The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
ประจำปีการศึกษา 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jaroon, 2022-06-09 01:21:11

รายงานผลการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2563

รายงานผลการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
ประจำปีการศึกษา 2563

2. สรปุ ผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดบั คุณภาพ
ระดับปฐมวัย ยอดเยยี่ ม
ยอดเยย่ี ม
มาตรฐานการศกึ ษา ยอดเยยี่ ม
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเดก็ ยอดเยย่ี ม
ยอดเยย่ี ม
1. มพี ัฒนาดา นรางกาย แข็งแรง มีสุขนิสยั ท่ีดี และดแู ลความปลอดภยั ของตนองได ยอดเยย่ี ม
2. มีพฒั นาการดา นอารมณ จิตใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณได ยอดเยี่ยม
3. มีพัฒนาการดา นสงั คม ชวยเหลือตนเองและเปนสมาชกิ ที่ดขี องสังคม ดีเลิศ
4. มีพัฒนาการดานสติปญญา ส่อื สารได มที กั ษะการคดิ พื้นฐาน และแสวงหาความรไู ด ยอดเยย่ี ม
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ยอดเยีย่ ม
1. มีหลกั สูตรครอบคลมุ พฒั นาการทัง้ สีด่ า น สอดคลอ งกบั บรบิ ทของทอ งถ่ิน ยอดเยีย่ ม
2. จดั ครใู หเพียงพอกับชนั้ เรียน ยอดเยย่ี ม
3. สง เสรมิ ใหครมู คี วามเช่ียวชาญดานการจดั ประสบการณ ดีเลศิ
4. จดั สภาพแวดลอมและสอ่ื เพ่อื การเรยี นรูอยา งปลอดภัยและเพยี งพอ ดเี ลศิ
5. ใหบริการส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศและสอื่ การเรยี นรูเพ่อื สนับสนุน การจัดประสบการณ ดเี ลศิ
6. มีระบบบรหิ ารคณุ ภาพทีเ่ ปด โอกาสใหผ เู กยี่ วของทุกฝา ยมสี ว นรวม ดีเลศิ
มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณท ีเ่ นนเด็กเปน สําคัญ
1. จดั ประสบการณท ่ีสงเสริมใหเ ดก็ มพี ัฒนาการทกุ ดาน อยางสมดลุ เตม็ ศกั ยภาพ ยอดเยี่ยม
2. สรางโอกาสใหเ ด็กไดรับประสบการณต รง เลน และปฏิบัติอยางมคี วามสุข
3. จดั บรรยากาศท่ีเอือ้ ตอการเรียนรู ใชส ื่อและเทคโนโลยี ทเ่ี หมาะสมกับวัย ยอดเยย่ี ม
4. ประเมินพัฒนาการเดก็ ตามสภาพจริงและนําผลการประเมนิ พัฒนาการเดก็ ไปปรับปรุงการจดั ประสบการณแ ละพฒั นา
เดก็
สรุปผลการประเมนิ ระดับปฐมวัย

Page 100 of 110

ระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน ระดับคณุ ภาพ
ยอดเยี่ยม
มาตรฐานการศกึ ษา
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผูเ รยี น ดีเลศิ
ผลสมั ฤทธ์ิทางวชิ าการของผเู รียน ดีเลิศ
ดเี ลิศ
1. มคี วามสามารถในการอาน การเขยี น การส่อื สาร และ การคดิ คํานวณ ยอดเยี่ยม
2. มีความสามารถในการคิดวเิ คราะห คดิ อยางมวี ิจารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ยี นความคิดเห็นและแกปญหา ยอดเยี่ยม
3. มคี วามสามารถในการสรา งนวตั กรรม ดเี ลศิ
4. มคี วามสามารถในการใชเทคโนโลยสี ารสนเทศ และการส่ือสาร
5. มผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสตู รสถานศกึ ษา ยอดเยี่ยม
6. มีความรูทักษะพืน้ ฐาน และเจตคตทิ ด่ี ีตอ งานอาชีพ ยอดเยี่ยม
คุณลกั ษณะทพี่ ึงประสงคของผเู รียน ยอดเยี่ยม
7. การมีคณุ ลกั ษณะและคานิยมทดี่ ตี ามทีส่ ถานศกึ ษากําหนด ยอดเยี่ยม
8. ความภมู ใิ จในทองถ่ินและความเปน ไทย ยอดเยี่ยม
9. การยอมรับท่จี ะอยูร วมกนั บนความแตกตา งและหลากหลาย ยอดเยี่ยม
10. สขุ ภาวะทางรางกายและจิตสังคม ยอดเยย่ี ม
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ยอดเยย่ี ม
1. มีเปาหมายวิสยั ทัศนแ ละพนั ธกิจท่ีสถานศกึ ษากําหนดชดั เจน ยอดเยย่ี ม
2. มรี ะบบบรหิ ารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษา ยอดเยี่ยม
3. ดําเนินงานพัฒนาวิชาการทเี่ นนคณุ ภาพผูเรียนรอบดา นตามหลกั สตู รสถานศึกษาและทุกกลมุ เปา หมาย ยอดเยย่ี ม
4. พฒั นาครูและบุคลากรใหมีความเช่ียวชาญทางวชิ าชีพ
5. จัดสภาพแวดลอ มทางกายภาพและสงั คมทเ่ี อื้อตอการจัดการเรียนรู อยา งมีคณุ ภาพ ดเี ลศิ
6. จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ สนับสนุนการบริหารจัดการและ การจัดการเรียนรู ดเี ลศิ
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเี่ นน ผเู รยี นเปนสาํ คัญ ยอดเย่ียม
1. จัดการเรยี นรูผา นกระบวนการคิดและปฏบิ ตั ิจริง และสามารถนําไปประยกุ ตใ ชใ นชวี ติ ได ดเี ลศิ
2. ใชส ่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลงเรยี นรทู ี่เอือ้ ตอการเรียนรู ดีเลศิ
3. มีการบรหิ ารจัดการช้ันเรยี นเชงิ บวก ดเี ลศิ
4. ตรวจสอบและประเมินผูเรยี นอยางเปน ระบบ และ นาํ ผลมาพฒั นาผเู รยี น ยอดเยย่ี ม
5. มีการแลกเปล่ยี นเรียนรแู ละใหขอมลู สะทอนกลับ เพื่อพฒั นาปรบั ปรงุ การจัดการเรยี นรู
สรปุ ผลการประเมินระดบั ขั้นพ้ืนฐาน

Page 101 of 110

3. จดุ เดน

ระดับปฐมวยั

คณุ ภาพของเดก็

1. เด็กใฝร ู ใฝเ รยี น รักการอาน 2. เดก็ มีวินยั ในการเขาแถว เดนิ แถว 3. เดก็ มพี ัฒนาการเหมาะสมกบั วัย

กระบวนการบริหารและการจัดการ

1. สถานศกึ ษามีหลักสตู รท่ีสอดคลองกบั บรบิ ทของทอ งถิ่น 2. บคุ ลากรครูมคี วามเชี่ยวชาญดา นการจดั ประสบการณใหกบั เดก็ 3. สถานศึกษามีสอ่ื เพอ่ื การเรยี นรู สอื่
เทคโนโลยี และแหลงเรียนรทู หี่ ลากหลาย เพียงพอตอความตอ งการของเด็กและบุคลากรทางการศกึ ษา

การจัดประสบการณท ีเ่ นน เดก็ เปน สาํ คญั

1. โรงเรยี นมีการจัดกจิ กรรมแบบ Project Approach ใหเ ดก็ ไดเ รียนรูจากประสบการณตรง และสามารถสรา งองคความรูดว ยตนเอง 2. โรงเรยี นจดั กิจกรรมยาม
เชาหลังเคารพธงชาติ เพอ่ื สง เสริมศกั ยภาพของเดก็ ท้ังทางดา นรางกาย ดา นอารมณ- จิตใจ ดา นสังคม และดานสติปญญา เด็กมคี วามม่ันใจในตนเอง กลาพดู กลา
แสดงออก ไดเหมาะสมกบั สถานการณ 3. โรงเรยี นเปด โอกาสใหเดก็ ไดเ ลือกกจิ กรรมที่ตนเองสนใจผา นกจิ กรรมชมรมตา ง ๆ เชน ชมรมงานประดษิ ฐจ ากเศษวสั ดุ
ชมรมนวดเพอื่ สขุ ภาพ ชมรมการละเลน พนื้ บาน ชมรมนาฏศิลป ชมรมดนตรี 4. โรงเรยี นเปด โอกาสใหอ งคกรภายนอกเขามามีสวนรวมในการจดั กจิ กรรมและให
ความรกู บั เดก็ ในดานตา ง ๆ เชน สาธารณสุข ทันตแพทย สมารท คดิ ส เบน ทโบท ฯลฯ

ระดับขั้นพ้ืนฐาน

คุณภาพของผูเรียน

1. นักเรยี นมคี วามสามารถในการอา น การเขยี น มีนิสัยรักการอา นมากขึ้น มกี ารจดั กจิ กรรมสง เสริมทักษะ ทางภาษาทั้งภาษาไทยและภาษาองั กฤษ ท้ังในดา นการ
ฟง พดู อาน เขียน รวมถงึ การสื่อสาร 2. ครผู ูส อนเห็นความสําคัญในการจดั กิจกรรมสง เสรมิ ทักษะทางดานการคิดคาํ นวณดว ยกระบวนการทางคณติ ศาสตรอยาง
เปนข้นั ตอน อยางสมาํ่ เสมอ สง ผลใหนักเรียนนาํ ทักษะทางดา นการคิดคํานวณมาใชในการพัฒนาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นใหสูงขน้ึ และสามารถนําความรไู ปใชในชีวติ
ประจาํ วันไดอ ยา งมีประสทิ ธิภาพ 3. ครูผูส อนทุกกลมุ สาระการเรยี นรูเห็นความสําคัญในการจัดกจิ กรรมแขงขนั ทักษะทางภาษาและการคิดคํานวณ มีการจดั
กจิ กรรมประเมินศกั ยภาพตาง ๆ ของนักเรียนดวยวธิ กี ารทหี่ ลากหลาย เพ่อื กระตนุ ความสนใจใฝรูของนกั เรยี น ทําใหนักเรียนไดเกิดการพฒั นาตนเองทางดา นภาษา
และการส่อื สาร และการคดิ คาํ นวณอยางจริงจังและตอ เนื่อง สงผลใหน ักเรียนมคี วามรู ความเขา ใจในการใชภาษาการสือ่ สารและการคดิ คาํ นวณ สามารถนาํ ความรูท่ี
ไดรับไปใชใ นชีวติ ประจําวนั ไดอยางมีประสทิ ธภิ าพ 4. นักเรยี นมีความสามารถในการคดิ วเิ คราะห คิดอยางมวี ิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปลีย่ นความคดิ เห็นและแก
ปญ หาอยางมีคณุ ธรรม 5. นกั เรียนสามารถนาํ ทักษะกระบวนการคิดมาปรบั ใชเ พอื่ การเรียนรู โดยการคาดการณ สรปุ ขอมลู อยา งมคี ุณภาพทกุ กลมุ สาระการเรียนรู
และสามารถคิดวเิ คราะหประยุกตสรา งส่ิงใหม ๆ ในการพฒั นาทักษะชีวติ ของตนเองและสังคมได 6. นักเรียนมผี ลการประเมินการอาน คดิ วเิ คราะหแ ละเขียนตาม
กลมุ สาระการเรียนรู ซึง่ ไดจัดกจิ กรรมการเรียนรูที่สงเสรมิ และพฒั นานักเรยี นใหมีความสามารถในการอา น คดิ วเิ คราะหแ ละการเขียนส่ือความ โดยใชข อ มลู การ
ประเมนิ ความสามารถนําไปใชพ ัฒนาศักยภาพของผูเรียนใหมีผลสมั ฤทธ์สิ ูงกวาเกณฑท ่กี าํ หนดได 7. นกั เรียนสามารถนาํ ความรูทไ่ี ดร บั ไปแลกเปล่ยี นเรียนรูซง่ึ กนั
และกัน มีการเขียนถายทอดประสบการณส ูผอู ่นื สามารถสรปุ ประเมนิ ความรจู ากเร่อื งทอี่ า นและสามารถนาํ ความรูไ ปใชใ นชวี ติ ประจาํ วันไดอ ยางมปี ระสทิ ธิภาพ
ทําใหน ักเรยี นไดพัฒนาศกั ยภาพการเรยี นรูของตนเองในดา นภาษา 8. โรงเรยี นมีนโยบายสง เสริมความสามารถในการสรางนวตั กรรมของนกั เรียน พรอมทงั้ ใหก าร
สนับสนุนส่อื อปุ กรณ และสงเสริมครูผูสอน ใหไดรบั การนิเทศ แนวทางการจดั การเรียนรเู พอื่ กระตุน พัฒนา สง เสริม ผูเรยี น ใหม ีความคิดรเิ ริ่ม สรางสรรค ในการ
สรา งนวตั กรรมตามความเหมาะสมของแตล ะชั้นเรียน 9. มกี ารพัฒนาการจดั การเรยี นการสอนกลุม สาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ใหมคี วามกาวหนา
พัฒนา ปรับปรุงแผนการจดั การเรยี นรู สอดแทรกกระบวนการคิดสรา งสรรคเ พ่ือกระตนุ ใหน กั เรยี นมีทกั ษะในการสรา งชิ้นงาน 10. มีสอื่ เทคโนโลยที ที่ ันสมัยและ
หลากหลาย ทาํ ใหน ักเรียนมีความสามารถในการเรยี นรตู า ง ๆ เชน E-board Activ board, สือ่ Power Point จากการสรา งสรรคข องครแู ละนักเรยี นมาจดั การ
เรยี นการสอน 11. มีการนเิ ทศใหค วามรูค รูในการใชเทคโนโลยีในรปู แบบตาง ๆ อยา งสม่ําเสมอ 12. โรงเรยี นมจี ํานวนคอมพวิ เตอรท ี่เพยี งพอตอ ความตองการของ
นกั เรียน ซึ่งนกั เรยี นไดล งมอื ปฏบิ ัตจิ ริงทกุ คน ทําใหนักเรยี นมที ักษะการใชค อมพวิ เตอรและ เพ่ือการสบื คน ขอ มูลตา ง ๆ และสามารถนําความรูม าพัฒนางานการ
เรยี นรขู องตนเองได 13. โรงเรยี นมกี ารพฒั นาสายสญั ญาณ Internet ทกุ พืน้ ทใ่ี นโรงเรียน ทําใหม คี วามรวดเรว็ และมีความเสถียร ตอการจัดการเรยี นการสอน 14.
นักเรยี นไดใชส่อื เทคโนโลยี ในการสืบคน ขอ มลู ในอินเตอรเ นต็ มากข้นึ รวบรวมและสรปุ ความรูดว ยตนเอง ทําใหนกั เรยี นสามารถสรางผลงาน ช้นิ งาน และการ
สื่อสารโดยใชกระบวนการกลมุ เสริมสรางใหเกิดนวตั กรรมใหม ๆ นํามาใชในการเรยี นรู 15. โรงเรียนมีการจดั ทาํ หลักสูตรสถานศึกษาและหลกั สตู รของกลมุ สาระการ
เรยี นรูในแตล ะระดบั เหมาะสมและสอดคลองกบั ทองถน่ิ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พ.ศ.2551 ฉบบั ปรบั ปรุง 2560 โดยการมีรายวิชาเพิ่มเติมที่
หลากหลายและมีการจดั กจิ กรรมพฒั นาผเู รียนในดานชมุ ชนวชิ าการใหน ักเรยี นเลอื กเรียนไดต ามความตองการ ความถนัดและความสนใจของตนเอง 16. โรงเรยี น
โดยฝา ยบริการ แนะแนว มีการนาํ เสนอขอ มูล ทางดานการศึกษาและจดั กจิ กรรมทหี่ ลากหลาย เพื่อใหผเู รียนไดร บั ทราบขอ มูลทางการศกึ ษาตอ ทั้งสายสามัญและ
สายอาชีพอยา งเปนปจ จุบนั 17. โรงเรียนมตี ารางเปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นของนักเรียนทกุ ระดับชนั้ เปน การรวบรวมขอ มูลแตละรายวชิ า จําแนกตาม
ระดับผลการเรยี น ไดนาํ ผลการเปรียบเทียบผลสมั ฤทธิ์มาปรับปรุงและพฒั นานักเรียนตอ ไป 18. ครผู สู อนในแตละกลุมสาระการเรียนรูไ ดพฒั นาการจัดกระบวนการ
เรยี นรูในรปู แบบสากลทีม่ งุ เนนใหนกั เรยี นไดพ ัฒนาตนเองดานภาษาอังกฤษ มีการบูรณาการความรูด านภาษาองั กฤษในการจัดการเรยี นรู ทําใหนกั เรียนไดฝ กทักษะ

Page 102 of 110

การสอื่ สารมากขึน้ นําสอ่ื เทคโนโลยีมาใชสอนใหนกั เรียนไดรับประสบการณตรงและสามารถใชภ าษาองั กฤษในการส่อื สารไดใ นแตละระดบั ชั้นเรียน 19. ในปการ
ศึกษา 2563 มีผลการสอบระดับชาติ ระดบั ประถมปท่ี 3 (NT) และผลการสอบ O-net ทกุ ระดบั มคี า สูงกวาขีดจํากดั ลา ง 20. นกั เรียนไดร ับการสง เสรมิ ใหม ีผล
สมั ฤทธ์ทิ างการเรียนสูงขึน้ โดยมกี ารมงุ ม่ันพัฒนากระบวนการเรียนการสอนและวธิ ีการเรียนการสอนทีห่ ลากหลาย พรอมทงั้ มกี ารกระตุน ใหผ ูเ รียนเรยี นรอู ยา ง
ชัดเจน เพม่ิ ความสนใจใหผ เู รยี นอยา งสม่ําเสมอ โดยใชกระบวนการเรียนรูและแบบฝก ทักษะท่หี ลากหลาย 21. นักเรียนมีความพรอมในการศกึ ษาตอ สามารถ
วางแผนการเรยี นรูไปสอู าชีพทีต่ นเองสนใจอยา งเปน ข้ันตอน มีความรสู ึกทด่ี ีตอ อาชพี สจุ รติ มแี หลงขอมูลเก่ียวกบั อาชพี และหาความรเู ก่ียวกับอาชพี ทตี่ นสนใจ มี
ความพรอมความม่นั ใจในการตดั สนิ ใจในการศกึ ษาตอ การฝกงานหรือการทํางาน 22. นกั เรยี นมีครูทปี่ รึกษา และคณุ ครแู นะแนวคอยใหคําปรกึ ษาในดานการเรียน
และอาชีพที่นักเรยี นสนใจ อยูเ สมอ ทั้งนโี้ รงเรียนสามารถตดิ ตามผลการศกึ ษาตอของนักเรียนช้ัน ป.6 , ม.3 และ ม.6 ไดรอ ยละ 100 ในแตล ะปการศึกษา 23.
นักเรียนมที ักษะความรใู นวชิ าพืน้ ฐานและวิชาเพ่มิ เติมเปนพนื้ ฐานในการไปศึกษาตอในระดับที่สงู ตอ ไปซ่งึ นกั เรยี นสามารถเลือกเรยี นไดต รงในสาขาทตี่ นเองสนใจ
และตอ งการเพ่อื เปนแนวทางในการประกอบอาชพี ในอนาคต 24. นักเรยี นมีคณุ ลักษณะและคา นิยมทีด่ ี ตามทีส่ ถานศึกษากําหนดโดยไมขดั กบั กฎหมายและ
วัฒนธรรมอันดีงามของสังคม มคี ณุ ธรรมจริยธรรมทด่ี งี าม รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ  ปฏบิ ัติตามกฎระเบยี บของโรงเรียนและสงั คมภายนอก ไดอยางมคี วาม
สุข เปน นกั เรยี นทด่ี ขี องโรงเรียน เปนลกู ที่ดขี องพอแม เปนพลเมอื งที่ดีของประเทศชาติ เห็นคุณคาของความเปนไทย มสี วนรวมในการอนุรกั ษทรพั ยากรธรรมชาติ
และสง่ิ แวดลอม รวมทั้งวฒั นธรรมประเพณีไทย 25. นักเรยี นมคี วามภูมใิ จในทอ งถน่ิ เห็นคณุ คา ความเปนไทย วัฒนธรรมประเพณไี ทยและภมู ิปญ ญาไทย หางไกล
จากสง่ิ เสพตดิ ทกุ ชนดิ สขุ ภาพกายดี สุขภาพจติ ดี กลาแสดงออกอยางเหมาะสม ดว ยวถิ ีของประชาธปิ ไตย 26. นกั เรยี นมีความสามารถทํางานรว มกบั ผอู น่ื ได กลา ท่ี
จะแสดงความคิดเหน็ และยอมรบั ฟง ความคดิ เหน็ ของผอู ่ืนดว ยความเขาใจ เหน็ ประโยชนจากการแลกเปล่ยี นความคดิ ซึ่งกนั และกนั ยอมรับในความแตกตางของ
บคุ คลและวฒั นธรรมที่แตกตางกนั 27. นกั เรยี นไดรับการสงเสรมิ ในการนอมนาํ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาใชกับการดาํ เนินชวี ติ มีการ จดั ทาํ แหลง เรยี นรู
เกย่ี วกบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและหลักคําสอนของพอ มาเปนแนวทางในการเรยี นรแู ละนําความรทู ี่ไดไ ปปรบั ใชใ นการดาํ เนินชวี ติ และขยายผลไปยงั
ครอบครวั และชุมชน สามารถใชชวี ิตทพ่ี อเพียงและอยูในสงั คมไดอยา งเปน สุข 28. โรงเรยี นเปนสถานศึกษาสขี าวปลอดภยั ยาเสพตดิ ดงั กลา วที่วา “ทาํ ดีเพือ่ พอ สาน
ตอ แกปญหายาเสพติด” 29. คณะผบู รหิ าร คณะครู ผูปกครองและนกั เรียนใหความรว มมอื ในการรวมรณรงคแ ละเหน็ ความสําคัญของการรณรงคต อ ตานยาเสพติด
เปนอยา งดี นอกจากนีย้ งั เสรมิ สรางความรูเ ก่ยี วกบั ภยั ของยาเสพตดิ เพ่ือใหเกดิ ภมู คิ มุ กนั ทด่ี ีตอการดาํ เนนิ งานตอตา นยาเสพติด 30. นักเรยี นมสี ุขภาพรา งกายแขง็
แรง มีน้ําหนกั สว นสงู และสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ ผูเรียนกลา แสดงออกในทางทเี่ หมาะสม ไมยงุ เก่ยี วกบั ส่งิ เสพติด มีทกั ษะในการปอ งกนั ตนเองจากการส่อื
ลวง ขม เหงรงั แก เปนผูม สี ุนทรียทางดานศิลปะ และการกฬี าจนเปน เอกลักษณข องสถานศกึ ษา 31. โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมเพอื่ สงเสรมิ ความรูค วามสามารถใน
ดานวิชาการ ไดแกการจัดแสดงนิทรรศการ ทางวชิ าการและการแขงขนั วิชาการ นกั เรยี นไดแ สดงผลงาน นาํ เสนอผลงาน และการทํางานเปนทมี รว มคิด รวมทํา
รว มแกปญหา และมีความรับผดิ ชอบตอ งานในหนา ที่ทไ่ี ดรบั มอบหมายเปน อยา งดี 32. โรงเรียนไดจ ัดแหลง เรยี นรทู ห่ี ลากหลายท่ีเอ้อื ตอการเรยี นรู มหี องเรียนรูตาม
กลมุ สาระการเรยี นรตู า ง ๆ พรอมสอื่ อปุ กรณอยางครบถวน ทาํ ใหนักเรยี นไดศกึ ษาหาความรแู ละนํามาพฒั นาการเรียนรขู องตน 33. มีหอ งสมดุ ทีท่ ันสมยั ในแตล ะ
ระดับชน้ั พรอ มทง้ั มีหนงั สือที่หลากหลายใหนักเรยี นไดศ กึ ษาหาความรนู าํ มาพฒั นาการเรียนรขู องตน 34. โรงเรียนมีการนเิ ทศ ตดิ ตามการสอนของครูอยา ง
สมํ่าเสมอ นําผลการนเิ ทศมาวิเคราะห ทําการวจิ ัยเพ่ือแกป ญหานักเรยี นและพฒั นาการเรียนรขู องนกั เรียนใหมีประสิทธิภาพและไดผ ลสมั ฤทธิ์ท่ดี ีขึน้

กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ

1. ผูบรหิ าร บคุ ลากรครูและนักเรยี น และผปู กครอง ไดร ว มกนั พฒั นาการจัดทํานโยบาย เปาหมาย วิสยั ทศั น และพนั ธกจิ โรงเรียนทสี่ ถานศึกษากาํ หนดชดั เจนมีการ
วางนโยบายและการบริหารงานโรงเรยี นเปนไปอยางมีประสทิ ธภิ าพ และเกดิ ประสทิ ธิผลอยางมคี ุณภาพ 2. ทางโรงเรียนมีคณะกรรมการสถานศกึ ษาและจัดประชุม
คณะกรรมการสถานศกึ ษาเพือ่ รว มพฒั นาสถานศกึ ษา มกี ารวางแผนจัดการประชุมภาคเรยี นละ 2 ครง้ั มีการวเิ คราะหสภาพภายในและภายนอกสถานศกึ ษารว มกับ
ผบู ริหารและบุคลากรครูจากหลายฝายไดรวมกนั จดั ทํานโยบายของการบริหารงานโรงเรยี น ทาํ ใหก ารบริหารโรงเรยี นเปน ไปอยางมีประสทิ ธภิ าพ และเกิด
ประสทิ ธผิ ลอยา งสูงสดุ 3. โรงเรยี นมีวิสยั ทัศน พันธกจิ และเปา หมายทช่ี ดั เจน สามารถนําไปจดั ทาํ แผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาและแผนปฏบิ ตั งิ านของสถานศกึ ษา
ได 4. โรงเรยี นมกี ารปรบั แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศกึ ษา แผนปฏิบัติการประจาํ ป ท่ีสอดคลอ งกบั ผลการจดั การศกึ ษา สภาพปญหา ความตอ งการพัฒนา และ
นโยบายการปฏริ ูปการศกึ ษา ท่มี ุงเนน การพัฒนาใหผูเรยี นมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรยี นรูตามหลักสูตรสถานศกึ ษา 5. โรงเรยี นมกี ารจัดการประชุมในการพัฒนา
งานการศกึ ษาของโรงเรยี นในรูปแบบตา ง ๆ ซ่งึ ผบู ริหารไดจดั การบรหิ ารในรูปแบบของการกระจายอาํ นาจตามฝายตาง ๆ ทําใหงานตามฝายตา ง ๆ ไดจ ัดอยางมี
ประสิทธิภาพโดยยึดหลักการบรหิ ารงานในรปู แบบ PDCA 6. มีกาํ หนดงานในฝายตาง ๆ ชัดเจน บคุ ลากรสามารถปฏิบัติงานไดต ามเปา หมายทกี่ าํ หนดเพื่อพัฒนา
โรงเรียนใหส อดคลองตามเกณฑมาตรฐานคณุ ภาพสถานศึกษา 7. สถานศกึ ษามีหลกั สูตรสถานศึกษาและหลกั สตู รของกลุมสาระการเรยี นรทู ุกระดับตามหลกั สตู ร
แกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐานพทุ ธศกั ราช 2551 ฉบบั ปรับปรงุ 2560 อยางถูกตอ งเหมาะสมทั้งวิชาพื้นฐาน วชิ าเพม่ิ เติม และกิจกรรมพฒั นาผูเ รยี น รวมทง้ั วธิ ี
วดั ผลประเมนิ ผลท่เี ปน ระบบถกู ตอ งตามทก่ี ระทรวงศกึ ษาธิการกําหนด 8. ครผู ูส อนสามารถจดั การเรียนรไู ดอยา งมีคณุ ภาพ มีการดาํ เนนิ การนิเทศ กาํ กับ ตดิ ตาม
ประเมินผลการดําเนินงาน และจัดทาํ รายงานผลการจัดการศกึ ษา 9. ครผู ูสอนนําผลการนเิ ทศ มาปรบั พัฒนาการจัดการเรียนรใู หนกั เรยี นมพี ฒั นาการในดานการ
เรียนและกิจกรรมเพ่อื พฒั นาผูเรยี นใหม ผี ลสมั ฤทธิ์ทีด่ ขี น้ึ 10. ผูบรหิ ารและบคุ ลากรทุกฝายรว มกนั พัฒนาการจัดการศึกษาอยางตอ เนื่อง ทําใหมีผลสัมฤทธ์กิ าร
ดําเนินงานสําเรจ็ ตามเปา หมายอยา งมคี ณุ ภาพ 11. ผบู รหิ าร และคณะกรรมการสถานศกึ ษามกี ําหนดการ กาํ กบั ติดตามและประเมนิ ผลการดาํ เนนิ งานตามท่ี
กาํ หนดไวในแผนปฏิบตั งิ าน และจดั ระบบการกาํ กบั ติดตามการบรหิ ารในดานการจดั การเรยี นการสอน การปฏบิ ัตงิ านของบุคลากร การจัดโครงการ/กจิ กรรม และ
การจัดการศกึ ษาอยา งตอ เนอื่ งเปน ระบบ 12. มกี ารพฒั นาศกั ยภาพครูในดา นการจัดการเรียนรู โดยเชิญวิทยากรผูท รงคณุ วฒุ ใิ นสาขาวชิ าตาง ๆ มาใหค วามรูกบั
บุคลากรครูอยูเ สมอ ครนู าํ ความรูทไ่ี ดไ ปจัดกระบวนการเรยี นรใู หก บั นกั เรียน ทาํ ใหนักเรยี นมผี ลสมั ฤทธท์ิ ดี่ ีขึน้ 13. ครู บุคลากร มคี วามรูค วามสามารถเพิ่มขึ้นจาก
การเขา เพ่มิ พูนความรใู นการอบรม สัมมนา แลกเปลย่ี นเรียนรู สามารถนําไปพฒั นางานในหนาท่ี 14. ครู และบุคลากรในโรงเรยี นมีขวัญกาํ ลังใจดี สงผลใหงานมี

Page 103 of 110

ประสิทธภิ าพ ครูและบคุ ลากรใหความรวมมือในการปฏิบัติหนา ทเ่ี ปน อยางดีและมีความภาคภมู ใิ จ มน่ั คงในอาชีพครู 15. โรงเรียนลาซาลเปนสถานศกึ ษาขนาดใหญ
ท่ีมบี ุคลากรเพียงพอในการจดั หนวยงานภายในองคกรเปน ฝายตาง ๆ เพอ่ื รองรบั การตรวจมาตรฐานคณุ ภาพการศกึ ษา ตรงตามวชิ าเอกตามโครงสรา งการบรหิ าร
จัดการของโรงเรยี น มีการจัดครูผสู อนและครูสนับสนนุ ตามสายงานทกุ ระดับชนั้ 16. โรงเรยี นจัดหาอปุ กรณเ ทคโนโลยี (กระดานอัจฉรยิ ะ) ไวอํานวยความสะดวกให
คุณครูใชใ นการสอนในหองเรียนและหองศนู ยก ารเรยี นรูกลมุ สาระตา ง ๆ ทาํ ใหน ักเรียนเพ่ิมความสนใจ ใสใ จ สนุกสนานและมคี วามสุขในการเรยี น 17. กาํ หนดงาน
ในฝา ยตา ง ๆ ไดชัดเจน บุคลากรสามารถปฏบิ ตั งิ านไดตามเปาหมายท่ีกาํ หนดเพ่อื พฒั นาโรงเรียนใหส อดคลอ งตามเกณฑม าตรฐานคณุ ภาพสถานศึกษา 18. กาํ หนด
เปาหมายพฒั นาครูทัง้ ดานความรูความสามารถทางวชิ าการและคณุ ธรรมจริยธรรมรวมทัง้ จรรยาบรรณวิชาชีพครอู ยางชัดเจนในแผนปฏิบตั ิงาน และสามารถปฏิบตั ิ
งานตามระยะเวลาท่กี ําหนด 19. โรงเรยี นไดจ ัดอบรมการใชร ะบบเทคโนโลยสี ารสนเทศที่เหมาะสมกบั สถานศึกษา อบรม และพฒั นาครแู ละบุคลากรในการใชงาน
ระบบ MAS School ตามหนา ที่รับผดิ ชอบของแตละคน 20. โรงเรยี นมีสภาพแวดลอ มทีร่ มรื่น สะอาดและสวยงาม มีอาคารท่มี ่นั คงแขง็ แรง และมีแหลง เรียนรทู ่ี
เหมาะสม และหอ งเรยี นรูตามกลมุ สาระการเรยี นรู รวมท้ังหอ งปฏบิ ัตกิ ารตาง ๆ ทเี่ อ้อื ตอการเรยี นรูครบทกุ ระดบั 21. คณะผูบริหารสถานศึกษาสง เสริมการจดั
กิจกรรมการสืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทยใหก บั นักเรยี น ครู ผปู กครอง และชมุ ชนเพอ่ื ใหต ระหนกั และเหน็ คณุ คา ของวฒั นธรรมและประเพณไี ทย 22. ผูบริหารสง
เสรมิ และจัดสรรงบประมาณการพฒั นางานดา น IT ทเ่ี อ้ือตอการเรยี นการสอน และการบริการภายในสถานศกึ ษา 23. โรงเรยี นจัดหาอปุ กรณเทคโนโลยี
(Computer , E-board , Activ board) ไวอํานวยความสะดวกใหค ุณครู ใชใ นการสอนในหอ งเรยี นและหองศูนยก ารเรียนรกู ลมุ สาระตา ง ๆ ทาํ ใหนักเรียนเพิ่มความ
สนใจ ใสใจ สนกุ สนานและมคี วามสุขในการเรียน 24. ผบู รหิ าร ครู นกั เรียน ไดน อมนําหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงเขา สูการเรยี นรใู นสถานศกึ ษาและการ
ดําเนนิ ชีวิตแบบพอเพียง และขยายผลไปสผู ูปกครองและชมุ ชนจนไดรบั การประกาศวา เปนโรงเรยี นพอเพยี ง 25. โรงเรยี นมีระบบการประกันคุณภาพ มีการตรวจ
สอบ ตดิ ตาม ประเมินผล การดําเนนิ งานอยา งตอเนื่องและเปนปจจุบัน 26. โรงเรียนมีปฏิทินปฏิบัติงานของฝายตา ง ๆ ตลอดปการศึกษาอยางชัดเจนและเหมาะสม

กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเนน ผเู รยี นเปน สําคญั

1. ครมู หี ลกั สูตรสถานศึกษา มีคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคและสมรรถนะการเรยี นรู มแี ผนการจดั การเรียนการสอนทกุ หนวยการเรียนรู เพ่อื นาํ มาใชในการจัดการ
เรยี นการสอนทเ่ี นน ผเู รียนเปน สําคัญใหมคี ุณภาพ 2. ครูมีการจดั การเรียนการสอนทใ่ี ชเ ทคนิคกระบวนการคิดและปฏบิ ัติจริง โดยมีแผนการสอนท่เี นน กระบวน การ
คิด มแี ผนกจิ กรรมท่ีปฏบิ ตั จิ รงิ มีการบันทกึ การสอนที่นําไปพฒั นาการเรียนรูได 3. ครจู ดั การเรยี นรูเปนไปตามศกั ยภาพของนกั เรยี นตามมาตรฐานและตัวชว้ี ัด และ
ความสามารถใน การนําเทคนิควธิ กี ารสอน รวมทั้งกระบวนการสอนทีห่ ลากหลาย เหมาะสมกบั เนือ้ หาและตัวชวี้ ัดตรงตามศักยภาพผเู รยี นมาจดั การเรยี นรู 4.
นกั เรยี นสามารถเลือกใชส่อื เทคโนโลยใี นการทํางาน นําเสนอผลงานอยางสรางสรรคไดดวยตนเอง โดยไมท ําใหผ ูอ่นื เดือดรอน ไมม ีผลกระทบตอสง่ิ แวดลอม 5. ครจู ัด
กระบวนการเรยี นการสอนอยา งหลากหลายและนักเรียนไดเรียนรโู ดยผา นกระบวนการคิดและลงมือปฏบิ ัติจรงิ 6. ครผู สู อนทุกกลุม สาระการเรยี นรูใ ชสื่อเทคโนโลยที ่ี
หลากหลาย เชน Youtube, PowerPoint VDO, Google Meet ใหนักเรียนไดศ กึ ษาคนควาหาขอมลู และสรางองคค วามรไู ดดว ยตนเอง 7. มกี ารสง เสรมิ การพัฒนา
ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ อินเตอรเ นต็ ใหค รอบคลมุ ทกุ หอ งเรยี น หองประกอบ มี wifi ใหบ รกิ ารกบั ครูทกุ อาคารเรยี น 8. สนบั สนนุ ใหค รใู ชเ ทคโนโลยใี นการจัด
กระบวนการเรียนรูโดยตดิ ตงั้ เครอื่ งคอมพวิ เตอร อินเตอรเ น็ต กระดานอัจฉริยะ(E-board) และโปรเจคเตอรทกุ หองเรยี นและหองประกอบ 9. โรงเรียนไดส นบั สนุ งบ
ประมาณในการจดั หาทรพั ยากรทางเทคโนโลยที ่ที ันสมยั เพอ่ื ใหค รนู าํ มาใชใ นการจัดการเรียนการสอน เชน ส่อื การสอน Coding อุปกรณหุนยนต Microbit และ
Arduino ตอบสนองการเรยี นรใู นปจจุบนั 10. ผบู รหิ าร ครู นกั เรยี น และผูปกครองไดรว มงานในการพัฒนาการจดั การศึกษาอยางตอเนอื่ ง ทําใหมีการพฒั นา
คุณภาพการศึกษา ผลการดําเนินงานสําเรจ็ ตามเปาหมาย 11. โรงเรยี นลาซาลมฝี า ยสํานักอธิการทที่ าํ หนา ท่ตี รวจสอบและประเมินความรคู วามเขาใจในการเรยี นรู
ของนกั เรียนไดอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยไดร บั ความรวมมือกับทกุ ฝา ยในการสนบั สนนุ การทดสอบของนกั เรยี นไดเ ปน อยา งดแี ละสามารถรว มมือกนั ในการพัฒนา
ระบบการจัดการเรยี นรไู ดอ ยา งมีประสทิ ธภิ าพ 12. มีการสาํ รวจความตองการจัดการเรียนการสอนเพื่อใหต รงกบั ความตอ งการของนักเรียนโดยจัดเปนชมุ นุม ตาง ๆ
นกั เรียนเขารว มตามความถนัด ความสามารถ และความสนใจ ของตน 13. นกั เรียนไดเขา รวมกจิ กรรมตาง ๆ ท่ีทางโรงเรยี นจดั ขึน้ และมีการฝก ความสามารถทาง
ดานวิชาการและความสามารถพเิ ศษ มคี วามพรอ มท่จี ะไปประกวดหรือแขงขันกับองคก ร หรือหนวยงานภายนอก 14. มกี ารการแลกเปลย่ี นความคิดเหน็ กบั ผู
ปกครองและมีความสมั พนั ธท่ดี ีในการรว มมือกนั ในการชวยเหลอื หรอื แกไขปญ หาการเรียน หรอื พฤติกรรมของนักเรียนเปนอยางดี 15. มีการพัฒนาศกั ยภาพจาก
การอบรม สมั มนาจากวิทยากรผูทรงความรู จากภมู ปิ ญญาทอ งถิน่ หรือชุมชนแลวนาํ ความรทู ่ีไดมาพัฒนาการสอนรวมทั้งแลกเปลีย่ นเรยี นรูในความรู ใหม ๆ ทีไ่ ด
รับการพฒั นา 16. สง เสริมใหบคุ ลากรครูพฒั นาตนเอง เขา รับการอบรมในการจดั การเรยี นรู วิธีการสอนแบบคิดวเิ คราะห การออกขอ สอบคิดวิเคราะห และขอ สอบ
เชงิ ซอน 17. ไดรับความรว มมือและไดร ับการสนับสนนุ จาก ผปู กครองและหนวยงานตา ง ๆ ในชุมชนเปนอยางดี โดยมีการประชาสมั พนั ธข าวสารของโรงเรียนใหผู
ปกครองและชมุ ชนทราบอยูเสมอ 18. โรงเรยี นไดจ ัดการเรยี นการสอนเหมาะสมกับพัฒนาการและความตองการของนกั เรยี น โดยมีการจัดทาํ แผนการเรยี นรทู ีเ่ นนผู
เรยี นเปน สําคัญ โดยการใชเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมมาเปนสอื่ ในการจดั การเรยี นรู 19. นกั เรยี นมกี ารเรียนรผู านกระบวนการคดิ สามารถลงมอื ปฏบิ ตั จิ ริงดว ยตนเอง
จากแหลง เรียนรทู ี่หลากหลาย และสามารถสรุปองคความรตู า ง ๆ นําไปปรบั ใชกับการเรยี นของตนเองได 20. บุคลากรครูตามกลุมสาระตา ง ๆ รว มมอื กันในการแก
ปญ หาใหก บั นักเรียนท่ีมปี ญ หาในดา นการเรยี น และพฤติกรรมในรูปแบบของการปรกึ ษาหารอื และคนหาวธิ ีการทจี่ ะรว มพัฒนานกั เรียนในรูปแบบของสงั คมแหง การ
เรยี นรู 21. มีการจัดกจิ กรรมใหน ักเรยี นโดยใชกระบวนการกลุม ใหน ักเรยี นไดกลาพูด กลาทํา กลาแสดงความคดิ เห็นอยา งมีเหตผุ ล โดยการนาํ เสนอผลงานของ
ตนเอง 22. มกี ารจดั เชื่อมโยง บูรณาการความรขู องกลุม สาระการเรียนรตู าง ๆ และมกี ารแทรกการสอนคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค โดยเนนใหน กั เรยี นไดมี
สมรรถนะ 5 ประการตามหลกั สตู ร สกู ารเรียนรใู นสาระการเรียนรูต า ง ๆ 23. มกี ารวัดผลและประเมนิ ผลการเรียนรทู ่หี ลากหลายอยางเปน ระบบ ถูกตอ งและ
ยุติธรรม 24. สถานศึกษามีสภาพแวดลอมมบี รรยากาศทรี่ มรืน่ สวยงาม ปลอดภยั และมีแหลง เรยี นรทู ีเ่ หมาะสมเอ้อื ตอ การเรียนรู 25. โรงเรยี นลาซาลโดยฝา ยสํานัก
อธกิ ารทําหนาที่ตรวจสอบและประเมินความรคู วามเขา ใจของนกั เรียนไดอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยไดรบั ความรวมมอื กบั ทกุ ฝา ยในการสนบั สนนุ การทดสอบของ
นักเรยี นไดเ ปนอยา งดแี ละสามารถรวมมือกนั ในการพัฒนาระบบการจดั การเรียนรู ไดอ ยางมปี ระสทิ ธภิ าพ

Page 104 of 110

4. จดุ ควรพัฒนา
ระดับปฐมวัย
คณุ ภาพของเด็ก
1.สง เสรมิ ใหเ ดก็ ออกไปรวมกจิ กรรมและแขง ขนั กบั หนว ยงานภายนอกใหมากขนึ้
กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
1.สงเสริมใหเ ดก็ เรยี นรจู ากแหลง เรยี นรภู ายนอกสถานศกึ ษาใหม ากข้ึน
การจัดประสบการณท ่เี นน เด็กเปนสาํ คัญ
1.พัฒนาพนื้ ทภ่ี ายในโรงเรยี นบางสว นใหเ ปน แหลง เรียนรภู ายในโรงเรียน

ระดบั ขั้นพ้นื ฐาน
คุณภาพของผูเรียน
1. ครูควรมเี ทคนคิ การคดิ คํานวณที่หลากหลาย นอกจากนั้นควรสง เสรมิ ใหน ักเรยี นไดน าํ เสนอแนวคดิ ของตนเอง ซ่ึงแตละคน อาจจะมรี ูปแบบการคดิ คาํ นวณที่แตก
ตางกันออกไป รวมถึงฝกฝนใหนกั เรยี นไดค ิดอยา งเปน ลาํ ดบั ข้นั ตอน มคี วามละเอยี ดรอบคอบ ฝกฝนการตรวจสอบคาํ ตอบใหม าก 2. ควรสง เสรมิ ใหก ลมุ สาระการ
เรยี นรูเ พ่มิ การคดิ คนนวัตกรรมในการเรยี นรเู พิม่ มากขึน้ และใชนวตั กรรมใหมๆ มาสงเสรมิ ใหน กั เรียนไดพ ฒั นาศกั ยภาพของตนเอง ซงึ่ จะทาํ ใหจัดการเรยี นรูใ หม ี
ประสิทธิภาพยิง่ ข้ึน
กระบวนการบริหารและการจดั การ
1. สง เสรมิ ความเขา ใจใหบ ุคลากรครไู ดต ระหนักถึงนโยบายของโรงเรยี นและทําหนา ท่ีตามบทบาทของครูในสถานศึกษาไดอ ยา งมปี ระสทิ ธิภาพมากยง่ิ ขึ้น 2. สง เสรมิ
ใหมอี งคก รจากภายนอกใหเ ขา มาชว ยในการพัฒนางานวิชาการ เสรมิ สรา ง เผยแพรความรู สรา งภูมิคมุ กันดานยาเสพตดิ ใหนักเรยี นอยางนอยภาคเรยี นอยางละ 2
คร้ัง
กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนนผเู รยี นเปน สาํ คญั
1. ควรพัฒนาครผู ูสอนใหม ีทกั ษะและความชํานาญในการใชง าน ส่ือเทคโนโลยี ดว ยวิธกี ารที่หลากหลายเพราะสถานการณการแพรระบาดของโรคไวรสั โคโรนา
2019 ครตู อ งมีความรูความชาํ นาญในการจดั การสอนออนไลน ในรปู แบบตา ง ๆ 2. สง เสริมการสรา งนวัตกรรมใหม ๆ ใหม คี วามหลากหลายเพิม่ มากขน้ึ เพ่อื
นกั เรียนจะไดมีพฒั นาในการนําความรใู หม ๆ มาใชใ นการเรยี นรูข องตน

5. แนวทางการพฒั นา

แนวทางการพฒั นาระดับปฐมวัย
ดา นคณุ ภาพของเด็ก

             จากการจดั กจิ กรรมหนนู อยคนเกงผลปรากฏวา มีการสนับสนนุ ใหเ ดก็ ออกไปรวมทาํ กิจกรรมนอกสถานศึกษานอยครง้ั ควรสง เสริมใหเ ดก็ ออกไปรว มทาํ
กจิ กรรมนอกสถานศึกษาใหมากขึน้

ดานกระบวนการบริหารและการจดั การ
    จากการจดั กจิ กรรมแหลง เรียนรภู ายนอกสถานศึกษา ผลปรากฏวา เด็กไดเ รียนรจู ากแหลง เรยี นรภู ายนอกสถานศกึ ษานอ ยเกินไป ควรสง เสรมิ ใหเดก็ ไดมโี อกาส

เรยี นรูจากแหลง เรียนรภู ายนอกสถานศึกษามากย่ิงขึน้

ดานการจดั ประสบการณทเี่ นนเดก็ เปนสาํ คญั
             จดั ทําหอ งศูนยก ารเรยี นรเู พ่ือสงเสรมิ ใหเ ด็กเกิดการเรียนรู และมีพฒั นาการทุกดานอยางสมดลุ      
 
แนวทางการพฒั นาระดับการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน

1. ควรสง เสริมใหน ักเรียนไดแ สวงหาความรูจากแหลงเรียนรทู างสื่อเทคโนโลยเี พอื่ นํามาพัฒนาการเรียนรูนักเรยี นไดม ีประสบการณตรง และ
รจู กั สังคมภายนอกโรงเรียนมากขนึ้ ทองความรูไปกบั โลกกวา งทางอินเทอรเน็ต นํามาปรบั ใชกับการดาํ เนินชวี ติ ในสังคมของนักเรยี น

2. โรงเรยี นควรกาํ หนดแผนในการพัฒนาบคุ ลากรครูเพอ่ื ยกระดบั ความสามารถในการจดั การเรียนรทู สี่ ง เสริมใหน ักเรยี นมีการพฒั นาทาง
ดานทกั ษะการคิดอยางเปน ระบบและเนนปฏิบัตจิ รงิ ทกุ กลมุ สาระโดยใหทุกกลมุ สาระฯ กาํ หนดกจิ กรรมของกลมุ สาระฯ เลือกกิจกรรมท่ี
เกิดประโยชนแกผูเรยี น 

Page 105 of 110

3. สง เสริมการวดั และประเมินความรูแบบออนไลน หรอื รูปแบบทีห่ ลากหลายเพอ่ื เปน การพฒั นาระบบการเรียนรูทที่ นั สมัยและปรับตวั ให
ทันตอ เหตุการณป จ จุบนั

6. ความตองการชว ยเหลอื

ความตองการชวยเหลือของระดับการศึกษาปฐมวัย
                        สง เสริมทักษะบุคลากรครูในการใชสอ่ื เทคโนโลยใี นการจดั การเรียนการสอนใหท ันสมัย
ความตองการชวยเหลือระดบั การศึกษาข้ันพื้นฐาน

1. ทางกระทรวงศกึ ษาธกิ ารควรจัดงบประมาณสนับสนนุ โรงเรยี นในการจดั การเรียนการสอนออนไลนในรปู แบบตา ง ๆ รวมท้งั การบรหิ าร
จดั การในดานอนามัย เพือ่ ปองกนั การแพรระบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019

2. ควรจัดใหมีครูผสู อนท่มี ีความรู ความเขา ใจในการพัฒนานักเรยี นในดา นนวัตกรรมทุกระดับชัน้ เพอ่ื ปลูกฝงและตอ ยอด สามารถพัฒนา
นักเรียนไดอ ยา งตอ เนอื่ ง

7. ความโดดเดน ของสถานศึกษา(ถาม)ี
- 1.เดก็ มพี ัฒนาการทง้ั 4 ดานเหมาะสมกับวัย
ระดบั การศกึ ษา : ปฐมวยั
ไดร ับการยอมรบั เปนตนแบบระดบั : ทองถ่นิ /ภูมภิ าค (C1)
กระบวนการพฒั นาความโดดเดน ของสถานศึกษา
-

- 2.ครูและเดก็ มีคณุ ธรรมจริยธรรมทีด่ ีตามทีส่ ถานศึกษากําหนด
ระดับการศึกษา : ปฐมวัย
ไดรบั การยอมรบั เปนตน แบบระดบั : ทองถนิ่ /ภูมภิ าค (C1)
กระบวนการพฒั นาความโดดเดนของสถานศึกษา
-

- 3.มีการตรวจสอบและประเมนิ ผูเรียนอยางเปนระบบและนําผลมาพัฒนาผูเรยี น
ระดับการศกึ ษา : ปฐมวัย
ไดรบั การยอมรบั เปนตน แบบระดบั : ชาติ (C2)
กระบวนการพัฒนาความโดดเดน ของสถานศกึ ษา
-

- 4.โรงเรียนมเี ปา หมาย วิสัยทัศน และพนั ธกจิ ทส่ี ถานศกึ ษากําหนดชัดเจน
ระดับการศกึ ษา : ปฐมวัย
ไดรับการยอมรับเปนตน แบบระดับ : ทอ งถ่ิน/ภมู ภิ าค (C1)
กระบวนการพฒั นาความโดดเดนของสถานศกึ ษา
-

- 1. มีหลกั สูตรสถานศกึ ษาตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พ.ศ.2551(ฉบบั ปรับปรงุ 2560)ปรับพิจารณาและปรับปรุง 2563
ระดับการศกึ ษา : ข้ันพน้ื ฐาน
ไดร บั การยอมรับเปน ตนแบบระดบั : ทองถิ่น/ภูมิภาค (C1)
กระบวนการพัฒนาความโดดเดน ของสถานศกึ ษา

Page 106 of 110

-

- 2.โรงเรยี นมเี ปาหมาย วสิ ยั ทศั น และพนั ธกจิ ทีส่ ถานศกึ ษากําหนดชัดเจน
ระดบั การศกึ ษา : ขน้ั พื้นฐาน
ไดรบั การยอมรับเปนตน แบบระดบั : ทองถ่ิน/ภูมภิ าค (C1)
กระบวนการพฒั นาความโดดเดน ของสถานศกึ ษา
-

- 3. ผูเรียนมีผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนและพัฒนาการจาดผลการสอบวัดระดับชาติ
ระดับการศึกษา : ข้นั พื้นฐาน
ไดร บั การยอมรบั เปนตนแบบระดบั : ชาติ (C2)
กระบวนการพัฒนาความโดดเดนของสถานศกึ ษา
-

- 4. โรงเรยี นนอมนาํ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสูสถานศึกษา
ระดับการศกึ ษา : ขน้ั พนื้ ฐาน
ไดรบั การยอมรับเปน ตน แบบระดับ : ชาติ (C2)
กระบวนการพฒั นาความโดดเดนของสถานศกึ ษา
-

- 5. โรงเรียนสงเสริมประชาธปิ ไตย
ระดับการศกึ ษา : ขน้ั พื้นฐาน
ไดรับการยอมรบั เปน ตน แบบระดับ : ชาติ (C2)
กระบวนการพัฒนาความโดดเดนของสถานศึกษา
-

- 6. โรงเรยี นสง เสรมิ การรณรงคต อตานยาเสพตดิ
ระดับการศกึ ษา : ขั้นพืน้ ฐาน
ไดรบั การยอมรบั เปนตนแบบระดบั : ทองถนิ่ /ภูมภิ าค (C1)
กระบวนการพัฒนาความโดดเดน ของสถานศึกษา
-

- 7. โรงเรียนสง เสริมใหผูเ รยี นมคี วามสามารถทางการกีฬา เชน กีฬาเทควันโด,ยิงปน
ระดบั การศึกษา : ขน้ั พ้นื ฐาน
ไดร ับการยอมรับเปนตนแบบระดับ : ชาติ (C2)
กระบวนการพัฒนาความโดดเดน ของสถานศึกษา
-

- 8. โรงเรียนสง เสริมคุณธรรม จริยธรรม
ระดบั การศกึ ษา : ขนั้ พน้ื ฐาน
ไดรับการยอมรับเปน ตน แบบระดับ : ทองถิ่น/ภมู ภิ าค (C1)
กระบวนการพัฒนาความโดดเดนของสถานศกึ ษา

Page 107 of 110

-
- 9. ผเู รยี นมีความสามารถในการใชเทคโนโลยสี ารสนเทศและสือ่ สาร
ระดับการศึกษา : ข้นั พ้ืนฐาน
ไดรับการยอมรบั เปน ตน แบบระดบั : ทองถิน่ /ภมู ิภาค (C1)
กระบวนการพฒั นาความโดดเดน ของสถานศึกษา
-
- 10. ครู ผูเรยี นมีคณุ ลักษณะและคานยิ มทด่ี ตี ามทส่ี ถานศึกษากําหนด
ระดับการศึกษา : ขั้นพน้ื ฐาน
ไดร บั การยอมรบั เปนตน แบบระดบั : ชาติ (C2)
กระบวนการพัฒนาความโดดเดนของสถานศกึ ษา
-
- 11. มีการจัดการเรียนการสอนท่เี นน ผูเรียนเปนสาํ คัญ ฝก ใหนกั เรยี นมคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห
ระดบั การศึกษา : ขน้ั พื้นฐาน
ไดร บั การยอมรับเปนตนแบบระดับ : ชาติ (C2)
กระบวนการพัฒนาความโดดเดนของสถานศึกษา
-
- 12. มกี ารตรวจสอบและประเมินผูเรียนอยางเปน ระบบและนาํ ผลมาพฒั นาผูเรยี น
ระดบั การศกึ ษา : ขน้ั พนื้ ฐาน
ไดรบั การยอมรบั เปน ตน แบบระดับ : ทองถนิ่ /ภมู ิภาค (C1)
กระบวนการพัฒนาความโดดเดนของสถานศกึ ษา
-

Page 108 of 110

รายงานรวบรวมโดย (Prepared by)
ชนดิ า สทุ ธิจิต   ผอู ํานวยการ
เพียงดาว อสุ ุมสารเสวี   เจา หนา ที่

Page 109 of 110

ภาคผนวก

Page 110 of 110

ประกาศโรงเรยี น เรือ่ ง การกําหนดมาตรฐานการศกึ ษาและคาเปา หมายความสําเร็จของ
โรงเรยี นระดับปฐมวยั และระดับการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน

(การกาํ หนดมาตรฐานการศึกษาและคาเปาหมายความสําเร็จของโรงเรียนระดับปฐมวัย
และระดับการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน)





รายงานการประชมุ หรือการใหความเหน็ ชอบ SAR ของคณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี น
(ความเห็นชอบ SAR ของคณะกรรมการบรหิ ารโรงเรียน)



คาํ ส่ังแตงตงั้ คณะทํางานจดั ทาํ SAR
(คาํ สั่งแตง ตั้งคณะทํางานจดั ทํา SAR)









หลกั ฐานการเผยแพร SAR ใหผ มู ีสว นเกย่ี วขอ งหรอื สาธารณชนรบั ทราบ
(หลักฐานการเผยแพร SAR สสู าธารณชนรับทราบ)

หลกั ฐานการเผยแพร่ SAR ให้ผู้มสี ว่ นเก่ียวข้องหรือสาธารณชนรับทราบ
มีการเผยแพรผ่ ่านทางเว็บไซต์โรงเรยี น www.lasalleschool.ac.th
ตวั อย่าง ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาของแตล่ ะปีการศึกษา

แผนผังอาคารสถานท่ี
(แผนผงั อาคารสถานท่ี )











โครงสรา งการบริหารงานโรงเรียน
(โครงสรางการบรหิ ารงานโรงเรียน)

แผนภมู ิโครงสรา้ งการบรหิ าร คณะกรรมการบ
โรงเรียนลาซาล ผูร้ ับใบอนุญ
ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ผจู้ ัดก
ผอู้ ำนวย
ทป่ี รกึ ษาอาวุโส รองผ้อู ำน
คณะผู้บรหิ าร

ฝา่ ยธุรการ – การเงิน ฝา่ ยบุคลากร ฝา่ ยวชิ าการ

- การเงิน –บัญชี - งานส่งเสริมและพัฒนา - งานหลักสูตรการเรยี นการสอน
- พัสดคุ รุภณั ฑ์ บุคลากร - งานวัดผลและประเมินผล
- งานสารบรรณ - งานบริการสวสั ดิการ - งานทะเบียน
- งานวารสาร - งานสรรหาบุคลากร - งานส่งเสริมวิชาการ
- งานยานพาหนะ /งานนำเสนอแต่งต้งั /โยกย้าย - งานส่ือและนวตั กรรมทางการศึกษา
- งานทะเบียนครู/นกั เรยี น และถอดถอน - งาน ๘ กล่มุ สาระการเรยี นรู้
- งานประชาสัมพนั ธ์ - งานประเมินผลการปฏิบัตงิ าน - งานหอ้ งสมุด
- งานสารสนเทศและเทคโนโลยี ของบคุ ลากร - งานนิเทศการสอน
- งานวจิ ัยในช้ันเรียน

หวั หนา้ ระดับก่อนประถม หัวหน้าระดับ ป.๑-ป.๓ หัวหน้าระดับ ป.๔-ป.๖
- บริหารงานทัว่ ไป - บรหิ ารงานทัว่ ไป - บริหารงานทั่วไป
- กิจการ/บุคลากร - กจิ การ/บุคลากร - กิจการ/บุคลากร
. - วชิ าการ - วิชาการ - วิชาการ

หัวหนา้ กลุ่มสา

คณะ

บรหิ ารโรงเรยี น สมาคมศิษยเ์ ก่า
ญาต/อธิการ ชมรมผ้ปู กครองและครู
การ
ยการ
นวยกำร

ฝ่ายกิจการนกั เรยี น ฝา่ ยบริการแนะแนว ฝา่ ยสำนักอธิการ(บรหิ าร)

- งานระดบั ช้ัน - งานแนะแนว - ฝ่ายบริหาร
- งานป้องกันและแกไ้ ขปัญหายาเสพตดิ - งานระบบดูแลชว่ ยเหลอื - ฝา่ ยประกันคณุ ภาพ
- งานส่งเสริมประชาธปิ ไตยสภา - งานโภชนาการและร้านคา้ - ฝา่ ยสัมพนั ธช์ ุมชน
นกั เรียนและ จติ สาธารณะ - งานสขุ ภาพและอนามยั - ฝา่ ยอภบิ าล
- งานสง่ เสรมิ คุณธรรมจริยธรรม นกั เรยี นและโรงเรียน - ฝ่ายอาคารสถานที่
และระเบยี บวนิ ยั
- งานรกั ษาความปลอดภัย สารวัตร
นกั เรียนและจราจร
- งานกิจกรรมนักเรยี น

หัวหนา้ ระดบั ม.๑-ม.๓ หวั หน้าระดับ ม.๔-ม.๖ หวั หนา้ ระดับเขม้ ขน้ ฯ
- บริหารงานท่วั ไป - บรหิ ารงานท่วั ไป - บริหารงานทวั่ ไป
- กิจการ/บุคลากร - กิจการ/บุคลากร - กจิ การ/บคุ ลากร
- วิชาการ - วิชาการ - วิชาการ

าระการเรียนรู้ อนุมตั ิ
........................
ะครู (ภราดาบญุ เชิด เกตุรตั น์)
อธิการโรงเรยี น

โครงสรา งหลักสตู ร เวลาเรยี น ของโรงเรียน
(โครงสรา งหลักสตู ร ระดับปฐมวัยและระดบั การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน)

โครงสร้างหลกั สตู รโรงเรยี นลาซาล ปกี ารศึกษา 2563

โครงสร้าง แผนการเรียน ระดบั ปฐมวยั

ปรัชญาโรงเรยี น
คณุ ภาพของโรงเรยี นขึ้นอย่กู บั คณุ ภาพของครูและนกั เรยี นเปน็ สาคญั

ปรชั ญาการศกึ ษาปฐมวัย
การศกึ ษาปฐมวัยโรงเรียนลาซาล เป็นการพัฒนาเด็กอายุ 3 - 6 ปี โดยการสง่ เสริมพฒั นาการองคร์ วมทีเ่ น้นกระบวนการ ผ่าน
ประสบการณ์ตรงในการเรยี นรู้ สามารถใชภ้ าษาในการสอื่ สาร ปลกู ฝงั คุณธรรมจริยธรรม โดยคานึงถึงความแตกต่าง ระหวา่ ง
บคุ คลทสี่ อดคลอ้ งกับธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ภายใต้การมีสว่ นรว่ มของผ้ปู กครองและชุมชนที่เดก็ อาศัยอยู่ เพ่ือสง่ เสรมิ ใหเ้ ด็ก

ได้รบั การพฒั นาตามศกั ยภาพและสามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อยา่ งมีความสุข

คณุ ลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ สาระการเรยี นรู้ คุณลักษณะตามวยั

ประสบการณส์ าคญั สาระท่คี วรเรยี นรู้
เป็นการจดั กจิ กรรมพฒั นาทักษะท่สี าคัญในการสรา้ งองค์ความรโู้ ดยผ่าน
รปู แบบการจัดประสบการณท์ ส่ี ง่ เสริมพัฒนาการ 4 ด้าน เรอื่ งราวรอบตวั เดก็ ทีน่ ามาปรับเป็นส่อื ในการจดั กจิ กรรม
- พัฒนาการทางด้านรา่ งกาย - ตวั เด็ก
- พฒั นาการทางดา้ นอารมณ์ – จติ ใจ
- พฒั นาการทางดา้ นสงั คม - บคุ คลและสถานท่แี วดลอ้ มเด็ก
- พฒั นาการทางด้านสตปิ ญั ญา - ธรรมชาตริ อบตวั เดก็
- ส่ิงต่าง ๆ รอบตวั เดก็

รปู แบบการจดั ประสบการณ์
- เรียนรจู้ ากประสบการณต์ รง/ดว้ ยวธิ กี ารทห่ี ลากหลาย
- เรียนร้จู ากแหล่งเรียนรูท้ ห่ี ลากหลาย ใน/นอกห้องเรยี น
- การมีปฏสิ มั พันธก์ บั บคุ คลและส่งิ แวดล้อม
- การมสี ่วนร่วมของชมุ ชน

การประเมนิ ผลตามสภาพจริง

โครงสรา้ งแผนการรจัดประสบการณ์ (กจิ กรรมประจาวนั ) ระดบั ปฐมวัย

ลาดบั ท่ี กจิ กรรมประจาวนั อนบุ าลปีท่ี 1 อนุบาลปที ี่ 2 อนุบาลปีที่ 3
ชวั่ โมง : วัน ชวั่ โมง : วัน ชัว่ โมง : วัน
1 การเคลอื่ นไหวและจังหวะ
2 กิจกรรมสรา้ งสรรค์ 20 นาที 20 นาที 20 นาที
3 30 นาที 30 นาที 40 นาที
4 กจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ์ 20 นาที 20 นาที 30 นาที
5 กิจกรรมเสรี 50 นาที 50 นาที 50 นาที
6 40 นาที 40 นาที 40 นาที
7 กิจกรรมกลางแจง้ 20 นาที 20 นาที 30 นาที
เกมการศกึ ษา
ทักษะพ้นื ฐานใน 2 ชม. 2 ชม. 1.30 ชม.
ชีวิตประจาวัน
5 ชม. /วัน 5 ชม. /วนั 5 ชม. /วัน
(การช่วยเหลือตนเองในการ 1,000 ชม./ปี 1,000 ชม./ปี 1,000 ชม./ปี
รับประทานอาหาร
ดมื่ นม สุขอนามัย และ
การนอนพกั ผ่อน)

รวม

โครงสรา้ งหลกั สตู รโรงเรียนลาซาล ระดบั ประถมศกึ ษา (ป.1 - ป.6) ปีการศกึ ษา 2563

รายวชิ า / กิจกรรม ป.1 เวลาเรยี น (ชวั่ โมง/ป)ี
(920) ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6
รายวชิ าพื้นฐาน 200 (920) (920) (920) (920) (920)
ภาษาไทย 200 200 200 160 160 160
คณติ ศาสตร์ 80 200 200 160 160 160
วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 160 80 80 80 80 80
ภาษาอังกฤษ 80 160 160 160 160 160
สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 40 80 80 80 80 80
ประวตั ศิ าสตร์ 80 40 40 40 40 40
สุขศึกษาและพลศึกษา 40 80 80 80 80 80
ศลิ ปะ 40 40 40 80 80 80
การงานอาชีพ (40) 40 40 80 80 80
รายวชิ า / กจิ กรรมเพ่มิ เติม 40 (40) (40) (40) (40) (40)
ภาษาอังกฤษเพม่ิ เติม 40 40 40 40 40
960
รวมเวลาเรยี นรายวิชาพนื้ ฐาน 960 960 960 960 960
และรายวิชาเพ่ิมเตมิ (120)
40 (120) (120) (120) (120) (120)
กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน 40 40 40 40 40
- กิจกรรมแนะแนว 30
- กิจกรรมนักเรียน 40 30 30 30 30 30
กจิ กรรมลูกเสือ – เนตรนารี 40 40 40 40 40
กิจกรรมชมุ นมุ /ชมรม 10
- กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและ 10 10 10 10 10
1,080
สาธารณประโยชน์ 1,080 1,080 1,080 1,080 1,080

รวมเวลาเรยี นท้งั สนิ้

โครงสรา้ งหลักสตู รโรงเรยี นลาซาล ระดับประถมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศึกษา 2563

รหัสวิชา กล่มุ สาระการเรียนรู้ จานวน จานวน
ช่วั โมง/ปี ชั่วโมง/สัปดาห์
รายวิชาพน้ื ฐาน ( 920 )
( 23 )
ท11101 ภาษาไทย 1 200 5
ค11101 คณิตศาสตร์ 1 200 5
ว11101 วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 1 80 2
ส11101 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 1 80 2
ส11102 ประวัติศาสตร์ 1 40 1
พ11101 สุขศกึ ษา และพลศึกษา 1 80 2
ศ11101 ศลิ ปะ 1 40 1
ง11101 การงานอาชพี 1 40 1
อ11101 ภาษาองั กฤษ 1 160 4
( 40 ) (1)
รายวิชาเพ่มิ เตมิ 40 1
960 24
อ11201 ภาษาองั กฤษเพิ่มเตมิ 1 ( 120 ) (3)
40 1
รวมเวลาเรียนรายวิชาพ้นื ฐานและรายวิชาเพม่ิ เตมิ
30 1
กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน 40 1
1. กิจกรรมแนะแนว 10 -
2. กจิ กรรมนกั เรยี น
2.1 ลูกเสือ - เนตรนารี 1,080 27
2.2 ชุมนุม / ชมรม
3. กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์

รวมเวลาเรยี นตลอดปี

โครงสรา้ งหลักสตู รโรงเรียนลาซาล ระดับประถมศกึ ษาปีท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563

รหัสวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้ จานวน จานวน
ชั่วโมง/ปี ชว่ั โมง/สัปดาห์
รายวิชาพ้ืนฐาน ( 920 )
( 23 )
ท12101 ภาษาไทย 2 200 5
ค12101 คณติ ศาสตร์ 2 200 5
ว12101 วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 2 80 2
ส12101 สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม 2 80 2
ส12102 ประวัตศิ าสตร์ 2 40 1
พ12101 สขุ ศกึ ษา และพลศึกษา 2 80 2
ศ12101 ศลิ ปะ 2 40 1
ง12101 การงานอาชพี 2 40 1
อ12101 ภาษาองั กฤษ 2 160 4
( 40 ) (1)
รายวิชาเพ่มิ เติม 40 1
960 24
อ 12201 ภาษาองั กฤษเพ่ิมเตมิ 2 ( 120 ) (3)
40 1
รวมเวลาเรยี นรายวิชาพ้ืนฐานและรายวิชาเพม่ิ เติม
30 1
กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน 40 1
1. กิจกรรมแนะแนว 10 -
2. กิจกรรมนักเรยี น
2.1 ลูกเสือ - เนตรนารี 1,080 27
2.2 ชมุ นุม / ชมรม
3. กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์

รวมเวลาเรยี นตลอดปี

โครงสรา้ งหลักสตู รโรงเรยี นลาซาล ระดับประถมศึกษาปที ี่ 3 ปกี ารศกึ ษา 2563

รหัสวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้ จานวน จานวน
ชั่วโมง/ปี ชว่ั โมง/สปั ดาห์
รายวิชาพน้ื ฐาน ( 920 )
( 23 )
ท13101 ภาษาไทย 3 200 5
ค13101 คณติ ศาสตร์ 3 200 5
ว13101 วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 3 80 2
ส13101 สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม 3 80 2
ส13102 ประวตั ิศาสตร์ 3 40 1
พ13101 สุขศกึ ษา และพลศกึ ษา 3 80 2
ศ13101 ศลิ ปะ 3 40 1
ง13101 การงานอาชีพ 3 40 1
อ13101 ภาษาองั กฤษ 3 160 4
( 40 ) (1)
รายวิชาเพ่มิ เตมิ 40 1
960 24
อ13201 ภาษาอังกฤษเพ่มิ เตมิ 3 ( 120 ) (3)
40 1
รวมเวลาเรียนรายวชิ าพ้ืนฐานและรายวิชาเพมิ่ เติม
30 1
กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน 40 1
1. กิจกรรมแนะแนว 10 -
2. กจิ กรรมนกั เรยี น
2.1 ลูกเสอื - เนตรนารี 1,080 27
2.2 ชุมนุม / ชมรม
3. กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์

รวมเวลาเรยี นตลอดปี

โครงสรา้ งหลักสูตรโรงเรียนลาซาล ระดับประถมศกึ ษาปที ่ี 4 ปีการศกึ ษา 2563

รหัสวชิ า กลมุ่ สาระการเรียนรู้ จานวน จานวน
ชว่ั โมง/ปี ชว่ั โมง/สัปดาห์
รายวชิ าพน้ื ฐาน
( 920 ) ( 23)
ท14101 ภาษาไทย 4
ค14101 คณติ ศาสตร์ 4 160 4
ว14101 วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 4 160 4
ส14101 สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม 4 80 2
ส14102 ประวัติศาสตร์ 4 80 2
พ14101 สุขศกึ ษา และพลศกึ ษา 4 40 1
ศ14101 ศลิ ปะ 4 80 2
ง14101 การงานอาชีพ 4 80 2
อ14101 ภาษาองั กฤษ 4 80 2
160 4
รายวิชาเพม่ิ เตมิ
( 40 ) (1)
อ14201 ภาษาอังกฤษเพิ่มเตมิ 4
40 1
รวมเวลาเรยี นรายวชิ าพื้นฐานและรายวชิ าเพ่ิมเติม
960 24
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
1. กจิ กรรมแนะแนว ( 120 ) (3)
2. กจิ กรรมนักเรยี น 40 1
2.1 ลกู เสือ - เนตรนารี
2.2 ชุมนุม / ชมรม 30 1
3. กจิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ 40 1
10 -
รวมเวลาเรยี นตลอดปี
1,080 27

โครงสรา้ งหลักสตู รโรงเรียนลาซาล ระดับประถมศกึ ษาปีที่ 5 ปกี ารศกึ ษา 2563

รหัสวชิ า กลุ่มสาระการเรียนรู้ จานวน จานวน
ช่ัวโมง/ปี ชว่ั โมง/สัปดาห์
รายวชิ าพน้ื ฐาน ( 920 )
( 23 )
ท15101 ภาษาไทย 5 160 4
ค15101 คณติ ศาสตร์ 5 160 4
ว15101 วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 5 80 2
ส15101 สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม 5 80 2
ส15102 ประวตั ิศาสตร์ 5 40 1
พ15101 สุขศกึ ษา และพลศกึ ษา 5 80 2
ศ15101 ศลิ ปะ 5 80 2
ง15101 การงานอาชีพ 5 80 2
อ15101 ภาษาอังกฤษ 5 160 4
( 40 ) (1)
รายวิชาเพม่ิ เตมิ 40 1
960 24
อ15201 ภาษาองั กฤษเพิม่ เติม 5 ( 120 ) (3)
40 1
รวมเวลาเรยี นรายวชิ าพืน้ ฐานและรายวชิ าเพม่ิ เตมิ
30 1
กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น 40 1
1. กจิ กรรมแนะแนว 10 -
2. กจิ กรรมนักเรียน
2.1 ลกู เสอื - เนตรนารี 1,080 27
2.2 ชุมนมุ / ชมรม
3. กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์

รวมเวลาเรียนตลอดปี

โครงสรา้ งหลักสูตรโรงเรียนลาซาล ระดับประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ปีการศกึ ษา 2563

รหัสวชิ า กลมุ่ สาระการเรียนรู้ จานวน จานวน
ชว่ั โมง/ปี ชว่ั โมง/สปั ดาห์
รายวชิ าพน้ื ฐาน
( 920 ) ( 23 )
ท16101 ภาษาไทย 6
ค16101 คณติ ศาสตร์ 6 160 4
ว16101 วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 6 160 4
ส16101 สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม 6 80 2
ส16102 ประวัตศิ าสตร์ 6 80 2
พ16101 สุขศกึ ษา และพลศกึ ษา 6 40 1
ศ16101 ศลิ ปะ 6 80 2
ง16101 การงานอาชีพ 6 80 2
อ16101 ภาษาองั กฤษ 6 80 2
160 4
รายวิชาเพม่ิ เตมิ
( 40 ) (1)
อ16201 ภาษาอังกฤษเพิ่มเตมิ 6
40 1
รวมเวลาเรยี นรายวชิ าพนื้ ฐานและรายวชิ าเพ่ิมเติม
960 24
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
1. กจิ กรรมแนะแนว ( 120 ) (3)
2. กจิ กรรมนักเรยี น 40 1
2.1 ลกู เสือ - เนตรนารี
2.2 ชุมนุม / ชมรม 30 1
3. กจิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ 40 1
10 -
รวมเวลาเรยี นตลอดปี
1,080 27

โครงสรา้ งหลกั สูตรโรงเรยี นลาซาล ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ (ม.1 - ม.3) ปีการศกึ ษา 2563

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ จานวนน้าหนกั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 มัธยมศึกษาปีท่ี 2 มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 รวมพื้นฐาน
พ้นื ฐาน เพม่ิ เติม พืน้ ฐาน เพ่ิมเตมิ พ้ืนฐาน เพ่ิมเติม พน้ื ฐาน เพมิ่ เตมิ และเพิ่มเตมิ

ภาษาไทย 9.0 - 3.0 - 3.0 - 3.0 - 9.0

คณิตศาสตร์ 9.0 3.0 3.0 1.0 3.0 1.0 3.0 1.0 12.0

วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 9.0 6.0 3.0 2.0 3.0 2.0 3.0 2.0 15.0

สังคมศกึ ษา ฯ 9.0 - 3.0 - 3.0 - 3.0 - 9.0

ประวัติศาสตร์ 3.0 - 1.0 - 1.0 - 1.0 - 3.0

สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 6.0 - 2.0 - 2.0 - 2.0 - 6.0

ศลิ ปะ 6.0 - 2.0 - 2.0 - 2.0 - 6.0

การงานอาชพี 6.0 - 2.0 - 2.0 - 2.0 - 6.0

ภาษาต่างประเทศ 9.0 6.0 3.0 2.0 3.0 2.0 3.0 2.0 15.0

รวม 66.0 15.0 22.0 5.0 22.0 5.0 22.0 5.0 81.0

หมายเหตุ กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น (60 ชวั่ โมง/ภาคเรยี นที่ 1)
- กจิ กรรมแนะแนว
20 ชว่ั โมง/ภาคเรียน
- กิจกรรมนกั เรยี น
กิจกรรมลกู เสอื -เนตรนารี 20 ช่วั โมง/ภาคเรยี น
กจิ กรรมชมุ นุม/ชมรม 15 ชว่ั โมง/ภาคเรียน
5 ช่วั โมง/ภาคเรยี น
- กิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์

กิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน (60 ชั่วโมง/ภาคเรยี นที่ 2) 20 ชว่ั โมง/ภาคเรียน
- กจิ กรรมแนะแนว
15 ชว่ั โมง/ภาคเรยี น
- กิจกรรมนกั เรียน 15 ชั่วโมง/ภาคเรียน
กิจกรรมลกู เสือ-เนตรนารี 10 ชั่วโมง/ภาคเรยี น
กิจกรรมชมุ นมุ /ชมรม

- กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์

โครงสร้างหลกั สูตรโรงเรียนลาซาล ระดับมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 ปีการศกึ ษา 2563

รหัสวชิ า ภาคเรียนท่ี 1 รหัสวิชา ภาคเรียนท่ี 2

รายวิชา/กจิ กรรม รายวิชา/กิจกรรม
ห ่นวย ิกต
/ชม.)/ชม.)
เวลาเรียน
ห ่นวย ิกต
/ชม.)/ชม.)
เวลาเ ีรยน
รายวชิ าพน้ื ฐาน รายวิชาพ้นื ฐาน
1.5 60
ท21101 ภาษาไทย 1 1.5 60 ท21102 ภาษาไทย 2 1.5 60
ค21101 คณติ ศาสตร์ 1 1.5 60 ค21102 คณติ ศาสตร์ 2 1.5 60
ว21101 วทิ ยาศาสตร์ 1 1.5 60 ว21102 วิทยาศาสตร์ 2 1.5 60
ส21101 สงั คมศึกษาฯ 1 1.5 60 ส21103 สงั คมศึกษาฯ 2 0.5 20
ส21102 ประวัตศิ าสตร์ 1 0.5 20 ส21104 ประวัติศาสตร์ 2 0.5 20
พ21101 สขุ ศึกษา 1 0.5 20 พ21103 สขุ ศกึ ษา 2 0.5 20
พ21102 กรฑี า 0.5 20 พ21104 ปงิ ปอง 1.0 40
ศ21101 ศิลปะ 1 1.0 40 ศ21102 ศลิ ปะ 2 1.0 40
ง21101 การงานอาชพี 1 1.0 40 ง21102 การงานอาชพี 2 1.5 60
อ21101 ภาษาอังกฤษ 1 1.5 60 อ21102 ภาษาองั กฤษ 2

รวมเวลาเรยี นวิชาพน้ื ฐาน 11.0 440 รวมเวลาเรียนวิชาพ้ืนฐาน 11.0 440

รายวิชาเพมิ่ เตมิ รายวิชาเพิม่ เตมิ

ค21203 คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 1 0.5 20 ค21204 คณิตศาสตรเ์ พมิ่ เตมิ 2 0.5 20

ว21203 โครงงานวทิ ยาศาสตรก์ ับการแกป้ ญั หา 1.0 40 ว21204 ความหลากหลายของสงิ่ มชี ีวติ 1.0 40

อ21201 ภาษาอังกฤษเพิ่มเตมิ 1 1.0 40 อ21202 ภาษาอังกฤษเพิ่มเตมิ 2 1.0 40

รวมเวลาเรียนวิชาเพิม่ เติม 2.5 100 รวมเวลาเรียนวชิ าเพมิ่ เตมิ 2.5 100

กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น 60 กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น 60
1. กิจกรรมแนะแนว 20 1. กจิ กรรมแนะแนว 20
2. กจิ กรรมนกั เรยี น
2. กจิ กรรมนกั เรียน 15
2.1 ลกู เสือ - เนตรนารี 20 2.1 ลกู เสือ - เนตรนารี 15
2.2 ชุมนุม / ชมรม 15 2.2 ชุมนมุ / ชมรม

3. กจิ กรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์ 5 3. กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ 10

รวมเวลาเรียนภาคเรยี นท่ี 1 13.5 600 รวมเวลาเรียนภาคเรยี นท่ี 2 13.5 600

รวมเวลาเรียนตลอดปี 27.0 1,200

โครงสรา้ งหลักสตู รโรงเรยี นลาซาล ระดับมัธยมศึกษาปที ่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563

รหัสวิชา ภาคเรยี นที่ 1 รหสั วชิ า ภาคเรียนที่ 2

รายวิชา/กิจกรรม รายวชิ า/กิจกรรม
ห ่นวย ิกต
เวลาเรียน
ห ่นวย ิกต
เวลาเรียน
วชิ าพื้นฐาน วิชาพื้นฐาน
1.5 60
ท22101 ภาษาไทย 3 1.5 60 ท22102 ภาษาไทย 4 1.5 60
ค22101 คณิตศาสตร์ 3 1.5 60 ค22102 คณิตศาสตร์ 4 1.5 60
ว22101 วิทยาศาสตร์ 3 1.5 60 ว22102 วทิ ยาศาสตร์ 4 1.5 60
ส22101 สังคมศึกษา 3 1.5 60 ส22103 สังคมศึกษา 4 0.5 20
ส22102 ประวัตศิ าสตร์ 3 0.5 20 ส22104 ประวตั ศิ าสตร์ 4 0.5 20
พ22101 สขุ ศกึ ษา 3 0.5 20 พ22103 สขุ ศึกษา 4 0.5 20
พ22102 ฟตุ บอล 0.5 20 พ22104 ตะกรอ้ 1.0 40
ศ22101 ศลิ ปะ 3 1.0 40 ศ22102 ศลิ ปะ 4 1.0 40
ง22101 การงานอาชพี 3 1.0 40 ง22102 การงานอาชีพ 4 1.5 60
อ22101 ภาษาองั กฤษ 3 1.5 60 อ22102 ภาษาอังกฤษ 4

รวมเวลาเรยี นวชิ าพ้นื ฐาน 11.0 440 รวมเวลาเรียนวชิ าพื้นฐาน 11.0 440

วชิ าเพมิ่ เติม วชิ าเพ่ิมเติม 20
40
ค22203 คณติ ศาสตร์เพม่ิ เตมิ 3 0.5 20 ค22204 คณติ ศาสตร์เพิ่มเติม 4 0.5 40

ว22203 วิทยาศาสตรเ์ พื่อคุณภาพชีวิต 1.0 40 ว22204 พลังงานกบั สงิ่ แวดล้อม 1.0 100
60
อ22201 ภาษาอังกฤษเพม่ิ เตมิ 3 1.0 40 อ22202 ภาษาอังกฤษเพม่ิ เติม 4 1.0 20

รวมเวลาเรียนวชิ าเพม่ิ เติม 2.5 100 รวมเวลาเรยี นวชิ าเพม่ิ เติม 2.5 15
15
กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น 60 กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น 10

1. กจิ กรรมแนะแนว 20 1. กิจกรรมแนะแนว

2. กิจกรรมนกั เรยี น 2. กิจกรรมนกั เรยี น

2.1 ลูกเสือ - เนตรนารี 20 2.1 ลกู เสือ - เนตรนารี

2.2 ชุมนมุ / ชมรม 15 2.2 ชุมนมุ / ชมรม

3. กจิ กรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน์ 5 3. กิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์

รวมเวลาเรียนภาคเรยี นที่ 1 13.5 600 รวมเวลาเรียนภาคเรยี นที่ 2 13.5 600

รวมเวลาเรียนตลอดปี 27.0 1,200

โครงสรา้ งหลักสตู รโรงเรยี นลาซาล ระดบั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ปกี ารศึกษา 2563

รหสั วชิ า ภาคเรยี นที่ 1 รหัสวชิ า ภาคเรียนที่ 2

รายวิชา/กจิ กรรม รายวิชา/กิจกรรม
หน่วย ิกต
/ชม.)/ชม.)

เวลาเรียน

หน่วย ิกต
/ชม.)/ชม.)

เวลาเรียน
วชิ าพ้นื ฐาน วิชาพน้ื ฐาน
1.5 60
ท23101 ภาษาไทย 5 1.5 60 ท23102 ภาษาไทย 6 1.5 60
ค23101 คณติ ศาสตร์ 5 1.5 60 ค23102 คณิตศาสตร์ 6 1.5 60
ว23101 วิทยาศาสตร์ 5 1.5 60 ว23102 วทิ ยาศาสตร์ 6 1.5 60
ส23101 สงั คมศึกษา 5 1.5 60 ส23103 สังคมศกึ ษา 6 0.5 20
ส23102 ประวตั ศิ าสตร์ 5 0.5 20 ส23104 ประวตั ศิ าสตร์ 6 0.5 20
พ23101 สขุ ศกึ ษา 5 0.5 20 พ23103 สขุ ศึกษา 6 0.5 20
พ23102 วอลเลยบ์ อล 0.5 20 พ23104 บาสเกตบอล 1.0 40
ศ23101 ศิลปะ 5 1.0 40 ศ23102 ศิลปะ 6 1.0 40
ง23101 การงานอาชีพ 5 1.0 40 ง23102 การงานอาชีพ 6 1.5 60
อ23101 ภาษาองั กฤษ 5 1.5 60 อ23102 ภาษาองั กฤษ 6

รวมเวลาเรียนวชิ าพน้ื ฐาน 11.0 440 รวมเวลาเรียนวชิ าพนื้ ฐาน 11.0 440

วชิ าเพม่ิ เติม วิชาเพิม่ เตมิ

ค23203 คณติ ศาสตรเ์ พิม่ เตมิ 5 0.5 20 ค23204 คณิตศาสตร์เพิม่ เติม 6 0.5 20

ว23203 ไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนิกส์ 1.0 40 ว23204 พลงั งานและเครอ่ื งกล 1.0 40

อ23201 ภาษาอังกฤษเพิม่ เติม 5 1.0 40 อ23202 ภาษาองั กฤษเพิม่ เติม 6 1.0 40

รวมเวลาเรยี นวิชาเพิม่ เติม 2.5 100 รวมเวลาเรยี นวิชาเพิ่มเติม 2.5 100
60
กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน 60 กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน 20
1. กิจกรรมแนะแนว 20 1. กจิ กรรมแนะแนว
2. กจิ กรรมนกั เรยี น 15
2. กิจกรรมนกั เรยี น 15
2.1 ลกู เสอื - เนตรนารี 20 2.1 ลูกเสือ - เนตรนารี
2.2 ชุมนุม / ชมรม 15 2.2 ชมุ นุม / ชมรม

3. กิจกรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน์ 5 3. กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ 10

รวมเวลาเรยี นภาคเรยี นท่ี 1 13.5 600 รวมเวลาเรยี นภาคเรียนท่ี 2 13.5 600

รวมเวลาเรยี นตลอดปี 27.0 1,200

โครงสร้างหลักสตู รโรงเรียนลาซาล ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ม.4 - ม.6) ปีการศึกษา 2563
แผนการเรียน วิทยาศาสตร์ - คณติ ศาสตร์

กลุ่มสาระการ จานวนน้าหนกั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 รวมพน้ื ฐาน
พ้ืนฐาน เพม่ิ เตมิ พ้ืนฐาน เพ่ิมเตมิ พ้ืนฐาน เพ่มิ เตมิ และเพ่มิ เติม
เรียนรู้ พน้ื ฐาน เพมิ่ เติม
2.0 - 2.0 - 2.0 - 6.0
ภาษาไทย 6.0 - 2.0 4.0 2.0 4.0 2.0 4.0 18.0
3.0 8.5 3.0 9.5 - 11.5 35.5
คณติ ศาสตร์ 6.0 12.0
2.5 0.5 3.0 - 2.5 1.5 10.0
วทิ ยาศาสตร์ และ 6.0 29.5 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 6.0
1.5 - 1.0 - 0.5 - 3.0
เทคโนโลยี 1.0 - 1.0 - 1.0 - 3.0
2.0 3.0 2.0 2.5 2.0 3.0 14.5
สงั คมศกึ ษาฯ 8.0 2.0 15.0 17.0 15.0 17.0 11.0 21.0 96.0

สขุ ศกึ ษาฯ 3.0 3.0

ศิลปะ 3.0 -

การงานอาชีพ 3.0 -

ภาษาต่างประเทศ 6.0 8.5

รวม 41.0 55.0

หมายเหตุ กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน (60 ชั่วโมง/ภาคเรยี น)

- กิจกรรมแนะแนว 20 ช่ัวโมง/ภาคเรยี น
- กจิ กรรมนกั เรยี น
10 ชวั่ โมง/ภาคเรียน
กจิ กรรม นศท./บาเพ็ญประโยชน์ 20 ชั่วโมง/ภาคเรียน
10 ชั่วโมง/ภาคเรียน
กิจกรรมชมุ นุม/ชมรม
- กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์

โครงสรา้ งหลักสูตรโรงเรียนลาซาล ระดับมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 ปกี ารศึกษา 2563
แผนการเรียน วทิ ยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์

รหัสวิชา ภาคเรียนท่ี 1 รหสั วชิ า ภาคเรียนท่ี 2
รายวิชา/กิจกรรม รายวชิ า/กจิ กรรม
หน่วย ิกต
วชิ าพน้ื ฐาน เวลาเรียน
หน่วย ิกต
เวลาเรียน
วชิ าพ้ืนฐาน

ท31101 ภาษาไทยพ้ืนฐาน 1 1.0 40 ท31102 ภาษาไทยพื้นฐาน 2 1.0 40

ค31101 คณติ ศาสตรพ์ ืน้ ฐาน 1 1.0 40 ค31102 คณิตศาสตรพ์ น้ื ฐาน 2 1.0 40

ว30101 วิทยาศาสตรพ์ ้ืนฐาน 1 1.5 60 ว30102 วิทยาศาสตรพ์ น้ื ฐาน 2 1.5 60

ส31101 สงั คมศกึ ษาพนื้ ฐาน 1 1.0 40 ส31103 สังคมศกึ ษาพน้ื ฐาน 2 1.0 40

ส31102 ประวัตศิ าสตร์ 1 0.5 20 พ31102 สขุ ศึกษา 2 0.5 20

พ31101 สุขศึกษา 1 0.5 20 ศ31102 ศลิ ปะพ้ืนฐาน 2 0.5 20

ศ31101 ศิลปะพื้นฐาน 1 1.0 40 ง31102 การงานอาชพี พื้นฐาน2 0.5 20

ง31101 การงานอาชพี พนื้ ฐาน1 0.5 20 อ31102 ภาษาองั กฤษพื้นฐาน 2 1.0 40

อ31101 ภาษาองั กฤษพืน้ ฐาน 1 1.0 40

รวมเวลาเรยี นวิชาพื้นฐาน 8.0 320 รวมเวลาเรยี นวิชาพืน้ ฐาน 7.0 280

วชิ าเพ่ิมเติม วชิ าเพิ่มเติม

ค31201 เสรมิ ทกั ษะคณติ ศาสตร์ 1 2.0 80 ค31202 เสรมิ ทกั ษะคณิตศาสตร์ 2 2.0 80

ว31201 ฟิสกิ ส์ 1 1.5 60 ว31202 ฟิสิกส์ 2 2.0 80

ว31221 เคมี 1 1.5 60 ว31222 เคมี 2 1.5 60

ว31241 ชีววทิ ยา 1 1.0 40 ว31242 ชีววิทยา 2 1.0 40

พ31201 วอลเลยบ์ อล 1 0.5 20 ส31202 ศาสนาสากล 0.5 20

อ31201 ภาษาองั กฤษกับไวยากรณ์ 1 1.5 60 พ31202 วอลเลยบ์ อล 2 0.5 20

อ31204 ภาษาอังกฤษกับไวยากรณ์ 3 1.5 60

รวมเวลาเรียนวชิ าเพิ่มเตมิ 8.0 320 รวมเวลาเรยี นวิชาเพิ่มเตมิ 9.0 360

กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น 60 กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น 60

1. กจิ กรรมแนะแนว 20 1. กจิ กรรมแนะแนว 20

2. กิจกรรมนกั เรียน 2. กิจกรรมนกั เรียน

2.1 นศท./บาเพ็ญประโยชน์ 10 2.1 นศท./บาเพ็ญประโยชน์ 10

2.2 ชุมนมุ /ชมรม 20 2.2 ชุมนมุ /ชมรม 20

3. กจิ กรรมเพื่อสงั คมและ 3. กิจกรรมเพ่อื สงั คมและ

สาธารณประโยชน์ 10 สาธารณประโยชน์ 10

รวมเวลาเรยี นภาคเรยี นท่ี 1 16.0 700 รวมเวลาเรียนภาคเรียนท่ี 2 16.0 700

รวมเวลาเรยี นตลอดปี 32.0 1,400

โครงสร้างหลักสตู รโรงเรียนลาซาล ระดบั มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 ปีการศกึ ษา 2563
แผนการเรียน วทิ ยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์

รหสั วชิ า ภาคเรยี นท่ี 1 รหัสวิชา ภาคเรียนท่ี 2
รายวิชา/กจิ กรรม รายวิชา/กิจกรรม
หน่วย ิกต
วิชาพ้นื ฐาน เวลาเรียน
หน่วย ิกต
ท32101 ภาษาไทยพนื้ ฐาน 3 เวลาเรียน
ค32101 คณิตศาสตร์พื้นฐาน 3 วชิ าพ้ืนฐาน
ว30103 วทิ ยาศาสตรพ์ ้ืนฐาน 3 1.0 1.0 40
ส32101 สังคมศกึ ษาพืน้ ฐาน 3 1.0 40 ท32102 ภาษาไทยพื้นฐาน 4 1.0 40
ส32102 ประวตั ิศาสตร์ 2 1.5 40 ค32102 คณติ ศาสตร์พนื้ ฐาน 4 1.5 60
พ32101 สขุ ศึกษา 3 1.0 60 ว30104 วทิ ยาศาสตร์พืน้ ฐาน 4 1.0 40
ศ32101 ศิลปะพน้ื ฐาน 3 0.5 40 ส32103 สังคมศกึ ษาพืน้ ฐาน 4 0.5 20
ง32101 การงานอาชีพพน้ื ฐาน 3 0.5 20 ส32104 ประวตั ศิ าสตร์ 3 0.5 20
อ32101 ภาษาองั กฤษพืน้ ฐาน 3 0.5 20 พ32102 สุขศึกษา 4 0.5 20
0.5 20 ศ32102 ศลิ ปะพืน้ ฐาน 4 0.5 20
รวมเวลาเรียนวิชาพื้นฐาน 1.0 20 ง32102 การงานอาชพี พ้นื ฐาน 4 1.0 40
7.5 40 อ32102 ภาษาอังกฤษพ้ืนฐาน 4 7.5 300
วชิ าเพม่ิ เติม
2.0 300 รวมเวลาเรยี นวชิ าพ้นื ฐาน 2.0 80
ค32201 เสริมทกั ษะคณติ ศาสตร์ 4 1.5 2.0 80
1.5 วิชาเพิ่มเติม 1.5 60
ว32203 ฟสิ ิกส์ 3 1.5 1.5 60
ว32223 เคมี 3 0.5 80 ค32203 เสรมิ ทักษะคณติ ศาสตร์ 6 0.5 20
ว32243 ชวี วทิ ยา 3 1.5 1.0 40
พ32201 แบดมินตัน 1 60 ว32204 ฟิสิกส์ 4
อ32201 ภาษาองั กฤษกับไวยากรณ์ 5 60 ว32224 เคมี 4
60 ว32244 ชวี วทิ ยา 4
20 พ32202 แบดมินตนั 2
60 อ32204 ภาษาอังกฤษกบั ไวยากรณ์ 7

รวมเวลาเรียนวิชาเพิม่ เตมิ 8.5 340 รวมเวลาเรยี นวิชาเพิม่ เตมิ 8.5 340

กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น 60 กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น 60

1. กิจกรรมแนะแนว 20 1. กจิ กรรมแนะแนว 20

2. กิจกรรมนกั เรยี น 2. กจิ กรรมนกั เรียน

2.1 นศท./บาเพญ็ ประโยชน์ 10 2.1 นศท./บาเพญ็ ประโยชน์ 10

2.2 ชุมนุม/ชมรม 20 2.2 ชมุ นมุ /ชมรม 20

3. กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและ 3. กจิ กรรมเพื่อสังคมและ

สาธารณประโยชน์ 10 สาธารณประโยชน์ 10

รวมเวลาเรียนภาคเรียนท่ี 1 16.0 700 รวมเวลาเรยี นภาคเรยี นท่ี 2 16.0 700

รวมเวลาเรียนตลอดปี 32.0 1,400

โครงสร้างหลกั สตู รโรงเรยี นลาซาล ระดับมธั ยมศึกษาปที ่ี 6 ปกี ารศกึ ษา 2563
แผนการเรียน วิทยาศาสตร์ – คณติ ศาสตร์

รหัสวชิ า ภาคเรียนท่ี 1 รหสั วิชา ภาคเรียนที่ 2
รายวิชา/กจิ กรรม รายวชิ า/กจิ กรรม
หน่วย ิกต
เวลาเรียน
หน่วย ิกต
เวลาเรียน
วชิ าพืน้ ฐาน วิชาพน้ื ฐาน

ท33101 ภาษาไทยพื้นฐาน 5 1.0 40 ท33102 ภาษาไทยพ้นื ฐาน 6 1.0 40

ค33101 คณิตศาสตร์พืน้ ฐาน 5 1.0 40 ค33102 คณติ ศาสตร์พืน้ ฐาน 6 1.0 40

ส33101 สงั คมศึกษาพื้นฐาน 5 1.0 40 ส33103 สงั คมศึกษาพน้ื ฐาน 6 1.0 40

ส33102 ประวตั ศิ าสตร์ 4 0.5 20 พ33102 สขุ ศกึ ษา 6 0.5 20

พ33101 สุขศกึ ษา 5 0.5 20 ง33102 การงานอาชีพพ้ืนฐาน 6 0.5 20

ศ33101 ศิลปะพ้ืนฐาน 5 0.5 20 อ33102 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 6 1.0 40

ง33101 การงานอาชีพพนื้ ฐาน 5 0.5 20

อ33101 ภาษาองั กฤษพืน้ ฐาน 5 1.0 40

รวมเวลาเรียนวิชาพน้ื ฐาน 6.0 240 รวมเวลาเรียนวชิ าพื้นฐาน 5.0 200

วิชาเพิ่มเติม วิชาเพ่มิ เตมิ

ค33201 เสริมทักษะคณติ ศาสตร์ 8 2.0 80 ค33203 เสรมิ ทกั ษะคณิตศาสตร์ 10 2.0 80

ว33205 ฟิสกิ ส์ 5 2.0 80 ว33206 ฟสิ กิ ส์ 6 2.0 80

ว33225 เคมี 5 2.0 80 ว33226 เคมี 6 2.0 80

ว33245 ชวี วทิ ยา 5 1.5 60 ว33246 ชวี วทิ ยา 6 2.0 80

ส33201 ศาสนาและจรยิ ธรรม 0.5 20 ส33203 ประชากรกบั สิ่งแวดล้อม 1.0 40

พ33201 กจิ กรรมเข้าจงั หวะ 1 0.5 20 พ33202 กิจกรรมเข้าจังหวะ 2 0.5 20

อ33201 ภาษาอังกฤษกับไวยากรณ์ 9 1.5 60 อ33204 ภาษาอังกฤษกบั ไวยากรณ์ 11 1.5 60

รวมเวลาเรยี นวชิ าเพิม่ เตมิ 10.0 400 รวมเวลาเรยี นวิชาเพิ่มเตมิ 11.0 440

กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน 60 กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน 60

1. กิจกรรมแนะแนว 20 1. กิจกรรมแนะแนว 20

2. กจิ กรรมนกั เรียน 2. กจิ กรรมนกั เรยี น

2.1 นศท./บาเพ็ญประโยชน์ 10 2.1 นศท./บาเพ็ญประโยชน์ 10

2.2 ชุมนุม/ชมรม 20 2.2 ชมุ นมุ /ชมรม 20

3. กจิ กรรมเพ่อื สงั คมและ 3. กิจกรรมเพ่อื สังคมและ

สาธารณประโยชน์ 10 สาธารณประโยชน์ 10

รวมเวลาเรียนภาคเรียนที่ 1 16.0 700 รวมเวลาเรยี นภาคเรียนที่ 2 16.0 700

รวมเวลาเรยี นตลอดปี 32.0 1,400


Click to View FlipBook Version