The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการใช้สื่อการสอน-ฐานทัพ ชุ่มจันทร์-ภาษาไทย-ดัดดรุณี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Cowrie Flute, 2024-02-02 03:30:44

รายงานการใช้สื่อการสอน-ฐานทัพ ชุ่มจันทร์-ภาษาไทย-ดัดดรุณี

รายงานการใช้สื่อการสอน-ฐานทัพ ชุ่มจันทร์-ภาษาไทย-ดัดดรุณี

รายงานการใช้สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยี เพื่อการเรียนการสอน โรงเรียนดัดดรุณีประจำปีการศึกษา ๒๕๖๖ ของ ว่าที่ร้อยตรีฐานทัพ ชุ่มจันทร์ ครูผู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนดัดดรุณี อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาฉะเชิงเทรา


ก คำนำ รายงานการใช้สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยี เพื่อการเรียนการสอน โรงเรียนดัดดรุณีประเภทสื่อเทคโนโลยี เรื่อง ระบบ Line Official Account ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็นสื่อการสอน รายวิชา ท๒๒๑๐๒ ภาษาไทย ๔ หน่วยการเรียนรู้เรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ เป็น เครื่องมือในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้พัฒนาทักษะทางภาษาไทย เสริมสร้างประสบการณ์การจัดการเรียนการสอน และพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนให้สูงขึ้น หน่วยการเรียนรู้เรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ มีการจัดการเรียนการสอน จำนวน ๑๑ เรื่อง รวม ๑๕ ชั่วโมง ดังต่อไปนี้ ๑) ความเป็นมาและประวัติผู้แต่งศิลาจารึกหลักที่ ๑ จำนวน ๑ ชั่วโมง ๒) สรุปเนื้อหาและคำศัพท์ศิลาจารึกหลักที่ ๑ จำนวน ๒ ชั่วโมง ๓) อธิบายคุณค่าศิลาจารึกหลักที่ ๑ จำนวน ๒ ชั่วโมง ๔) สรุปความรู้และข้อคิดศิลาจารึกหลักที่ ๑ จำนวน ๒ ชั่วโมง ๕) วิเคราะห์วิจารณ์ศิลาจารึกหลักที่ ๑ จำนวน ๒ ชั่วโมง ๖) การอ่านออกเสียงศิลาจารึกหลักที่ ๑ จำนวน ๑ ชั่วโมง ๗) ถอดคำประพันธ์ศิลาจารึกหลักที่ ๑ จำนวน ๑ ชั่วโมง ๘) หลักการคัดลายมือ จำนวน ๑ ชั่วโมง ๙) รูปแบบตัวอักษร จำนวน ๑ ชั่วโมง ๑๐) การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด (การคัดพยัญชนะ สระ และตัวเลข) จำนวน ๑ ชั่วโมง ๑๑) การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด (การคัดข้อความ) จำนวน ๑ ชั่วโมง ผู้รายงานหวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานใช้สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยี เพื่อการเรียนการสอน เล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน และเป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอน ของครูและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องพอสมควร ฐานทัพ ชุ่มจันทร์


ข สารบัญ เรื่อง หน้า คำนำ ก สารบัญ ข รายงานการใช้สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยี เพื่อการเรียนการสอน ๑ กรอบแนวคิดการสร้างและพัฒนาสื่อ ๑ วัตถุประสงค์การใช้สื่อ ๒ ผลที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน/ประโยชน์ที่ได้รับ ๒ ภาคผนวก ๓ แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ความเป็นมาและประวัติผู้แต่งศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๔ แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง สรุปเนื้อหาและคำศัพท์ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑๕ แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง อธิบายคุณค่าศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๒๙ แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง สรุปความรู้และข้อคิดศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๔๔ แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง วิเคราะห์วิจารณ์ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๕๙ แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง การอ่านออกเสียงศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๗๔ แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ถอดคำประพันธ์ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๘๘ แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง หลักการคัดลายมือ ๑๐๓ แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง รูปแบบตัวอักษร ๑๑๖ แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด (คัดพยัญชนะ สระ และตัวเลข) ๑๒๙ แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด (คัดข้อความ) ๑๔๓ ความพึงพอใจที่มีต่อระบบ Line Official Account ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๑๕๘ ภาพประกอบรายงานการใช้สื่อ ๑๖๐


รายงานการใช้สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยี เพื่อการเรียนการสอน โรงเรียนดัดดรุณี ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๖ ชื่อ - ชื่อสกุล ว่าที่ร้อยตรีฐานทัพ ชุ่มจันทร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชื่อผลงาน ระบบ Line Official Account ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ใช้ประกอบรายวิชา ภาษาไทย ระดับขั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๒ กรอบแนวคิดการสร้างและพัฒนาสื่อ ด้วยสื่อเทคโนโลยีเป็นสิ่งที่เข้ามามีบทบาทสำคัญสำหรับการจัดการเรียนการสอนของครูในยุคปัจจุบัน และยังมีส่วนช่วยกระตุ้นผู้เรียนให้เกิดความสนใจในการเรียนรู้ได้เป็นอย่างดี ทำให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ ได้อย่างรวดเร็ว มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้น โดยสื่อเทคโนโลยีที่ครูผู้สอนใช้มีอยู่หลากหลายรูปแบบ ตามบริบทของผู้เรียน เช่น บทเรียนสำเร็จรูป, ชุดการสอน, ระบบจัดการบทเรียน (LMS), หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book), คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ฯลฯ ทั้งนี้การเรียนรู้ของผู้เรียนในปัจจุบัน ครูผู้สอนต้องส่งเสริมให้ผู้เรียน เรียนรู้ด้วยตนเอง เรียนรู้ได้ตลอดเวลา ไม่ได้จำกัดเฉพาะเวลาในชั้นเรียนเท่านั้น และผู้เรียนต้องรู้จักวางแผน ปฏิบัติ และประเมินผลความก้าวหน้าของการเรียนด้วยตนเองเพื่อให้เกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ดังนั้นครูผู้สอนจึงจำเป็นต้องส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยการผลิตสื่อเทคโนโลยีที่สามารถเข้าไป เรียนรู้และทบทวนเนื้อหาบทเรียนด้วยตนเองได้ตลอดเวลา และยังสามารถทราบถึงพัฒนาการและจุดบกพร่อง ทางการเรียนรู้เพื่อการแก้ไขปัญหาการเรียนของตนเองต่อไป อีกทั้งการจัดการเรียนการสอนต้องเน้นผู้เรียน เป็นสำคัญ โดยครูผู้สอนต้องมีกิจกรรมการเรียนการสอนที่ใช้สื่อเทคโนโลยีมาประกอบเพื่ออำนวยความสะดวก ในการเรียนรู้ของผู้เรียน ได้แก่ สื่อเทคโนโลยีประกอบการเรียนการสอน, สัญญาณอินเทอร์เน็ต และอุปกรณ์ ประกอบการเรียนทั้งโทรศัพท์มือถือ, ไอแพด, แท็บเล็ต และคอมพิวเตอร์ เมื่อครูผู้สอนมีการใช้สื่อเทคโนโลยี มาประกอบการเรียนการสอนแล้วจะทำให้ผู้เรียนเกิดทักษะที่มีประโยชน์ในการใช้ชีวิตทั้งเนื้อหาในบทเรียน ของผู้สอนและทักษะเทคโนโลยีอีกด้วย จากความสำคัญข้างต้น ครูผู้สอนจึงจัดทำระบบ Line Official Account ให้นักเรียนสามารถติดต่อผู้สอน ได้ทั้งในและนอกเวลาเรียน อีกทั้งยังมีเมนูจำนวน ๔ เมนู ได้แก่ ๑) เมนูเข้าสู่เว็บไซต์รายวิชาเพื่อศึกษาและทบทวน เอกสารประกอบการเรียน ๒) เมนูศึกษาวิธีการใช้งานระบบ Line Official Account ๓) เมนูเช็กชื่อเข้าชั้นเรียน และ ๔) เมนูตรวจสอบการส่งงานและคะแนนเก็บรายวิชา โดยระบบ Line Official Account ข้างต้น จะเป็นสื่อ เทคโนโลยีส่วนหนึ่งที่ใช้ประกอบการจัดการเรียนการสอนรายวิชา ท๒๒๑๐๒ ภาษาไทย ๔ หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ 1


วัตถุประสงค์การใช้สื่อ ๑. เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้ ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๒. พัฒนาสื่อการเรียนการสอน ผลที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน/ประโยชน์ที่ได้รับ ๑. ผู้เรียนสามารถศึกษาค้นคว้าความรู้ทบทวนเนื้อหา และเข้าทำแบบทดสอบของหน่วยการเรียนรู้ ศิลา จารึกหลักที่ ๑ จากระบบ Line Official Account ๒. ผู้เรียนสามารถตรวจสอบเพื่อทราบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความก้าวหน้าในการทำกิจกรรม ๓. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหน่วยการเรียนรู้ ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ของผู้เรียนสูงขึ้น ๔. ลดการใช้กระดาษในชั้นเรียน ช่วยให้ประหยัดเวลาในการทำกิจกรรมการเรียนการสอน ๕. นักเรียนมีความพึงพอใจในระบบ Line Official Account ศิลาจารึกหลักที่ ๑ โดยรวมในระดับมาก ลงชื่อ ........................................................ ผู้รายงาน (ว่าที่ร้อยตรีฐานทัพ ชุ่มจันทร์) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 2


ภาคผนวก แผนการจัดการเรียนรู้ ความพึงพอใจที่มีต่อระบบ Line Official Account ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ภาพประกอบรายงานการใช้สื่อ 3


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๒๑๐๒ รายวิชา ภาษาไทย ๔ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๑ ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ชื่อหน่วย สำรวจหลักศิลา ศึกษาลายสือไทย เรื่อง ความเป็นมาและประวัติผู้แต่งศิลาจารึกหลักที่ ๑ ผู้สอน ว่าที่ร้อยตรี ฐานทัพ ชุ่มจันทร์ ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหา ในการดำเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ม.๒/๒ จับใจความสำคัญ สรุปความ และอธิบายรายละเอียดจากเรื่องที่อ่าน ๒. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๒.๑ บอกความเป็นมาและประวัติผู้แต่งศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๒.๒ เขียนจับใจความสำคัญความเป็นมาและประวัติผู้แต่งศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๒.๓ แสดงความสนใจและให้ความร่วมมือกับกิจกรรมการเรียนการสอน เรื่อง ความเป็นมาและประวัติ ผู้แต่งศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๓. สาระสําคัญ การอ่านจับใจความสำคัญ สรุปความและอธิบายรายละเอียดจากเรื่องที่อ่าน เป็นการอ่านเพื่อแปลความ ตีความ ขยายความตามเรื่องที่อ่าน จับใจความในประเด็นต่าง ๆ เกี่ยวกับจุดมุ่งหมายของเรื่อง การลำดับเหตุการณ์ เรียบเรียงประเด็นสำคัญจากเรื่องที่อ่าน และสรุปความจากเรื่องศิลาจารึกหลักที่ ๑ นำข้อคิดที่ได้ไปใช้ในการดำเนินชีวิต ๔. สาระการเรียนรู้ การอ่านจับใจความจากสื่อต่าง ๆ เช่น วรรณคดีในบทเรียน ๕. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการคิด ๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๖.๑ ใฝ่เรียนรู้ ๖.๒ มุ่งมั่นในการทํางาน ๖.๓ รักความเป็นไทย 4


๗. จุดเน้นสู่การพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ คุณลักษณะผู้เรียนโรงเรียนมาตรฐานสากล ๗.๑ สื่อสาร ๒ ภาษา ๓.๒ ล้ำหน้าทางความคิด ทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ (๓R ๘C) ๗.๓ ทักษะการอ่าน ๗.๔ เขียนได้ ๗.๕ มีทักษะในการคิดวิเคราะห์การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และแก้ไขปัญหาได้ ทักษะชีวิตและอาชีพ ๗.๖ ความยืดหยุ่นและการปรับตัว ๗.๗ การริเริ่มและนำพาตนเอง ๘. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๑. นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน ครูสนทนากับนักเรียนเรื่อง “พ่อขุนรามคำแหง ว่าพระองค์ ทรงมีบทบาทสำคัญอย่างไรต่อประวัติศาสตร์ไทย” โดยนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น ๒. นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด แนวคำถาม “นักเรียนคิดว่าการศึกษาเรื่องศิลาจารึกควรค้นคว้าจากตำราเรียนรายวิชาใดมากที่สุดเพราะเหตุใด” ขั้นสอน ๓. นักเรียนศึกษาความรู้เรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ จากหนังสือเรียน ตามประเด็นที่ครูกำหนด ดังนี้ ๑) ความเป็นมาและประวัติผู้แต่ง ๒) ลักษณะคําประพันธ์และเรื่องย่อ โดยนักเรียนเข้าระบบ Line Official Account “THAI LINK” เพื่อศึกษาความรู้ประกอบ การทำใบงานได้ ๔. นักเรียนทำใบงานเรื่อง ความเป็นมาและประวัติผู้แต่งเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ เสร็จแล้วตรวจสอบ ความเรียบร้อย ๕. นักเรียนผลัดกันตรวจใบงาน โดยครูเฉลยคําตอบในใบงาน ๖. นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด แนวคำถาม “นักเรียนคิดว่าถ้าไม่มีการค้นพบศิลาจารึกหลักที่ ๑ จะมีผลอย่างไรต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ ไทยและภาษาไทย” ขั้นสรุป ๗. นักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง ความเป็นมาและประวัติผู้แต่งเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ เพื่อทำความเข้าใจให้ตรงกัน ๙. ภาระงาน / ชิ้นงาน ใบงานเรื่อง ความเป็นมาและประวัติผู้แต่งเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ 5


๑๐. การวัดและประเมินผล ๑๐.๑ การประเมินตามจุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ ภาระ/ชิ้นงาน วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การให้ คะแนน เกณฑ์การผ่าน ๑. บอกความเป็นมา และประวัติผู้แต่ง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ศึกษาความเป็นมา และประวัติผู้แต่ง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ประเมิน การเข้าร่วม กิจกรรม ในชั้นเรียน แบบประเมิน ตามสภาพจริง แบบประเมิน ตามสภาพจริง ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๒. เขียนจับใจความ สำคัญความเป็นมา และประวัติผู้แต่ง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ จับใจความสำคัญ ความเป็นมา และประวัติผู้แต่ง ประเมินใบงาน เรื่อง ความเป็นมา และประวัติผู้แต่ง ใบงานเรื่อง ความเป็นมา และประวัติผู้แต่ง ใบงานเรื่อง ความเป็นมา และประวัติผู้แต่ง ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๘๐ ๓. แสดงความสนใจ และให้ความร่วมมือ กับกิจกรรมการเรียน การสอนเรื่อง ความเป็นมาและประวัติ ผู้แต่งศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. ศึกษา ความเป็นมา และประวัติผู้แต่ง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๒. จับใจความ สำคัญความเป็นมา และประวัติผู้แต่ง ประเมิน การเข้าร่วม กิจกรรม ในชั้นเรียน แบบประเมิน ตามสภาพจริง แบบประเมิน ตามสภาพจริง ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๑๐.๒ การประเมินสมรรถนะสำคัญ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และทักษะศตวรรษที่ ๒๑ (๓R ๘C) จุดประสงค์การเรียนรู้ ภาระ/ชิ้นงาน วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การให้ คะแนน เกณฑ์การผ่าน สมรรถนะสำคัญ ความสามารถในการคิด ๑. ศึกษา ความเป็นมา และประวัติผู้แต่ง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๒. จับใจความ สำคัญความเป็นมา และประวัติผู้แต่ง ประเมินสมรรถนะ สำคัญ แบบประเมิน สมรรถนะสำคัญ แบบประเมิน สมรรถนะสำคัญ ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ คุณลักษณะผู้เรียน มาตรฐานสากล ๑. สื่อสาร ๒ ภาษา ๒. ล้ำหน้าทางความคิด ๑. ศึกษาความ เป็นมาและประวัติ ผู้แต่งศิลาจารึก หลักที่ ๑ ๒. จับใจความ สำคัญความเป็นมา และประวัติผู้แต่ง ๑. ประเมิน การเข้าร่วม กิจกรรม ในชั้นเรียน ๒. ประเมินใบงาน เรื่อง ความเป็นมา และประวัติผู้แต่ง ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. ใบงาน เรื่อง ความเป็นมา และประวัติผู้แต่ง ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. ใบงาน เรื่อง ความเป็นมา และประวัติผู้แต่ง ๑. ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๒. ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๘๐ คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ๑. ใฝ่เรียนรู้ ๒. มุ่งมั่นในการทำงาน ๓. รักความเป็นไทย ๑. ศึกษา ความเป็นมา และประวัติผู้แต่ง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๒. จับใจความสำคัญ ความเป็นมาและ ประวัติผู้แต่ง ประเมิน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ แบบประเมิน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ แบบประเมิน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ 6


จุดประสงค์การเรียนรู้ ภาระ/ชิ้นงาน วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การให้ คะแนน เกณฑ์การผ่าน ทักษะศตวรรษที่ ๒๑ ๑. อ่านออก ๒. เขียนได้ ๓. มีทักษะ ในการวิเคราะห์การคิด อย่างมีวิจารณญาณ และแก้ไขปัญหาได้ ๑. ศึกษา ความเป็นมา และประวัติผู้แต่ง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๒. จับใจความสำคัญ ความเป็นมาและ ประวัติผู้แต่ง ๑. ประเมิน การเข้าร่วม กิจกรรม ในชั้นเรียน ๒. ประเมินใบงาน เรื่อง ความเป็นมา และประวัติผู้แต่ง ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. ใบงานเรื่อง ความเป็นมา และประวัติผู้แต่ง ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. ใบงานเรื่อง ความเป็นมา และประวัติผู้แต่ง ๑. ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๒. ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๘๐ ทักษะชีวิตและอาชีพ ๑. ความยืดหยุ่น และการปรับตัว ๒. การริเริ่ม และนำพาตนเอง ๑. ศึกษา ความเป็นมา และประวัติผู้แต่ง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๒. จับใจความสำคัญ ความเป็นมาและ ประวัติผู้แต่ง ๑. ประเมิน การเข้าร่วม กิจกรรม ในชั้นเรียน ๒. ประเมินใบงาน เรื่อง ความเป็นมา และประวัติผู้แต่ง ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. ใบงานเรื่อง ความเป็นมา และประวัติผู้แต่ง ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. ใบงานเรื่อง ความเป็นมา และประวัติผู้แต่ง ๑. ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๒. ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๘๐ ๑๑. สื่อการเรียนรู้ ๑๑.๑ ใบงานเรื่อง ความเป็นมาและประวัติผู้แต่งเรื่อง ศิลาจารึกหลักทื่ ๑ ๑๑.๒ ใบความรู้เรื่อง ความเป็นมาและประวัติผู้แต่งเรื่อง ศิลาจารึกหลักทื่ ๑ ๑๑.๓ ระบบ Line Official Account “THAI LINK” https://liff.line.me/1645278921-kWRPP32q/?accountId=158vjmol ๑๒. แหล่งเรียนรู้ หนังสือวรรณคดีวิจักษ์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ 7


บันทึกผลหลังการสอน สรุปผลหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้/ผลการเรียนรู้/ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... นักเรียนทั้งหมดจำนวน ……………….. คน (ทุกคนที่สอน) จุดประสงค์การเรียนรู้ข้อที่ จำนวนนักเรียนที่ผ่าน จำนวนนักเรียนที่ไม่ผ่าน จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ 1 2 3 4 ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข/ข้อเสนอแนะ/ข้อสังเกตอื่น ๆ ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ .......................................................................... ครูผู้สอน (.............................................................................) .............../.............../............... บันทึกข้อคิดเห็นเพิ่มเติม ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ .......................................................................... ครูพี่เลี้ยง (.............................................................................) .............../.............../............... บันทึกข้อคิดเห็นเพิ่มเติม ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ .......................................................................... ผู้นิเทศ (.............................................................................) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หรือผู้ช่วยผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ .............../.............../............... 8


แบบประเมินการเข้าร่วมกิจกรรมในชั้นเรียนตามสภาพจริง (การประเมินทักษะในศตวรรษที่ ๒๑) คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วประเมินด้วยการทำเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องระดับคะแนน ประเด็นการประเมิน /ระดับคะแนน ลำดับที่-ชื่อ-สกุล นักเรียน ๑. ความรู้ ความเข้าใจใน เนื้อหา ๒. กระบวนการ คิดวิเคราะห์ ประเมินค่า ๓. การแสดง ความคิดเห็น ๔. ความมี น้ำใจกับเพื่อน ร่วมงาน ๕. ความ รับผิดชอบต่อ หน้าที่ที่ได้รับ มอบหมาย รวม ๒๐ คะแนน ระดับ คุณภาพ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ลงชื่อ .......................................................................... ผู้ประเมิน (.............................................................................) .............../.............../............... เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค (Scoring Rubric) การเข้าร่วมกิจกรรมในชั้นเรียนตามสภาพจริง ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ ความรู้ความเข้าใจในเนื้อหา ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ กระบวนการคิดวิเคราะห์ ประเมินค่า ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ การแสดงความคิดเห็น ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ ความมีน้ำใจกับเพื่อน ร่วมงาน ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๕ ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ ได้รับมอบหมาย ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๗-๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๓-๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙-๑๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕-๘ หมายถึง ปรับปรุง 9


แบบประเมินสมรรถนะสำคัญ ชื่อ-นามสกุล นักเรียน ................................................................................................... ชั้น ม.๒/.......... เลขที่ ............ คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วประเมินด้วยการทำเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องระดับคะแนน สมรรถนะสำคัญ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๑ ๒ ๓ ๔ ความสามารถ ในการคิด ๑. มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์สังเคราะห์ ๒. มีทักษะในการคิดนอกกรอบอย่างสร้างสรรค์ ๓. สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ ๔. มีความสามารถในการคิดอย่างมีระบบ ๕. ตัดสินใจแก้ปัญหาเกี่ยวกับตนเองได้ รวม ระดับคุณภาพ ลงชื่อ .......................................................................... ผู้ประเมิน (.............................................................................) .............../.............../............... เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค (Scoring Rubric) สมรรถนะสำคัญ ความสามารถในการคิด ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ มีความสามารถในการคิด วิเคราะห์สังเคราะห์ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ มีทักษะในการคิดนอกกรอบ อย่างสร้างสรรค์ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ สามารถคิดอย่างมี วิจารณญาณ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ มีความสามารถในการคิด อย่างมีระบบ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๕ ตัดสินใจแก้ปัญหาเกี่ยวกับ ตนเองได้ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๗-๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๓-๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙-๑๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕-๘ หมายถึง ปรับปรุง 10


แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ชื่อ-นามสกุล นักเรียน ................................................................................................... ชั้น ม.๒/.......... เลขที่ ............ คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วประเมินด้วยการทำเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๑ ๒ ๓ ๔ รักความเป็นไทย ๑. ใช้ภาษาไทยและเลขไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ๒. ชักชวน แนะนำให้ผู้อื่นเห็นคุณค่าของการใช้ภาษาไทยที่ถูกต้อง ๓. นำภูมิปัญญาไทยมาใช้ให้เหมาะสมในวิถีชีวิต ๔. ร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาไทย ๕. แนะนำ มีส่วนร่วมในการสืบทอดภูมิปัญญาไทย รวม ระดับคุณภาพ ใฝ่เรียนรู้ ๑. ตั้งใจเรียน ๒. เอาใจใส่และมีความเพียรพยายามในการเรียนรู้ ๓. สนใจเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ๔. ศึกษาค้นคว้าหาความรู้จากหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยีต่าง ๆ ๕. บันทึกความรู้ วิเคราะห์ ตรวจสอบจากสิ่งที่เรียนรู้สรุปเป็นองค์ความรู้ รวม ระดับคุณภาพ มุ่งมั่นในการทำงาน ๑. เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ๒. ตั้งใจและรับผิดชอบในการทำงานให้สำเร็จ ๓. ปรับปรุงและพัฒนาการทำงานด้วยตนเอง ๔. ทุ่มเทงาน อดทน ไม่ย่อท้อต่อปัญหาและอุปสรรคในการทำงาน ๕. พยายามในการแก้ปัญหาและอุปสรรคในการทำงานให้สำเร็จ รวม ระดับคุณภาพ ลงชื่อ .......................................................................... ผู้ประเมิน (.............................................................................) .............../.............../............... 11


เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค (Scoring Rubric) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ รักความเป็นไทย ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ ใช้ภาษาไทยและเลขไทยใน การสื่อสารได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ ชักชวน แนะนำให้ผู้อื่นเห็น คุณค่าของการใช้ภาษาไทยที่ ถูกต้อง ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ นำภูมิปัญญาไทยมาใช้ให้ เหมาะสมในวิถีชีวิต ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ ร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ ภูมิปัญญาไทย ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๕ แนะนำ มีส่วนร่วมในการสืบ ทอดภูมิปัญญาไทย ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๗-๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๓-๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙-๑๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕-๘ หมายถึง ปรับปรุง คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ ตั้งใจเรียน ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ เอาใจใส่และมีความเพียร พยายามในการเรียนรู้ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ สนใจเข้าร่วมกิจกรรมการ เรียนรู้ต่าง ๆ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ ศึกษาค้นคว้าหาความรู้จาก หนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อ เทคโนโลย่ต่าง ๆ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๕ บันทึกความรู้ วิเคราะห์ ตรวจสอบจากสิ่งที่เรียนรู้ สรุปเป็นองค์ความรู้ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๗-๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๓-๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙-๑๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕-๘ หมายถึง ปรับปรุง 12


คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มุ่งมั่นในการทำงาน ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ ตั้งใจและรับผิดชอบในการ ทำงานให้สำเร็จ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ ปรับปรุงและพัฒนาการ ทำงานด้วยตนเอง ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ ทุ่มเทงาน อดทน ไม่ย่อท้อ ต่อปัญหาและอุปสรรคใน การทำงาน ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๕ พยายามในการแก้ปัญหา และอุปสรรคในการทำงาน ให้สำเร็จ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๗-๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๓-๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙-๑๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕-๘ หมายถึง ปรับปรุง 13


ใบงาน เรื่อง ความเป็นมาและประวัติผู้แต่งเรื่อง ศิลาจารึกหลักทื่ ๑ คำชี้แจง ให้นักเรียนเติมคำตอบลงในส่วนเว้นว่าง ลักษณะสำคัญของลายสือไทย สรุปได้ดังนี้ ๑. พยัญชนะและสระที่ใช้เขียนอยู่ในบรรทัดเดียวกัน ๒. สระทุกตัวเขียนสูงเท่ากับพยัญชนะ ๓. สระวางไว้หน้าพยัญชนะ ยกเว้น สระ ........................ และ สระอะ ( ะ ) วางไว้หลังพยัญชนะ ๔. มีวรรณยุกต์ใช้จำนวน ............ รูป คือไม้เอก ( ………. ) และไม้............... ( + ) ๕. สระ ออ ไม่ใช้ อ เคียง เช่น พ่อ เขียน พ่ ๖. สระ อือ ไม่ใช้ ........... เคียง เช่น สือ เขียน สื, ชื่อ เขียน ชื่ ๗. สระ อุ สระ อู ใช้สับสนกัน ๘. สระ เอีย ใช้ตัว ย สองตัวแทน เช่น เมีย เขียน มยย ถ้ามีตัวสะกด ใช้ ย ตัวเดียวแทน เช่น เดียว เขียน ดยว ๙. สระ อัว ใช้ตัว .......... สองตัวแทน เช่น ตัว เขียน ตวว , หัว เขียน หวว ๑๐. ไม้หันอากาศ ( ……….. ) ไม่มีใช้ แต่จะใช้ตัวสะกด ๒ ตัวแทน เช่น ขับ เขียน ขบบ , กัด เขียน กดด ๑๑. สระ เอือ ใช้ตัว ........... สองตัวเคียง เช่น เฝือ เขียน เฝืออ , เพื่อน เขียน เพื่ออน ๑๒. สระ เออะ ไม่มีใช้ ใช้สระ เอือ แทน เช่น เงิน เขียน เงือน ๑๓. สระ อึ ไม่มีใช้ ใช้สระ ........... แทน เช่น จึง เขียน จือ , ขึ้น เขียน ขื๋น ๑๔. ตัว ฟ ไม่มีใช้ ใช้ตัว ฝ แทน เช่น ไพร่ฟ้า เขียน ไพร่ฝ๋า ๑๕. นฤคหิต ( ........... ) ใช้แทนตัว ม สะกด เช่น ทั้งกลม เขียน ทงงกลํ ๑๖. เขียนฉีกคำได้ คำ ๆ เดียวเขียนคนละบรรทัดได้ เช่น เผือ เขียน เผือ-อ ๑๗. ไม่มีเครื่องหมายวรรคตอน ใช้เขียนติดต่อกันตลอด คำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนชื่อและนามสกุลของนักเรียนเป็นภาษาแบบเดียวกับในศิลาจารึก (เต็มบรรทัด) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ ๑. ศิลาจารึกหลักที่ ๑ มีลักษณะอย่างไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. ตัวอักษรที่ใช้จารึกเป็นอักษรไทย พ่อขุนรามคำแหงทรงประดิษฐ์ขึ้นจากอักษรใด …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓. ศิลาจารึกหลักที่ ๑ มีลักษณะคำประพันธ์รูปแบบใด …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๔. ใจความสำคัญของศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงหลักที่ ๑ ด้านที่ ๑ นี้มีว่าอย่างไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….................. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….................. 14


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๒๑๐๒ รายวิชา ภาษาไทย ๔ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๒ ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ชื่อหน่วย สำรวจหลักศิลา ศึกษาลายสือไทย เรื่อง สรุปเนื้อหาและคำศัพท์ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ผู้สอน ว่าที่ร้อยตรี ฐานทัพ ชุ่มจันทร์ ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่า และนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ ตัวชี้วัด ท ๕.๑ ม.๒/๑ สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่านในระดับที่ยากขึ้น ๒. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๒.๑ อธิบายเนื้อหาศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๒.๒ เขียนสรุปเนื้อหาและอธิบายความหมายของคำศัพท์ต่าง ๆ ๒.๓ แสดงความสนใจและให้ความร่วมมือกับกิจกรรมการเรียนการสอน เรื่อง สรุปเนื้อหาและคำศัพท์ ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๓. สาระสําคัญ การอ่านศิลาจารึกหลักที่ ๑ จะต้องศึกษาความเป็นมาและประวัติผู้แต่ง รวมทั้งการจับใจความสำคัญ สรุปความ และอธิบายรายละเอียดจากเรื่องที่อ่าน ๔. สาระการเรียนรู้ การสรุปเนื้อหาและความหมายของคำศัพท์ต่าง ๆ จากวรรณคดีศิลาจารึกหลักที่ ๑ ในบทเรียน ๕. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร ๕.๒ ความสามารถในการคิด ๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๖.๑ ใฝ่เรียนรู้ ๖.๒ มุ่งมั่นในการทํางาน ๖.๓ รักความเป็นไทย 15


๗. จุดเน้นสู่การพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ คุณลักษณะผู้เรียนโรงเรียนมาตรฐานสากล ๗.๑ สื่อสาร ๒ ภาษา ๓.๒ ล้ำหน้าทางความคิด ทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ (๓R ๘C) ๗.๓ ทักษะการอ่าน ๗.๔ เขียนได้ ๗.๕ มีทักษะในการคิดวิเคราะห์การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และแก้ไขปัญหาได้ ทักษะชีวิตและอาชีพ ๗.๖ ความยืดหยุ่นและการปรับตัว ๗.๗ การริเริ่มและนำพาตนเอง ๘. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ ๑ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๑. นักเรียนฟังเพลง ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว ที่ครูเปิดให้จากนั้นนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับเนื้อหาของเพลง ๒. นักเรียนฟังครูอธิบายว่าเพลง ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว เป็นเพลงราชสดุดีเฉลิมพระเกียรติ พ่อขุนรามคำแหงมหาราช เนื้อหาที่นำมาเขียนเพลงมาจากศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๓. นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด แนวคำถาม “เพลง ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว สะท้อนภาพกรุงสุโขทัยอย่างไร” ขั้นสอน ๔. นักเรียนศึกษาจารึกและคำอ่านศิลาจารึกหลักที่ ๑ จากหนังสือเรียนหรือระบบ Line Official Account “THAI LINK” แล้วสำรวจคำศัพท์ที่นักเรียนไม่รู้ความหมายลงในใบงาน เรื่อง สรุปเนื้อหาและคำศัพท์ เรื่องศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๕. นักเรียนจับคู่ โดยแต่ละคู่ผลัดกันถามตอบ คนหนึ่งทายคำศัพท์และอีกคนหนึ่งตอบความหมาย เพื่อช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง ขั้นสรุป ๖. นักเรียนแต่ละคนกลับไปเขียนคำศัพท์ ความหมาย และตัวอย่างคำศัพท์ในประโยค ลงในกระดาษรายงานให้เรียนร้อย เพื่อนำเสนอครั้งต่อไป ชั่วโมงที่ ๒ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๑. นักเรียนและครูร่วมกันทบทวนเนื้อหาและภาระงานครั้งที่แล้ว ขั้นสอน ๒. นักเรียนนำเสนอแต่ละกลุ่มผลงานหน้าชั้นเรียน ครูประเมินการนำเสนอและสังเกตพฤติกรรม ของนักเรียนในการปฏิบัติงาน ๓. นักเรียนช่วยกันแสดงความคิดเห็นและให้ข้อเสนอแนะหลังการนำเสนองาน 16


๔. นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด แนวคำถาม “นักเรียนพบว่าเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ มีตัวละครหรือบุคคลสำคัญเป็นใครบ้าง มีลักษณะอย่างไร” ขั้นสรุป ๕. นักเรียนร่วมกันสรุปการปฏิบัติกิจกรรมและความรู้ที่ได้จากเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ เพื่อทำความเข้าใจให้ตรงกัน ๙. ภาระงาน / ชิ้นงาน ๙.๑ ใบงาน เรื่อง สรุปเนื้อหาและคำศัพท์เรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑๐. การวัดและประเมินผล ๑๐.๑ การประเมินตามจุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ ภาระ/ชิ้นงาน วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การให้ คะแนน เกณฑ์การผ่าน ๑. อธิบายศิลาจารึก หลักที่ ๑ ศึกษาเนื้อหา ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ประเมิน การเข้าร่วม กิจกรรม ในชั้นเรียน แบบประเมิน ตามสภาพจริง แบบประเมิน ตามสภาพจริง ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๒. เขียนสรุปเนื้อหา และอธิบายความหมาย ของคำศัพท์ ศิลาจารึก หลักที่ ๑ ใบงาน เรื่อง สรุปเนื้อหา และคำศัพท์ ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ประเมินใบงาน เรื่อง สรุปเนื้อหา และคำศัพท์ ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ใบงาน เรื่อง สรุปเนื้อหา และคำศัพท์ ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ใบงาน เรื่อง สรุปเนื้อหา และคำศัพท์ ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๘๐ ๓. แสดงความสนใจ และให้ความร่วมมือ กับกิจกรรมการเรียน การสอนเรื่อง สรุปเนื้อหาและคำศัพท์ ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. ศึกษาเนื้อหา ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๒. ใบงานเรื่อง สรุปเนื้อหา และคำศัพท์เรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ประเมิน การเข้าร่วม กิจกรรม ในชั้นเรียน แบบประเมิน ตามสภาพจริง แบบประเมิน ตามสภาพจริง ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ 17


๑๐.๒ การประเมินสมรรถนะสำคัญ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และทักษะศตวรรษที่ ๒๑ (๓R ๘C) จุดประสงค์การเรียนรู้ ภาระ/ชิ้นงาน วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การให้ คะแนน เกณฑ์การผ่าน สมรรถนะสำคัญ ๑.ความสามารถ ในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด ๑. ศึกษาเนื้อหา จารึกหลักที่ ๑ ๒. ใบงานเรื่อง สรุปเนื้อหา และคำศัพท์เรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ประเมินสมรรถนะ สำคัญ แบบประเมิน สมรรถนะสำคัญ แบบประเมิน สมรรถนะสำคัญ ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ คุณลักษณะผู้เรียน มาตรฐานสากล ๑. สื่อสาร ๒ ภาษา ๒. ล้ำหน้าทางความคิด ๑. ศึกษาเนื้อหา จารึกหลักที่ ๑ ๒. ใบงาน เรื่อง สรุปเนื้อหา และคำศัพท์เรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. ประเมิน การเข้าร่วม กิจกรรม ในชั้นเรียน ๒. ประเมินใบงาน เรื่อง สรุปเนื้อหา และคำศัพท์เรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. ใบงาน เรื่อง สรุปเนื้อหา และคำศัพท์ เรื่อง ศิลาจารึก หลักที่ ๑ ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. ใบงาน เรื่อง สรุปเนื้อหา และคำศัพท์ เรื่อง ศิลาจารึก หลักที่ ๑ ๑. ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๒. ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๘๐ คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ๑. ใฝ่เรียนรู้ ๒. มุ่งมั่นในการทำงาน ๓. รักความเป็นไทย ๑. ศึกษาเนื้อหา จารึกหลักที่ ๑ ๒. ใบงานเรื่อง สรุปเนื้อหา และคำศัพท์เรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ประเมิน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ แบบประเมิน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ แบบประเมิน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ทักษะศตวรรษที่ ๒๑ ๑. อ่านออก ๒. เขียนได้ ๓. มีทักษะในการ วิเคราะห์การคิด อย่างมีวิจารณญาณ และแก้ไขปัญหาได้ ๑. ศึกษาเนื้อหา จารึกหลักที่ ๑ ๒. ใบงาน เรื่อง สรุปเนื้อหา และคำศัพท์เรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. ประเมิน การเข้าร่วมกิจกรรม ในชั้นเรียน ๒. ประเมินใบงาน เรื่อง สรุปเนื้อหา และคำศัพท์เรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. ใบงาน เรื่อง สรุปเนื้อหา และคำศัพท์ เรื่อง ศิลาจารึก หลักที่ ๑ ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. ใบงาน เรื่อง สรุปเนื้อหา และคำศัพท์ เรื่อง ศิลาจารึก หลักที่ ๑ ๑. ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๒. ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๘๐ ทักษะชีวิตและอาชีพ ๑. ความยืดหยุ่น และการปรับตัว ๒. การริเริ่ม และนำพาตนเอง ๑. ศึกษาเนื้อหา จารึกหลักที่ ๑ ๒. ใบงาน เรื่อง สรุปเนื้อหา และคำศัพท์เรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. ประเมิน การเข้าร่วมกิจกรรม ในชั้นเรียน ๒. ประเมินใบงาน เรื่อง สรุปเนื้อหา และคำศัพท์เรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. ใบงาน เรื่อง สรุปเนื้อหา และคำศัพท์ เรื่อง ศิลาจารึก หลักที่ ๑ ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. ใบงาน เรื่อง สรุปเนื้อหา และคำศัพท์ เรื่อง ศิลาจารึก หลักที่ ๑ ๑. ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๒. ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๘๐ 18


๑๑. สื่อการเรียนรู้ ๑๑.๑ ใบงานเรื่อง สรุปเนื้อหาและคำศัพท์เรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑๑.๒ เพลง ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว ๑๑.๓ ระบบ Line Official Account “THAI LINK” https://liff.line.me/1645278921-kWRPP32q/?accountId=158vjmol ๑๒. แหล่งเรียนรู้ ๑๒.๑ หนังสือวรรณคดีวิจักษ์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๑๒.๒ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน 19


บันทึกผลหลังการสอน สรุปผลหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้/ผลการเรียนรู้/ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... นักเรียนทั้งหมดจำนวน ……………….. คน (ทุกคนที่สอน) จุดประสงค์การเรียนรู้ข้อที่ จำนวนนักเรียนที่ผ่าน จำนวนนักเรียนที่ไม่ผ่าน จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ 1 2 3 4 ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข/ข้อเสนอแนะ/ข้อสังเกตอื่น ๆ ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ .......................................................................... ครูผู้สอน (.............................................................................) .............../.............../............... บันทึกข้อคิดเห็นเพิ่มเติม ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ .......................................................................... ครูพี่เลี้ยง (.............................................................................) .............../.............../............... บันทึกข้อคิดเห็นเพิ่มเติม ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ .......................................................................... ผู้นิเทศ (.............................................................................) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หรือผู้ช่วยผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ .............../.............../............... 20


แบบประเมินการเข้าร่วมกิจกรรมในชั้นเรียนตามสภาพจริง (การประเมินทักษะในศตวรรษที่ ๒๑) คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วประเมินด้วยการทำเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องระดับคะแนน ประเด็นการประเมิน /ระดับคะแนน ลำดับที่-ชื่อ-สกุล นักเรียน ๑. ความรู้ ความเข้าใจใน เนื้อหา ๒. กระบวนการ คิดวิเคราะห์ ประเมินค่า ๓. การแสดง ความคิดเห็น ๔. ความมี น้ำใจกับเพื่อน ร่วมงาน ๕. ความ รับผิดชอบต่อ หน้าที่ที่ได้รับ มอบหมาย รวม ๒๐ คะแนน ระดับ คุณภาพ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ลงชื่อ .......................................................................... ผู้ประเมิน (.............................................................................) .............../.............../............... เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค (Scoring Rubric) การเข้าร่วมกิจกรรมในชั้นเรียนตามสภาพจริง ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ ความรู้ความเข้าใจในเนื้อหา ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ กระบวนการคิดวิเคราะห์ ประเมินค่า ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ การแสดงความคิดเห็น ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ ความมีน้ำใจกับเพื่อน ร่วมงาน ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๕ ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ ได้รับมอบหมาย ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๗-๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๓-๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙-๑๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕-๘ หมายถึง ปรับปรุง 21


แบบประเมินสมรรถนะสำคัญ ชื่อ-นามสกุล นักเรียน ................................................................................................... ชั้น ม.๒/.......... เลขที่ ............ คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วประเมินด้วยการทำเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องระดับคะแนน สมรรถนะสำคัญ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๑ ๒ ๓ ๔ ความสามารถ ในการสื่อสาร ๑. มีความสามารถในการรับส่งสาร ๒. มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ความคิดความเข้าใจของตนเองโดย ใช้ภาษาอย่างเหมาะสม ๓. ใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะสม ๔. วิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล รวม ระดับคุณภาพ ความสามารถ ในการคิด ๑. มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์สังเคราะห์ ๒. มีทักษะในการคิดนอกกรอบอย่างสร้างสรรค์ ๓. สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ ๔. มีความสามารถในการคิดอย่างมีระบบ ๕. ตัดสินใจแก้ปัญหาเกี่ยวกับตนเองได้ รวม ระดับคุณภาพ ลงชื่อ .......................................................................... ผู้ประเมิน (.............................................................................) .............../.............../............... 22


เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค (Scoring Rubric) สมรรถนะสำคัญ ความสามารถในการสื่อสาร ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ มีความสามารถในการรับส่ง สาร ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ มีความสามารถในการ ถ่ายทอดความรู้ความคิด ความเข้าใจของตนเองโดยใช้ ภาษาอย่างเหมาะสม ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ ใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะสม ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ วิเคราะห์ แสดงความคิดเห็น อย่างมีเหตุผล ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๔-๑๖ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๑-๑๓ หมายถึง ดี คะแนน ๘-๑๐ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๔-๗ หมายถึง ปรับปรุง สมรรถนะสำคัญ ความสามารถในการคิด ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ มีความสามารถในการคิด วิเคราะห์สังเคราะห์ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ มีทักษะในการคิดนอกกรอบ อย่างสร้างสรรค์ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ สามารถคิดอย่างมี วิจารณญาณ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ มีความสามารถในการคิด อย่างมีระบบ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๕ ตัดสินใจแก้ปัญหาเกี่ยวกับ ตนเองได้ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๗-๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๓-๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙-๑๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕-๘ หมายถึง ปรับปรุง 23


แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ชื่อ-นามสกุล นักเรียน ................................................................................................... ชั้น ม.๒/.......... เลขที่ ............ คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วประเมินด้วยการทำเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๑ ๒ ๓ ๔ รักความเป็นไทย ๑. ใช้ภาษาไทยและเลขไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ๒. ชักชวน แนะนำให้ผู้อื่นเห็นคุณค่าของการใช้ภาษาไทยที่ถูกต้อง ๓. นำภูมิปัญญาไทยมาใช้ให้เหมาะสมในวิถีชีวิต ๔. ร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาไทย ๕. แนะนำ มีส่วนร่วมในการสืบทอดภูมิปัญญาไทย รวม ระดับคุณภาพ ใฝ่เรียนรู้ ๑. ตั้งใจเรียน ๒. เอาใจใส่และมีความเพียรพยายามในการเรียนรู้ ๓. สนใจเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ๔. ศึกษาค้นคว้าหาความรู้จากหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยีต่าง ๆ ๕. บันทึกความรู้ วิเคราะห์ ตรวจสอบจากสิ่งที่เรียนรู้สรุปเป็นองค์ความรู้ รวม ระดับคุณภาพ มุ่งมั่นในการทำงาน ๑. เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ๒. ตั้งใจและรับผิดชอบในการทำงานให้สำเร็จ ๓. ปรับปรุงและพัฒนาการทำงานด้วยตนเอง ๔. ทุ่มเทงาน อดทน ไม่ย่อท้อต่อปัญหาและอุปสรรคในการทำงาน ๕. พยายามในการแก้ปัญหาและอุปสรรคในการทำงานให้สำเร็จ รวม ระดับคุณภาพ ลงชื่อ .......................................................................... ผู้ประเมิน (.............................................................................) .............../.............../............... 24


เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค (Scoring Rubric) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ รักความเป็นไทย ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ ใช้ภาษาไทยและเลขไทยใน การสื่อสารได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ ชักชวน แนะนำให้ผู้อื่นเห็น คุณค่าของการใช้ภาษาไทยที่ ถูกต้อง ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ นำภูมิปัญญาไทยมาใช้ให้ เหมาะสมในวิถีชีวิต ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ ร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ ภูมิปัญญาไทย ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๕ แนะนำ มีส่วนร่วมในการสืบ ทอดภูมิปัญญาไทย ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๗-๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๓-๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙-๑๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕-๘ หมายถึง ปรับปรุง คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ ตั้งใจเรียน ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ เอาใจใส่และมีความเพียร พยายามในการเรียนรู้ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ สนใจเข้าร่วมกิจกรรมการ เรียนรู้ต่าง ๆ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ ศึกษาค้นคว้าหาความรู้จาก หนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อ เทคโนโลย่ต่าง ๆ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๕ บันทึกความรู้ วิเคราะห์ ตรวจสอบจากสิ่งที่เรียนรู้ สรุปเป็นองค์ความรู้ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๗-๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๓-๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙-๑๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕-๘ หมายถึง ปรับปรุง 25


คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มุ่งมั่นในการทำงาน ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ ตั้งใจและรับผิดชอบในการ ทำงานให้สำเร็จ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ ปรับปรุงและพัฒนาการ ทำงานด้วยตนเอง ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ ทุ่มเทงาน อดทน ไม่ย่อท้อ ต่อปัญหาและอุปสรรคใน การทำงาน ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๕ พยายามในการแก้ปัญหา และอุปสรรคในการทำงาน ให้สำเร็จ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๗-๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๓-๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙-๑๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕-๘ หมายถึง ปรับปรุง 26


ใบงาน เรื่อง สรุปเนื้อหาและคำศัพท์เรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ตอนที่ ๑ คำชี้แจง ให้นักเรียนจับคู่คำและความหมายด้วยการนำตัวอักษรหน้าความหมายมาเติมลงช่องว่าง ๑. เผือ ก. สัตว์บกสัตว์น้ำ ๒. เสือง ข. ตั้งแต่ ๓. ทั้งกลม ค. ลูกชายคนที่ ๑ ๔. ตัวเนื้อตัวปลา ง. เคลื่อน ๕. ท่ จ. บริวารผู้ชาย ๖. ตีหนังวังช้าง ฉ. รับใช้ ปรนนิบัติ ๗. เกลื่อน ช. ตี ๘. ผู้อ้าย ซ. เรา ๒ คน ๙. ปั่ว ฌ. ทั้งหมด ๑๐. บำเรอ ญ. คล้องช้าง ๑๑. ขึ้นชื่อ ฎ. ชนช้าง ๑๒. เตียมแต่ ฏ. รุ่งอรุณ ๑๓. โสง ฐ. ไม่ ๑๔. บ่ ฑ. สอง ๑๕. ต่อช้าง ฒ. เรียกชื่อ ตั้งชื่อ ๑๖. ชั่ว ณ. นำพลเข้าไป บุกพลเข้าไป ๑๗. หมากหวาน ด. ให้ ถวาย ๑๘. เบกพล ต. ช่วงระยะของเวลา ๑๙. หมากส้ม ถ. ผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว ๒๐. เวน ท. ผลไม้ที่มีรสหวาน 27


ตอนที่ ๒ คำชี้แจง ให้นักเรียนนำคำที่กำหนดมาให้เติมลงช่องว่างให้ถูกต้อง ขึ้นใหญ่ อันใด เผือ ตนกู ญญ่าย เกลื่อน พร่ำ เวน ยัง โสง เบกพล ตีหนัง ชั่ว จึ่ง แก่ ขึ้นชื่อ ตู ทั้งกลม ๑. พี่น้องท้องเดียวห้าคน ผู้ชายสาม ผู้หญิง ๒. พี่ ผู้อ้ายตายจากเผือเตียม แต่ยังเล็ก ๓. กูได้ตัวเนื้อตัวปลา กูเอามา พ่อกู ๔. เมื่อกู ได้สิบเก้าเข้า ขุนสามชนเจ้าเมืองฉอดมาท่เมืองตาก ๕. ขุนสามชนขับมา หัวขวาขุนสามชน เข้า ๖. กูได้หมากส้มหมากหวาน กินอร่อยกินดี กูเอามาแก่พ่อกู ๗. ได้เงือนได้ทอง กูเอามา แก่พอกู ๘. พ่อกูตาย พี่กู กู บำเรอแก่พี่กู ๙. พุ่งช้างขุนสามชนตัวชื่อมาสเมืองแพ้ ๑๐. ขุนสามชนพ่ายหนี พ่อกูจึง กูชื่อพระรามคำแหง ๑๑. เมื่อ พ่อกู กูบำเรอแก่พ่อกู กูบำเรอแก่แม่กู ๑๒. กูขี่ช้าง กูขับเข้าก่อนพ่อกู ๑๓. ไพร่ฟ้าหน้าใสพ่อกูหนี พายจแจ้น กูบ่หนี ๑๔. กูไป วังช้างได้ กูเอามาแก่พ่อกู ๑๕. พี่กูตาย ได้เมืองแก่กู 28


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๒๑๐๒ รายวิชา ภาษาไทย ๔ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๒ ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ชื่อหน่วย สำรวจหลักศิลา ศึกษาลายสือไทย เรื่อง อธิบายคุณค่าศิลาจารึกหลักที่ ๑ ผู้สอน ว่าที่ร้อยตรี ฐานทัพ ชุ่มจันทร์ ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่า และนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ ตัวชี้วัด ท ๕.๑ ม.๒/๓ อธิบายคุณค่าของวรรณคดี และวรรณกรรมที่อ่าน ๒. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๒.๑ สังเกตและแสดงความคิดเห็นคุณค่าของศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๒.๒ เขียนคุณค่าของศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๒.๓ แสดงความสนใจและให้ความร่วมมือกับกิจกรรมการเรียนการสอน เรื่อง อธิบายคุณค่าศิลาจารึก หลักที่ ๑ ๓. สาระสําคัญ การอธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมเป็นการประเมินคุณค่าหรือแนวคิดที่ได้จากวรรณคดี ไปใช้ให้เป็นประโยชน์ในชีวิตประจำวัน ในการอธิบายคุณค่านั้น ควรสังเกตจากจุดประสงค์ของผู้เขียน และกลวิธีในการแสดงเหตุผลว่ามีความน่าเชื่อถือมากน้อยเพียงใด ๔. สาระการเรียนรู้ อธิบายคุณค่าวรรณคดีเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๕. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร ๕.๒ ความสามารถในการคิด ๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๖.๑ ใฝ่เรียนรู้ ๖.๒ มุ่งมั่นในการทํางาน ๖.๓ รักความเป็นไทย 29


๗. จุดเน้นสู่การพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ คุณลักษณะผู้เรียนโรงเรียนมาตรฐานสากล ๗.๑ สื่อสาร ๒ ภาษา ๓.๒ ล้ำหน้าทางความคิด ทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ (๓R ๘C) ๗.๓ ทักษะการอ่าน ๗.๔ เขียนได้ ๗.๕ มีทักษะในการคิดวิเคราะห์การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และแก้ไขปัญหาได้ ทักษะชีวิตและอาชีพ ๗.๖ ความยืดหยุ่นและการปรับตัว ๗.๗ การริเริ่มและนำพาตนเอง ๘. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ ๑ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๑. นักเรียนอ่านเรื่อง ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง จากนั้นนักเรียนและครูร่วมกันแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับเนื้อเรื่องที่มีผู้กล่าวว่า ศิลาจารึกเป็นสิ่งที่ประดิษฐ์ขึ้นใหม่ ๒. นักเรียนร่วมกันสรุปประเด็นสำคัญจากเรื่อง ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง ๓. นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด แนวคำถาม “นักเรียนมีความเห็นอย่างไรต่อนักวิชาการรุ่นใหม่ซึ่งแสดงความคิดเห็นว่า ศิลาจารึกหลักที่ ๑ สร้างขึ้นมาใหม่ ไม่ได้สร้างในสมัยพ่อขุนรามคำแหง” ขั้นสอน ๔. นักเรียนแบ่งกลุ่มละ ๔ คน ศึกษาความรู้เรื่องศิลาจารึกหลักที่ ๑ ตามประเด็นที่ครูกำหนดดังนี้ ๑) คุณค่าด้านเนื้อหา ๒) คุณค่าด้านวรรณศิลป์ ๓) คุณค่าด้านสังคม โดยนักเรียนเข้าระบบ Line Official Account “THAI LINK” เพื่อศึกษาความรู้ประกอบ ๕. นักเรียนแต่ละกลุ่ม ให้สมาชิกผลัดกันแลกเปลี่ยนความรู้ภายในกลุ่ม อธิบายคุณค่าแต่ละด้าน พร้อมตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อหา ขั้นสรุป ๖. นักเรียนแต่ละคนกลับไปสรุปคุณค่าที่ได้รับจากเรื่องศิลาจารึกหลักที่ ๑ เป็นแผนผังความคิด ให้เรียบร้อย เพื่อนำเสนอครั้งต่อไป ชั่วโมงที่ ๒ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๑. นักเรียนและครูร่วมกันทบทวนเนื้อหาและภาระงานครั้งที่แล้ว ขั้นสอน ๒. นักเรียนแต่ละกลุ่มมานำเสนอการวิเคราะห์คุณค่าวรรณคดีจากเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ หน้าชั้นเรียน 30


๓. นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิดเรื่อง การค้าเสรี ที่ปรากฏในเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ แนวคำถาม “การค้าเสรีที่ปรากฏในเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ มีความเหมือนหรือแตกต่างจากการค้าเสรี ในปัจจุบันอย่างไร” ขั้นสรุป ๔. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับคุณค่าด้านต่าง ๆ ที่ได้จากเรื่อง ศิลาจารึก หลักที่ ๑ ๙. ภาระงาน / ชิ้นงาน อธิบายคุณค่าศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑๐. การวัดและประเมินผล ๑๐.๑ การประเมินตามจุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ ภาระ/ชิ้นงาน วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การให้ คะแนน เกณฑ์การผ่าน ๑. สังเกต และแสดงความคิดเห็น คุณค่าของศิลาจารึก หลักที่ ๑ ศึกษาคุณค่า ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ประเมิน การเข้าร่วม กิจกรรม ในชั้นเรียน แบบประเมิน ตามสภาพจริง แบบประเมิน ตามสภาพจริง ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๒. เขียนคุณค่าศิลาจารึก หลักที่ ๑ ใบงาน เรื่อง อธิบายคุณค่า วรรณคดีจากเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ประเมินใบงาน เรื่อง อธิบายคุณค่า วรรณคดีจากเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ใบงาน เรื่องอธิบายคุณค่า วรรณคดีจากเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ แบบประเมิน ใบงานเรื่อง อธิบายคุณค่า วรรณคดีจากเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๘๐ ๓. แสดงความสนใจ และให้ความร่วมมือ กับกิจกรรม การเรียนการสอน เรื่อง อธิบายคุณค่า ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. ศึกษาคุณค่า ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๒. ใบงาน เรื่อง อธิบายคุณค่า วรรณคดีจากเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ประเมิน การเข้าร่วม กิจกรรม ในชั้นเรียน แบบประเมิน ตามสภาพจริง แบบประเมิน ตามสภาพจริง ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ 31


๑๐.๒ การประเมินสมรรถนะสำคัญ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และทักษะศตวรรษที่ ๒๑ (๓R ๘C) จุดประสงค์การเรียนรู้ ภาระ/ชิ้นงาน วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การให้ คะแนน เกณฑ์การ ผ่าน สมรรถนะสำคัญ ๑.ความสามารถ ในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด ๑. ศึกษาคุณค่า ของศิลาจารึก หลักที่ ๑ ๒. ใบงาน เรื่อง อธิบายคุณค่า วรรณคดีจากเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ประเมินสมรรถนะ สำคัญ แบบประเมิน สมรรถนะสำคัญ แบบประเมิน สมรรถนะสำคัญ ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ คุณลักษณะผู้เรียน มาตรฐานสากล ๑. สื่อสาร ๒ ภาษา ๒. ล้ำหน้าทางความคิด ๑. ศึกษาคุณค่า ของศิลาจารึก หลักที่ ๑ ๒. ใบงาน เรื่อง อธิบายคุณค่า วรรณคดีจากเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. ประเมิน การเข้าร่วม กิจกรรม ในชั้นเรียน ๒. ประเมินใบงาน เรื่อง อธิบายคุณค่า วรรณคดีจากเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. ใบงาน เรื่อง อธิบายคุณค่า วรรณคดีจากเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. แบบประเมิน ใบงานเรื่อง อธิบายคุณค่า วรรณคดีจากเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๒. ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๘๐ คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ๑. ใฝ่เรียนรู้ ๒. มุ่งมั่นในการทำงาน ๓. รักความเป็นไทย ๑. ศึกษาคุณค่า ของศิลาจารึก หลักที่ ๑ ๒. ใบงาน เรื่อง อธิบายคุณค่า วรรณคดีจากเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ประเมิน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ แบบประเมิน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ แบบประเมิน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ทักษะศตวรรษที่ ๒๑ ๑. อ่านออก ๒. เขียนได้ ๓. มีทักษะ ในการวิเคราะห์การคิด อย่างมีวิจารณญาณ และแก้ไขปัญหาได้ ๑. ศึกษาคุณค่า ของศิลาจารึก หลักที่ ๑ ๒. ใบงาน เรื่อง อธิบายคุณค่า วรรณคดีจากเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. ประเมิน การเข้าร่วม กิจกรรม ในชั้นเรียน ๒. ประเมินใบงาน เรื่อง อธิบายคุณค่า วรรณคดีจากเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. ใบงาน เรื่อง อธิบายคุณค่า วรรณคดีจากเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. แบบประเมิน ใบงานเรื่อง อธิบายคุณค่า วรรณคดีจากเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๒. ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๘๐ ทักษะชีวิตและอาชีพ ๑. ความยืดหยุ่น และการปรับตัว ๒. การริเริ่ม และนำพาตนเอง ๑. ศึกษาคุณค่า ของศิลาจารึก หลักที่ ๑ ๒. ใบงาน เรื่อง อธิบายคุณค่า วรรณคดีจากเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. ประเมิน การเข้าร่วม กิจกรรม ในชั้นเรียน ๒. ประเมินใบงาน เรื่อง อธิบายคุณค่า วรรณคดีจากเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. ใบงาน เรื่อง อธิบายคุณค่า วรรณคดีจากเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. แบบประเมิน ใบงานเรื่อง อธิบายคุณค่า วรรณคดีจากเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๒. ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๘๐ 32


๑๑. สื่อการเรียนรู้ ระบบ Line Official Account “THAI LINK” https://liff.line.me/1645278921-kWRPP32q/?accountId=158vjmol ๑๒. แหล่งเรียนรู้ หนังสือวรรณคดีวิจักษ์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ 33


บันทึกผลหลังการสอน สรุปผลหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้/ผลการเรียนรู้/ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... นักเรียนทั้งหมดจำนวน ……………….. คน (ทุกคนที่สอน) จุดประสงค์การเรียนรู้ข้อที่ จำนวนนักเรียนที่ผ่าน จำนวนนักเรียนที่ไม่ผ่าน จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ 1 2 3 4 ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข/ข้อเสนอแนะ/ข้อสังเกตอื่น ๆ ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ .......................................................................... ครูผู้สอน (.............................................................................) .............../.............../............... บันทึกข้อคิดเห็นเพิ่มเติม ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ .......................................................................... ครูพี่เลี้ยง (.............................................................................) .............../.............../............... บันทึกข้อคิดเห็นเพิ่มเติม ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ .......................................................................... ผู้นิเทศ (.............................................................................) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หรือผู้ช่วยผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ .............../.............../............... 34


แบบการประเมินการอธิบายคุณค่าวรรณคดี คำชี้แจง : ให้ผู้สอนตรวจภาระงาน/ชิ้นงานนักเรียน แล้วประเมินด้วยการทำเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องระดับคะแนน ประเด็นการประเมิน /ระดับคะแนน ลำดับที่-ชื่อ-สกุล นักเรียน ๑. การนำเสนอ เนื้อหาการเขียน ลำดับความคิด ๒. การวิเคราะห์ วิจารณ์ ๓. การใช้ภาษา รวม ๑๒ คะแนน ระดับ คุณภาพ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ลงชื่อ .......................................................................... ผู้ประเมิน (.............................................................................) .............../.............../............... เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค (Scoring Rubric) การอธิบายคุณค่าวรรณคดี ประเด็น การประเมิน ระดับคุณภาพคะแนน น้ำหนัก ๔ ๓ ๒ ๑ คะแนน ๑. การ นำเสนอ เนื้อหาการ เขียนลำดับ ความคิด ๑. เขียนลำดับ ความคิดได้อย่าง เหมาะสม ๒. จำแนกประเด็นได้ ๓. เขียนสรุปประเด็น ของเรื่องได้ชัดเจน ๔. เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์และแสดง ความคิดเห็นเชื่อมโยง ความสัมพันธ์ความ คิดเห็นกับประเด็น ๑. เขียนลำดับ ความคิดได้อย่าง เหมาะสม ๒. จำแนกประเด็นได้ ๓. เขียนสรุปประเด็น ของเรื่องได้ชัดเจน ๑. เขียนลำดับ ความคิดได้อย่าง เหมาะสม ๒. จำแนกประเด็นได้ ๑. เขียนลำดับ ความคิดได้อย่าง เหมาะสม ๔ 35


ประเด็น การประเมิน ระดับคุณภาพคะแนน น้ำหนัก ๔ ๓ ๒ ๑ คะแนน ๒. การ วิเคราะห์ วิจารณ์ ๑. แยกแยะ ข้อเท็จจริงจากเรื่องที่ อ่าน ๒. บอกคุณค่าของ เรื่องที่อ่าน ๓. สรุปคุณค่าของ เรื่องที่อ่าน ๔. สามารถนำแนวคิด ไปใช้ในชีวิตประจำวัน ๑. แยกแยะ ข้อเท็จจริงจากเรื่องที่ อ่าน ๒. บอกคุณค่าของ เรื่องที่อ่าน ๓. สรุปคุณค่าของ เรื่องที่อ่าน ๑. แยกแยะ ข้อเท็จจริงจากเรื่องที่ อ่าน ๒. บอกคุณค่าของ เรื่องที่อ่าน ๑. แยกแยะ ข้อเท็จจริงจากเรื่องที่ อ่าน ๔ ๓. การใช้ ภาษา ๑. การใช้ถ้อยคำ สำนวนถูกต้อง เหมาะสม ๒. เขียนสื่อ ความหมายได้ชัดเจน ๓. ใช้ภาษาถูกต้อง ตามอักษรวิธี ๔. มีมารยาทในการ เขียน ๑. การใช้ถ้อยคำ สำนวนถูกต้อง เหมาะสม ๒. เขียนสื่อ ความหมายได้ชัดเจน ๓. ใช้ภาษาถูกต้อง ตามอักษรวิธี ๑. การใช้ถ้อยคำ สำนวนถูกต้อง เหมาะสม ๒. เขียนสื่อ ความหมายได้ชัดเจน ๑. การใช้ถ้อยคำ สำนวนถูกต้อง เหมาะสม ๔ ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๑-๑๒ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๙-๑๐ หมายถึง ดี คะแนน ๗-๘ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๔-๖ หมายถึง ปรับปรุง 36


แบบประเมินการเข้าร่วมกิจกรรมในชั้นเรียนตามสภาพจริง (การประเมินทักษะในศตวรรษที่ ๒๑) คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วประเมินด้วยการทำเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องระดับคะแนน ประเด็นการประเมิน /ระดับคะแนน ลำดับที่-ชื่อ-สกุล นักเรียน ๑. ความรู้ ความเข้าใจใน เนื้อหา ๒. กระบวนการ คิดวิเคราะห์ ประเมินค่า ๓. การแสดง ความคิดเห็น ๔. ความมี น้ำใจกับเพื่อน ร่วมงาน ๕. ความ รับผิดชอบต่อ หน้าที่ที่ได้รับ มอบหมาย รวม ๒๐ คะแนน ระดับ คุณภาพ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ลงชื่อ .......................................................................... ผู้ประเมิน (.............................................................................) .............../.............../............... เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค (Scoring Rubric) การเข้าร่วมกิจกรรมในชั้นเรียนตามสภาพจริง ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ ความรู้ความเข้าใจในเนื้อหา ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ กระบวนการคิดวิเคราะห์ ประเมินค่า ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ การแสดงความคิดเห็น ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ ความมีน้ำใจกับเพื่อน ร่วมงาน ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๕ ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ ได้รับมอบหมาย ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๗-๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๓-๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙-๑๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕-๘ หมายถึง ปรับปรุง 37


แบบประเมินสมรรถนะสำคัญ ชื่อ-นามสกุล นักเรียน ................................................................................................... ชั้น ม.๒/.......... เลขที่ ............ คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วประเมินด้วยการทำเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องระดับคะแนน สมรรถนะสำคัญ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๑ ๒ ๓ ๔ ความสามารถ ในการสื่อสาร ๑. มีความสามารถในการรับส่งสาร ๒. มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ความคิดความเข้าใจของตนเองโดย ใช้ภาษาอย่างเหมาะสม ๓. ใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะสม ๔. วิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล รวม ระดับคุณภาพ ความสามารถ ในการคิด ๑. มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์สังเคราะห์ ๒. มีทักษะในการคิดนอกกรอบอย่างสร้างสรรค์ ๓. สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ ๔. มีความสามารถในการคิดอย่างมีระบบ ๕. ตัดสินใจแก้ปัญหาเกี่ยวกับตนเองได้ รวม ระดับคุณภาพ ลงชื่อ .......................................................................... ผู้ประเมิน (.............................................................................) .............../.............../............... 38


เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค (Scoring Rubric) สมรรถนะสำคัญ ความสามารถในการสื่อสาร ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ มีความสามารถในการรับส่ง สาร ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ มีความสามารถในการ ถ่ายทอดความรู้ความคิด ความเข้าใจของตนเองโดยใช้ ภาษาอย่างเหมาะสม ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ ใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะสม ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ วิเคราะห์ แสดงความคิดเห็น อย่างมีเหตุผล ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๔-๑๖ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๑-๑๓ หมายถึง ดี คะแนน ๘-๑๐ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๔-๗ หมายถึง ปรับปรุง สมรรถนะสำคัญ ความสามารถในการคิด ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ มีความสามารถในการคิด วิเคราะห์สังเคราะห์ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ มีทักษะในการคิดนอกกรอบ อย่างสร้างสรรค์ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ สามารถคิดอย่างมี วิจารณญาณ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ มีความสามารถในการคิด อย่างมีระบบ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๕ ตัดสินใจแก้ปัญหาเกี่ยวกับ ตนเองได้ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๗-๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๓-๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙-๑๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕-๘ หมายถึง ปรับปรุง 39


แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ชื่อ-นามสกุล นักเรียน ................................................................................................... ชั้น ม.๒/.......... เลขที่ ............ คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วประเมินด้วยการทำเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๑ ๒ ๓ ๔ รักความเป็นไทย ๑. ใช้ภาษาไทยและเลขไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ๒. ชักชวน แนะนำให้ผู้อื่นเห็นคุณค่าของการใช้ภาษาไทยที่ถูกต้อง ๓. นำภูมิปัญญาไทยมาใช้ให้เหมาะสมในวิถีชีวิต ๔. ร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาไทย ๕. แนะนำ มีส่วนร่วมในการสืบทอดภูมิปัญญาไทย รวม ระดับคุณภาพ ใฝ่เรียนรู้ ๑. ตั้งใจเรียน ๒. เอาใจใส่และมีความเพียรพยายามในการเรียนรู้ ๓. สนใจเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ๔. ศึกษาค้นคว้าหาความรู้จากหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยีต่าง ๆ ๕. บันทึกความรู้ วิเคราะห์ ตรวจสอบจากสิ่งที่เรียนรู้สรุปเป็นองค์ความรู้ รวม ระดับคุณภาพ มุ่งมั่นในการทำงาน ๑. เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ๒. ตั้งใจและรับผิดชอบในการทำงานให้สำเร็จ ๓. ปรับปรุงและพัฒนาการทำงานด้วยตนเอง ๔. ทุ่มเทงาน อดทน ไม่ย่อท้อต่อปัญหาและอุปสรรคในการทำงาน ๕. พยายามในการแก้ปัญหาและอุปสรรคในการทำงานให้สำเร็จ รวม ระดับคุณภาพ ลงชื่อ .......................................................................... ผู้ประเมิน (.............................................................................) .............../.............../............... 40


เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค (Scoring Rubric) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ รักความเป็นไทย ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ ใช้ภาษาไทยและเลขไทยใน การสื่อสารได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ ชักชวน แนะนำให้ผู้อื่นเห็น คุณค่าของการใช้ภาษาไทยที่ ถูกต้อง ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ นำภูมิปัญญาไทยมาใช้ให้ เหมาะสมในวิถีชีวิต ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ ร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ ภูมิปัญญาไทย ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๕ แนะนำ มีส่วนร่วมในการสืบ ทอดภูมิปัญญาไทย ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๗-๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๓-๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙-๑๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕-๘ หมายถึง ปรับปรุง คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ ตั้งใจเรียน ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ เอาใจใส่และมีความเพียร พยายามในการเรียนรู้ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ สนใจเข้าร่วมกิจกรรมการ เรียนรู้ต่าง ๆ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ ศึกษาค้นคว้าหาความรู้จาก หนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อ เทคโนโลย่ต่าง ๆ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๕ บันทึกความรู้ วิเคราะห์ ตรวจสอบจากสิ่งที่เรียนรู้ สรุปเป็นองค์ความรู้ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๗-๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๓-๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙-๑๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕-๘ หมายถึง ปรับปรุง 41


คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มุ่งมั่นในการทำงาน ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ ตั้งใจและรับผิดชอบในการ ทำงานให้สำเร็จ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ ปรับปรุงและพัฒนาการ ทำงานด้วยตนเอง ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ ทุ่มเทงาน อดทน ไม่ย่อท้อ ต่อปัญหาและอุปสรรคใน การทำงาน ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๕ พยายามในการแก้ปัญหา และอุปสรรคในการทำงาน ให้สำเร็จ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๗-๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๓-๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙-๑๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕-๘ หมายถึง ปรับปรุง 42


ใบงาน เรื่อง อธิบายคุณค่าวรรณคดีจากเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ ๑. ให้นักเรียนเขียนชื่อและนามสกุลของนักเรียนเป็นภาษาแบบเดียวกับในศิลาจารึก …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….................. ๒. ใจความสำคัญของศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงหลักที่ ๑ ด้านที่ ๑ นี้มีว่าอย่างไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….................. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….................. ๓. ให้นักเรียนสรุปคุณค่าด้านภาษาของศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….................. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….................. ๔. ให้นักเรียนอธิบายชีวิตความเป็นอยู่ของชาวเมืองสุโขทัยจากหลักศิลาจารึก …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….................. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….................. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….................. 43


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๒๑๐๒ รายวิชา ภาษาไทย ๔ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๒ ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ชื่อหน่วย สำรวจหลักศิลา ศึกษาลายสือไทย เรื่อง สรุปความรู้และข้อคิดศิลาจารึกหลักที่ ๑ ผู้สอน ว่าที่ร้อยตรี ฐานทัพ ชุ่มจันทร์ ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่า และนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ ตัวชี้วัด ท ๕.๑ ม.๒/๔ สรุปความรู้และข้อคิดจากการอ่านไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ๒. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๒.๑ อธิบายความรู้และข้อคิดจากศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๒.๒ เขียนสรุปความรู้และข้อคิดจากการอ่านวรรณคดี เรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๒.๓ แสดงความสนใจและให้ความร่วมมือกับกิจกรรมการเรียนการสอน เรื่อง สรุปความรู้และข้อคิด ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๓. สาระสําคัญ การสรุปความรู้และข้อคิดจากการอ่านไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน เป็นการวิเคราะห์ความรู้ อย่างเป็นระบบ สามารถเลือกรับความรู้ ข้อคิดที่เป็นประโยชน์ แล้วสรุปให้ได้สาระสำคัญ สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างมีคุณค่าผ่านทักษะการดำเนินชีวิตจริง ๔. สาระการเรียนรู้ สรุปความรู้และข้อคิดจากการอ่านวรรณคดีเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๕. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร ๕.๒ ความสามารถในการคิด ๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๖.๑ ใฝ่เรียนรู้ ๖.๒ มุ่งมั่นในการทํางาน ๖.๓ รักความเป็นไทย 44


๗. จุดเน้นสู่การพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ คุณลักษณะผู้เรียนโรงเรียนมาตรฐานสากล ๗.๑ สื่อสาร ๒ ภาษา ๓.๒ ล้ำหน้าทางความคิด ทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ (๓R ๘C) ๗.๓ ทักษะการอ่าน ๗.๔ เขียนได้ ๗.๕ มีทักษะในการคิดวิเคราะห์การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และแก้ไขปัญหาได้ ทักษะชีวิตและอาชีพ ๗.๖ ความยืดหยุ่นและการปรับตัว ๗.๗ การริเริ่มและนำพาตนเอง ๘. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ ๑ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๑. ตัวแทนนักเรียน ๒-๓ คน เล่าเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ เพื่อทบทวนความรู้ ๒. นักเรียนร่วมกันอ่านและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคำขวัญจังหวัดสุโขทัยที่ครูนำมาติดไว้ บนกระดาน คำขวัญจังหวัดสุโขทัย “มรดกโลกล้ำเลิศ กำเนิดลายสือไท เล่นไฟลอยกระทง ดำรงพระพุทธศาสนา งามตาผ้าตีนจก สังคโลกทองโบราณ สักการแม่ย่าพ่อขุน รุ่งอรุณแห่งความสุข” ประเด็นอภิปรายแสดงความคิดเห็น “คำขวัญจังหวัดสุโขทัยดังกล่าวเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของชาวสุโขทัยอย่างไร” ๓. นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด แนวคำถาม “ถ้าจะไปศึกษานอกสถานที่ นักเรียนคิดว่าสถานที่ใดเหมาะสำหรับการศึกษาเรื่อง ศิลาจารึก หลักที่ ๑ มากที่สุด เพราะเหตุใด” ขั้นสอน ๔. นักเรียนศึกษาความรู้เกี่ยวกับข้อคิดที่ได้จากเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ จากหนังสือเรียน ในประเด็นที่กําหนด ดังนี้ ๑) ความกตัญญูต่อบิดา มารดา และผู้มีพระคุณ ๒) ความรักใคร่ผูกพันระหว่างพี่น้อง ๓) การปฏิบัติตนเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดี ๔) การสืบทอดวัฒนธรรมประเพณี ๕. ตัวแทนนักเรียนยกตัวอย่างเนื้อหาที่สอดคล้องกับข้อคิดที่ได้จากเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ขั้นสรุป ๗. นักเรียนแบ่งกลุ่มละ ๔ คน โดยแต่ละกลุ่มกลับไปทบทวนเนื้อหาเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ทั้งการวิเคราะห์วิจารณ์ คุณค่า และข้อคิดที่ได้รับ 45


ชั่วโมงที่ ๒ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๑. นักเรียนและครูร่วมกันทบทวนเนื้อหาและภาระงานครั้งที่แล้ว ๒. นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด แนวคำถาม “นักเรียนจะนำข้อคิดในเรื่องไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้หรือไม่ เพราะเหตุใด” ขั้นสอน ๓. ครูมอบหมายให้นักเรียนทำใบงานเรื่องสรุปความรู้ และข้อคิดจากเรื่องศิลาจารึกหลักที่ ๑ โดยให้ครอบคลุมประเด็นตามที่กำหนด ดังนี้ ๑) การสรุปเนื้อหา ๒) การวิเคราะห์และวิจารณ์ ๓) การอธิบายคุณค่า ๔) การสรุปความรู้และข้อคิด โดยนักเรียนเข้าระบบ Line Official Account “THAI LINK” เพื่อศึกษาความรู้ประกอบ การทำใบงานได้ ๔. ตัวแทนนักเรียนจำนวน ๔ คน นำเสนอ ๔ ประเด็น ข้างต้น แบ่งการนำเสนอคนละ ๑ ประเด็น เพื่อนนักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นหลังตัวแทนนักเรียนแต่ละคนนำเสนอจบ ขั้นสรุป ๕. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้และข้อคิดที่ได้จากเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ พร้อมกับแนวทาง ในการนำไปใช้ในชีวิตจริง ๙. ภาระงาน / ชิ้นงาน ใบงานเรื่อง สรุปความรู้และข้อคิดจากศิลาจารึกหลักที่ ๑ 46


Click to View FlipBook Version