หน่วยที่6 วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย
กระแสไฟฟ้า คือ ปริมาณประจุไฟฟ้าที่เคลื่อนที่ผ่านพื้นที่หน้าตัดของตัวน าไฟฟ้า ในหนึ่งหน่วยเวลา เคลื่อนที่จากจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าสูงไปยังจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าต่ า เกิดจาก การเคลื่อนที่ของ อิเล็กตรอนกับโปรตอน โดยจะเคลื่อนที่เข้าหา ขั้วไฟฟ้าที่มีประจุตรงข้าม เช่น เกิดจากความแตกต่างของพลังงาน 2 บริเวณ ,เกิดจากประจุไฟฟ้า เคลื่อนที่ผ่านตัดสนามแม่เหล็ก เกิดจากปฏิกิริยาไฟฟ้าเคมี
กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านวัตถุที่มีสมบัติยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน เรียกว่า ตัวน าไฟฟ้า เช่น ทองแดง เหล็ก อะลูมิเนียม วัตถุที่มีสมบัติไม่ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน เรียกว่า ฉนวน เช่น ไม้ พลาสติก กระแสไฟฟ้าแทนด้วยสัญลักษณ์ I มีหน่วยเป็น แอมแปร์ (ampere: A) กระแสไฟฟ้าที่เรารู้จักโดยทั่วไป คือ กระแสไฟฟ้าที่ใช้ตามบ้านเรือน
กระแสไฟฟ้าแบ่งออกเป็น 2 ชนิด • คือ กระแสไฟฟ้าที่ไหลในทิศทางเดียวตลอดเวลา • ไหลจากจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าสูงกว่าไปยังจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าต่ ากว่า หรือไหลจากขั้วบวกไปยังขั้วลบ • เช่น กระแสไฟฟ้าจากถ่านไฟฉาย กระแสไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ 1. ไฟฟ้ากระแสตรง
2. ไฟฟ้ากระแสสลับ • คือ กระแสไฟฟ้าที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน • มีทิศทางกลับไปกลับมาตลอดเวลาด้วยความถี่ค่าหนึ่ง • โดยจะไหลจากขั้วบวกผ่านวงจรไฟฟ้าไปยังขั้วลบ และ จะไหลสลับกันไป • เช่น กระแสไฟฟ้าที่ใช้ตามบ้านเรือน ส านักงานต่างๆ ไฟฟ้ากระแสสลับ
เครื่องมือที่ใช้วัดกระแสไฟฟ้ า แอมมิเตอร์(Ammeter) เป็นเครื่องมือวัดกระแสไฟฟ้า หน่วยของกระแสไฟฟ้า คือ แอมแปร์ (A) แอมมิเตอร์เป็นเครื่องมือที่มีความต้านทานน้อย มีสัญลักษณ์ คือ แอมมิเตอร์ต่ออนุกรมกับวงจร แอมมิเตอร์(Ammeter)
ความต่างศักย์ไฟฟ้า คือ ความแตกต่างของพลังงานไฟฟ้าระหว่างจุด 2 จุด ซึ่งท าให้ เกิดกระแสไฟฟ้า โดยกระแสไฟฟ้าจะไหลจากบริเวณที่มีศักย์ไฟฟ้าสูงไปยังบริเวณ ที่มีศักย์ไฟฟ้าต่ า และจะหยุดไหลเมื่อศักย์ไฟฟ้าระหว่างจุดสองจุด มีค่าเท่ากัน สัญลักษณ์ของความต่างศักย์ไฟฟ้า คือ V หรือ อาจจะใช้ สัญลักษณ์คือ V เมื่อศักย์ไฟฟ้าที่ต่ ากว่ามีค่าเท่าศูนย์ หน่วยของความต่างศักย์ไฟฟ้า คือ โวลต์ (V)
โวลต์มิเตอร์ (Voltmeter) คือ เครื่องมือที่ใช้วัดความต่างศักย์ระหว่างจุด 2 จุด มีหน่วยเป็นโวลต์ (V) มีสัญลักษณ์ คือ วิธีใช้ ต้องต่อขนานกับวงจร แหล่งจ่ายไฟฟ้า โวลต์มิเตอร์
ความต้านทานไฟฟ้า คือ ความสามารถของสารแต่ละชนิดที่ยอมให้ กระแสไฟฟ้าผ่านไปได้ ตัวน าไฟฟ้าที่มีความต้านทานต่ าจะยอมให้กระแสไฟฟ้า ไหลผ่านได้มาก ส่วนตัวน าไฟฟ้าที่มีความต้านทานสูง จะยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้น้อย เครื่องมือวัดค่าความต้านทานไฟฟ้า เรียกว่า มัลติมิเตอร์ มีหน่วยเป็น โอห์ม (ohm : Ω ) ความต้านทาน
แบบฝึกหัดท้ายบทเรื่อง วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย ตอนที่1 ค าชี้แจง: ส ารวจการใช้ไฟฟ้าในกิจวัตรประจ าวันของนักเรียน เกี่ยวข้องกับไฟฟ้าอย่างไรบ้าง และเขียนผลกระทบที่เกิดขึ้นหากไม่มีไฟฟ้าใช้ในการท ากิจวัตรประจ าวันต่อไปนี้ กิจกรรมประจ าวัน การใช้ไฟฟ้า/อุปกรณ์ที่ใช้ ไฟฟ้า ผลกระทบที่เกิดขึ้น 1. อาบน้ า 2. แต่งตัว 3. กินข้าว 4. เรียนหนังสือ 5. ท าการบ้าน 6. กิจกรรมยามว่าง / พักผ่อน
ค าชี้แจง: ให้นักเรียนพิจารณาข้อความที่ก าหนดให้ แล้วเขียนเครื่องหมาย / หน้าข้อความที่ถูกต้อง และเขียนเครื่องหมาย X หน้าข้อความที่ผิด พร้อมทั้งแก้ไขข้อความนั้นให้ถูกต้อง .......1. กระแลไฟฟ้าจะไหลจากจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าต่ าไปยังจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าสูง ..................................................................................................................................... .......2. โลหะทุกชนิดยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ ..................................................................................................................................... .......3. เครื่องใช้ไฟฟ้าส่วนใหญ่จะใช้กับไฟฟ้ากระแสตรง ..................................................................................................................................... .......4. เครื่องมือที่ใช้วัดกระแสไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้า เรียกว่า แอมมิเตอร์ ...................................................................................................................................... .......5. ค่าความต้านทานของลวดตัวน าจะขึ้นอยู่กับชนิด ขนาด ความยาว และ อุณหภูมิ ของลวดตัวน า ...................................................................................................................................... ตอนที่2
วงจรไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนาน
วงจรไฟฟ้า (Electric circuit) คือ ทางเดินของกระแสไฟฟ้าซึ่งไหลมาจากแหล่งก าเนิดผ่านตัวน า และเครื่องใช้ไฟฟ้าหรือโหลดแล้วไหลกลับไปยังแหล่งก าเนิดเดิม วงจรไฟฟ้าประกอบด้วยส่วนส าคัญ 3 ส่วน คือ 1. แหล่งก าเนิดไฟฟ้า หมายถึง แหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้าไปยังวงจรไฟฟ้า เช่น แบตเตอรี่ 2. ตัวน าไฟฟ้า หมายถึง ตัวน าที่ให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านไปยังเครื่องใช้ไฟฟ้า ซึ่งต่อระหว่างแหล่งก าเนิดกับเครื่องใช้ไฟฟ้า 3. เครื่องใช้ไฟฟ้า หมายถึง เครื่องใช้ไฟฟ้าที่สามารถเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้ เป็นพลังงานไฟฟ้ารูปแบบอื่น เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า โหลด
สัญลักษณ์แทนอุปกรณ์ไฟฟ้า ภาพอุปกรณ์ไฟฟ้า สัญลักษณ์ อุปกรณ์ไฟฟ้า แหล่งก าเนิดไฟฟ้า เช่น ถ่านไฟฉาย เซลล์ไฟฟ้า หลอดไฟฟ้า สวิตช์เปิด (วงจรเปิด) สวิตช์ปิด (วงจรปิด)
ภาพอุปกรณ์ไฟฟ้า สัญลักษณ์ อุปกรณ์ไฟฟ้า แอมมิเตอร์ สายไฟฟ้าที่เชื่อมต่อกัน โวลต์มิเตอร์ หรือ สายไฟฟ้าที่ไม่เชื่อมต่อกัน
การเขียนสัญลักษณ์ในวงจรไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้าแต่ละตัวจะเชื่อมต่อกันด้วยเส้นที่แทนสายไฟฟ้า วงจรไฟฟ้า จะครบวงจรเมื่อไม่มีเส้นใดขาดจากกัน ดังตัวอย่างต่อไปนี้ เขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้าได้ดังนี้ หลอดไฟฟ้า สวิตช์เปิด (วงจรเปิด) แหล่งก าเนิดไฟฟ้า การต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย
ประเภทของวงจรไฟฟ้า ส่วนส าคัญของวงจรไฟฟ้า คือ การต่อโหลดใช้งาน โดยโหลดที่น ามาต่อ ใช้งานในวงจรไฟฟ้า สามารถต่อได้ 3 แบบ ได้แก่ 1. การต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม เป็นการต่ออุปกรณ์ต่างๆ ในวงจรเรียงกันเป็นสายเดียว กระแสไฟฟ้าจะไหลในทิศทางเดียวกันตลอด หากหลอดไฟฟ้าหลอดหนึ่งเสีย จะท าให้ไฟฟ้าทั้งวงจรดับทั้งหมด
2. การต่อวงจรไฟฟ้าแบบขนาน เป็นการต่อวงจรไฟฟ้า โดยที่กระแสไฟฟ้ามีการแยกไหลออกได้หลายทาง และช่วงสุดท้ายจะไหลมารวมกัน เมื่อหลอดไฟฟ้าหลอดใดหลอดหนึ่งเสีย หลอดไฟฟ้าหลอดอื่นยังสามารถ ใช้งานได้ตามปกติ
3. การต่อวงจรไฟฟ้าแบบผสม เป็นการต่อวงจรที่ใช้ทั้งแบบอนุกรมและแบบขนานมารวมกันให้เป็นวงจรเดียว โดยทั่วไปแล้วไม่นิยมน ามาใช้กันตามบ้านเรือน เนื่องจากมีความยุ่งยากในการต่อ มันจึงมักจะถูกน ามาใช้ในงานเฉพาะด้านอย่างงานด้านอิเล็กทรอนิกส์ เช่น การต่อวงจรในโทรศัพท์มือถือ โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ สามารถแบ่งตามลักษณะของการต่อวงจรไฟฟ้าได้ 2 ลักษณะ ดังนี้ 1. วงจรไฟฟ้าแบบผสม อนุกรม-ขนาน 2. วงจรไฟฟ้าแบบผสม ขนาน-อนุกรม
วงจรไฟฟ้าในบ้าน วงจรไฟฟ้าภายในบ้าน ส่วนใหญ่จะเป็นการต่อแบบขนาน เป็นการต่อวงจรท าให้อุปกรณ์และเครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ละชนิดอยู่คนละวงจร ถ้าเครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดหนึ่งเกิดขัดข้องเนื่องจากสาเหตุใดก็ตามเครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดอื่น ก็ยังคงใช้งานได้ตามปกติเพราะไม่ได้อยู่ในวงจรเดียวกัน ไฟฟ้าที่ใช้ในบ้านเรือนทั่วไปเป็นไฟฟ้ากระแสสลับมีความต่างศักย์ 220 โวลต์ ความถี่ 50 เฮิรตซ์ การส่งพลังงานไฟฟ้าเข้าบ้านจะใช้สายไฟ 2 เส้น คือ 1. สายกลาง หรือสาย N มีศักย์ไฟฟ้าเป็นศูนย์ 2. สายไฟ หรือสาย L มีศักย์ไฟฟ้าเป็น 220 โวลต์
ความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า กฎของโอห์ม กล่าวว่า “เมื่ออุณหภูมิคงที่ อัตราส่วนระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้ากับ กระแสไฟฟ้าของตัวน าไฟฟ้า จะมีค่าคงที่เท่ากับความต้านทานของตัวน าไฟฟ้านั้น” ความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า เขียนเป็นสมการ ได้ดังนี้ เมื่อ V แทนความต ่ างศก ั ยไ์ฟฟ้ า ม ี หน ่ วยเป็ นโวลต์ (V) I แทนกระแสไฟฟ้ า ม ี หน ่ วยเป็ น แอมแปร์ (A) R แทนความต้านทานไฟฟ้ า ม ี หน ่ วยเป็ น โอห์ม (Ω)
ตัวอย่างการหาค่าความต้านทาน หลอดไฟฟ้าหลอดหนึ่งใช้ไฟฟ้าซึ่งมีความต่างศักย์ไฟฟ้า 220 โวลต์ยอมให้ กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน 2 แอมแปร์ หลอดไฟฟ้าหลอดนี้มีความต้านทานเท่าใด วิธีท า โจทย์ก าหนด จากสมการ V = IR จะเป็น R = V I แทนค่า 220 = 2 x R R = 220 2 R = 110 V = 200 v I = 2 A ดังนั้น หลอดไฟฟ้าหลอดนี้มีความต้านทานเท่ากับ 110 โอห์ม ตอบ ค่าความต่างศักย์ไฟฟ้า 220 โวลต์ที่โจทย์ก าหนดให้ กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน 2 แอมแปร์ Ω Ω
ตัวอย่างการหาค่ากระแสไฟฟ้า ลวดตัวน าเส้นหนึ่งมีความต้านทาน 10 โอห์ม ถ้าความต่างศักย์ระหว่างปลายทั้งสอง ของสวดตัวน านี้มีค่า 50 โวลต์ กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านลวดตัวน านี้มีค่ากี่แอมแปร์ วิธีท า โจทย์ก าหนด จากสมการ V = IR จะเป็น I = V R แทนค่า 50 = I x 10 I = 50 10 I = 5 A R = 10 v = 50 v ค่าความต้านทาน 10 โอห์ม ที่โจทย์ก าหนดให้ ค่าความต่างศักย์ 50 โวลต์ ที่โจทย์ก าหนดให้ ดังนั้น กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านลวดตัวน านี้ มีค่าเท่ากับ 5 แอมแปร์ ตอบ Ω
ตัวอย่างการหาค่าความต่างศักย์ ลวดตัวน าเส้นหนึ่งมีความต้านทาน 6 โอห์ม มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน 0.25 แอมแปร์ ความต่างศักย์ระหว่างปลายทั้งสองของลวดตัวน าเป็นเท่าใด วิธีท า โจทย์ก าหนด จากสมการ V = IR แทนค่า V = 0.25 x 6 V = 1.5 V ดังนั้น ความต่างศักย์ระหว่างปลายทั้งสองของลวดตัวน าเท่ากับ 1.5 V ตอบ R = 6 Ω I = 0.25 A
แบบฝึกหัดท้ายบท เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า 1. เครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดหนึ่งมีความต้านทาน 11 โอห์ม เมื่อเปิดเครื่องใช้ไฟฟ้าจะมี กระแสไฟฟ้า ไหลผ่าน 20 แอมแปร์ อยากทราบว่าเครื่องใช้ไฟฟ้านี้ต่อเข้ากับความต่าง ศักย์ไฟฟ้ากี่โวลต์ (แสดงวิธีท า) 2. หม้อหุงข้าวไฟฟ้าใบหนึ่งมีความต้านทาน 55 โอห์ม ใช้กับไฟฟ้าที่มีความต่างศักย์ไฟฟ้า 220 โวลต์หม้อหุงข้าวไฟฟ้าใบนี้ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านเท่าใด (แสดงวิธีท า) 3. ลวดตัวน าเส้นหนึ่งมีความต้านทาน 10 โอห์ม มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน 0.50 แอมแปร์ ความต่างศักย์ระหว่างปลายทั้งสองของลวดตัวน าเป็นเท่าใดหลอดไฟฟ้า (แสดงวิธีท า) 4. หลอดตัวน าหนึ่งมีความต่างศักย์ไฟฟ้า 220 โวลต์ ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน 20 แอมแปร์หลอดไฟฟ้าหลอดนี้มีความต้านทานเท่าใด (แสดงวิธีท า) ตอนที่1
ค าชี้แจง: พิจารณาภาพที่ก าหนดให้ แล้วระบุชื่อและหน้าที่ของอุปกรณ์ไฟฟ้าลงในตารางให้ถูกต้อง หมายเลข อุปกรณ์ไฟฟ้า หน้าที่ 1 2 3 4 5 6 7 ตอนที่2
บทที่2 ไฟฟ้าในชีวิตประจ าวัน และอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
ก าลังไฟฟ้า คือ ค่าของพลังงานไฟฟ้าที่ถูกใช้ไปในหนึ่งหน่วยเวลา มีหน่วยเป็น วัตต์ (Watt : W) หรือจูลต่อวินาที (Joule : J/s) สามารถเขียนเป็นสมการแสดงความสัมพันธ์ได้ ดังนี้ P = w t เมื่อ P แทนก าลังไฟฟ้า มีหน่วยเป็นวัตต์ (W) W แทนพลังงานไฟฟ้า มีหน่วยเป็นจูล (J) t แทนเวลา มีหน่วยเป็นวินาที (s)
การค านวณค่าพลังงานไฟฟ้า การคิดค่าไฟฟ้า คือ การคิดราคาพลังงานไฟฟ้าที่ถูกใช้ไปตามอัตราที่ การไฟฟ้าก าหนด ซึ่งค่าไฟฟ้าจะคิดเป็นกิโลวัตต์ชั่วโมง หรือหน่วย ปริมาณพลังงานที่ใช้จะขึ้นอยู่กับก าลังไฟฟ้าและเวลา เขียนเป็นสมการ ได้ดังนี้ W = Pt เมื่อ W แทนพลังงานไฟฟ้า มีหน่วยเป็นกิโลวัตชั่วโมง (kwh) P แทนก าลังไฟฟ้า มีหน่วยเป็นกิโลวัตต์ (kw) t แทนเวลา มีหน่วยเป็นชั่วโมง (h)
ตัวอย่าง ห้องของเด็กชาย ก มีหลอดไฟฟ้าขนาด 28 วัตต์ จ านวน 2 หลอด และมีพัดลมขนาด 70 วัตต์ จ านวน 1 เครื่อง ถ้าเด็กชาย ก ใช้หลอดไฟฟ้าทั้งสองหลอดพร้อมๆกันเป็นเวลา 45 นาที และใช้พัดลมเป็นเวลา 30 นาที พลังงานไฟฟ้าทั้งหมดที่ใช้ไปจะมีค่าเท่าใด วิธีท า หาพลังงานไฟฟ้าที่หลอดไฟฟ้าใช้ โจทย์ก าหนดให้: ก าลังไฟฟ้าของหลอดไฟฟ้ามีขนาด 28 วัตต์ เด็กชาย ก ใช้หลอดไฟฟ้าเป็นเวลา 45 นาที นั่นคือ: เด็กชาย ก ใช้หลอดไฟนาน 45 นาที โดยคิดเป็น 1 นาที = 60 วินาที จะได้ 45 x 60 = 2,700 วินาที จากสูตร W = Pt W = 28 watt x 2,700 s W = 75,600 J หรือ 75.6 kJ ดังนั้น หลอดไฟฟ้า 1 หลอด = 75.6 kJ เมื่อมีหลอดไฟฟ้า 2 หลอด จะใช้พลังงานไฟฟ้า 75.6 x 2 = 151.2 kJ มาจาก 75,600 หาร 1000 ต่อหน้าต่อไป
วิธีท า หาพลังงานไฟฟ้าที่พัดลมใช้ โจทย์ก าหนดให้: ก าลังไฟฟ้าของพัดลมมีขนาด 70 วัตต์ เด็กชาย ก ใช้พัดลมเป็นเวลา 30 นาที นั่นคือ: เด็กชาย ก ใช้พัดลมนาน 30 นาที โดยคิดเป็น 1 นาที = 60 วินาที จะได้ 30 x 60 = 1,800 วินาที จากสูตร W = Pt W = 70 watt x 1,800 s W = 126,000 J หรือ 126 kJ พัดลมใช้พลังงานไฟฟ้า 126 kJ ดังนั้น พลังงานไฟฟ้าที่เครื่องใช้ไฟฟ้าทั้งสองชนิดใช้มีค่า 151.2 + 126.0 = 277.2 kJ มาจาก 126,000 หาร 1000
เรื่องที่2 อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
อิเล็กทรอนิกส์ คือ การควบคุมหรือออกแบบการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้า ซึ่งมีชิ้นส่วน หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เป็นส่วนประกอบของวงจร ท าหน้าที่ ควบคุมการไหลของกระแสไฟฟ้า มัลติมิเตอร์
ตัวต้านทาน คือ เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ท าหน้าที่ลดปริมาณกระแสไฟฟ้า โดยทั่วไปแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. ตัวต้านทานคงที่ คือ ตัวต้านทานที่มีค่าความต้านทานของการไหลของ กระแสไฟฟ้าคงที่สามารถอ่านค่าความต้านทานได้จากแถบสีที่คาดอยู่บนตัว ความต้านทาน มีหน่วยเป็นโอห์ม Ω 2. ตัวต้านทานแปรค่าได้ คือ ตัวต้านทานที่เมื่อหมุนแกนของตัวต้านทาน แล้วค่าความต้านทานจะเปลี่ยนแปลงไป นิยมใช้ในการควบคุมค่าความต่าง ศักย์ไฟฟ้า ในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ภาพ: ตัวต้านทานคงที่ ภาพ: ตัวต้านทานแปรค่าได้
การอ่านค่าตัวต้านทานคงที่ ตัวต้านทานคงที่ นิยมใช้ ตัวต้านทานแบบแถบสี โดยใช้สีที่เป็น มาตรฐานก าหนดแทนตัวเลข แทนค่า ความตัวต้านทานและค่าความผิดพลาด ซึ่งถ้าเป็นการพิมพ์ค่าติดไว้บนตัว ต้านทานมักจะเป็นตัวต้านทานที่มี อัตราทนก าลังวัตต์สูง ส่วนตัวต้านทานที่มีอัตราทน ก าลังวัตต์ต่ ามักจะใช้รหัสแถบสี ที่นิยม ใช้มี4 แถบสีและ 5 แถบสี
ตัวต้านทานแบบ 4 แถบสี โอห์ม โอห์ม/ กิโลโอห์ม โอห์ม ค่าความผิดพลาด สีเทา สีเงิน ไม่มีสี ตัวตั้งค่า ตัวคูณค่า 4 สี
ตัวอย่าง การหาค่าของตัวต้านทานแบบ 4 แถบสี 4 สี จะได้: ค่าของความต้านทานคือ 1 0 x 1k = 10k ดังนั้น: = =
ตัวต้านทานแบบ 5 แถบสี สีเทา สีเงิน ไม่มีสี 0.01 ตัวคูณค่า ค่าความ ผิดพลาด 5 สี ตัวตั้งค่า
ตัวอย่าง การหาค่าของตัวต้านทานแบบ 5 แถบสี จะได้: ค่าของความต้านทานคือ 0 2 0 x 10 = 200 ดังนั้น: 5 สี
ค าถามท้ายบท 1. ห้องของนุ๊กนิก มีหลอดไฟฟ้าขนาด 40 วัตต์ จ านวน 2 หลอด และมีพัดลมไอน้ า ขนาด 95 วัตต์ จ านวน 1 เครื่อง ถ้านุ๊กนิก ใช้หลอดไฟฟ้าทั้งสองหลอดพร้อมๆกัน เป็นเวลา40 นาที และใช้พัดลมไอน้ าเป็นเวลา 50 นาที พลังงานไฟฟ้าทั้งหมดที่ใช้ ไปจะมีค่าเท่าใด (จงแสดงวิธีท าโดยละเอียด) ค าชี้แจง: จงตอบค าถามต่อไปนี้ (ท าใส่สมุด) 2. ให้นักเรียนวาดภาพตัวต้านทานแบบ 4 แถบสีและ ตัวต้านทานแบบ 5 แถบสีใส่ลงไปในกระดาษA4 (แล้วตกแต่งให้สวยงาม) 10 คะแนน
การหาค่าตัวต้านทาน
การอ่านค่าตัวต้านทานคงที่ ตัวต้านทานคงที่ นิยมใช้ ตัวต้านทานแบบแถบสี โดยใช้สีที่เป็น มาตรฐานก าหนดแทนตัวเลข แทนค่า ความตัวต้านทานและค่าความผิดพลาด ซึ่งถ้าเป็นการพิมพ์ค่าติดไว้บนตัว ต้านทานมักจะเป็นตัวต้านทานที่มี อัตราทนก าลังวัตต์สูง ส่วนตัวต้านทานที่มีอัตราทน ก าลังวัตต์ต่ ามักจะใช้รหัสแถบสี ที่นิยม ใช้มี4 แถบสีและ 5 แถบสี
ตัวต้านทานแบบ 4 แถบสี โอห์ม โอห์ม/ กิโลโอห์ม โอห์ม ค่าความผิดพลาด สีเทา สีเงิน ไม่มีสี ตัวตั้งค่า ตัวคูณค่า 4 สี
ตัวอย่าง การหาค่าของตัวต้านทานแบบ 4 แถบสี 4 สี จะได้: ค่าของความต้านทานคือ 1 0 x 1k = 10k ดังนั้น: = =
ตัวต้านทานแบบ 5 แถบสี สีเทา สีเงิน ไม่มีสี 0.01 ตัวคูณค่า ค่าความ ผิดพลาด 5 สี ตัวตั้งค่า
ตัวอย่าง การหาค่าของตัวต้านทานแบบ 5 แถบสี จะได้: ค่าของความต้านทานคือ 0 2 0 x 10 = 200 ดังนั้น: 5 สี
แบบฝึกหัดท้ายบท เรื่อง หาค่าตัวต้านทาน ค าชี้แจง: ให้นักเรียนลอกโจทย์ลงไปในสมุดแล้วตอบค าถามให้ถูกต้อง แถบสีที่ 1 2 3 4 5 สี ค่า ความต้านทาน ค่าความผิดพลาด ส้ม ส้ม ขาว ด า น้ าตาล แถบสีที่ 1 2 3 4 สี ค่า ความต้านทาน ค่าความผิดพลาด แดง แดง น้ าตาล ทอง 1. ตัวต้านทานค่าคงที่หนึ่ง มีแถบสีบนตัวต้านทาน ดังภาพ จะมีค่าตัวต้านทานเท่าใด 2. ตัวต้านทานค่าคงที่หนึ่ง มีแถบสีบนตัวต้านทาน ดังภาพ จะมีค่าตัวต้านทานเท่าใด
3. ตัวต้านทานค่าคงที่หนึ่ง มีแถบสีบนตัวต้านทาน ดังภาพ จะมีค่าตัวต้านทานเท่าใด แถบสีที่ 1 2 3 4 5 สี ค่า ความต้านทาน ค่าความผิดพลาด 5. จงตอบค าถามต่อไปนี้ 5.1 อิเล็กทรอนิกส์ คือ..................................................................................................... 5.2 ตัวต้านทาน คือ......................................................................................................... ม่วง ส้ม แดง เงิน แถบสีที่ 1 2 3 4 5 สี ค่า ความต้านทาน ค่าความผิดพลาด 4. ตัวต้านทานค่าคงที่หนึ่ง มีแถบสีบนตัวต้านทาน ดังภาพ จะมีค่าตัวต้านทานเท่าใด
อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น