๑๐. การวัดและประเมินผล ๑๐.๑ การประเมินตามจุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ ภาระ/ชิ้นงาน วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การให้ คะแนน เกณฑ์การผ่าน ๑. อธิบายความรู้ ข้อคิดจากศิลาจารึก หลักที่ ๑ นำไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจำวัน ศึกษาการสรุป ความรู้และข้อคิด จากศิลาจารึกหลัก ที่ ๑ ประเมิน การเข้าร่วม กิจกรรม ในชั้นเรียน แบบประเมิน ตามสภาพจริง แบบประเมิน ตามสภาพจริง ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๒. เขียนสรุปความรู้ ข้อคิดจากศิลาจารึก หลักที่ ๑ ใบงานเรื่อง สรุป ความรู้และข้อคิด จากศิลาจารึกหลัก ที่ ๑ ประเมินใบงาน เรื่อง สรุปความรู้ และข้อคิด จากศิลาจารึก หลักที่ ๑ ใบงาน เรื่องสรุปความรู้ และข้อคิด จากศิลาจารึก หลักที่ ๑ แบบประเมิน ใบงานเรื่อง สรุปความรู้ และข้อคิด จากศิลาจารึก หลักที่ ๑ ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๘๐ ๓. แสดงความสนใจ และให้ความร่วมมือ กับกิจกรรมการเรียน การสอน เรื่อง สรุปความรู้และข้อคิด ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. ศึกษา การสรุปความรู้ และข้อคิดจาก ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๒. ใบงาน เรื่อง สรุปความรู้ และข้อคิด จากศิลาจารึก หลักที่ ๑ ประเมิน การเข้าร่วม กิจกรรม ในชั้นเรียน แบบประเมิน ตามสภาพจริง แบบประเมิน ตามสภาพจริง ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๑๐.๒ การประเมินสมรรถนะสำคัญ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และทักษะศตวรรษที่ ๒๑ (๓R ๘C) จุดประสงค์การเรียนรู้ ภาระ/ชิ้นงาน วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การให้ คะแนน เกณฑ์ การผ่าน สมรรถนะสำคัญ ๑.ความสามารถ ในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด ๑. ศึกษาการสรุปความรู้ และข้อคิดจากศิลาจารึก หลักที่ ๑ ๒. ใบงาน เรื่อง สรุปความรู้ และข้อคิดจากศิลาจารึก หลักที่ ๑ ประเมินสมรรถนะ สำคัญ แบบประเมิน สมรรถนะสำคัญ แบบประเมิน สมรรถนะสำคัญ ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ คุณลักษณะผู้เรียน มาตรฐานสากล ๑. สื่อสาร ๒ ภาษา ๒. ล้ำหน้าทางความคิด ๑. ศึกษาการสรุปความรู้ และข้อคิดจากศิลาจารึก หลักที่ ๑ ๒. ใบงาน เรื่อง สรุปความรู้ และข้อคิดจากศิลาจารึก หลักที่ ๑ ๑. ประเมิน การเข้าร่วมกิจกรรม ในชั้นเรียน ๒. ประเมินใบงาน เรื่อง สรุปความรู้ และข้อคิด จากศิลาจารึก หลักที่ ๑ ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. ใบงาน เรื่อง สรุปความรู้ และข้อคิด จากศิลาจารึก หลักที่ ๑ ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. แบบประเมิน ใบงาน เรื่อง สรุปความรู้ และข้อคิด จากศิลาจารึก หลักที่ ๑ ๑. ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๒. ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๘๐ 47
จุดประสงค์การเรียนรู้ ภาระ/ชิ้นงาน วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การให้ คะแนน เกณฑ์ การผ่าน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ๑. ใฝ่เรียนรู้ ๒. มุ่งมั่นในการทำงาน ๓. รักความเป็นไทย ๑. ศึกษาการสรุปความรู้ และข้อคิดจากศิลาจารึก หลักที่ ๑ ๒. ใบงาน เรื่อง สรุปความรู้ และข้อคิดจากศิลาจารึก หลักที่ ๑ ประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ทักษะศตวรรษที่ ๒๑ ๑. อ่านออก ๒. เขียนได้ ๓. มีทักษะ ในการวิเคราะห์การคิด อย่างมีวิจารณญาณ และแก้ไขปัญหาได้ ๑. ศึกษาการสรุปความรู้ และข้อคิดจากศิลาจารึก หลักที่ ๑ ๒. ใบงาน เรื่อง สรุปความรู้ และข้อคิดจากศิลาจารึก หลักที่ ๑ ๑. ประเมิน การเข้าร่วมกิจกรรม ในชั้นเรียน ๒. ประเมินใบงาน เรื่อง สรุปความรู้ และข้อคิด จากศิลาจารึก หลักที่ ๑ ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. ใบงาน เรื่อง สรุปความรู้ และข้อคิด จากศิลาจารึก หลักที่ ๑ ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. แบบประเมิน ใบงาน เรื่อง สรุปความรู้ และข้อคิด จากศิลาจารึก หลักที่ ๑ ๑. ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๒. ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๘๐ ทักษะชีวิตและอาชีพ ๑. ความยืดหยุ่น และการปรับตัว ๒. การริเริ่ม และนำพาตนเอง ๑. ศึกษาการสรุปความรู้ และข้อคิดจากศิลาจารึก หลักที่ ๑ ๒. ใบงาน เรื่อง สรุปความรู้ และข้อคิดจากศิลาจารึก หลักที่ ๑ ๑. ประเมิน การเข้าร่วมกิจกรรม ในชั้นเรียน ๒. ประเมินใบงาน เรื่อง สรุปความรู้ และข้อคิด จากศิลาจารึก หลักที่ ๑ ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. ใบงาน เรื่อง สรุปความรู้ และข้อคิด จากศิลาจารึก หลักที่ ๑ ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. แบบประเมิน ใบงาน เรื่อง สรุปความรู้ และข้อคิด จากศิลาจารึก หลักที่ ๑ ๑. ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๒. ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๘๐ ๑๑. สื่อการเรียนรู้ ๑๑.๑ ใบงานเรื่อง สรุปความรู้และข้อคิดจากศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑๑.๒ คำขวัญจังหวัดสุโขทัย ๑๑.๓ ระบบ Line Official Account “THAI LINK” https://liff.line.me/1645278921-kWRPP32q/?accountId=158vjmol ๑๒. แหล่งเรียนรู้ หนังสือวรรณคดีวิจักษ์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ 48
บันทึกผลหลังการสอน สรุปผลหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้/ผลการเรียนรู้/ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... นักเรียนทั้งหมดจำนวน ……………….. คน (ทุกคนที่สอน) จุดประสงค์การเรียนรู้ข้อที่ จำนวนนักเรียนที่ผ่าน จำนวนนักเรียนที่ไม่ผ่าน จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ 1 2 3 4 ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข/ข้อเสนอแนะ/ข้อสังเกตอื่น ๆ ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ .......................................................................... ครูผู้สอน (.............................................................................) .............../.............../............... บันทึกข้อคิดเห็นเพิ่มเติม ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ .......................................................................... ครูพี่เลี้ยง (.............................................................................) .............../.............../............... บันทึกข้อคิดเห็นเพิ่มเติม ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ .......................................................................... ผู้นิเทศ (.............................................................................) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หรือผู้ช่วยผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ .............../.............../............... 49
แบบการประเมินการสรุปความรู้และข้อคิดจากการอ่าน คำชี้แจง : ให้ผู้สอนตรวจภาระงาน/ชิ้นงานนักเรียน แล้วประเมินด้วยการทำเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องระดับคะแนน ประเด็นการประเมิน /ระดับคะแนน ลำดับที่-ชื่อ-สกุล นักเรียน ๑. การนำเสนอ เนื้อหาการเขียน ลำดับความคิด ๒. การวิเคราะห์ วิจารณ์ ๓. การใช้ภาษา รวม ๑๒ คะแนน ระดับ คุณภาพ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ลงชื่อ .......................................................................... ผู้ประเมิน (.............................................................................) .............../.............../............... เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค (Scoring Rubric) การสรุปความรู้และข้อคิดจากการอ่าน ประเด็น การประเมิน ระดับคุณภาพคะแนน น้ำหนัก ๔ ๓ ๒ ๑ คะแนน ๑. การ นำเสนอ เนื้อหาการ เขียนลำดับ ความคิด ๑. เขียนข้อคิดที่จะ นำไปใช้ใน ชีวิตประจำวันได้อย่าง เหมาะสม ๒. เขียนลำดับ ความคิดได้อย่าง เหมาะสม ๓. เขียนสรุปประเด็น ของเรื่องได้อย่าง ชัดเจน ๔. จำแนกประเด็นได้ ๑. เขียนข้อคิดที่จะ นำไปใช้ใน ชีวิตประจำวันได้อย่าง เหมาะสม ๒. เขียนลำดับ ความคิดได้อย่าง เหมาะสม ๓. เขียนสรุปประเด็น ของเรื่องได้อย่าง ชัดเจน ๑. เขียนข้อคิดที่จะ นำไปใช้ใน ชีวิตประจำวันได้อย่าง เหมาะสม ๒. เขียนลำดับ ความคิดได้อย่าง เหมาะสม ๑. เขียนข้อคิดที่จะ นำไปใช้ใน ชีวิตประจำวันได้อย่าง เหมาะสม ๔ 50
ประเด็น การประเมิน ระดับคุณภาพคะแนน น้ำหนัก ๔ ๓ ๒ ๑ คะแนน ๒. การ วิเคราะห์ วิจารณ์ ๑. แยกแยะ ข้อเท็จจริงจากเรื่องที่ อ่าน ๒. บอกคุณค่าของ เรื่องที่อ่าน ๓. สรุปคุณค่าของ เรื่องที่อ่านเป็น แผนภาพความคิด ๔. สามารถนำแนวคิด ไปใช้ในชีวิตประจำวัน ๑. แยกแยะ ข้อเท็จจริงจากเรื่องที่ อ่าน ๒. บอกคุณค่าของ เรื่องที่อ่าน ๓. สรุปคุณค่าของ เรื่องที่อ่านเป็น แผนภาพความคิด ๑. แยกแยะ ข้อเท็จจริงจากเรื่องที่ อ่าน ๒. บอกคุณค่าของ เรื่องที่อ่าน ๑. แยกแยะ ข้อเท็จจริงจากเรื่องที่ อ่าน ๔ ๓. การใช้ ภาษา ๑. การใช้ถ้อยคำ สำนวนถูกต้อง เหมาะสม ๒. เขียนสื่อ ความหมายได้ชัดเจน ๓. ใช้ภาษาถูกต้อง ตามอักษรวิธี ๔. มีมารยาทในการ เขียน ๑. การใช้ถ้อยคำ สำนวนถูกต้อง เหมาะสม ๒. เขียนสื่อ ความหมายได้ชัดเจน ๓. ใช้ภาษาถูกต้อง ตามอักษรวิธี ๑. การใช้ถ้อยคำ สำนวนถูกต้อง เหมาะสม ๒. เขียนสื่อ ความหมายได้ชัดเจน ๑. การใช้ถ้อยคำ สำนวนถูกต้อง เหมาะสม ๔ ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๑-๑๒ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๙-๑๐ หมายถึง ดี คะแนน ๗-๘ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๔-๖ หมายถึง ปรับปรุง 51
แบบประเมินการเข้าร่วมกิจกรรมในชั้นเรียนตามสภาพจริง (การประเมินทักษะในศตวรรษที่ ๒๑) คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วประเมินด้วยการทำเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องระดับคะแนน ประเด็นการประเมิน /ระดับคะแนน ลำดับที่-ชื่อ-สกุล นักเรียน ๑. ความรู้ ความเข้าใจใน เนื้อหา ๒. กระบวนการ คิดวิเคราะห์ ประเมินค่า ๓. การแสดง ความคิดเห็น ๔. ความมี น้ำใจกับเพื่อน ร่วมงาน ๕. ความ รับผิดชอบต่อ หน้าที่ที่ได้รับ มอบหมาย รวม ๒๐ คะแนน ระดับ คุณภาพ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ลงชื่อ .......................................................................... ผู้ประเมิน (.............................................................................) .............../.............../............... เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค (Scoring Rubric) การเข้าร่วมกิจกรรมในชั้นเรียนตามสภาพจริง ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ ความรู้ความเข้าใจในเนื้อหา ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ กระบวนการคิดวิเคราะห์ ประเมินค่า ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ การแสดงความคิดเห็น ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ ความมีน้ำใจกับเพื่อน ร่วมงาน ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๕ ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ ได้รับมอบหมาย ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๗-๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๓-๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙-๑๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕-๘ หมายถึง ปรับปรุง 52
แบบประเมินสมรรถนะสำคัญ ชื่อ-นามสกุล นักเรียน ................................................................................................... ชั้น ม.๒/.......... เลขที่ ............ คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วประเมินด้วยการทำเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องระดับคะแนน สมรรถนะสำคัญ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๑ ๒ ๓ ๔ ความสามารถ ในการสื่อสาร ๑. มีความสามารถในการรับส่งสาร ๒. มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ความคิดความเข้าใจของตนเองโดย ใช้ภาษาอย่างเหมาะสม ๓. ใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะสม ๔. วิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล รวม ระดับคุณภาพ ความสามารถ ในการคิด ๑. มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์สังเคราะห์ ๒. มีทักษะในการคิดนอกกรอบอย่างสร้างสรรค์ ๓. สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ ๔. มีความสามารถในการคิดอย่างมีระบบ ๕. ตัดสินใจแก้ปัญหาเกี่ยวกับตนเองได้ รวม ระดับคุณภาพ ลงชื่อ .......................................................................... ผู้ประเมิน (.............................................................................) .............../.............../............... 53
เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค (Scoring Rubric) สมรรถนะสำคัญ ความสามารถในการสื่อสาร ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ มีความสามารถในการรับส่ง สาร ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ มีความสามารถในการ ถ่ายทอดความรู้ความคิด ความเข้าใจของตนเองโดยใช้ ภาษาอย่างเหมาะสม ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ ใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะสม ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ วิเคราะห์ แสดงความคิดเห็น อย่างมีเหตุผล ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๔-๑๖ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๑-๑๓ หมายถึง ดี คะแนน ๘-๑๐ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๔-๗ หมายถึง ปรับปรุง สมรรถนะสำคัญ ความสามารถในการคิด ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ มีความสามารถในการคิด วิเคราะห์สังเคราะห์ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ มีทักษะในการคิดนอกกรอบ อย่างสร้างสรรค์ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ สามารถคิดอย่างมี วิจารณญาณ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ มีความสามารถในการคิด อย่างมีระบบ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๕ ตัดสินใจแก้ปัญหาเกี่ยวกับ ตนเองได้ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๗-๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๓-๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙-๑๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕-๘ หมายถึง ปรับปรุง 54
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ชื่อ-นามสกุล นักเรียน ................................................................................................... ชั้น ม.๒/.......... เลขที่ ............ คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วประเมินด้วยการทำเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๑ ๒ ๓ ๔ รักความเป็นไทย ๑. ใช้ภาษาไทยและเลขไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ๒. ชักชวน แนะนำให้ผู้อื่นเห็นคุณค่าของการใช้ภาษาไทยที่ถูกต้อง ๓. นำภูมิปัญญาไทยมาใช้ให้เหมาะสมในวิถีชีวิต ๔. ร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาไทย ๕. แนะนำ มีส่วนร่วมในการสืบทอดภูมิปัญญาไทย รวม ระดับคุณภาพ ใฝ่เรียนรู้ ๑. ตั้งใจเรียน ๒. เอาใจใส่และมีความเพียรพยายามในการเรียนรู้ ๓. สนใจเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ๔. ศึกษาค้นคว้าหาความรู้จากหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยีต่าง ๆ ๕. บันทึกความรู้ วิเคราะห์ ตรวจสอบจากสิ่งที่เรียนรู้สรุปเป็นองค์ความรู้ รวม ระดับคุณภาพ มุ่งมั่นในการทำงาน ๑. เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ๒. ตั้งใจและรับผิดชอบในการทำงานให้สำเร็จ ๓. ปรับปรุงและพัฒนาการทำงานด้วยตนเอง ๔. ทุ่มเทงาน อดทน ไม่ย่อท้อต่อปัญหาและอุปสรรคในการทำงาน ๕. พยายามในการแก้ปัญหาและอุปสรรคในการทำงานให้สำเร็จ รวม ระดับคุณภาพ ลงชื่อ .......................................................................... ผู้ประเมิน (.............................................................................) .............../.............../............... 55
เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค (Scoring Rubric) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ รักความเป็นไทย ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ ใช้ภาษาไทยและเลขไทยใน การสื่อสารได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ ชักชวน แนะนำให้ผู้อื่นเห็น คุณค่าของการใช้ภาษาไทยที่ ถูกต้อง ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ นำภูมิปัญญาไทยมาใช้ให้ เหมาะสมในวิถีชีวิต ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ ร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ ภูมิปัญญาไทย ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๕ แนะนำ มีส่วนร่วมในการสืบ ทอดภูมิปัญญาไทย ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๗-๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๓-๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙-๑๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕-๘ หมายถึง ปรับปรุง คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ ตั้งใจเรียน ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ เอาใจใส่และมีความเพียร พยายามในการเรียนรู้ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ สนใจเข้าร่วมกิจกรรมการ เรียนรู้ต่าง ๆ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ ศึกษาค้นคว้าหาความรู้จาก หนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อ เทคโนโลย่ต่าง ๆ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๕ บันทึกความรู้ วิเคราะห์ ตรวจสอบจากสิ่งที่เรียนรู้ สรุปเป็นองค์ความรู้ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๗-๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๓-๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙-๑๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕-๘ หมายถึง ปรับปรุง 56
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มุ่งมั่นในการทำงาน ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ ตั้งใจและรับผิดชอบในการ ทำงานให้สำเร็จ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ ปรับปรุงและพัฒนาการ ทำงานด้วยตนเอง ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ ทุ่มเทงาน อดทน ไม่ย่อท้อ ต่อปัญหาและอุปสรรคใน การทำงาน ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๕ พยายามในการแก้ปัญหา และอุปสรรคในการทำงาน ให้สำเร็จ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๗-๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๓-๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙-๑๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕-๘ หมายถึง ปรับปรุง 57
ใบงาน เรื่อง สรุปความรู้และข้อคิดจากศิลาจารึกหลักที่ ๑ คำชี้แจง ให้นักเรียนสรุปความรู้และข้อคิดจากวรรณคดีที่ศึกษา แล้วระบุคำตอบตามประเด็นที่กำหนดต่อไปนี้ ๑. คุณค่าด้านเนื้อหา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….................. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….................. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….................. ๒. คุณค่าด้านวรรณศิลป์ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….................. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….................. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….................. ๓. คุณค่าด้านสังคม …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….................. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….................. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….................. ๔. ข้อคิดที่ได้รับ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….................. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….................. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….................. ๕. ความรู้ที่ได้รับ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….................. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….................. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….................. 58
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๒๑๐๒ รายวิชา ภาษาไทย ๔ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๒ ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ชื่อหน่วย สำรวจหลักศิลา ศึกษาลายสือไทย เรื่อง วิเคราะห์วิจารณ์ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ผู้สอน ว่าที่ร้อยตรี ฐานทัพ ชุ่มจันทร์ ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่า และนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ ตัวชี้วัด ท ๕.๑ ม.๒/๒ วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถิ่นที่อ่าน พร้อมยกเหตุผลประกอบ ๒. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๒.๑ จำแนกเนื้อหาศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๒.๒ เขียนวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๒.๓ แสดงความสนใจและให้ความร่วมมือกับกิจกรรมการเรียนการสอน เรื่อง วิเคราะห์วิจารณ์ ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๓. สาระสําคัญ การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีเป็นการนำเนื้อหาของเรื่องมาพินิจพิจารณาแยกแยะออกเป็นส่วน ๆ เพื่อให้เข้าใจอย่างลึกซึ้ง เช่น รูปแบบการนำเสนอ การใช้ภาษา การดำเนินเรื่อง แนวคิดของเรื่อง เมื่อวิเคราะห์ อย่างละเอียดแล้ว จึงสามารถแสดงความคิดเห็น โดยการวิจารณ์ว่าวรรณคดีเรื่องที่อ่านนั้นมีความน่าสนใจ มีคุณค่า หรือข้อบกพร่องอย่างไร ๔. สาระการเรียนรู้ วิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๕. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร ๕.๒ ความสามารถในการคิด ๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๖.๑ ใฝ่เรียนรู้ ๖.๒ มุ่งมั่นในการทํางาน ๖.๓ รักความเป็นไทย 59
๗. จุดเน้นสู่การพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ คุณลักษณะผู้เรียนโรงเรียนมาตรฐานสากล ๗.๑ สื่อสาร ๒ ภาษา ๓.๒ ล้ำหน้าทางความคิด ทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ (๓R ๘C) ๗.๓ ทักษะการอ่าน ๗.๔ เขียนได้ ๗.๕ มีทักษะในการคิดวิเคราะห์การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และแก้ไขปัญหาได้ ทักษะชีวิตและอาชีพ ๗.๖ ความยืดหยุ่นและการปรับตัว ๗.๗ การริเริ่มและนำพาตนเอง ๘. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ ๑ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๑. นักเรียนฟังครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้เชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียน ๒. นักเรียนดูภาพเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ในหนังสือ จากนั้นนักเรียนร่วมกันตอบคำถาม กระตุ้นความสนใจ แนวคำถาม “จากภาพนี้สะท้อนให้เห็นสภาพวิถีชีวิตอย่างไร และอยู่ในช่วงยุคสมัยใด” ขั้นสอน ๓. นักเรียนศึกษาเรื่อง วิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีเรื่องศิลาจารึกหลักที่ ๑ จากหนังสือ หรือระบบ Line Official Account “THAI LINK” ๔. นักเรียนจดบันทึกเนื้อหาโดยสรุปจากเรื่อง วิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีเรื่องศิลาจารึกหลักที่ ๑ ขั้นสรุป ๕. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้และมอบหมายให้กลับไปทบทวนเนื้อหาการเรียนในครั้งนี้ เพื่อนำไปใช้ทำกิจกรรมการเรียนการสอนครั้งต่อไป ชั่วโมงที่ ๒ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๑. นักเรียนและครูร่วมกันทบทวนเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนการสอนในครั้งที่แล้ว ขั้นสอน ๒. นักเรียนทำใบงาน วิเคราะห์วิจารณ์กลุ่มคำที่ปรากฏในศิลาจารึกหลักที่ ๑ เช่น “ป่าหมาก” “ป่าพลู” “มีถ้อยมีความ” “ไหว้ดีพลีถูก” มีวิธีการสร้างคำอย่างไร อีกทั้งวิเคราะห์ส่วนประกอบของประโยคในศิลา จารึกหลักที่ ๑ ว่าแตกต่างจากส่วนประกอบของประโยคในปัจจุบันอย่างไร ๓. นักเรียนนำเสนอในงานการวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ หน้าชั้นเรียน ขั้นสรุป ๔. นักเรียนร่วมกันสรุปการปฏิบัติกิจกรรมและความรู้ที่ได้จากเรื่อง วิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี ศิลาจารึกหลักที่ ๑ เพื่อทำความเข้าใจให้ตรงกัน 60
๙. ภาระงาน / ชิ้นงาน ใบงานเรื่องวิเคราะห์ วิจารณ์วรรณคดีเรื่องศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑๐. การวัดและประเมินผล ๑๐.๑ การประเมินตามจุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ ภาระ/ชิ้นงาน วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การให้ คะแนน เกณฑ์การผ่าน ๑. จำแนกเนื้อหา ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ศึกษาเนื้อหา ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ประเมิน การเข้าร่วม กิจกรรม ในชั้นเรียน แบบประเมิน ตามสภาพจริง แบบประเมิน ตามสภาพจริง ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๒. เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์วรรณคดี เรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ใบงาน เรื่อง วิเคราะห์ วิจารณ์วรรณคดี เรื่อง ศิลาจารึก หลักที่ ๑ ใบงาน เรื่อง วิเคราะห์ วิจารณ์วรรณคดี เรื่อง ศิลาจารึก หลักที่ ๑ ใบงาน เรื่อง วิเคราะห์ วิจารณ์วรรณคดี เรื่อง ศิลาจารึกหลัก ที่ ๑ แบบประเมินใบงาน เรื่อง วิเคราะห์ วิจารณ์วรรณคดี เรื่อง ศิลาจารึก หลักที่ ๑ ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๘๐ ๓. แสดงความสนใจ และให้ความร่วมมือ กับกิจกรรมการเรียน การสอน เรื่อง วิเคราะห์ วิจารณ์ศิลาจารึก หลักที่ ๑ ๑. ศึกษาเนื้อหา ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๒. ใบงานเรื่อง วิเคราะห์วิจารณ์ วรรณคดีเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ประเมิน การเข้าร่วม กิจกรรม ในชั้นเรียน แบบประเมิน ตามสภาพจริง แบบประเมิน ตามสภาพจริง ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๑๐.๒ การประเมินสมรรถนะสำคัญ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และทักษะศตวรรษที่ ๒๑ (๓R ๘C) จุดประสงค์การเรียนรู้ ภาระ/ชิ้นงาน วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การให้ คะแนน เกณฑ์การ ผ่าน สมรรถนะสำคัญ ๑.ความสามารถ ในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด ๑. ศึกษาเนื้อหา ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๒. ใบงานเรื่อง วิเคราะห์วิจารณ์ วรรณคดีเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ประเมินสมรรถนะ สำคัญ แบบประเมิน สมรรถนะสำคัญ แบบประเมิน สมรรถนะสำคัญ ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ คุณลักษณะผู้เรียน มาตรฐานสากล ๑. สื่อสาร ๒ ภาษา ๒. ล้ำหน้าทางความคิด ๑. ศึกษาเนื้อหา ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๒. ใบงานเรื่อง วิเคราะห์วิจารณ์ วรรณคดีเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. ประเมิน การเข้าร่วมกิจกรรม ในชั้นเรียน ๒. ประเมินใบงาน เรื่อง วิเคราะห์วิจารณ์ วรรณคดีเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. ใบงานเรื่อง วิเคราะห์วิจารณ์ วรรณคดีเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. แบบประเมิน ใบงานเรื่อง วิเคราะห์วิจารณ์ วรรณคดีเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๒. ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๘๐ 61
จุดประสงค์การเรียนรู้ ภาระ/ชิ้นงาน วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การให้ คะแนน เกณฑ์การ ผ่าน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ๑. ใฝ่เรียนรู้ ๒. มุ่งมั่น ในการทำงาน ๓. รักความเป็นไทย ๑. ศึกษาเนื้อหา ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๒. ใบงานเรื่อง วิเคราะห์วิจารณ์ วรรณคดีเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ทักษะศตวรรษที่ ๒๑ ๑. อ่านออก ๒. เขียนได้ ๓. มีทักษะ ในการวิเคราะห์การคิด อย่างมีวิจารณญาณ และแก้ไขปัญหาได้ ๑. ศึกษาเนื้อหา ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๒. ใบงานเรื่อง วิเคราะห์วิจารณ์ วรรณคดีเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. ประเมิน การเข้าร่วมกิจกรรม ในชั้นเรียน ๒. ประเมินใบงาน เรื่อง วิเคราะห์วิจารณ์ วรรณคดีเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. ใบงานเรื่อง วิเคราะห์วิจารณ์ วรรณคดีเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. แบบประเมิน ใบงานเรื่อง วิเคราะห์วิจารณ์ วรรณคดีเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๒. ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๘๐ ทักษะชีวิตและอาชีพ ๑. ความยืดหยุ่น และการปรับตัว ๒. การริเริ่ม และนำพาตนเอง ๑. ศึกษาเนื้อหา ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๒. ใบงานเรื่อง วิเคราะห์วิจารณ์ วรรณคดีเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. ประเมิน การเข้าร่วมกิจกรรม ในชั้นเรียน ๒. ประเมินใบงาน เรื่อง วิเคราะห์วิจารณ์ วรรณคดีเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. ใบงานเรื่อง วิเคราะห์วิจารณ์ วรรณคดีเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. แบบประเมิน ใบงานเรื่อง วิเคราะห์วิจารณ์ วรรณคดีเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๒. ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๘๐ ๑๑. สื่อการเรียนรู้ ๑๑.๑ ใบงาน เรื่อง วิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑๑.๒ ภาพเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ในหนังสือวรรณคดีวิจักษ์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๑๑.๓ ระบบ Line Official Account “THAI LINK” https://liff.line.me/1645278921-kWRPP32q/?accountId=158vjmol ๑๒. แหล่งเรียนรู้ หนังสือวรรณคดีวิจักษ์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ 62
บันทึกผลหลังการสอน สรุปผลหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้/ผลการเรียนรู้/ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... นักเรียนทั้งหมดจำนวน ……………….. คน (ทุกคนที่สอน) จุดประสงค์การเรียนรู้ข้อที่ จำนวนนักเรียนที่ผ่าน จำนวนนักเรียนที่ไม่ผ่าน จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ 1 2 3 4 ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข/ข้อเสนอแนะ/ข้อสังเกตอื่น ๆ ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ .......................................................................... ครูผู้สอน (.............................................................................) .............../.............../............... บันทึกข้อคิดเห็นเพิ่มเติม ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ .......................................................................... ครูพี่เลี้ยง (.............................................................................) .............../.............../............... บันทึกข้อคิดเห็นเพิ่มเติม ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ .......................................................................... ผู้นิเทศ (.............................................................................) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หรือผู้ช่วยผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ .............../.............../............... 63
แบบการประเมินการวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี คำชี้แจง : ให้ผู้สอนตรวจภาระงาน/ชิ้นงานนักเรียน แล้วประเมินด้วยการทำเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องระดับคะแนน ประเด็นการประเมิน /ระดับคะแนน ลำดับที่-ชื่อ-สกุล นักเรียน ๑. การนำเสนอ เนื้อหาการเขียน ลำดับความคิด ๒. การวิเคราะห์ วิจารณ์ ๓. การใช้ภาษา รวม ๑๒ คะแนน ระดับ คุณภาพ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ลงชื่อ .......................................................................... ผู้ประเมิน (.............................................................................) .............../.............../............... เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค (Scoring Rubric) การประเมินการวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี ประเด็น การประเมิน ระดับคุณภาพคะแนน น้ำหนัก ๔ ๓ ๒ ๑ คะแนน ๑. การ นำเสนอ เนื้อหาการ เขียนลำดับ ความคิด ๑. เขียนลำดับ ความคิดได้อย่าง เหมาะสม ๒. จำแนกประเด็นได้ ๓. เขียนสรุปประเด็น ของเรื่องได้ชัดเจน ๔. เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์และแสดง ความคิดเห็นเชื่อมโยง ความสัมพันธ์ความ คิดเห็นกับประเด็น ๑. เขียนลำดับ ความคิดได้อย่าง เหมาะสม ๒. จำแนกประเด็นได้ ๓. เขียนสรุปประเด็น ของเรื่องได้ชัดเจน ๑. เขียนลำดับ ความคิดได้อย่าง เหมาะสม ๒. จำแนกประเด็นได้ ๑. เขียนลำดับ ความคิดได้อย่าง เหมาะสม ๔ 64
ประเด็น การประเมิน ระดับคุณภาพคะแนน น้ำหนัก ๔ ๓ ๒ ๑ คะแนน ๒. การ วิเคราะห์ วิจารณ์ ๑. แยกแยะ ข้อเท็จจริงจากเรื่องที่ อ่าน ๒. บอกคุณค่าของ เรื่องที่อ่าน ๓. สรุปคุณค่าของ เรื่องที่อ่าน ๔. สามารถนำแนวคิด ไปใช้ในชีวิตประจำวัน ๑. แยกแยะ ข้อเท็จจริงจากเรื่องที่ อ่าน ๒. บอกคุณค่าของ เรื่องที่อ่าน ๓. สรุปคุณค่าของ เรื่องที่อ่าน ๑. แยกแยะ ข้อเท็จจริงจากเรื่องที่ อ่าน ๒. บอกคุณค่าของ เรื่องที่อ่าน ๑. แยกแยะ ข้อเท็จจริงจากเรื่องที่ อ่าน ๔ ๓. การใช้ ภาษา ๑. การใช้ถ้อยคำ สำนวนถูกต้อง เหมาะสม ๒. เขียนสื่อ ความหมายได้ชัดเจน ๓. ใช้ภาษาถูกต้อง ตามอักษรวิธี ๔. มีมารยาทในการ เขียน ๑. การใช้ถ้อยคำ สำนวนถูกต้อง เหมาะสม ๒. เขียนสื่อ ความหมายได้ชัดเจน ๓. ใช้ภาษาถูกต้อง ตามอักษรวิธี ๑. การใช้ถ้อยคำ สำนวนถูกต้อง เหมาะสม ๒. เขียนสื่อ ความหมายได้ชัดเจน ๑. การใช้ถ้อยคำ สำนวนถูกต้อง เหมาะสม ๔ ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๑-๑๒ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๙-๑๐ หมายถึง ดี คะแนน ๗-๘ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๔-๖ หมายถึง ปรับปรุง 65
แบบประเมินการเข้าร่วมกิจกรรมในชั้นเรียนตามสภาพจริง (การประเมินทักษะในศตวรรษที่ ๒๑) คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วประเมินด้วยการทำเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องระดับคะแนน ประเด็นการประเมิน /ระดับคะแนน ลำดับที่-ชื่อ-สกุล นักเรียน ๑. ความรู้ ความเข้าใจใน เนื้อหา ๒. กระบวนการ คิดวิเคราะห์ ประเมินค่า ๓. การแสดง ความคิดเห็น ๔. ความมี น้ำใจกับเพื่อน ร่วมงาน ๕. ความ รับผิดชอบต่อ หน้าที่ที่ได้รับ มอบหมาย รวม ๒๐ คะแนน ระดับ คุณภาพ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ลงชื่อ .......................................................................... ผู้ประเมิน (.............................................................................) .............../.............../............... เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค (Scoring Rubric) การเข้าร่วมกิจกรรมในชั้นเรียนตามสภาพจริง ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ ความรู้ความเข้าใจในเนื้อหา ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ กระบวนการคิดวิเคราะห์ ประเมินค่า ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ การแสดงความคิดเห็น ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ ความมีน้ำใจกับเพื่อน ร่วมงาน ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๕ ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ ได้รับมอบหมาย ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๗-๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๓-๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙-๑๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕-๘ หมายถึง ปรับปรุง 66
แบบประเมินสมรรถนะสำคัญ ชื่อ-นามสกุล นักเรียน ................................................................................................... ชั้น ม.๒/.......... เลขที่ ............ คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วประเมินด้วยการทำเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องระดับคะแนน สมรรถนะสำคัญ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๑ ๒ ๓ ๔ ความสามารถ ในการสื่อสาร ๑. มีความสามารถในการรับส่งสาร ๒. มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ความคิดความเข้าใจของตนเองโดย ใช้ภาษาอย่างเหมาะสม ๓. ใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะสม ๔. วิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล รวม ระดับคุณภาพ ความสามารถ ในการคิด ๑. มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์สังเคราะห์ ๒. มีทักษะในการคิดนอกกรอบอย่างสร้างสรรค์ ๓. สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ ๔. มีความสามารถในการคิดอย่างมีระบบ ๕. ตัดสินใจแก้ปัญหาเกี่ยวกับตนเองได้ รวม ระดับคุณภาพ ลงชื่อ .......................................................................... ผู้ประเมิน (.............................................................................) .............../.............../............... 67
เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค (Scoring Rubric) สมรรถนะสำคัญ ความสามารถในการสื่อสาร ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ มีความสามารถในการรับส่ง สาร ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ มีความสามารถในการ ถ่ายทอดความรู้ความคิด ความเข้าใจของตนเองโดยใช้ ภาษาอย่างเหมาะสม ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ ใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะสม ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ วิเคราะห์ แสดงความคิดเห็น อย่างมีเหตุผล ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๔-๑๖ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๑-๑๓ หมายถึง ดี คะแนน ๘-๑๐ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๔-๗ หมายถึง ปรับปรุง สมรรถนะสำคัญ ความสามารถในการคิด ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ มีความสามารถในการคิด วิเคราะห์สังเคราะห์ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ มีทักษะในการคิดนอกกรอบ อย่างสร้างสรรค์ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ สามารถคิดอย่างมี วิจารณญาณ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ มีความสามารถในการคิด อย่างมีระบบ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๕ ตัดสินใจแก้ปัญหาเกี่ยวกับ ตนเองได้ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๗-๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๓-๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙-๑๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕-๘ หมายถึง ปรับปรุง 68
แบบประเมินคุณลักณะอันพึงประสงค์ รักความเป็นไทย ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ ใช้ภาษาไทยและเลขไทยใน การสื่อสารได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ ชักชวน แนะนำให้ผู้อื่นเห็น คุณค่าของการใช้ภาษาไทยที่ ถูกต้อง ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ นำภูมิปัญญาไทยมาใช้ให้ เหมาะสมในวิถีชีวิต ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ ร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ ภูมิปัญญาไทย ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๕ แนะนำ มีส่วนร่วมในการสืบ ทอดภูมิปัญญาไทย ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๗-๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๓-๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙-๑๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕-๘ หมายถึง ปรับปรุง แบบประเมินคุณลักณะอันพึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ ตั้งใจเรียน ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ เอาใจใส่และมีความเพียร พยายามในการเรียนรู้ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ สนใจเข้าร่วมกิจกรรมการ เรียนรู้ต่าง ๆ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ ศึกษาค้นคว้าหาความรู้จาก หนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อ เทคโนโลย่ต่าง ๆ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๕ บันทึกความรู้ วิเคราะห์ ตรวจสอบจากสิ่งที่เรียนรู้ สรุปเป็นองค์ความรู้ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๗-๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๓-๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙-๑๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕-๘ หมายถึง ปรับปรุง 69
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ชื่อ-นามสกุล นักเรียน ................................................................................................... ชั้น ม.๒/.......... เลขที่ ............ คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วประเมินด้วยการทำเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๑ ๒ ๓ ๔ รักความเป็นไทย ๑. ใช้ภาษาไทยและเลขไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ๒. ชักชวน แนะนำให้ผู้อื่นเห็นคุณค่าของการใช้ภาษาไทยที่ถูกต้อง ๓. นำภูมิปัญญาไทยมาใช้ให้เหมาะสมในวิถีชีวิต ๔. ร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาไทย ๕. แนะนำ มีส่วนร่วมในการสืบทอดภูมิปัญญาไทย รวม ระดับคุณภาพ ใฝ่เรียนรู้ ๑. ตั้งใจเรียน ๒. เอาใจใส่และมีความเพียรพยายามในการเรียนรู้ ๓. สนใจเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ๔. ศึกษาค้นคว้าหาความรู้จากหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยีต่าง ๆ ๕. บันทึกความรู้ วิเคราะห์ ตรวจสอบจากสิ่งที่เรียนรู้สรุปเป็นองค์ความรู้ รวม ระดับคุณภาพ มุ่งมั่นในการทำงาน ๑. เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ๒. ตั้งใจและรับผิดชอบในการทำงานให้สำเร็จ ๓. ปรับปรุงและพัฒนาการทำงานด้วยตนเอง ๔. ทุ่มเทงาน อดทน ไม่ย่อท้อต่อปัญหาและอุปสรรคในการทำงาน ๕. พยายามในการแก้ปัญหาและอุปสรรคในการทำงานให้สำเร็จ รวม ระดับคุณภาพ ลงชื่อ .......................................................................... ผู้ประเมิน (.............................................................................) .............../.............../............... 70
เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค (Scoring Rubric) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ รักความเป็นไทย ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ ใช้ภาษาไทยและเลขไทยใน การสื่อสารได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ ชักชวน แนะนำให้ผู้อื่นเห็น คุณค่าของการใช้ภาษาไทยที่ ถูกต้อง ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ นำภูมิปัญญาไทยมาใช้ให้ เหมาะสมในวิถีชีวิต ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ ร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ ภูมิปัญญาไทย ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๕ แนะนำ มีส่วนร่วมในการสืบ ทอดภูมิปัญญาไทย ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๗-๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๓-๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙-๑๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕-๘ หมายถึง ปรับปรุง คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ ตั้งใจเรียน ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ เอาใจใส่และมีความเพียร พยายามในการเรียนรู้ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ สนใจเข้าร่วมกิจกรรมการ เรียนรู้ต่าง ๆ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ ศึกษาค้นคว้าหาความรู้จาก หนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อ เทคโนโลย่ต่าง ๆ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๕ บันทึกความรู้ วิเคราะห์ ตรวจสอบจากสิ่งที่เรียนรู้ สรุปเป็นองค์ความรู้ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๗-๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๓-๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙-๑๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕-๘ หมายถึง ปรับปรุง 71
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มุ่งมั่นในการทำงาน ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ ตั้งใจและรับผิดชอบในการ ทำงานให้สำเร็จ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ ปรับปรุงและพัฒนาการ ทำงานด้วยตนเอง ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ ทุ่มเทงาน อดทน ไม่ย่อท้อ ต่อปัญหาและอุปสรรคใน การทำงาน ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๕ พยายามในการแก้ปัญหา และอุปสรรคในการทำงาน ให้สำเร็จ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๗-๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๓-๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙-๑๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕-๘ หมายถึง ปรับปรุง 72
ใบงาน เรื่อง วิจารณ์วรรณคดีเรื่องศิลาจารึกหลักที่ ๑ คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ ๑. กลุ่มคำที่ปรากฏในหลักศิลาจารึกหลักที่ ๑ เช่น “ป่าหมาก” “ป่าพลู” “มีถ้อยมีความ” “ไหว้ดีพลีถูก” มีวิธีการสร้างคำอย่างไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….................. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….................. ๒. วิเคราะห์ส่วนประกอบของประโยคในศิลาจารึกหลักที่ ๑ ว่าแตกต่างจากส่วนประกอบของประโยคในปัจจุบัน อย่างไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….................. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….................. ๓. ยกข้อความในศิลาจารึกหลักที่ ๑ ที่แสดงลักษณะต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ ๑) ความกล้าหาญ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….................. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๒) ความเสียสละ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….................. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓) ความกตัญญู …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….................. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 73
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๒๑๐๒ รายวิชา ภาษาไทย ๔ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๑ ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ชื่อหน่วย สำรวจหลักศิลา ศึกษาลายสือไทย เรื่อง การอ่านออกเสียงศิลาจารึกหลักที่ ๑ ผู้สอน ว่าที่ร้อยตรี ฐานทัพ ชุ่มจันทร์ ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพื่อนำไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหา ในการดำเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ ๑.๑ ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ม.๒/๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง ๑.๒ ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ม.๒/๘ มีมารยาทในการอ่าน ๒. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๒.๑ แปลความหมายศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๒.๒ อ่านออกสียงศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๒.๓ มีมารยาทในการอ่าน ๒.๔ แสดงความสนใจและให้ความร่วมมือกับกิจกรรมการเรียนการสอน เรื่อง การอ่านออกเสียง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๓. สาระสําคัญ การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วต้องคำนึงถึงอักขรวิธี การเว้นวรรคตอน เป็นการสื่อสารสำคัญ ทำให้ผู้รับสารมีความเข้าใจเกิดความรู้ความบันเทิงได้ ผู้อ่านจะต้องรู้หลักในการอ่านออกเสียงร้อยแก้ว จึงจะทำให้การอ่านออกเสียงน่าฟังและมีความถูกต้องตามหลักการอ่าน มีมารยาทในการอ่าน ๔. สาระการเรียนรู้ การอ่านร้อยแก้วจากการเรียนวรรณคดีเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๕. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร ๕.๒ ความสามารถในการคิด ๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๖.๑ ใฝ่เรียนรู้ ๖.๒ มุ่งมั่นในการทํางาน ๖.๓ รักความเป็นไทย 74
๗. จุดเน้นสู่การพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ คุณลักษณะผู้เรียนโรงเรียนมาตรฐานสากล ๗.๑ สื่อสาร ๒ ภาษา ๓.๒ ล้ำหน้าทางความคิด ทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ (๓R ๘C) ๗.๓ ทักษะการอ่าน ๗.๔ เขียนได้ ๗.๕ มีทักษะในการคิดวิเคราะห์การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และแก้ไขปัญหาได้ ทักษะชีวิตและอาชีพ ๗.๖ ความยืดหยุ่นและการปรับตัว ๗.๗ การริเริ่มและนำพาตนเอง ๘. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๑. นักเรียนฟังครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้เชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียน ๒. นักเรียนและครูสนทนาร่วมกันเกี่ยวกับความน่าสนใจของลายสือไทย และความน่าภาคภูมิใจ ที่ไทยมีตัวอักษรใช้เป็นของตนเอง จากนั้นนักเรียนดูภาพสถานที่ที่ปรากฏในศิลาจารึกหลักที่ ๑ แล้วร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพดังกล่าว ขั้นสอน ๓. นักเรียนอ่านออกเสียงศิลาจารึกหลักที่ ๑ ด้านที่ ๑ บรรทัดที่ ๑ - ๒๐ พร้อมเพรียงกัน ๔. นักเรียนสรุปสิ่งที่กล่าวไว้ในศิลารึกหลักที่ ๑ เป็นสำนวนภาษาในปัจจุบันลงในใบงาน โดยนักเรียนเข้าระบบ Line Official Account “THAI LINK” เพื่อศึกษาความรู้ประกอบการทำใบงานได้ ๕. นักเรียนจับคู่ใช้ดินสอเขียนข้อความลายสือไท พร้อมคําแปลจากศิลาจารึกหลักที่ ๑ ลงในบัตรคำ คู่ละ ๑ ข้อความ และนําบัตรคำมาแลกเปลี่ยนชื่นชมกับผลงานของเพื่อนจนครบ ขั้นสรุป ๖. นักเรียนอ่านออกเสียงศิลาจารึกหลักที่ ๑ พร้อมกันให้ครูฟังอีกครั้ง โดยต้องอ่านให้ถูกต้อง ดีกว่าครั้งที่แล้ว ๙. ภาระงาน / ชิ้นงาน ๙.๑ อ่านออกเสียงศิลาจารึกหลักที่ ๑ ด้านที่ ๑ บรรทัดที่ ๑ - ๒๐ ๙.๒ ใบงานเรื่อง การอ่านออกเสียงศิลาจารึกหลักที่ ๑ 75
๑๐. การวัดและประเมินผล ๑๐.๑ การประเมินตามจุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ ภาระ/ชิ้นงาน วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การให้ คะแนน เกณฑ์การผ่าน ๑. แปลความหมาย ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ศึกษาเนื้อหา ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ประเมิน การเข้าร่วมกิจกรรม ในชั้นเรียน ใบงาน เรื่อง อ่านออกเสียง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ใบงาน เรื่อง อ่านออกเสียง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๒. อ่านออกเสียง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๓. มีมารยาทในการอ่าน ใบงานเรื่อง อ่านออกเสียง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ประเมิน ใบงานเรื่อง อ่านออกเสียง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ แบบประเมิน อ่านออกเสียง แบบประเมิน อ่านออกเสียง ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๔. แสดงความสนใจ และให้ความร่วมมือ กับกิจกรรมการเรียน การสอน เรื่อง การอ่านออกเสียง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. ศึกษาเนื้อหา ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๒. ใบงานเรื่อง อ่านออกเสียงศิลา จารึกหลักที่ ๑ ประเมินการเข้าร่วม กิจกรรมในชั้นเรียน แบบประเมิน ตามสภาพจริง แบบประเมิน ตามสภาพจริง ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๑๐.๒ การประเมินสมรรถนะสำคัญ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และทักษะศตวรรษที่ ๒๑ (๓R ๘C) จุดประสงค์การเรียนรู้ ภาระ/ชิ้นงาน วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การให้ คะแนน เกณฑ์การ ผ่าน สมรรถนะสำคัญ ๑.ความสามารถ ในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด ๑. ศึกษาเนื้อหา ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๒. ใบงานเรื่อง อ่านออกเสียง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ประเมินสมรรถนะ สำคัญ แบบประเมิน สมรรถนะสำคัญ แบบประเมิน สมรรถนะสำคัญ ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ คุณลักษณะผู้เรียน มาตรฐานสากล ๑. สื่อสาร ๒ ภาษา ๒. ล้ำหน้าทางความคิด ๑. ศึกษาเนื้อหา ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๒. ใบงานเรื่อง อ่านออกเสียง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. ประเมิน การเข้าร่วมกิจกรรม ในชั้นเรียน ๒. ประเมินใบงาน เรื่อง อ่านออกเสียง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. แบบประเมิน อ่านออกเสียง ๓. ใบงาน เรื่อง อ่านออกเสียง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. แบบประเมิน อ่านออกเสียง ๓. ใบงาน เรื่อง อ่านออกเสียง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๒. ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ๑. ใฝ่เรียนรู้ ๒. มุ่งมั่นในการทำงาน ๓. รักความเป็นไทย ๑. ศึกษาเนื้อหา ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๒. ใบงานเรื่อง อ่านออกเสียง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ แบบประเมิน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ 76
จุดประสงค์การเรียนรู้ ภาระ/ชิ้นงาน วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การให้ คะแนน เกณฑ์การ ผ่าน ทักษะศตวรรษที่ ๒๑ ๑. อ่านออก ๒. เขียนได้ ๓. มีทักษะ ในการวิเคราะห์การคิด อย่างมีวิจารณญาณ และแก้ไขปัญหาได้ ๑. ศึกษาเนื้อหา ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๒. ใบงานเรื่อง อ่านออกเสียง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. ประเมิน การเข้าร่วมกิจกรรม ในชั้นเรียน ๒. ประเมินใบงาน เรื่อง อ่านออกเสียง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. แบบประเมิน อ่านออกเสียง ๓. ใบงาน เรื่อง อ่านออกเสียง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. แบบประเมิน อ่านออกเสียง ๓. ใบงาน เรื่อง อ่านออกเสียง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๒. ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ทักษะชีวิตและอาชีพ ๑. ความยืดหยุ่น และการปรับตัว ๒. การริเริ่ม และนำพาตนเอง ๑. ศึกษาเนื้อหา ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๒. ใบงานเรื่อง อ่านออกเสียง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. ประเมิน การเข้าร่วมกิจกรรม ในชั้นเรียน ๒. ประเมินใบงาน เรื่อง อ่านออกเสียง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. แบบประเมิน อ่านออกเสียง ๓. ใบงาน เรื่อง อ่านออกเสียง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. แบบประเมิน อ่านออกเสียง ๓. ใบงาน เรื่อง อ่านออกเสียง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๒. ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๑๑. สื่อการเรียนรู้ ๑๑.๑ บัตรภาพสถานที่ที่ปรากฏในศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑๑.๒ ใบงานเรื่อง การอ่านออกเสียงศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑๑.๓ ระบบ Line Official Account “THAI LINK” https://liff.line.me/1645278921-kWRPP32q/?accountId=158vjmol ๑๒. แหล่งเรียนรู้ หนังสือวรรณคดีวิจักษ์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ 77
บันทึกผลหลังการสอน สรุปผลหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้/ผลการเรียนรู้/ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... นักเรียนทั้งหมดจำนวน ……………….. คน (ทุกคนที่สอน) จุดประสงค์การเรียนรู้ข้อที่ จำนวนนักเรียนที่ผ่าน จำนวนนักเรียนที่ไม่ผ่าน จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ 1 2 3 4 ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข/ข้อเสนอแนะ/ข้อสังเกตอื่น ๆ ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ .......................................................................... ครูผู้สอน (.............................................................................) .............../.............../............... บันทึกข้อคิดเห็นเพิ่มเติม ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ .......................................................................... ครูพี่เลี้ยง (.............................................................................) .............../.............../............... บันทึกข้อคิดเห็นเพิ่มเติม ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ .......................................................................... ผู้นิเทศ (.............................................................................) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หรือผู้ช่วยผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ .............../.............../............... 78
แบบการประเมินการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วของนักเรียน แล้วประเมินด้วยการทำเครื่องหมาย ✓ ลงใน ช่องระดับคะแนน ประเด็นการประเมิน /ระดับคะแนน ลำดับที่-ชื่อ-สกุล นักเรียน ๑. อักขรวิธี ๒. การอ่านออก เสียง ๓. จังหวะลีลา ๔. บุคลิก รวม ๑๖ คะแนน ระดับ คุณภาพ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ลงชื่อ .......................................................................... ผู้ประเมิน (.............................................................................) .............../.............../............... เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค (Scoring Rubric) การประเมินการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว ประเด็น การประเมิน ระดับคุณภาพคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑. อักขรวิธี อ่านถูกต้องทั้งหมด อ่านผิด ๑ - ๒ คำ อ่านผิด ๓ - ๔ คำ อ่านผิดมากกว่า ๕ คำ ๒. การอ่าน ออกเสียง ๑. เสียงดังชัดเจน ๒. แสดงอารมณ์ได้สอดคล้องกับเนื้อเรื่อง ๓. แบ่งวรรคตอนถูกต้อง ๔. น้ำเสียงไพเราะ ขาดหรือไม่ชัดเจน ๑ ข้อ ขาดหรือไม่ชัดเจน ๒ ข้อ ขาดหรือไม่ชัดเจน ๓ ข้อ ๓. จังหวะลีลา ๑. ลีลาอารมณ์สอดคล้องกับบทที่อ่าน ๒. มีการทอดจังหวะเอื้อนเสียง ๓. มีการหลบเสียงสูงต่ำ ๔. อ่านได้ถูกต้องตามลักษณะคำประพันธ์ ขาดหรือไม่ชัดเจน ๑ ข้อ ขาดหรือไม่ชัดเจน ๒ ข้อ ขาดหรือไม่ชัดเจน ๓ ข้อ ๔. บุคลิก ๑. จับหนังสือถูกวิธี ๒. แนะนำตัวเองถูกต้อง ๓. แต่งกายสะอาดเรียบร้อย ๔. มีความเชื่อมั่นในตนเอง ขาดหรือไม่ชัดเจน ๑ ข้อ ขาดหรือไม่ชัดเจน ๒ ข้อ ขาดหรือไม่ชัดเจน ๓ ข้อ ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๔-๑๖ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๑-๑๓ หมายถึง ดี คะแนน ๘-๑๐ หมายถึง พอใช้ คะแนน ต่ำกว่า ๘ หมายถึง ปรับปรุง 79
แบบประเมินการเข้าร่วมกิจกรรมในชั้นเรียนตามสภาพจริง (การประเมินทักษะในศตวรรษที่ ๒๑) คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วประเมินด้วยการทำเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องระดับคะแนน ประเด็นการประเมิน /ระดับคะแนน ลำดับที่-ชื่อ-สกุล นักเรียน ๑. ความรู้ ความเข้าใจใน เนื้อหา ๒. กระบวนการ คิดวิเคราะห์ ประเมินค่า ๓. การแสดง ความคิดเห็น ๔. ความมี น้ำใจกับเพื่อน ร่วมงาน ๕. ความ รับผิดชอบต่อ หน้าที่ที่ได้รับ มอบหมาย รวม ๒๐ คะแนน ระดับ คุณภาพ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ลงชื่อ .......................................................................... ผู้ประเมิน (.............................................................................) .............../.............../............... เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค (Scoring Rubric) การเข้าร่วมกิจกรรมในชั้นเรียนตามสภาพจริง ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ ความรู้ความเข้าใจในเนื้อหา ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ กระบวนการคิดวิเคราะห์ ประเมินค่า ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ การแสดงความคิดเห็น ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ ความมีน้ำใจกับเพื่อน ร่วมงาน ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๕ ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ ได้รับมอบหมาย ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๗-๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๓-๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙-๑๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕-๘ หมายถึง ปรับปรุง 80
แบบประเมินสมรรถนะสำคัญ ชื่อ-นามสกุล นักเรียน ................................................................................................... ชั้น ม.๒/.......... เลขที่ ............ คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วประเมินด้วยการทำเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องระดับคะแนน สมรรถนะสำคัญ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๑ ๒ ๓ ๔ ความสามารถ ในการสื่อสาร ๑. มีความสามารถในการรับส่งสาร ๒. มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ความคิดความเข้าใจของตนเองโดย ใช้ภาษาอย่างเหมาะสม ๓. ใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะสม ๔. วิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล รวม ระดับคุณภาพ ความสามารถ ในการคิด ๑. มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์สังเคราะห์ ๒. มีทักษะในการคิดนอกกรอบอย่างสร้างสรรค์ ๓. สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ ๔. มีความสามารถในการคิดอย่างมีระบบ ๕. ตัดสินใจแก้ปัญหาเกี่ยวกับตนเองได้ รวม ระดับคุณภาพ ลงชื่อ .......................................................................... ผู้ประเมิน (.............................................................................) .............../.............../............... 81
เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค (Scoring Rubric) สมรรถนะสำคัญ ความสามารถในการสื่อสาร ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ มีความสามารถในการรับส่ง สาร ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ มีความสามารถในการ ถ่ายทอดความรู้ความคิด ความเข้าใจของตนเองโดยใช้ ภาษาอย่างเหมาะสม ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ ใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะสม ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ วิเคราะห์ แสดงความคิดเห็น อย่างมีเหตุผล ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๔-๑๖ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๑-๑๓ หมายถึง ดี คะแนน ๘-๑๐ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๔-๗ หมายถึง ปรับปรุง สมรรถนะสำคัญ ความสามารถในการคิด ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ มีความสามารถในการคิด วิเคราะห์สังเคราะห์ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ มีทักษะในการคิดนอกกรอบ อย่างสร้างสรรค์ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ สามารถคิดอย่างมี วิจารณญาณ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ มีความสามารถในการคิด อย่างมีระบบ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๕ ตัดสินใจแก้ปัญหาเกี่ยวกับ ตนเองได้ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๗-๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๓-๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙-๑๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕-๘ หมายถึง ปรับปรุง 82
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ชื่อ-นามสกุล นักเรียน ................................................................................................... ชั้น ม.๒/.......... เลขที่ ............ คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วประเมินด้วยการทำเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๑ ๒ ๓ ๔ รักความเป็นไทย ๑. ใช้ภาษาไทยและเลขไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ๒. ชักชวน แนะนำให้ผู้อื่นเห็นคุณค่าของการใช้ภาษาไทยที่ถูกต้อง ๓. นำภูมิปัญญาไทยมาใช้ให้เหมาะสมในวิถีชีวิต ๔. ร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาไทย ๕. แนะนำ มีส่วนร่วมในการสืบทอดภูมิปัญญาไทย รวม ระดับคุณภาพ ใฝ่เรียนรู้ ๑. ตั้งใจเรียน ๒. เอาใจใส่และมีความเพียรพยายามในการเรียนรู้ ๓. สนใจเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ๔. ศึกษาค้นคว้าหาความรู้จากหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยีต่าง ๆ ๕. บันทึกความรู้ วิเคราะห์ ตรวจสอบจากสิ่งที่เรียนรู้สรุปเป็นองค์ความรู้ รวม ระดับคุณภาพ มุ่งมั่นในการทำงาน ๑. เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ๒. ตั้งใจและรับผิดชอบในการทำงานให้สำเร็จ ๓. ปรับปรุงและพัฒนาการทำงานด้วยตนเอง ๔. ทุ่มเทงาน อดทน ไม่ย่อท้อต่อปัญหาและอุปสรรคในการทำงาน ๕. พยายามในการแก้ปัญหาและอุปสรรคในการทำงานให้สำเร็จ รวม ระดับคุณภาพ ลงชื่อ .......................................................................... ผู้ประเมิน (.............................................................................) .............../.............../............... 83
เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค (Scoring Rubric) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ รักความเป็นไทย ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ ใช้ภาษาไทยและเลขไทยใน การสื่อสารได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ ชักชวน แนะนำให้ผู้อื่นเห็น คุณค่าของการใช้ภาษาไทยที่ ถูกต้อง ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ นำภูมิปัญญาไทยมาใช้ให้ เหมาะสมในวิถีชีวิต ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ ร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ ภูมิปัญญาไทย ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๕ แนะนำ มีส่วนร่วมในการสืบ ทอดภูมิปัญญาไทย ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๗-๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๓-๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙-๑๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕-๘ หมายถึง ปรับปรุง คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ ตั้งใจเรียน ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ เอาใจใส่และมีความเพียร พยายามในการเรียนรู้ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ สนใจเข้าร่วมกิจกรรมการ เรียนรู้ต่าง ๆ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ ศึกษาค้นคว้าหาความรู้จาก หนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อ เทคโนโลย่ต่าง ๆ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๕ บันทึกความรู้ วิเคราะห์ ตรวจสอบจากสิ่งที่เรียนรู้ สรุปเป็นองค์ความรู้ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๗-๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๓-๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙-๑๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕-๘ หมายถึง ปรับปรุง 84
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มุ่งมั่นในการทำงาน ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ ตั้งใจและรับผิดชอบในการ ทำงานให้สำเร็จ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ ปรับปรุงและพัฒนาการ ทำงานด้วยตนเอง ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ ทุ่มเทงาน อดทน ไม่ย่อท้อ ต่อปัญหาและอุปสรรคใน การทำงาน ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๕ พยายามในการแก้ปัญหา และอุปสรรคในการทำงาน ให้สำเร็จ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๗-๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๓-๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙-๑๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕-๘ หมายถึง ปรับปรุง 85
บัตรภาพสถานที่ที่ปรากฏในศิลาจารึกหลักที่ ๑ “กลางเมืองสุโขทัยนี้ มีพิหาร มีพระพุทธรูปทอง มีพระอัฏฐารส” “กลางเมืองสุโขทัยนี้ มีน้ำตระพังโพยสี ใสกินดี ... ดั่งกินน้ำโขงเมื่อแล้ง” 86
ใบงาน เรื่อง การอ่านออกเสียงศิลาจารึกหลักที่ ๑ คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ ๑. จากการอ่านจารึกพ่อขุนรามคำแหงด้านที่ ๑ บรรทัดที่ ๑ – ๒๐ นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ ภายหลังการสวรรคตของพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ พ่อขุนรามคำแหงทรงปฏิบัติพระองค์อย่างไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์ ๑. สมเด็จพระราชบิดาของพ่อขุนรามคำแหงฯ ทรงพระนามว่า ๒. สมเด็จพระราชมารดาของพ่อขุนรามคำแหงฯ ทรงพระนามว่า ๓. สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชที่พ่อขุนรามคำแหงฯ ทรงกล่าวถึงในหลักศิลาจารึก ด้านที่ มีพระนามว่า ๔. ผู้ที่ยกทัพมารุกรานสมเด็จพระราชบิดาของพ่อขุนรามคำแหงฯ คือ ๕. ผู้ที่เป็นคำตอบในข้อ ๔ เป็นเจ้าเมือง ที่ยกทัพมาตีเมือง ๖. พ่อขุนรามฯ ทรงชนช้างชนะข้าศึกเมื่อทรงมีชนมายุเพียง พรรษา ๗. ข้าศึกของข้าศึกมีชื่อว่า ๘. ช้างศึกที่พ่อขุนรามฯ ทรงขี่ขณะชนช้างมีชื่อว่า ๙. สมเด็จพระราชบิดาจึงขึ้นชื่อพ่อขุนรามฯ ว่า “ ” เพราะ ๑๐. สิ่งที่พ่อขุนรามฯ นำมาถวายแก่สมเด็จพระราชบิดา สมเด็จพระราชมารดา และ มีมากมาย เช่น 87
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๗ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๒๑๐๒ รายวิชา ภาษาไทย ๔ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๑ ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ชื่อหน่วย สำรวจหลักศิลา ศึกษาลายสือไทย เรื่อง ถอดคำประพันธ์ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ผู้สอน ว่าที่ร้อยตรี ฐานทัพ ชุ่มจันทร์ ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพื่อนำไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหา ในการดำเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ม.๒/๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง ๒. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๒.๑ แปลความหมายศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๒.๒ เขียนถอดคำประพันธ์จาก เรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๒.๓ แสดงความสนใจและให้ความร่วมมือกับกิจกรรมการเรียนการสอน เรื่อง ถอดคำประพันธ์ ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๓. สาระสําคัญ การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วต้องคำนึงถึงอักขรวิธี การเว้นวรรคตอน เป็นการสื่อสารที่สำคัญ ทำให้ผู้รับสารมีความเข้าใจเกิดความรู้ความบันเทิงได้ ผู้อ่านจะต้องรู้หลักการอ่านร้อยแก้ว จึงจะทำให้การอ่านออกเสียงน่าฟังและมีความถูกต้องตามหลักการอ่าน มีมารยาทในการอ่าน ๔. สาระการเรียนรู้ การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วจากการเรียนวรรณคดีเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๕. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร ๕.๒ ความสามารถในการคิด ๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๖.๑ ใฝ่เรียนรู้ ๖.๒ มุ่งมั่นในการทํางาน ๖.๓ รักความเป็นไทย 88
๗. จุดเน้นสู่การพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ คุณลักษณะผู้เรียนโรงเรียนมาตรฐานสากล ๗.๑ สื่อสาร ๒ ภาษา ๓.๒ ล้ำหน้าทางความคิด ทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ (๓R ๘C) ๗.๓ ทักษะการอ่าน ๗.๔ เขียนได้ ๗.๕ มีทักษะในการคิดวิเคราะห์การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และแก้ไขปัญหาได้ ทักษะชีวิตและอาชีพ ๗.๖ ความยืดหยุ่นและการปรับตัว ๗.๗ การริเริ่มและนำพาตนเอง ๘. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๑. นักเรียนฟังครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้เชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียน ๒. นักเรียนพิจารณาสำนวนจากศิลาจารึกหลักที่ ๑ “ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว” จากนั้นนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพสังคมในสมัยสุโขทัยจากสำนวนดังกล่าว ขั้นสอน ๓. นักเรียนแบ่งกลุ่มเป็น ๔ กลุ่ม แต่ละกลุ่มรับผิดชอบการศึกษาค้นคว้าสาระสำคัญของศิลาจารึก แต่ละด้าน ๔. นักเรียนแต่ละกลุ่มรวบรวมคําศัพท์ที่ใช้ในสมัยสุโขทัยซึ่งเป็นคำที่ไม่ใช้แล้วในปัจจุบัน แล้วนำเสนอ หน้าชั้นเรียน ๕. นักเรียนทำใบงานเรื่อง ถอดคำประพันธ์ศิลาจารึกหลักที่ ๑ โดยนักเรียนเข้าระบบ Line Official Account “THAI LINK” เพื่อศึกษาความรู้ประกอบการทำใบงาน ขั้นสรุป ๖. นักเรียนร่วมกันสรุปสาระสำคัญของเนื้อเรื่องในศิลาจารึกหลักที่ ๑ แต่ละด้านอีกครั้ง ๗. นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียนเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ในระบบ Line Official Account “THAI LINK” ๙. ภาระงาน / ชิ้นงาน ใบงานเรื่อง ถอดคําประพันธ์ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑๐. การวัดและประเมินผล ๑๐.๑ การประเมินตามจุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ ภาระ/ชิ้นงาน วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การให้ คะแนน เกณฑ์ การผ่าน ๑. แปลความหมาย ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ศึกษาเนื้อหา ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ประเมิน การเข้าร่วม กิจกรรม ในชั้นเรียน แบบประเมิน ตามสภาพจริง แบบประเมิน ตามสภาพจริง ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ 89
จุดประสงค์การเรียนรู้ ภาระ/ชิ้นงาน วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การให้ คะแนน เกณฑ์ การผ่าน ๒. ถอดคำประพันธ์ จากเรื่อง ศิลาจารึก หลักที่ ๑ ใบงานเรื่อง ถอดคำประพันธ์ ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ตรวจใบงานเรื่อง ถอดคำประพันธ์ ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ประเมินใบงานเรื่อง ถอดคำประพันธ์ ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ใบงานเรื่อง ถอดคำประพันธ์ ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๓. แสดงความสนใจ และให้ความร่วมมือ กับกิจกรรมการเรียน การสอน เรื่อง ถอดคำประพันธ์ ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. ศึกษาเนื้อหา ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๒. ใบงานเรื่อง ถอดคำประพันธ์ ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ประเมิน การเข้าร่วม กิจกรรม ในชั้นเรียน แบบประเมิน ตามสภาพจริง แบบประเมิน ตามสภาพจริง ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๑๐.๒ การประเมินสมรรถนะสำคัญ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และทักษะศตวรรษที่ ๒๑ (๓R ๘C) จุดประสงค์การเรียนรู้ ภาระ/ชิ้นงาน วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การให้ คะแนน เกณฑ์การ ผ่าน สมรรถนะสำคัญ ๑.ความสามารถ ในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด ๑. ศึกษาเนื้อหา ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๒. ใบงานเรื่อง ถอดคำประพันธ์ ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ประเมินสมรรถนะ สำคัญ แบบประเมิน สมรรถนะสำคัญ แบบประเมิน สมรรถนะสำคัญ ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ คุณลักษณะผู้เรียน มาตรฐานสากล ๑. สื่อสาร ๒ ภาษา ๒. ล้ำหน้าทางความคิด ๑. ศึกษาเนื้อหา ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๒. ใบงานเรื่อง ถอดคำประพันธ์ ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. ประเมิน การเข้าร่วมกิจกรรม ในชั้นเรียน ๒. ตรวจใบงานเรื่อง ถอดคำประพันธ์ ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. ใบงานเรื่อง ถอดคำประพันธ์ ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. แบบประเมิน ใบงานเรื่อง ถอดคำประพันธ์ ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๒. ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ๑. ใฝ่เรียนรู้ ๒. มุ่งมั่นในการทำงาน ๓. รักความเป็นไทย ๑. ศึกษาเนื้อหา ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๒. ใบงานเรื่อง ถอดคำประพันธ์ ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ประเมิน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ทักษะศตวรรษที่ ๒๑ ๑. อ่านออก ๒. เขียนได้ ๓. มีทักษะในการวิเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และแก้ไขปัญหาได้ ๑. ศึกษาเนื้อหา ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๒. ใบงานเรื่อง ถอดคำประพันธ์ ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. ประเมิน การเข้าร่วมกิจกรรม ในชั้นเรียน ๒. ตรวจใบงานเรื่อง ถอดคำประพันธ์ ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. ใบงานเรื่อง ถอดคำประพันธ์ ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. แบบประเมิน ใบงานเรื่อง ถอดคำประพันธ์ ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๒. ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ทักษะชีวิตและอาชีพ ๑. ความยืดหยุ่นและ การปรับตัว ๒. การริเริ่มและนำพา ตนเอง ๑. ศึกษาเนื้อหา ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๒. ใบงานเรื่อง ถอดคำประพันธ์ ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. ประเมิน การเข้าร่วมกิจกรรม ในชั้นเรียน ๒. ตรวจใบงานเรื่อง ถอดคำประพันธ์ ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. ใบงานเรื่อง ถอดคำประพันธ์ ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. แบบประเมิน ใบงานเรื่อง ถอดคำประพันธ์ ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑. ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๒. ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ 90
๑๑. สื่อการเรียนรู้ ๑๑.๑ สำนวนจากศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๑๑.๒ ระบบ Line Official Account “THAI LINK” https://liff.line.me/1645278921-kWRPP32q/?accountId=158vjmol ๑๒. แหล่งเรียนรู้ หนังสือวรรณคดีวิจักษ์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ 91
บันทึกผลหลังการสอน สรุปผลหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้/ผลการเรียนรู้/ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... นักเรียนทั้งหมดจำนวน ……………….. คน (ทุกคนที่สอน) จุดประสงค์การเรียนรู้ข้อที่ จำนวนนักเรียนที่ผ่าน จำนวนนักเรียนที่ไม่ผ่าน จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ 1 2 3 4 ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข/ข้อเสนอแนะ/ข้อสังเกตอื่น ๆ ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ .......................................................................... ครูผู้สอน (.............................................................................) .............../.............../............... บันทึกข้อคิดเห็นเพิ่มเติม ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ .......................................................................... ครูพี่เลี้ยง (.............................................................................) .............../.............../............... บันทึกข้อคิดเห็นเพิ่มเติม ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ .......................................................................... ผู้นิเทศ (.............................................................................) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หรือผู้ช่วยผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ .............../.............../............... 92
แบบการประเมินการถอดคำประพันธ์ คำชี้แจง : ให้ผู้สอนตรวจภาระงาน/ชิ้นงานนักเรียน แล้วประเมินด้วยการทำเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องระดับคะแนน ประเด็นการประเมิน /ระดับคะแนน ลำดับที่-ชื่อ-สกุล นักเรียน ๑. เนื้อหา ๒. การวิเคราะห์ วิจารณ์ ๓. การใช้ภาษา รวม ๑๒ คะแนน ระดับ คุณภาพ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ลงชื่อ .......................................................................... ผู้ประเมิน (.............................................................................) .............../.............../............... เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค (Scoring Rubric) การประเมินการถอดคำประพันธ์ ประเด็น การประเมิน ระดับคุณภาพคะแนน น้ำหนัก คะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑. เนื้อหา ๑. เนื้อความถูกต้อง ๒. ครอบคลุมเนื้อความครบถ้วน ๓. เท้าความถึงที่มาของข้อความได้ความหมายแจ่มแจ้ง ๔. จับใจความสำคัญได้ อ่านผิด ๑ - ๒ คำ อ่านผิด ๓ - ๔ คำ อ่านผิด มากกว่า ๕ คำ ๔ ๒. การ วิเคราะห์ วิจารณ์ ๑. เรียงลำดับคำหรือข้อความได้ชัดเจน ๒. เรียบเรียงข้อความได้สละสลวย ๓. ไม่ขยายความที่ถอดเกินใจความในคำประพันธ์ ๔. ถอดคำทุกคำที่เป็นราชาศัพท์ ขาดหรือ ไม่ชัดเจน ๑ ข้อ ขาดหรือ ไม่ชัดเจน ๒ ข้อ ขาดหรือ ไม่ชัดเจน ๓ ข้อ ๔ ๓. การใช้ ภาษา เขียนสะกดคำถูกต้อง เขียนผิด ๑ - ๒ คำ เขียนผิด ๓ - ๔ คำ เขียนผิด มากกว่า ๕ คำ ๔ ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๑-๑๒ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๙-๑๐ หมายถึง ดี คะแนน ๗-๘ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๔-๖ หมายถึง ปรับปรุง 93
แบบประเมินการเข้าร่วมกิจกรรมในชั้นเรียนตามสภาพจริง (การประเมินทักษะในศตวรรษที่ ๒๑) คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วประเมินด้วยการทำเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องระดับคะแนน ประเด็นการประเมิน /ระดับคะแนน ลำดับที่-ชื่อ-สกุล นักเรียน ๑. ความรู้ ความเข้าใจใน เนื้อหา ๒. กระบวนการ คิดวิเคราะห์ ประเมินค่า ๓. การแสดง ความคิดเห็น ๔. ความมี น้ำใจกับเพื่อน ร่วมงาน ๕. ความ รับผิดชอบต่อ หน้าที่ที่ได้รับ มอบหมาย รวม ๒๐ คะแนน ระดับ คุณภาพ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ลงชื่อ .......................................................................... ผู้ประเมิน (.............................................................................) .............../.............../............... เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค (Scoring Rubric) การเข้าร่วมกิจกรรมในชั้นเรียนตามสภาพจริง ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ ความรู้ความเข้าใจในเนื้อหา ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ กระบวนการคิดวิเคราะห์ ประเมินค่า ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ การแสดงความคิดเห็น ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ ความมีน้ำใจกับเพื่อน ร่วมงาน ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๕ ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ ได้รับมอบหมาย ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๗-๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๓-๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙-๑๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕-๘ หมายถึง ปรับปรุง 94
แบบประเมินสมรรถนะสำคัญ ชื่อ-นามสกุล นักเรียน ................................................................................................... ชั้น ม.๒/.......... เลขที่ ............ คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วประเมินด้วยการทำเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องระดับคะแนน สมรรถนะสำคัญ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๑ ๒ ๓ ๔ ความสามารถ ในการสื่อสาร ๑. มีความสามารถในการรับส่งสาร ๒. มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ความคิดความเข้าใจของตนเองโดย ใช้ภาษาอย่างเหมาะสม ๓. ใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะสม ๔. วิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล รวม ระดับคุณภาพ ความสามารถ ในการคิด ๑. มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์สังเคราะห์ ๒. มีทักษะในการคิดนอกกรอบอย่างสร้างสรรค์ ๓. สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ ๔. มีความสามารถในการคิดอย่างมีระบบ ๕. ตัดสินใจแก้ปัญหาเกี่ยวกับตนเองได้ รวม ระดับคุณภาพ ลงชื่อ .......................................................................... ผู้ประเมิน (.............................................................................) .............../.............../............... 95
เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค (Scoring Rubric) สมรรถนะสำคัญ ความสามารถในการสื่อสาร ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ มีความสามารถในการรับส่ง สาร ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ มีความสามารถในการ ถ่ายทอดความรู้ความคิด ความเข้าใจของตนเองโดยใช้ ภาษาอย่างเหมาะสม ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ ใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะสม ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ วิเคราะห์ แสดงความคิดเห็น อย่างมีเหตุผล ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๔-๑๖ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๑-๑๓ หมายถึง ดี คะแนน ๘-๑๐ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๔-๗ หมายถึง ปรับปรุง สมรรถนะสำคัญ ความสามารถในการคิด ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ มีความสามารถในการคิด วิเคราะห์สังเคราะห์ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ มีทักษะในการคิดนอกกรอบ อย่างสร้างสรรค์ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ สามารถคิดอย่างมี วิจารณญาณ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ มีความสามารถในการคิด อย่างมีระบบ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๕ ตัดสินใจแก้ปัญหาเกี่ยวกับ ตนเองได้ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๗-๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๓-๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙-๑๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕-๘ หมายถึง ปรับปรุง 96