The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
ประจำปีการศึกษา 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jaroon, 2022-06-09 01:21:11

รายงานผลการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2563

รายงานผลการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
ประจำปีการศึกษา 2563

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
(Self - Assessment Report : SAR)
ปการศึกษา 2563

โรงเรียน ลาซาล
รหัสโรงเรยี น 1110100778
752 หมูท่ี - ถนน ลาซาล ตําบล/แขวง บางนา เขต/อาํ เภอ บางนา จังหวัด กรุงเทพมหานคร 10260
โทรศพั ท 02-393-3510 โทรสาร 02-748-6855

สงั กัด
สํานักงานคณะกรรมการสง เสริมการศกึ ษาเอกชน

กระทรวงศึกษาธิการ

รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา
(Self - Assessment Report : SAR)
ปการศกึ ษา 2563

สวนที่ 1 : บทสรปุ ของผบู ริหาร

ระดบั การศึกษาปฐมวยั
ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา อยูในระดับ ดีเลิศ
           จากการดําเนนิ งาน โครงการและกจิ กรรมตา ง ๆ ในการจัดการศึกษาใหม คี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย 3 มาตรฐาน ในดานคณุ ภาพของเดก็

ดา นกระบวนการบริหารและการจัดการ ดา นการจดั ประสบการณท่ีเนน เดก็ เปน สาํ คญั สงผลใหส ถานศกึ ษาไดด ําเนนิ การจัดการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาไดอยา งมี
ประสิทธิภาพ และไดประสิทธิผลตามความตองการ สงผลตอการประเมนิ คุณภาพอยูใ นระดบั ดีเลิศ ทั้งน้ีเพราะมาตรฐานที่ 1 ผลของการจดั การศึกษาดานคุณภาพ
ของเดก็ อยใู นระดับยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ อยูในระดบั ดีเลิศ และมาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณท ี่เนน เด็กเปนสาํ คัญ อยู
ในระดบั ดเี ลิศ

          โรงเรียนลาซาล ระดับกอ นประถมศกึ ษา มีการจัดประสบการณก ารเรียนรตู ามหลักสูตรและมแี ผนงาน โครงงาน กิจกรรม เพอื่ สงเสริม พัฒนาการดา น
รางกาย อารมณ จติ ใจ สงั คมและสติปญญา เดก็ มนี าํ้ หนัก สวนสงู ตามเกณฑม าตรฐานของกรมอนามัย เคล่อื นไหวรา งกายไดอยางคลองแคลว มีการประสานสมั พันธ
ท่ีดรี ะหวา งมอื กับตา รจู ักดูแลรกั ษาสขุ ภาพอนามัยของตนเอง หลีกเล่ยี งสภาวะท่เี ส่ียงตอ โรคสง่ิ เสพติดและระวงั ภัยจากบุคคลอ่ืนได เด็กราเริงแจม ใส แสดงอารมณ
ความรูส ึกตามสถานการณไดเ หมาะสมกับวยั มีความมนั่ ใจในตนเอง กลา พดู กลา แสดงออก รจู กั อดทน รอคอย ชว ยเหลือแบงปน มคี วามรับผิดชอบตอหนา ที่ของ
ตนเอง มคี ุณธรรม จรยิ ธรรมตามทสี่ ถานศกึ ษากําหนด สามารถชว ยเหลือตนเองในการปฏบิ ัตกิ จิ วัตรประจําวนั มวี ินยั ในตนเอง เด็กรูจกั ดูแลรกั ษาสิ่งแวดลอ มทง้ั ใน
และนอกหอ งเรียน พูดจาสุภาพไพเราะ รจู ักการทําความเคารพผูใหญมีทกั ษะชวี ิตสามารถเลน และทํางานรว มกับผูอ่ืนได เด็กมที ักษะในการแสวงหาความรู รูจ ักตงั้
คําถามคนหาคําตอบในสิ่งทีต่ นเองสนใจหรือสงสัย มที ักษะทางดา นภาษาสามารถสนทนาโตต อบหรือเลาเรื่องใหผอู ่นื เขาใจ มที กั ษะการอานนิทานหรือเรื่องราวที่
ตนเองสนใจใหผูอื่นฟง ได รูจักคดิ แกปญ หาและสามารถตดั สินใจในเรื่องงา ยๆได มผี ลงานเชงิ ประจักษใ นการสรางสรรคผ ลงานตามความคิดและจินตนาการของเดก็
ไดอยางเหมาะสมกับวัย

โรงเรยี นลาซาล ระดบั กอนประถมศึกษา ไดมกี ารกาํ หนดเปา หมาย วสิ ยั ทัศน และพนั ธกจิ ของสถานศกึ ษาไวอ ยางชดั เจน มหี ลกั สตู รสถานศึกษาทีค่ รอบคลุม
พัฒนาการทง้ั 4 ดาน และสอดคลอ งกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั มกี ารจัดประสบการณท ี่เตรียมความพรอ ม เนนการเรียนรูผา นการเลน และการลงมือปฏิบตั จิ รงิ
โดยคาํ นงึ ถึงความแตกตา งระหวางบุคคล สอดคลองกับบริบทของทองถน่ิ มแี ผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาท่ตี อเนื่องระยะ 3 ป มีแผนปฏิบัตกิ ารประจําป และ
โครงการกจิ กรรมสนับสนนุ ตามมาตรฐานการศกึ ษาปฐมวัย มีการประเมนิ และติดตาม สง ผลใหสถานศกึ ษามีคณุ ภาพและเปน ทยี่ อมรับของชมุ ชนและหนวยงานที่
เกย่ี วของ มีจาํ นวนบคุ ลากรครูท่ีจบการศกึ ษาและมปี ระสบการณทางดานปฐมวัย เพยี งพอและเหมาะสมกับชนั้ เรียน บุคลากรครไู ดรับการอบรม นเิ ทศติดตามการ
สอน และนําผลการประเมนิ มาพฒั นาตนเอง ทาํ ใหบ คุ ลากรครูมคี วามเช่ยี วชาญดา นการจัดประสบการณ ประเมนิ พัฒนาการเด็กเปน รายบคุ คล และมีกระบวนการ
แกปญ หาการเรยี นรขู องเด็กแบบ PLC (Professional Learning Community)  สงผลใหเ ดก็ มพี ฒั นาการเต็มตามศกั ยภาพ  มจี ํานวนสอ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศ สื่อ
การเรยี นรูท่ีเหมาะสม และเพยี งพอตอความตองการของบคุ ลากรครู มีการจัดสภาพแวดลอมท้งั ภายในและภายนอกทป่ี ลอดภยั และเออ้ื ตอ การเรียนรู มีจํานวนเพียง
พอกับความตอ งการของเด็กและบุคลากรทางการศึกษา จัดทาํ รายงานผลการประเมินตนเองประจําปส งใหห นว ยงานตน สงั กัด นาํ ผลการประเมนิ ไปปรับปรุงและ
พัฒนาคุณภาพการศกึ ษา

เด็กไดร บั การสงเสริมพัฒนาการทางดา นรางกาย อารมณ-จิตใจ สังคม และสติปญ ญา ผานการจดั กิจกรรมตามแผนการจัดประสบการณท ่ีหลากหลาย โดยไดรบั
ความรวมมือจากผปู กครอง ครอบครวั ชมุ ชน และผเู กย่ี วของในการจดั ประสบการณใ หเดก็ มพี ัฒนาการทุกดานอยา งสมดุล เดก็ ไดรับประสบการณต รงจากแหลง
เรยี นรทู ี่หลากหลายท้งั ในหอ งเรียนและนอกหองเรยี นผา นการเลนและปฏบิ ตั ิกิจกรรมสามารถสรา งองคความรไู ดด วยตนเอง มสี ภาพแวดลอ มท่ีเออื้ ตอการเรียนรูข อง
เด็ก ครูใชส่ือและเทคโนโลยใี นการเรียนการสอนที่เหมาะสมกบั วยั ของเด็ก มกี ารประเมนิ พฒั นาการเดก็ จากกจิ กรรมและกิจวัตรประจาํ วันตามสภาพจริง การ
สอบถาม สัมภาษณ สังเกต และผลงานของเดก็ ผปู กครองและผมู ีสวนเกี่ยวของไดร วมกนั ประเมินพัฒนาการและนําผลการประเมินทีไ่ ดไปจดั กจิ กรรมเพื่อสง เสรมิ
พฒั นาการเดก็ ใหเต็มตามศักยภาพ

 

สรปุ ผลการประเมินในภาพรวม (ระดบั การศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน)
ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาอยใู นระดับ ยอดเยี่ยม

          จากการดําเนินงาน โครงการ และกจิ กรรมตาง ๆ ในการจัดการศกึ ษาใหม คี ุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน 3 มาตรฐาน ในดา นคณุ ภาพผเู รียน
ในดานกระบวนการบริหารและการจัดการของผบู รหิ ารสถานศกึ ษา รวมถงึ การจดั กระบวนการเรียนการสอนทเี่ นน ผูเรียนเปนสาํ คัญ รวมถึงมาตรฐานเพิ่มเติมของ

Page 2 of 110

โรงเรยี นเปน มาตรฐานท่ี 4 วา ดว ยเร่ืองมาตรการสงเสรมิ สง ผลใหส ถานศกึ ษาไดดาํ เนนิ การจัดการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาไดอ ยางมปี ระสทิ ธิภาพ และได
ประสทิ ธผิ ลตามตอ งการ สง ผลการประเมนิ อยูใ นระดบั ดเี ลศิ ทัง้ นเ้ี พราะมาตรฐานที่ 1 ผลจากการจัดการศึกษาดานคุณภาพผเู รียน อยูใ นระดบั ยอดเย่ียม มาตรฐาน
ที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการศกึ ษาอยูในระดบั ยอดเยี่ยม และมาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี นนผูเ รยี นเปนสาํ คญั อยใู นระดับดเี ลศิ
จงึ จัดเปนระดับผลการประเมินโดยเฉลย่ี อยใู นระดับยอดเยี่ยม

          โรงเรียนไดด าํ เนนิ การจดั การเรยี นรทู ีห่ ลากหลาย เนนใหผเู รียนสามารถอา นออกเขยี นได ทง้ั ภาษาไทยและภาษาตา งประเทศไดอ ยางเหมาะสม รวมทั้งการ
สือ่ สารและการคํานวณ โดยผานกจิ กรรมทีส่ ง เสรมิ ทักษะทางภาษาและการคิดคาํ นวณใหก ับนกั เรียน ทาํ ใหน ักเรียนมพี ฒั นาการทีด่ ที ้งั ในดานการอา น เขียน และการ
สือ่ สาร รวมทงั้ มที ักษะในการคดิ คาํ นวณไดอ ยา งเหมาะสมถกู ตอง นกั เรียนมคี วามสามารถในการคิดวิเคราะห คดิ อยางมวี ิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปลีย่ นความคดิ
เหน็ และสามารถทํางานรวมกบั ผอู ืน่ ได รว มกันสืบคนขอมลู และวเิ คราะหขอ มลู รว มกนั แกป ญหา มกี ารอภปิ รายแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ อยา งเปน ระบบ มกี ารสง
เสรมิ ใหน ักเรียนมีความสามารถในการสรา งผลงาน ชิ้นงาน โครงงานและนวัตกรรมใหม ๆ ไดด ว ยตนเองอยา งเหมาะสมตามระดับชั้นเรยี น โดยการนาํ เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารมาใชใ นการพัฒนาคุณภาพการเรยี นรู สามารถแสวงหาความรไู ดด ว ยตนเอง รวบรวมความรู เชื่อมโยงองคความรูแ ละประสบการณพฒั นา
ตนเองในดานการเรียนรู ตามกลุมสาระการเรียนรตู า ง ๆ รวมถึงการบูรณาการในรายวิชาตาง ๆ ทําใหผูเ รยี นมผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นที่สูงขนึ้ จากการเรยี นการสอน
ทมี่ คี ณุ ภาพ นกั เรยี นมีความรู มที กั ษะทจ่ี าํ เปน ตามหลกั สตู ร ทําใหผลสมั ฤทธิใ์ นการสอบระดบั ชาตสิ งู กวาขดี จาํ กดั ลา งทุกระดับ นักเรียนสามารถนําความรูมาพัฒนา
ตนเองสงผลใหเกดิ การเรยี นรูที่หลากหลายและสามารถนําไปใชในการศึกษาตอไดอ ยางมีประสิทธภิ าพ ทาํ ใหนกั เรียนมีทักษะความรูพ น้ื ฐานที่ดี นําความรไู ปศกึ ษา
ตอในระดับทส่ี งู ตอไป มีงานอาชีพท่ตี นเองพงึ พอใจ ตามความถนดั และความสามารถของตน ทําใหเ กิดเจตคติที่ดีตองานอาชพี นั้น ๆ

          ทางโรงเรยี นไดป ลกู ฝง ใหน กั เรยี นมคี ณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค สง เสริมใหน ักเรยี นมคี ุณลักษณะ คานยิ มและวฒั นธรรมท่ีดงี าม โดยการปลูกฝงและสงเสริมให
นักเรียนรักและเทดิ ทูนสถาบันพระมหากษตั รยิ  ปลูกฝง ใหน ักเรยี นรกั ประเทศชาติ ประพฤตปิ ฏิบตั ติ นเปน คนดตี ามคาํ สอนของศาสนาท่ตี นเองนับถือ มคี วามภาค
ภูมใิ จในทอ งถ่นิ และประเพณอี นั ดงี ามของทองถ่นิ ของตนเอง อบรมใหนกั เรียนเปนคนดีมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมทดี่ ี มีความกตญั รู คู ณุ มีเมตตา รวมถึงสงเสรมิ ความ
ซื่อสัตยสุจรติ นกั เรียนสามารถอยรู ว มกนั บนความแตกตา งของครอบครัวและการดํารงชวี ิต ใหความชวยเหลอื เออ้ื เฟอ เผ่ือแผซ ่ึงกนั และกันทาํ ใหนักเรียนมสี ภาพ
รา งกายและจิตใจที่ดงี าม สามารถดําเนินชีวิตในสงั คม ไดอ ยา งเปน สุข

          ในดา นกระบวนการบรหิ ารและการจดั การของผบู รหิ ารสถานศึกษา โดยโรงเรยี นไดม ีนโยบาย เปาหมาย วสิ ยั ทัศน และพันธกิจท่ชี ัดเจน ในการบริหารงาน ผู
บริหารมคี วามมุง มั่นตัง้ ใจในการบริหารงานการศึกษาในรปู แบบของการกระจายอํานาจ โดยแบง งานออกเปน ฝายตา ง ๆ มขี อบขา ยของงานฝา ยชัดเจน มกี ารพฒั นา
ดานวชิ าการ มกี ารใชร ปู แบบ PDCA ในการดาํ เนินงานเพ่ือใหนักเรียนมีคุณภาพและมสี มั ฤทธิ์ผลที่ดี สงเสริมใหครูไดร บั การอบรมเพือ่ พัฒนาศักยภาพในดานการ
จัดการเรียนรอู ยา งสม่าํ เสมอ โดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศ มกี ารอบรมพฒั นาครูในรูปแบบการสอนออนไลน เพือ่ ใหความรกู บั นกั เรยี นในสภาวะของการแพรระบาด
ของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา (Covid-19) รวมทัง้ การจดั สภาพแวดลอ มและสังคมท่ีเออ้ื ตอการเรยี นรูมาเปนองคป ระกอบในการเรียนรู มีการประชมุ ในระดับผบู ริหาร
ประชุมหัวหนาฝา ย ประชมุ หวั หนาวิชาการในแตละระดับ ประชุมหวั หนา กลมุ สาระฯ ประชุมครูในแตล ะกลุม สาระฯ เพือ่ จดั ทาํ แผนพฒั นาคณุ ภาพผูเ รยี นทม่ี ี
คณุ ภาพใหส อดคลองกับเปาหมาย วิสัยทศั น และพนั ธกิจ ของโรงเรียน มกี ารดาํ เนนิ งานตามแผนพัฒนาและมกี ารนเิ ทศ กํากบั ติดตาม และประเมนิ ผลอยาง
สม่าํ เสมอ นําผลของการประเมินมาพัฒนาและปรบั ปรงุ การจัดการศึกษาใหมีคุณภาพโดยใชก ารดําเนินงานในรปู แบบ PDCA มกี ารแลกเปล่ียนเรียนรเู พ่อื หาวิธีแก
ปญ หานักเรยี นที่มปี ญ หาในดา นพฤตกิ รรมและการเรียนรใู นรปู แบบ PLC หรือสังคมแหงการเรียนรู เพอ่ื นกั เรยี นจะไดปรับพฤติกรรมและการเรยี นใหมผี ลสมั ฤทธใ์ิ น
การเรียนท่ีดีข้นึ

          ในดานกระบวนการจดั การเรียนการสอนท่เี นน ผเู รียนเปนสําคัญ ครไู ดรับการพัฒนาศกั ยภาพในการจัดการเรยี นรูในรปู แบบการสอนท่เี นน ผูเรียนเปนสําคญั
โดยการจัดการเรยี นรูโดยผานกระบวนการคดิ และปฏิบัติจริง สามารถนําไปประยุกตใชกบั ชวี ติ ประจาํ วัน สงเสริมใหนักเรยี นไดคิดเปน ทําเปน แกป ญหาเปน ใช
กระบวนการเรยี นรูในรูปแบบกระบวนการกลุม ยอมรับฟงความคิดเหน็ ซึ่งกนั และกัน ไดล งมอื ปฏิบตั จิ ริงและกลา คิด กลาทาํ   กลา แสดงออก ดว ยวธิ ีการที่ถกู ตอง
เหมาะสม สามารถนําความรไู ปประยกุ ตใชกบั ชีวิตประจาํ วันได มีการนําเทคโนโลยีมาใชในการสบื คนขอ มูลทางการศึกษา เกบ็ รวบรวมขอ มูล รวมท้ังนาํ ขอมลู นน้ั มา
ใชใ นการพัฒนาการเรียนรู นอกจากนั้นยังไดประโยชนจากการเรียนรจู ากแหลง เรยี นรูภายในโรงเรียนท่เี อือ้ ตอการเรยี น มีอปุ กรณ เครอ่ื งมือท่ีทันสมยั สะอาด พรอม
ใชง าน โดยเฉพาะอุปกรณทางเทคโนโลยที ที่ ันสมัย เชน มีกระดานอัจฉริยะ ครูมกี ารจัดการเรียนการสอนออนไลน ในรปู แบบของ Google Classroom , Google
Meet และจัดการสอนในรปู แบบ On-demand รวมทัง้ On-hand ในระดบั ชนั้ ตา ง ๆ มกี ารจดั การเรยี นรูท ่เี ปน ไปตามความตองการของหลกั สูตรสถานศึกษา มกี าร
จดั กิจกรรมพัฒนาผูเรยี นตามความถนัด ความสนใจ และความสามารถของนักเรยี น มีการบรหิ ารจัดการช้นั เรียนเชิงบวกใหเด็กรกั ครู ครูรกั เดก็ เดก็ รกั กนั และเรียนรู
รว มกนั อยา งมีความสุข มกี ารแลกเปลีย่ นเรยี นรขู องครใู นแตละกลุมสาระ เพ่ือหาวิธีในการแกปญ หาของนกั เรยี นท่ีมปี ญ หาในดา นพฤตกิ รรมและการเรยี น บุคลากร
ครรู วมกันศกึ ษาปญหาของนกั เรียนและคนหาวธิ ีการแกปญหา ในรูปแบบสังคมแหง การเรียนรู( PLC) เพือ่ นักเรียนสามารถปรบั พฤติกรรมและการเรียนรูของตนเอง
ใหม ผี ลการเรยี นรูทด่ี ขี ึ้น และมีความสุขในการเรยี นมีการตดิ ตอประสานสมั พนั ธกบั ทางผูปกครองเพ่อื ทราบปญหาและพฤติกรรมของนกั เรยี น เพ่อื รวมกนั แกป ญหา
และพฒั นานักเรยี นใหม ีประสิทธภิ าพและมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นท่ดี ีขนึ้

ตอนท่ี 1 ขอมูลพ้นื ฐาน

โรงเรยี น (School Name) : ลาซาล

Page 3 of 110

ประเภทโรงเรยี น (School Type) : ในระบบ (สามัญปกติ) อาคาร (B ldg) : -
รหสั โรงเรียน : 1110100778 ตรอก (Alley) : -
ทีอ่ ยู (Address) : 752 ถนน (Street) : ลาซาล
หมทู ี่ (Village No.) : - เขต/อาํ เภอ (District) : บางนา
ซอย (Lane) : - รหสั ไปรษณีย (Post Code) : 10260
ตําบล/แขวง (Sub-district) : บางนา โทรสาร (Fax.) : 02-748-6855
จังหวัด (Province) : กรุงเทพมหานคร
โทรศพั ท (Tel.) : 02-393-3510 เฟซบกุ (Facebook) : -
อีเมล (E-mail) : [email protected]
เวบ็ ไซต (Website) : lasalleschool.ac.th
ไลน (Line) : -

ระดับทเ่ี ปด สอน

ปกติ (สามัญศกึ ษา) : กอนประถมศกึ ษา, ประถมศกึ ษา, มัธยมศกึ ษาตอนตน , มธั ยมศึกษาตอนปลาย

Page 4 of 110

ตอนที่ 2 การนําเสนอผลการประเมนิ ตนเอง

ระดับปฐมวยั ระดับคุณภาพ
1. มาตรฐานการศกึ ษา ยอดเยย่ี ม
ยอดเย่ยี ม
มาตรฐานการศกึ ษา ยอดเยี่ยม
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเดก็ ยอดเย่ยี ม
ยอดเยย่ี ม
1. มพี ฒั นาดานรางกาย แขง็ แรง มีสขุ นิสยั ท่ีดี และดแู ลความปลอดภยั ของตนองได ยอดเยย่ี ม
2. มพี ฒั นาการดานอารมณ จติ ใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณไ ด ยอดเยย่ี ม
3. มพี ัฒนาการดานสังคม ชว ยเหลอื ตนเองและเปนสมาชิกทีด่ ขี องสงั คม ดเี ลิศ
4. มีพัฒนาการดานสตปิ ญญา สอ่ื สารได มที ักษะการคดิ พื้นฐาน และแสวงหาความรูไ ด ยอดเย่ยี ม
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ยอดเยี่ยม
1. มีหลักสตู รครอบคลุมพัฒนาการทัง้ ส่ดี าน สอดคลอ งกบั บรบิ ทของทองถ่ิน ยอดเยย่ี ม
2. จดั ครใู หเพียงพอกบั ชัน้ เรียน ยอดเยี่ยม
3. สงเสรมิ ใหค รูมีความเชี่ยวชาญดานการจัดประสบการณ ดีเลิศ
4. จดั สภาพแวดลอ มและสื่อเพื่อการเรยี นรูอ ยา งปลอดภัยและเพียงพอ ดเี ลศิ
5. ใหบรกิ ารสอ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศและส่ือการเรยี นรเู พอ่ื สนบั สนนุ การจัดประสบการณ ดีเลิศ
6. มรี ะบบบรหิ ารคุณภาพทเ่ี ปดโอกาสใหผูเก่ียวขอ งทุกฝายมีสว นรวม ดเี ลิศ
มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณท่ีเนน เด็กเปนสาํ คญั
1. จัดประสบการณท่ีสงเสรมิ ใหเ ด็กมพี ฒั นาการทุกดา น อยา งสมดุลเต็มศกั ยภาพ ยอดเยี่ยม
2. สรางโอกาสใหเดก็ ไดร บั ประสบการณต รง เลน และปฏิบัตอิ ยางมีความสุข
3. จัดบรรยากาศทเี่ อื้อตอ การเรียนรู ใชสอื่ และเทคโนโลยี ท่ีเหมาะสมกับวยั ยอดเยย่ี ม
4. ประเมนิ พฒั นาการเดก็ ตามสภาพจรงิ และนาํ ผลการประเมนิ พัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการจดั ประสบการณแ ละพฒั นา
เดก็
สรปุ ผลการประเมินระดับปฐมวยั

2. หลักฐานสนบั สนุนผลการประเมนิ ตนเองตามระดบั คุณภาพ

ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา อยูในระดับ ยอดเยีย่ ม
          1. เปา หมายของสถานศึกษามงุ พัฒนาเด็กใหม ีพฒั นาการทางดา นรา งกาย อารมณ-จิตใจ สังคมและสตปิ ญ ญาเต็มตามศกั ยภาพ เด็กมพี ฒั นาการตรงตามเปา
หมายท่สี ถานศึกษากําหนดสามารถศกึ ษาตอในระดับชนั้ ท่ีสูงขึน้ ไป มีหลักสูตรสถานศึกษาและมกี ารจัดประสบการณการเรยี นรูตามหลกั สตู ร มีแผนงาน โครงการ
กิจกรรมทส่ี ง เสริมพัฒนาการเด็กอยางเปน ระบบและตอเนือ่ ง โดยไดร ับความรวมมือจากผูปกครอง ชมุ ชนและทุกฝา ยท่เี ก่ยี วขอ งไดมสี ว นรว มในการสง เสรมิ
พัฒนาการเด็กเปนอยา งดี
          2. โรงเรียนลาซาลกรุงเทพ ระดบั กอ นประถมศกึ ษา เปดโอกาสใหผ มู สี วนเกี่ยวของ ไดมีสวนรวมในการประเมนิ และพัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษาใหส อดคลอ ง
กบั หลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พ.ศ.2560 และใหส อดคลอ งกบั บรบิ ทของทอ งถนิ่ บคุ ลากรครูมคี วามเช่ยี วชาญดา นการจัดประสบการณ และมีจาํ นวนเพียงพอเหมาะ
สมกับช้นั เรียน  สถานศกึ ษาเปดโอกาสใหบุคลากรครไู ดเ ขา รับการอบรม สมั มนา เพ่ือนําความรมู าพัฒนาตนเองอยา งตอเนอื่ ง  สภาพแวดลอมมีความสะอาด
ปลอดภัยและเอ้อื ตอการเรยี นรขู องเด็ก สอื่ มคี วามหลากหลาย มีสอ่ื เพอื่ การเรยี นรแู ละส่ือเทคโนโลยเี พียงพอตอ ความตองการของบุคลากรครูและผูเก่ยี วของทางการ

Page 5 of 110

ศึกษา มีการใหบรกิ ารยืม คืน ส่อื เพ่ือการเรียนรูแ ละสือ่ เทคโนโลยีเพ่อื อํานวยความสะดวกใหก ับบุคลากรครูและผเู กี่ยวขอ ง เปดโอกาสใหผูปกครองและผูเ กย่ี วของ
ทกุ ฝายมีสวนรวมในการจัดทํารายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา รายงานผลการประเมินตนเองใหกบั หนว ยงานตนสังกัด นาํ ผลการประเมินมาปรบั ปรงุ
และพัฒนาคุณภาพของสถานศกึ ษาอยา งตอเน่อื ง
           3.  ครูมกี ารจดั ประสบการณท่สี ง เสริมใหเด็กมพี ัฒนาการดานรางกาย อารมณ – จติ ใจ สงั คมและสติปญ ญา โดยไดร ับความรว มมือจากผูป กครอง ชุมชน
และผเู กย่ี วขอ ง สรางโอกาสใหเด็กไดร บั ประสบการณตรง เลนและปฏิบัติกจิ กรรม เรียนรูล งมือทํา รจู กั สรางองคค วามรูดวยตนเอง มีความสมดุลเต็มตามศักยภาพ
และมคี วามสขุ    มีบรรยากาศและสภาพแวดลอมในหอ งเรียนทเ่ี อื้อตอ การเรียนรู มีมุมประสบการณท หี่ ลากหลาย บุคลากรครูใชส ่อื และเทคโนโลยีทเี่ หมาะสมกับ
ชว งอายุและความสนใจของเด็ก มีการประเมนิ พฒั นาการเด็กตามสภาพจรงิ ดว ยวิธกี ารท่ีหลากหลาย โดยผูป กครองและผเู ก่ียวขอ งมสี วนรวม นําผลการประเมินทไ่ี ด
ไปจดั กจิ กรรมซอมเสริมและพัฒนาศักยภาพของเด็กใหบ รรลุตามเปา หมายของสถานศึกษาอยางตอเนอื่ ง

3. โรงเรียนมแี ผนจะพัฒนาตนเองตอไปอยา งไรใหไดมาตรฐานที่ดขี ึน้ กวา เดมิ 1 ระดับ
1. แผนปฏิบัติงานท่ี  1  (ดา นผเู รียน)

- โครงการสงเสรมิ พัฒนาการดานรางกาย
- โครงการสง เสริมพัฒนาการดานอารมณ- จิตใจ
- โครงการสงเสรมิ พัฒนาการดานสงั คม
- โครงการสง เสรมิ พัฒนาการดานสตปิ ญ ญา
2.  แผนปฏิบตั งิ านท ี่ 2   (ดานกระบวนการบรหิ ารและการจดั การ)
- โครงการพัฒนาหลกั สูตร
- โครงการบรหิ ารงานบุคลากร
- โครงการบรหิ ารงานบคุ ลากร
- โครงการพฒั นาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษา
- โครงการแหลงเรียนรูเ พมิ่ พูนปญญา
- โครงการสื่อปลอดภัยและสรางสรรค
- โครงการประกันคุณภาพภายในตามกรอบมาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย
3. แผนปฏบิ ัตงิ านท่ี  3   (ดา นการจดั ประสบการณทีเ่ นน เดก็ เปน สําคัญ)
- โครงการสงเสรมิ การจัดประสบการณ
- โครงการเสรมิ ทักษะสรางความรู
- โครงการจดั สภาพแวดลอ มเพื่อการเรยี นรู
- โครงการประเมินพฒั นาการผเู รียน
 

4. นวัตกรรม/แบบอยา งท่ีดี (Innovation/Best Practice)
- นวัตกรรม/แบบอยางทีด่ ี : เดก็ ใฝรใู ฝเ รียน รักการอา น
มาตรฐานดา น : มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเดก็
- นวัตกรรม/แบบอยา งทด่ี ี : เดก็ มวี นิ ัยในการเขา แถว เดินแถว
มาตรฐานดาน : มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเดก็
- นวตั กรรม/แบบอยางทีด่ ี : เดก็ เรียนรแู ละใชส ื่อเทคโนโลยที ี่ทนั สมัย
มาตรฐานดาน : มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณท เ่ี นนเดก็ เปน สําคญั

5. ความโดดเดน ของสถานศึกษา
- 1.เดก็ มพี ฒั นาการทงั้ 4 ดานเหมาะสมกบั วัย

Page 6 of 110

- 2.ครแู ละเด็กมีคุณธรรมจริยธรรมท่ดี ตี ามทสี่ ถานศกึ ษากําหนด
- 3.มีการตรวจสอบและประเมนิ ผเู รยี นอยางเปน ระบบและนําผลมาพัฒนาผเู รยี น
- 4.โรงเรียนมีเปา หมาย วิสัยทัศน และพนั ธกจิ ท่ีสถานศึกษากําหนดชัดเจน

6. โรงเรยี นดําเนนิ งานตามนโยบายกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
- จัดการศกึ ษาทุกระดับ ทุกประเภท โดยใชห ลกั สตู รฐานสมรรถนะ รวมทั้งแนวทางการจัดการเรยี นรูเชงิ รกุ และการวดั ประเมนิ ผลเพ่อื พฒั นาผูเ รยี น ท่ี
สอดคลองกบั มาตรฐานการศกึ ษาแหง ชาติ
- สง เสรมิ การพัฒนากรอบหลกั สูตรระดับทอ งถ่นิ และหลกั สตู รสถานศึกษาตามความตองการจําเปนของกลมุ เปาหมายและแตกตา งหลากหลายตามบรบิ ท
ของพนื้ ท่ี
- พัฒนาผเู รยี นใหมีทกั ษะการคิดวิเคราะห สามารถแกไขสถานการณเ ฉพาะหนา ไดอ ยา งมปี ระสิทธิภาพ โดยจัดการเรียนรเู ชิงรุก (Active Learning) จาก
ประสบการณจ รงิ หรอื จากสถานการณจําลองผานการลงมือปฏบิ ตั ิ ตลอดจนจดั การเรียนการสอนในเชิงแสดงความคดิ เห็นเพือ่ เปดโลกทัศนมมุ มองรว มกัน
ของผเู รียนและครใู หม ากขึ้น
- พัฒนาผูเรียนใหมีความรอบรแู ละทักษะชีวติ เพอ่ื เปนเคร่อื งมอื ในการดาํ รงชวี ติ และสรา งอาชพี อาทิ การใชเทคโนโลยดี จิ ิทัล สขุ ภาวะและทัศนคตทิ ่ดี ีตอ
การดูแลสขุ ภาพ
- พัฒนาครูใหม ีทักษะ ความรู และความชํานาญในการใชเทคโนโลยีดิจิทัล ปญญาประดษิ ฐ และภาษาอังกฤษ รวมทั้งการจัดการเรียนการสอนเพ่ือฝก ทกั ษะ
การคดิ วิเคราะหอ ยางเปน ระบบและมีเหตุผลเปน ขน้ั ตอน
- ปลูกฝงผเู รยี นใหมหี ลักคดิ ทถ่ี ูกตอ งดา นคุณธรรม จรยิ ธรรม และเปนผูม ีความพอเพยี ง วินยั สจุ รติ จติ อาสา โดยกระบวนการลูกเสอื และยุวกาชาด
- พฒั นาแพลตฟอรมดิจทิ ัลเพ่ือการเรียนรู และใชด ิจทิ ัลเปน เครือ่ งมือการเรยี นรู
- เสรมิ สรางการรบั รู ความเขา ใจ ความตระหนกั และสง เสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมท่ีพงึ ประสงคด านสงิ่ แวดลอ ม
- สง เสริมการพฒั นาส่งิ ประดษิ ฐแ ละนวัตกรรมท่เี ปน มติ รกบั ส่งิ แวดลอม ใหสามารถเปน อาชีพและสรา งรายได
- สนับสนุนกจิ กรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ ริตและประพฤตมิ ชิ อบ
- พฒั นาครทู ุกระดบั ใหมที กั ษะ ความรทู จี่ าํ เปน เพือ่ ทําหนา ท่ีวิทยากรมืออาชีพ (Train The Trainer) และขยายผลการพัฒนาผา นศนู ยพ ฒั นาศกั ยภาพ
บุคคลเพือ่ ความเปน เลิศ (Human Capital Excellence Center: HCEC)
- ใหผเู รียน ครู ผบู ริหารทางการศกึ ษามีแผนพฒั นารายบคุ คลผา นแผนพัฒนารายบคุ คลสูความเปน เลิศ (Excellence Individual Development Plan
:EIDP)

Page 7 of 110

ระดบั การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน ระดบั คณุ ภาพ
1. มาตรฐานการศึกษา ยอดเยย่ี ม

มาตรฐานการศกึ ษา ดเี ลศิ
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผูเ รยี น ดเี ลิศ
ผลสมั ฤทธ์ทิ างวิชาการของผเู รียน ดีเลศิ
ยอดเยย่ี ม
1. มีความสามารถในการอาน การเขียน การสื่อสาร และ การคิดคาํ นวณ ยอดเยย่ี ม
2. มีความสามารถในการคิดวิเคราะห คดิ อยา งมีวจิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคดิ เหน็ และแกป ญหา ดเี ลิศ
3. มีความสามารถในการสรา งนวัตกรรม
4. มคี วามสามารถในการใชเทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสอื่ สาร ยอดเยี่ยม
5. มผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรียนตามหลกั สูตรสถานศึกษา ยอดเยย่ี ม
6. มีความรูทกั ษะพ้นื ฐาน และเจตคติที่ดตี องานอาชีพ ยอดเย่ียม
คุณลักษณะทีพ่ ึงประสงคข องผเู รียน ยอดเยี่ยม
7. การมีคุณลกั ษณะและคานยิ มทด่ี ตี ามทส่ี ถานศกึ ษากาํ หนด ยอดเยย่ี ม
8. ความภูมิใจในทองถ่นิ และความเปนไทย ยอดเย่ียม
9. การยอมรบั ท่ีจะอยูรว มกนั บนความแตกตา งและหลากหลาย ยอดเยย่ี ม
10. สุขภาวะทางรางกายและจติ สังคม ยอดเยย่ี ม
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ยอดเยยี่ ม
1. มีเปา หมายวิสยั ทัศนแ ละพนั ธกิจทีส่ ถานศึกษากําหนดชัดเจน ยอดเยี่ยม
2. มรี ะบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษา ยอดเยี่ยม
3. ดําเนินงานพัฒนาวิชาการที่เนนคณุ ภาพผูเรียนรอบดา นตามหลักสูตรสถานศกึ ษาและทุกกลมุ เปา หมาย
4. พฒั นาครูและบุคลากรใหม คี วามเชี่ยวชาญทางวชิ าชีพ ดเี ลิศ
5. จดั สภาพแวดลอ มทางกายภาพและสังคมทเ่ี อ้อื ตอ การจดั การเรียนรู อยา งมีคณุ ภาพ ดีเลิศ
6. จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื สนบั สนนุ การบรหิ ารจัดการและ การจดั การเรียนรู ยอดเยย่ี ม
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่เี นนผเู รียนเปน สาํ คัญ ดีเลศิ
1. จัดการเรยี นรผู า นกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนาํ ไปประยุกตใ ชใ นชีวติ ได ดีเลิศ
2. ใชส ่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลงเรยี นรทู ่เี อื้อ ตอการเรยี นรู ดเี ลศิ
3. มีการบริหารจัดการช้ันเรียนเชงิ บวก ยอดเยย่ี ม
4. ตรวจสอบและประเมินผเู รียนอยา งเปนระบบ และ นาํ ผลมาพัฒนาผเู รียน
5. มีการแลกเปลีย่ นเรียนรูและใหขอ มลู สะทอ นกลบั เพ่ือพฒั นาปรับปรงุ การจัดการเรียนรู
สรปุ ผลการประเมนิ ระดับขัน้ พ้ืนฐาน

Page 8 of 110

2. หลกั ฐานสนับสนนุ ผลการประเมนิ ตนเองตามระดับคุณภาพ

1. ผลสัมฤทธทิ์ างวชิ าการของผเู รียน ผเู รยี นมีความสามารถในการอาน การเขยี น การสือ่ สาร และการคดิ คาํ นวณ นักเรียนมีพัฒนาการที่อา น
ออก เขียนได อานจับใจความ และมีความ สามารถ ในการสอ่ื สารไดด ี  มีทักษะในการคิดคํานวณ คดิ วิเคราะห คิดอยา งมีวิจารณญาณ  มี
การทํางานเปนทมี แลกเปลี่ยนความคดิ เหน็ รูจักการแกป ญหา นักเรียนไดรับการพฒั นาในดา นการสรา งนวตั กรรมการเรยี นรูใหม ๆ และ
ผลงานของตนเองได มีการสงเสริมใหนักเรยี นมีความสามารถในการใชสื่อ เทคโนโลยสี ารสนเทศในทุกกลุม สาระการเรยี นรู โดยทค่ี รไู ด
พัฒนาการสอนของตน โดยใชส อ่ื อุปกรณท างเทคโนโลยีประกอบการสอน จากการพัฒนาการเรยี นรูไมวา จะเปน ในดา นการอาน เขยี น
การสอ่ื สาร การคิดคํานวณ รวมถงึ การคดิ วิเคราะห ทาํ ใหมพี ัฒนาการในการสอบวดั ผลประเมนิ ผลระดบั ชาติและระดบั โรงเรยี น สง ผลให
นกั เรยี นมผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรียนทสี่ ูงขนึ้ ในแตล ะระดับ     มผี ลการประเมนิ ระดบั ชาติและระดับโรงเรยี น สามารถนาํ ความรไู ป
พฒั นาการเรียนทําใหผลสมั ฤทธผิ ลทางการเรยี นสูงขนึ้

2.  โรงเรียนมหี ลักสูตรสถานศึกษา ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง 2560) และหลกั สูตร
สถานศกึ ษาปฐมวัย (ฉบบั ปรบั ปรุง 2560) ใชใ นการจัดการเรยี นการสอนในปก ารศกึ ษา 2561-2563 โดยเนนการพัฒนาครูใหม ีความรู
ความสามารถในการจัดการเรียนรู มกี ารจดั ทาํ แผนการเรียนรู มกี ารนิเทศการสอนอยา งเปนระบบ มีการสรางสรรคนวัตกรรมใหม ๆ
พรอมสรางส่อื เทคโนโลยีมาใชใ นการจัดการเรียนรทู าํ ใหนกั เรียนสามารถสบื คน ขอมูลตา ง ๆ ไดอยางหลากหลาย เพอื่ นาํ มาประกอบการ
เรียน พฒั นาตนเองใหม คี วามสามารถ นําความรูไปศึกษาตอ และประกอบอาชพี ตามความถนัดและความสนใจของตนเอง

3. มกี ระบวนการบรหิ ารจดั การอยางเปน ระบบตามปรัชญา วิสัยทัศน และพนั ธกิจของโรงเรียน มโี ครงสรางการบริหารงานที่ชัดเจน มีการ
กําหนดเปา หมายของการศกึ ษาท่สี อดคลอ งกบั มาตรฐานการศกึ ษาระดบั การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน มีแผนพัฒนาโรงเรียนและแผนปฏบิ ตั กิ าร
ประจาํ ปทีส่ อดคลองกับบรบิ ทของโรงเรยี นตาม ความตอ งการของชุมชนและทองถ่ิน มปี ฏิทินปฏิบตั งิ านทช่ี ดั เจนตลอดปการศึกษา 2562
และใชการบริหารงานในรปู แบบ PDCA มกี ารวางแผนงานกอ นลงมอื กระทาํ เมอ่ื ทาํ แลว ก็มีการตดิ ตามตรวจสอบอยา งมีระบบ นําผลการ
ประเมนิ มาพัฒนา ปรับปรงุ การดาํ เนินการตอ ไป

4. นักเรียนเปนผมู ีคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคและคานิยมทดี่ ีงาม มีคุณธรรมจรยิ ธรรม มคี วามภาคภูมิใจในทอ งถิ่นและประเทศชาติของตน
เทดิ ทนู ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ  เขารวมกิจกรรมจติ อาสา มกี ารนําหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาจัดการเรียนรู ฝกใหน กั เรยี น
เปนผมู คี วามพอเพียง ประกอบกับนาํ คาํ สอนของพอ (ในหลวงรชั กาลท่ี 9) มาปรบั ใชใ นการดําเนนิ ชีวิตของตนเอง ท้ังนี้ผูเ รียนมีการยอมรับ
ท่จี ะอยรู วมกันบนความแตกตา งและหลากหลาย

5. โรงเรียนมีการจัดสภาพแวดลอมทีส่ ะอาด ถูกสุขลักษณะ รมรืน่ สวยงาม เหมาะสม ทเี่ อ้อื ตอ การเรียนรภู ายในโรงเรียน โดยไดรบั ความ
รวมมือจากผปู กครองในการจดั การเรียนรูแ ละกิจกรรมการเรยี นรตู า ง ๆ ในรูปของโรงเรยี น บานและชมุ ชน มีภมู ิปญญาทองถน่ิ และ
ปราชญชาวบานมารวมจดั การศึกษาอยางสม่ําเสมอ ทาํ ใหนักเรียนมคี วามรูและประสบการณตรง เกดิ ทกั ษะในการเรยี นรเู พมิ่ ขน้ึ สงเสริม
ใหนกั เรียนมีประสทิ ธภิ าพและไดพ ฒั นาการเรยี นรูข องตนเองเพิม่ ขึ้น

6. ครผู สู อนในกลมุ สาระการเรียนรตู า ง ๆ เนนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเนน ผูเรียนเปนสาํ คญั มกี ารจัดทําแผนการเรยี นรูใ หนกั เรียนไดเรียน
รโู ดยการผา นกระบวนการคดิ การทํางานเปนทมี รว มคดิ รว มทํา รวมแกป ญหา ยอมรับฟง ความคดิ เหน็ ซงึ่ กันและกนั โดยเนนใหนักเรยี น
ไดเรียนรโู ดยใชสอื่ เทคโนโลยีที่หลากหลายมาประกอบการเรยี นรู เพอ่ื เสรมิ สรา งและพัฒนาการเรียนรูข องนกั เรียนใหมผี ลสัมฤทธ์ิทางการ
เรียนท่ีดีขึน้

7. โรงเรยี นมีระบบการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดําเนินการจัดการเรียนรขู องครูและมีการประเมนิ ผลผเู รียนอยางเปนระบบ
นาํ ผลมาปรับพัฒนาการจัดการเรียนรูของนกั เรียนใหมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธผิ ลท่ดี ี

 

 

3. โรงเรียนมแี ผนจะพัฒนาตนเองตอ ไปอยา งไรใหไ ดม าตรฐานท่ีดีขึน้ กวา เดิม 1 ระดบั

แผนปฏบิ ตั งิ านที่ 1  จดั ทาํ โครงการยกระดบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนใหส งู ขึ้น

แผนปฏิบัตงิ านที่ 2  จัดทาํ โครงการพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษาระดบั การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานทกุ ปการศึกษา

แผนปฏบิ ัตงิ านท่ี 3 จัดทาํ โครงการสรา งสรรคน วตั กรรมและส่ือการเรียนรใู นแตล ะกลมุ สาระการเรยี นรู

Page 9 of 110

แผนปฏบิ ัติงานที่ 4 จดั ทําโครงการพัฒนาความสามารถของผูเรยี นในดา นการคิดวเิ คราะหใหม ากข้ึน
แผนปฏิบตั ิงานที่ 5 จัดทาํ โครงการสง เสรมิ ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยใี นการเรยี นรูและการสบื คน ขอมลู
แผนปฏิบตั ิงานที่ 6 สงเสริมและสนับสนุนใหผ ูเรยี นใชแ หลง เรยี นรูภ ายในโรงเรียนใหเ กดิ ประโยชนสูงสดุ
แผนปฏบิ ัตงิ านท่ี 7 จัดทาํ โรงเรียนคุณธรรมใหเ ปนรปู ธรรม
แผนปฏิบัติงานท่ี 8 จดั ทําโครงการพฒั นาบุคลากรครูในดา นการจัดการเรยี นการสอน Online ในชว งการแพรร ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (โควดิ -19)

4. นวัตกรรม/แบบอยา งท่ดี ี (Innovation/Best Practice)
- นวัตกรรม/แบบอยา งทด่ี ี : นวตั กรรมและส่งิ ประดษิ ฐใ นการแกปญ หา “ระบบคัดกรอง ปอ งกนั โรค COVID-19” ระดบั มธั ยมตน
มาตรฐานดา น : มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผูเรยี น
- นวัตกรรม/แบบอยางทด่ี ี : การแขง ขนั Thailand GreenMech Contest 2020 สรา งนวัตกรรมและสงิ่ ประดิษฐในการแกป ญหา “ระบบคัดกรอง ปอ งกนั
โรค COVID-19”
มาตรฐานดาน : มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเู รียน
- นวัตกรรม/แบบอยา งที่ดี : สงิ่ ประดิษฐทางวิทยาศาสตร ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย “เครื่องเตอื นการเวนระยะหา งโรงอาหารโรงเรียนลาซาล”
มาตรฐานดา น : มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผเู รยี น
- นวตั กรรม/แบบอยางที่ดี : หุนยนตเ พือ่ การเรียนรู ป.4-6
มาตรฐานดา น : มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ นน ผูเรยี นเปนสําคัญ
- นวตั กรรม/แบบอยางทดี่ ี : นวัตกรรมและสง่ิ ประดิษฐใน การแกป ญ หา “ปอ งกนั โรค COVID-19” ระดับมัธยม 1-6
มาตรฐานดา น : มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเนนผเู รียนเปน สาํ คญั
- นวตั กรรม/แบบอยา งที่ดี : นวตั กรรมการพัฒนาโครงงาน IOT ระดับมธั ยมศึกษาปที่ 4-6
มาตรฐานดาน : มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี นน ผูเ รยี นเปน สาํ คญั
- นวัตกรรม/แบบอยางทด่ี ี : นวัตกรรมการจดั การสอนออนไลน ดวย Google Classroom โรงเรียนลาซาล
มาตรฐานดา น : มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ

5. ความโดดเดนของสถานศึกษา
- 1. มีหลักสตู รสถานศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พ.ศ.2551(ฉบบั ปรบั ปรงุ 2560)ปรับพจิ ารณาและปรบั ปรุง 2563
- 2.โรงเรยี นมีเปา หมาย วิสัยทศั น และพันธกจิ ท่ีสถานศึกษากําหนดชัดเจน
- 3. ผูเรียนมีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นและพัฒนาการจาดผลการสอบวัดระดบั ชาติ
- 4. โรงเรยี นนอ มนาํ หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสสู ถานศึกษา
- 5. โรงเรียนสงเสริมประชาธปิ ไตย
- 6. โรงเรยี นสงเสรมิ การรณรงคต อตานยาเสพติด
- 7. โรงเรยี นสง เสรมิ ใหผ เู รียนมคี วามสามารถทางการกีฬา เชน กฬี าเทควันโด,ยิงปน
- 8. โรงเรียนสงเสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
- 9. ผูเรยี นมีความสามารถในการใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศและสอ่ื สาร
- 10. ครู ผูเรียนมคี ุณลักษณะและคา นิยมท่ดี ีตามที่สถานศกึ ษากําหนด
- 11. มีการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผเู รียนเปน สาํ คญั ฝก ใหนักเรยี นมีความสามารถในการคิดวเิ คราะห
- 12. มกี ารตรวจสอบและประเมนิ ผเู รียนอยางเปน ระบบและนาํ ผลมาพัฒนาผูเ รยี น

Page 10 of 110

6. โรงเรยี นไดดาํ เนินงานตามนโยบายกระทรวงศกึ ษาธิการ
- จัดการศึกษาทกุ ระดบั ทกุ ประเภท โดยใชหลกั สูตรฐานสมรรถนะ รวมท้ังแนวทางการจดั การเรียนรูเชงิ รกุ และการวดั ประเมินผลเพื่อพฒั นาผเู รียน ท่ี
สอดคลอ งกับมาตรฐานการศึกษาแหง ชาติ
- สง เสริมการพัฒนากรอบหลักสตู รระดับทอ งถิ่นและหลักสตู รสถานศึกษาตามความตองการจาํ เปน ของกลุมเปา หมายและแตกตางหลากหลายตามบริบท
ของพน้ื ที่
- พฒั นาผเู รียนใหมที ักษะการคิดวิเคราะห สามารถแกไขสถานการณเ ฉพาะหนาไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยจดั การเรียนรเู ชิงรุก (Active Learning) จาก
ประสบการณจ รงิ หรือจากสถานการณจาํ ลองผานการลงมือปฏิบัติ ตลอดจนจัดการเรยี นการสอนในเชิงแสดงความคดิ เห็นเพ่อื เปดโลกทัศนม ุมมองรว มกัน
ของผเู รียนและครใู หม ากข้นึ
- พัฒนาผเู รยี นใหมีความรอบรูแ ละทักษะชีวติ เพ่ือเปนเครือ่ งมือในการดํารงชีวิตและสรางอาชีพ อาทิ การใชเ ทคโนโลยดี ิจิทัล สขุ ภาวะและทศั นคตทิ ีด่ ตี อ
การดูแลสุขภาพ
- พัฒนาครใู หมที ักษะ ความรู และความชาํ นาญในการใชเทคโนโลยีดิจทิ ัล ปญ ญาประดิษฐ และภาษาองั กฤษ รวมท้ังการจดั การเรียนการสอนเพือ่ ฝกทักษะ
การคิดวเิ คราะหอยา งเปน ระบบและมเี หตุผลเปนขั้นตอน
- ปลกู ฝง ผเู รยี นใหม หี ลกั คิดทถ่ี กู ตองดา นคุณธรรม จริยธรรม และเปนผมู ีความพอเพยี ง วนิ ัย สุจริต จติ อาสา โดยกระบวนการลูกเสือ และยวุ กาชาด
- พัฒนาแพลตฟอรม ดิจิทลั เพื่อการเรียนรู และใชด จิ ทิ ัลเปนเครอื่ งมอื การเรยี นรู
- เสรมิ สรา งการรับรู ความเขา ใจ ความตระหนัก และสง เสรมิ คณุ ลักษณะและพฤติกรรมท่พี ึงประสงคด านสงิ่ แวดลอม
- สง เสรมิ การพัฒนาสิ่งประดิษฐและนวัตกรรมทเี่ ปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ใหส ามารถเปน อาชพี และสรา งรายได
- สนบั สนนุ กจิ กรรมการปอ งกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ
- พฒั นาครูทกุ ระดบั ใหมที ักษะ ความรูที่จาํ เปน เพือ่ ทาํ หนาท่วี ทิ ยากรมอื อาชีพ (Train The Trainer) และขยายผลการพัฒนาผา นศูนยพฒั นาศกั ยภาพ
บุคคลเพื่อความเปน เลิศ (Human Capital Excellence Center: HCEC)
- ใหผ เู รยี น ครู ผบู ริหารทางการศึกษามแี ผนพฒั นารายบคุ คลผา นแผนพฒั นารายบุคคลสคู วามเปนเลิศ (Excellence Individual Development Plan
:EIDP)

ลงชือ่ ........................................
(........ชนิดา สุทธจิ ิต........)
ตําแหนง ผอู าํ นวยการ

Page 11 of 110

สว นท่ี 2 : ขอมูลพน้ื ฐาน

1. โรงเรยี น (School Name) : ลาซาล (-) อาคาร (B ldg) : -
รหัสโรงเรยี น : 1110100778 ตรอก (Alley) : -
ทีอ่ ยู (Address) : 752 ถนน (Street) : ลาซาล
หมทู ี่ (Village No.) : - เขต/อาํ เภอ (District) : บางนา
ซอย (Lane) : - รหสั ไปรษณีย (Post Code) : 10260
ตําบล/แขวง (Sub-district) : บางนา โทรสาร (Fax.) : 02-748-6855
จังหวดั (Province) : กรุงเทพมหานคร
โทรศพั ท (Tel.) : 02-393-3510 เฟซบุก (Facebook) : -
อีเมล (E-mail) : [email protected]
เวบ็ ไซต (Website) : lasalleschool.ac.th
ไลน (Line) : -

2. ระดับทีเ่ ปด สอน
ปกติ (สามัญศึกษา): : กอ นประถมศกึ ษา, ประถมศึกษา, มัธยมศกึ ษาตอนตน , มธั ยมศึกษาตอนปลาย

Page 12 of 110

3. ขอมูลพ้นื ฐานแผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา

ปรัชญา

คณุ ภาพของโรงเรียนข้ึนอยูก ับคุณภาพของครแู ละนกั เรยี นเปน สาํ คัญ

วิสัยทัศน

เปนองคก รแหงการเรียนรู มงุ สูคุณภาพการศกึ ษา พัฒนาคุณธรรมพรอ มนาํ ระเบยี บวินยั
หา งไกลยาเสพติด รว มคิดกบั ชุมชน อยบู นพืน้ ฐานแหง ความพอเพียง

พนั ธกิจ

1. สง เสรมิ ใหนกั เรยี นไดพ ัฒนาตนเต็มศกั ยภาพในทกุ กลุมสาระ มีนิสัยรักการอา น การคิด การวิเคราะห และการเขยี น มคี วามคดิ สรางสรรค ใฝเ รียนใฝรู
2. พฒั นาหลกั สูตรใหเหมาะสมกบั นักเรยี นตามหลกั สตู รการศกึ ษาแหงชาติ และความเหมาะสมกบั ทอ งถน่ิ มงุ สคู วามมีทักษะและความชาํ นาญในวชิ าชีพพ้ืน
ฐาน มกี ารจดั ระบบดา นการวดั ผลประเมนิ ผลการเรยี นอยางมรี ะบบ
3. ปลูกฝง ใหน กั เรยี นมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม มรี ะเบียบวินยั รจู ักความพอเพียง รักประชาธปิ ไตยไมเก่ียวขอ งอบายมขุ ตางๆ อนรุ กั ษศิลปวฒั นธรรมไทย และมจี ิต
อาสา
4. พฒั นาศกั ยภาพของบุคลากรใหมีความรู ความสามารถ มที กั ษะการสอน เนนการสอนท่ีเปน
กระบวนการนํานวตั กรรมและเทคโนโลยชี วยในการสอน
5. พฒั นาบคุ ลากรครใู หมวี ฒุ ติ ามมาตรฐานวิชาชพี มีคณุ ธรรม จริยธรรม เปน ผูม ีจรรยาบรรณในวชิ าชีพครู มีจติ สํานึกและคานยิ มในการทาํ งานทดี่ ี
6. สง เสรมิ ครูใหม ีจติ ตารมณต ามคําสอนของทา น น.ยวง เดอ ลาซาล เพอ่ื นํามาจดั การเรียนการสอน
7. พัฒนาระบบบรหิ ารและการจัดการใหม ีประสิทธิภาพ การมีสวนรวม โดยใชแ ผนยุทธศาสตรใ นการ พัฒนาและระบบการประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงานอยา งเปน
ระบบ
8. พัฒนาระบบการบรกิ าร การแนะแนว ระบบการดแู ลชวยเหลือ ระบบสุขอนามยั ในโรงเรียน และชวยเหลอื ผดู อ ยโอกาสทางการศึกษา
9. พัฒนาอาคารสถานท่ี แหลง เรยี นรู หอ งประกอบ และสภาพแวดลอมใหเ อ้อื ตอ การเรยี นรูทีเ่ นนผเู รยี นเปนสําคัญ
10. สง เสริมการประชาสมั พันธโ รงเรียน การมีสว นรว มและสนบั สนุนของชมุ ชนในการจัดการศึกษา และการบริการขอ มลู ทดี่ ขี องโรงเรียน
11. พฒั นาศกั ยภาพนกั เรียนใหมคี วามรตู ามเกณฑมาตรฐานการศกึ ษา โดยเนน การมพี น้ื ฐานที่ดที ่ีมงุ สูความเปน เลิศ
12. สงเสริมระบบการกาํ กบั ตดิ ตาม สรปุ ผลการประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ านภายในองคกรเพ่ือการพัฒนางานอยางตอ เน่อื ง
13. สงเสรมิ และพัฒนาระบบขอ มลู สารสนเทศภายในโรงเรียน ใหเปน มาตรฐานและทันตอการใหบ รกิ าร

เปาหมาย

1. ผูเรยี นมีสุขภาวะที่ดีและมีสุนทรียภาพ
2. ผูเรียนมคี ุณธรรม จริยธรรม และคา นิยมทพ่ี งึ ประสงค
3. ผเู รยี นมีทกั ษะในการแสวงหาความรดู วยตนเอง รักการเรียนรู และพัฒนาตนเองอยางตอ เนอ่ื ง
4. ผูเรียนมีความสามารถในการคิดอยางเปนระบบ คิดสรา งสรรค ตัดสนิ ใจแกป ญหาไดอ ยา งมสี ตสิ มเหตุผล
5. ผเู รียนมคี วามรูและทกั ษะท่ีจําเปน ตามหลกั สตู ร
6. ผูเรยี นมที ักษะในการทาํ งาน รักการทาํ งาน สามารถทํางานรว มกบั ผอู ืน่ ได และมีเจตคติทีด่ ีตอ อาชีพสจุ รติ
7. ครปู ฏบิ ตั ิงานตามบทบาทหนาท่อี ยา งมีประสทิ ธภิ าพและเกดิ ประสทิ ธิผล
8. ผบู รหิ ารปฏบิ ตั งิ านตามบทบาทหนาที่อยางมีประสทิ ธิภาพและเกดิ ประสิทธผิ ล
9. คณะกรรมการสถานศกึ ษา และผปู กครอง ชุมชนปฏิบตั งิ านตามบทบาท หนาท่ีอยางมปี ระสิทธภิ าพและเกดิ ประสิทธผิ ล
10. สถานศกึ ษามกี ารจัดหลักสตู ร กระบวนการเรียนรู และกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียนอยา งรอบดา น
11. สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดลอมและการบริการทส่ี ง เสริมใหผ ูเรียนพัฒนาเต็มศักยภาพ
12. สถานศึกษามกี ารประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษาตามท่ีกําหนดในกฎกระทรวง
13. สถานศกึ ษามกี ารสรา ง สงเสรมิ สนับสนนุ ใหสถานศกึ ษาเปนสงั คมแหงการเรียนรู
14. การพฒั นาสถานศึกษาใหบรรลเุ ปาหมายตามวสิ ัยทัศน ปรัชญา และจดุ เนน ทีก่ าํ หนดขนึ้
15. การจัดกจิ กรรมตามนโยบาย จุดเนนแนวทางการปฏริ ปู การศกึ ษาเพ่ือ พฒั นาและสงเสรมิ สถานศกึ ษาใหย กระดับคณุ ภาพสงู ขน้ึ

Page 13 of 110

16. การเปน ครทู ดี่ ีตามคาํ แนะนําของทานนักบญุ ยวง เดอ ลาซาล
17. สถานศกึ ษามกี ารบริหารจัดการตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง
18. ชวยเหลือเยาวชนผูรอโอกาสทางการศกึ ษา
19. สถานศกึ ษาสงเสริมความสาํ คญั และใหความรวมมือกับชมุ ชน
20. พฒั นาระบบขอ มลู สารสนเทศและงานทะเบียนโรงเรียน และงานพสั ดคุ รภุ ณั ฑใหเปน มาตรฐานและทนั ตอการใหบ รกิ าร
ยทุ ธศาสตรห รือกลยทุ ธ

1. สงเสรมิ คุณภาพผูเ รยี น
2. พฒั นากระบวนการบริหารและการจัดการ
3. สงเสรมิ การจดั การเรียนการสอนโดยเนนผูเรยี นเปน สาํ คญั

เอกลักษณ
เดก็ มีสนุ ทรยี ทางดานศิลปะ และการกีฬา

อัตลักษณ
ใฝเ รียนรู คูจติ สาํ นกึ ทางสงั คม

Page 14 of 110

4. จํานวนนักเรียน

ระดบั ท่ีเปด สอน การจัดการเรียน จาํ นวนหอ งเรียน จํานวนผูเรยี นปกติ จํานวนผูเรยี นทมี่ คี วาม รวมจํานวนผู
การสอน ชาย หญิง ตอ งการพิเศษ เรยี น

ชาย หญิง

ระดบั กอ นประถมการศึกษา

อนบุ าลปท ่ี 1 หอ งเรียนปกติ 6 117 123 - - 240
หองเรยี น EP - -- - - -
129 111 - - 240
อนุบาลปท ี่ 2 หอ งเรียนปกติ 6 -- - - -
หองเรยี น EP - 133 107 - - 240
-- - - -
อนุบาลปท ่ี 3 หอ งเรยี นปกติ 6 379 341 - - 720
หองเรยี น EP -

รวม หอ งเรียนปกติ 18 หองเรียน EP -

ระดับประถมศกึ ษา

ประถมศกึ ษาปที่ 1 หองเรยี นปกติ 9 187 213 - - 400
หองเรยี น EP -
--- - -

ประถมศึกษาปท ่ี 2 หองเรยี นปกติ 9 224 188 - - 412
หองเรยี น EP -
--- - -

ประถมศึกษาปท่ี 3 หอ งเรียนปกติ 9 219 177 - - 396
หอ งเรียน EP -
--- - -

ประถมศึกษาปท ี่ 4 หอ งเรยี นปกติ 8 210 164 - - 374
หอ งเรยี น EP -
--- - -

ประถมศึกษาปท่ี 5 หองเรยี นปกติ 8 188 178 - - 366
หองเรียน EP -
--- - -

ประถมศกึ ษาปท ่ี 6 หองเรียนปกติ 8 202 174 - - 376
หอ งเรยี น EP -
--- - -

รวม หอ งเรียนปกติ 51 หองเรยี น EP - 1,230 1,094 - - 2,324

ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน

มัธยมศกึ ษาปที่ 1 หอ งเรียนปกติ 8 208 172 - - 380
หอ งเรยี น EP - -- - - -
217 196 - - 413
มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 2 หองเรียนปกติ 9 -- - - -
หอ งเรียน EP -

Page 15 of 110

ระดบั ที่เปดสอน การจดั การเรียน จาํ นวนหอ งเรยี น จาํ นวนผเู รยี นปกติ จาํ นวนผูเ รียนทีม่ คี วาม รวมจํานวนผู
การสอน ตองการพิเศษ เรียน
ชาย หญงิ
มธั ยมศึกษาปที่ 3 หอ งเรียนปกติ 9 210 193 ชาย หญิง 403
หองเรียน EP - -- -
635 561 -- 1,196
รวม หอ งเรยี นปกติ 26 หอ งเรียน EP -
--

--

ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

มัธยมศกึ ษาปท ี่ 4 หองเรียนปกติ 5 101 119 - - 220
หอ งเรยี น EP -
--- - -

มธั ยมศึกษาปที่ 5 หอ งเรียนปกติ 5 122 95 - - 217
หอ งเรียน EP -
--- - -

มัธยมศึกษาปท ี่ 6 หองเรยี นปกติ 5 148 100 - - 248
หอ งเรียน EP -
--- - -

รวม หองเรียนปกติ 15 หอ งเรยี น EP - 371 314 - - 685

รวมทง้ั สนิ้ หอ งเรยี นปกติ 110 หองเรยี น EP - 2,615 2,310 - - 4,925

Page 16 of 110

5. จํานวนผูบรหิ ารสถานศึกษา ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
5.1 ผบู รหิ ารสถานศึกษา
- นางสาว ชนิดา สทุ ธจิ ติ
ตาํ แหนง : ผอู ํานวยการโรงเรยี น (Thai School Director)
ระดบั การศกึ ษา : ปริญญาโท

5.2 จํานวนครู และบุคลากรทางการศกึ ษา (เฉพาะทีบ่ รรจเุ ทา นน้ั )

5.2.1 สรุปจาํ นวนครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา จําแนกวฒุ กิ ารศึกษาและประเภท/ตาํ แหนง

ประเภท/ตําแหนง ต่ํากวา ป.ตรี จาํ นวนครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ป.เอก รวม
ป.ตรี ป.บณั ฑิต ป.โท
- 35
ผูสอนการศกึ ษาปฐมวัย --

1. ครูไทย 3 27 - 5 - 105
-7
2. ครูชาวตา งชาติ ----
1 83
ผสู อนการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน -4
1 234
ระดบั ประถมศกึ ษา
-9
1. ครูไทย 4 98 - 3 - 26
- 35
2. ครูชาวตา งชาติ -7- - 1 269

ระดับมธั ยมศึกษา

1. ครูไทย 2 64 - 16

2. ครชู าวตางชาติ 12 - 1

รวม 10 198 - 25

บุคลากรทางการศึกษา

- เจาหนาท่ี 360 -

บคุ ลากรอืน่ ๆ 2 20 - 4

รวม 5 26 0 4

รวมท้ังส้ิน 15 224 0 29

สรปุ อตั ราสว น จํานวนหอ ง จาํ นวนนกั เรยี น จาํ นวนครู จาํ นวนผูเรยี นตอครู จาํ นวนผเู รียนตอหอง
40:1
สรุปอตั ราสวน 18 720 35 21:1
ผสู อนการศกึ ษาปฐมวัย
ผูสอนการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน 51 2,324 112 21:1 46:1
ระดบั ประถมศกึ ษา

Page 17 of 110

สรปุ อัตราสว น จาํ นวนหอ ง จํานวนนกั เรียน จาํ นวนครู จาํ นวนผูเ รยี นตอครู จํานวนผูเ รียนตอหอ ง
ระดบั มธั ยมศกึ ษา 46:1
41 1,881 87 22:1

Page 18 of 110

5.2.2 จํานวนครูจําแนกตามระดับและกลมุ สาระการเรยี นรู

ระดับ/กลุมสาระการเรยี นรู ปฐมวยั จาํ นวนครูผสู อน มัธยมศกึ ษา รวม
ตรงเอก ไมตรงเอก ประถมศกึ ษา ตรงเอก ไมตรงเอก
ปฐมวยั ตรงเอก ไมต รงเอก 39
ภาษาไทย 27 12 -- -- 32
คณิตศาสตร -- 16 7 9- 34
วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี -- 10 11 12 1 47
สังคมศกึ ษา ศาสนา วัฒนธรรม -- 16 3 25 3 22
สขุ ศึกษาและพลศึกษา -- 92 11 - 16
ศลิ ปะ -- 81 61 13
การงานอาชีพ -- 61 6- 11
ภาษาตางประเทศ -- 6- 41 37
รวม -- 18 4 10 5 251
27 12 89 29 83 11

5.2.3 ตารางสรุปจํานวนครูท่สี อนกจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น จํานวนครผู สู อน รวม

กิจกรรมพฒั นาผเู รยี น ประถมศึกษา มธั ยมศกึ ษา

กิจกรรมนักเรียน 64 33 97
- ลกู เสือ 62 24 86
- เนตรนารี - --
- ยุวกาชาด - 44 44
- ผูบาํ เพ็ญประโยชน - 55
- รกั ษาดินแดน (ร.ด.) 51 41 92
- กจิ กรรมชุมนมุ ชมรม - 66
- เยาวชนลาซาล 51 28 79
102 82 184
กิจกรรมแนะแนว 330 263 593
กจิ กรรมเพอื่ สงั คม และสาธารณประโยชน
รวม

Page 19 of 110

5.2.4 สรุปจาํ นวนครแู ละบคุ ลากรทางการลกู เสอื เนตรนารี ยวุ กาชาดและผูบําเพญ็ ประโยชน

ลกู เสอื /เนตรนารี /ยวุ กาชาด/ผบู ําเพ็ญประโยชน จํานวนผูบ งั คับบัญชา จํานวนวุฒทิ างลูกเสอื สถานะการจัดตงั้ กองลูกเสอื
มวี ุฒิ ไมมีวฒุ ิ
จดั ต้งั
ลูกเสอื เนตรนารี สาํ รอง 45 35 10 จัดตงั้
จดั ต้งั
ลูกเสือ เนตรนารี สามัญ 50 38 12
-
ลูกเสือ เนตรนารี สามญั รุนใหญ 68 52 16 -
-
ลกู เสือ เนตรนารี วิสามัญ - --

ยุวกาชาด - --

ผูบําเพญ็ ประโยชน - --

รวม 163 125 38

5.2.5 สรุปจํานวนครทู ที่ ําหนาที่คัดกรอง และนกั เรยี นทีม่ คี วามตอ งการจาํ เปนพิเศษ (กรณโี รงเรยี นมนี กั เรยี นพิเศษเรียนรวม)

จาํ นวนครูทที่ าํ หนา ทค่ี ดั กรอง จํานวนนกั เรยี นพิเศษ

ครทู ่ไี ดรบั การขึ้นทะเบียน เปนผคู ัดกรองของกระทรวงศึกษาธกิ าร ครูท่ีมวี ุฒทิ างการศึกษาพเิ ศษ ทั้งหมด ขน้ึ ทะเบยี น ไมข ึน้ ทะเบยี น

- - -- -

5.2.6 สรุปจํานวนครูทเ่ี ขา รบั การอบรมเกี่ยวกับโรงเรียนคุณธรรม จาํ นวนครูทีเ่ ขา รับ การอบรม ปท ีอ่ บรม
3 2562
หนวยงานทเี่ ขา รบั การอบรม 2 2562
บริษัท plan(planning) 2 2561
โรงแรมรอยลั ปริ้นทเซส
โรงเรยี นลาซาลนครสวรรค

Page 20 of 110

สว นท่ี 3 : ผลการดาํ เนินงาน

1. ผลการดําเนินงานตามแผนปฏบิ ตั ิการประจาํ ปข องสถานศกึ ษา

1.1 ระดับปฐมวยั

ยุทธศาสตรท ่ี 1
คณุ ภาพของเดก็
โครงการ
1. โครงการสงเสริมพฒั นาการดา นรางกาย

คาเปา หมาย

89.00 : ดีเลศิ

ผลสําเร็จ

90.97 : ยอดเย่ียม

มาตรฐานการศึกษา - มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเด็ก

สอดคลองกบั ยุทธศาสตร - ยทุ ธศาสตรท ี่ 1 การพัฒนาหลกั สตู ร การเรียนการสอน การวัดและประเมินผล
สช.

สอดคลองกับตวั ชวี้ ัด - จดั การศึกษาทกุ ระดบั ทุกประเภท โดยใชหลักสูตรฐานสมรรถนะ รวมทง้ั แนวทางการจัดการเรยี นรเู ชงิ รกุ และการวัดประเมนิ
กระทรวงศกึ ษาธิการ ผลเพื่อพัฒนาผเู รียน ทสี่ อดคลองกับมาตรฐานการศกึ ษาแหงชาติ

2. โครงการสงเสริมพฒั นาการดานอารมณ - จติ ใจ

คา เปา หมาย

89.00 : ดเี ลิศ

ผลสาํ เรจ็

91.67 : ยอดเยีย่ ม

มาตรฐานการศึกษา - มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเด็ก

สอดคลอ งกับยุทธศาสตร สช. - ยุทธศาสตรที่ 1 การพฒั นาหลักสตู ร การเรยี นการสอน การวดั และประเมินผล

สอดคลอ งกบั ตวั ช้ีวดั กระทรวง - เสรมิ สรา งการรับรู ความเขาใจ ความตระหนัก และสงเสริมคุณลกั ษณะและพฤตกิ รรมทพ่ี งึ ประสงคดา นส่งิ
ศกึ ษาธกิ าร แวดลอ ม

3. โครงการสงเสริมพฒั นาการดานสังคม

คา เปาหมาย

89.00 : ดเี ลศิ

ผลสาํ เรจ็

90.97 : ยอดเยีย่ ม

มาตรฐานการศึกษา - มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเด็ก

สอดคลองกบั ยุทธศาสตร สช. - ยทุ ธศาสตรที่ 1 การพฒั นาหลกั สตู ร การเรยี นการสอน การวัดและประเมนิ ผล

Page 21 of 110

สอดคลอ งกับตัวชว้ี ดั กระทรวง - พัฒนาผเู รียนใหมคี วามรอบรแู ละทักษะชีวติ เพ่อื เปนเครือ่ งมือในการดาํ รงชวี ติ และสรา งอาชพี อาทิ การใชเ ทคโนโลยีดจิ ทิ ัล

ศึกษาธกิ าร สุขภาวะและทัศนคติทีด่ ีตอการดูแลสุขภาพ

- ปลกู ฝง ผูเรยี นใหมีหลักคิดทถี่ กู ตองดา นคุณธรรม จรยิ ธรรม และเปนผูมีความพอเพยี ง วินัย สุจริต จติ อาสา โดย

กระบวนการลกู เสือ และยวุ กาชาด

4. โครงการสงเสรมิ พฒั นาการดานสติปญญา

คาเปาหมาย

89.00 : ดเี ลิศ

ผลสาํ เร็จ

91.81 : ยอดเยย่ี ม

มาตรฐานการ - มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเดก็
ศึกษา

สอดคลอ งกับ - ยุทธศาสตรท่ี 1 การพัฒนาหลักสูตร การเรยี นการสอน การวดั และประเมินผล
ยทุ ธศาสตร สช.

สอดคลองกับตัว - พัฒนาผูเรียนใหม ีทกั ษะการคดิ วเิ คราะห สามารถแกไขสถานการณเ ฉพาะหนา ไดอ ยางมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยจดั การเรียนรเู ชงิ รุก (Active
ชี้วดั กระทรวง Learning) จากประสบการณจริงหรือจากสถานการณจาํ ลองผานการลงมือปฏิบตั ิ ตลอดจนจดั การเรยี นการสอนในเชิงแสดงความคดิ เหน็ เพ่ือ
ศึกษาธิการ เปดโลกทศั นมุมมองรวมกันของผเู รียนและครูใหมากขึ้น

ยุทธศาสตรที่ 2
กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
โครงการ
1. โครงการพัฒนาหลกั สูตร

คา เปาหมาย

89.00 : ดีเลศิ

ผลสาํ เร็จ

97.14 : ยอดเยี่ยม

มาตรฐานการศกึ ษา - มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ

สอดคลอ งกับยุทธศาสตร สช. - ยุทธศาสตรท่ี 1 การพฒั นาหลักสตู ร การเรียนการสอน การวดั และประเมินผล

สอดคลอ งกบั ตัวช้วี ัดกระทรวง - สง เสริมการพัฒนากรอบหลักสูตรระดับทอ งถ่นิ และหลักสตู รสถานศึกษาตามความตองการจาํ เปน ของกลุมเปา หมายและ

ศึกษาธกิ าร แตกตางหลากหลายตามบรบิ ทของพนื้ ท่ี

2. โครงการบริหารงานบุคลากร

คา เปาหมาย

89.00 : ดเี ลิศ

ผลสําเรจ็

88.63 : ดเี ลศิ

มาตรฐานการศกึ ษา - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ

Page 22 of 110

สอดคลองกับ - ยุทธศาสตรท่ี 3 การเสริมสรางประสทิ ธิภาพการจดั การศึกษาของโรงเรียนเอกชน
ยุทธศาสตร สช.

สอดคลองกับตัวช้วี ดั - พฒั นาครูทกุ ระดับใหม ีทักษะ ความรทู จี่ ําเปน เพ่อื ทาํ หนา ท่ีวิทยากรมืออาชพี (Train The Trainer) และขยายผลการพฒั นาผา น
กระทรวงศกึ ษาธิการ ศนู ยพฒั นาศักยภาพบคุ คลเพ่อื ความเปน เลิศ (Human Capital Excellence Center: HCEC)

3. โครงการพัฒนาศักยภาพบคุ ลากรทางการศกึ ษา

คาเปา หมาย

89.00 : ดเี ลิศ

ผลสําเร็จ

97.14 : ยอดเย่ยี ม

มาตรฐานการศึกษา - มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ

สอดคลองกับ - ยุทธศาสตรที่ 3 การเสริมสรา งประสทิ ธิภาพการจัดการศกึ ษาของโรงเรยี นเอกชน
ยทุ ธศาสตร สช.

สอดคลองกับตวั ชี้วัด - พฒั นาครทู ุกระดับใหม ที กั ษะ ความรทู จี่ าํ เปน เพื่อทาํ หนา ท่วี ิทยากรมอื อาชพี (Train The Trainer) และขยายผลการพฒั นาผาน
กระทรวงศึกษาธิการ ศูนยพ ฒั นาศักยภาพบคุ คลเพ่ือความเปนเลิศ (Human Capital Excellence Center: HCEC)

4. โครงการแหลง เรยี นรูเพม่ิ พนู ปญ ญา

คาเปา หมาย

89.00 : ดเี ลศิ

ผลสาํ เร็จ

100.00 : ยอดเยยี่ ม

มาตรฐานการ - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ
ศึกษา

สอดคลอ งกบั - ยุทธศาสตรที่ 5 การสง เสรมิ การศึกษานอกระบบเพอื่ สรางสงั คมแหงการเรียนรู
ยุทธศาสตร สช.

สอดคลอ งกับตวั - พัฒนาผเู รยี นใหม ที กั ษะการคิดวิเคราะห สามารถแกไ ขสถานการณเ ฉพาะหนา ไดอ ยางมีประสิทธิภาพ โดยจดั การเรียนรเู ชิงรกุ (Active
ช้วี ดั กระทรวง Learning) จากประสบการณจ รงิ หรือจากสถานการณจ ําลองผา นการลงมอื ปฏิบัติ ตลอดจนจดั การเรียนการสอนในเชิงแสดงความคิดเหน็ เพื่อ
ศึกษาธิการ เปด โลกทัศนม ุมมองรวมกนั ของผเู รียนและครูใหม ากขึน้

5. โครงการสื่อปลอดภยั และสรา งสรรค

คา เปา หมาย

89.00 : ดีเลิศ

ผลสาํ เรจ็

100.00 : ยอดเย่ียม

มาตรฐานการศกึ ษา - มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ

สอดคลอ งกบั ยุทธศาสตร - ยทุ ธศาสตรท ่ี 2 การปฏิรูประบบทรพั ยากรเพ่ือการศกึ ษาเอกชน
สช.

Page 23 of 110

สอดคลอ งกับตัวชีว้ ัด - พัฒนาครใู หม ที ักษะ ความรู และความชาํ นาญในการใชเ ทคโนโลยีดิจทิ ัล ปญญาประดิษฐ และภาษาองั กฤษ รวมทง้ั การจัดการ
กระทรวงศกึ ษาธิการ เรยี นการสอนเพ่อื ฝกทักษะการคดิ วิเคราะหอยา งเปนระบบและมเี หตผุ ลเปนขน้ั ตอน

6. โครงการประกันคุณภาพภายในตามกรอบมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย

คาเปา หมาย

89.00 : ดีเลศิ

ผลสาํ เร็จ

97.14 : ยอดเย่ยี ม

มาตรฐานการศึกษา - มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ

สอดคลอ งกบั ยทุ ธศาสตร สช. - ยุทธศาสตรท ่ี 1 การพฒั นาหลกั สตู ร การเรยี นการสอน การวัดและประเมนิ ผล

สอดคลอ งกับตวั ชีว้ ดั กระทรวง - ใหผเู รียน ครู ผบู รหิ ารทางการศึกษามแี ผนพัฒนารายบุคคลผานแผนพฒั นารายบคุ คลสคู วามเปนเลิศ (Excellence

ศึกษาธิการ Individual Development Plan :EIDP)

ยุทธศาสตรท ่ี 3
การจดั ประสบการณทเ่ี นนเด็กเปน สําคัญ
โครงการ
1. โครงการสงเสรมิ การจดั ประสบการณ

คาเปา หมาย

88.00 : ดีเลศิ

ผลสาํ เรจ็

88.57 : ดีเลศิ

มาตรฐานการศึกษา - มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณที่เนน เดก็ เปนสาํ คญั

สอดคลองกบั ยทุ ธศาสตร - ยุทธศาสตรท ี่ 4 การสงเสริมการมีสว นรวมในการจัดและสนับสนุนการศึกษาเอกชน
สช.

สอดคลอ งกบั ตวั ชว้ี ัด - พฒั นาครูใหมีทกั ษะ ความรู และความชาํ นาญในการใชเ ทคโนโลยดี จิ ทิ ัล ปญญาประดิษฐ และภาษาอังกฤษ รวมทงั้ การจดั การ
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรียนการสอนเพื่อฝกทักษะการคดิ วิเคราะหอ ยางเปน ระบบและมีเหตุผลเปนข้นั ตอน

2. โครงการเสรมิ ทักษะสรางความรู

คาเปาหมาย

88.00 : ดเี ลศิ

ผลสาํ เรจ็

88.57 : ดีเลิศ

มาตรฐานการ - มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณท ่ีเนน เดก็ เปน สาํ คญั
ศึกษา

สอดคลอ งกับ - ยุทธศาสตรท่ี 4 การสง เสรมิ การมีสวนรว มในการจัดและสนับสนนุ การศึกษาเอกชน
ยุทธศาสตร สช.

Page 24 of 110

สอดคลองกับตวั - พฒั นาผูเ รียนใหมีทกั ษะการคิดวเิ คราะห สามารถแกไขสถานการณเฉพาะหนาไดอยา งมีประสทิ ธิภาพ โดยจดั การเรียนรเู ชิงรกุ (Active
ช้วี ัดกระทรวง Learning) จากประสบการณจ ริงหรอื จากสถานการณจ ําลองผานการลงมอื ปฏิบัติ ตลอดจนจัดการเรียนการสอนในเชงิ แสดงความคดิ เห็นเพ่อื
เปดโลกทศั นม มุ มองรวมกนั ของผเู รยี นและครูใหมากขึน้
ศกึ ษาธิการ

3. โครงการจัดสภาพแวดลอ มเพ่ือการเรยี นรู

คาเปาหมาย

88.00 : ดีเลศิ

ผลสาํ เรจ็

88.57 : ดเี ลศิ

มาตรฐานการศกึ ษา - มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณท่เี นนเด็กเปนสาํ คญั

สอดคลอ งกับยุทธศาสตร สช. - ยทุ ธศาสตรท ่ี 4 การสงเสรมิ การมีสว นรวมในการจัดและสนบั สนนุ การศึกษาเอกชน

สอดคลองกับตัวชว้ี ัดกระทรวง - เสรมิ สรา งการรบั รู ความเขาใจ ความตระหนกั และสงเสริมคณุ ลักษณะและพฤตกิ รรมทพี่ ึงประสงคดา นสิ่ง
ศึกษาธกิ าร แวดลอม

4. โครงการประเมนิ พัฒนาการผเู รยี น

คา เปาหมาย

88.00 : ดเี ลิศ

ผลสาํ เรจ็

91.43 : ยอดเยยี่ ม

มาตรฐานการศกึ ษา - มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณทีเ่ นนเดก็ เปนสาํ คัญ

สอดคลอ งกับยุทธศาสตร - ยทุ ธศาสตรท ี่ 1 การพัฒนาหลกั สตู ร การเรยี นการสอน การวัดและประเมินผล
สช.

สอดคลองกบั ตวั ชี้วัด - จดั การศึกษาทกุ ระดบั ทุกประเภท โดยใชหลักสตู รฐานสมรรถนะ รวมท้งั แนวทางการจัดการเรียนรูเ ชงิ รุกและการวัดประเมนิ
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ผลเพ่ือพฒั นาผูเรยี น ทส่ี อดคลองกับมาตรฐานการศกึ ษาแหงชาติ

1.2 ระดบั การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน

ยุทธศาสตรที่ 1
คณุ ภาพผเู รยี น
โครงการ
1. โครงการสงเสรมิ การอานและเขยี นทงั้ ภาษาไทยและภาษาตา งประเทศ

คา เปาหมาย

85.00 : ดเี ลิศ

ผลสาํ เรจ็

88.23 : ดีเลศิ

มาตรฐานการศกึ ษา - มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผูเรยี น

สอดคลอ งกับ - ยุทธศาสตรท ่ี 1 การพฒั นาหลกั สตู ร การเรยี นการสอน การวดั และประเมินผล

Page 25 of 110

ยุทธศาสตร สช.

สอดคลองกับตวั ชว้ี ัด - สงเสรมิ ใหใ ชภาษาทอ งถ่นิ รว มกับภาษาไทยเปนส่ือจดั การเรยี นการสอนในพน้ื ท่ีท่ีใชภ าษาอยางหลากหลาย เพ่อื วางรากฐานใหผูเรยี นมี
กระทรวงศกึ ษาธิการ พัฒนาการดา นการคดิ วิเคราะห รวมท้ังมีทกั ษะการส่ือสารและใชภาษาทสี่ ามในการตอยอดการเรียนรไู ดอยา งมปี ระสิทธิภาพ

2. โครงการพฒั นาความสามารถในการคิดวิเคราะหอ ยางมีวจิ ารณญาณ อภิปราย แลกเปลย่ี นความคดิ เห็นและแกป ญ หา

คา เปา หมาย

85.00 : ดีเลิศ

ผลสาํ เรจ็

86.28 : ดีเลศิ

มาตรฐานการ - มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผูเรียน
ศึกษา

สอดคลองกับ - ยทุ ธศาสตรท ี่ 1 การพฒั นาหลกั สูตร การเรียนการสอน การวดั และประเมินผล
ยทุ ธศาสตร สช.

สอดคลอ งกับตวั - พัฒนาผูเ รียนใหมีทักษะการคดิ วเิ คราะห สามารถแกไขสถานการณเ ฉพาะหนาไดอ ยา งมีประสิทธิภาพ โดยจัดการเรียนรูเชงิ รกุ (Active
ชว้ี ัดกระทรวง Learning) จากประสบการณจรงิ หรอื จากสถานการณจําลองผา นการลงมอื ปฏิบัติ ตลอดจนจัดการเรยี นการสอนในเชิงแสดงความคิดเห็นเพอื่
ศึกษาธกิ าร เปด โลกทัศนมุมมองรว มกันของผูเรียนและครูใหม ากขึ้น

- พฒั นาครูใหม ที กั ษะ ความรู และความชาํ นาญในการใชเทคโนโลยดี จิ ทิ ัล ปญ ญาประดิษฐ และภาษาอังกฤษ รวมทัง้ การจัดการเรียนการ

สอนเพื่อฝก ทกั ษะการคดิ วิเคราะหอยางเปนระบบและมีเหตผุ ลเปน ขนั้ ตอน

3. โครงการพัฒนาความสามารถของผเู รยี นในการสรา งนวัตกรรม

คา เปาหมาย

85.00 : ดีเลศิ

ผลสาํ เรจ็

88.89 : ดเี ลศิ

มาตรฐานการศึกษา - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเู รยี น

สอดคลองกบั ยทุ ธศาสตร - ยทุ ธศาสตรที่ 2 การปฏริ ปู ระบบทรัพยากรเพื่อการศึกษาเอกชน
สช.

สอดคลองกับตัวช้วี ดั - พัฒนาครใู หม ีทกั ษะ ความรู และความชํานาญในการใชเทคโนโลยดี จิ ิทลั ปญญาประดษิ ฐ และภาษาองั กฤษ รวมท้งั การจดั การ
กระทรวงศกึ ษาธิการ เรยี นการสอนเพอ่ื ฝก ทกั ษะการคดิ วิเคราะหอยางเปน ระบบและมีเหตุผลเปนขนั้ ตอน

- สง เสริมการพฒั นาสิ่งประดษิ ฐและนวัตกรรมทเ่ี ปน มติ รกบั ส่งิ แวดลอม ใหสามารถเปนอาชพี และสรางรายได

4. โครงการสง เสรมิ การใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร

คา เปาหมาย

85.00 : ดีเลิศ

ผลสําเรจ็

93.39 : ยอดเยี่ยม

มาตรฐานการศกึ ษา - มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผเู รยี น

Page 26 of 110

สอดคลอ งกบั ยทุ ธศาสตร - ยุทธศาสตรท ี่ 2 การปฏริ ูประบบทรัพยากรเพ่อื การศึกษาเอกชน
สช.

สอดคลองกับตวั ชีว้ ดั - พฒั นาครใู หมีทกั ษะ ความรู และความชํานาญในการใชเ ทคโนโลยดี ิจทิ ลั ปญญาประดษิ ฐ และภาษาอังกฤษ รวมทัง้ การจดั การ
กระทรวงศึกษาธิการ เรยี นการสอนเพ่ือฝกทกั ษะการคดิ วิเคราะหอ ยา งเปนระบบและมีเหตุผลเปนข้นั ตอน

5. โครงการพัฒนาสัมฤทธ์ิผลทางการเรยี นทกุ กลุมสาระ

คาเปา หมาย

75.00 : ดี

ผลสาํ เร็จ

84.30 : ดีเลศิ

มาตรฐานการศึกษา - มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผูเรยี น

สอดคลอ งกับยทุ ธศาสตร - ยทุ ธศาสตรท ี่ 3 การเสริมสรา งประสทิ ธิภาพการจัดการศกึ ษาของโรงเรียนเอกชน
สช.

สอดคลองกับตัวช้ีวดั - จดั การศึกษาทกุ ระดบั ทกุ ประเภท โดยใชห ลกั สูตรฐานสมรรถนะ รวมทั้งแนวทางการจดั การเรยี นรูเชิงรกุ และการวัดประเมนิ
กระทรวงศึกษาธกิ าร ผลเพ่อื พัฒนาผเู รยี น ทสี่ อดคลองกบั มาตรฐานการศกึ ษาแหงชาติ

- สง เสริมการพฒั นากรอบหลกั สูตรระดับทองถนิ่ และหลกั สตู รสถานศึกษาตามความตองการจาํ เปนของกลมุ เปาหมายและแตก
ตา งหลากหลายตามบริบทของพนื้ ท่ี

6. โครงการพฒั นาผเู รียนใหมผี ลสัมฤทธ์ิในระดบั ดขี องการสอบระดับชาติ

คาเปา หมาย

65.00 : ดี

ผลสาํ เร็จ

78.37 : ดี

มาตรฐานการศึกษา - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผูเรียน

สอดคลอ งกบั ยทุ ธศาสตร - ยทุ ธศาสตรท่ี 3 การเสรมิ สรา งประสิทธภิ าพการจัดการศกึ ษาของโรงเรยี นเอกชน
สช.

สอดคลอ งกับตวั ช้วี ัด - จัดการศกึ ษาทุกระดับ ทุกประเภท โดยใชห ลักสูตรฐานสมรรถนะ รวมทั้งแนวทางการจัดการเรียนรเู ชงิ รุกและการวดั ประเมิน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ผลเพ่ือพฒั นาผเู รยี น ทส่ี อดคลองกับมาตรฐานการศึกษาแหง ชาติ

- สงเสรมิ การพัฒนากรอบหลกั สตู รระดับทอ งถิ่นและหลักสูตรสถานศกึ ษาตามความตองการจาํ เปนของกลมุ เปา หมายและแตก
ตางหลากหลายตามบรบิ ทของพื้นที่

7. โครงการสงเสริมความรพู น้ื ฐานและเจตคติทด่ี ีตองานอาชพี

คา เปา หมาย

85.00 : ดเี ลิศ

ผลสาํ เรจ็

88.89 : ดีเลศิ

มาตรฐานการศกึ ษา - มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผเู รยี น

Page 27 of 110

สอดคลอ งกบั ยทุ ธศาสตร สช. - ยทุ ธศาสตรท่ี 4 การสง เสรมิ การมสี ว นรวมในการจดั และสนบั สนนุ การศึกษาเอกชน

สอดคลองกับตัวชีว้ ดั กระทรวง - พัฒนาผูเรียนใหมคี วามรอบรแู ละทกั ษะชวี ติ เพอื่ เปนเครอื่ งมือในการดํารงชีวิตและสรางอาชพี อาทิ การใชเทคโนโลยีดจิ ทิ ัล

ศึกษาธกิ าร สขุ ภาวะและทศั นคติทีด่ ีตอการดูแลสขุ ภาพ

8. โครงการสง เสรมิ คณุ ลักษณะและคา นยิ มทดี่ ีตามท่ีสถานศกึ ษากําหนด

คา เปา หมาย

90.00 : ยอดเยย่ี ม

ผลสําเรจ็

90.08 : ยอดเยี่ยม

มาตรฐานการศึกษา - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผูเ รียน

สอดคลองกับยทุ ธศาสตร สช. - ยุทธศาสตรที่ 1 การพฒั นาหลักสูตร การเรยี นการสอน การวัดและประเมนิ ผล

สอดคลองกับตัวชี้วดั กระทรวง - ปลูกฝง ผูเรียนใหมีหลกั คิดทีถ่ กู ตอ งดา นคุณธรรม จรยิ ธรรม และเปนผมู ีความพอเพยี ง วินัย สจุ รติ จติ อาสา โดย
ศึกษาธิการ กระบวนการลกู เสอื และยวุ กาชาด

- สนับสนนุ กจิ กรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ ริตและประพฤตมิ ิชอบ

9. โครงการปลกู ฝงความภมู ใิ จในทอ งถิ่นและความเปน ไทย

คา เปา หมาย

90.00 : ยอดเยีย ม

ผลสําเรจ็

92.32 : ยอดเยย่ี ม

มาตรฐานการศกึ ษา - มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผูเรียน

สอดคลอ งกับยทุ ธศาสตร สช. - ยุทธศาสตรท่ี 1 การพฒั นาหลกั สูตร การเรยี นการสอน การวัดและประเมินผล

สอดคลองกบั ตัวช้ีวัดกระทรวง - เสรมิ สรา งการรับรู ความเขา ใจ ความตระหนกั และสง เสริมคุณลกั ษณะและพฤติกรรมทพ่ี งึ ประสงคดา นสงิ่
ศึกษาธิการ แวดลอ ม

10. โครงการสง เสริมการอยรู วมกันบนความแตกตา งและหลากหลาย

คา เปาหมาย

90.00 : ยอดเยี่ยม

ผลสําเรจ็

98.81 : ยอดเยี่ยม

มาตรฐานการศึกษา - มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผูเรยี น

สอดคลอ งกบั ยทุ ธศาสตร สช. - ยทุ ธศาสตรท ่ี 3 การเสริมสรา งประสทิ ธิภาพการจดั การศกึ ษาของโรงเรยี นเอกชน

สอดคลอ งกับตัวชีว้ ัดกระทรวง - ปลูกฝง ผเู รยี นใหม ีหลักคิดที่ถูกตองดา นคุณธรรม จรยิ ธรรม และเปนผูมีความพอเพยี ง วนิ ยั สุจรติ จติ อาสา โดย
ศึกษาธกิ าร กระบวนการลูกเสือ และยุวกาชาด

11. โครงการสงเสรมิ สุขภาวะทางรางกายและจติ ใจ

Page 28 of 110

คาเปา หมาย

90.00 : ยอดเย่ยี ม

ผลสาํ เร็จ

96.08 : ยอดเย่ยี ม

มาตรฐานการศกึ ษา - มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผเู รียน

สอดคลอ งกับยุทธศาสตร สช. - ยุทธศาสตรท ่ี 4 การสงเสรมิ การมสี วนรวมในการจัดและสนับสนุนการศกึ ษาเอกชน

สอดคลอ งกบั ตวั ชีว้ ัดกระทรวง - พัฒนาผเู รียนใหม ีความรอบรแู ละทักษะชวี ติ เพอ่ื เปนเครอื่ งมือในการดาํ รงชีวิตและสรา งอาชีพ อาทิ การใชเ ทคโนโลยีดิจทิ ัล

ศึกษาธิการ สขุ ภาวะและทศั นคติท่ดี ตี อการดแู ลสขุ ภาพ

ยุทธศาสตรท ่ี 2
กระบวนการบริหารและการจัดการ
โครงการ
1. โครงการพัฒนาการจดั ทํานโยบาย เปาหมาย วิสัยทศั นและพันธกจิ ของโรงเรยี น

คา เปาหมาย

87.00 : ดเี ลิศ

ผลสาํ เรจ็

92.60 : ยอดเยี่ยม

มาตรฐานการศกึ ษา - มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ

สอดคลองกบั ยทุ ธศาสตร สช. - ยุทธศาสตรที่ 3 การเสรมิ สรางประสิทธิภาพการจดั การศกึ ษาของโรงเรยี นเอกชน

สอดคลองกบั ตวั ชว้ี ัดกระทรวง - ใหผเู รียน ครู ผูบรหิ ารทางการศึกษามแี ผนพัฒนารายบคุ คลผานแผนพัฒนารายบคุ คลสคู วามเปน เลศิ (Excellence

ศกึ ษาธิการ Individual Development Plan :EIDP)

2. โครงการพฒั นาระบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษา

คา เปา หมาย

87.00 : ดีเลิศ

ผลสําเร็จ

92.00 : ยอดเยยี่ ม

มาตรฐานการศึกษา - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ

สอดคลอ งกับยทุ ธศาสตร สช. - ยทุ ธศาสตรท ี่ 3 การเสรมิ สรา งประสิทธิภาพการจดั การศึกษาของโรงเรยี นเอกชน

สอดคลอ งกบั ตัวช้วี ดั กระทรวง - สงเสริมการพัฒนากรอบหลักสูตรระดบั ทองถ่ินและหลักสูตรสถานศึกษาตามความตอ งการจาํ เปน ของกลุมเปาหมายและ

ศกึ ษาธกิ าร แตกตา งหลากหลายตามบรบิ ทของพื้นท่ี

3. โครงการพฒั นาวชิ าการทเี่ นนคณุ ภาพผเู รียนรอบดา นตามจุดเนน ของหลกั สูตร

คาเปาหมาย

87.00 : ดีเลิศ

Page 29 of 110

ผลสาํ เรจ็

89.60 : ดเี ลศิ

มาตรฐานการศกึ ษา - มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ

สอดคลองกบั ยุทธศาสตร สช. - ยุทธศาสตรที่ 1 การพฒั นาหลกั สตู ร การเรยี นการสอน การวดั และประเมินผล

สอดคลอ งกบั ตัวช้วี ดั กระทรวง - สงเสริมการพฒั นากรอบหลักสูตรระดบั ทอ งถ่นิ และหลกั สตู รสถานศกึ ษาตามความตอ งการจาํ เปนของกลุมเปา หมายและ

ศกึ ษาธกิ าร แตกตา งหลากหลายตามบรบิ ทของพ้ืนที่

4. โครงการพัฒนาครแู ละบคุ ลากรใหม ีความเชีย่ วชาญทางวชิ าการ

คาเปา หมาย

87.00 : ดีเลิศ

ผลสาํ เร็จ

92.80 : ยอดเยี่ยม

มาตรฐานการศกึ ษา - มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ

สอดคลอ งกบั - ยุทธศาสตรท ่ี 3 การเสริมสรางประสิทธภิ าพการจดั การศึกษาของโรงเรยี นเอกชน
ยุทธศาสตร สช.

สอดคลอ งกบั ตัวชว้ี ัด - พฒั นาครทู ุกระดับใหม ที กั ษะ ความรูท จี่ าํ เปน เพื่อทาํ หนาท่ีวทิ ยากรมอื อาชพี (Train The Trainer) และขยายผลการพัฒนาผาน
กระทรวงศึกษาธิการ ศนู ยพัฒนาศกั ยภาพบุคคลเพ่อื ความเปนเลิศ (Human Capital Excellence Center: HCEC)

5. โครงการจัดสภาพแวดลอมทีเ่ ออ้ื ตอการเรยี นรู

คา เปาหมาย

87.00 : ดเี ลิศ

ผลสาํ เร็จ

93.66 : ยอดเยย่ี ม

มาตรฐานการศกึ ษา - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ

สอดคลอ งกับยุทธศาสตร สช. - ยุทธศาสตรท่ี 4 การสงเสรมิ การมสี วนรวมในการจดั และสนบั สนุนการศกึ ษาเอกชน

สอดคลองกบั ตัวชว้ี ัดกระทรวง - เสริมสรา งการรบั รู ความเขา ใจ ความตระหนกั และสง เสริมคณุ ลักษณะและพฤตกิ รรมทพี่ ึงประสงคด านสิ่ง
ศึกษาธกิ าร แวดลอ ม

6. โครงการพฒั นาเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื การบริหารจัดการและการจดั การเรียนรู

คาเปา หมาย

87.00 : ดเี ลศิ

ผลสําเรจ็

91.05 : ยอดเยย่ี ม

มาตรฐานการศึกษา - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ

สอดคลอ งกับยุทธศาสตร สช. - ยทุ ธศาสตรท ี่ 2 การปฏิรปู ระบบทรัพยากรเพื่อการศกึ ษาเอกชน

Page 30 of 110

สอดคลอ งกับตวั ชี้วัดกระทรวง - พฒั นาผเู รียนใหม ีความรอบรแู ละทกั ษะชีวติ เพื่อเปน เครอ่ื งมอื ในการดํารงชวี ติ และสรางอาชีพ อาทิ การใชเ ทคโนโลยดี ิจทิ ัล
สขุ ภาวะและทศั นคตทิ ีด่ ตี อ การดูแลสุขภาพ
ศึกษาธกิ าร
- พฒั นาแพลตฟอรม ดจิ ิทัลเพอื่ การเรียนรู และใชดจิ ิทัลเปน เครือ่ งมือการเรยี นรู

7. โครงการพัฒนาระบบการประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา

คาเปา หมาย

87.00 : ดเี ลิศ

ผลสําเร็จ

92.84 : ยอดเย่ียม

มาตรฐานการศึกษา - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ

สอดคลองกบั ยุทธศาสตร สช. - ยุทธศาสตรท ี่ 7 การพัฒนาระบบการบริหารจดั การสง เสรมิ การศึกษาเอกชน

สอดคลองกบั ตวั ช้ีวัดกระทรวง - ใหผูเรียน ครู ผบู รหิ ารทางการศกึ ษามแี ผนพัฒนารายบคุ คลผา นแผนพัฒนารายบคุ คลสคู วามเปนเลศิ (Excellence

ศกึ ษาธิการ Individual Development Plan :EIDP)

ยทุ ธศาสตรที่ 3
สงเสริมการจดั การเรียนการสอนโดยเนนผเู รียนเปนสาํ คญั
โครงการ
1. โครงการ การจดั การเรียนรูโ ดยผา นระบบการคดิ และปฏิบัตจิ ริง

คา เปา หมาย

87.00 : ดีเลิศ

ผลสําเรจ็

88.68 : ดเี ลศิ

มาตรฐานการ - มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เนนผูเรียนเปนสาํ คัญ
ศึกษา

สอดคลองกับ - ยุทธศาสตรท ี่ 1 การพัฒนาหลักสตู ร การเรยี นการสอน การวดั และประเมนิ ผล
ยุทธศาสตร สช.

สอดคลอ งกับตัว - จัดการศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท โดยใชห ลักสูตรฐานสมรรถนะ รวมท้งั แนวทางการจัดการเรียนรเู ชิงรกุ และการวดั ประเมนิ ผลเพือ่ พัฒนา
ชีว้ ัดกระทรวง ผูเ รยี น ทสี่ อดคลอ งกับมาตรฐานการศกึ ษาแหง ชาติ
ศึกษาธิการ - พัฒนาผเู รยี นใหมีทักษะการคิดวิเคราะห สามารถแกไ ขสถานการณเฉพาะหนา ไดอ ยางมีประสิทธภิ าพ โดยจดั การเรียนรูเชิงรุก (Active

Learning) จากประสบการณจ รงิ หรอื จากสถานการณจ าํ ลองผานการลงมือปฏบิ ัติ ตลอดจนจัดการเรยี นการสอนในเชิงแสดงความคดิ เหน็ เพ่ือ

เปดโลกทศั นม ุมมองรว มกันของผูเรยี นและครูใหม ากข้ึน

2. โครงการสงเสริมความสามารถในการใชส อ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศ

คา เปาหมาย

87.00 : ดเี ลิศ

ผลสําเรจ็

95.95 : ยอดเยยี่ ม

Page 31 of 110

มาตรฐานการศกึ ษา - มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี นนผูเรยี นเปนสําคัญ

สอดคลองกบั ยุทธศาสตร - ยุทธศาสตรท ่ี 2 การปฏิรูประบบทรัพยากรเพอ่ื การศกึ ษาเอกชน
สช.

สอดคลอ งกบั ตวั ชว้ี ดั - พัฒนาครใู หม ีทกั ษะ ความรู และความชํานาญในการใชเทคโนโลยดี จิ ิทลั ปญ ญาประดิษฐ และภาษาองั กฤษ รวมทงั้ การจัดการ
กระทรวงศึกษาธิการ เรียนการสอนเพอ่ื ฝกทกั ษะการคดิ วเิ คราะหอยา งเปนระบบและมีเหตุผลเปนขน้ั ตอน

- พฒั นาแพลตฟอรม ดจิ ทิ ัลเพ่อื การเรียนรู และใชดจิ ิทัลเปนเครอ่ื งมอื การเรยี นรู

3. โครงการบริหารจัดการชัน้ เรียนเชิงบวก

คาเปาหมาย

87.00 : ดเี ลิศ

ผลสําเร็จ

89.56 : ดีเลศิ

มาตรฐานการศึกษา - มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเี่ นนผเู รียนเปนสําคญั

สอดคลอ งกบั ยุทธศาสตร สช. - ยุทธศาสตรท่ี 7 การพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการสง เสริมการศึกษาเอกชน

สอดคลอ งกับตวั ชี้วัดกระทรวง - ใหผ ูเรยี น ครู ผบู ริหารทางการศึกษามีแผนพัฒนารายบุคคลผานแผนพัฒนารายบุคคลสคู วามเปน เลศิ (Excellence

ศึกษาธิการ Individual Development Plan :EIDP)

4. โครงการตรวจสอบและประเมินผูเรยี นอยางเปนระบบ

คาเปา หมาย

87.00 : ดีเลิศ

ผลสําเรจ็

88.05 : ดเี ลศิ

มาตรฐานการศึกษา - มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทีเ่ นนผเู รยี นเปน สําคญั

สอดคลองกบั ยุทธศาสตร - ยุทธศาสตรท ี่ 3 การเสริมสรางประสิทธิภาพการจดั การศึกษาของโรงเรียนเอกชน
สช.

สอดคลอ งกับตัวชี้วัด - จดั การศึกษาทุกระดบั ทกุ ประเภท โดยใชหลักสตู รฐานสมรรถนะ รวมท้งั แนวทางการจัดการเรียนรูเ ชิงรุกและการวดั ประเมนิ
กระทรวงศึกษาธิการ ผลเพ่ือพัฒนาผูเรยี น ทสี่ อดคลองกบั มาตรฐานการศึกษาแหงชาติ

5. โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรใู นการพัฒนาการจัดการเรียนรอู ยางมคี ณุ ภาพ

คา เปา หมาย

87.00 : ดีเลิศ

ผลสาํ เรจ็

89.51 : ดีเลศิ

มาตรฐานการศกึ ษา - มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่เี นน ผเู รียนเปน สาํ คัญ

สอดคลองกบั ยุทธศาสตร สช. - ยุทธศาสตรที่ 4 การสง เสรมิ การมสี ว นรว มในการจดั และสนบั สนนุ การศกึ ษาเอกชน

Page 32 of 110

สอดคลองกับตวั ชว้ี ดั กระทรวง - ใหผ เู รยี น ครู ผูบริหารทางการศกึ ษามแี ผนพัฒนารายบุคคลผานแผนพัฒนารายบุคคลสูค วามเปนเลศิ (Excellence
Individual Development Plan :EIDP)
ศกึ ษาธิการ

Page 33 of 110

2. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผเู รียน
2.1 ระดับปฐมวัย
ผลการพฒั นาเดก็

รอยละของเดก็ ตามระดับคุณภาพ

ผลพฒั นาการดาน จํานวนเด็กท้ังหมด ดี พอใช ปรบั ปรุง

จํานวน รอ ยละ จํานวน รอ ยละ จาํ นวน รอยละ

1. ดานรา งกาย 720 437 60.69 216 30.00 67 9.31
2. ดานอารมณ-จิตใจ 720
3. ดานสงั คม 720 458 63.61 203 28.19 59 8.19
4. ดานสตปิ ญ ญา 720
449 62.36 208 28.89 63 8.75

461 64.03 204 28.33 55 7.64

2.2 ระดบั การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน

2.2.1 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้นั พื้นฐาน O-NET
เปรียบเทียบผลการทดสอบระดับชาติขน้ั พน้ื ฐาน (O-NET) ของนกั เรียนชั้นประถมศกึ ษาปท่ี 6
จํานวนนักเรียนท้งั หมด : 376

วชิ า จาํ นวน คะแนนเฉลย่ี ระดับ คะแนนเฉลย่ี ผลการ ผลตางคะแนนเฉลีย่ รอยละของคะแนน แปลผลพัฒนาการ
นกั เรียนทเี่ ขา ประเทศป 2563 ทดสอบ O-NET ป 63 เทยี บป 62 เฉลีย่ ป 63 เทยี บป เทยี บกับรอยละ 3

สอบ 2561 2562 2563 62

คณติ ศาสตร 376 29.99 53.22 44.88 38.66 -6.22 -13.86 ไมม พี ฒั นาการ

วทิ ยาศาสตร 376 38.78 51.69 48.72 49.19 +0.47 0.96 มพี ัฒนาการแตไม
ถงึ รอยละ 3

ภาษาไทย 376 56.20 67.89 61.64 69.48 +7.84 12.72 มพี ฒั นาการ

ภาษา 376 43.55 62.06 58.00 71.00 +13.00 22.41 มีพัฒนาการ
อังกฤษ

โรงเรยี นไมส อบวัดผล หรือสอบไมค รบ
-

เปรียบเทียบผลการทดสอบระดับชาติขัน้ พ้ืนฐาน (O-NET) ของนกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 3
จาํ นวนนักเรียนทั้งหมด : 403

วิชา จํานวน คะแนนเฉล่ยี ระดับ คะแนนเฉล่ยี ผลการ ผลตางคะแนนเฉลยี่ รอ ยละของคะแนน แปลผลพฒั นาการ
นักเรียนทเ่ี ขา ประเทศป 2563 ทดสอบ O-NET ป 63 เทยี บป 62 เฉล่ยี ป 63 เทียบป เทียบกบั รอยละ 3

สอบ 2561 2562 2563 62

คณิตศาสตร 395 25.46 39.56 37.89 66.49 +28.60 75.48 มพี ัฒนาการ

Page 34 of 110

วิชา จาํ นวน คะแนนเฉลย่ี ระดบั คะแนนเฉลี่ยผลการ ผลตางคะแนนเฉลีย่ รอ ยละของคะแนน แปลผลพฒั นาการ
นกั เรยี นที่เขา ประเทศป 2563 ทดสอบ O-NET ป 63 เทยี บป 62 เฉลี่ย ป 63 เทียบป เทียบกับรอ ยละ 3

สอบ 2561 2562 2563 62

วทิ ยาศาสตร 389 29.89 41.95 33.50 44.40 +10.90 32.54 มพี ัฒนาการ

ภาษาไทย 392 54.29 39.56 37.89 32.19 -5.70 -15.04 ไมมพี ัฒนาการ

ภาษา 390 34.38 37.21 43.38 31.82 -11.56 -26.65 ไมมีพฒั นาการ
องั กฤษ

โรงเรยี นไมส อบวดั ผล หรอื สอบไมครบ
-

เปรียบเทยี บผลการทดสอบระดบั ชาตขิ ั้นพนื้ ฐาน (O-NET) ของนักเรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปท ่ี 6
จาํ นวนนักเรยี นท้ังหมด : 248

จาํ นวน คะแนนเฉลยี่ คะแนนเฉล่ยี ผลการ ผลตา งคะแนน รอ ยละของคะแนน แปลผลพฒั นา
วชิ า นักเรียนท่ี ระดับประเทศป ทดสอบ O-NET เฉลีย่ ป 63 เทียบ เฉล่ีย ป 63 เทียบป การเทยี บกบั รอ ย

เขา สอบ 2563 2561 2562 2563 ป 62 62 ละ 3

คณิตศาสตร 248 26.04 44.30 36.76 36.66 -0.10 -0.27 ไมม พี ฒั นาการ

วทิ ยาศาสตร 247 32.68 34.16 31.59 36.99 +5.40 17.09 มีพัฒนาการ

ภาษาไทย 247 44.36 50.56 46.60 50.64 +4.04 8.67 มีพัฒนาการ

ภาษาองั กฤษ 248 29.94 41.00 38.74 38.68 -0.06 -0.15 ไมม ีพัฒนาการ

สงั คมศกึ ษา 1.92 มีพัฒนาการแตไม
ศาสนา และ 248 35.93 36.07 39.16 39.91 +0.75 ถงึ รอยละ 3
วฒั นธรรม

โรงเรยี นไมสอบวดั ผล หรือสอบไมครบ
-

Page 35 of 110

2.2.2 จํานวนและรอยละของนักเรยี นท่มี ผี ลการเรยี นระดบั 3 ข้นึ ไป

ระดบั ประถมศกึ ษา

ระดับผลการเรียน

กลมุ สาระการ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6
เรยี นรู/
รายวิชา จํานวน นักเรยี น รอย จาํ นวน นักเรียน รอ ย จาํ นวน นกั เรยี น รอย จํานวน นักเรียน รอย จํานวน นักเรียน รอยละ จาํ นวน นกั เรยี น รอ ย
นักเรยี น ผลเรยี น ละ นกั เรยี น ผลเรียน ละ นักเรียน ผลเรียน ละ นกั เรยี น ผลเรยี น ละ นักเรยี น ผลเรียน นกั เรยี น ผลเรยี น ละ
3 ข้นึ ไป 3 ข้นึ ไป 3 ขึ้นไป 3 ขน้ึ ไป 3 ขึ้นไป 3 ขึน้ ไป

ภาษาไทย 400 394 98.50 412 383 92.96 396 374 94.44 374 342 91.44 366 314 85.79 376 330 87.77

คณิตศาสตร 400 396 99.00 412 388 94.17 396 382 96.46 374 321 85.83 366 341 93.17 376 320 85.11

วิทยาศาสตร
และ 400 388 97.00 412 377 91.50 396 366 92.42 374 354 94.65 366 349 95.36 376 365 97.07
เทคโนโลยี

สังคมศึกษา
ศาสนา และ 400 388 97.00 412 393 95.39 396 347 87.63 374 357 95.45 366 351 95.90 376 352 93.62
วฒั นธรรม

ประวตั ิศาสตร 400 389 97.25 412 381 92.48 396 290 73.23 374 355 94.92 366 343 93.72 376 341 90.69

สุขศึกษาและ 400 384 96.00 412 392 95.15 396 377 95.20 374 364 97.33 366 366 100.00 376 375 99.73
พลศึกษา

ศลิ ปะ 400 381 95.25 412 372 90.29 396 362 91.41 374 313 83.69 366 322 87.98 376 327 86.97

การงานอาชพี 400 395 98.75 412 383 92.96 396 379 95.71 374 340 90.91 366 335 91.53 376 362 96.28

ภาษาตา ง 400 394 98.50 412 364 88.35 396 303 76.52 374 318 85.03 366 261 71.31 376 257 68.35
ประเทศ

ภาษาอังกฤษ 400 379 94.75 412 350 84.95 396 359 90.66 374 250 66.84 366 251 68.58 376 275 73.14
เพิ่มเตมิ

Page 36 of 110

ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน ระดบั ผลการเรียน ม.3
เทอม 1 ม.1 ม.2
จาํ นวน นักเรยี นผลเรยี น รอ ย จํานวน นักเรียนผลเรียน รอย จาํ นวน นักเรยี นผล รอยละ
กลุม สาระการเรียนรู/ นกั เรยี น 3 ขนึ้ ไป ละ นักเรียน 3 ขน้ึ ไป ละ นักเรยี น เรียน 3 ขนึ้ ไป
รายวิชา 380 257 67.63 413 300 72.64 403
380 252 66.32 413 293 70.94 403 354 87.84
ภาษาไทย
คณิตศาสตร 380 250 65.79 413 294 71.19 403 307 76.18
วทิ ยาศาสตรแ ละ
เทคโนโลยี 380 293 77.11 413 374 90.56 403 286 70.97
สงั คมศึกษา ศาสนา
และวฒั นธรรม 380 275 72.37 413 316 76.51 403 372 92.31
ประวัติศาสตร 380 366 96.32 413 410 99.27 403
สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา 380 318 83.68 413 320 77.48 403 315 78.16
ศิลปะ 380 354 93.16 413 379 91.77 403 401 99.50
การงานอาชพี 380 248 65.26 413 289 69.98 403 387 96.03
ภาษาตา งประเทศ 380 251 66.05 413 282 68.28 403 384 95.29
คณิตศาสตรเ พิ่มเตมิ 289 71.71
ไฟฟาและอิเลกทรอนิ 380 282 74.21 413 320 77.48 403 275 68.24
กส
สุขศึกษาและพลศกึ ษา 380 373 98.16 413 410 99.27 403 403 100.00
เพิม่ เติม
ภาษาตา งประเทศเพม่ิ 380 260 68.42 413 274 66.34 403 403 100.00
เติม
273 67.74

Page 37 of 110

เทอม 2 ระดบั ผลการเรียน ม.3
ม.1 ม.2 นักเรยี นผล รอ ย
กลมุ สาระการเรยี นร/ู จํานวน นกั เรยี นผลเรียน รอ ย จาํ นวน นักเรียนผลเรียน รอย จํานวน เรยี น 3 ขึน้ ไป ละ
รายวชิ า นกั เรียน 3 ขน้ึ ไป ละ นักเรียน 3 ขึน้ ไป ละ นักเรยี น
379 230 60.69 413 321 77.72 403 342 84.86
ภาษาไทย 379 244 64.38 413 302 73.12 403 305 75.68
คณิตศาสตร
วทิ ยาศาสตรแ ละ 379 167 44.06 413 215 52.06 403 273 67.74
เทคโนโลยี
สงั คมศึกษา ศาสนา 379 259 68.34 413 243 58.84 403 323 80.15
และวฒั นธรรม
ประวัตศิ าสตร 379 145 38.26 413 201 48.67 403 239 59.31
สุขศึกษาและพลศึกษา 379 365 96.31 413 410 99.27 403 398 98.76
ศลิ ปะ 379 306 80.74 413 381 92.25 403 314 77.92
การงานอาชีพ 379 370 97.63 413 384 92.98 403 384 95.29
ภาษาตางประเทศ 379 152 40.11 413 267 64.65 403 277 68.73
คณิตศาสตรเพ่ิมเติม 379 252 66.49 413 215 52.06 403 266 66.00
วทิ ยาศาสตรเ พ่ิมเตมิ 379 209 55.15 413 193 46.73 403 237 58.81
สุขศึกษาและพลศึกษา
เพิม่ เตมิ 379 375 98.94 413 403 97.58 403 400 99.26
ภาษาอังกฤษเพิม่ เติม
379 221 58.31 413 232 56.17 403 182 45.16

Page 38 of 110

ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
เทอม 1

ระดับผลการเรยี น

กลมุ สาระการเรียนร/ู ม.4 ม.5 ม.6
รายวชิ า
จาํ นวน นกั เรยี นผลเรยี น รอยละ จํานวน นกั เรียนผล รอ ยละ จํานวน นักเรยี นผล รอ ยละ
นกั เรียน 3 ขึน้ ไป นักเรียน เรียน 3 ข้ึนไป นักเรยี น เรยี น 3 ขน้ึ ไป

ภาษาไทย 220 179 81.36 217 188 86.64 248 207 83.47

คณติ ศาสตร 220 127 57.73 217 148 68.20 248 210 84.68

วทิ ยาศาสตรแ ละ 220 119 54.09 217 133 61.29 - --
เทคโนโลยี

สังคมศึกษา ศาสนา 220 199 90.45 217 186 85.71 248 243 97.98
และวฒั นธรรม

ประวตั ิศาสตร 220 195 88.64 217 169 77.88 248 235 94.76

สุขศึกษาและพลศกึ ษา 220 220 100.00 217 217 100.00 248 244 98.39

ศิลปะ 220 172 78.18 217 204 94.01 248 206 83.06

การงานอาชพี 220 173 78.64 217 159 73.27 248 225 90.73

ภาษาตา งประเทศ 220 113 51.36 217 117 53.92 248 203 81.85

ภาษาไทยเพิม่ เตมิ 93 87 93.55 90 60 66.67 90 64 71.11

คณติ ศาสตรเ พิม่ เตมิ 220 101 45.91 171 60 35.09 204 131 64.22

ฟสกส 127 76 59.84 127 42 33.07 158 117 74.05

เคมี 127 112 88.19 127 71 55.91 158 151 95.57

ชวี วทิ ยา 127 81 63.78 127 86 67.72 158 144 91.14

วิทยาศาสตรกายภาพ 46 18 39.13 44 16 36.36 46 30 65.22

สงั คมศกึ ษาเพม่ิ เติม 93 58 62.37 90 85 94.44 204 199 97.55

สขุ ศึกษาและพลศึกษา 220 220 100.00 217 217 100.00 248 248 100.00
เพิ่มเติม

ภาษาอังกฤษเพ่ิมเติม 127 70 55.12 127 86 67.72 158 84 53.16

ภาษาองั กฤษเพม่ิ เติม 93 28 30.11 90 54 60.00 90 33 36.67

ภาษาอังกฤษ ฟง -พดู 47 26 55.32 46 18 39.13 44 9 20.45

ภาษาจีน 47 34 72.34 46 22 47.83 44 27 61.36

คณติ ศาสตรเพม่ิ เติม - - - 46 14 30.43 44 10 22.73

วทิ ยาศาสตรก ายภาพ - - - 46 31 67.39 44 24 54.55

Page 39 of 110

ระดับผลการเรียน

กลมุ สาระการเรยี นรู/ ม.4 ม.5 ม.6
รายวิชา
จํานวน นกั เรยี นผลเรียน รอ ยละ จํานวน นกั เรียนผล รอยละ จํานวน นกั เรียนผล รอยละ
เหตุการณโลกปจ จุบนั นกั เรยี น 3 ขน้ึ ไป นักเรยี น เรยี น 3 ขึ้นไป นกั เรียน เรียน 3 ขึ้นไป
การงานอาชพี เพมิ่ เตมิ
ศิลปะเพิ่มเตมิ - - -- - - 90 84 93.33

- - -- - - 90 84 93.33

- - -- - - 90 72 80.00

Page 40 of 110

เทอม 2

ระดบั ผลการเรียน

กลุมสาระการเรยี นร/ู ม.4 ม.5 ม.6
รายวิชา
จาํ นวน นกั เรียนผลเรยี น รอ ย จํานวน นักเรียนผลเรยี น รอ ยละ จํานวน นักเรียนผล รอ ยละ
นกั เรียน 3 ขน้ึ ไป ละ นกั เรยี น 3 ข้นึ ไป นักเรียน เรยี น 3 ข้ึนไป

ภาษาไทย 220 155 70.45 217 208 95.85 248 209 84.27

คณติ ศาสตร 220 140 63.64 217 191 88.02 248 149 60.08

วิทยาศาสตรและ 220 138 62.73 217 172 79.26 - --
เทคโนโลยี

สงั คมศกึ ษา ศาสนา 220 213 96.82 217 179 82.49 248 178 71.77
และวัฒนธรรม

ประวัติศาสตร - - - 217 167 76.96 - --

สขุ ศึกษาและพลศึกษา 220 211 95.91 217 217 100.00 248 246 99.19

ศิลปะ 220 189 85.91 217 181 83.41 - --

การงานอาชพี 220 194 88.18 217 186 85.71 248 211 85.08

ภาษาตางประเทศ 220 96 43.64 217 125 57.60 248 215 86.69

ภาษาไทยเพม่ิ เตมิ 93 61 65.59 90 60 66.67 90 63 70.00

เสริมทักษะคณิตศาสตร 173 117 67.63 - - -- - -
2

เสริมทักษะคณติ ศาสตร 47 24 51.06 - - -- - -
3

ฟสิกส 127 75 59.06 127 64 50.39 158 119 75.32

เคมี 127 77 60.63 127 105 82.68 158 134 84.81

ชีววิทยา 127 113 88.98 127 106 83.46 158 152 96.20

วทิ ยาศาสตรกายภาพ 2 46 33 71.74 - - -- - -

วทิ ยาศาสตรก ายภาพ 3 47 28 59.57 - - -- - -

ศาสนาสากล 220 165 75.00 - - -- - -

สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 220 214 97.27 217 217 100.00 248 248 100.00
เพิ่มเตมิ

ศิลปะเพ่ิมเติม 93 83 89.25 - - - 90 62 68.89

การงานอาชพี เพม่ิ เติม 1 - - -- - - 46 36 78.26

Page 41 of 110

ระดบั ผลการเรยี น

กลุมสาระการเรียนร/ู ม.4 ม.5 ม.6
รายวิชา
จํานวน นกั เรยี นผลเรยี น รอย จํานวน นักเรยี นผลเรียน รอยละ จํานวน นกั เรียนผล รอยละ
นักเรยี น 3 ข้ึนไป ละ นกั เรยี น 3 ข้นึ ไป นักเรียน เรียน 3 ข้ึนไป

ภาษาอังกฤษกับ 127 87 68.50 - - -- - -
ไวยากรณ 3

ภาษาอังกฤษกับ 93 49 52.69 - - -- - -
ไวยากรณ 4

ภาษาองั กฤษอา น - 46 22 47.83 - - -- - -
เขียน

ภาษาองั กฤษฟง - พูด 47 26 55.32 46 9 19.57 44 19 43.18

ภาษาจีน 47 38 80.85 46 35 76.09 44 27 61.36

เสรมิ ทักษะคณิตศาสตร - - - 171 92 53.80 - --
6

เสริมทกั ษะคณิตศาสตร - - - 46 14 30.43 - --
7

วิทยาศาสตรกายภาพ 6 - - - 44 31 70.45 - --

วทิ ยาศาสตรก ายภาพ 7 - - - 46 25 54.35 - --

การเงนิ การคลัง การ - - - 90 72 80.00 - --
ธนาคาร

ภาษาองั กฤษกับ - - - 127 91 71.65 - --
ไวยากรณ 7

ภาษาองั กฤษกับ - - - 90 31 34.44 - --
ไวยากรณ 8

เสรมิ ทักษะคณิตศาสตร - - -- - - 248 139 56.05
10

วทิ ยาศาสตรก ายภาพ - - -- - - 46 21 45.65
10

วิทยาศาสตรก ายภาพ - - -- - - 44 16 36.36
11

ประชากรกับส่ิง - - -- - - 248 228 91.94
แวดลอ ม

การงานอาชพี เพม่ิ เติม 2 - - -- - - 46 29 63.04

Page 42 of 110

ระดับผลการเรยี น

กลุมสาระการเรียนรู/ ม.4 ม.5 ม.6
รายวิชา จํานวน นกั เรยี นผลเรียน รอ ย
นักเรียน 3 ขน้ึ ไป ละ จาํ นวน นักเรยี นผลเรียน รอ ยละ จาํ นวน นักเรยี นผล รอยละ
ภาษาองั กฤษกับ นกั เรียน 3 ข้นึ ไป นักเรียน เรียน 3 ขน้ึ ไป
ไวยากรณ 11 - --
ภาษาอังกฤษกับ - - - 158 112 70.89
ไวยากรณ 12 - --
- - - 90 53 58.89

Page 43 of 110

2.2.3 ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพน้ื ฐานของผูเรียนระดบั ชาติ (National Test : NT)
เปรียบเทยี บผลการทดสอบสมรรถนะของนักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี 3
จํานวนนักเรียนทั้งหมด : 396

สมรรถนะ จํานวน คะแนนเฉลีย่ คะแนนเฉล่ียผลการ ผลตา ง รอ ยละของ แปลผลพัฒนา
นกั เรียน ระดับประเทศป ทดสอบสมรรถนะ คะแนนเฉลยี่ คะแนนเฉล่ีย ป การเทยี บกบั
เขาสอบ 63 เทยี บป 62 รอ ยละ 3
2563 2561 2562 2563 (ป 63 - 62)
- -
ดานภาษา (Literacy) / ดา น - 47.46 70.30 62.10 - -62.10
ภาษาไทย (Thai Language) - -

ดานคํานวณ (Numeracy) / - 40.47 57.88 54.83 - -54.83 - -
ดานคณิตศาสตร
(Mathematics)

ดานเหตผุ ล (reasoning) - - - -- -

โรงเรียนไมส อบวดั ผล หรือสอบไมค รบ
-

2.2.4 ผลการประเมินความสามารถดา นการอานของผูเรยี น (Reading Test : RT)
เปรียบเทียบผลการทดสอบความสามารถดานการอานของนกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปท่ี 1
จํานวนนักเรียนทงั้ หมด : 400

ความสามารถ จํานวน คะแนนเฉลยี่ ระดับ คะแนนเฉลีย่ ผลการ ผลตา งคะแนน รอ ยละของคะแนน แปลผลพฒั นาการ
ดานการอาน นกั เรียนเขา ประเทศป 2563 ทดสอบสมรรถนะ เฉลย่ี (ป 63 - เฉลี่ย ป 63 เทียบป เทยี บกบั รอ ยละ 3

สอบ 2561 2562 2563 62) 62

อานรเู ร่ือง - 71.86 91.21 92.62 - -92.62 --

อานออกเสียง - 74.14 93.75 95.93 - -95.93 --

โรงเรยี นไมส อบวดั ผล หรอื สอบไมครบ
-

Page 44 of 110

2.2.5 ผลการประเมินทางการศกึ ษาระดบั ชาติ ดานอสิ ลามศกึ ษา (I-NET) ของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม
เปรียบเทียบผลการทดสอบระดบั ชาตดิ านอสิ ลามศกึ ษา (I-NET) ของนกั เรยี นระดับตอนตน
จาํ นวนนักเรยี นทัง้ หมด : 376

วิชา จาํ นวน คะแนนเฉลย่ี ระดบั คะแนนเฉล่ยี ผลการ ผลตา งคะแนน รอยละของคะแนนเฉลย่ี แปลผลพฒั นาการ
นักเรียนเขา ประเทศป 2563 ทดสอบสมรรถนะ เฉลย่ี (ป 63 - 62) ป 63 เทยี บป 62 เทยี บกับรอ ยละ 3

สอบ 2561 2562 2563 -

อัลกุ - 38.54 - - - - - -
รอานฯ
-
อัลหะ - 44.74 - - - - -
ดีษ -

อลั อะ - 37.38 - - - - - -
กดี ะห
-
อลั ฟก - 31.93 - - - - - -
ฮ -

อัตตา - 37.60 - - - - -
รีค

อัลอคั - 40.86 - - - - -
ลาก

มลายู - 35.17 - - - - -

อาหรับ - 30.65 - - - - -

โรงเรียนไมส อบวัดผล หรือสอบไมค รบ
-

Page 45 of 110

เปรยี บเทยี บผลการทดสอบระดบั ชาติดานอสิ ลามศกึ ษา (I-NET) ของนักเรียนระดบั ตอนกลาง
จาํ นวนนักเรียนท้ังหมด : 403

จาํ นวน จํานวน คะแนนเฉลยี่ คะแนนเฉล่ียผลการ ผลตา งคะแนน รอ ยละของคะแนน แปลผลพฒั นาการ
วชิ า นกั เรียน นักเรยี นเขา ระดบั ประเทศป ทดสอบสมรรถนะ เฉล่ยี (ป 63 - เฉลี่ย ป 63 เทยี บป เทยี บกบั รอ ยละ 3

ท้ังหมด สอบ 2563 2561 2562 2563 62) 62 -
-
อลั กุ 403.00 - 41.83 - - - - -
รอานฯ -
-
อลั หะ 403.00 - 44.11 - - - - -
ดีษ -
-
อลั อะ 403.00 - 50.70 - - - - -
กดี ะห -
-
อลั ฟก 403.00 - 39.40 - - - - - -
ฮ - -
-
อตั ตา 403.00 - 37.45 - - - -
รคี

อัลอคั 403.00 - 38.21 - - - -
ลาก

มลายู 403.00 - 35.91 - - - -

อาหรบั 403.00 - 30.04 - - - -

โรงเรยี นไมส อบวดั ผล หรอื สอบไมค รบ
-

Page 46 of 110

เปรยี บเทียบผลการทดสอบระดับชาตดิ านอสิ ลามศึกษา (I-NET) ของนกั เรียนระดบั ตอนปลาย
จาํ นวนนักเรยี นท้งั หมด : 248

วชิ า จาํ นวน คะแนนเฉลีย่ ระดับ คะแนนเฉลี่ยผลการ ผลตางคะแนน รอยละของคะแนนเฉล่ยี แปลผลพฒั นาการ
นกั เรยี นเขา ประเทศป 2563 ทดสอบสมรรถนะ เฉลี่ย (ป 63 - 62) ป 63 เทยี บป 62 เทยี บกบั รอ ยละ 3

สอบ 2561 2562 2563 -

อลั กุ - 39.81 - - - - - -
รอานฯ
-
อลั หะ - 42.59 - - - - -
ดีษ -

อลั อะ - 31.82 - - - - - -
กดี ะห
-
อลั ฟก - 36.18 - - - - - -
ฮ -

อตั ตา - 39.26 - - - - -
รคี

อัลอัค - 48.63 - - - - -
ลาก

มลายู - 25.43 - - - - -

อาหรับ - 32.00 - - - - -

โรงเรยี นไมส อบวัดผล หรอื สอบไมค รบ
-

Page 47 of 110

2.2.6 ผลการทดสอบความสามารถดา นภาษาองั กฤษ
คาประเมนิ มาตรฐานภาษาอังกฤษ จากหนว ยงานทดสอบภาษาอังกฤษทก่ี ระทรวงศึกษาธิการรับรอง
ระดับประถมศึกษา

ระดบั จาํ นวน จาํ นวน ระดับผลการทดสอบความสามารถดานภาษาอังกฤษ (Common ผา นการทดสอบอืน่ ๆ (TOEIC, IEFL,
ช้นั นกั เรียน นกั เรียน European Framework of Reference for Languages : CEFR) TOEFL เปรยี บเทยี บตารางมาตรฐาน)
ทั้งหมด เขา สอบ
Pre A1 A1 A2 B1 B2 C1 C2

ป.1 400 - - ------ -

ป.2 412 - - ------ -

ป.3 396 - - ------ -

ป.4 374 - - ------ -

ป.5 366 - - ------ -

ป.6 376 - - ------ -

ระดับมธั ยมศกึ ษา

ระดบั จาํ นวน จาํ นวน ระดบั ผลการทดสอบความสามารถดา นภาษาอังกฤษ (Common ผานการทดสอบอ่ืน ๆ (TOEIC, IEFL,
ชน้ั นกั เรียน นักเรยี น European Framework of Reference for Languages : CEFR) TOEFL เปรยี บเทยี บตารางมาตรฐาน)
ทงั้ หมด เขาสอบ
Pre A1 A1 A2 B1 B2 C1 C2

ม.1 380 - - ------ -
ม.2 413
ม.3 403 - - ------ -
ม.4 220
ม.5 217 - - ------ -
ม.6 248
- - ------ -

- - ------ -

- - ------ -

Page 48 of 110

3. นวัตกรรม/แบบอยางท่ดี ี (Innovation/Best Practice )

ช่ือ นวตั กรรม/แบบอยา งทีด่ ี ระดับการศึกษา มาตรฐานดา น
ระดบั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน
นวัตกรรมและสิ่งประดษิ ฐใ นการแกป ญหา มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผเู รียน
“ระบบคัดกรอง ปอ งกนั โรค COVID-19” ระดบั การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผเู รยี น
ระดับมัธยมตน ระดบั การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน
ระดับการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผูเรียน
การแขงขัน Thailand GreenMech ระดับการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
Contest 2020 สรางนวัตกรรมและส่งิ ระดับการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี นน ผเู รียน
ประดษิ ฐในการแกป ญ หา “ระบบคดั กรอง ระดบั การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน เปนสําคัญ

ปองกันโรค COVID-19” ระดับปฐมวัย มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่เนนผเู รียน
ระดบั ปฐมวยั เปนสาํ คัญ
สิง่ ประดษิ ฐท างวิทยาศาสตร ระดับ ระดบั ปฐมวยั
มธั ยมศึกษาตอนปลาย “เครือ่ งเตอื นการ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่เี นนผูเ รยี น
เวน ระยะหางโรงอาหารโรงเรยี นลาซาล” เปนสาํ คญั

หุนยนตเ พื่อการเรยี นรู ป.4-6 มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเด็ก
นวัตกรรมและสิ่งประดษิ ฐใน การแก มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเด็ก
ปญ หา “ปองกนั โรค COVID-19” ระดับ
มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณที่เนน เดก็ เปนสําคญั
มัธยม 1-6

นวตั กรรมการพัฒนาโครงงาน IOT ระดับ
มัธยมศกึ ษาปท ่ี 4-6

นวตั กรรมการจัดการสอนออนไลน ดวย
Google Classroom โรงเรียนลาซาล

เดก็ ใฝร ูใฝเรียน รกั การอา น

เด็กมวี ินัยในการเขา แถว เดินแถว

เดก็ เรยี นรแู ละใชส ่ือเทคโนโลยีท่ที นั สมยั

4. รางวลั ท่สี ถานศกึ ษาไดรับ

ช่ือรางวัล ประเภทรางวลั ระดบั หนว ยงานทีม่ อบรางวลั ปท ไ่ี ดรบั รางวัล

5. ดาํ เนนิ งานตามนโยบายกระทรวงศกึ ษาธิการ (ปรบั ตามนโยบายแตล ะป)

ประเดน็ ตวั ชี้วัด

- จัดการศกึ ษาทกุ ระดบั ทกุ ประเภท โดยใชห ลกั สูตรฐานสมรรถนะ รวมทงั้ แนวทางการจัดการเรยี นรเู ชงิ รุกและการวัดประเมินผลเพือ่ พฒั นาผูเรียน ท่สี อดคลอง
กบั มาตรฐานการศกึ ษาแหง ชาติ

- สง เสริมการพัฒนากรอบหลักสตู รระดับทอ งถ่ินและหลกั สตู รสถานศกึ ษาตามความตอ งการจําเปน ของกลุม เปาหมายและแตกตา งหลากหลายตามบริบทของพืน้ ท่ี

- พฒั นาผเู รียนใหม ที ักษะการคิดวิเคราะห สามารถแกไ ขสถานการณเ ฉพาะหนา ไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยจดั การเรียนรเู ชงิ รกุ (Active Learning) จาก
ประสบการณจ รงิ หรือจากสถานการณจ ําลองผานการลงมือปฏบิ ัติ ตลอดจนจัดการเรียนการสอนในเชงิ แสดงความคดิ เห็นเพื่อเปด โลกทัศนมมุ มองรว มกันของผู
เรยี นและครูใหมากขน้ึ

Page 49 of 110


Click to View FlipBook Version