๑๔๐ เป็นสิ่งที่มีความส าคัญเพราะเป็นกรอบในการก าหนดอัตลักษณ์ของผู้น าว่าผู้น าที่ดี นั้นควรจะมีลักษณะและคุณสมบัติอย่างไร โดยทั้ง ๒ ประการนั้นมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ คุณสมบัติภำยในของผู้น ำ ส าหรับคุณสมบัติของผู้น าที่อยู่ภายในนั้น หมายถึง สภาพจิตใจ คุณธรรมหรือหลักการในด้านมโนธรรมที่ผู้น าโดยมากจะพึงมีเป็นเจตคติและ ความคิดรวมถึงอารมณ์ที่เป็นไปในฝ่ายดี และสามารถน ามาปรับใช้เพื่อการ บริหารงานได้ โดยหลักคุณธรรมที่เป็นตัวก าหนดลักษณะและคุณสมบัติดังกล่าวที่ จัดเป็นมโนธรรมนั้นมีดังต่อไปนี้ 1) พิจารณาจากคุณสมบัติของผู้น าที่ปรากฏอยู่ในทุติยปาปริก สูตร ซึ่งในพระสูตรนี้ได้กล่าวถึงคุณสมบัติของผู้น าไว้ดังนี้ 1.๑) จักขุมา คือ เป็นผู้มีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล มองสภาพ เหตุการณ์ รูปการณ์สถานการณ์ออก และจะวางแผนเตรียมรับหรือรุกได้อย่างไร 1.๒) วิธุโร คือ เป็นผู้เชี่ยวชาญช านาญในงาน รู้จักหลักการ และวิธีการไม่บกพร่องในหน้าที่ที่ตนได้รับผิดชอบ 1.๓) นิสสยสัมปันโน คือ เป็นผู้ที่มีมนุษย์สัมพันธ์ดี และ ได้รับความเชื่อถือจากผู้อื่น6 ในพระสูตรนี้แสดงให้เห็นว่า การเป็นผู้น านั้นจะต้องเป็นผู้ ประกอบด้วยปัญญา คือ มีหูตาไวและกว้างไกลสามารถจ าแนกบุคคล และ เหตุการณ์ สถานการณ์ ออกว่าเป็นอย่างไร ซึ่งจะท าให้ผู้น ามีประสบการณ์มีความ ช านาญในการปกครอง เข้าใจบุคคลหรือผู้ใต้บังคับบัญชาได้เป็นอย่างดี ซึ่งจะท า ให้มีผู้สนับสนุนมากขึ้น แต่คุณสมบัติทั้ง ๓ ประการนี้ มีระดับความส าคัญมากน้อย ต่างกันไปตามระดับต าแหน่งหน้าที่ขององค์กรหรือหน่วยงานว่าเล็กหรือใหญ่ขนาด ไหน หรือมีความส าคัญเพียงใดโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผู้ปกครองรัฐหรือผู้น าประเทศ แล้วนับว่าเป็นองค์กรที่ใหญ่ ผู้น าหรือผู้บริหารจึงต้องมีคุณสมบัติครบถ้วน จึงจะ สามารถยึดศรัทธาของผู้ใต้บังคับบัญชาไว้ได้ 6 องฺ.จตุกฺก.(ไทย) ๒๑/๑๕๗/๒๐๓.
๑๔๑ 2) พิจารณาจากคุณสมบัติของผู้น าที่ปรากฏในสังฆโสภณสูตร ในพระสูตรนี้พระพุทธองค์ได้ก าหนดแสดงถึงลักษณะและคุณสมบัติของผู้น าว่ามี ลักษณะส าคัญดังต่อไปนี้คือ 2.๑) วิยัตโต เป็นผู้มีปัญญา 2.๒) วินีโต เป็นผู้มีระเบียบวินัยดี 2.๓) วิสารโท เป็นผู้แกล้วกล้า ๔) พหุสสุโต เป็นผู้มีความรู้ศึกษาทรงจ ามาก ๕) ธัมมานุธัมมปฏิปันโน เป็นผู้ปฏิบัติธรรม สมควรแก่ธรรม รักษาความถูกต้องในสิ่งที่ถูกที่ควร7 ผู้น าที่ประกอบด้วยคุณธรรม ๕ ประการดังกล่าวนี้ย่อมประสบ ความส าเร็จและได้รับการยกย่องนับถือ 3) พิจารณาจากคุณสมบัติของผู้น าที่ปรากฏในอังคุตตรนิกาย ปัญจกนิบาตที่พระพุทธองค์ได้แสดงลักษณะและคุณสมบัติของผู้น าไว้ ๖ ประการ คือ 3.๑) ขมา คือ มีความอดทนต่อการปฏิบัติงานมีใจหนัก แน่นมั่นคง ไม่ยอมตกในความชั่วไม่เกรงกลัวหรือมีอคติ ๔ เมื่อจะต้องตัดสินใจ และไม่หวั่นไหวในเพราะโลกธรรม ๘ 3.๒) ชาคริยะ คือ มีความตื่นตัวอยู่ตลอดเวลา มีความ ระมัดระวังไม่ประมาทในการประคับประคองชีวิตหน้าที่และการงาน 3.๓) อุฏฐานะ คือ มีความขยันหมั่นเพียรต่อหน้าที่การงาน 3.๔) สังวิภาคะ คือ มีอัธยาศัยดี เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มีน้ าใจต่อ ผู้ร่วมงาน 3.๕) ทยา คือ มีจิตใจที่เอ็นดู รักใคร่ห่วงใยเอาใจใส่ดูแล ผู้ร่วมงาน 3.๖) อิกขนา คือ เอาใจใส่ตรวจตรางานและหน้าที่ที่ตน รับผิดชอบ8 7 องฺ.จตุกฺก. (ไทย) ๒๑/๗/๑๐. 8 องฺ.ปญจก.(ไทย) ๒๒/๕๓/๕๖.
๑๔๒ 4) พิจารณาจากคุณสมบัติของผู้น าที่ปรากฏในเตสกุณชาดก ที่ พระพุทธองค์ได้แสดงถึงคุณสมบัติผู้น าและผู้ปกครองทั้งหลายซึ่งสามารถสรุปย่อ ลงได้ ดังนี้ 4.๑) ไม่เป็นคนเจ้าอารมณ์ ไม่ใช้อารมณ์ในการตัดสิน ปัญหา มีใจดี ไม่ทอดทิ้งงาน ไม่ท างานให้อากูล (คั่งค้าง) มีความเพียรอุตสาหะใน หน้าที่การงาน 4.๒) ฉลาดวางบุคคลให้เหมาะสมกับงาน รู้ประโยชน์และ โทษ รักษาความลับ ไม่ด าเนินชีวิตในทางที่ผิด รักษาเกียรติประวัติ รักษา ประโยชน์ส่วนรวม และต้องรอบรู้ในกิจการคลังบริหารการคลังด้วยตนเอง ไม่ควร ไว้ใจให้คนอื่นจัดการ รู้รายรับรายจ่ายของแผ่นดินหรือในกิจการงานนั้นๆ ที่ รับผิดชอบ 4.๓) บ ารุงขวัญก าลังใจแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา ยกย่องบุคคลผู้ ควรแก่การยกย่อง ข่มผู้ควรข่ม รู้ในสิ่งที่ควรท าก่อนท าหลัง ออกรับฟังปัญหาหรือ พบปะราษฎรอยู่สม่ าเสมอเพื่อรับฟังปัญหาและทางแก้ไขหรือชี้แนะแนวทาง 4.๔) ออกติดตามผลงาน ตรวจตราดูแลความประพฤติของ เจ้าหน้าที่ ไม่พึงมอบภารกิจที่ส าคัญ ๆ แก่ผู้อื่นและใช้วิจารณญาณในการบริหาร 4.๕) ไม่พึงละการบ าเพ็ญประกอบตนในศีลธรรมที่ดีงาม เพื่อเป็นแบบอย่างและยึดมั่นเป็นข้อปฏิบัติ ไม่ส าคัญตนผิดว่ายิ่งในอ านาจ 4.๖) ไม่ลุ่มหลงในกามคุณ และโลกธรรม และมีปัญญา มี ก าลังแห่งสติเพราะจะเป็นเครื่องช่วยให้ผู้น าหรือผู้ปกครองสามารถฟันฝ่าอุปสรรค แก้ไขปัญหาไปได้แม้ถึงคราวอับจน9 5) พิจารณาจากคุณสมบัติของผู้น าที่ปรากฏในกปิชาดก สัตตก นิบาตขุททกนิกาย ที่พระพุทธองค์ได้แสดงถึงคุณสมบัติของผู้น าหรือผู้ปกครองที่ดี ว่า อันคนพาลถึงจะมีก าลังปกครองหมู่คณะไม่ดีเลย เพราะไม่เป็นประโยชน์แก่ญาติทั้งหลาย เหมือนนกกระทาตัว ผู้ไม่เป็นประโยชน์แก่พวกนกปกครองหมู่คณะทั้งหลายเหล่า ฉะนั้น ส่วนนักป ราชญ์ มีก าลังปกครองหมู่คณ ะดีมาก 9 ขุ.ชา. (ไทย) ๒๗/๒๔๓๘-๒๔๔๕/๔๓๐-๕๔๓.
๑๔๓ เพราะว่าเป็นประโยชน์แก่ญาติทั้งหลาย เหมือนท้าววาสวะผู้ เป็นประโยชน์แก่เทวดาชั้นดาวดึงส์ทั้งหลายฉันนั้น ผู้ใด พิจารณาเห็นศีล ปัญญา และสุตะในตน ผู้นั้นย่อมประพฤติ ประโยชน์ ได้ทั้งสองฝ่าย คือ ทั้งตนและผู้อื่น10 หากพิจารณาข้อความที่ยกมากล่าวนี้แล้ว ชี้ให้เห็นว่าผู้น าหรือ ผู้ปกครองที่ดีนั้น จะต้องเป็นผู้มีศีลเพราะศีลเป็นของผู้มีปัญญา แต่ถ้าผู้น าและ ผู้ปกครองเป็นผู้ไม่มีศีลและปัญญาแล้วก็เป็นผู้น าหรือผู้ปกครองที่ดีไม่ได้ มีแต่ ความเลวลง แม้แต่ญาติพี่น้องตลอดจนเพื่อนฝูงก็พากันรังเกียจในทางตรงข้ามแล้ว ผู้น าหรือผู้ปกครอง มีทั้งศีล ปัญญา และสุตะ อยู่ในตนแล้ว ก็จะเป็นประโยชน์ใน การเป็นผู้น าหรือผู้ปกครองที่ดี ญาติพี่น้องตลอดจนเพื่อนฝูงก็ให้ความเคารพด้วย ความอ่อนน้อมอย่างแท้จริง 6) พิจารณาจากคุณสมบัติของผู้น าที่ปรากฏในกูฎทันตสูตร สีล ขันธวรรค ทีฆนิกายที่พระพุทธองค์ได้กล่าวถึงคุณสมบัติของพระเจ้ามหาวิชิตะใน ฐานะที่เป็นผู้น าที่ดีว่าจะต้องมีลักษณะและคุณสมบัติ ๘ ประการดังนี้คือ 6.๑) ทรงเป็นอุภโตสุชาต ทั้งฝ่ายพระมารดาและพระบิดา มีพระครรภ์เป็นที่ปฏิสนธิหมดจดดีตลอดเจ็ดชั่วบรรพบุรุษ ไม่มีใครจะคัดค้านติ เตียนด้วยอ้างถึงพระชาติก าเนิดได้ 6.๒) ทรงมีพระรูปงาม น่าดู น่าเลื่อมใส ประกอบด้วยพระ ฉวีวรรณผุดผ่องยิ่งนัก มีพระฉวีวรรณคล้ายพรหม มีพระรูปคล้ายพรหม น่าดู น่า ชมมากที่สุด 6.๓) ทรงมั่งคั่ง มีทรัพย์มาก มีโภคสมบัติมาก มีทองและ เงินมาก มีเครื่องใช้สอยอันน่าปลื้มใจมาก มีทรัพย์และธัญญาหารมาก มีพระคลัง และฉางเต็มบริบูรณ์ 6.๔) ทรงมีก าลัง ทรงสมบูรณ์ด้วยเสนามีองค์ ๔ ซึ่งอยู่ใน วินัย คอยปฏิบัติตามพระราชบัญชา มีพระบรมเดชานุภาพดังจะเผาผลาญราชศัตรู ได้ด้วยพระราชอิสริยยศ 10 ขุ.ชา. (ไทย) ๒๗/๓๖๗-๓๖๘/๒๖๗-๒๖๘.
๑๔๔ 6.๕) ทรงพระราชศรัทธา เป็นทายก เป็นทานบดี มิได้ปิด ประตูเป็นดุจโรงทานของสมณพราหมณ์ คนก าพร้า คนเดินทาง วณิพก และยาจก ทรงบ าเพ็ญพระราชกุศล 6.๖) ได้ทรงศึกษา ทรงสดับเรื่องนั้น ๆ มาก 6.๗) ทรงทราบอรรถแห่งข้อที่ทรงศึกษา และภาษิตนั้นๆ ว่า นี้อรรถแห่งภาษิตนี้ 6.๘) ทรงเป็นบัณฑิต เฉียบแหลม ทรงพระปรีชาสามารถ ทรงพระราชด าริอรรถอันเป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน11 7) พิจารณาจากคุณสมบัติของผู้น าที่ปรากฏในหลักธรรมข้อ ต่างๆ เป็นการพิจารณาในแง่ของคุณธรรมที่เป็นหลักการที่พระพุทธองค์ได้ทรงวาง ไว้เป็นกรอบในการด าเนินชีวิตหรือการท าหน้าที่ในการบริหารของผู้ที่เป็นผู้น า โดยหลักธรรมส าคัญที่บ่งถึงความเป็นผู้น านั้นมีดังต่อไปนี้ 7.1) พรหมวิหาร ๔ คือ ธรรมประจ าใจของผู้ประเสริฐหรือ ผู้มีจิตใจยิ่งใหญ่กว้างขวางดุจพรหม คือ (๑) เมตตา (ความรัก) คือ ความปรารถนาดี มีไมตรี ต้องการช่วยเหลือให้ทุกคนประสบประโยชน์และความสุข (๒) กรุณา (ความสงสาร) คืออยากช่วยเหลือผู้อื่นให้พ้น จากความทุกข์ใฝ่ใจที่จะปลดเปลื้องบ าบัดความทุกข์ยาก เดือดร้อน ของคน และ สัตว์ทั้งปวง (๓) มุทิตา (ความเบิกบานพลอยยินดี) เมื่อเห็นผู้อื่นอยู่ ดีมีความสุขก็มีใจแช่มชื่นเบิกบานเมื่อเห็นเขาประสบความส าเร็จงอกงามยิ่งขึ้นไป ก็พลอยยินดีบันเทิงใจด้วย (๔) อุเบกขา (ความมีใจเป็นกลาง) คือ มองตามความ เป็นจริงโดยวางจิตเรียบสม่ าเสมอ มั่นคงเที่ยงตรงดุจตราชั่ง มองเห็นการที่บุคคล จะได้รับผลดีหรือชั่วสมควรแก่เหตุที่ตนประกอบ พร้อมที่จะวินิจฉัย วางตน และ ปฏิบัติไปตามความเที่ยงธรรม12 11 ที.สี. (ไทย) ๙/๒๑๓-๒๑๔/๒๐๓-๒๐๔. 12 ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๒๘/๒๓๒.
๑๔๕ 7.2) หลักอคติ ๔ เมื่อมีคุณธรรมสมบูรณ์ การท างานจะ ถูกต้องเป็นประโยชน์ยิ่งขึ้น ก็ด้วยละอคติ ๔ ความล าเอียงเป็นสาเหตุส าคัญที่ท า ให้เกิดความวุ่นวายในสังคมเพราะสร้างความแตกแยกจนเกิดไร้ความสามัคคีกันได้ โดยง่าย ผู้ท าหน้าที่รับผิดชอบต่อสังคมจักต้องไม่เป็นผู้มีความล าเอียงโดยเด็ดขาด ในปุราเภทสุตตนิทเทส อัฎฐกวรรค ขุททกนิกาย ว่าด้วยผู้ไม่มีความล าเอียงว่า ค า ว่า “ละ” ไม่ถึงความล าเอียงในธรรมทั้งหลาย คือไม่ถึงฉันทาคติ ไม่ถึงโทสาคติ ไม่ ถึงโมหาคติ ไม่ถึงภยาคติ ไม่ล าเอียงด้วยอ านาจแห่งราคะ โทสะ โมหะ มานะ ทิฐิ อุทธัจจะ วิจิกิจฉา อนุสัย ไม่ไปออกไป พาไป น าไปด้วยธรรมทั้งหลายอันท าให้ เป็นพรรคพวก เพราะฉะนั้นจึงชื่อว่าไม่ถึงความล าเอียงในธรรมทั้งหลาย อคติมี ๔ ประการ ที่นักปกครองที่ดีเมื่อปฏิบัติหน้าที่แล้วพึงละเว้น คือ (๑) ฉันทาคติ ล าเอียงเพราะชอบ (๒) โทสาคติ ล าเอียงเพราะชัง (๓) โมหาคติ ล าเอียงหลงหรือเขลา (๔) ภยาคติ ล าเอียงเพราะขลาดกลัว13 7.3) หลักสัปปุริสธรรม ๗ ส่วนการด าเนินกิจกรรมต่างๆ จะมีความเหมาะสมเพียงใดมีหลักพุทธธรรมอีกส่วน คือ สัปปุริสธรรม ในสัปปุริส สูตร อุปริปัญณาสก์ มัชฌิมนิกาย ปรากฏพุทธโอวาทเรื่องธรรมของคนดี (สัตบุรุษ) คนที่สมบูรณ์แบบ หรือมนุษย์โดยสมบูรณ์ ซึ่งถือว่าเป็นสมาชิกที่ดี มีคุณค่า ที่ แท้จริงของมนุษย์ชาติ มีธรรมะ หรือคุณสมบัติที่เรียกว่า สัปปุริสธรรม ๗ ประการ คือ (๑) ธัมมัญญุตา (รู้หลักและรู้จักเหตุ) คือ รู้หลักการและ กฎเกณฑ์ของสิ่งทั้งหลายที่ตนเข้าไปเกี่ยวข้องในการด าเนินชีวิต การปฏิบัติกิจ หน้าที่ และการด าเนินกิจการต่าง ๆ รู้เข้าใจในสิ่งที่ตนจะต้องประพฤติปฏิบัติตาม เหตุผล เช่น รู้ว่าต าแหน่งฐานะ อาชีพการงานของตน มีหน้าที่และความ รับผิดชอบอย่างไร มีอะไรเป็นหลักการจะต้องท าอะไรอย่างไร จึงจะเป็นเหตุให้ บรรลุถึงผลส าเร็จที่เป็นไปตามหน้าที่ และความรับผิดชอบนั้น ๆ ตลอดจนขั้น สูงสุด คือ รู้เท่าทันกฎธรรมดาหรือหลักความจริงของธรรมชาติเพื่อปฏิบัติต่อชีวิต อย่างถูกต้องมีจิตใจเป็นอิสระไม่ตกเป็นทาสของโลกและชีวิตนั้น 13 ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๑๗๖/๑๙๖.
๑๔๖ (๒) อัตถัญญุตา (รู้ความมุ่งหมายและรู้จักผล) คือ รู้ ความหมายและความมุ่งหมายของหลักการที่ตนปฏิบัติ เข้าใจวัตถุประสงค์ของ กิจการที่ตนกระท า รู้ว่าหลักการนั้น ๆ มีความมุ่งหมายอย่างไร รู้ว่าที่ตนท าอย่าง นั้น ๆ ด าเนินชีวิตอย่างนั้นเพื่อประสงค์ประโยชน์อะไรหรือควรจะได้บรรลุถึงผล อะไร ที่มีหน้าที่ต าแหน่งฐานะ การงานอย่างนั้น เขาก าหนดวางกันไว้เพื่อความมุ่ง หมายอะไร กิจการที่ตนท าอยู่ขณะนี้เมื่อท าไปแล้วจะบังเกิดผลอะไรบ้าง เป็นผลดี หรือผลเสียอย่างไร เป็นต้น ตลอดจนถึงขั้นสูงสุด คือ รู้ความหมายของคติธรรม และประโยชน์ที่เป็นสาระของชีวิต (๓) อัตตัญญุตา (รู้จักตน) คือ รู้จักตัวตนของเราเอง ว่า โดยฐานะ ภาวะ เพศ ก าลังความรู้ ความสามารถ ความถนัด และคุณธรรม สามารถประเมินตนเองได้ในหลักธรรม ดังนี้ศรัทธา (ชอบ รักในงานอะไร) ศีล (วินัย) สุตะ(ความรู้) จาคะ (ความเสียสละ) ปัญญา (กระบวนการในการพัฒนา ความรู้ที่มีอยู่) เป็นต้น แล้วประพฤติให้เหมาะสม และรู้ที่จะแก้ไขปรับปรุงต่อไป (๔) มัตตัญญุตา (รู้จักประมาณ) คือรู้จักพอดี เช่น รู้จัก ประมาณในการบริโภครู้จักประมาณในการใช้จ่ายทรัพย์ รู้จักความพอเหมาะพอดี ในการพูด การปฏิบัติกิจและท าการต่าง ๆตลอดจนการพักผ่อนหลับนอน และการ สนุกสนานรื่นเริงต่างๆ (๕) กาลัญญุตา (รู้จักกาล) คือรู้การเวลาอันเหมาะสม และระยะเวลาที่พึงใช้ในการประกอบกิจ กระท าหน้าที่การงานปฏิบัติการต่าง ๆ และเกี่ยวข้องกับผู้อื่น เช่น รู้ว่าเวลาไหนควรท าอะไร และท าให้ตรงเวลา ให้เป็น เวลา ให้เหมาะเวลา ให้ถูกเวลา เป็นต้น (๖) ปริสัญญุตา (รู้จักชุมชน) คือ รู้จักถิ่น รู้จักที่ประชุม ชนและชุมชน รู้กาลอันควรประพฤติปฏิบัติในถิ่นชุมชน และต่อชุมชนนั้นว่า ชุมชนนี้เมื่อเข้าไปหาควรต้องท ากิริยาอย่างนี้ควรต้องพูดอย่างนี้ ชุมชนนี้มีระเบียบ วินัยอย่างนี้ มีวัฒนธรรมประเพณีอย่างนี้ มีความต้องการอย่างนี้ควรเกี่ยวข้อง ควร ต้องสงเคราะห์ ควรรับใช้ ควรบ าเพ็ญประโยชน์ให้อย่างนั้น ๆ เป็นต้น (๗) ปุคคลัญญุตา (รู้จักบุคคล) คือ รู้จัก และเข้าใจ ความแตกต่างแห่งบุคคลว่าโดยอัธยาศัยความสามารถและคุณธรรม เป็นต้น ใคร ๆ ยิ่งหรือหย่อนอย่างไร และรู้จักที่จะปฏิบัติต่อบุคคลอื่น ๆ ด้วยดีว่าควรจะคบ
๑๔๗ หรือไม่ได้คติอะไร จะสัมพันธ์เกี่ยวข้อง จะใช้ จะยกย่อง จะต าหนิหรือจะแนะน า สั่งสอนอย่างไรจึงจะได้ผลดี เป็นต้น14 มีข้อธรรมจากสัปปุริสสูตร จตุกกนิบาต อังคุตตรนิกาย กล่าวถึงการแสดงออก หรือพฤติกรรมของสัตบุรุษ (ผู้มีคุณธรรม) ไว้ดังนี้ แม้ถูกถาม ก็ไม่เปิดเผยความเสียหายของผู้อื่น จะกล่าว อะไรถึงไม่ถูกถามเล่า แต่เมื่อถูกถามเข้าก็ไม่แก้ปัญหาโดยตรง อ้อมค้อมหน่วงเหนี่ยว กล่าวความเสียหายของผู้อื่นโดยย่อไม่ เต็มที่ แม้ไม่ถูกถามก็ไม่เปิดเผยความดีของผู้อื่นจะกล่าวอะไรถึง ถูกถามเล่า เมื่อถูกถามเข้าก็แก้ปัญหาโดยตรงไม่อ้อมค้อม ไม่ หน่วงเหนี่ยวกล่าว ความดีของผู้อื่นเต็มที่อย่างกว้างขวาง แม้ไม่ ถูกถามก็ไม่เปิดเผยความเสียหายของตน จะกล่าวอะไรถึงถูก ถามเล่า แต่เมื่อถูกถามเข้าก็แก้ปัญหาโดยตรง ไม่อ้อมค้อมไม่ หน่วงเหนี่ยวแล้วกล่าวความเสียหายของตนเต็มที่อย่าง กว้างขวาง แม้ถูกถามก็ไม่เปิดเผยความดีของตนจะกล่าวอะไร ถึงไม่ถูกถามเล่าแต่เมื่อถูกถามเข้าก็ไม่แก้ปัญหาโดยตรง อ้อม ค้อม หน่วงเหนี่ยว แล้วกล่าวความดีของตนโดยย่อ15 ในข้อนี้หมายความว่า พฤติกรรมของสัตบุรุษนั้น มีลักษณะ อุปนิสัยไม่ชอบกล่าวให้ผู้อื่นเสียหาย แม้บุคคลนั้นจะเป็นคนไม่ดีก็ตาม แม้ถึงที่สุด คือ เมื่อมีใครมาถามก็ไม่เปิดเผยในเรื่องที่ไม่ดีของเขา กล่าวแต่เรื่องดี ยิ่งไม่ต้องพูด ว่า จะกล่าวออกมาเอง หากว่าจ าเป็นจะต้องชี้แจง ก็กล่าวแต่เพียงอ้อมๆ แต่ถ้า หากเป็นเรื่องที่ดีแล้วควรขยายความให้ผู้อื่นทราบ ในทางตรงกันข้าม ถ้าหากเป็น เรื่องของตนถ้าเป็นเรื่องเสียหาย ก็กล่าวอย่างเต็มที่ไม่ปกปิด ไม่อ้อมค้อม พอเป็น เรื่องความดีของตนไม่ควรสรรเสริญเยินยอตนเอง นี้คือ คุณสมบัติของคนดีในปุริ สวรรค ทุกนิบาต อังคุตตรนิกาย แบ่งกลุ่มบุคคล ในสังคม (บริษัทออกเป็น ๒ ฝ่าย) คือ ฝ่ายธรรมะและฝ่ายอธรรมโดยแต่ละฝ่ายมีคุณสมบัติที่ตรงกันข้าม ซึ่ง 14 องฺ.สตฺตก.(ไทย) ๒๓/๖๕/๑๑๔. 15 องฺ.จตุกฺก. (ไทย) ๒๑/๙๘ /๑๐๒-๑๐๓.
๑๔๘ สามารถน ามาเป็นหลักในการพิจารณาเลือกสรรผู้ปกครองหรือนักการเมืองได้เป็น อย่างดี คุณสมบัติภำยนอกของผู้น ำ การเป็นผู้ปกครองนั้นถ้าลักษณะภายนอกไม่ดี เช่น การยืน การ เดิน การนั่ง และการวางตัวไม่สม่ าเสมอแล้ว หรือตรงข้ามกับคนขี้ริ้วขี้เหล่ และ เป็นคนพิการก็ไม่อาจเป็นผู้ปกครองที่ดีได้ในอุลุกชาดก ปทุมวรรค ขุททกนิกาย กล่าวว่าหน้าตาไม่ดีไม่ควรให้เป็นใหญ่ โดยน าไปเปรียบกับนกเค้าว่า “.....จงมองดู หน้าตาของนกเค้า ผู้ไม่โกรธเถิด นกเค้าโกรธแล้ว จักท าหน้าตาเป็นอย่างไร” 16 หากพิจารณาข้อความนี้ ชี้ให้เราเห็นว่าการเป็นผู้ปกครองนั้น จะต้องมีลักษณะทางกายงดงาม สง่าองอาจกล้าหาญมาก ในลักขณสูตร ปฏิก วรรค ทีฆนิกาย ได้กล่าวถึง มหาปุริสลักษณะ ๓๒ ประการซึ่งถือว่าบุคคลใดที่มี อวัยวะทั้ง ๓๒ ประการย่อมเป็นผู้ที่มีบุญญาธิการมาก และมีความรู้ความสามารถ ในการปกครองบ้านเมืองด้วยคุณธรรม และสามารถน ามาซึ่งความเจริญและความ สงบสุขมาสู่บ้านเมือง ซึ่งลักษณะมหาปุริสลักษณะดังกล่าว มีดังต่อไปนี้คือ ๑) พื้นฝ่าเท้าเรียบเสมอกัน ๒) ฝ่าเท้ามีลายจักร มีซี่ก าข้างละพัน พร้อมทั้งกงและ กระดุม ๓) ส้นเท้ายาวสมส่วน ๔) นิ้วมือและนิ้วเท้าเรียวยาวสมส่วน ๕) ฝ่ามือและฝ่าเท้าอ่อนนุ่ม ๖) ลายฝ่ามือฝ่าเท้าดุจตาข่าย ๗) รูปเท้าดุจสังข์คว่ า ๘) แข้งดุจแข้งเนื้อทราย ๙) แม้ยืนไม่ย่อตัวลง ก็สามารถแตะเข่าได้ด้วยมือทั้งสอง ๑๐) องคชาติตั้งอยู่ในฝัก ๑๑) สีผิวกายดุจทอง ๑๒) ผิวหนังละเอียด ธุลีละอองจึงไม่เกาะติดกาย 16 ขุ.ชา.(ไทย) ๒๗/๓๓๖-๓๓๗/๑๓๖-๑๓๗.
๑๔๙ ๑๓) ขนขุมละเส้น ๑๔) ปลายขนซ้อนขึ้น มีสีดุจดอกอัญชันขึ้นเวียนขวา ๑๕) กายตรงเหมือนกายพรหม ๑๖) เนื้อเต็มในที่ ๗ แห่งได้แก่ ที่หลังมือ ๒, หลังเท้า ๒, บ่า ๒, และคอ 1 ๑๗) กึ่งกายท่อนบนเหมือนกึ่งกายท่อนหน้าสีหะ ๑๘) หลังเต็มบริบูรณ์ไม่เป็นร่อง ๑๙) ทรวดทรงดุจต้นไทร (นิโครธ) คือกายกับวาเท่ากัน ๒๐) คอกลมเกลี้ยง ๒๑) ประสาทรับรสอันเลิศ ๒๒) คางดุจคางราชสีห์ ๒๓) ฟัน ๔๐ ซี่บริบูรณ์ ๒๔) ฟันเรียบเสมอกัน ๒๕) ฟันไม่ห่าง ๒๖) เขี้ยวสีขาวงาม ๒๗) ลิ้นใหญ่ (สามารถแผ่ออกได้) ๒๘) เสียงดุจเสียงพรหม ส าเนียงดังนกการเวก ๒๙) นัยน์ตาด าสนิท (ด าคม) ๓๐) ขนตางอนดุจขนตาโค ๓๑) อุณาโลมระหว่างคิ้วขาวอ่อนเปรียบดังปุยนุ่น ๓๒) ศีรษะดุจประดับด้วยกรอบหน้า (สดใสมีประกาย)17 สมบัติคู่บุญบารมี เรื่องสมบัติคู่บารมีนี้ ในพระไตรปิฎกกล่าวว่า ย่อมเกิดขึ้นได้แก่ผู้มีบุญดังในสิริชาดก อัพภันตรวรรค ขุททกนิกาย กล่าว “โภคะ เป็นอันมากย่อมล่วงเลยสัตว์เหล่าอื่นไปเสีย(และย่อม) เกิดขึ้นในที่ทั้งปวงเทียว ส าหรับผู้มีบุญอันกระท าไว้ ใช่แต่เท่านั้น รัตนะทั้งหลายก็บังเกิดขึ้นแม้มิใช่บ่อเกิด ......ไก่แก้ว (แก้ว) แก้วมณี ไม้เท้า (แก้ว) และหญิงชื่อว่าบุญญลักขณาเทวี ย่อม 17 ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๑๓๖/๑๕๗-๑๕๙.
๑๕๐ เกิดขึ้นแก่อนาถบิณฑิกเศรษฐีผู้ไม่มีบาป มีบุญอันกระท าไว้แล้ว” 18 และในมหา สุทัสสนสูตร มหาวรรคทีฆนิกาย กล่าวถึง สิ่งอันเลิศเป็นของคู่บารมีแก่ธรรมราชา ๗ อย่าง คือ รัตนะ ๗ ประการ ได้แก่ ๑) จักรรัตนะ คือ จักรแก้ว อาวุธคู่กายของพระราชา ๒) หัตถีรัตนะ คือ ช้างแก้ว ช้างเผือกคู่บารมี ๓) อัสสรัตนะ คือ ม้าแก้ว ม้าทรงคู่บารมี ๔) มณีรัตนะ คือ แก้วมณี อาภรณ์คู่บารมี ๕) อิตถีรัตนะ คือ นางแก้ว นางงามคู่บารมี ๖) คหบดีรัตนะ คือ ขุนคลังแก้ว ขุนคลังคู่บารมี ๗) ปรินายกรัตนะ คือ เสนาบดีแก้ว เสนาบดีคู่บารมี19 หากจะมองในรูปของการเปรียบเทียบ ค าว่า “รัตนะ” หรือ “แก้ว” นี้ก็น่าจะหมายถึงสิ่งที่ดีผู้ที่คอยสนับสนุนในทางที่ดีแก่ผู้ปกครอง ซึ่งเป็น ก าลังสนับสนุนส่งเสริมให้การปกครองมีประสิทธิภาพ คือ คู่ครองที่ดี ขุนคลังที่ดี และเสนาบดีที่ดีอันเป็นบุคคลชั้นเลิศที่จะเป็นผู้คอยประคับประคอง ให้ข้อปรึกษา ให้ข้อเสนอแนะในทางที่ถูกที่ควรรวมเป็นพลังกาย และพลังใจในการบริหาร บ้ านเมืองจากข้อธรรมเรื่องคุณ สมบัติของผู้ปกครองนี้ แสดงให้เห็นว่า พระพุทธศาสนานั้นมีความส าคัญต่อระบบการปกครองที่ดี และได้กล่าวไว้อย่าง ละเอียด โดยนอกจากจะมองที่พฤติกรรมการแสดงออกในลักษณะต่างๆ แล้วยัง มองที่ลักษณะรูปร่างของบุคคลมาประกอบด้วยเพราะถือว่าสิ่งที่ปรากฏในปัจจุบัน ก็คือผลจากการกระท าจากอคตินั่นเอง ฉะนั้นพื้นฐานของบุคคลจากอคติย่อมบ่ง บอกถึงอนาคตได้เป็นอย่างดี ด้วยเหตุนี้ ผู้ที่อยู่ในฐานะผู้น าหรือผู้ปกครองที่ดีตาม แนวพระพุทธศาสนาจะต้องมีคุณสมบัติที่ครบถ้วนคือจะต้องเป็นคนดีทั้งภายใน และภายนอก 18 ขุ.ชา.(ไทย) ๒๗/๑๔๐/๑๔๗. 19 ที.ม. (ไทย) ๑๐/๑๘๖/๑๘๔-๑๘๙.
๑๕๑ แนวคิดภำวะผู้น ำเชิงพุทธ ภาวะผู้น าของพระพุทธศาสนานั้นน่าจะเป็นทางออกหรือแนวทางใน การที่จะน ามาแก้ไขปัญหาได้ เพราะมีหลักธรรมร่วมสมัยหลายประการจากพระ ปัญญาการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้าที่ผ่านการพิสูจน์จากการประพฤติปฏิบัติของ พุทธบริษัทว่าเป็นแนวทางการด าเนินชีวิตเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขตั้งแต่ สมัยพุทธกาลจนถึงปัจจุบัน และท าให้พุทธศาสนาด ารงคงอยู่ในโลกนี้มาอย่าง ยาวนานถึงสองพันหกร้อยปี จากการศึกษาวิจัยของนักวิชาการหลายท่าน สามารถ สรุปแนวทางของผู้น าโดยใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาประยุกต์กับการ บริหาร การจัดการ การจัดการความขัดแย้ง ดังนี้ 1. ภำวะผู้น ำตำมหลักสัปปุริสธรรม การที่ผู้น าใช้อิทธิพลหรืออ านาจหน้าที่ในความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันใน หมู่คณะเพื่อความสมหวังตามเป้าหมายหรือจุดประสงค์ร่วมกันที่ท าให้เกิดความรัก สามัคคี ความร่วมมือในกิจกรรมต่าง ๆ ลักษณะผู้น าที่ดีและมีประสิทธิภาพสูงจะ ประกอบไปด้วย ความเฉลียวฉลาด มีบุคลิกภาพที่ดี และได้ประยุกต์หลักสับปุริส ธรรม ๗ ดังนี้20 คือ ๑.1 ด้านธัมมัญญุตา คือ รู้หลักการ ผู้น าควรมีแนวทางการพัฒนาในกระบวนการบริหารงาน สามารถพินิจ วิเคราะห์ถึงเหตุหรือสาเหตุที่แท้จริงได้ สามารถเข้าถึงปัญหาของ พื้นที่ได้ตลอดเวลา ความเป็นผู้รู้จักเหตุผลหรือความเป็นผู้รู้จักหลักการท างาน คือ ในการท างานของผู้บริหารควรรู้จักเหตุผลจะท าให้สามารถมองการท างานได้เป็น ขั้นตอนและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้เป็นอย่างดี ประกอบกับการค้นหาถึงที่เกิดเหตุ ว่ามีที่มาอย่างไร ทั้งนี้หากรู้ถึงที่มาหรือการเกิดของปัญหาแล้วก็จะน าไปสู่การ แก้ไขปัญหาและสามารถพัฒนาได้อย่างยั่งยืน ผู้บริหารต้องรู้หลักเหตุ บางทีอาจจะ รู้ก่อนหรือไม่ก็ได้ แต่ถ้าท าไปก่อนแล้วมีผลเกิดขึ้นมาไม่ดีก็ต้องกลับมามองที่เหตุ ก่อนว่าท าไมถึงเกิดผลอย่างนี้ โดยการวิเคราะห์ตลอด วิธีการประเมินถ้าออกมาไม่ ดี เราควรมีวิธีแก้ไขอย่างไรและการรู้จักเหตุท าให้เราสามารถที่จะวางแผนและคาด 20 พระมหาสุพัฒน์ สิริวณฺโณ (พันธน่วม), “ภาวะผู้น าของผู้บริหารตามหลักสัป ปุริสธรรมขององค์การบริหารส่วนต าบล อ าเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค์”, วำรสำร วิจยวิชำกำร, ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม2561): 29-47.
๑๕๒ เดาเหตุการณ์ข้างหน้าว่าจะมีปัญหาหรือประสบความส าเร็จอย่างไร เมื่อด ารง ต าแหน่งหรือมีฐานะเป็นผู้น าแล้วเขาจะท างานก็ตามจ าเป็นต้องรู้หลักการในเรื่อง นั้นๆ รู้งานรู้หน้าที่ รู้กฎเกณฑ์กติกาที่เกี่ยวข้อง เช่น ผู้บริหารบางประเทศชาติ ก็ ต้องรู้หลักรัฐศาสตร์ รู้กติกาของรัฐ คือ กฎหมายต่างๆ ตั้งแต่กฎหมายรัฐธรรมนูญ ลงมาแล้วยืนหยัดอยู่ในหลักการนั้น ๆ เพื่อมิให้ปฏิบัติผิดพลาดและท าให้ผู้ตามมี ความมั่นใจในตัวผู้น าและพร้อมที่จะท าตามความต้องการของผู้น า 1.๒ ด้านอัตถัญญุตา คือ รู้จุดหมาย ผู้น าหรือผู้บริหารจะต้องรู้จุดมุ่งหมาย ผลลัพธ์ขององค์กร โดย การบริหารงานเพื่อก่อให้เกิดผลดีต่อประชาชนและลูกน้องที่จะได้รับประโยชน์ จากการบริหารงานด้วยความถูกต้องและยุติธรรมเพื่อเกิดผลลัพธ์ที่ดี แนวทางการ ปฏิบัติงานด้านความเป็นผู้รู้จักผลนั้น กระบวนการในฐานะผู้น าเมื่อรู้จักเหตุแล้ว ต้องรู้ว่าแนวทางต่อไปจะเกิดผลอะไรขึ้นจะกระทบกับประชาชนมากน้อยเพียงใด เช่นน้ าท่วมขังบ้านเรือนของประชาชนเพราะเป็นที่อยู่ต่ าก็สามารถรู้และเข้าใจว่า ให้น้ าท่วมไปในทิศทางไหน เพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนได้ นอกจากนั้น ความเป็นผู้จักผลนั้น ก็ต้องท าความเข้าใจถึงเหตุผลที่มาของปัญหา ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น เราจึงจะเข้าใจผลที่ตามมาของปัญหา ซึ่งอาจเกิดจากความไม่ เข้าใจต่อกันเพียงเล็กน้อย ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของประชาชนในชุมชนหรือ ผู้ใต้บังคับบัญชา ดังนั้นเราจะต้องศึกษาเหตุและผลที่เกิดขึ้นอย่างเป็นธรรม ข้อนี้เป็นเรื่องที่มีความส าคัญยิ่ง เพราะถ้าผู้ไม่รู้จุดหมายก็ไม่รู้จะ น าคน และกิจการที่รับผิดชอบอยู่ไปทางไหนและนอกจากจะรู้จัดหมายในการ บริหารแล้วจุดหมายนั้นจะต้องมีความชัดเจน สามารถปฏิบัติได้ยิ่งกว่านั้นผู้น ายัง จะต้องมีความแน่วแน่มุ่งมั่นที่จะไปให้ถึงจุดหมายนั้นด้วยและข้อนี้เป็นคุณสมบัติที่ ส าคัญอย่างยิ่งเพราะบทพิสูจน์ผู้น าที่ประสบความส าเร็จ ก็คือ จุดมุ่งหมายหรือ วัตถุประสงค์ในงานบรรลุผลส าเร็จผลตามที่ตั้งเป้าหมายไว้เหตุที่กล่าวว่า การรู้ จุดหมายเป็นเรื่องส าคัญก็เพราะเมื่อมีจุดมุ่งหมายชัดเจนแล้ว หากมีอะไรมา กระทบกระทั่งในการด าเนินการก็จะไม่หวั่นไหว 1.๓ ด้านอัตตัญญุตา คือ รู้จักตน ผู้น าจะต้องรู้ถึงขีดความสามารถของตนเองในการบริหารงาน และการน าพาองค์กรไปสู่ผลส าเร็จรู้จักหน้าที่ของตนเอง ความถนัดของตนที่จะ
๑๕๓ น ามาเพื่อใช้ให้เกิดผลดีต่อองค์กร ใช้ความรู้ของตนเองที่มีมาใช้ให้เต็มที่ต่อการ ปฏิบัติงานและพัฒนาตนเองให้มีประสิทธิภาพ มองให้เห็นถึงความเป็นจริงของ ธรรมชาติของมนุษย์ คนเรานั้นเปรียบเสมือนเหรียญ ๒ ด้าน นอกจากนั้น ความ เป็นผู้จักตนนั้น ในฐานผู้บริหารจะต้องรู้หน้าที่ มีความรับผิดชอบ และเสียสละ เวลาเพื่อแก้ไขปัญหาให้กับประชาชน ผู้บริหารต้องประพฤติตนให้เป็นผู้น าที่ดีเป็น แบบอย่างที่ดีให้กับเยาวชนและประชาชนในชุมชน การเป็นผู้น าต้องพูดจริง ท า จริงและเข้าถึงความเดือดร้อนและความต้องการที่แท้จริงของประชาชนภายใน ชุมชน 1.๔ ด้านมัตตัญญุตา คือ รู้ประมาณ รู้จักพอดี ผู้น าจะต้องรู้จักความพอดีและความพอเพียง ไม่มุ่งหวังการ ท างาน โดยคิดเอาแต่ได้ และเอาประโยชน์เพื่อตนเอง ต้องบริหารงานให้เกิด ประโยชน์แก่ประชาชนให้ได้รับประโยชน์โดยเท่าเทียมกัน ประมาณตนในขอบเขต ขององค์กร มีศักยภาพที่จะช่วยได้เพียงใด และรู้จักใช้งบประมาณและทรัพยากร อย่างคุ้มค่าให้เกิดประโยชน์สูงสุด นอกจากนั้น การเป็นผู้น าต้องรู้จักประมาณไม่ ฟุ้งเฟื้อ รู้จักความพอดีเพื่อไม่ให้ตนเองและประชาชนเดือดร้อน ควรจะพอใจในสิ่ง ที่ตนมีและใช้อ านาจหน้าที่ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมและท างานด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต วางตนเป็นกลาง ไม่ปฏิบัติหน้าที่ในทางทุจริตและต้องมีความพอดี หมายความว่า ต้องรู้จักขอบเขตความพอเหมาะที่จัดท าในเรื่องต่าง ๆ ไม่ใช่เอาแต่ ใจตัวเองจะเอาให้ได้อย่างใจ แต่ต้องรู้จักว่าในการกระท านั้น ๆ หรือในเรื่องงานนั้น ๆ มีองค์ประกอบหรือมีปัจจัยอะไรเกี่ยวข้องบ้าง ท าแค่ไหน องค์ประกอบของมัน จึงจะพอดี พอเหมาะได้สัดส่วน เพราะถ้าพอดีก็จะพลาด ความพอดีจึงจะท าให้เกิด ความส าเร็จที่แท้จริง ฉะนั้น จะต้องรู้องค์ประกอบและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง และจัดให้ ลงตัวพอเหมาะพอดี 1.๕ ด้านกาลัญญุตา คือ รู้กาล รู้จักเวลา ผู้น าจะต้องท างานให้เต็มที่ตามเวลา ตามหน้าที่ ไม่เบียดบังเวลา ราชการเอาไปใช้ประโยชน์ส่วนตน จะต้องรู้จักบริหารเวลาในการท างาน และ แก้ไขปัญหาให้ทันเวลาไม่ท าให้ประชาชนเดือดร้อน สามารถท างานได้ทันเวลาและ บรรลุเป้าหมายเพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีต่อลูกน้องและประชาชน การน ากาลเวลามา ใช้นั้นถือเป็นจุดส าคัญ การจะท าอะไรก็แล้วแต่เรื่องเวลาถือว่าเป็นสิ่งส าคัญมาก
๑๕๔ ควรท าหน้าที่ของตนเองให้อยู่ในความเหมาะสมไม่ควรท าอะไรที่มากเกินไปหรือ น้อยเกินไป สิ่งที่ท านั้นควรเกิดประโยชน์กับประชาชนด้วย นอกจากนั้น ผู้น าควร วางตัวให้เหมาะสมกับสถานที่และโอกาส เป็นผู้มีกาละเทศะ รู้ว่าควรปฏิบัติตน อย่างไรในช่วงเวลาใด และสามารถบริหารเวลาโดยมีประสิทธิภาพ รู้ความส าคัญ ของปัญหาสามารถแก้ไขปัญหาตามความส าคัญก่อนหลังได้ และต้องรู้ว่าสิ่งที่ท าอยู่ นั้นตรงกับความต้องการชองประชาชน เมื่อประชาชนเกิดปัญหาสามารถแก้ไข ปัญหาให้ชุมชนได้ทันเวลา การเป็นผู้รู้จักกาลหรือรู้จักเวลาที่เหมาะที่ควรนั้นเป็น สิ่งที่ส าคัญมาก ถือเป็นคุณสมบัติที่ส าคัญอีกประการของผู้น าทั้งนี้ หากรู้จักเวลาที่ เหมาะสม รู้ช่วงจังหวะการท างานที่ดีก็จะประสบความส าเร็จได้ ในด้านการเมือง ผู้น าทางการเมืองถ้าไม่รู้จังหวะหรือความต้องการของประชาชนอาจจะเสียคะแนน ความน่าเชื่อถือต่อประชาชนจะท าอะไรก็แล้วแต่เรื่องเวลาถือว่าเป็นสิ่งส าคัญมาก ควรท าหน้าที่ของตนเองให้อยู่ในความเหมาะสมไม่ควรท าอะไรที่มากเกินไปหรือ น้อยเกินไป 1.๖ ด้านปริสัญญุตา คือ รู้ชุมชน รู้สังคม ผู้น าต้องศึกษาและท าความเข้าใจต่อชุมชน โดยเข้าไปร่วม กิจกรรมของชุมชนและหมู่บ้าน เมื่อมีโอกาสเพื่อเข้าถึงและเข้าใจปัญหาของ ประชาชน ชุมชนและสังคม แต่ละชุมชนว่าควรแก้ไขปัญหาอย่างไร และต้องเข้าใจ คนในชุมชนให้มากที่สุดว่าประชาชนต้องการอะไร ในสิ่งที่ท าไปนั้นเกิดความพึง พอใจกับประชาชนมากน้อยเพียงใด ความเป็นอยู่ของประชาชนในชุมชนเป็นแบบ ไหน ผู้น าต้องมีความเข้าใจในชุมชนนั้น ๆ การเข้าร่วมกิจกรรมภายในชุมชนถือ เป็นสิ่งที่ผู้น าควรท าเพราะผู้น าต้องรู้จักชุมชนและสังคม รู้วิถีชีวิต ศาสนา วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีต่าง ๆ ในชุมชนการมีส่วนร่วมเข้าไปส่งเสริม การมีบทบาทในสังคมตามความสามารถของตน นอกจากนั้น ผู้บริหารมีหน้าที่น าองค์กร ชุมชนและสังคมไปสู่การ พัฒนาที่ยั่งยืน ดังนั้นในฐานะผู้น าจะต้องเข้าใจ ชุมชน รู้ปัญหาของชุมชนอย่างถ่อง แท้และเข้าถึงประชาชนอย่างแท้จริง ต้องใส่ใจและกระตุ้นให้ชุมชนเกิดความ สามัคคีและเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนและแก้ไขปัญหาชองชุมชนและ ผู้บริหารต้องเข้าถึงประชาชนในทุกกิจกรรม ไม่ว่าจะเป็นงานต่าง ๆ ผู้น าต้องเข้าไป เป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมนั้นเสมอ การเป็นผู้รู้จักชุมชนและสังคมถือเป็นสิ่งส าคัญ
๑๕๕ อีกประการที่ผู้บริหารหรือผู้น าต้องให้ความส าคัญ เพราะส่วนมากการรู้จักที่มา หรือบริบทของชุมชนในพื้นที่ จะก่อประโยชน์อย่างมาก ในด้านการคาดการณ์ถึง ความต้องการแล้วเราจะสามารถตอบสนองความต้องการเป็นอย่างดี หากรู้ถึง ความเชื่อของชุมชนได้จะดีมากเพราะเราสามารถใช้ประโยชน์ตรงนี้ ในการเอื้อต่อ การด าเนินงาน แต่ในปัจจุบันการเรียนรู้ชุมชนเป็นไปได้อยากบางครั้งอาจเข้าไม่ถึง ตัวเขาได้ง่ายนัก จึงจ าเป็นต้องเพิ่มช่องทางการติดต่อสื่อสารให้มากขึ้น ทั้งนี้จะเป็น ประโยชน์ในการเรียนรู้ถึงความคิด หรือวัฒนธรรมของชุมชนอีกทางหนึ่งเช่นกัน 1.๗ ด้านปุคคลปโรปรัญญุตา คือ รู้บุคคล รู้จักบุคคลที่เกี่ยวข้อง ผู้น าจะต้องเข้าใจลูกน้องและบุคลากรในองค์กรว่าพนักงาน แต่ ละคนมีความสามารถหรือมีความเก่ง มีความถนัดในด้านใด เพื่อที่จะใช้คนให้ถูก และเหมาะสมกับงานที่ผู้บ ริห ารจะมอบหมายให้ท าเพ ราะลูกน้องนั้นมี ความสามารถไม่เท่าเทียมกัน จึงต้องใช้คนให้ถูกกับงานเพื่อความรวดเร็วและมี ประสิทธิภาพของงานที่ให้ท าการเลือกคนให้เหมาะสมกับงานนั้น ต้องมีความ เข้าใจในงานที่ได้รับมอบหมายมีความช านาญในงานที่ท า รู้จักเอาใจใส่ต่อ ผู้ใต้บังคับบัญชาและวางตัวให้เหมาะสมกับงานได้เป็นอย่างดี ถือว่าเป็น ความส าคัญมากจ าเป็นต้องรู้บุคคล ซึ่งถือว่าเป็นกลไกลในการท างานให้ไปสู้ เป้าหมายและจ าเป็นต้องเลือกใช้คนให้เหมาะสมเพื่อประสิทธิภาพของการท างาน นอกจากนั้น การเป็นผู้รู้จักบุคคลหรือรู้จักใช้บุคคลที่เหมาะสมกับงานนั้น นับว่า เป็นเรื่องส าคัญส าหรับผู้น า เพราะผู้บริหารต้องมีความเข้าใจบุคคล ใช้คนให้ เหมาะสมและถูกต้องกับงาน การที่จะเป็นผู้รู้บุคคลได้นั้น ผู้น าต้องมีความคิด สร้างสรรค์และวิสัยทัศน์ในการบริหารงานด้วย ทั้งนี้หากเรารู้ถึงความสามารถของ แต่ละคนแล้วก็จะเป็นประโยชน์ที่อยู่ในรูปของการ ดึงความสามารถมาด าเนินการ ได้นั่นเอง การเรียนรู้ถึงความสามารถของคนนั้นเรามีวิธีการหลากหลาย แต่จะ เลือกเรียนรู้ด้วยวิธีการมอบหมายงานให้รับผิดชอบแล้วคอยดูผลงานว่ามี ประสิทธิภาพหรือเปล่า หากมีปัญหาการท างานเราต้องคอยช่วยแก้ปัญหาหรือบาง ทีก็ต้องคอยช่วยประคองหรือเป็นกันชน ร่วมทุกข์ร่วมสุขกัน เป็นต้น 2. ภำวะผู้น ำตำมหลักทศพิธรำชธรรม หลักทศพิธราชธรรม คือ หลักค าสอนของพุทธศาสนา สอนให้ผู้น า และผู้ปกครองรัฐมีหลักธรรมที่ใช้ปฏิบัติในการปกครองประเทศ และจาก
๑๕๖ การศึกษาการประยุกต์ใช้รัตนะ ๗ ประการของภาวะผู้น าทางการเมืองตามหลัก ทศพิธราชธรรมกับระบอบประชาธิปไตยตามระบบรัฐสภาของประเทศไทย21 สาม ารถป ระยุกต์ใช้หลักการของแต่ละองค์ป ระกอบเพื่อให้เกิดระบอบ ประชาธิปไตยตามหลักธรรมาธิปไตยคือยึดถือหลักการความถูกต้อง ความจริง เป็นหลัก ประกอบด้วย ๑) ปัญ ญ า (Wisdom) ภ าวะผู้น าท างก ารเมืองต ามห ลัก ทศพิธราชธรรม ประการแรก คือ ปัญญา มีองค์ประกอบของหลักธรรม อวิโรธนะ ความไม่คลาดจากธรรม ประกอบด้วยคุณสมบัติหลัก ๓ ประการได้แก่ ๑.๑) การสร้างความสมานฉันท์ให้เกิดขึ้นแก่คนในชาติ ๑.๒) ความเที่ยงธรรม ๑.๓) การรักษาความถูกต้องดีงาม อธิบายความได้ว่า คือ ความสามารถในการประสมประสานสร้าง เสริมความสามัคคีกลมเกลียวให้เกิดขึ้นแก่ประชาชนทุกกลุ่มในประเทศ เพราะมี ความเที่ยงธรรม ไม่ผิดเพี้ยนไปจากหลักแห่งความถูกต้องดีงาม ไม่ยอมให้การ กระท าผิดเกิดขึ้น มีความยุติธรรม ยกย่องบุคคลที่สมควรยกย่อง ปราบปราม บุคคลที่ควรปราบด้วยความเป็นธรรม มีรูปแบบการตัดสินใจในลักษณะ ธรรมาธิปไตย ถือความจริง ความถูกต้องและประโยชน์สุขของประชาชนส่วนใหญ่ เป็นมาตรฐานในการตัดสินใจ ไม่ได้ตัดสินใจตามอ าเภอใจของตน มีใจกอปรด้วย ธรรม มุ่งความถูกต้อง พยายามศึกษาพิจารณาให้รู้จักผิดและชอบ ด้วยพยายามท า การงานให้ถูกต้องตามคลองธรรม ไม่ให้ผิด และแนะน าพร่ าสอนผู้อยู่ใต้ปกครองให้ ประพฤติเช่นนั้นด้วย ผู้อยู่ในปกครองก็พยายามท าให้ถูกต้องตามคลองธรรมไม่ให้ ผิด ต่างฝ่ายก็จักอยู่ร่วมกันได้ด้วยความสงบสุข มีความคงที่ ไม่แสดงวิการด้วย อ านาจยินดียินร้ายให้ปรากฏ มีความทรงไว้ ความตั้งมั่น ความมั่นคงอยู่ในความถูก ต้องแม้จะถูกกระตุ้นด้วย ความโลภ โกรธ หลง ชอบใจพอใจ ก็ไม่คลาดเคลื่อนวิบัติ ไป สามารถตั้งตนไว้คงที่ไม่คลาดจากหลักธรรมความถูกต้องที่ยึดถือไว้เป็นหลัก 21 ธนพัต สุระแสง, “ภาวะผู้น าของผู้ด ารงต าแหน่งทางการเมืองตามหลัก ทศพิธราชธรรม”, พุทธศำสตรมหำบัณฑิต สำขำวิชำรัฐประศำสนศำสตร์, (บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2555).
๑๕๗ เหมือนมีหางเสือไว้ควบคุมไม่ให้เดินทางไปผิดทิศผิดทาง เมื่อผู้น าทางการเมือง ปฏิบัติตนด้วยปัญญา และท าตนให้เป็นแบบอย่างที่ดีของประชาชน อีกทั้งพร่ า สอนให้ประชาชนปฏิบัติตามในสิ่งที่ถูกที่ควร ย่อมได้รับความนิยมเชื่อถือศรัทธา จากประชาชน ๒) บ ารมี (Charisma) ภ าวะผู้น าท างก ารเมืองต ามห ลัก ทศพิธราชธรรม ประการที่สอง บารมี มีองค์ประกอบของหลักธรรม ตปะ ความ เพียรเพ่งเผากิเลสที่แผดเผาใจให้หายไปไม่ให้ก าเริบ ประกอบด้วยคุณสมบัติ ๓ ประการ คือ ๒.๑) ความเพียรในการท าหน้าที่จนส าเร็จไม่เกียจคร้าน ๒.๒) อดทนต่อความโลภไม่โกงไม่กิน ๒.๓) จิตใจกล้าแข็งอดทนต่อกิเลสตัณหา ทั้งสามประการนี้ เสริมสร้างให้เกิดขึ้นได้จากการสั่งสมคุณงาม ความดี ท าให้มีจิตใจเข้มแข็ง มีสง่าราศีเป็นที่เคารพย าเกรงของผู้ที่พบเห็น มีความ เพียรในการปฏิบัติภารกิจหน้าที่จนบรรลุความส าเร็จไม่ท้อถอยล้มเลิกไปโดยง่าย และไม่เกียจคร้าน ผู้น าทางการเมืองที่มีตบะธรรมก็จะเป็นผู้ควบคุมกิเลสได้ เป็นผู้ มีความเพียรในงานไม่เกียจคร้านเพราะงานในต าแหน่งผู้น าทางการเมืองมีความ รับผิดชอบสูง มีปริมาณงานมากเพราะต้องดูแลประชาชนทั้งประเทศ ปัญหาต่าง ๆ ก็มีมากท าเท่าไรก็ไม่หมด อีกทั้งสิ่งยั่วยุให้เกิดกิเลสตัณหาอุปทานก็มาก หากไม่มี ตบะธรรมคอยควบคุมจิตใจก็อาจถูกอ านาจของกิเลสเข้าครอบง าได้ ต้องปฏิบัติตน ให้เป็นปกติไม่หลงฟุ้งเฟ้อไปกับความหรูหราฟุ่มเฟือย เพราะหากเผลอใจก็จะถูก กิเลสเข้าแทรกแซงในจิตใจได้ เกิดอยากได้อยากมีในลาภที่ไม่ควรได้เผลอใจท า ทุจริตคอร์รัปชั่นก็จะท าให้ขาดความนับถือจากประชาชนเสียชื่อเสียงเกียรติภูมิลง ไปได้ ๓) ความสามารถในการงาน (Skill) ภาวะผู้น าทางการเมืองตาม หลักทศพิธราชธรรมประการที่สาม ความสามารถในการงาน มีองค์ประกอบของ หลักธรรม ขันติ ความอดทน มีคุณสมบัติส าคัญ ๓ ประการได้แก่ ๓.๑) ความอดทนที่จะกระท าความดี ๓.๒) ความอดทนต่อความเจ็บใจอันเกิดจากค าพูดนินทาว่า ร้ายเสียดสี
๑๕๘ ๓.๓) ความอดทนต่อความล าบากตรากตร าท างานหนัก ผู้น าที่มีความอดทนหนักแน่น ต่อเหตุการณ์ที่จะก่อผลกระทบ ต่อสังคมประเทศชาติ อดทนที่จะท าความดี เกิดเป็นวิริยะบารมีที่จะขวนขวาย ศึกษาหาความรู้ใหม่ๆ เพิ่มเติมอยู่เสมอ มีใจที่เปิดกว้างรับฟังจากผู้อื่น ไม่พ่ายแพ้ ท้อถอยโดยง่ายจากค าติฉินนินทา อดทนต่อความเหนื่อยยากในการฝึกตนให้มี ความสามารถในด้านต่างๆ อันเป็นองค์ประกอบที่ส าคัญต่อการปฏิบัติหน้าที่ของ ผู้น าทางการเมือง อาทิเช่น มีภาวะผู้น าสูง ประกอบด้วยการมีวิสัยทัศน์ มองกว้าง คิดไกล ใฝ่สูงในการน าพาสังคมประเทศชาติพัฒนาไปสู่ความถูกต้องดีงาม มี ความสามารถในการริเริ่มงานใหม่ ๆ และติดตามจนงานประสบผลส าเร็จ ๔) ความไม่ประมาท (Heedfulness) ภาวะผู้น าทางการเมือง ตามหลักทศพิธราชธรรมประการที่สี่ ความไม่ประมาท มีองค์ประกอบของ หลักธรรม คือ ศีล การจัดระเบียบตนเอง ด้านกาย วาจาให้เป็นปกติ สงบเรียบร้อย ไม่พูดเท็จ ไม่พูดเพ้อเจ้อ พูดจาส่อเสียด มีคุณสมบัติหลัก ๓ ประการ คือ ๔.๑) มีจริยธรรมสูง ๔.๒) มีความน่าเชื่อถือไว้วางใจ ๔ .๓) ท าตนเป็น แบบ อย่ างที่ดีต่อผู้ใต้บังคับบัญ ช า ประชาชน ผู้น าที่ประพฤติปฏิบัติตนในทางที่ดี ขยายความได้ว่า หมายถึง การงดเว้นจากการประพฤติผิดทางกายและวาจา การควบคุมกายวาจาให้ เรียบร้อยงดงาม ให้ปราศจากความมัวหมอง ไม่ให้ผิดปกติธรรมดา ไม่ท าผิด ไม่พูด ผิดนั่นเอง ส่วนศีลในทางปกครอง คือการประพฤติตามกฎหมาย จารีตประเพณี อันดีงาม หรือหมายถึง ความประพฤติดีงาม การส ารวมกาย วาจา ให้เรียบร้อย ประกอบแต่การสุจริต สะอาด ปราศจากทุกข์โทษ เพื่อให้เกิดความปกติสุขแก่ตน แก่คนอื่น และสังคม เป็นแบบอย่างและเป็นที่น่านับถือของคนทั่วไป ๕) การมีกัลยาณมิตร (Good Friends) ภาวะผู้น าทางการเมือง ตามหลักทศพิธราชธรรม ประการที่ห้า การมีกัลยาณมิตร และหมายรวมถึงกระท า ตนเป็นกัลยาณมิตรแก่ประชาชน บุคคลอื่น มีองค์ประกอบของหลักธรรม คือ ทาน การให้ มีคุณสมบัติส าคัญ ๓ ประการ คือ
๑๕๙ ๕.๑) มีจิตสาธารณะ ๕.๒) เป็นผู้ผูกไมตรีได้ดี ๕.๓) มีเสน่ห์อันเป็นที่รัก ผู้น าจะต้องมีการเผื่อแผ่ การแบ่งปันให้ทรัพย์สิ่งของ เพื่อ อนุเคราะห์ เพื่อสงเคราะห์ ผู้อื่นด้วยจิตเมตตา ปรารถนาที่จะให้ผู้รับอยู่ดีมีสุข และหรือกรุณาธรรม ปรารถนาที่จะให้ผู้ประสบความทุกข์เดือดร้อน ให้พ้นจาก ทุกข์ หรือ คือการจัดสรรทรัพยากร งบประมาณแผ่นดินให้ทั่วถึงแก่ประชาชนใน ทุกพื้นที่ ด้วยความยุติธรรม ไม่เล่นพรรคเล่นพวกวงศ์วานว่านเครือ โดยเฉพาะ กระจายทรัพยากรให้แก่ผู้ที่ยากไร้ขาดแคลน แบ่งออกเป็น อามิสทาน ทานที่ให้ ด้วยทรัพย์สิ่งของ ธรรมทาน คือ การให้ธรรมเป็นทาน คือ การแก้ปัญหา หรือ ความขัดข้องทางใจด้วยการให้ธรรม ได้แก่ การให้ค าแนะน า สั่งสอน ให้ข้อคิด ให้ ก าลังใจ และการให้อภัย ๖) มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี (Working well with others) ภาวะ ผู้น าทางการเมืองตามหลักทศพิธราชธรรมประการที่หก การมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มี องค์ประกอบของหลักธรรม ปริจจาคะ การเสียสละ อาชชวะ ความเป็นผู้ซื่อตรง มัททวะ ความเป็นผู้อ่อนโยน รวมกันก่อให้เกิดคุณสมบัติส าคัญ ๓ ประการ คือ ๖.๑) มีใจกว้างรับฟังผู้อื่น ๖.๒) ซื่อสัตย์ซื่อตรง ๖.๓) อ่อนน้อมถ่อมตน มีวาจาอ่อนหวานน่าฟัง การเสียสละประโยชน์ส่วนตนและพวกพ้องเพื่อประโยชน์ ส่วนรวมของบ้านเมือง การเสียสละเป็นหลักการที่ส าคัญส าหรับผู้ที่เข้ามาท างาน ทางการเมืองเพื่อรับใช้ประชาชน หมายถึง การให้ การเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ การ ช่วยเหลือเกื้อกูลด้วยวัตถุสิ่งของโดยไม่หวังผลตอบแทน ไม่ระบุตัวผู้รับโดยตรง เช่น รัฐบาลสร้างถนน สร้างสะพาน สร้างบ่อน้ า สร้างโรงพยาบาล สร้าง สถานศึกษา เป็นสาธารณะประโยชน์ผู้น าทางการเมืองต้องกอปรด้วยการเสียสละ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน
๑๖๐ ๗) การควบคุมอารมณ์ (Controlled Emotional) ภาวะผู้น า ทางการเมืองตามหลักทศพิธราชธรรมประการสุดท้าย ความสามารถในการ ควบคุมอารมณ์ มีองค์ประกอบของหลักธรรม อักโกธะ ความไม่โกรธ อวิหิงสา ความไม่เบียดเบียน เป็นเครื่องสนับสนุน ประกอบเป็นคุณสมบัติส าคัญ ๓ ประการ คือ ๗.๑) ไม่โกรธเกรี้ยวฉุนเฉียว ๗.๒) ไม่ใช้ความรุนแรง ๗.๓) ไม่เบียนเบียนผู้อื่น ผู้น าทางการเมือง ต้องไม่ใช้ความรุนแรง ทั้งความรุนแรงโดยการ ใช้อาวุธ ความรุนแรงโดยใช้กฎหมาย การใช้ก าลังทหารและอาวุธสงครามกับ ประชาชน ความรุนแรงในการปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่น ๆ ผู้น าทางการเมืองนับว่า เป็นบุคคลสาธารณะ มีหน้าที่รับผิดชอบวินิจฉัยสั่งการในกิจการบ้านเมืองที่ส าคัญ ๆ บางเรื่องเป็นเรื่องคอขาดบาดตาย ต้องตัดสินใจบริหารปกครองบ้านเมืองเพื่อ ดูแลรักษาผลประโยชน์ของส่วนรวม หากใช้อารมณ์โกรธเกรี้ยวตัดสินใจก็อาจจะ สร้างความเสียหายใหญ่หลวงเกินกว่าที่จะคาดคิดได้ กล่าวโดยสรุปเมื่อผู้น าทางการเมืองมีคุณสมบัติของแก้ว ๗ ประการของภาวะผู้น าทางการเมืองตามหลักทศพิธราชธรรม ประกอบด้วย คุณสมบัติคือ เป็นบุคคลที่มีความประพฤติดี มีความหนักแน่นคงที่ไม่หวั่นไหวไป ตามกระแส ควบคุมอารมณ์สงบนิ่งแม้มีเหตุการณ์วิกฤติ มีความซื่อสัตย์ซื่อตรง มี ความอดทนต่อความยากล าบากและมีความเพียรมุ่งกระท าความดีให้เห็นผลโดยไม่ ย่อท้อ มีความอ่อนน้อมถ่อมตน วาจาไพเราะอ่อนหวาน มีตบะเดชะเข้มแข็ง เด็ดขาดเป็นที่ย าเกรง ควบคุมดูแลคนไม่ดี และส่งเสริมคนดีในสังคม เป็นผู้ที่มีจิต สาธารณะ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เสียสละประโยชน์ส่วนตนเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม แม้ชีวิตก็ยอมสละได้เพื่อรักษาซึ่ง ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ สร้างความ สมานฉันท์ให้เกิดขึ้นแก่คนในชาติ ไม่เบียดเบียนใช้ความรุนแรงข่มเหงรังแกผู้อื่น ผู้น าทางการเมืองที่มีลักษณะดังกล่าวนี้ย่อมจะเป็นที่รักนับถือศรัทธาของ ประชาชน มีประชาชนเป็นฐานเสียงสนับสนุนให้ได้รับคัดเลือกเข้าด ารงต าแหน่ง ผู้น าทางการเมือง
๑๖๑ 3. ภำวะผู้น ำในกำรจัดกำรควำมขัดแย้ง บทบ าทของภาวะผู้น าเชิงพุทธในการจัดการความขัดแย้งใน สังคมไทย22 เนื่องจากว่าการด าเนินการจัดการปัญหาความขัดแย้งโดยใช้ภาวะ ผู้น าเชิงพุทธมาประยุกต์ใช้นั้นมีเงื่อนไขที่ส าคัญที่สุดอยู่ที่ “ตัวกลาง” หรือที่เรียก กันในภาษาทั่วไปว่า “ผู้ไกล่เกลี่ย” ซึ่งก็หมายถึง ผู้น าที่มีภาวะผู้น านั่นเอง ซึ่งผู้น า ที่มีภาวะผู้น าที่จะเข้าไปมีบทบาทในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในสังคมไทยนั้น จะต้องมีลักษณะดังต่อไปนี้ 3.๑ เป็นผู้ที่มีความรู้ ประการแรกที่จะต้องค านึงถึงในเรื่อง คุณลักษณะของคนที่จะมาเป็นผู้น าในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในสังคมไทยได้ นั้น จะต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ ปฏิภาณ ไหวพริบ รู้จักเหตุและผล หรือมีบุคลิกเข้าได้ กับหลักสัปปุริสธรรมของพระพุทธศาสนา คือรู้เหตุ รู้ผล รู้ตน รู้ประมาณ รู้กาล รู้ ประชุมชน โดยความรู้นี้ไม่ได้จ ากัดอยู่เพียงแค่การเรียนจบจากต่างประเทศหรือ จากสถาบันชั้นสูงเท่านั้น แต่ต้องเป็นผู้มีความรู้มาก เป็นปราชญ์และเข้าใจใน บริบทสังคมการเมืองและวัฒนธรรมของไทยดี เพราะคนประเภทนี้เป็นผู้ที่ผู้คนใน สังคมต้องการ 3.๒ เป็นผู้ที่มีทุนทางสังคมสูง ประการต่อมาก็คือผู้น าจะต้อง เป็นผู้ที่มี “ทุน” ทางสังคมสูง หมายความว่าเป็นผู้ที่สังคมยอมรับ การยอมรับใน ที่นี้ไม่ได้หมายถึงการยอมรับเฉพาะกลุ่มหรือสาขาอาชีพที่ตนเองท าอยู่ เช่น เป็น นักกฎหมาย เป็นนักปกครอง หรือเป็นแพทย์ ที่คนในวงการเหล่านั้นยอมรับ หรือ ชื่นชมเท่านั้น แต่บุคคลดังกล่าวต้องได้รับการยอมรับ (แม้จะไม่ศรัทธามากนัก) จากคนเป็นส่วนใหญ่ของสังคม ไม่ใช่เพียงแค่ประกาศชื่อแล้วก็มีคนถามกันว่าเขา เป็นใครมาจากไหน หรือเพียงแค่ได้ยินเสียงตอบรับจากคนในแวดวงการท างาน เท่านั้น เพราะคนประเภทนี้ยังไม่ได้ถือว่าเป็นปราชญ์ส าหรับคนทั่วไป ดังนั้น ค าว่า ทุนทางสังคมจึงหมายถึงความเป็นผู้มีความรู้ความสามารถได้รับการยอมรับจากคน ทุกระดับชั้น หรือคนเป็นส่วนมากของสังคม นี่คือคนที่จะมาเป็นผู้น าที่จะมาแก้ไข ปัญหาความขัดแย้งของคนในสังคมได้ 22 พระเทพปริยัติเมธี, “ภาวะผู้น าเชิงพุทธกับการจัดการความขัดแย้งใน สังคมไทย”, รำยงำนวิจัย, (มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย: วิทยาลัยสงฆ์ นครสวรรค์, 2553), หน้า 198-199.
๑๖๒ 3.๓ เป็นผู้ที่มีเทคนิคในการเจรจา ประเด็นเรื่องการเจรจาหรือ ค าพูดไม่ได้หมายถึง การมีความสามารถเพื่อเจรจาหาข้องยุติเพื่อเอาชนะเท่านั้น การรู้จักเจรจา หมายความว่าผู้นั้นจะต้องมีเจตนาที่ดีเป็นประโยชน์แก่คู่เจรจาและ สังคมโดยรวม มีจิตวิทยาในการโน้มน้าวและสร้างความเชื่อมั่นแก่ผู้ร่วมเจรจาสูง คือนอกจากจะสร้างความเชื่อมั่นแก่ฝ่ายที่สนับสนุนตนเองแล้วก็ยังต้องเป็นผู้สร้าง ความเชื่อมั่นแก่คู่เจรจาด้วยว่าเขาจะเป็นที่พึ่งได้แม้แก่คนที่อยู่อีกฝ่ายหนึ่งได้ โดย บุคคลที่ท าหน้าที่เป็นคนเจรจา ไกล่เกลี่ยได้ดีที่สุดในสมัยพุทธกาลคือพระพุทธเจ้า ซึ่งแม้ว่าพระองค์จะทรงพระปรีชา แต่ในบางคราวเราก็จะพบว่าพระองค์ก็ไม่ สามารถใช้หลักการเจรจาเพื่อยุติปัญหาได้ เช่น กรณีการจัดการความขัดแย้งของ ภิกษุชาวเมืองโกสัมพี เป็นต้น ดังนั้น ทักษะในการเจรจาหรือไกล่เกลี่ยนั้นจึงถือ เป็นเรื่องที่มีความส าคัญ ซึ่งผู้ที่เป็นผู้น าจะต้องมีหลักหรือคุณสมบัติในเรื่องนี้อย่าง ดีเยี่ยม 3.๔ เป็นผู้ที่มีอ านาจในการตัดสินใจสูง ในการเจรจาไกล่เกลี่ย นั้น นอกจากจะพูดดีต้นทุนสูงแล้วผู้น าจะต้องมีอ านาจในการตัดสินใจค่อนข้างสูง คือ การตัดสินว่าจะให้หรือไม่ให้สิ่งที่เป็นเงื่อนไขการเจรจา หรือการยกเลิกสัญญา หรือข้อกฎหมายต่าง ๆ ที่เป็นอุปสรรคต่อการเจรจาเพราะหากผู้น าไม่มีอ านาจใน การด าเนินการดังกล่าวก็เชื่อว่าการเจรจาไกล่เกลี่ยนั้นจะไม่มีทางประสบผลส าเร็จ ได้ เช่น การที่คู่กรณียกเงื่อนไขว่าควรที่จะยกเลิกกฎหมายนี้เพื่อให้มีสิ่งนี้เกิดขึ้น ผู้น าหากพิจารณาเห็นว่าเป็นสิ่งที่เป็นไปได้ก็สามารถที่จะตัดสินใจด าเนินการได้เลย โดยไม่ต้องรออะไร การเจรจาแบบนี้ย่อมเป็นผลส าเร็จได้ไม่ยาก 3.๕ เป็นผู้ที่เป็นศูนย์รวมความศรัทธาของคนทั้งหลาย (ไม่ด่าง พร้อย) ประเด็นที่ส าคัญที่สุดของการเป็นผู้น าที่มีภาวะผู้น าสูงที่มาแก้ไขปัญหา ความขัดแย้งในสังคมไทยหรือในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งทั่ว ๆ ไปก็คือผู้น า จะต้องเป็นผู้ที่ได้รับความเชื่อมั่นจากคนในสังคมค่อนข้างสูงหมายความผู้น าที่จะ เข้าสู่การเจรจาจะต้องเป็นผู้ที่คนในสังคมให้การยอมรับ เคารพศรัทธา เลื่อมใส และเป็นผู้ที่มีอิทธิพลต่ออารมณ์ความรู้สึกของคนในสังคม เช่น กรณีของ พระพุทธเจ้า หรือพระสงฆ์รูปส าคัญ ๆ ที่ประชาชนเคารพเชื่อถือ หรือเป็นผู้ที่ มหาชนเรียกว่าบัณฑิต เป็นต้นจึงเป็นผู้ที่จะสามารถเข้าไปด าเนินการในการเจรจา เพื่อแก้ไขปัญหาความขัดแย้งได้ ผล เนื่องจากการเจรจาไกล่เกลี่ยนั้น หากมองอีก
๑๖๓ มุมหนึ่งก็เป็นการบริหาร ๒ เรื่อง คือ (๑) อารมณ์ และ (๒) ข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริง ดังนั้นการบริหารอารมณ์และความรู้สึกของคนนั้นถือเป็นเรื่องที่มีความส าคัญหาก คนที่เข้าร่วมเจรจาไม่มีอารมณ์ร่วมกับการเจรจา การแก้ไขปัญหานั้นก็ไม่จบลง ด้วยดี ดังนั้น ความที่ผู้น าเป็นผู้ที่เป็นที่ตั้งของความศรัทธานั้นดูจะเป็นเงื่อนไข ส าคัญในการเจรจา และการที่ผู้น าเป็นผู้ที่มีอิทธิพลต่อสังคมนั้นนอกจากจะมีผล ต่อการเจรจาไกล่เกลี่ยแล้วก็ยังมีผลต่อการแก้ไขปัญหาด้วย ดังเช่นในกรณีการ แก้ไขปัญหาของภิกษุชาวเมืองโกสัมพีที่พระพุทธองค์เข้าไปเจรจาถึง ๓ ครั้งก็ไม่ เป็นผลส าเร็จ แต่เมื่อทรงเลือกวิธีการถอนตัวจากการเจรจาเท่านั้น ความเป็นผู้ที่มี ความส าคัญต่อสังคมหรือมีอิทธิพลต่อสังคมนั้นกลับกลายมาเป็นประเด็นหลักที่ สามารถแก้ไขปัญหาโดยเบี่ยงเบนความสนใจจากปัญหาการทะเลาะมาเป็นการ แสวงหาทางออกของกลุ่มที่ก าลังมีปัญหาอยู่ได้ เป็นต้น ซึ่งกรณีนี้เราจะเห็นอย่าง ชัดเจนถึงความมีอิทธิพลต่ออารมณ์ความรู้สึกของคนในสังคมนั้นถือเป็นภาวะของ ผู้น าที่จะสามารถเข้าไปแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้ 3.๖ ผู้น าจะต้องไม่เป็นผู้มีส่วนในความขัดแย้ง สิ่งนี้คือเนื้อหา หลักของการแก้ไขปัญหาเพราะหากน าเอาคู่กรณีมาเจรจาก็เท่ากับว่าเป็นการ น าเอาคนสองฝ่ายที่ไม่ถูกกันอยู่แล้วมาเผชิญหน้ากัน ท าให้การเจรจาไม่ประสบ ผลส าเร็จ เช่น กรณีการเจรจาระหว่างผู้น ารัฐบาลไทยกับผู้ประท้วงเสื้อแดง ซึ่งผล การเจรจาครั้งนั้นล้มเหลว ต่อมาไม่นานก็เกิดเหตุการณ์ปะทะกันที่สี่แยกคอกวัว แยกผ่านฟ้าและไปจบลงที่ราชประสงค์จนเป็นเหตุให้มีคนตายเป็นจ านวนมาก นี่ คือผลการเจรจาที่น าเอาคู่ทะเลาะเข้าไปเจรจากันเพียงล าพัง โดยไม่ได้น าเอาคน กลางที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องมาเจรจา เช่น อาจจะเป็นพระสงฆ์ชั้นผู้ใหญ่หรือบุคคล ชั้นสูงที่ทั้งสองฝ่ายยอมรับ หากมีการเจรจาผ่านคนกลางหรือผู้มีอิทธิพลก็เชื่อว่า การเจรจานั้นจะน าไปสู่การหาหนทางออกได้ ดังนั้น ในการเจรจาเพื่อจัดการความ ขัดแย้งผู้น าจะต้องไม่เป็นผู้ที่มีส่วนร่วมในความขัดแย้งนั้นด้วยเพราะหากท า เช่นนั้นก็จะพบว่าผลที่เกิดจากการเจรจาเพื่อหาข้อยุติของปัญหานั้นย่อมไม่เกิดขึ้น อย่างแน่นอน แนวทางการน าหลักภาวะผู้น าเชิงพุทธมาใช้เพื่อจัดการความขัดแย้งใน สังคมไทยเป็นที่ทราบกันว่าสังคมไทยนั้นก็เป็นอีกสังคมหนึ่งที่มีเนื้อหาความขัดแย้ง ปรากฏอยู่เฉกเช่นเดียวกันกับสังคมมนุษย์โดยทั่วไปในโลก ซึ่งหากพิจารณาถึง
๑๖๔ สภาพความเป็นจริงในเรื่องความขัดแย้งก็จะพบว่าสังคมไทยนั้นมีความขัดแย้งที่ สามารถแบ่งได้เป็น ๕ ประการ คือ (๑) ความขัดแย้งด้านข้อมูลหรือข้อเท็จจริง (๒) ความขัดแย้งด้านผลประโยชน์ และความต้องการ (๓) ความขัดแย้งด้าน ความสัมพันธ์(๔) ความขัดแย้งด้านโครงสร้าง (๕) ความขัดแย้งด้านคุณค่าหรือ ค่านิยม แต่ถึงอย่างนั้นเราก็จะพบว่าสภาพความขัดแย้งในสังคมไทยไม่รุนแรง เท่ากับบางประเทศหรือบางสังคมในโลกนี้ แต่เนื่องจากสังคมไทยนั้นเป็นสังคม พุทธ เนื่องจากมีพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจ าชาติ ดังนั้น ในการแก้ไขปัญหา ความขัดแย้งในสังคมไทยในบางกรณีก็จะมีการน าเอาหลักการเรื่องภาวะผู้น าทาง พระพุทธศาสนาที่ผู้น าประเทศหรือผู้ที่มีส่วนในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งน าไป ประยุกต์ใช้เพื่อการแก้ไขปัญหา ซึ่งการด าเนินการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งใน สังคมไทยในด้านต่าง ๆ ภายใต้กรอบของการน าหลักภาวะผู้น าเชิงพุทธไปใช้นั้นก็มี การด าเนินการเท่าที่พบมีดังต่อไปนี้ ๑) ความขัดแย้งด้านข้อมูล จะต้องด าเนินการแก้ไขโดยการให้ ข้อมูลแก่คู่ขัดแย้งและสังคมอย่างรอบด้านและมีสติสัมปชัญญะ คือข้อมูลนั้น จะต้องไม่เป็นข้อมูลที่บิดเบือนจากความจริงอันจะก่อให้เกิดความเคลือบแคลง สงสัยของคนในสังคมได้ ๒) ความขัดแย้งด้านผลประโยชน์ ผู้น าจะต้องจัดการจัดสรร ผลประโยชน์ทั้งในส่วนบุคคลและสังคมให้มีความสมดุล กล่าวคือคู่ขัดแย้งที่มีความ ต้องการด้วยผลประโยชน์ทั้งสองฝ่าย ซึ่งผู้น าจะต้องด าเนินการเพื่อจัดสรร ผลประโยชน์ให้เกิดกับสองฝ่าย โดยเฉพาะหากเป็นฝ่ายรัฐกับชุมชนรัฐจะต้องเอื้อ ประโยชน์ให้กับชุมชนให้มากเนื่องจากรัฐนั้นถือว่าเป็นผู้ที่มีอ านาจและก าลัง แต่ ทั้งนี้ทั้งนั้นความต้องการของชุมชนก็จะต้องไม่ขัดต่อความเสียประโยชน์ของสังคม ส่วนรวมเป็นหลัก ๓) ความขัดแย้งด้านความสัมพันธ์ ผู้น าจะต้องเสริมสร้างหรือ ปรับเปลี่ยนแนวคิดเพื่อที่จะดึงเอาความรู้สึกร่วมของคู่ขัดแย้งทั้งสองฝ่ายนั้นให้มี อยู่ในแนวทางเดียวกันโดยอาศัยหลักการทางพระพุทธศาสนา ก็คือ หลักสังคหวัตถุ ๔ และสาราณียธรรม ๖ มาปรับประยุกต์ใช้โดยที่ผู้น าจะต้องเป็นผู้สร้าง บรรยากาศแห่งความสมานฉันท์ให้เกิดเป็นอันดับแรกก่อนที่จะเปิดโอกาสให้คู่ ขัดแย้งเป็นผู้สร้าง
๑๖๕ ๔) ความขัดแย้งด้านโครงสร้าง ผู้น าจะต้องเป็นผู้ด าเนินการ ปรับปรุงโครงสร้างทางการเมืองให้สอดคล้องกับการด าเนินชีวิต พื้นฐานทางสังคม และการเป็นอยู่ของสังคมเพื่อป้องกันปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากความเหลื่อมล้ าทาง สังคม ๕) ความขัดแย้งด้านคุณค่าหรือค่านิยม ผู้น าจะต้องให้ข้อมูลที่ แท้จริงเกี่ยวกับค่านิยมที่ไม่ถูกต้องในสังคมแก่คนในสังคมโดยการประชาสัมพันธ์ และปลุกเร้าความเชื่อที่เป็นอันหนึ่งอันเดียวของคนในสังคมให้เกิดขึ้น ซึ่งหาก เป็นไปได้ตามนั้นก็จะสามารถแก้ไขปัญหาสังคมในด้านนี้ได้ซึ่งเราจะพบว่า สังคมไทยเองก็พยายามที่จะขจัดปัญหาความขัดแย้งนั้นอยู่ตลอดเวลาภายใต้ เงื่อนไขทางกฎหมายและทางสังคมตามหลักวิชาการสมัยใหม่ที่ได้รับอิทธิพลมา จากต่างประเทศ ซึ่งผลการด าเนินการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งพบว่าในบางปัญหา สามารถที่จะแก้ไขปัญหาได้แบบเบ็ดเสร็จ แต่ในบางปัญหาก็ยังเป็นปัญหาสืบเนื่อง ที่จะต้องอาศัยระยะเวลาในการแก้ไขและมีบางปัญหาผลการแก้ไขปัญหายังคงลืบ เนื่องมาจนกระทั่งถึงปัจจุบัน อย่างไรก็ตามเราจะพบว่าในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในสังคมไทย โดยอาศัยหลักการเรื่องภาวะผู้น าเชิงพุทธนั้นเราจะพบว่าองค์ประกอบที่ส าคัญใน การแก้ไขปัญหาก็คือผู้น าที่จะต้องมีภาวะผู้น าสูงคือจะต้องมีคุณธรรมจริยธรรม ตามหลักค าสอนของพระพุทธศาสนา ซึ่งจากการวิจัยพบว่าผู้น าที่มีภาวะผู้น าเชิง พุทธตามข้อเท็จจริงทางสังคมแล้วมีน้อย เนื่องจากภาวะผู้น าเชิงพุทธนั้นเป็น คุณลักษณะเชิงอุดมคติที่ผู้น าจะต้องมีคุณธรรมขั้นสูงแต่ความจริงแล้วผู้น าใน สังคมไทยนั้นยังมีคุณธรรมไม่ถึงขั้นอุดมคติมากนักจึงเป็นผลต่อกระบวนการแก้ไข ปัญหาอยู่พอสมควร บทสรุป ผู้น าและภาวะผู้น านั้นถือว่าเป็นศาสตร์และศิลป์ในการน ามาใช้เพื่อ การน าชุมชน องค์กรและสังคม แต่การเป็นผู้น านั้นจะสามารถยังประโยชน์ให้ ส าเร็จได้นั้นย่อมขึ้นอยู่กับ “ภาวะผู้น า” เป็นส าคัญ มีการศึกษาแนวคิดและทฤษฎี จ านวนมากที่เกี่ยวข้องกับภาวะผู้น า และมีหลักธรรมในพระพุทธศาสนาที่สามารถ น ามาประยุกต์ใช้กับภาวะผู้น า ทั้งยังสามารถปรับใช้กับหลักการแบบสมัยใหม่ ที่
๑๖๖ ก าเนิดมาจากตะวันตกได้ สอดคล้องโดยละเมียดละไมกับการบริหาร การจัดการ การจัดการความขัดแย้งอย่างเหมาะเจาะอันแสดงให้เห็นว่า ธรรมะดังกล่าวมี ลักษณะเป็นสากล นิจนิรันดร์ ไม่ล้าสมัย เป็นอกาลิโก ทั้งนี้ภาวะผู้น าเชิงพุทธนั้นมี ลักษณะอยู่ ๓ อย่าง คือ ๑) คุณลักษณะภายนอก คือ มีรูปร่างสง่างาม น่าเคารพ ศรัทธาเลื่อมใส ตลอดทั้งมีพละก าลังแข็งแรง สุขภาพที่ดี และมีความเพียร ๒) คุณลักษณะภายใน คือมีความรู้ มีวิสัยทัศน์กว้างไกล มีความช านาญในงาน มี มนุษย์สัมพันธ์ดี และ ๓) มีความแตกต่างจากบุคคลอื่น ซึ่งความแตกต่างนี้จะท าให้ ผู้ใต้บังคับบัญชาเกิดความเคารพนับถือมีความเชื่อมั่น มีความเชื่อฟังอย่างจริงใจ กอรปกับพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาที่มุ่งเน้น ในการส่งเสริมผู้น าที่เป็นคนดีมี จริยธรรมมีคุณธรรมมาปกครองหมู่คณะสังคมและประเทศชาติเพื่อให้เกิดความ สงบสุขการพัฒนาหมู่คณะ สังคมและประเทศชาติให้มีศักยภาพที่มั่นคงและ ก้าวหน้าตลอดไปในโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ขณะเดียวกันก็เป็น คุณธรรมส าคัญของผู้น าด้วยเช่นกัน จึงกล่าวได้ว่าพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาที่ มุ่งเน้นการส่งเสริมผู้น าที่เป็นคนดีมีจริยธรรมมีคุณธรรมมาปกครองสังคมและ ประเทศชาติ เพื่อให้เกิดความสงบสุข พัฒนาสังคม และประเทศชาติไปพร้อมกัน
บทที่ 8 ต้นแบบผู้น ำ บทน ำ พระพุทธเจ้าทรงได้รับการเฉลิมพระนามว่าเป็น “สัตถา” (ศาสดา) ซึ่งแปลว่า ผู้น าทางจิตวิญญาณ หรือ “โลกนายก” ซึ่งแปลว่า ทรงเป็นผู้น าโลกค า ทั้งสองค าดังกล่าวนี้ ยืนยันว่า ค าว่า “ผู้น า” (นายก, Leader) นั้น เป็นค าที่ทรง ให้ความส าคัญอย่างยิ่ง ทั้งยังเป็นค าที่มีใช้อยู่แล้วในพุทธศาสนามาแต่เดิมพระ พุทธองค์เอง ยังเคยทรงตรัสถึงภาวะผู้น าเอาไว้ว่า “ยามฝูงโคลอยข้ามฟาก หากโคที่เป็นผู้น าฝูงว่าย ตรง โคที่เป็นบริวารก็ว่ายตรง แต่ถ้าโคที่เป็นผู้น าว่าย คด โคบริวารก็ว่ายคดตามไปด้วยเช่นกัน” ผู้น าเป็นผู้ก าหนดชะตากรรมทั้งของตัวผู้น า ผู้ตาม ขององค์กร ของ สังคมและของโลกทั้งหมด ถ้าองค์กร บริษัท สถาบัน สังคม หรือประเทศใด มีผู้น า ที่เปี่ยมไปด้วยภาวะผู้น า (Leadership) องค์กร บริษัท สถาบัน หรือประเทศนั้น ๆ ย่อมมีแต่ความเจริญรุ่งเรือง แต่ถ้าการณ์กลับเป็นในทางตรงกันข้ามองค์กรเป็น ต้นนั้น ๆ ก็ย่อมจะพบแต่ความล้มเหลว การเป็นผู้น านั้นไม่ใช่ใคร ๆ ก็เป็นได้ เพราะการเป็นผู้น านั้นต้องใช้ทั้งศาสตร์และศิลป์ แต่อย่างไรก็ตาม แม้การเป็น ผู้น าจะเป็นสิ่งที่เป็นไปได้ยาก ทว่าส าหรับผู้ที่มีเจตนารมณ์มุ่งมั่นในการที่จะ พัฒนาตนเองให้เป็นผู้น าแล้ว การที่จะเป็นผู้น าที่ได้รับการยอมรับก็ไม่ใช่สิ่ง สุดวิสัย ผู้น ำองค์กรภำครัฐ องค์กรภาครัฐอาจมีข้อแตกต่างไปจากองค์กรธุรกิจทั่วไปบ้าง เพราะ องค์กรภาครัฐไม่ได้มีจุดประสงค์หลักในการแสวงหาก าไร แต่ด าเนินกิจการเพื่อ สนองนโยบายหลักของภาครัฐ หรือภาคสาธารณะอื่น ๆ องค์กรภาครัฐมีทั้งที่เป็น
๑๖๘ หน่วยงานประเภทกระทรวง ทบวง กรม และหน่วยงานที่เป็นรัฐวิสาหกิจ และ อาจมีหลากหลายขนาดแตกต่างกันแม้ส่วนใหญ่จะมีขนาดองค์กรใหญ่โตตาม กาลเวลาและอายุขัยขององค์กรเพราะบุคลากรในภาครัฐมักท างานผูกพันอยู่กับ องค์กรเดิมเป็นเวลายาวนานในขณะที่องค์กรต้องมีการน าคนรุ่นใหม่จากภายนอก เข้ามาเสริมเป็นระยะเพื่อทดแทนบุคลากรเดิมที่เกษียณหรือให้มีส่วนผสมของ องค์กรที่เอื้อตามกาลเวลาที่เปลี่ยนไป องค์กรภาครัฐ ไม่ว่าจะเป็นกระทรวง ทบวง กรม หรือรัฐวิสาหกิจ ต่างๆ ถือเป็นองค์กรที่มีความส าคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศ ผู้บริหารองค์กรภาครัฐ นอกจากจะต้องมีคุณสมบัติของผู้บริหารองค์กร ทั่วไปแล้ว ยังต้องมีคุณสมบัติเพิ่มเติมอื่น ๆ ที่ผู้บริหารองค์กรเอกชนอาจขาดไป เช่น ความสามารถในการด ารงอยู่ร่วมกับกลุ่มคนรุ่นเดิมที่เติบโตมากับองค์กรซึ่ง เป็นผู้มีวัยวุฒิและวุฒิภาวะสูงกว่าคนรุ่นใหม่โดยทั่วไป และอาจเป็นหัวหน้าสาย งานซึ่งครอบคลุมการปฏิบัติงานหลากหลายในองค์กร คนสูงอายุในองค์กรเมื่อได้ ทุ่มเทให้องค์กรมาถึงระดับหนึ่งแล้วอาจอ่อนล้า ประสิทธิภาพอาจถดถอย และรอ คอยเวลาที่จะเกษียณอายุ เว้นแต่จะได้ก้าวหน้าไปสู่ต าแหน่งผู้บริหารระดับที่ ตนเองต้องการ การประยุกต์การบริหารงานองค์กรภาครัฐสมัยใหม่ ให้สอดคล้อง กับโลกที่เปลี่ยนแปลงไปจึงเป็นสิ่งจ าเป็น ผู้บริหารองค์กรภาครัฐต้องกล้าหาญใน การด าเนินการเชิงกลยุทธ์เพื่อปรับปรุงระบบงาน หรือรื้อปรับระบบงาน หรือ ปรับปรุงเนื้องาน โดยใช้ความคิดสร้างสรรค์ในเชิงคุณภาพนั่นคือ ผู้บริหารต้องมี แนวคิดใหม่ๆ ที่อาจออกนอกกรอบความคิดเดิม ๆ หรืออกจากกรอบการท างาน แบบเดิม (Think outside the box) รวมทั้งการประยุกต์การบริหารงานให้ทัน กับบุคลากรเลือดใหม่ที่เริ่มเข้ามาในองค์กร 1. นำยณรงค์ศักดิ์ โอสถธนำกร ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดล ำปำง ปัจจุบันด ารงต าแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดล าปาง เป็นอดีตผู้ว่า ราชการจังหวัดพะเยา1 อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงราย อดีตผู้ตรวจราชการของ กระทรวงมหาดไทย อดีตที่ปรึกษาด้านวิศวกรรมส ารวจของกรมที่ดิน อดีต ผู้อ านวยการส านักเทคโนโลยีท าแผนที่กรมที่ดิน อดีตผู้อ านวยการศูนย์ข้อมูลแผน 1 “ประกาศส านักนายกรัฐมนตรีเรื่อง แต่งตั้งข้าราชการพลเรือนสามัญ”, รำช กิจจำนุเบกษำ, 136 (กันยายน ๒๕๖๒): 6-8.
๑๖๙ ที่ของกรมที่ดิน กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิขึ้นบัญชีของกระทรวงการคลัง ส าหรับการ ด าเนินการเกี่ยวกับการให้เอกชนลงทุนในโครงการของรัฐ ท่านมีชื่อเสียงจากการ ด ารงต าแหน่งผู้อ านวยการสถานการณ์ช่วยเหลือเด็กและโค้ชติดถ้ า 13 คน ใน ปฏิบัติการค้นหาและกู้ภัยถ้ าหลวง ระหว่างวันที่ 23 มิถุนายน-10 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 “ใครที่บอกว่าไม่เสียสละพอที่จะท างาน ใครจะ กลับบ้านไปนอนกับลูกกับเมีย เชิญเซ็นชื่อแล้วออกไป เลย ผมไม่รายงานใครทั้งสิ้น ใครจะท างาน วันนี้ขอให้ พร้อมทุกนาที ให้คิดว่าเค้าเป็นลูกเรา” “หน่วยซีลของผม ผมเป็นผู้อ านวยการในพื้นที่ก็ จริง แต่ทุกชีวิตเราถือว่ามีคุณค่าส าคัญเหมือนกันหมด เราสั่งให้เขาไปช่วยชีวิตคนอื่น แต่เราไม่ได้สั่งให้เขาเอา ชีวิตไปทิ้ง” เป็นวาทกรรมที่ได้ให้สัมภาษณ์กับสื่อมวลชน หลังจากที่ได้เข้ามา ด ารงต าแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงราย ท่านก็ได้ปฏิบัติงานอย่างแน่วแน่และ บริหารงานจังหวัดเชียงรายอย่างเที่ยงตรงที่สุด เช่น ในกรณีไม่เซ็นอนุมัติให้ เทศบาลนครเชียงรายท าการก่อสร้างอนุสาวรีย์ช้างคู่บารมีพญามังราย เพราะ พื้นที่การสร้างได้รุกล้ าเข้าไปในแม่น้ า และโครงการมีพิรุธส่อแววทุจริตต่าง ๆ เป็น ต้น ยังรวมถึงกรณีที่มีผู้โพสต์ภาพถ่ายทางอากาศการเผาขยะและเผาป่าทั่ว ภาคเหนือ แต่ยกเว้นจังหวัดเชียงรายเพียงที่เดียวที่ไม่มีการท าเช่นนี้ จึงไม่แปลกใจ เลยว่าท าไมท่านผู้ว่าฯ ณรงค์ศักดิ์ ถึงได้เป็นที่เคารพรักของชาวเชียงรายมากมาย ขนาดนี้และนี่ก็คือเหตุผลว่าท าไม ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงราย นายณรงค์ศักดิ์ โอสถธนากร จึงได้รับหน้าที่เป็นแม่ทัพใหญ่ในภารกิจช่วย 13 ชีวิตที่ติดอยู่ในถ้ า หลวง (ขุนน้ านางนอน) ซึ่งตลอดการท างานหลายวันที่ผ่านมานั้น ท่านผู้ว่าฯ จ.
๑๗๐ เชียงราย ก็ท าให้เราทุกคนได้เห็นถึงความเด็ดขาดในการท างาน และใช้ทุกนาทีใน การท างานให้มีค่ามากที่สุด2 สิ่งที่ท าให้เราท างาน ส าเร็จมี 3 อย่ าง คือ Vision ที่ดี Well Planning และ Well Rescued สุดท้ายคือ Discipline โดยมี Ultimate Goal คือ 13 ชีวิต เราเห็นคนเป็นหมื่นคนท างานร่วมกัน หากใครคนใดคนหนึ่งหายไป งานจะไม่ส าเร็จ สิ่งส าคัญอีกเรื่องคือ หากพวกเราเปลี่ยนชีวิตเราคนละนิดเพื่อการ อยู่เพื่อผู้อื่น โลกจะดีกว่านี้แน่ ผมยืนอยู่ตรงนี้ไม่ใช่ผมเก่ง ไม่ใช่ผมส าเร็จ คน ส าเร็จคือคนที่ยืนอยู่ข้างหลังผมเป็นหมื่นคน ความส าเร็จเกิดจากคนเหล่านั้น แต่ ผมในฐานะผู้บัญชาการ เป็นคนที่ยืนอยู่เบื้องหน้า ท าหน้าที่ออกหน้าแทนเขา เหล่านั้น บทพิสูจน์ผู้น ำ : กำรตัดสินใจในภำวะวิกฤติ “ในภาวะวิกฤติ เราช่วยผู้อื่นโดยไม่หวังอะไรเลย นี่คือ น้ าใจของคนไทย นี่คือบทเรียนที่เราควรน ามาปรับปรุงเพื่อ เดินหน้าประเทศไทย ลึก ๆ แล้วเราเป็นคนอย่างนี้ เราเป็นคนมี น้ าใจ ผมไม่ใช่คนที่ท าให้ส าเร็จ เราแบ่งงานออกไป ทีมด าน้ า ทีม สูบน้ า ทุกทีมมีผู้บัญชาการไปแบ่งงาน ซึ่งเราให้เกียรติแต่ละทีม ไปประชุมกันหมด ผมมีหน้าที่ต่อจิ๊กซอว์ตัวสุดท้ายเข้าไป ภาพ ทุกภาพต่อมาดีหมด และผมท าหน้าที่แค่ต่อตัวสุดท้าย มันไม่ใช่ ความส าเร็จของผม แต่เป็นความส าเร็จของคนเป็นหมื่นคน” “การตัดสินใจในภาวะวิกฤติ คือ ภาวะไม่ปกติ ต้องมีการ ย่อหย่อนบางเรื่อง แต่ก็ต้องมีกติกาก ากับเหมือนกัน แม้จะลด ดีกรีความเข้มข้นลง แต่ก็ต้องโปร่งใสและตรวจสอบได้ ในวิกฤติ จะมีความเสี่ยง วิธีบริหารจดการความเสี่ยงมีแค่ 3 วิธี ผม พูดจากการปฏิบัติ วิธีแรก โยนความเสี่ยงทิ้งไป วิธีที่สอง 2 Admin, “ประวัติ ผู้ว่าฯ ณรงค์ศักดิ์ โอสถธนากร แม่ทัพใหญ่ภารกิจช่วย 13 ชีวิตติดถ้ าหลวง”, เข้าถึงได้จาก https://campus.campus-star.com/variety/75474 .html [8 ตุลาคม 2562].
๑๗๑ กระจายความเสี่ยง สามคือ ต้องมีหลายแผนและตัดสินใจบน แผนที่มีความเสี่ยงน้องสุด และหากเกิดเหตุการณ์เลวร้าย เรา ยับยั้งความเสี่ยงนั้นได้” “เวลาวิกฤติ สังคมไทยดี ช่วยกันด้วยน้ าใจไม่หวัง ผลประโยชน์ใด ๆ ทุกคนมีเป้าหมายเดียวกัน คือ เอาเด็กออกมา โดยปลอดภัยทุกคน เราส ารวจถ้ าร้อยกว่าโพรง ส่วนงานสูบน้ า คนวางถังออกซิเจนท างานกัน 400 - 500 คน นักวิชาการทุก แขนงอยู่หน้าถ้ า เราท างานกันทั้งวันทั้งคืน เปลี่ยนผลัดใหม่ ๆ นี่ เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ท าให้ส าเร็จ” 3 คุณลักษณะภำวะผู้น ำ การเป็นผู้น าต้องมีศีล หรือธรรมะ เพื่อบริหารทั้งอารมณ์ของตนเอง และบริหารคนด้วยไมตรีโดยหลักธรรมที่ท่านน ามาใช้ประกอบด้วย อิทธิบาท 4 อริยสัจ 4 รวมถึงพรหมวิหาร 4 และทศพิธราชธรรม ภาวะของผู้น าต้องคุมคน ดูแลคน แก้ปัญหาพ่อแม่พี่น้อง ต้องมีพรหมวิหาร 4 และทศพิธราชธรรม มีทาน ศีล บริจาค ความอ่อนโยน ความไม่เบี่ยงเบน ฯลฯ ถ้าเรามีธรรมะและศีลเหล่านี้ อยู่ในมือ และเลือกใช้ให้ถูกกับสถานการณ์ เราจะแก้ปัญหาได้ทุกเรื่อง หลักคิด ตรงนี้เป็นหลักที่จะท าให้เป็นผู้น าที่ประสบความส าเร็จ ผู้ที่เป็นหัวหน้า เป็น ผู้บริหารไม่ว่าจะเป็นโดยการแต่งตั้ง การเลือกตั้งหรือตั้งตนเอง การจะเป็นผู้น าที่ ได้รับการยอมรับหรือประสบความส าเร็จในการท างานปัจจัยส าคัญที่สุด คือ “ภาวะผู้น า” ผู้ว่าฯ ณรงค์ศักดิ์ โอสถธนากร อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงรายซึ่ง เป็นผู้น าในการช่วยเหลือเด็กนักฟุตบอลและโค้ชทีมหมูป่า 13 คนที่ติดถ้ าหลวงขุนน้ านางนอน อ าเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย นับว่าเป็นผู้ที่มีภาวะผู้น าที่โดด เด่นที่สุดในสถานการณ์นี้ ท่ามกลางผู้บริหารระดับสูงของประเทศ ผู้เชี่ยวชาญการ กู้ภัยหลากหลายสาขาทั้งจากต่างประเทศและในประเทศ พร้อมผู้มีจิตอาสา รวมกันมากกว่า 1,000 คน 3 กองบรรณาธิการ, “ณรงค์ศักดิ์ โอสถธนากร วิถีคนจริง เมื่อเดิมพันของ ปฏิบัติการ คือ ชีวิต”, BOT Magazine, ฉบับที่ 1 (2562): 57-60.
๑๗๒ 1) มีความมุ่งมั่น จริงจังและแน่วแน่ในการท างานที่ต้องการ ผลส าเร็จ คิดแล้วต้องท าให้ได้จึงมีการเกาะติดไม่ใช่มีแต่สั่งให้คนอื่นท าหรืออาจ เรียกว่า “คนลุย” อยู่กับผู้ปฏิบัติงานทั้งกลางวัน กลางคืนโดยสีหน้าบ่งบอกถึง ความหวังเสมอ เสมือนว่าคิดอยู่ตลอดเวลาว่าต้องท าให้ได้ เป็นการสร้างแรง บันดาลใจให้ลูกน้องและผู้ร่วมงาน 2) มีวินัย รักษากฎ กติกาเป็นคนตรงต่อเวลาในการนัดหมาย แถลงข่าวแต่ละครั้งไม่ผิดเวลาที่นัดหมาย ไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ของคนอื่น แม้ตนเองมี ความส าคัญกว่า เช่น เดินตามหลังเจ้าหน้าที่เข้าคิวรอรับประทานก๋วยเตี๋ยว บาง วันสวมชุดข้าราชการตากแดด ตากฝนเพราะต้องปฏิบัติงาน 3) มีความสามารถในการวางแผน เป็นผู้มองทะลุ คิดออกแบบ กระบวนการท างานที่มีความเชื่อมโยงในลักษณะบูรณาการอย่างเป็นรูปธรรม การ แจกแจงบทบาทหน้าที่ ภารกิจให้แต่ละหน่วยงานหรือผู้รับผิดชอบแต่ละส่วนมี ความชัดเจน สามารถก ากับติดตามประสานงานกันได้ทุกขั้นตอน 4) มีความสามารถในการสื่อสาร ท่านพูดทุกอย่างชัดเจน ตรง ไป ตรงมา ไม่อ้อมค้อมและที่ส าคัญ คือ ไม่พูดมากเกินความจ าเป็น สิ่งที่พูดล้วน เป็นสิ่งที่ท าได้ และไม่ลังเลที่จะพูด “ผมขอโทษ” เสมอ 5) เป็นนักประสานที่มีพลัง การมีผู้ที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติ ภารกิจจ านวนมากและมาจากองค์กรที่หลากหลายทั้งในต่างประเทศ และใน ประเทศ เป็นผู้มีชื่อเสียงระดับโลก นับว่าเป็นเรื่องยากที่จะท าให้ทุกฝ่ายเข้าใจ ยอมรับอย่างง่ายดาย 6) เป็นผู้ให้หรือบริการที่อยู่บนพื้นฐานของความรัก ความ เมตตา ท่านพูดถึงเด็ก พ่อแม่ผู้ปกครองของเด็กอย่างให้เกียรติ อาจจะพูดแบบขึง ขัง จริงจังกับผู้ร่วมปฏิบัติงานเพื่อตอกย้ าภารกิจ แต่จะไม่พบว่าท่านพูดกระทบ ชาวบ้าน กระทบผู้ที่เกี่ยวข้องกับเด็ก ๆ ที่ติดอยู่ในถ้ า การแสดงออกถึงความรัก ความห่วงใยที่เต็มไปด้วยความเมตตาจึงท าให้การท างานเต็มไปด้วยความสุข มี ก าลังใจตลอดเวลาไม่ใช่เพียงท าตามหน้าที่ อันเป็นลักษณะของผู้น าใฝ่บริการ Serval Leadership 7) มีพื้นฐานความรู้ ความเข้าใจ หรือ “รอบรู้” ในหลากหลาย ศาสตร์ และสามารถน าความรู้ ความเข้าใจมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
๑๗๓ 8) มีความสามารถในการท างานเป็นทีม การใช้อ านาจจะต้อง เน้นที่ความร่วมมือ การสร้างพลังร่วมกัน จะเห็นได้ว่าท่านมักจะพูดถึงคนอื่นว่า เป็นพระเอกตัวจริงอยู่บ่อย ๆ ทั้งในช่วงการเผชิญกับวิกฤตจนถึงวันที่แถลงข่าวปิด ศูนย์อ านวยการร่วมค้นหาผู้สูญหายซึ่งท่านเป็นผู้น าในการแถลงข่าว ท่านได้เชิญ ชวนให้ผู้ที่อยู่ร่วมในเวทีปรบมือให้กับผู้ที่เกี่ยวข้องว่าท่านเหล่านั้นก็เป็นพระเอก ด้วย นั่นคือการสื่อว่าคนอื่นที่เป็นทีมงานมีความส าคัญ มิใช่ตนเองส าคัญกว่าคน อื่น การให้เกียรติคนอื่นเป็นพื้นฐานการท างานเป็นทีม 9) มีความโปร่งใสในการท างาน การที่ท่านมีความกล้าพูด กล้า ท าทุกอย่างเปิดเผยพร้อมกับแจ้งหรือแถลงข่าวเป็นประจ าซึ่งแต่ละครั้งจะพูดจาก สิ่งที่ปฏิบัติ ไม่อ่านโน้ต ไม่เตรียมการในลักษณะปิดบังข้อมูล ทุกครั้งจะเป็นการ สัมภาษณ์พร้อม ๆ กัน หรือการแถลงข่าวที่เป็นระบบ ไม่เลือกปฏิบัติในการให้ สัมภาษณ์ นอกจากนี้การไม่รับความช่วยเหลือหรือรับบริจาคที่เป็นตัวเงินนับว่า เป็นสิ่งหนึ่งที่น่าชื่นชมในวิธีการที่อาจจะมีความเสี่ยงต่อการทุจริต 10) มีความกล้าหาญ ตัดสินใจเด็ดเดี่ยว ในวันที่ 13 ของการ ช่วยเหลือเด็กหลังจากที่มีอดีตทหารหน่วยซีล SEAL ซึ่งเป็นจิตอาสาเสียชีวิตจาก การด าน้ าในถ้ า ผู้ที่เกี่ยวข้องและผู้ที่ติดตามข่าวสารจ านวนมากช็อค เหมือนกับจะ เริ่มคิดว่า “จะเอาอยู่ไหม” สถานการณ์ที่บีบรัดให้เกิดการติดสินใจว่าจะรอความ พร้อม รอน้ าลดต่อไป รอความช่วยเหลืออื่นใดจากต่างประเทศหรือไม่ สิ่งที่ เกิดขึ้นคือการตัดสินใจอย่างเด็ดเดี่ยวว่า “ต้องช่วยเด็กออกให้ได้ก่อนที่ฝนจะตก หนักอีกรอบหนึ่ง” คือ การรอต่อไปไม่ได้4 ปัจจุบันนายณรงค์ศักดิ์โอสถธนากร ในฐานะผู้ว่าราชการ จังหวัด พะเยาได้น าความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับในการรับมือวิกฤตที่ถ้ าหลวง มาปรับ ใช้กับการบริหารราชการจังหวัดพะเยา ท างานบริหารในพื้นที่อย่างเต็มที่ และ เวลาที่เหลือจากภารปฏิบัติกิจหลักก็ถูกใช้ไปกับการเดินสาย บรรยายให้ความรู้ ตามสถานศึกษา หน่วยงานราชการและอื่น ๆ เกี่ยวกับการรับมือกับภาวะวิกฤต และภาวะผู้น า และเป็นอาจารย์สอนพิเศษ และยังกล่าวว่า “หัวใจส าคัญในการ 4 สมาน ฟูแสง, “10 คุณลักษณะภาวะผู้น าของผู้ว่าฯ ณรงค์ศักดิ์ โอสถธนา กร”, มติชนออนไลน์, 22 กรกฎาคม 2561.
๑๗๔ บริหารจัดการความเสี่ยงได้ดีคือ การฝึกซ้อมอยู่เสมอ” แต่ด้วยประสบการณ์ แก้ไขปัญหาให้ชาวบ้าน ท าให้เขารับมือกับเหตุการณ์ถ้ าหลวงได้ อย่างไม่ยากเย็น นัก โดยส่วนใหญ่เป็นเรื่องของการตัดสินใจทางวิศวกรรม สภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศ งานดาวเทียม ข้อมูลแผนที่ และสารสนเทศที่ต้องประมวลผลก่อนการ ตัดสินใจ “เราท าหน้าที่ในฐานะเจ้าหน้าที่รัฐคนหนึ่ง และ ไม่ได้คิดว่าอยากจะเอาความดีความชอบอะไร เพราะคน ที่ช่วยในภารกิจในครั้งนี้มีเป็นหมื่นคน เครดิตควรจะ ให้กับคนทั้งหมด ไม่ใช่คนใดคนหนึ่ง” 5 ท่านให้สัมภาษณ์ในนามตัวแทนทีมกู้ภัยถ้ าหลวงฯ ขณะได้รับรางวัล Asia Game Changer Award 2018 จากสถาบันเอเชีย โซไซตี้ (Asia Society) ในฐานะผู้สร้างแรงบันดาลใจให้คนทั่วโลกเขาพูดว่า คนหมื่นกว่าคนควรจะมารับ รางวัลนี้ พร้อมบอกว่า มันเป็นภารกิจที่คนที่มีความรู้ ความสามารถ และความ เชี่ยวชาญด้านต่าง ๆ มาร่วมด้วยช่วยกัน อาจกล่าวได้ว่า โดยภาพรวมนายณรงค์ศักดิ์ โอสถธนากร เป็น ผู้บริหารที่มีภาวะผู้น าเป็นแบบอย่าง เป็นต้นแบบ (Charismatic Leader) ที่ควร ศึกษาเรียนรู้ส าหรับนักปกครอง 2. นำยซูซุกิ นำโอมิจิ (Suzuki Naomichi) ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด ฮอกไกโด ประเทศญี่ปุ่น หลังจากที่รับต าแหน่งนายกเทศมนตรีเมืองยูบาริ ได้ 8 ปี Suzuki Naomichi ได้ตัดสินใจลงสมัครผู้ว่าราชการจังหวัดฮอกไกโด ที่มีประชากรกว่า 1.5 ล้านคน ผลงานของเขา คือ เปลี่ยนเมืองยูบาริ ที่เคยเงียบเหงาให้เป็นเมืองที่ มีชีวิตชีวา ท าให้การเลือกตั้งผู้ว่าฯ ฮอกไกโด เขาได้รับคะแนนเสียงอย่างท่วมท้น และเป็นผู้ว่าฯ ที่อายุน้อยที่สุด ด้วยวัยเพียงแค่ 38 ปีเท่านั้น หลังรับต าแหน่งไม่ 5 นีธิกาญจน์ ก าลังวรรณ, “โลกยกย่องทีมกู้ภัยถ้ าหลวง คว้ารางวัล 'เอเชีย เกม เชนเจอร์' พิชิตภารกิจที่เป็นไปไม่ได้”, เข้าถึงได้จาก https://www.voathai.com/a/asiagame-changer-awards-new-york/4607074.html [8 เมษายน 2563].
๑๗๕ นาน เขาได้ย้ายตนเองออกจากจวนผู้ว่าฯ มาอยู่อพาร์ทเมนต์เอกชน โดยให้ เหตุผลว่า จวนผู้ว่าฯ ต้องใช้งบประมาณจ้างคนมาดูแลรักษาความสะอาดท าให้ เสียเงินมากมายโดยใช่เหตุ ดังนั้นเขาคิดว่าการแยกมาอยู่เอง จะช่วยประหยัดงบ ให้สภาฯเมือง ได้อีกทางหนึ่ง บทบำทกำรฟื้นฟูเมืองยูบำริที่ล้มละลำย ช่วงที่ท างานเป็นข้าราชการอยู่ที่ว่าการนครโตเกียว Suzuki ท างาน ในสายงานด้านสาธารณสุขและสวัสดิการมาโดยตลอด กระทั่งปี 2551 ได้เป็น หนึ่งในข้าราชการผู้ได้รับมอบหมายจากที่ว่าการนครโตเกียว ให้ไปช่วยงานเมืองยู บาริซึ่งอยู่ในภาวะล้มละลาย เพื่อทั้งช่วยเหลือและเรียนรู้ประสบการณ์ในการ ท างานเพิ่มเติม เมืองยูบาริในอดีตรุ่งเรืองด้วยอุตสาหกรรมเหมืองถ่านหินที่คอย หล่อเลี้ยงเศรษฐกิจทั้งของเมืองเองและของจังหวัดฮอกไกโด จนได้รับการขนาน นามว่าเมืองหลวงแห่งถ่านหินของญี่ปุ่น จนกระทั่งนโยบายพลังงานของรัฐบาล เปลี่ยนไป ลดการพึ่งพาถ่านหินลง น าไปสู่การปิดเหมืองถ่านหินทั่วประเทศ เมือง ยูบาริได้ปิดเหมืองแห่งสุดท้ายลงในปี 1990 นับจากนั้นมา เมืองยูบาริก็ถึงคราว ถดถอย ปัญหาของเมือง เริ่มจากเทศบาลเมืองยูบาริทุ่มงบประมาณมหาศาล เพื่อซื้อโครงสร้างพื้นฐานเดิมของบริษัทเหมืองถ่านหินที่ถือครองอยู่ ซึ่งมีทั้ง โรงพยาบาล อาคารที่พักอาศัย ระบบน้ าประปา ฯลฯ เมื่อมีการตรวจสอบ ภายหลังจึงพบว่าเมืองยูบาริเข้าซื้อโครงสร้างพื้นฐานเหล่านั้นในราคาที่สูงเกินกว่า ปกติ อีกทั้งเมืองยูบาริยังลงทุนเป็นจ านวนเงินมหาศาลเพื่อสร้างสวนสนุกและลาน สกี ด้วยหวังจะเปลี่ยนเมืองให้กลายเป็นแหล่งท่องเที่ยว ซึ่งก่อนหน้าที่จะขอยื่น ล้มละลายนั้น หนี้ของเมืองยูบาริมีสูงถึง 3.5 หมื่นล้านเยน เกินความสามารถที่ เมืองจะช าระหนี้ได้ ในปี 2549 เมืองยูบาริได้กลายเป็นหน่วยงานบริหารราชการ ส่วนท้องถิ่นแห่งแรกเพียงแห่งเดียวในญี่ปุ่นที่ประสบภาวะล้มละลาย นโยบายรัดเข็มขัดทางเศรษฐกิจที่กระทรวงการคลังมอบให้เมืองยูบา ริด าเนินการเพื่อแลกกับการให้กู้ยืมเงินดอกเบี้ยขั้นต่ านั้นบีบให้เมืองต้องลดและ หยุดการให้บริการสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน ไม่ว่าจะเป็นโรงเรียน โรงพยาบาล สถานดูแลผู้สูงอายุ สถานรับเลี้ยงเด็กและห้องสมุดล้วนถูกน ามาปฏิบัติใช้เพื่อลด ค่าใช้จ่าย เมืองยูบาริยังเพิ่มอัตราภาษีผู้อาศัยและค่าสาธารณูปโภคด้วย เมื่อ
๑๗๖ ประชาชนต้องเสียภาษีและค่าสาธารณูปโภคที่สูงกว่าเมืองอื่นในประเทศญี่ปุ่นโดย ที่ขาดสวัสดิการขั้นพื้นฐานจึงยิ่งบีบให้คนในวัยท างานและวัยเด็กหนีออกจากเมือง ในช่วงเวลาที่ Suzuki ย้ายไปประจ าการชั่วคราวไปในปี 2008 ประชากรเมือง ยูบาริที่เคยมีมากถึง 1.2 แสนคน ลดลงเหลือเพียง 1.2 หมื่นคน และเกือบ ครึ่งหนึ่งเป็นผู้สูงอายุความยากล าบากและความแร้นแค้นของประชาชนในเมืองยู บาริ ท าให้Suzuki ผู้เคยผ่านประสบการณ์ยากล าบากมาก่อนรู้สึกผูกพันกับเมือง นี้เป็นอย่างมาก ระหว่างที่เขาประจ าการที่นี่ Suzuki ท างานใกล้ชิดกับชาวเมือง โดยไม่สนใจว่าจะเป็นงานสกปรกและยากล าบากเพียงใด จนเขากลายเป็นที่รัก ของชาวเมืองยูบาริ เมื่อถึงคราวที่ต้องกลับไปประจ าการที่ที่ท าการเมืองโตเกียว ก็ มีชาวเมืองยูบาริจ านวนมากไปคอยส่งเขาที่ที่ท าการเมืองยูบาริ ประสบการณ์ที่ Suzuki ได้รับจากการประจ าการที่เมืองยูบาริ ท าให้ เขาตัดสินใจลาออกจากการเป็นข้าราชการ และลงสมัครเลือกตั้งนายกเทศมนตรี เมืองยูบาริในปี 2011 ในฐานะผู้สมัครอิสระ ความยึดมั่นของ Suzuki ที่คิดว่า “พร้อมที่จะตายที่ฮอกไกโด” ท าให้เขาได้รับคะแนนเสียงอย่างท่วมท้น และ สามารถเอาชนะผู้รับสมัครรายอื่น ๆ ที่ได้รับการสนับสนุนจากพรรคการเมืองยักษ์ ใหญ่ จนกลายมาเป็นนายกเทศมนตรีเมืองที่อายุน้อยที่สุดในญี่ปุ่นด้วยวัยเพียง 30 ปี ระหว่างด ารงต าแหน่งนายกเทศมนตรีสองสมัย Suzuki ได้ฝากผลงาน เอาไว้มากมาย ไม่ว่าจะเป็น การลดเงินเดือนนายกเทศมนตรีของตนลงถึง 70% จนเหลือเพียง 2.6 แสนเยนต่อเดือน ซึ่งเป็นรายได้นายกเทศมนตรีเมืองที่ต่ าที่สุด ในญี่ปุ่น (และต่ ากว่าพนักงานบริษัททั่วไป) และยังด าเนินมาตรการรัดเข็มขัดต่าง ๆ ทั้งลดเงินเดือนและตัดเงินเกษียณอายุของข้าราชการ อีกทั้งขอความร่วมมือให้ ข้าราชการโดยเฉพาะอย่างยิ่งเจ้าหน้าที่ระดับบริหารเกษียณอายุก่อนก าหนด รวมถึงสร้างแบรนด์“เมล่อนยูบาริ” ให้กลายเป็นสินค้าพรีเมียมในระดับโลก สร้างรายได้ให้กับเกษตรกรผู้ปลูกเมล่อนเป็นจ านวนมาก ตลอดระยะเวลาด ารง ต าแหน่ง 8 ปี เขาประสบความส าเร็จในการลดหนี้ของเมืองยูบาริลงได้ถึงกว่า 40%6 6 วีรยา เจนจิตติกุล, “ซูซุกิ นำโอมิจิ: วำทะ“พร้อมที่จะตำยที่ฮอกไกโด” ของผู้ว่ำฯ กับกำรต่อสู้ COVID-19”, เข้าถึงได้จาก https://thepeople.co/suzukinaomichi-governor-of-hokkaido-covid-19/ [9 เมษายน 2563].
๑๗๗ ด้วยผลงานอันโดดเด่นที่สามารถพลิกฟื้นเมืองที่ล้มละลายให้กลับมามี ชีวิตขึ้นได้เช่นนี้ จึงไม่น่าแปลกใจเมื่อเขาตัดสินใจลงสมัครเลือกตั้งผู้ว่าราชการ เมืองฮอกไกโด ในนามผู้สมัครอิสระ ในปี 2562 แล้วได้รับความไว้วางใจจาก ชาวเมืองฮอกไกโดอย่างล้นหลาม ได้รับเลือกตั้งเป็นผู้ว่าราชการที่อายุน้อยที่สุด ด้วยวัยเพียง 38 ปี ในฐานะผู้ว่าราชการ Suzuki ยังคงใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย เช่น ย้ายออกจากจวนผู้ว่าฯ ไปอาศัยอยู่ในอพาร์ตเมนท์ธรรมดาเพื่อลดงบประมาณ และยังคงคิดนโยบายใหม่ ๆ ทั้งนโยบายเชิงรุกและเชิงรับ อีกทั้งนโยบายเปลี่ยน วิกฤตเป็นโอกาส สมกับเป็นผู้ว่าราชการหัวก้าวหน้า ที่เป็นความหวังของ ชาวเมืองฮอกไกโด บทบำทกำรจัดกำรสถำนกำรณ์ COVID-19 “ผมตัดสินใจแบบนี้ ผมรับผิดชอบเอง” ในสถานการณ์ข่าว COVID-19 ในประเทศญี่ปุ่นที่คนญี่ปุ่นต้องรับมือ อย่างหนักหน่วง หนึ่งในใบหน้าที่ท าให้ผู้คนจดจ ามากที่สุดคือใบหน้าของ Suzuki นาโอมิจิ (Suzuki Naomichi) เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2563 ที่ผ่านมา จังหวัด ฮอกไกโดประสบปัญหามีผู้ติดเชื้อเพิ่ม 15 ราย เขาประกาศปิดโรงเรียนทันที 7 วัน ประกาศภาวะฉุกเฉิน ระบุว่า สถานการณ์รุนแรงมากขึ้น งดการออกไปท า กิจกรรมนอกบ้านตลอดสัปดาห์ จึงมีเสียงวิจารณ์ว่า ผู้ว่าฯ ท าเกินกว่าเหตุหรือไม่ เนื่องจากมีผู้ติดเชื้อมีเพียง 10 กว่าคน จาก 1.5 ล้านคน แต่ผู้ว่าฯ ยืนยันหนัก แน่นว่า “ผมตัดสินใจแบบนี้ ผมรับผิดชอบเอง” เพราะเรื่องสุขภาพของประชาชน ต้องมาเป็นอันดับ 1 มาตรการที่ออกมาต่อสู้กับโรคระบาดในฮอกไกโดนั้นมีความ เข้มข้นเป็นอย่างมาก เช่น เริ่มจากการประกาศให้ปิดโรงเรียนระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษาเป็นเวลา 7 วัน เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ และประกาศมาตรการ ฉุกเฉิน โดยขอให้ประชาชนกักตัวอยู่ในบ้านเป็นเวลา 2 สัปดาห์ ตั้งแต่วันที่ 28 กุมภาพันธ์ จนเกิดเสียงทัดทานว่าอาจส่งผลกระทบต่อการการท่องเที่ยวซึ่งเป็น หนึ่งในเศรษฐกิจหลักของฮอกไกโด7 7 new18, “หล่อแนวคิดเยี่ยม "ผู้ว่าฯ ฮอกไกโด" ได้รับยกย่องจัดการไวรัสโค วิด-19 อย่างเฉียบขาด”, เข้าถึงได้จาก https://www.newtv.co.th/news/50734 [8 เมษายน 2563].
๑๗๘ Suzuki แถลงว่า ภ าวะฉุกเฉิน จะไม่มีก ารต่อเวล า ห ลังจ าก สถานการณ์ดีขึ้นเป็นล าดับ โดยระบุว่า “เราได้ควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อ ไวรัส และจัดการความล่มสลายของระบบการดูแลสุขภาพก่อนหน้านี้ ซึ่งท าให้ เป็นเรื่องยากในการช่วยชีวิตคน”ต่อมาเมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2563 ผู้ว่าราชการ จังหวัดฮอกไกโด ได้ประกาศให้ภาวะฉุกเฉินของฮอกไกโดสิ้นสุดลงวันที่ 19 มีนาคม 2563 จังหวัดฮอกไกโดได้มีการประกาศภาวะฉุกเฉินเมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา เนื่องจากมียอดผู้ติดเชื้อพุ่งสูงในระยะเวลาอันสั้นภายใน จังหวัดฮอกไกโด มาตรการนี้ได้ผลชัดเจนเมื่อเข้าสู่ช่วงอาทิตย์ที่3 จ านวนยอดผู้ ติดเชื้อภายในจังหวัดฮอกไกโดลดลงจนล่าสุดไม่มียอดผู้ติดเชื้อเพิ่มขึ้นแล้ว แม้ว่า จะยกเลิกภาวะฉุกเฉินแล้วจากนี้ยังคงต้องมีการป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่กระจาย ของเชื้อ COVID-19 อย่างต่อเนื่องควบคู่ไปกับภาคเศรษฐกิจภายในจังหวัดขอให้ ประชาชนดูแลตัวเอง และงดการออกจากที่พักในกรณีที่มีอาการคล้ายหวัด8 อาจกล่าวได้ว่า Suzuki Naomichi มีบทบาทของภาวะผู้น าที่ชัดเจน ในการตัดสินใจอย่างเด็ดขาด และรวดเร็วบนพื้นฐานของวิสัยทัศน์ของผู้น าที่มุ่ง ประโยชน์ของส่วนรวมเป็น แสดงให้เห็นถึงศักยภาพของผู้น าองค์กรภาครัฐอย่าง ชัดเจนและได้รับการยอมรับจากประชาชน 3. นำยโฮเซ่ มูฮีก้ำ (José Mujica) ประธำนำธิบดีของประเทศ อุรุกวัย อดีตประธานาธิบดีJosé Mujica ของประเทศอุรุกวัย ได้รับการ เลือกตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2552 เขาใช้เวลาในยุค พ.ศ. 2503 และ 2513 ในฐานะ สมาชิกกลุ่มกองโจรทูปามารอส กองก าลังติดอาวุธฝ่ายซ้ายที่ได้รับแรงบันดาลใจ จากการปฏิวัติในคิวบา เขาเคยถูกยิง 6 ครั้ง และถูกจ าคุก 14 ปี สภาพใน ระหว่างการถูกคุมขังเต็มไปด้วยความยากล าบากและโดดเดี่ยว กระทั่งได้รับการ ปล่อยตัวเมื่อปี พ.ศ.2528 เมื่ออุรุกวัยกลับสู่การเป็นประเทศประชาธิปไตย และ ได้รับการขนานนามว่า “ประธานาธิบดีที่จนที่สุดในโลก” จากการด าเนินชีวิต อย่างเรียบง่ายสมถะ ได้ประกาศไม่ขอรับเงินบ านาญจากช่วงที่เขาด ารงต าแหน่ง 8 Asahi, “ฮอกไกโดประกาศยกเลิกภาวะฉุกเฉินแล้ว”, เข้าถึงได้จาก https:// press. ikidane-nippon.com/th/a00828/ [8 เมษายน 2563].
๑๗๙ สมาชิกวุฒิสภา ก่อนจะก้าวขึ้นเป็นผู้น าประเทศอุรุกวัย Mujica เคยเป็นอดีต หัวหน้านักรบกองโจร และเคยต้องโทษจ าคุกถึง 13 ปี เขาบอกว่า ทุกสิ่งที่เขา ประสบมานั้นหล่อหลอมให้เขาเป็นตัวเขาในวันนี้ กำรด ำเนินชีวิตแบบพอเพียง “ผมถูกเรียกว่าเป็น ผู้น าประเทศที่จนที่สุดในโลก แต่ผมกลับ ไม่เคยรู้สึกว่าตัวเองจน คนจนคือคนที่มีความต้องการไม่สิ้นสุด” Mujica เป็นคนที่ใช้ชีวิตอย่างเรียบง่ายติดดินและไม่ยอมเข้าพักใน ท าเนียบประธานาธิบดีที่หรูหราในช่วงที่เขาด ารงต าแหน่งนั้น ในช่วงที่ด ารง ต าแหน่งประธานาธิบดี ได้บริจาคเงินเดือนส่วนใหญ่ให้องค์กรการกุศล และสมบัติ ชิ้นเดียวที่เขาครอบครองตอนเข้ารับต าแหน่งเมื่อปีพ.ศ. 2553 ก็คือรถเต่า “โฟลค์สวาเกน บีเทิล” รุ่นปี 1987 สีฟ้าอ่อน ซึ่งกลายเป็นรถที่โด่งดังไปทั่วโลก หลังจากมีผู้เสนอขอซื้อรถคันดังกล่าวในราคา 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ เมื่อปีพ.ศ. 2557 แต่ Mujica ปฏิเสธข้อเสนอไปโดยให้เหตุผลว่าเขาจะไม่มีรถพาสุนัข 3 ขา ไปไหนมาไหนหากขายรถเต่าคันนี้ไป9 Mujica มีรายได้เป็นเงินเดือนจากต าแหน่งประธานาธิบดีเดือนละ 11,000 ดอลลาร์สหรัฐ (ราว 360,000 บาท) แต่ถึงกระนั้นเขาก็เก็บไว้เพียง 10 เปอร์เซ็นต์ ส่วนอีก 90 เปอร์เซ็นต์ Mujica ก็น าไปบริจาคช่วยเหลือคน ยากจน หรือโครงการเพื่อสาธารณประโยชน์ต่าง ๆ ในปี 2010 การตรวจสอบ บัญชีทรัพย์สินประจ าปีของคณะรัฐบาลอุรุกวัย พบว่า Mujica มีทรัพย์สินมูลค่า 1,800 ดอลลาร์ (ราว 59,000 บาท) ซึ่งก็คือราคาของรถเต่าโฟล์กสวาเกนของ เขา ที่ซื้อมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2530 ส่วนในปี พ.ศ. 2555 เขาบวกทรัพย์สินของ ภรรยาไปด้วย ซึ่งประกอบด้วยที่ดิน รถแทรกเตอร์ และบ้าน รวมแล้ว Mujica มี ทรัพย์สินอยู่ที่ 215,000 ดอลลาร์ (ราว 7,000,000 บาท) อย่างไรก็ดี ตัวเลข ดังกล่าวคิดเป็นสัดส่วนเพียง 2 ใน 3 ของทรัพย์สินทั้งหมดของรองประธานาธิบดี ดานิลโล แอสโทรี และคิดเป็น 1 ใน 3 ของทรัพย์สินของอดีตประธานาธิบดีทา บาเร วาสเกส 9 บีบีซี นาวิเกชัน, “อดีต ปธน.จนที่สุดในโลกไม่ขอรับเงินบ ำนำญ”, เข้าถึงได้ จาก https://www.bbc.com/thai/international-45202998 [10 เมษายน 2563].
๑๘๐ กำรก ำหนดนโยบำยอนุญำตให้เสพกัญชำได้อย่ำงเสรี ในปี พ.ศ.2556 ภายใต้การน าของประธานาธิบดีโฮเซ มูฮีกา (Jose Mujica) รัฐบาลประเทศอุรุกวัยได้ผ่านร่างกฎหมายเพื่อควบคุมกัญชาผ่านการ ผูกขาดที่ควบคุมโดยรัฐ จุดประสงค์หลักของกฎหมายนี้คือ การน าเอาตลาดกัญชา กลับคืนมาจากกลุ่มผู้ค้ายาเสพติด เพื่อปรับปรุงความมั่นคงของประเทศ และลด อาชญากรรม ทั้งยังมุ่งมั่นที่จะแยกตลาดกัญชาออกจากตลาดยาเสพติดชนิดอื่นที่ มีความเสี่ยงมากกว่า เช่น โคเคนเบส (cocaine base) ซึ่งเสพกันอย่างแพร่หลาย ในประเทศ ข้อเสนอนี้ถือเป็นครั้งแรกที่รัฐบาลแห่งชาติได้สนับสนุนการควบคุม ทางกฎหมายส าหรับกัญชาเพื่อวัตถุประสงค์ทางการแพทย์อย่างเป็นทาง การตลาดกัญชาของประเทศอุรุกวัยนี้จะพร้อมด าเนินการในช่วงเวลาหนึ่งของปี พ.ศ. 2558 และถูกก าหนดให้มีการควบคุมที่เคร่งครัดมากยิ่งกว่าตลาดกัญชาที่ จัดตั้งขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกา มีเพียงบริษัทเอกชนไม่กี่แห่งเท่านั้นที่จะได้รับ ใบอนุญาตให้ผลิตกัญชาได้อย่างถูกต้องตามกฎหมาย พร้อมทั้งให้มีการค้าปลีกที่ จัดการโดยร้านขายยาที่มีใบอนุญาตและอยู่ภายใต้การควบคุมเท่านั้น มีการ คาดหวังว่ารัฐจะก าหนดให้สามารถซื้อพืชสมุนไพรกัญชาประมาณ 4 เกรดได้ อย่างถูกกฎหมาย โดยมีระดับของการออกฤทธิ์เริ่มต้นที่ปริมาณทีเอชซี (THC) ประมาณร้อยละ 5 ไปจนถึงสูงสุดร้อยละ 15 กัญชาจะวางจ าหน่ายโดยบรรจุหีบ ห่อแบบเรียบ ไม่ติดยี่ห้อ และราคาขายปลีกจะถูกก าหนดให้เท่ากับหรือต่ ากว่า อัตราที่ขายในตลาดผิดกฎหมาย กัญชาที่ใช้รับประทานได้หรือผลิตภัณฑ์ที่ใส่ กัญชาจะไม่อนุญาตให้ขายแบบปลีก และจะห้ามไม่ให้มีการโฆษณา หรือการท า การตลาดกัญชาในทุก ๆ รูปแบบอย่างครอบคลุมการจดทะเบียนผู้เสพกัญชา แห่งชาติจะยังคงจัดท าอยู่ เพื่อติดตามรูปแบบการซื้อ และเพื่อจ ากัดการขายให้อยู่ ที่ 40 กรัมต่อผู้เสพกัญชาหนึ่งคนต่อเดือน (10 กรัมต่อสัปดาห์) การปฏิรูปของ ประเทศอุรุกวัยนั้นยังรวมถึงบทบัญญัติการค้ากัญชาเพื่อวัตถุประสงค์ทาง การแพทย์การปลูกกัญชาในครัวเรือน และสโมสรกัญชาด้วย José Mujica คือ ผู้น าคนส าคัญที่ผลักดันให้มีการบริโภคกัญชาได้ อย่างถูกกฎหมายในประเทศแห่งนี้ แม้จะได้รับเสียงวิพากษ์วิจารณ์อย่างมากใน ช่วงแรก แต่เขาก็ยืนยันที่จะผลักดันเรื่องนี้ต่อไป โดยพยายามท าให้กัญชาเข้ามา อยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของรัฐ เพราะเขารู้ดีว่ามีประชาชนจ านวนไม่น้อยที่
๑๘๑ ผูกพันกับพืชชนิดนี้และก าลังตกเป็นเหยื่อของกลุ่มพ่อค้ายา ในท้ายที่สุดเมื่อปี 2560 ที่ผ่านมา อุรุกวัยได้กลายเป็นประเทศแรกในโลกที่ท าให้การบริโภคยาเสพ ติดอย่างกัญชากลายเป็นสิ่งถูกต้องตามกฎหมาย ตั้งแต่กระบวนการผลิต การแปร รูป ตลอดจนถึงการจัดจ าหน่าย10 ในด้านเศรษฐกิจ เขาก็เป็นผู้ที่ท าให้ชื่อของอุรุกวัยเป็นที่รู้จักไปทั่วโลก ใช้เวลาไม่กี่ปีพลิกฟื้นประเทศแห่งทุ่งหญ้าปศุสัตว์ เป็นผู้ส่งออกพลังงานลมราย ใหญ่ของโลก จากการกว้านซื้อฟาร์มกังหันลมในช่วงที่ยุโรปประสบวิกฤต เศรษฐกิจ และท าให้เศรษฐกิจของประเทศเติบโตอย่างมีเสถียรภาพอย่างน้อยร้อย ละ 5 ทุกปี นอกจากนี้เปเป้ยังยกระดับรายได้ของประชาชนโดยการท าให้จ านวน คนจนในประเทศจดลงจากร้อยละ 39 เหลือเพียงร้อยละ 11 และคนจนที่สุด จากร้อยละ 5 เหลือเพียงร้อยละ 0.511 กล่าวได้ว่า คุณสมบัติของผู้น าที่เด่นชัดที่สุด คือ การให้จึงเป็น “ประตูบานแรก” ที่จะเปิดพื้นที่ให้กลุ่มคนต่าง ๆ ได้เห็นพฤติกรรมของผู้น า หรือ ผู้ปกครองที่แสดงออกต่อคนอื่น ๆ ดังที่พระพุทธศาสนาได้เน้นว่า “ผู้ให้ย่อมเป็นที่ รักของบุคคลอื่น” José Mujica ประธานาธิบดีอุรุกวัย ซึ่งสถานีโทรทัศน์บีบีซีได้ เรียกขานว่าเป็นประธานาธิบดีที่ยากจนที่สุดในโลก เพราะมีเงินฝากในธนาคารไม่ ถึง ๑๐ ล้านบาท อีกทั้งได้มอบเงินเดือนประจ าต าแหน่งส่วนใหญ่ให้แก่มูลนิธิเพื่อ น าไปช่วยเหลือประชาชนที่ยากไร้ และขาดโอกาสในการเข้าถึงแหล่งทุน การอยู่ ในบ้านหลังเล็กๆ ที่เรียบง่าย มีสวนปลูกพืชผักเอารับประทาน และมีพาหนะ ประจ าตัวเพียงคันเดียวเท่านั้น อีกทั้งมีต ารวจน าขบวนเพียงค้นเดียว และมีต ารวจ ติดตามเพียงสองคน ค าถามคือ “เพราะเหตุใด? ประชาชนชาวอุรุกวัยจึงไม่ ละอายใจต่อชนชาติอื่นๆ ที่มีประธานาธิบดีที่ยากจนที่สุดในโลก” แต่ค าตอบที่ ประธานาธิบดีท่านนี้ ตอบผู้สื่อข่าวคือ ท่านไมได้ยากจนตามที่หลายคนตั้งค าถาม 10 มูลนิธิเพื่อการปฏิรูปนโยบายยาเสพติด, “การยุติสงครามยาเสพติด ท า อย่างไรจึงจะชนะการอภิปรายว่าด้วยนโยบายยาเสพติดโลก”, เอกสารประกอบการสัมมนา ะหว่างวันที่ 18 - 19 ธันวาคม 2558 ณ โรงแรมเลอ เมอริเดียน จังหวัดเชียงใหม่. (อัด ส าเนา). 11 Voice online, “โฮเซ มูฮิกำ ผู้น ำ 'พอเพียง' ตัวจริง”, เข้าถึงได้จาก https ://www.voicetv.co.th/read/174741 [10 เมษายน 2563].
๑๘๒ แต่ท่านมีความรู้สึกร่ ารวยด้วยคุณค่าความเป็นผู้น าที่ได้รู้จักที่จะให้คนอื่น ๆ ซึ่ง การให้ดังกล่าวเป็นที่มาของความสัมพันธ์ระหว่างท่านกับประชาชนชาวอุรุกวัยซึ่ง เป็นผู้เลือกท่านขึ้นมาเป็นประธานาธิบดี 4. นำยเชอริง ต๊อบเกย์ (Tshering Tobgay) คุณหมอนำยก รัฐมนตรีแห่งประเทศภูฏำน “ผู้น าของเรายืนยันว่าไม่มีวิธีใดที่จะยั่งยืนไปกว่าการ ลงทุนในสุขภาพและการศึกษาของประชาชน” นายกรัฐมนตรีของภูฏาน ประกาศกลางที่ประชุมนานาชาติ ว่าภูฏาน จะบรรลุเป้าหมายในการมี “หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า” ภายในไม่เกินปี 2030 โดยเชื่อว่านี่เป็นนโยบายที่สอดคล้องและจะท าให้ “ความสุขมวลรวม” ของคนในประเทศเพิ่มขึ้น เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2562 ที่ผ่านมา ในการประชุม ระดับสูงว่าด้วยหลักป ระกันสุขภ าพถ้วนหน้ า (High-level Meeting on Universal Health Coverage) ซึ่งจัดขึ้นที่เมืองนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา12 บทบำทในกำรลดระดับควำมยำกจนของประเทศ ดาโช13 เชอริง ต๊อบเกย์ เป็นนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งคนที่สอง ของภูฏาน ในสมัยของเขา (2013-2018) อัตราความยากจนของประเทศลดลง จาก 12% เหลือ 8.2% ขณะที่อัตราการรู้หนังสือโดยรวมเพิ่มจาก 40% เป็น 70% และอัตราการรู้หนังสือของเยาวชนสูงถึง 93% โดยหลักก็คือการขับเคลื่อน การพัฒ น าในแนวท างของ GNH ให้เกิดขึ้นจริง ท าให้นโยบ ายเรียนฟ รี รักษาพยาบาลฟรีเป็นจริงแบบถ้วนหน้าให้ได้ ขณะเดียวกันกษัตริย์ของเราทรงจัด สวัสดิการไว้มากมายหลายด้าน เพื่อรองรับและบรรเทาความเดือดร้อนของ ประชาชน ไม่ว่าเกิดจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ หรือเป็นความทุกข์ร้อนส่วนตัว 12 dailybhutan, “ Bhutan To Be First Country To Achieve Universal Health Coverage: Prime Minister Dr Lotay Tshering” , Retrieved from https://dailybhutan.com/article/bhutan-to-be-first-country-to-achieveuniversal-health-coverage-prime-minister-dr-lotay-tshering [9 April 2020]. 13 ดาโช เป็นค าน าหน้าเพื่อให้เกียรติในภาษาซองคา มีความหมายคล้ายค าว่า ลอร์ด
๑๘๓ เช่น การสูญเสียสมาชิกในครอบครัว ไฟไหม้ ประชาชนจะได้รับความช่วยเหลือ เพื่อที่พวกเขาจะไม่กลับไปติดอยู่ในกับดักความยากจน และยังมีนโยบายอีกหลาย ด้าน เช่น เรามีโครงการประกันชีวิตส าหรับชาวชนบท คือ หากว่าชาวบ้านใน ชนบทเสียชีวิต ครอบครัวจะได้รับเงินประกันที่สมทบให้เท่าตัวโดยรัฐ นอกจากนี้ ยังมีการแจกจ่ายเครื่องมือทางการเกษตร เครื่องป้องกันไม่ให้สัตว์ป่าเข้ามาใน พื้นที่ท ากิน รวมถึงร้านขายสินค้าอุปโภคบริโภคราคาถูกที่อุดหนุนโดยรัฐบาล บทบำทรัฐสวัสดิกำร ที่ผ่านมา โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานน้ าซึ่งเป็นรายได้หลักของภูฏาน คิดเป็นร้อยละ 25 ของ GDP ของภูฏานและเรามีรายได้จากภาคบริการที่ เกี่ยวเนื่องกับการท่องเที่ยว อีกบางส่วนจากอุตสาหกรรมการผลิต เกษตรกรรรม ยังส าคัญอยู่มากเพราะครอบคลุมประชากรจ านวนมาก ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเกษตร แบบยังชีพ เพียงพอส าหรับบริโภคในครัวเรือนเท่านั้น ฉะนั้น รายได้หลักยังมา จากพลังงานน้ า แต่เหตุผลใหญ่ที่สุดที่ท าให้รายได้ที่เรามียังพอเพียง ก็เพราะเราใช้ เงินอย่างรอบคอบและไม่ปล่อยให้รั่วไหลง่าย ๆ คือ ถ้าเรายอมปล่อยเงิน งบประมาณให้รั่วไหลไปกับการคอร์รัปชัน การดูแลสวัสดิการชาวบ้านเพียงหยิบ มือก็คงท าได้ยาก ดังนั้น ภูฏานโชคดีในแง่ที่ว่าแม้ไม่ได้มีเงินมากมายมหาศาล แต่ มันถูกใช้อย่างคุ้มค่า และเหตุผลส าคัญก็คือกษัตริย์ของเราทรงวางระเบียบและ วินัยทางการเงินไว้อย่างดีทุกวันนี้แม้เราจะมีผู้แทนจากกระบวนการเลือกตั้งตาม ระบอบประชาธิปไตยเข้ามาท าหน้าที่บริหารประเทศ แต่กษัตริย์ของเราก็ยังทรง เป็นเข็มทิศทางศีลธรรมและเสาหลักทางมโนธรรมแก่รัฐบาล คนที่เข้ามาเป็น รัฐบาลจึงไม่ได้ฉ้อฉลอย่างที่น่าจะเป็นนัก ด้วยเหตุนี้ งบประมาณที่มีอยู่จึง พอเพียง14 ชาวภูฏานแต่ละคนมีสิทธิ์ได้รับการรักษาพยาบาลฟรี ทั้งยาแผน โบราณและคลาสสิกล้วนเป็นเรื่องธรรมดาที่พบเห็นได้ในภูฏาน รวมถึงแต่ละคนมี สิทธิ์ที่จะตัดสินใจเกี่ยวกับวิธีการรักษาด้วยตนเองได้ 14 ธนดิษ ศรียานงค์, สายพิณ ฮัมดานี, “เชอริง ต๊อบเกย์ | ใน ‘ชัมบำลำ’ มี ควำมทุกข์บ้ำงหรือไม่ และจะท ำให้ควำมสุขจับต้องได้อย่ำงไร”, เข้าถึงได้จาก https:// adaybulletin.com/talk-conversation-tshering-tobgay/36422 [9 เมษายน 2563].
๑๘๔ บทบำทในกำรบริหำรจัดกำรกำรเปลี่ยนแปลงสภำพภูมิอำกำศของ รัฐบำลภูฏำนสอดคล้องกับเป้ำหมำยกำรพัฒนำอย่ำงยั่งยืน “ประเทศภูฏานมีโครงการจะใช้รถยนต์ไฟฟ้า ใช้ หลอดไฟ LED ส านักงานของรัฐบาลพยายามจะไม่ใช้ กระดาษ และมีโครงการปลูกต้นไม้เพิ่มเติมอีก” รัฐบาลภูฏานให้ความส าคัญต่อการรักษาสภาพภูมิอากาศเนื่องจาก ส่งผลกระทบโดยตรงต่อระบบนิเวศน์ของประเทศและสภาพความเป็นอยู่ โดย การก าหนดในรัฐธรรมนูญของภูฏานปี พ.ศ. 2551 มาตรา 5 ไว้อย่างชัดเจนว่า รัฐจะมีหน้าที่ต้องรักษาป่าไว้ไม่ให้ต่ ากว่าร้อยละ 60 ของพื้นที่ทั้งประเทศ เพราะ ป่าไม้เป็นแหล่งเก็บกักก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ดีที่สุด กลไกหนึ่งภายใต้ UNFCCC คือ CDM (Clean Development Mechanism) ซึ่งเป็นการซื้อขาย คาร์บอนโดยประเทศที่ปล่อยก๊าซมากจะมาตกลงกับประเทศก าลังพัฒนาในการ ปลูกป่าเพื่อเอาคาร์บอนเครดิตไปหักจากปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ที่ประเทศ ของตนมีข้อผูกพันต้องลดปริมาณก๊าซ ดังนั้น รัฐธรรมนูญภูฏานจึงเป็นตัวอย่างที่ดี ที่ก าหนดหน้าที่ของรัฐในการรักษา Carbon Sink (ป่าไม้) เอาไว้ให้ได้มากที่สุด นอกจากนี้ ยังได้ก าหนดกลไกบังคับใช้ทางกฎหมายประกอบด้วย กฎหมายว่าด้วย การประเมินสิ่งแวดล้อม กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ปี 2007 กฎหมายว่าด้วยการจัดการของเสีย ปี ค.ศ. 2009 กฎหมายว่าด้วยน้ า ค.ศ. 2007 กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองด้านอุตสาหกรรมและการท าเหมืองแร่ การก าหนดมาตรฐานการปล่อยก๊าซคาร์บอน กฎหมายว่าด้วยการปล่อยของเสีย บทบำทกำรเป็นนำยแพทย์ “ที่โรงพยาบาล ผมสแกนและรักษาคนไข้ ส่วนในรัฐบาล ผมสแกนสุขภาพของนโยบายและพยายามท าให้ดีขึ้น” เมื่อชนะเลือกตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีแล้ว Tshering Tobgay ก็ยังใช้ เวลาทุกวันเสาร์ รักษาผู้ป่วยที่ถูกส่งไปให้รักษา ส่วนเช้าวันพฤหัสบดี ให้ ค าแนะน าแก่แพทย์ฝึกหัดและแพทย์ทั่วไป วันอาทิตย์จึงเป็นเวลาครอบครัว ที่ ส านักงานของนายกรัฐมนตรี จะมีชุดหมอแขวนไว้ด้านหลังเก้าอี้ เพื่อใช้เป็นเครื่อง
๑๘๕ เตือนใจถึงการให้ค าสัญญาตอนเลือกตั้งว่าจะมุ่งยกระดับการดูแลสุขภาพและ รักษาพยาบาล ประเทศภูฏาน ผู้ป่วยไม่ต้องจ่ายค่ารักษาพยาบาลโดยตรง กระนั้น Tobgay มองว่ายังมีอีกหลายอย่างที่ต้องท า แม้ประเทศเล็ก ๆ แห่งนี้ ได้รับการ ปรับปรุงจนอายุขัยยืนยาวขึ้น อัตราการตายของทารกลดลง และขจัดโรคติดต่อได้ หลายโรค แต่โรคภัยไข้เจ็บจากรูปแบบการใช้ชีวิต อาทิ ติดเหล้า และเบาหวาน ยังเพิ่มสูงขึ้น “เวลานี้ เราต้องพุ่งความสนใจไปที่การดูแลขั้นที่สองและสาม” ท างานการเมืองกับการเป็นหมอส าหรับนายกรัฐมนตรีภูฎานมีความเหมือนกัน มาก “ที่โรงพยาบาล ผมสแกนและรักษาคนไข้ ส่วนในรัฐบาล ผมสแกนสุขภาพ ของนโยบายและพยายามท าให้ดีขึ้น” และว่า จะท าแบบนี้ไปจนกว่าจะตาย และ คิดถึงเวลาที่ไม่สามารถมาที่นี่ได้ทุกวัน ในวันท างาน Tobgay จะขับรถไปทั่วกรุง ทิมพูด้วยตนเอง แทนการใช้คนขับรถประจ าต าแหน่ง “เมื่อใดขับรถไปท างานใน วันปกติ ผมหวังเลี้ยวซ้ายไปยังโรงพยาบาลทุกที” 15 จะสังเกตเห็นได้ว่า ภูฏานไม่ได้เน้นให้มีการพัฒนาแบบก้าวกระโดด และอาจมีผลท าให้ระบบการท างานของภูฏานมีลักษณะที่ไม่รวดเร็วมากนัก แต่ ชาวภูฏานก็ยังคงสามารถรักษาเอกลักษณ์และวัฒนธรรมที่บ่งบอกถึงความเป็น ชาวภูฏานไว้ได้อย่างดีไม่ว่าจะเป็นการแต่งกาย อาคารบ้านเรือนต่าง ๆ ซึ่งแม้จะ เกิดขึ้นในยุคสมัยปัจจุบันก็ตาม แต่ทุกอาคารต้องมีการตกแต่งตัวอาคารที่บ่งบอก ถึงความเป็นเอกลักษณ์ของภูฏานไว้แต่ละเมืองของภูฏานมีความเป็นระเบียบ และความสะอาด ไม่มีขอทานตามท้องถนน รวมถึงการใช้เส้นทางคมนาคมของ ชาวภูฏานจะเป็นไปด้วยความเอื้อเฟื้อให้ทางซึ่งกันและกัน ซึ่งแสดงถึงการน า แนวคิดของ GNH มาประยุกต์ใช้ได้อย่างเป็นรูปธรรม หนึ่งในปัจจัยพื้นฐานส าคัญ ของการพัฒนาแบบยั่งยืนอาจมาจากการที่คนชาติ ๆ นั้น ต้องมีความภาคภูมิใจ และเห็นความส าคัญของการรักษาเอกลักษณ์และวัฒนธรรมของชาติตน เพื่อให้ การพัฒนาทางด้านอื่น ๆ ทั้งด้านเศรษฐกิจ และสังคม สามารถพัฒนาได้อย่าง 15 AFP, “"นายกรัฐมนตรีภูฏาน"วันธรรมดาเป็นนายกฯ-ทุกวันเสาร์เป็นหมอ”, คมชัดลึก ออนไลน์, 9 พฤษภาคม 2562.
๑๘๖ สมดุล ซึ่งจะส่งผลให้การพัฒนาในภาพรวมเป็นไปอย่างต่อเนื่อง มั่นคง และยั่งยืน และการมีวิสัยทัศน์และความเสียสละของผู้น าด้วย กล่าวโดยสรุปว่า ผู้บริหารองค์กรภาครัฐมีความรับผิดชอบต่อองค์กร และสาธารณชนสูงในขณะเดียวกันก็มีความเปราะบางในกระบวนการบริหาร จ าเป็นต้องสร้างเกราะคุ้มกัน โดยการวางกฎ ระเบียบวิธีการปฏิบัติงานที่ชัดเจน มีขอบเขตอ านาจหน้าที่ที่ชัดเจน มีระบบการตรวจสอบซึ่งกันและกันที่ชัดเจน จน ท าให้ไม่สามารถฝ่าฝืนได้โดยง่ายและสร้างระบบตรวจสอบย้อนหลังได้เพื่อความ โปร่งใส รวมถึงมีภาวะผู้น า อันเป็นศิลปะในการจัดการซึ่งเป็นมากกว่าศาสตร์ เพราะเป็นสิ่งไม่มีกฎเกณฑ์ตายตัว ไม่มีขนาดหรือน้ าหนักความเข้มในการ ด าเนินการตายตัว ขึ้นอยู่กับปัจจัยแวดล้อม ท าให้มีภาระหนักในการสร้างสมดุล ให้เกิดขึ้นในภาคส่วนใหญ่ขององค์กร และบริหารจัดการในภาคส่วนย่อยให้เกิด ประสิทธิภาพสูงสุด เพื่อประโยชน์ขององค์กรและเพื่อบุคลากรส่วนใหญ่ในองค์กร และประโยชน์แก่ประชาชนอันเป็นรากฐานของประเทศชาติ ผู้น ำกำรเปลี่ยนแปลง ภายใต้บริบทของการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมในยุค โลกาภิวัฒน์ องค์การต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงอย่างไร้รูปแบบ ผู้น าองค์การ ต้องตระหนักถึงพลวัตรการเปลี่ยนแปลงนี้ภาวะผู้น าการเปลี่ยนแปลงมีผลอย่าง มากต่อความส าเร็จและน าพาองค์การไปสู่สถานการณ์ใหม่ที่ดีขึ้น ภาวะผู้น าการ เปลี่ยนแปลง (Transformational Leadership ) หมายถึง พฤติกรรมที่ผู้น า แสดงให้เห็นถึงความสามารถในการจัดการ กระบวนการจัดการที่ผู้น ามีอิทธิพล ต่อผู้ตาม ปฏิสัมพันธ์ที่ผู้น าและผู้ตามมีต่อกันก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งสอง ฝ่าย 1. นำยมำซำโยชิ ซน (Masayoshi Son) ผู้ก่อตั้ง SoftBank นัก ขำยฝันแห่งโลกเทคโนโลยี “อย่าหาข้ออ้างว่าการต่อสู้ในสมรภูมิมันดุเดือดเลือด พล่านสักแค่ไหน หรือคู่ต่อสู้ได้เปรียบขนาดนี้ เราต้องฝ่าฟัน ไปตลอด”
๑๘๗ วิสัยทัศน์ของ Masayoshi Son เมื่อ 9 ปีที่แล้ว บางอย่างก็เกิดขึ้น แล้วในยุคนี้ อาทิ ข้อมูลจ านวนมหาศาล (Big Data) อินเทอร์เน็ตของทุกสิ่ง (Internet of Things) และปัญญาประดิษฐ์ที่ก้าวหน้าขึ้นมาก จนกลายเป็น เป้าหมายหลักในการลงทุนของ SoftBank ผ่านกองทุน Vision Fund เกิดขึ้นเมื่อ ปี 2017 จากวิสัยทัศน์ของ Masayoshi ที่ต้องการผลักดันเทคโนโลยีที่ช่วย ยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชน โดยการร่วมทุนของ SoftBank และพันธมิตร เช่น กลุ่มนักลงทุนจากซาอุดีอาระเบีย, Qualcomm, Foxconn, Apple และ แลร์รี่ เอลลิสัน ผู้ก่อตั้งบริษัท Oracle มีเป้าหมายน าเงิน 100,000 ล้านเหรียญ สหรัฐไปลงทุนในสตาร์ทอัพสายเทคโนโลยี เช่น Uber, Doordash, Nvidia รวมทั้ง ARM ที่เพิ่งตัดสัมพันธ์ทางการค้ากับหัวเว่ยไปหมาด ๆ โดย Vision Fund ถือเป็นกองทุนที่ลงทุนในเทคโนโลยีที่ใหญ่ที่สุดในโลก Masayoshi ก่อตั้งบริษัทชื่อ SoftBank ตอนอายุ 24 ปี ในปีพ.ศ. 2524 ด้วยเงิน 3 ล้านบาท ปีพ.ศ. 2527 SoftBank ประสบความส าเร็จมีส่วน แบ่ง 50% ของตลาดซอฟท์แวร์ในประเทศญี่ปุ่น เขาเป็นคนชอบเทคโนโลยีมาก มากพอที่ท าให้เขาลงทุนในธุรกิจเทคโนโลยีต่าง ๆ ทั่วโลก 600 บริษัท การลงทุน มีทั้งขาดทุนบ้างได้ก าไรบ้างไปเรื่อย จนมาถึงบริษัทเล็ก ๆ บริษัทหนึ่งชื่อ Yahoo เข้ามาหาเขาเพื่อต้องการเงินไปพัฒนาเทคโนโลยี Search Engine จึงท าให้บริษัท SoftBank เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่สุดถึง 30% ของบริษัท Yahoo และได้รับก าไร มหาศาลจากการน า Yahoo IPO เข้าตลาดหลักทรัพย์อเมริกาในปี พ.ศ. 2539 ท านองเดียวกันกัน SoftBank ให้เงินกับ Alibaba ของแจ๊คหม่าเป็นทุนเริ่มแรก มากพอ ที่ท าให้ตอนนี้ SoftBank เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่สุดใน Alibaba ไม่ใช่ แจ๊คหม่า SoftBank ยังซื้อกิจการอื่นอีกมากมายเช่น บริษัท Vodafone Japan ผู้ให้บริการ มือถือในญี่ปุ่น บริษัท Sprint ผู้ให้บริการมือถือในอเมริกา และล่าสุดบริษัท ARM ผู้ผลิตชิพและซอฟท์แวร์สัญชาติอังกฤษ แต่ที่น่าสนใจคือเขามีแผนธุรกิจ 300 ปี อยู่ในใจมาตลอด เขาเชื่อใน “Singularity” ว่าในที่สุดเทคโนโลยี Aritificial Intelligence จะพัฒนาด้วยตนเองได้จนเหนือกว่ามนุษย์ ใน 30 ปีข้างหน้า หุ่นยนต์จะมีสมองเท่ากับมนุษย์ IQ 10,000 และธุรกิจชิพของบริษัท ARM ของ เขาจะได้ประโยชน์ เพราะทุก ๆ คนจะจ าเป็นต้องใช้มัน การซื้อกิจการต่าง ๆ ท า
๑๘๘ ให้บริษัท SoftBank มีหนี้มหาศาลถึง 4 ล้านล้านบาท ในขณะที่บริษัทมีส่วนทุน เพียง 1 ล้านล้านบาทเท่านั้น16 ภำพที่ 8.1 วิสัยทัศน์ 300 ปี ของ Masayoshi17 เมื่อปีพ.ศ. 2553 ซึ่งเป็นปีที่ SoftBank ก่อตั้งมาครบ 30 ปี มาซา โยชิ ซน ได้ท าสิ่งที่เหนือความคาดหมายของคนทั่วโลกอีกครั้ง ด้วยการเสนอ วิสัยทัศน์ 300 ปี จากความหวังว่า SoftBank จะอยู่ยงถึง 300 ปี โดยมองว่า คอมพิวเตอร์จะฉลาดเหนือมนุษย์SoftBank จึงลงทุนในการพัฒนาสมอง คอมพิวเตอร์เตรียมไว้ตั้งแต่บัดนี้ และในอีก 100 ปีข้างหน้ามนุษย์จะอยู่ร่วมกับ ปัญญาประดิษฐ์ (AI) อย่างกลมกลืน การปฏิวัติข้อมูลที่จะช่วยให้มนุษย์อายุยืนถึง 200 ปีภายในปี 2300 ซึ่งเมื่อถึงตอนนั้นจะมีการรักษาโรคในระดับดีเอ็นเอและ ใช้อวัยวะเทียมเพื่อรักษาชีวิตมนุษย์ 16 อุไรพร ชลสิริรุ่งสกุล, “Softbank: Vision Fund กองทุนบันลือโลก”, เข้าถึงได้จาก https://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/645734 [12 ตุลาคม 2561]. 17 รอบโลก, “วิสัยทัศน์300ปีของผู้ชายผู้ขย้ าหัวเว่ย”, เข้าถึงได้จาก https://www.posttoday.com/world/590018 [24 พฤษภาคม 2562].
๑๘๙ อาจกล่าวได้ว่า “มาซาโยชิ ซน” อภิมหาเศรษฐีของญี่ปุ่น ผู้ให้เงิน ลงทุนแก่แจ็ค หม่า เจ้าของอาลีบาบา ลงในหนังสือเล่มนี้ แล้วคุณจะรู้ว่าคนส าเร็จ อย่าง มาซาโยชิ ซน มีเคล็ดลับการบริหารงาน บริหารคน และพลิกฟื้นธุรกิจในยุค ฟองสบู่แตกจนส าเร็จ และยิ่งใหญ่มาถึงทุกวันนี้ชีวิตแบบมาซาโยชิ ซน คือ ไม่มี ชีวิตใดที่ปราศจากความเสี่ยง สมการการตัดสินใจ คือ ชนะก่อนรบ เทคนิคด้าน การงาน คือ กังวลเรื่องงานก็ต้องแก้ที่งาน และคิดในมุมกลับ คือ การเปลี่ยน วิกฤติเป็นโอกาส การลงทุนที่เริ่มจากวิสัยทัศน์ของมาซาโยชิ ซัน อาจเกิดเป็นอีโค ซีสเต็มใหม่ของซอฟท์แบงค์ที่สามารถโน้มน้าวทิศทางนวัตกรรมและกระแสดิจิทัล ได้เกินคาด ด้วยเงินลงทุนหลายแสนล้านดอลลาร์ที่ซอฟท์แบงค์อัดฉีดสู่สตาร์ทอัพ และอุตสาหกรรม ตลอดจนวิสัยทัศน์และความมุ่งมั่นของซีอีโอผู้เจนสนามก่อเกิด กลุ่มพลังที่ยิ่งใหญ่ ที่อาจเชื่อมความสัมพันธ์ สานความร่วมมือหรือข้อตกลง ภายในอีโคซีสเต็มจนอาจเปลี่ยนเส้นทางการใช้ดิจิทัล หรือการพัฒนานวัตกรรม แห่งอนาคต 2. นำยศุภชัย เจียรวนนท์มังกรธุรกิจรุ่นใหม่ ประธำนบริหำรของ เครือเจริญโภคภัณฑ์ ด้วยภาวะผู้น า แม้ต้องเผชิญปัญหาหนี้เกือบแสนล้านบาท จากพิษต้ม ย ากุ้งปี 2540 นักบริหารหนุ่มในช่วงนั้น ก็สามารถน ากลุ่มทรูฝ่าวิกฤตมาได้ จน ล่าสุดด้วยเครดิตและความสัมพันธ์ที่ดีกับพันธมิตรรอบข้าง ท าให้ล้างหนี้ได้เกือบ หมด นอกจากนี้ยังเป็นผู้ผลักดันทรูให้เป็นผู้น าร่องให้บริการ 3 G กับ 4 G เป็น รายแรกในเมืองไทย ผู้น าที่บุกเบิกเรื่องดังกล่าวคือ ศุภชัย เจียรวนนท์ กรรมการ ผู้จัดการใหญ่และประธานคณะผู้บริหาร บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น ย้อนความให้ฟัง ถึงการฝ่าวิกฤตช่วงนั้นว่า วิกฤตเศรษฐกิจต้มย ากุ้งปี 2540 ตอนนั้นถือว่าทรูอยู่ ในภาวะล้มละลาย Chapter 11 ทั่วประเทศ (หลังรัฐบาลประกาศลอยตัวค่าเงิน บาทแบบบริหารจัดการ จากเดิมจะฟิกซ์กับค่าเงินเหรียญสหรัฐ ผลดังกล่าวท าให้ ผู้ที่มีภาระหนี้เป็นเงินเหรียญสหรัฐ ต้องมีหนี้เพิ่มกว่าเท่าตัว เมื่อค่าเงินบาทเทียบ เหรียญสหรัฐอ่อนตัวเป็นกว่าเท่าตัว) และทรูตอนนั้นในชื่อบริษัท เทเลคอมเอเชีย (ซึ่งศุภชัยเข้ามาบริหารเมื่อปี 2535 พอปี 2540 หนี้พุ่งขึ้นเท่าตัวเกือบแสนล้าน บาททันที) หลักคิดในการแก้ปัญหาช่วงนั้นคือ จากที่ยิ่งใหญ่มากกลายเป็นจนติด ลบ