั่ ในการทางาน -ความสนใจใน -การถาม/ตอบ
การเรียน

11. บนั ทึกหลงั การสอน
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ปญั หา/อุปสรรค
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ข้อเสนอแนะ/วิธีแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

บนั ทกึ การสง่ แผนจัดการเรียนรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

(..……………………………….……)
นางจิราณัฐ สาธิพา

ความเหน็ หัวหนา้ กลมุ่ สาระ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

(..……………………………….……)
นางสาวทพิ วรรณ เมอื งมลู
ความเห็นของรองผู้อานวยการ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

(..……………………………….……)
นางสาวกฤติมา มะโนพรม

ความเหน็ ของผู้อานวยการ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

(..……………………………….……)
นายปยิ ะ ใจชุ่ม

แผนการจัดการเรียนรู้

รหัสวิชา ว32142 ชื่อรายวชิ า ชวี วทิ ยา 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 4

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนท่ี 2

ชอื่ หนว่ ยการเรียนรู้ พันธศุ าสตร์

แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี 6 เรื่อง ยนี บนโครโมโซมเพศและยีนบนโครโมโซมเดยี วกนั เวลา 2 ชัว่ โมง

ผสู้ อน นางจิราณฐั สาธพิ า

..............................................................................................................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจกระบวนการและความสาคญั ของการถา่ ยทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรม

วิวัฒนาการของส่งิ มชี วี ิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้เทคโนโลยชี วี ภาพทีม่ ีผลกระทบต่อ

มนุษย์และส่ิงแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรแู้ ละจติ วทิ ยาศาสตร์ สื่อสารสงิ่ ที่เรียนรู้และนา

ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

2. ผลการเรียนรู้

1) อธบิ ายและสรุปการศึกษาพนั ธุศาสตรข์ องเมนเดล ความน่าจะเปน็ และกฎการแยก กฎแห่งการ

รวมกล่มุ อยา่ งอสิ ระ และการผสมเพ่ือทดสอบ รวมทัง้ ลักษณะทางพนั ธุกรรมทน่ี อกเหนอื กฎของ

เมนเดลได้

2) ต้งั คาถามท่อี ยู่บนพนื้ ฐานของความรูแ้ ละความเขา้ ใจทางวทิ ยาศาสตร์ หรือความสนใจ หรอื จาก

ประเด็นทเี่ กิดข้ึนในขณะนนั้ ทีส่ ามารถทาการสารวจตรวจสอบหรือศกึ ษาคน้ คว้าได้อยา่ ง

ครอบคลุมและเชอ่ื ถือได้

3) สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด

- การถา่ ยทอดยีนบนโครโมโซม เรยี กวา่ ยีนท่ีเกี่ยวเนอ่ื งกับเพศ ถา้ ยีนมีตาแหนง่ บนโครโมโซม

x เรียกวา่ ยนี ทเ่ี กี่ยวเนอื่ งกบั X (X – linked gene) ถ้ายนี มีตาแหนง่ บนโครโมโซม Y

เรยี กว่า ยนี ท่เี กย่ี วเนอื่ งกบั Y (Y- linked gene)

- ยนี บนโครโมโซมเดียวกนั จะถา่ ยทอดไปดว้ ยกนั แตก่ ารเกดิ คลอสซงิ โอเวอร์ (crossing over)

ท่มี ีการแลกเปล่ยี นชิ้นสว่ นของโครมาทิดจะทาให้ยีนบนโครโมโซมเดยี วกันที่เคยถ่ายทอดไป

ด้วยกนั แยกออกจากกนั และเกดิ การรวมใหมข่ องยีน (genetic recombination) ไปปรากฏ

ในเซลล์สืบพนั ธเ์ุ ดียวกันได้ เม่ือเกดิ การผสมพันธ์ุจึงเกดิ ลกั ษณะท่ีมีความแปรผนั

4. สาระการเรียนรู้
ความรู้
- ยีนบนโครโมโซมเพศ
- ยนี บนโครโมโซมเดยี วกนั
ทกั ษะ/กระบวนการ
1) ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
2) ทกั ษะการคดิ
3) ทักษะการเรยี นรู้
4) ทกั ษะการแก้ปัญหา
5) ทักษะกระบวนการทางานกลุ่ม

5. จุดประสงค์การเรียนรู้
1) สืบค้นขอ้ มลู วเิ คราะห์ อภิปราย และสรุปการถ่ายทอดยนี บนโครโมโซมเพศและทอ่ี ยบู่ น
โครโมโซมเดยี วกัน
2) ยกตวั อยา่ งและเขยี นจโี นไทป์ของยนี บนออโตโซมและยนี บนโครโมโซมเพศได้
3) นาความรูไ้ ปใช้ในการหาโอกาสเกิดลักษณะทถี่ ่ายทอดทางพันธกุ รรมท่ีเป็นสว่ นขยายของพนั ธุ
ศาสตรเ์ มนเดล

6. คณุ ลกั ษณะสาคัญของผู้เรียน
1) ใฝเ่ รยี นรู้
2) มงุ่ มั่นในการทางาน

7. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น
1) ความสามารถในการสือ่ สาร
2) ความสามารถในการคิด
3) ความสามารถในการแกป้ ัญหา

8. กระบวนการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
ขน้ั นาเขา้ สูบ่ ทเรียน
1) ครูและนักเรยี นรว่ มกนั ทบทวนสิ่งท่ีนักเรียนไดเ้ รียนรู้ไปแล้ว
2) ครูทบทวนความรเู้ ดมิ ของนักเรียนเกีย่ วกบั โครโมโซมของมนุษย์ เก่ยี วกับออโตโซมและโครโมโซฒ
เพศ โดยนักเรยี นควรไดข้ ้อสรปุ รว่ มกนั ว่า โครโมโซมเพศหญิงเปน็ 44+XX ส่วนโครโมโซมเพศ
ชายเปน็ 44+XY

ขนั้ จัดการเรยี นรู้
จดั กจิ กรรมการเรยี นรโู้ ดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ซึ่งมีข้นั ตอน ดังน้ี

1) ครูนาเสนอ power point เร่อื ง ยนี บนโครโมโซมเพศ โดยตั้งคาถามถามนกั เรยี นว่า ยีนบน
โครโมโซมเพศแตกต่างจากการถ่ายทอดยีนทอี่ ยู่บนออโตโซมอยา่ งไร นักเรียนรว่ มกันอภปิ ราย
คาตอบ โดยครูยังไมเ่ ฉลยคาตอบที่ถูกต้อง

2) ครูอธิบายใหน้ กั เรยี นเขา้ ใจว่าลกั ษณะทางพันธุกรรมของคนจะถกู ควบคมุ ดว้ ยยนี ทมี่ ีตาแหน่งบน
ออโตโซมและโครโมโซมเพศ โดยยนี ที่อยูบ่ นออโตโซมส่วนใหญ่มกี ารถา่ ยทอดยนี ทเ่ี ป็นไปตามกฎ
ของเมนเดล เชน่ ลักษณะผวิ เผอื ก มะเรง็ ในเรตนิ า และธาลัสซิเมีย แต่มบี างลกั ษณะทไ่ี มเ่ ป็นไป
ตามกฎของเมนเดล เช่น หมเู่ ลือด ABO สผี ิว และสตี า

3) ครใู ห้นักเรียนศกึ ษาโครโมโซมของแมลงหวี่จากการทดลองของ โทมสั ฮันท์ มอร์แกน แล้วตัง้
คาถามถามนกั เรียนวา่
- แมลงหว่ีเพศเมยี และเพศผ้มู โี ครโมโซมอย่างไร (แมลงหวเ่ี พศเมยี และเพศผมู้ จี านวน
โครโมโซม 8 แทง่ เทา่ กัน ต่างกนั ที่โครโมโซมเพศ โดยเพศเมียจะมโี ครโมโซม 6+XX สว่ นเพศ
ผมู้ โี ครโมโซม 6+XY)

4) ครูให้นักเรียนศกึ ษาการผสมพันธแ์ุ มลงหว่เี พศเมียตาสแี ดงกบั แมลงหว่เี พศผู้ตาสขี าวของมอร์แกน
โดยนักเรียนควรไดข้ อ้ สรปุ รว่ มกนั ว่า
- ในธรรมชาตแิ มลงหวเ่ี พศผูแ้ ละเพศเมยี จะมีตาสีแดง เมื่อผสมแมลงหว่หี ลายชว่ั รุ่นจะพบ
แมลงหวเี่ พศผู้บางตัวตาสีขาว
- เมอื่ ผสมแมลงหวีเ่ พศเมยี ตาสแี ดงกับแมลงหวี่เพสผู้ตาสีขาว ได้ลูกรนุ่ F1 ทกุ ตวั มีตาสแี ดง
- รุน่ F2 เพศเมยี ทุกตัวมตี าสแี ดง และเพศผู้ตาสีแดง : เพศผู้ตาสีขาว เท่ากบั 1:1
แลว้ ใหน้ ักเรียนวเิ คราะห์ว่า เพราะอะไรแมลงหวีต่ าสขี าวในรุน่ F2 จึงปรากฏในเพศผู้ แมลง
หว่ีเพศเมยี จะพบตาสีขาวได้หรอื ไม่ ให้นกั เรียนร่วมกัยอภิปรายคาตอบ

5) ครูให้นกั เรียนศึกษาการผสมพนั ธ์ุแมลงหวตี่ ามแนวคดิ ของมอร์แกน ในหนังสอื เรียนหน้า 31 ซงึ่
นักเรียนควรสรุปได้ว่ายนี ด้อยบนโครโมโซม X 1 แท่ง แมลงหว่ีที่ไดร้ บั โครโมโซม X ซง่ึ มยี นี ด้อย
มาจากแมจ่ งึ แสดงผลทันที ส่วนเพศเมยี จะตอ้ งได้รบั โครโมโซม X ทีม่ ียีนดอ้ ยมาจากพ่อและแม่
จึงจะแสดงลักษณะได้ แล้วตง้ั คาถามถามนกั เรยี นวา่
- ยนี ควบคมุ ลักษณะสีตาของแมลงหวีม่ ีตาแหนง่ อยบู่ นโครโมโซมชนดิ ใด (โครโมโซม X)
- แมลงหวี่เพศเมียจะมีโอกาสมีตาสีขาวได้หรือไม่ อย่างไร (มโี อกาส เม่อื มยี นี ควบคมุ ตาสีขาว
บนโครโมโซม X ทไี่ ด้รบั มาจากพอ่ และแม)่

6) ครูอธิบายเพิ่มเตมิ ให้นักเรียนเขา้ ใจว่า การถา่ ยทอดยีนบนโรโมโซมเพศ เรียกวา่ ยีนที่เก่ยี วเนอื่ ง
กบั เพศ ถา้ ยีนมตี าแหน่งบนโครโมโซม X เรยี กวา่ ยนี ทเี่ กีย่ วเน่อื งกบั X (X-linked gene) ถ้ายนี มี
ตาแหน่งบนโครโมโซม Y เรยี กวา่ ยนี ท่ีเกยี่ วเน่ืองกับ Y (Y-linked gene) แล้วให้นกั เรียนศกึ ษา
การถ่ายทอดลกั ษณะตาบอดสี แลง้ ตงั้ คาถามดังน้ี
- ชายคนที่ 1 และคนท่ี 4 ในร่นุ ท่ี 3 ได้รับการถ่ายทอดยีนตาบอดสีมาไดอ้ ยา่ งไร (ชายคนท่ี 1
ไดร้ ับยีนตาบอดสมี าจากแม่หมายเลข 1 รุ่นท่ี 2 และชายคนที่ 4 ไดร้ บั ยีนตาบอดสมี าจากแม่
หมายเลข 2 รนุ่ ที่ 2 ซึง่ แมห่ มายเลข 1 และ 2 จะเปน็ พาหะ โดยไดร้ บั ยนี ตาบอดสมี าจากพอ่
รุ่นท่ี 1)
- ลกั ษณะตาบอดสีสว่ นใหญป่ รากฏในเพศใด และลูกสาวจะมีโอกาสเป็นตาบอดสีไดเ้ ม่อื พ่อ
และแม่มจี โี นไทป์อย่างไร (ลักษณะตาบอดสีส่วนใหญ่พบในเพศชาย ลูกสาวมีโอกาสตาบอดสี
ได้ เมอ่ื พอ่ มจี ีโนไทป์ XCY และแมม่ จี ีโนไทปเ์ ปน็ XCXc หรือ XcXc)

7) ครยู กตัวอยา่ งการถา่ ยทอดยนี บนโครโมโซมเพศของแมว เพื่อเพ่ิมความเข้าใจของนักเรียน แล้วให้
นกั เรียนเปรียบเทียบการถ่ายทอดยีนทอ่ี ย่บู นออโตโซมกบั ยนี ท่อี ยูบ่ นโครโมโซมเพศ โดยให้
นักเรียนควรไดข้ ้อสรุปรว่ มกันว่า การถ่ายทอดลกั ษณะทีค่ วบคมุ ด้วยยีนบนออโตโซม จะปรากฎ
ทง้ั 2 เพศได้เท่ากนั ส่วนการถ่ายทอดลักษณะที่ควบคุมด้วยยนี บนโครโมโซม X จะปรากฎใน
ลกั ษณะในเพศหญงิ มากกวา่ เพศชาย แตถ่ า้ เป็นยีนดอ้ ยจะปรากฏในเพศชายมากกวา่ เพศหญิง

8) ครนู าเสนอ power point เร่ือง ยนี บนโครโมโซมเดียวกัน โดยตัง้ คาถามถามนักเรยี นวา่ ถ้ายนี อยู่
บนโครโมโซมเดยี วกัน เม่อื มีการถ่ายทอดยนี ไปส่เู ซลลส์ บื พนั ธุ์ ยีนเหล่านั้นจะถูกถา่ ยทอดไป
ด้วยกนั หรอื ไม่ นกั เรียนรว่ มกนั อภปิ รายคาตอบ โดยควรไดข้ ้อสรปุ ร่วมกนั ว่า ยีนเหลา่ นจี้ ะถูก
ถา่ ยทอดไปด้วยกันได้ แลว้ ครไู ด้ความรเู้ กีย่ วกบั ลิงค์เกจ

9) ครใู หน้ กั เรยี นสบื คน้ ขอ้ มลู และศกึ ษาการผสมพนั ธุ์ของแมลงหว่ีลกั ษณะตัวสีนา้ ตาลปีกตรงทเี่ ป็น
เฮเทอโรไซกัสกบั ลักษณะตัวสนี า้ ตาลปกี โค้ง โดยร่วมกันอภปิ รายในประเดน็ ต่อไปน้ี
- แมลงหวีต่ วั สนี ้าตาลปีกตรงในรุ่นพอ่ แมท่ เี่ ป็นเฮเทอโรไซกสั สรา้ งเซลล์สืบพันธ์ไุ ด้กี่ชนิด
อะไรบ้าง
- รนุ่ F1 มีอัตราส่วนของฟีโนไทป์เป็นอย่างไร
- การถา่ ยทอดยนี ท่ีควบคุมลักษณะสตี ัวและปกี ของแมลงหว่ี เป็นไปตามกฎแหง่ การรวมกลมุ่
อย่างอสิ ระของเมนเดลหรอื ไม่ อยา่ งไร
นกั เรียนควรไดข้ อ้ สรุปร่วมกันวา่ เมื่อผสมพนั ธุ์แมลงหวีต่ ัวสีน้าตาลปีกตรงท่มี จี โี นไทป์เป็น
เฮเทอโรไซกัสในรุน่ พ่อแม่ จะสรา้ งเซลลส์ บื พันธุไ์ ด้ 2 แบบ คือ BVg และ bvg เมื่อผสมพันธุ์

แมลงหวี่ตวั สดี าปกี โค้งซ่งึ สรา้ งเซลล์สบื พันธไุ์ ดแ้ บบเดียว คือ bvg จะได้รุ่น F1 ท่ีมีฟโี นไทป์
2 แบบ คอื ตวั สีน้าตาลปกี ตรงและตวั สีดาปีกโคง้ ในอตั ราสว่ น 1:1 ซ่งึ ไมเ่ ปน็ ไปตามกฎการ
ถา่ ยทอดยนี ของเมนเดล ที่ตอ้ งไดฟ้ โี นไทป์ 4 ลักษณะ อัตราสว่ นเป็น 9:3:3:1 แสดงว่าต้องมี
ยนี ควบคุมสีตัวและยีนควบคุมลกั ษณะปกี อยบู่ นโรโมโซมเดยี วกัน เม่ือมีการถ่ายทอดแอลลีล
ของยนี ท้ังสองทอ่ี ยู่บนโครโมโซมเดียวกนั จะปรากฎในเซลลส์ ืบพนั ธ์เุ ดยี วกัน
10) ครใู ห้นักเรยี นศกึ ษาการเกิดคลอสซงิ โอเวอร์ ซึ่งนกั เรยี นควรสรุปร่วมกันได้วา่ ยนี บนโครโมโซม
เดียวกนั จะถา่ ยทอดไปด้วยกัน แตก่ การเกดิ คลอสซงิ โอเวอร์ (crossing over) ท่มี กี ารแลกเปล่ียน
ชนิ้ สว่ นของโครมาทดิ จะทาให้ยีนบนโครโมโซมเดียวกนั ทเ่ี คยถ่ายทอดไปดว้ ยกนั แยกออกจากกนั
และเกิดการรวมใหมข่ องยนี (genetic recombination)ไปปรากฏในเซลล์สบื พนั ธุเ์ ดียวกนั ได้
เมื่อเกดิ การผสมพันธุ์จึงเกดิ ลักษณะทมี่ ีความผันแปร ซ่งึ มีความสาคัญต่อวิวัฒนาการ
กิจกรรมรวบยอด
1) นกั เรียนรว่ มกนั อภปิ ราย โดยใชแ้ นวคาถามตอ่ ไปนี้
- หญงิ คนหน่งึ เปน็ โรคตาบอดสี เม่อื แตง่ งานกบั ชายตาปกติ ลกู ชายจะเป็นโรคตาบอดสีหรือไม่
และลูกสาวจะเปน็ โรคตาบอดสหี รอื เป็นพาหะ (ลูกชายจะเป็นโรคตาบอดสี เพราะไดร้ ับยีนท่ี
ควบคมุ โรคตาบอดสมี าจากแม่ ส่วนลกู สาวจะเปน็ พาหะของโรค เพราะไดร้ ับยนี ตาบอดสีมา
จากแมแ่ ละได้รบั ยนี ตาปกตมิ ากจากพอ่ )
2) ครตู รวจสอบการบันทึกความรทู้ ี่ได้จากการเรียนและการตอบคาถาม
9. สอื่ และแหลง่ การเรียนรู้
ส่ือ
1) Power point ประกอบการเรยี นรู้ เร่ือง ยนี บนโรโมโซมเพศและยีนบนโรโมโซมเดียวกัน
2) หนังสอื เรียน รายวชิ าเพ่มิ เติม ชีววิทยา 2 ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 4-6 ของ สสวท
แหล่งการเรยี นรู้
1) หนงั สอื หรอื วารสารวิทยาศาสตร์
2) สารานุกรมวทิ ยาศาสตร์
3) อินเทอรเ์ นต็

10. การวัดและประเมินผล หลกั ฐาน เครือ่ งมอื วดั เกณฑก์ ารประเมนิ
เปา้ หมาย -สามารถตอบคาถามไดอ้ ยา่ ง
-สมุด -การถาม/ตอบ ถูกตอ้ ง
สาระสาคัญ -สามารถตอบคาถามไดอ้ ย่าง
-ยนี บนโครโมโซมเพศ ถูกตอ้ ง
-สามารถตอบคาถามได้อยา่ ง
-ยีนบนโครโมโซมเดยี วกัน -สมุด -การถาม/ตอบ ถกู ต้อง

ผลการเรียนรู้ -สมดุ -การถาม/ตอบ -การเขา้ ชั้นเรยี นสายไมเ่ กิน 15
นาที และจานวนครง้ั ทเ่ี ข้าเรยี น
-อธิบายและสรปุ การศึกษาพันธุ -ความตรงต่อเวลาและ มากกวา่ 80 %
จานวนคร้งั ท่เี ขา้ เรยี น -สามารถตอบคาถามไดอ้ ยา่ ง
ศาสตร์ ของเมนเดล ความน่าจะ ถกู ต้อง

เปน็ และกฎการแยก กฎแห่งการ

รวมกลุ่มอยา่ งอิสระ และการผสม

เพ่ือทดสอบ รวมทั้งลักษณะทาง

พนั ธกุ รรมทน่ี อกเหนอื กฎของเมน

เดลได้

-ต้ังคาถามท่ีอยบู่ นพน้ื ฐานของ

ความรู้และความเขา้ ใจทาง

วิทยาศาสตร์ หรือความสนใจ

หรอื จากประเด็นที่เกดิ ขึน้ ใน

ขณะนัน้ ท่ีสามารถทาการสารวจ

ตรวจสอบหรอื ศึกษาค้นควา้ ได้

อยา่ งครอบคลมุ และเช่ือถอื ได้

คณุ ลกั ษณะ

-ใฝ่เรียนรู้ -การเขา้ ช้นั

เรยี น

-มงุ่ มั่นในการทางาน -ความสนใจใน -การถาม/ตอบ
การเรียน

11. บนั ทึกหลงั การสอน
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ปญั หา/อุปสรรค
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ข้อเสนอแนะ/วิธีแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

บนั ทกึ การสง่ แผนจัดการเรียนรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

(..……………………………….……)
นางจิราณัฐ สาธิพา

ความเหน็ หัวหนา้ กลมุ่ สาระ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

(..……………………………….……)
นางสาวทพิ วรรณ เมอื งมลู
ความเห็นของรองผู้อานวยการ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

(..……………………………….……)
นางสาวกฤติมา มะโนพรม

ความเหน็ ของผู้อานวยการ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

(..……………………………….……)
นายปยิ ะ ใจชุ่ม

แผนการจัดการเรยี นรู้

รหสั วิชา ว32142 ชอ่ื รายวชิ า ชีววิทยา 2 ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรยี นท่ี 2

ช่ือหน่วยการเรยี นรู้ พันธุศาสตร์ เวลา 2 ช่ัวโมง

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 7 เรือ่ ง ลกั ษณะทอี่ ย่ภู ายใต้อิทธพิ ลของเพศและลกั ษณะท่ปี รากฎจาเพาะเพศ

ผสู้ อน นางจิราณัฐ สาธิพา

..............................................................................................................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ว1.2 เขา้ ใจกระบวนการและความสาคัญของการถา่ ยทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรม

ววิ ฒั นาการของสง่ิ มีชีวติ ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้เทคโนโลยชี ีวภาพท่ีมีผลกระทบตอ่

มนษุ ยแ์ ละสิง่ แวดลอ้ ม มีกระบวนการสบื เสาะหาความรแู้ ละจิตวิทยาศาสตร์ สอ่ื สารส่ิงทเี่ รียนรูแ้ ละนา

ความรไู้ ปใช้ประโยชน์

มาตรฐาน ว 8.1 ใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การ

แกป้ ญั หา รู้วา่ ปรากฏการณท์ างธรรมชาติท่เี กดิ ข้ึนสว่ นใหญ่มีรปู แบบทีแ่ น่นอน สามารถอธบิ ายและ

ตรงจสอบได้ภายใต้ข้อมลู และเคร่ืองมือที่มอี ยใู่ นช่วงเวลานนั้ ๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี

สงั คม และส่ิงแวดลอ้ มมีความเกี่ยวข้องสมั พันธก์ นั

2. ผลการเรียนรู้

1) อธบิ ายและสรุปการศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดล ความน่าจะเปน็ และกฎการแยก กฎแห่งการ

รวมกลุ่มอยา่ งอิสระ และการผสมเพอ่ื ทดสอบ รวมทั้งลกั ษณะทางพนั ธุกรรมทน่ี อกเหนอื กฎของ

เมนเดลได้

2) ตงั้ คาถามทอ่ี ยู่บนพ้ืนฐานของความรูแ้ ละความเขา้ ใจทางวทิ ยาศาสตร์ หรอื ความสนใจหรือจาก

ประเดน็ ท่ีเกิดข้ึนในขณะนน้ั ท่สี ามารถทาการสารวจตรวจสอบหรอื ศกึ ษาค้นควา้ ไดอ้ ยา่ ง

ครอบคลุมและเช่ือถือได้

3. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด

- ลกั ษณะทอ่ี ย่ภู ายใต้อทิ ธพิ ลของเพศ คือ ลกั ษณะที่ควบคุมโดยยนี บนออโตโซม แตก่ ารแสดง

ลักษณะของแอลลีลข้นึ อย่กู บั เพศ

- ลกั ษณะที่ปรากฏจาเพาะเพศ คือ ลักษณะทคี่ วบคุมดว้ ยยนี บนออโตโซม แตถ่ กู ฮอรโ์ มนเพศ

ใหแ้ สดงออกในเพศใดเพศหนง่ึ เท่านนั้

4. สาระการเรียนรู้
ความรู้
- ลักษณะทีอ่ ยูภ่ ายใตอ้ ทิ ธพิ ลของเพศ
- ลักษณะทปี่ รากฏจาเพาะเพศ
ทกั ษะ/กระบวนการ
1) ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
2) ทักษะการคิด
3) ทักษะการเรียนรู้
4) ทักษะการแก้ปัญหา
5) ทักษะกระบวนการทางานกลมุ่

5. จุดประสงค์การเรยี นรู้
1) สบื คน้ ข้อมูล อภปิ ราย อธิบายและเปรยี บเทียบการถ่ายทอดลกั ษณะทางพันธกุ รรมที่อยูภ่ ายใต้
อทิ ธิพลของเพศ และลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมที่ปรากฏจาเพาะเพศได้
2) นาความรไู้ ปใช้ในการหาโอกาสเกดิ ลกั ษณะท่ีถา่ ยทอดทางพันธุกรรมทเ่ี ปน็ ส่วนขยายของพันธุ
ศาสตร์เมนเดล

6. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์
1) ใฝเ่ รยี นรู้
2) มุง่ มน่ั ในการทางาน

7. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น
1) ความสามารถในการสอ่ื สาร
2) ความสามารถในการคดิ
3) ความสามารถในการแก้ปัญหา

8. กระบวนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้
ขน้ั นาเขา้ สบู่ ทเรียน
ครูและนักเรียนร่วมกนั ทบทวนสง่ิ ทน่ี กั เรยี นได้เรยี นรู้ไปแลว้
ข้ันจดั การเรียนรู้
จดั กจิ กรรมการเรยี นรโู้ ดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ซึ่งมีขั้นตอน ดงั นี้
1) ครตู ัง้ คาถามถามนักเรยี นวา่

- ลกั ษณะบางลกั ษณะในคนที่สัมพันธก์ บั เพศจาเป็นต้องถูกควบคมุ ดว้ ยยนี ทอี่ ยทู่ ี่โครโมโซมเพศ
หรอื ไม่
นกั เรียนรว่ มกนั อภิปรายคาตอบ โดยไดข้ ้อสรุปรว่ มกันวา่ ลกั ษณะทแ่ี ตกต่างกนั ระหวา่ งเพศ
ชายกับเพศหญิง ไม่จาเปน็ ตอ้ งควบคุมดว้ ยยนี บนโครโมโซมเพศเพยี งอยา่ งเดยี ว ลกั ษณะ
บางอยา่ งถกู ควบคมุ ดว้ ยยนี บนออโตโซมได้ แต่อยู่ภายใตอ้ ทิ ธิพลของเพศ ทาให้ลักษณะ
ดังกลา่ วนพี้ บได้ในเพศหน่ึงมากกว่าอกี เพศหนงึ่

2) ครนู าเสนอ power point เรอ่ื ง ลักษณะทอี่ ยู่ภายใตอ้ ทิ ธิพลของเพศ โดยใหน้ ักเรียนศึกษา
จีโนไทปแ์ ละฟีโนไทป์ของยีนทค่ี วบคุมลักษณะศรี ษะลา้ นในเพศชายและเพศหญงิ โดยเน้นให้
นักเรยี นเห็นว่าจีโนไทป์ BB+ ใหฟ้ โี นไทปต์ ่างกัน คือในเพศหญิงศีรษะไม่ล้าน แต่ในเพศชายศรี ษะ
ลา้ น แสดงว่าลกั ษณะศรี ษะล้าน ควบคมุ ด้วยยีนเดน่ บนออโตโซม แต่มีการแสดงออกสมั พนั ธก์ ับ
เพศ ซึง่ ขน้ึ อยกู่ ับอทิ ธิพลของฮอร์โมนเพศชาย ไม่เกยี่ วกบั การถ่ายทอดยีนของโครโมโซมเพศ แลว้
ครูต้ังคาถามถามนกั เรยี นว่า
- ถา้ หญิงศรี ษะลา้ นแตง่ งานกับหญิงศีรษะไม่ล้าน ลูกสาวและลูกชายทีเ่ กิดขึ้นจะมีลกั ษณะของ
ศรี ษะเป็นอยา่ งไร (ลกู สาวศรี ษะไม่ลา้ นแตเ่ ป็นพาหะ สว่ นลกู ชายจะมศี ีรษะล้าน)

3) ครนู าเสนอ power point เรอ่ื ง ลกั ษณะที่ปรากฏจาเพาะเพศ โดยให้นกั เรียนศกึ ษาจีโนไทป์
และฟีไทป์ของไก่เพศผู้และเพศเมยี แต่ในไก้เพศผู้จะเป็นขนแบบค็อก แล้วถามคาถามนกั เรยี น
ดังนี้
- นักเรียนจะสรปุ ไดอ้ ย่างไรเก่ียวกับการแสดงออกของยีนทีค่ วบคุมลกั ษณะขนหางในไก่
(ลักษณะขนแบบค็อกในไก่ถกู จากัดใหแ้ สดงออกเฉพาะไกเ่ พศผู้)
- ในการผสมพันธไ์ุ ก่เพศเมียขนแบบเฮนกบั ไกเ่ พศผู้ขนแบบคอ็ ก ลกู ไกท่ ง้ั เพศผู้และเพศเมยี ที่
เกดิ มามลี กั ษณะขนแบบเฮนทุกตวั จงหาจีโนไทป์ของพ่อแมค่ ่นู ี้ (แม่และพอ่ มีจีโนไทป์ เปน็
HH และ hh ตามลาดับ)
กจิ กรรมรวบยอด
1) นกั เรียนและครรู ว่ มกนั อภปิ ราย โดยใชแ้ นวคาถามต่อไปน้ี
- ลกั ษณะทีอ่ ยภู่ ายใต้อิทธพิ ลของเพศ คอื อะไร ยกตวั อย่างประกอบ (ลักษณะท่ีควบคุมโดยยนี
บนออโตโซม แตก่ ารแสดงลกั ษณะของแอลลลี ข้นึ อย่กู บั เพศ เชน่ ลักษณะศรี ษะลา้ นในเพศ
ชายและเพศหญงิ )

- ลักษณะท่ปี รากฏจาเพาะเพศ คืออะไร ยกตัวอยา่ งประกอบ (ลกั ษณะทค่ี วบคมุ โดยยนี บนออ
โตโซม แตถ่ กู ฮอรโ์ มนเพศให้แสดงออกในเพศใดเพศหนงึ่ เท่าน้ัน เช่น ลกั ษระขนหางของไก่
แบบเฮนและแบบคอ็ ก)

- ในการศึกษาการถ่ายทอดลกั ษณะทางพันธกุ รรมของมนษุ ยท์ าไดย้ ากกว่าในพืช จงหาวา่ เป็น
เพราะเหตใุ ด (เพราะมนษุ ยม์ ชี ว่ งชีวติ แต่ละช่วงร่นุ ยาวนาน และจานวนของลกู หลานทเ่ี กิดข้นึ
มีจานวนไม่มากพอ ทาให้การควบคุมการทดลองเปน็ ไปไดย้ าก ทาใหก้ ารทานายการ
เปลี่ยนแปลงของลักษณะตา่ ง ๆ ท่เี กดิ ขึน้ ได้ไม่ดี)
2) ครตู รวจสอบการบันทึกความรู้ที่ได้จากการเรียนและการตอบคาถาม

- ถ้าแมเ่ ปน็ โรคกระดกู อ่อน ลูกสาวและลกู ชายจะมโี อกาสเป็นโรคกระดูกออ่ นหรือไม่
- ถา้ พอ่ เป็นโรคกระดูกอ่อน ลกู สาวและลูกชายจะมีโอกาสเป็นโรคกระดกู ออ่ นหรือไม่
- โรคกระดกู อ่อนถูกควบคุมด้วยยีนบนโครโมโซมใด
9. สื่อและแหล่งการเรยี นรู้
สอ่ื
1) Power point ประกอบการเรียนรู้ เรือ่ ง ลักษณะทีอ่ ยภู่ ายใต้อิทธพิ ลของเพศและลักษณะที่
ปรากฎจาเพาะเพศ
2) หนงั สอื เรียนรายวชิ าเพมิ่ เติม ชีววิทยา 2 ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 4-6 ของ สสวท
แหลง่ การเรียนรู้
1) หนังสือหรอื วารสารวทิ ยาศาสตร์
2) สารานุกรมวิทยาศาสตร์
3) อนิ เทอรเ์ นต็

10. การวัดและประเมินผล

เปา้ หมาย หลกั ฐาน เคร่ืองมอื วดั เกณฑก์ ารประเมิน
-การถาม/ตอบ -สามารถตอบคาถามไดอ้ ยา่ ง
สาระสาคัญ -การถาม/ตอบ ถกู ต้อง
-การถาม/ตอบ -สามารถตอบคาถามได้อย่าง
-ลกั ษณะที่อยู่ภายใตอ้ ทิ ธพิ ลของ -สมดุ ถูกตอ้ ง
-ความตรงตอ่ เวลาและ -สามารถตอบคาถามไดอ้ ยา่ ง
เพศ จานวนคร้งั ที่เขา้ เรยี น ถูกต้อง

-สมุด -การเข้าชน้ั เรียนสายไม่เกิน 15
นาที และจานวนครัง้ ท่เี ข้าเรยี น
-ลักษณะที่ปรากฎจาเพาะเพศ มากกวา่ 80 %
-สามารถตอบคาถามไดอ้ ยา่ ง
ผลการเรยี นรู้ -สมุด ถูกต้อง

-อธิบายและสรปุ การศกึ ษาพันธุ

ศาสตร์ ของเมนเดล ความนา่ จะ

เปน็ และกฎการแยก กฎแห่งการ

รวมกลมุ่ อย่างอิสระ และการผสม

เพื่อทดสอบ รวมทัง้ ลักษณะทาง

พนั ธกุ รรมทนี่ อกเหนือกฎของเมน

เดลได้

-ต้งั คาถามทอี่ ย่บู นพ้ืนฐานของ

ความร้แู ละความเขา้ ใจทาง

วทิ ยาศาสตร์ หรือความสนใจ

หรอื จากประเด็นทเี่ กดิ ข้ึนใน

ขณะนัน้ ท่สี ามารถทาการสารวจ

ตรวจสอบหรือศกึ ษาคน้ คว้าได้

อย่างครอบคลุมและเชอ่ื ถือได้

คุณลักษณะ

-ใฝเ่ รยี นรู้ -การเข้าชั้น

เรยี น

-ม่งุ มนั่ ในการทางาน -ความสนใจใน -การถาม/ตอบ
การเรยี น

11. บนั ทกึ หลงั การสอน
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ปญั หา/อปุ สรรค
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ข้อเสนอแนะ/วธิ ีแกไ้ ข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

บนั ทึกการส่งแผนจดั การเรยี นรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

(..……………………………….……)
นางจิราณัฐ สาธพิ า

ความเห็นหวั หนา้ กลุ่มสาระ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

(..……………………………….……)
นางสาวทิพวรรณ เมอื งมูล
ความเห็นของรองผอู้ านวยการ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

(..……………………………….……)
นางสาวกฤติมา มะโนพรม

ความเห็นของผอู้ านวยการ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

(..……………………………….……)
นายปยิ ะ ใจช่มุ

แผนการจัดการเรียนรู้

รหสั วิชา ว32142 ชือ่ รายวชิ า ชวี วทิ ยา 2 ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 4

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรยี นท่ี 2

ช่อื หน่วยการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม

แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 8 เรอ่ื ง การถ่ายทอดยีนและโครโมโซม เวลา 2 ช่ัวโมง

ผู้สอน นางจิราณัฐ สาธิพา

..............................................................................................................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ว1.2 เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

วิวฒั นาการของสงิ่ มีชวี ิต ความหลากหลายทางชวี ภาพ การใช้เทคโนโลยีชีวภาพท่ีมีผลกระทบต่อ

มนษุ ยแ์ ละสง่ิ แวดล้อม มกี ระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวทิ ยาศาสตร์ สอื่ สารสิ่งทเ่ี รียนร้แู ละนา

ความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์

มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจติ วทิ ยาศาสตรใ์ นการสบื เสาะหาความรู้

การแก้ปญั หา รวู้ ่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดข้นึ ส่วนใหญม่ ีรูปแบบทแี่ น่นอน สามารถอธบิ าย

และตรวจสอบได้ภายใตข้ ้อมูลและเครื่องมอื ท่มี อี ยู่ในช่วงเวลานั้น ๆ เขา้ ใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี

สงั คม และสิ่งแวดลอ้ มมคี วามเกี่ยวข้องสมั พันธ์กัน

2. ผลการเรยี นรู้

1) อธบิ ายและสรุปการถ่ายทอดยนี และโครโมโซม การคน้ พบสารพนั ธุกรรม โครโมโซม

องค์ประกอบทางเคมีของดเี อน็ เอ และโรงสร้างของดีเอ็นเอ สมบัติของสารพนั ธุกรรม รวมทั้ง

มวิ เทชันได้

2) ต้ังคาถามที่อยู่บนพน้ื ฐานของความรูแ้ ละความเขา้ ใจทางวิทยาศาสตร์ หรอื ความสนใจ หรือจาก

ประเด็นท่ีเกดิ ข้ึนในขณะนัน้ ทส่ี ามารถทาการสารวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้าไดอ้ ยา่ ง

ครอบคลุมและเชอ่ื ถอื ได้

3. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด

ยนี จากพ่อและแมจ่ ะส่งผ่านมายงั ลกู ด้วยกระบวนการปฏิสนธิ โดยโมโซฒที่เปน็ ท่อี ย่ขู องยีนนนั้ จะมี

การแบง่ เซลล์ 2 แบบ คือ การแบ่งเซลลแ์ บบไมโทซสิ และการแบง่ เซลล์แบบไมโอซิส

4. สาระการเรียนรู้

ความรู้

การถา่ ยทอดยนี และโครโมโซม


Click to View FlipBook Version