The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการใช้สื่อการสอน-ฐานทัพ ชุ่มจันทร์-ภาษาไทย-ดัดดรุณี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Cowrie Flute, 2024-02-02 03:30:44

รายงานการใช้สื่อการสอน-ฐานทัพ ชุ่มจันทร์-ภาษาไทย-ดัดดรุณี

รายงานการใช้สื่อการสอน-ฐานทัพ ชุ่มจันทร์-ภาษาไทย-ดัดดรุณี

แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ชื่อ-นามสกุล นักเรียน ................................................................................................... ชั้น ม.๒/.......... เลขที่ ............ คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วประเมินด้วยการทำเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๑ ๒ ๓ ๔ รักความเป็นไทย ๑. ใช้ภาษาไทยและเลขไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ๒. ชักชวน แนะนำให้ผู้อื่นเห็นคุณค่าของการใช้ภาษาไทยที่ถูกต้อง ๓. นำภูมิปัญญาไทยมาใช้ให้เหมาะสมในวิถีชีวิต ๔. ร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาไทย ๕. แนะนำ มีส่วนร่วมในการสืบทอดภูมิปัญญาไทย รวม ระดับคุณภาพ ใฝ่เรียนรู้ ๑. ตั้งใจเรียน ๒. เอาใจใส่และมีความเพียรพยายามในการเรียนรู้ ๓. สนใจเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ๔. ศึกษาค้นคว้าหาความรู้จากหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยีต่าง ๆ ๕. บันทึกความรู้ วิเคราะห์ ตรวจสอบจากสิ่งที่เรียนรู้สรุปเป็นองค์ความรู้ รวม ระดับคุณภาพ มุ่งมั่นในการทำงาน ๑. เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ๒. ตั้งใจและรับผิดชอบในการทำงานให้สำเร็จ ๓. ปรับปรุงและพัฒนาการทำงานด้วยตนเอง ๔. ทุ่มเทงาน อดทน ไม่ย่อท้อต่อปัญหาและอุปสรรคในการทำงาน ๕. พยายามในการแก้ปัญหาและอุปสรรคในการทำงานให้สำเร็จ รวม ระดับคุณภาพ ลงชื่อ .......................................................................... ผู้ประเมิน (.............................................................................) .............../.............../............... 97


เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค (Scoring Rubric) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ รักความเป็นไทย ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ ใช้ภาษาไทยและเลขไทยใน การสื่อสารได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ ชักชวน แนะนำให้ผู้อื่นเห็น คุณค่าของการใช้ภาษาไทยที่ ถูกต้อง ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ นำภูมิปัญญาไทยมาใช้ให้ เหมาะสมในวิถีชีวิต ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ ร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ ภูมิปัญญาไทย ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๕ แนะนำ มีส่วนร่วมในการสืบ ทอดภูมิปัญญาไทย ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๗-๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๓-๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙-๑๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕-๘ หมายถึง ปรับปรุง คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ ตั้งใจเรียน ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ เอาใจใส่และมีความเพียร พยายามในการเรียนรู้ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ สนใจเข้าร่วมกิจกรรมการ เรียนรู้ต่าง ๆ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ ศึกษาค้นคว้าหาความรู้จาก หนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อ เทคโนโลย่ต่าง ๆ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๕ บันทึกความรู้ วิเคราะห์ ตรวจสอบจากสิ่งที่เรียนรู้ สรุปเป็นองค์ความรู้ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๗-๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๓-๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙-๑๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕-๘ หมายถึง ปรับปรุง 98


คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มุ่งมั่นในการทำงาน ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ ตั้งใจและรับผิดชอบในการ ทำงานให้สำเร็จ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ ปรับปรุงและพัฒนาการ ทำงานด้วยตนเอง ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ ทุ่มเทงาน อดทน ไม่ย่อท้อ ต่อปัญหาและอุปสรรคใน การทำงาน ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๕ พยายามในการแก้ปัญหา และอุปสรรคในการทำงาน ให้สำเร็จ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๗-๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๓-๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙-๑๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕-๘ หมายถึง ปรับปรุง 99


ใบงาน เรื่อง ถอดคําประพันธ์ศิลาจารึกหลักที่ ๑ คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ ๑. สาระสำคัญในศิลาจารึกหลักที่ ๑ ด้านที่ ๑ มีอะไรบ้าง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ๒. ในหลักศิลาจารึกหลักที่ ๑ กล่าวถึงบุคคลใดบ้าง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ๓. สาระสำคัญในศิลาจารึกหลักที่ ๑ ด้านที่ ๒ มีอะไรบ้าง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ๔. สาระสำคัญในศิลาจารึกหลักที่ ๑ ด้านที่ ๓ มีอะไรบ้าง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ๕. นักเรียนคิดว่าอะไรเป็นเครื่องแสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองทางศาสนาของอาณาจักรสุโขทัย ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ๖. สาระสำคัญในศิลาจารึกหลักที่ ๑ ด้านที่ ๔ มีอะไรบ้าง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ๗. ข้อความส่วนใดที่กล่าวไว้ว่าพ่อขุนรามคำแหงเป็นผู้ประดิษฐ์ลายสือไท ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ๘. ข้อความต่อไปนี้หมายความว่าอย่างไร ๑) พี่เผือผู้อ้ายตายจากเผือเตียมแต่ยังเล็ก ……………………………………………...................................……… ๒) ไพร่ฟ้าหน้าใสพ่อกูหนีญญ่ายพายจแจ้น …………………………………………………..............................…… ๓) เมื่อชั่วพ่อกู กูบำเรอแก่พ่อกู ………………………………………………………………....................................… ๔) กูไปตีหนังวังช้างได้ กูเอามาแก่พ่อกู …………………………………………………….................................…… ๕) พี่กูตายจึ่งได้เมืองแก่กูทั้งกลม …………………………………………………………....................................…… 100


แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ถอดคําประพันธ์ศิลาจารึกหลักที่ ๑ คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว ๑. ตัวเลขใด “ไม่มี” ใช้ในสมัยพ่อขุนรามคำแหง ก. ๘, ๙, ๐ ข. ๗, ๘, ๙ ค. ๔, ๕, ๖ ง. ๑, ๒, ๓ ๒. “ในปากประตูมีกะดิ่งอันณึ่งแขวนไว้หั้น ไพร่ฟ้าหน้าปก กลางบ้านกลางเมือง มีถ้อยมีความเจ็บท้องข้องใจ มันจักกล่าวเถิงเจ้าเถิงขุนบ่ไร้ ไปลั่นกะดึงอันท่านแขวนไว้” ข้อความข้างต้นแสดงให้เห็นลักษณะด้านใดของพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ก. การเอาใจใส่ต่อประชาชน ข. การเรียกร้องสิทธิ ค. ความเสมอภาค ง. ความยุติธรรม ๓. ข้อใดแสดงถึงวิถีชีวิตของประชาชนในสมัยสุโขทัยได้ชัดเจนที่สุด ก. คนใดขี่ช้างมาหาพาเมืองมาสู่ช่อยเหนือเฟื้อกู้ มันบ่มีช้าง บ่มีม้า บ่มีปั่วบ่มีนาง บ่มีเงือนบ่มีทองให้แก่มัน ข. เพื่อนจูงวัวไปค้าขี่ม้าไปขาย ใครจักใคร่ค้าข้างค้า ใครจักใคร่ค้าม้าค้า ใครจักใคร่ค้าเงือนค้าทองค้า ค. กลางเมืองสุโขทัยนี้มีน้ำตระพังโพยสี ใสกินดี... ดั่งกินนํ้าโขงเมื่อแล้ง ง. คนในเมืองสุโขไทยนี้มักทาน มักทรงศีล มักโอยทาน ๔. “กูพร่ำบำเรอแก่พี่กู ดั่งบำเรอแก่พ่อกูพี่กูตาย จึ่งได้เมืองแก่กูทั้งกลม” ข้อความข้างต้นคำว่า ทั้งกลม หมายความว่าอย่างไร ก. ทุกสิ่งทุกอย่าง ข. ทุกประการ ค. ทั้งหลาย ง. ทั้งหมด ๕. ตัวอักษรที่พ่อขุนรามคำแหงมหาราชประดิษฐ์ขึ้นมาจากตัวอักษรใด ก. ตัวอักษรมอญโบราณ ข. ตัวอักษรขอมหวัด ค. ตัวอักษรไทยน้อย ง. ตัวอักษรไทย 101


๖. “ใครจักใคร่ค้าม้าค้า ใครจักใคร่ค้าเงือนค้าทองค้า” ข้อความข้างต้นนี้มีลักษณะเด่นอย่างไร ก. ซ้ำคำ ทำให้กระชับ หนักแน่น ข. ใช้ประโยคความรวม ค. มีสัมผัสไพเราะ ง. ใช้คำภาษาถิ่น ๗. ลักษณะการเขียนในศิลาจารึกหลักที่ ๑ ข้อใดกล่าว “ไม่ถูกต้อง” ก. พยัญชนะและสระเขียนอยู่บนบรรทัดเดียวกัน ข. ตัวสะกดเขียนซ้อนกันเมื่ออยู่กับสระอะ ค. สระเอียใช้รูป ย เมื่อมีตัวสะกด ง. ตัวอักษรเขียนจากขวาไปซ้าย ๘. ศิลาจารึกหลักที่ ๑ กล่าวถึงเรื่องใดเป็นสําคัญ ก. สภาพบ้านเมืองและชีวิตความเป็นอยู่ของคนในสมัยสุโขทัย ข. พระราชกรณียกิจของพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ค. การทําสงครามเพื่อขยายอาณาเขต ง. การทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา ๙. “เห็นข้าวท่านใดบ่ใคร่พีน เห็นสินท่านใดบ่ใคร่เดือด” มีความหมายว่าอย่างไร ก. การลักทรัพย์สินของผู้อื่นเป็นสิ่งไม่ดีเพราะทำให้ผู้อื่นเดือดร้อน ข. การอยากได้ทรัพย์สินและสิ่งของผู้อื่นทำให้เกิดความเดือดร้อน ค. ไม่คดโกงอยากได้ของหรือทรัพย์สินของผู้อื่น ง. ไม่ขโมยทรัพย์สินเงินทองของผู้ใด ๑๐. “เมืองสุโขทัยนี้ดีในน้ำมีปลา ในนามีข้าว เจ้าเมืองบ่เอา จกอบในไพร่ลู่ทางเพื่อนจูงวัวไปค้า ขี่ม้าไปขาย” ข้อความข้างต้นแสดงให้เห็นคุณค่าทางวรรณศิลป์ด้านใด ก. พรรณนาโวหาร ข. บรรยายโวหาร ค. อุปมาโวหาร ง. สาธกโวหาร ๑. ก ๒. ค ๓. ข ๔. ง ๕. ข ๖. ก ๗. ง ๘. ข ๙. ค ๑๐. ข 102


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๒๑๐๒ รายวิชา ภาษาไทย ๔ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๑ ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ชื่อหน่วย สำรวจหลักศิลา ศึกษาลายสือไทย เรื่อง หลักการคัดลายมือ ผู้สอน ว่าที่ร้อยตรี ฐานทัพ ชุ่มจันทร์ ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราว ในรูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ ๑.๑ ตัวชี้วัด ท ๒.๑ ม.๒/๑ คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ๑.๒ ตัวชี้วัด ท ๒.๑ ม.๒/๘ มีมารยาทในการเขียน ๒. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๒.๑ อธิบายหลักการคัดลายมือ ๒.๒ เขียนหลักการคัดลายมือ ๒.๓ แสดงความสนใจและให้ความร่วมมือกับกิจกรรมการเรียนการสอน เรื่อง หลักการคัดลายมือ ๓. สาระสําคัญ ด้วยอักษรเป็นสัญลักษณ์ที่ใช้เขียนถ่ายทอดเรื่องราวต่าง ๆ จากผู้เขียนไปสู่ผู้อ่าน ถ้าผู้เขียนเขียนตัวอักษร ได้ถูกต้องและเป็นระเบียบ หรือเรียกว่า ลายมือดีจะช่วยให้ผู้อ่านรักษาได้ถูกต้อง แต่ถ้าลายมืออ่านยาก ย่อมเป็นอุปสรรคในการสื่อสาร เพราะผู้อ่านไม่สามารถรับสารที่ผู้เขียนต้องการสื่อได้ตรงตามวัตถุประสงค์ นอกจากนี้การฝึกฝนคัดลายมือด้วยตัวอักษรไทยรูปแบบต่าง ๆ ยังเป็นการช่วยอนุรักษ์วัฒนธรรมทางภาษา อีกประการหนึ่ง ๔. สาระการเรียนรู้ การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย ๕. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร ๕.๒ ความสามารถในการคิด ๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๖.๑ มุ่งมั่นในการทํางาน ๖.๒ รักความเป็นไทย 103


๗. จุดเน้นสู่การพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ คุณลักษณะผู้เรียนโรงเรียนมาตรฐานสากล ๗.๑ สื่อสาร ๒ ภาษา ๓.๒ ล้ำหน้าทางความคิด ทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ (๓R ๘C) ๗.๓ ทักษะการอ่าน ๗.๔ เขียนได้ ๗.๕ มีทักษะในการคิดวิเคราะห์การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และแก้ไขปัญหาได้ ทักษะชีวิตและอาชีพ ๗.๖ ความยืดหยุ่นและการปรับตัว ๗.๗ การริเริ่มและนำพาตนเอง ๘. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๑. นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน ครูนำตัวอย่างประกาศนียบัตร บัตรอวยพร บัตรเชิญ และใบคัดลายมือที่มีตัวอักษรไทยรูปแบบต่าง ๆ ที่สวยงามมาติดบนป้ายนิเทศ ๒. นักเรียนและครูร่วมกันแสดงความคิดเห็น แนวคำถาม “ถ้าต้องการให้มีลายมือที่สวยงาม จะต้องทำอย่างไร” ๓. นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด แนวคำถาม “นักเรียนคิดว่า การที่ลายมือไม่สวย อ่านยาก เป็นปัญหาในการดำเนินชีวิตหรือไม่ และจะพัฒนาได้อย่างไร” ขั้นสอน ๔. นักเรียนศึกษาความรู้เรื่องหลักการคัดลายมือจากหนังสือหรือเข้าระบบ Line Official Account “THAI LINK” ๕. นักเรียนทำใบงานเรื่อง หลักการคัดลายมือ โดยนักเรียนเข้าระบบ Line Official Account “THAI LINK” เพื่อศึกษาความรู้ประกอบการทำใบงาน ๖. นักเรียนรวมกลุ่ม ๔ คน ให้แต่ละคู่ผลัดกันอธิบายคำตอบให้เพื่อนอีกคู่หนึ่งในกลุ่มฟัง เพื่อช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง ๗. ตัวแทนนักเรียน ๑-๒ กลุ่ม ออกมานำเสนอคำตอบในใบงานหน้าชั้นเรียน ครูตรวจสอบ ความถูกต้อง จากนั้นให้ตัวแทนนักเรียนเก็บรวบรวมใบงานส่งครูตรวจ ๘. นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด แนวคำถาม “การจัดท่านั่ง มีความจำเป็นต่อการคัดลายมือหรือไม่อย่างไร” ขั้นสรุป ๙. นักเรียนตอบคำถามเพื่อสรุปความรู้ แนวคำถาม “ความรู้เรื่องหลักการคัดลายมือจะช่วยแก้ปัญหาให้นักเรียนได้อย่างไร” 104


๑๐. นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด ถึงเรื่องการนำหลักการคัดลายมือไปใช้ แนวคำถาม “ความรู้เกี่ยวกับหลักการคัดลายมือข้อใดที่นักเรียนสามารถนำไปใช้เป็นประโยชน์ได้มากที่สุด เพราะเหตุใด” ๙. ภาระงาน / ชิ้นงาน ใบงานเรื่อง หลักการคัดลายมือ ๑๐. การวัดและประเมินผล ๑๐.๑ การประเมินตามจุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ ภาระ/ชิ้นงาน วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การให้ คะแนน เกณฑ์ การผ่าน ๑. อธิบาย หลักการคัดลายมือ ศึกษา หลักการคัดลายมือ ประเมิน การเข้าร่วม กิจกรรม ในชั้นเรียน แบบประเมิน ตามสภาพจริง แบบประเมิน ตามสภาพจริง ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๒. เขียน หลักการคัดลายมือ ๓. มีมารยาทในการเขียน ใบงานเรื่อง หลักการคัดลายมือ ตรวจใบงานเรื่อง หลักการคัดลายมือ ใบงานเรื่อง หลักการคัดลายมือ ใบงานเรื่อง หลักการคัดลายมือ ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๘๐ ๔. แสดงความสนใจ และให้ความร่วมมือ กับกิจกรรมการเรียน การสอน เรื่อง หลักการคัดลายมือ ๑. ศึกษา หลักการคัดลายมือ ๒. ใบงานเรื่อง หลักการคัดลายมือ ประเมิน การเข้าร่วม กิจกรรม ในชั้นเรียน แบบประเมิน ตามสภาพจริง แบบประเมิน ตามสภาพจริง ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๑๐.๒ การประเมินสมรรถนะสำคัญ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และทักษะศตวรรษที่ ๒๑ (๓R ๘C) จุดประสงค์การเรียนรู้ ภาระ/ชิ้นงาน วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การให้ คะแนน เกณฑ์การ ผ่าน สมรรถนะสำคัญ ๑.ความสามารถ ในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด ๑. ศึกษาเนื้อหา ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๒. ใบงานเรื่อง หลักการคัดลายมือ ประเมินสมรรถนะ สำคัญ แบบประเมิน สมรรถนะสำคัญ แบบประเมิน สมรรถนะสำคัญ ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ คุณลักษณะผู้เรียน มาตรฐานสากล ๑. สื่อสาร ๒ ภาษา ๒. ล้ำหน้าทางความคิด ๑. ศึกษา หลักการคัดลายมือ ๒. ใบงานเรื่อง หลักการคัดลายมือ ๑. ประเมิน การเข้าร่วมกิจกรรม ในชั้นเรียน ๒. ตรวจใบงานเรื่อง หลักการคัดลายมือ ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. ใบงานเรื่อง หลักการคัดลายมือ ๑. แบบประเมินตาม สภาพจริง ๒. แบบประเมิน ใบ งานเรื่อง หลักการคัด ลายมือ ๑. ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๒. ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๘๐ คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ๑. มุ่งมั่นในการทำงาน ๒. รักความเป็นไทย ๑. ศึกษาเนื้อหา หลักการคัดลายมือ ๒. ใบงานเรื่อง หลักการคัดลายมือ ประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ 105


จุดประสงค์การเรียนรู้ ภาระ/ชิ้นงาน วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การให้ คะแนน เกณฑ์การ ผ่าน ทักษะศตวรรษที่ ๒๑ ๑. อ่านออก ๒. เขียนได้ ๓. มีทักษะในการวิเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และแก้ไขปัญหาได้ ๑. ศึกษาเนื้อหา หลักการคัดลายมือ ๒. ใบงานเรื่อง หลักการคัดลายมือ ๑. ประเมิน การเข้าร่วมกิจกรรม ในชั้นเรียน ๒. ตรวจใบงานเรื่อง หลักการคัดลายมือ ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. ใบงานเรื่อง หลักการคัดลายมือ ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. แบบประเมิน ใบงานเรื่อง หลักการคัดลายมือ ๑. ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๒. ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๘๐ ทักษะชีวิตและอาชีพ ๑. ความยืดหยุ่น และการปรับตัว ๒. การริเริ่ม และนำพาตนเอง ๑. ศึกษาเนื้อหา หลักการคัดลายมือ ๒. ใบงานเรื่อง หลักการคัดลายมือ ๑. ประเมิน การเข้าร่วมกิจกรรม ในชั้นเรียน ๒. ตรวจใบงานเรื่อง หลักการคัดลายมือ ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. ใบงานเรื่อง หลักการคัดลายมือ ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. แบบประเมิน ใบงานเรื่อง หลักการคัดลายมือ ๑. ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๒. ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๘๐ ๑๑. สื่อการเรียนรู้ ๑๑.๑ บัตรภาพ ๑๑.๒ ระบบ Line Official Account “THAI LINK” https://liff.line.me/1645278921-kWRPP32q/?accountId=158vjmol ๑๒. แหล่งเรียนรู้ หนังสือวรรณคดีวิจักษ์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ 106


บันทึกผลหลังการสอน สรุปผลหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้/ผลการเรียนรู้/ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... นักเรียนทั้งหมดจำนวน ……………….. คน (ทุกคนที่สอน) จุดประสงค์การเรียนรู้ข้อที่ จำนวนนักเรียนที่ผ่าน จำนวนนักเรียนที่ไม่ผ่าน จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ 1 2 3 4 ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข/ข้อเสนอแนะ/ข้อสังเกตอื่น ๆ ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ .......................................................................... ครูผู้สอน (.............................................................................) .............../.............../............... บันทึกข้อคิดเห็นเพิ่มเติม ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ .......................................................................... ครูพี่เลี้ยง (.............................................................................) .............../.............../............... บันทึกข้อคิดเห็นเพิ่มเติม ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ .......................................................................... ผู้นิเทศ (.............................................................................) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หรือผู้ช่วยผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ .............../.............../............... 107


แบบประเมินการเข้าร่วมกิจกรรมในชั้นเรียนตามสภาพจริง (การประเมินทักษะในศตวรรษที่ ๒๑) คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วประเมินด้วยการทำเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องระดับคะแนน ประเด็นการประเมิน /ระดับคะแนน ลำดับที่-ชื่อ-สกุล นักเรียน ๑. ความรู้ ความเข้าใจใน เนื้อหา ๒. กระบวนการ คิดวิเคราะห์ ประเมินค่า ๓. การแสดง ความคิดเห็น ๔. ความมี น้ำใจกับเพื่อน ร่วมงาน ๕. ความ รับผิดชอบต่อ หน้าที่ที่ได้รับ มอบหมาย รวม ๒๐ คะแนน ระดับ คุณภาพ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ลงชื่อ .......................................................................... ผู้ประเมิน (.............................................................................) .............../.............../............... เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค (Scoring Rubric) การเข้าร่วมกิจกรรมในชั้นเรียนตามสภาพจริง ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ ความรู้ความเข้าใจในเนื้อหา ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ กระบวนการคิดวิเคราะห์ ประเมินค่า ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ การแสดงความคิดเห็น ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ ความมีน้ำใจกับเพื่อน ร่วมงาน ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๕ ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ ได้รับมอบหมาย ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๗-๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๓-๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙-๑๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕-๘ หมายถึง ปรับปรุง 108


แบบประเมินสมรรถนะสำคัญ ชื่อ-นามสกุล นักเรียน ................................................................................................... ชั้น ม.๒/.......... เลขที่ ............ คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วประเมินด้วยการทำเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องระดับคะแนน สมรรถนะสำคัญ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๑ ๒ ๓ ๔ ความสามารถ ในการสื่อสาร ๑. มีความสามารถในการรับส่งสาร ๒. มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ความคิดความเข้าใจของตนเองโดย ใช้ภาษาอย่างเหมาะสม ๓. ใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะสม ๔. วิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล รวม ระดับคุณภาพ ความสามารถ ในการคิด ๑. มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์สังเคราะห์ ๒. มีทักษะในการคิดนอกกรอบอย่างสร้างสรรค์ ๓. สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ ๔. มีความสามารถในการคิดอย่างมีระบบ ๕. ตัดสินใจแก้ปัญหาเกี่ยวกับตนเองได้ รวม ระดับคุณภาพ ลงชื่อ .......................................................................... ผู้ประเมิน (.............................................................................) .............../.............../............... 109


เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค (Scoring Rubric) สมรรถนะสำคัญ ความสามารถในการสื่อสาร ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ มีความสามารถในการรับส่ง สาร ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ มีความสามารถในการ ถ่ายทอดความรู้ความคิด ความเข้าใจของตนเองโดยใช้ ภาษาอย่างเหมาะสม ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ ใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะสม ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ วิเคราะห์ แสดงความคิดเห็น อย่างมีเหตุผล ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๔-๑๖ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๑-๑๓ หมายถึง ดี คะแนน ๘-๑๐ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๔-๗ หมายถึง ปรับปรุง สมรรถนะสำคัญ ความสามารถในการคิด ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ มีความสามารถในการคิด วิเคราะห์สังเคราะห์ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ มีทักษะในการคิดนอกกรอบ อย่างสร้างสรรค์ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ สามารถคิดอย่างมี วิจารณญาณ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ มีความสามารถในการคิด อย่างมีระบบ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๕ ตัดสินใจแก้ปัญหาเกี่ยวกับ ตนเองได้ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๗-๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๓-๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙-๑๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕-๘ หมายถึง ปรับปรุง 110


แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ชื่อ-นามสกุล นักเรียน ................................................................................................... ชั้น ม.๒/.......... เลขที่ ............ คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วประเมินด้วยการทำเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๑ ๒ ๓ ๔ รักความเป็นไทย ๑. ใช้ภาษาไทยและเลขไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ๒. ชักชวน แนะนำให้ผู้อื่นเห็นคุณค่าของการใช้ภาษาไทยที่ถูกต้อง ๓. นำภูมิปัญญาไทยมาใช้ให้เหมาะสมในวิถีชีวิต ๔. ร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาไทย ๕. แนะนำ มีส่วนร่วมในการสืบทอดภูมิปัญญาไทย รวม ระดับคุณภาพ มุ่งมั่นในการทำงาน ๑. เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ๒. ตั้งใจและรับผิดชอบในการทำงานให้สำเร็จ ๓. ปรับปรุงและพัฒนาการทำงานด้วยตนเอง ๔. ทุ่มเทงาน อดทน ไม่ย่อท้อต่อปัญหาและอุปสรรคในการทำงาน ๕. พยายามในการแก้ปัญหาและอุปสรรคในการทำงานให้สำเร็จ รวม ระดับคุณภาพ ลงชื่อ .......................................................................... ผู้ประเมิน (.............................................................................) .............../.............../............... 111


เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค (Scoring Rubric) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ รักความเป็นไทย ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ ใช้ภาษาไทยและเลขไทยใน การสื่อสารได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ ชักชวน แนะนำให้ผู้อื่นเห็น คุณค่าของการใช้ภาษาไทยที่ ถูกต้อง ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ นำภูมิปัญญาไทยมาใช้ให้ เหมาะสมในวิถีชีวิต ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ ร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ ภูมิปัญญาไทย ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๕ แนะนำ มีส่วนร่วมในการสืบ ทอดภูมิปัญญาไทย ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๗-๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๓-๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙-๑๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕-๘ หมายถึง ปรับปรุง คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มุ่งมั่นในการทำงาน ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ ตั้งใจและรับผิดชอบในการ ทำงานให้สำเร็จ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ ปรับปรุงและพัฒนาการ ทำงานด้วยตนเอง ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ ทุ่มเทงาน อดทน ไม่ย่อท้อ ต่อปัญหาและอุปสรรคใน การทำงาน ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๕ พยายามในการแก้ปัญหา และอุปสรรคในการทำงาน ให้สำเร็จ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๗-๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๓-๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙-๑๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕-๘ หมายถึง ปรับปรุง 112


บัตรภาพ ภาพที่ ๑ ภาพที่ ๒ ภาพที่ ๓ ภาพที่ ๔ 113


ใบงาน เรื่อง หลักการคัดลายมือ คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ ๑. การที่ลายมืออ่านยากเป็นผลเสียอย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ๒. การคัดลายมือมีความสัมพันธ์กับการมีสมาธิอย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ๓. ขนาดของตัวอักษรมีกี่ขนาด แต่ละขนาดมีความกว้างเท่าใด และได้แก่ตัวอักษรใดบ้าง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ๔. การวางตำแหน่งสระมีกี่ตำแหน่ง และต้องให้สัมพันธ์กับสิ่งใด ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… 114


(เฉลย) ใบงาน เรื่อง หลักการคัดลายมือ คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ ๑. การที่ลายมืออ่านยากเป็นผลเสียอย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ๒. การคัดลายมือมีความสัมพันธ์กับการมีสมาธิอย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ๓. ขนาดของตัวอักษรมีกี่ขนาด แต่ละขนาดมีความกว้างเท่าใด และได้แก่ตัวอักษรใดบ้าง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ๔. การวางตำแหน่งสระมีกี่ตำแหน่ง และต้องให้สัมพันธ์กับสิ่งใด ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ลายมืออ่านยากเป็นอุปสรรคในการสื่อสารทำให้การสื่อสารไม่ประสบความสำเร็จ ผู้อ่านไม่สามารถรับสารที่ผู้เขียน ต้องการสื่อได้ตรงตามวัตถุประสงค์ ผู้คัดลายมือจะต้องมีสมาธิเพราะการฝึกคัดลายมือจะต้องทำให้จิตใจจดจ่ออยู่กับงาน เขียนถูกต้องไม่ผิดพลาดจาก ต้นฉบับเดิม การไม่มีสมาธิทำให้ตัวอักษรไม่เป็นระเบียบ ขนาดของอักษร มีดังนี้ ๑. ตัวอักษรที่มีความกว้างมากที่สุด คือ กว้างเป็น ๒ เท่า ของตัวอักษรธรรมดา ได้แก่ ฌ ญ ฒ ฤา ฦา ๒. ตัวอักษรที่มีความกว้างน้อย คือ มีความกว้างน้อยกว่าตัวอักษรธรรมดา ได้แก่ข ฃ ง จ ช ซ ฐ ธ ร ๓. ตัวอักษรที่มีขนาดกลาง คือ มีขนาดเท่าตัวอักษรธรรมดา ได้แก่ก ค ฅ ฆ ฉ ฎ ฏ ท ด ต ถ ท น บ ป ผ ฝ ม ย ล ศ ษ ส ห ฬ อ ฮ ถ ภ การวางตำแหน่งสระมี ๔ ตำแหน่ง และต้องให้สัมพันธ์กับพยัญชนะ ดังนี้ ๑. สระที่อยู่หน้าพยัญชนะ เช่น ไป แข โต ๒. สระที่อยู่หลังพยัญชนะ เช่น หา จะ สระที่อยู่หลังพยัญชนะเช่นหาจะ ๓. สระที่อยู่บนพยัญชนะ เช่น ติ ปีบึง มือ ๔. สถานที่อยู่ใต้พยัญชนะ เช่น คุรุงู 115


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๙ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๒๑๐๒ รายวิชา ภาษาไทย ๔ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๑ ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ชื่อหน่วย สำรวจหลักศิลา ศึกษาลายสือไทย เรื่อง รูปแบบตัวอักษร ผู้สอน ว่าที่ร้อยตรี ฐานทัพ ชุ่มจันทร์ ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราว ในรูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ ๑.๑ ตัวชี้วัด ท ๒.๑ ม.๒/๑ คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ๑.๒ ตัวชี้วัด ท ๒.๑ ม.๒/๘ มีมารยาทในการเขียน ๒. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๒.๑ อธิบายรูปแบบตัวอักษร ๒.๒ เขียนรูปแบบตัวอักษร ๒.๓ มีมารยาทในการเขียน ๒.๔ แสดงความสนใจและให้ความร่วมมือกับกิจกรรมการเรียนการสอน เรื่อง รูปแบบตัวอักษร ๓. สาระสําคัญ ด้วยอักษรเป็นสัญลักษณ์ที่ใช้เขียนถ่ายทอดเรื่องราวต่าง ๆ จากผู้เขียนไปสู่ผู้อ่าน ถ้าผู้เขียนเขียนตัวอักษร ได้ถูกต้องและเป็นระเบียบ หรือเรียกว่า ลายมือดีจะช่วยให้ผู้อ่านรักษาได้ถูกต้อง แต่ถ้าลายมืออ่านยาก ย่อมเป็นอุปสรรคในการสื่อสาร เพราะผู้อ่านไม่สามารถรับสารที่ผู้เขียนต้องการสื่อได้ตรงตามวัตถุประสงค์ นอกจากนี้การฝึกฝนคัดลายมือด้วยตัวอักษรไทยรูปแบบต่าง ๆ ยังเป็นการช่วยอนุรักษ์วัฒนธรรมทางภาษา อีกประการหนึ่ง ๔. สาระการเรียนรู้ การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย ๕. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร ๕.๒ ความสามารถในการคิด ๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๖.๑ มุ่งมั่นในการทํางาน ๖.๒ รักความเป็นไทย 116


๗. จุดเน้นสู่การพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ คุณลักษณะผู้เรียนโรงเรียนมาตรฐานสากล ๗.๑ สื่อสาร ๒ ภาษา ๓.๒ ล้ำหน้าทางความคิด ทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ (๓R ๘C) ๗.๓ ทักษะการอ่าน ๗.๔ เขียนได้ ๗.๕ มีทักษะในการคิดวิเคราะห์การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และแก้ไขปัญหาได้ ทักษะชีวิตและอาชีพ ๗.๖ ความยืดหยุ่นและการปรับตัว ๗.๗ การริเริ่มและนำพาตนเอง ๘. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๑. นักเรียนมองดูข้อความที่เขียนไม่ถูกต้องตามรูปแบบอักษรไทย และไม่สวยงามบนกระดาน ที่ครูนำมาติดไว้ ๒. นักเรียนตอบคำถามเกี่ยวกับลายมือที่เขียนไม่ถูกต้องดังกล่าว แนวคำถาม “ตัวอย่างลายมือดังกล่าวเขียนไม่ถูกต้องอย่างไร มีข้อบกพร่องอย่างไร ถ้าจะแก้ไขปรับปรุง ควรทำอย่างไร” ๓. นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด แนวคำถาม “นักเรียนมีความเห็นอย่างไรที่กวีในสมัยก่อนกล่าวว่า ลูกผู้ชายลายมือนั้นคือยศ” ขั้นสอน ๔. นักเรียนศึกษาความรู้เรื่อง รูปแบบตัวอักษร จากหนังสือหรือเข้าระบบ Line Official Account “THAI LINK” ๕. นักเรียนทำใบงานเรื่อง รูปแบบตัวอักษร โดยนักเรียนเข้าระบบ Line Official Account “THAI LINK” เพื่อศึกษาความรู้ประกอบการทำใบงาน ๖. นักเรียนรวมกลุ่ม ๔ คน ให้แต่ละคู่ผลัดกันอธิบายคำตอบให้เพื่อนอีกคู่หนึ่งในกลุ่มฟัง เพื่อช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง ๗. ตัวแทนนักเรียน ๑-๒ กลุ่ม ออกมานำเสนอคำตอบในใบงานหน้าชั้นเรียน ครูตรวจสอบ ความถูกต้อง จากนั้นให้ตัวแทนนักเรียนเก็บรวบรวมใบงานส่งครูตรวจ ๘. นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด แนวคำถาม “นักเรียนคิดว่า การคัดลายมือมีความจำเป็นสำหรับโลกยุคใหม่หรือไม่ เพราะเหตุใด” ขั้นสรุป ๙. นักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ด้วยการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบตัวอักษร ที่สามารถนำไปใช้เขียนในชีวิตประจำวันได้ 117


๙. ภาระงาน / ชิ้นงาน ใบงานเรื่อง รูปแบบตัวอักษร ๑๐. การวัดและประเมินผล ๑๐.๑ การประเมินตามจุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ ภาระ/ชิ้นงาน วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การให้ คะแนน เกณฑ์ การผ่าน ๑. อธิบาย รูปแบบตัวอักษร ศึกษารูปแบบ ตัวอักษร ประเมิน การเข้าร่วม กิจกรรม ในชั้นเรียน แบบประเมิน ตามสภาพจริง แบบประเมิน ตามสภาพจริง ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๒. เขียน รูปแบบตัวอักษร ๓. มีมารยาทในการเขียน ใบงานเรื่อง รูปแบบตัวอักษร ตรวจใบงานเรื่อง รูปแบบตัวอักษร ใบงานเรื่อง รูปแบบตัวอักษร แบบประเมิน ใบงานเรื่อง รูปแบบตัวอักษร ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๘๐ ๔. แสดงความสนใจ และให้ความร่วมมือ กับกิจกรรมการเรียน การสอน เรื่อง รูปแบบตัวอักษร ๑. ศึกษารูปแบบ ตัวอักษร ๒. ใบงานเรื่อง รูปแบบตัวอักษร ประเมิน การเข้าร่วม กิจกรรม ในชั้นเรียน แบบประเมิน ตามสภาพจริง แบบประเมิน ตามสภาพจริง ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๑๐.๒ การประเมินสมรรถนะสำคัญ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และทักษะศตวรรษที่ ๒๑ (๓R ๘C) จุดประสงค์การเรียนรู้ ภาระ/ชิ้นงาน วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การให้ คะแนน เกณฑ์การ ผ่าน สมรรถนะสำคัญ ๑.ความสามารถ ในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด ๑. ศึกษาเนื้อหา รูปแบบตัวอักษร ๒. ใบงานเรื่อง รูปแบบตัวอักษร ประเมินสมรรถนะ สำคัญ แบบประเมิน สมรรถนะสำคัญ แบบประเมิน สมรรถนะสำคัญ ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ คุณลักษณะผู้เรียน มาตรฐานสากล ๑. สื่อสาร ๒ ภาษา ๒. ล้ำหน้าทางความคิด ๑. ศึกษาเนื้อหา รูปแบบตัวอักษร ๒. ใบงานเรื่อง รูปแบบตัวอักษร ๑. ประเมิน การเข้าร่วมกิจกรรม ในชั้นเรียน ๒. ตรวจใบงานเรื่อง รูปแบบตัวอักษร ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. ใบงานเรื่อง รูปแบบตัวอักษร ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. แบบประเมิน ใบงานเรื่อง รูปแบบตัวอักษร ๑. ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๒. ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๘๐ คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ๑. มุ่งมั่นในการทำงาน ๒. รักความเป็นไทย ๑. ศึกษาเนื้อหา รูปแบบตัวอักษร ๒. ใบงานเรื่อง รูปแบบตัวอักษร ประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ทักษะศตวรรษที่ ๒๑ ๑. อ่านออก ๒. เขียนได้ ๓. มีทักษะในการวิเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และแก้ไขปัญหาได้ ๑. ศึกษาเนื้อหา รูปแบบตัวอักษร ๒. ใบงานเรื่อง หลักการคัดลายมือ ๑. ประเมิน การเข้าร่วมกิจกรรม ในชั้นเรียน ๒. ตรวจใบงานเรื่อง รูปแบบตัวอักษร ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. ใบงานเรื่อง รูปแบบตัวอักษร ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. แบบประเมิน ใบงานเรื่อง รูปแบบตัวอักษร ๑. ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๒. ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๘๐ 118


จุดประสงค์การเรียนรู้ ภาระ/ชิ้นงาน วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การให้ คะแนน เกณฑ์การ ผ่าน ทักษะชีวิตและอาชีพ ๑. ความยืดหยุ่นและ การปรับตัว ๒. การริเริ่มและนำพา ตนเอง ๑. ศึกษาเนื้อหา รูปแบบตัวอักษร ๒. ใบงานเรื่อง รูปแบบตัวอักษร ๑. ประเมิน การเข้าร่วมกิจกรรม ในชั้นเรียน ๒. ตรวจใบงานเรื่อง รูปแบบตัวอักษร ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. ใบงานเรื่อง รูปแบบตัวอักษร ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. แบบประเมิน ใบงานเรื่อง รูปแบบตัวอักษร ๑. ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๒. ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๘๐ ๑๑. สื่อการเรียนรู้ ๑๑.๑ ภาพตัวอย่างลายมือที่เขียนไม่ถูกต้องตามรูปแบบอักษรไทย ๑๑.๒ ระบบ Line Official Account “THAI LINK” https://liff.line.me/1645278921-kWRPP32q/?accountId=158vjmol ๑๒. แหล่งเรียนรู้ หนังสือวรรณคดีวิจักษ์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ 119


บันทึกผลหลังการสอน สรุปผลหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้/ผลการเรียนรู้/ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... นักเรียนทั้งหมดจำนวน ……………….. คน (ทุกคนที่สอน) จุดประสงค์การเรียนรู้ข้อที่ จำนวนนักเรียนที่ผ่าน จำนวนนักเรียนที่ไม่ผ่าน จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ 1 2 3 4 ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข/ข้อเสนอแนะ/ข้อสังเกตอื่น ๆ ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ .......................................................................... ครูผู้สอน (.............................................................................) .............../.............../............... บันทึกข้อคิดเห็นเพิ่มเติม ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ .......................................................................... ครูพี่เลี้ยง (.............................................................................) .............../.............../............... บันทึกข้อคิดเห็นเพิ่มเติม ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ .......................................................................... ผู้นิเทศ (.............................................................................) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หรือผู้ช่วยผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ .............../.............../............... 120


แบบประเมินการเข้าร่วมกิจกรรมในชั้นเรียนตามสภาพจริง (การประเมินทักษะในศตวรรษที่ ๒๑) คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วประเมินด้วยการทำเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องระดับคะแนน ประเด็นการประเมิน /ระดับคะแนน ลำดับที่-ชื่อ-สกุล นักเรียน ๑. ความรู้ ความเข้าใจใน เนื้อหา ๒. กระบวนการ คิดวิเคราะห์ ประเมินค่า ๓. การแสดง ความคิดเห็น ๔. ความมี น้ำใจกับเพื่อน ร่วมงาน ๕. ความ รับผิดชอบต่อ หน้าที่ที่ได้รับ มอบหมาย รวม ๒๐ คะแนน ระดับ คุณภาพ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ลงชื่อ .......................................................................... ผู้ประเมิน (.............................................................................) .............../.............../............... เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค (Scoring Rubric) การเข้าร่วมกิจกรรมในชั้นเรียนตามสภาพจริง ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ ความรู้ความเข้าใจในเนื้อหา ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ กระบวนการคิดวิเคราะห์ ประเมินค่า ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ การแสดงความคิดเห็น ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ ความมีน้ำใจกับเพื่อน ร่วมงาน ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๕ ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ ได้รับมอบหมาย ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๗-๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๓-๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙-๑๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕-๘ หมายถึง ปรับปรุง 121


แบบประเมินสมรรถนะสำคัญ ชื่อ-นามสกุล นักเรียน ................................................................................................... ชั้น ม.๒/.......... เลขที่ ............ คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วประเมินด้วยการทำเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องระดับคะแนน สมรรถนะสำคัญ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๑ ๒ ๓ ๔ ความสามารถ ในการสื่อสาร ๑. มีความสามารถในการรับส่งสาร ๒. มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ความคิดความเข้าใจของตนเองโดย ใช้ภาษาอย่างเหมาะสม ๓. ใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะสม ๔. วิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล รวม ระดับคุณภาพ ความสามารถ ในการคิด ๑. มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์สังเคราะห์ ๒. มีทักษะในการคิดนอกกรอบอย่างสร้างสรรค์ ๓. สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ ๔. มีความสามารถในการคิดอย่างมีระบบ ๕. ตัดสินใจแก้ปัญหาเกี่ยวกับตนเองได้ รวม ระดับคุณภาพ ลงชื่อ .......................................................................... ผู้ประเมิน (.............................................................................) .............../.............../............... 122


เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค (Scoring Rubric) สมรรถนะสำคัญ ความสามารถในการสื่อสาร ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ มีความสามารถในการรับส่ง สาร ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ มีความสามารถในการ ถ่ายทอดความรู้ความคิด ความเข้าใจของตนเองโดยใช้ ภาษาอย่างเหมาะสม ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ ใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะสม ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ วิเคราะห์ แสดงความคิดเห็น อย่างมีเหตุผล ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๔-๑๖ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๑-๑๓ หมายถึง ดี คะแนน ๘-๑๐ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๔-๗ หมายถึง ปรับปรุง สมรรถนะสำคัญ ความสามารถในการคิด ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ มีความสามารถในการคิด วิเคราะห์สังเคราะห์ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ มีทักษะในการคิดนอกกรอบ อย่างสร้างสรรค์ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ สามารถคิดอย่างมี วิจารณญาณ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ มีความสามารถในการคิด อย่างมีระบบ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๕ ตัดสินใจแก้ปัญหาเกี่ยวกับ ตนเองได้ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๗-๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๓-๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙-๑๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕-๘ หมายถึง ปรับปรุง 123


แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ชื่อ-นามสกุล นักเรียน ................................................................................................... ชั้น ม.๒/.......... เลขที่ ............ คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วประเมินด้วยการทำเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๑ ๒ ๓ ๔ รักความเป็นไทย ๑. ใช้ภาษาไทยและเลขไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ๒. ชักชวน แนะนำให้ผู้อื่นเห็นคุณค่าของการใช้ภาษาไทยที่ถูกต้อง ๓. นำภูมิปัญญาไทยมาใช้ให้เหมาะสมในวิถีชีวิต ๔. ร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาไทย ๕. แนะนำ มีส่วนร่วมในการสืบทอดภูมิปัญญาไทย รวม ระดับคุณภาพ มุ่งมั่นในการทำงาน ๑. เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ๒. ตั้งใจและรับผิดชอบในการทำงานให้สำเร็จ ๓. ปรับปรุงและพัฒนาการทำงานด้วยตนเอง ๔. ทุ่มเทงาน อดทน ไม่ย่อท้อต่อปัญหาและอุปสรรคในการทำงาน ๕. พยายามในการแก้ปัญหาและอุปสรรคในการทำงานให้สำเร็จ รวม ระดับคุณภาพ ลงชื่อ .......................................................................... ผู้ประเมิน (.............................................................................) .............../.............../............... 124


เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค (Scoring Rubric) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ รักความเป็นไทย ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ ใช้ภาษาไทยและเลขไทยใน การสื่อสารได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ ชักชวน แนะนำให้ผู้อื่นเห็น คุณค่าของการใช้ภาษาไทยที่ ถูกต้อง ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ นำภูมิปัญญาไทยมาใช้ให้ เหมาะสมในวิถีชีวิต ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ ร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ ภูมิปัญญาไทย ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๕ แนะนำ มีส่วนร่วมในการสืบ ทอดภูมิปัญญาไทย ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๗-๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๓-๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙-๑๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕-๘ หมายถึง ปรับปรุง คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มุ่งมั่นในการทำงาน ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ ตั้งใจและรับผิดชอบในการ ทำงานให้สำเร็จ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ ปรับปรุงและพัฒนาการ ทำงานด้วยตนเอง ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ ทุ่มเทงาน อดทน ไม่ย่อท้อ ต่อปัญหาและอุปสรรคใน การทำงาน ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๕ พยายามในการแก้ปัญหา และอุปสรรคในการทำงาน ให้สำเร็จ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๗-๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๓-๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙-๑๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕-๘ หมายถึง ปรับปรุง 125


บัตรภาพตัวอย่างลายมือที่เขียนไม่ถูกต้องตามรูปแบบอักษรไทย 126


ใบงาน เรื่อง รูปแบบตัวอักษร คำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนอธิบายรูปแบบตัวอักษร ๑. ตัวอักษรแบบอาลักษณ์ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ๒. เอกสารที่เขียนด้วยตัวอักษรแบบอาลักษณ์ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ๓. ตัวอักษรแบบกระทรวงศึกษาธิการ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ๔. ตัวอักษรแบบคณะครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… 127


(เฉลย) ใบงาน เรื่อง รูปแบบตัวอักษร คำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนอธิบายรูปแบบตัวอักษร ๑. ตัวอักษรแบบอาลักษณ์ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ๒. เอกสารที่เขียนด้วยตัวอักษรแบบอาลักษณ์ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ๓. ตัวอักษรแบบกระทรวงศึกษาธิการ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ๔. ตัวอักษรแบบคณะครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................…… เป็นตัวอักษรประเภทหัวเหลี่ยม หรือเรียกว่าหัวบัว ส่วนตัวอักษรก็เป็นตัวเหลี่ยม ตัวอาลักษณ์เป็นแบบอักษรของแผนก อาลักษณ์ สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เอกสารที่เขียนด้วยตัวอารักษ์จะเป็นเอกสารที่เกี่ยวข้องกับพระมหากษัตริย์เกี่ยวกับราชการหรือในเอกสารพิเศษอื่น ๆ เช่น ใบปริญญาบัตร ใบประกาศนียบัตร เป็นตัวอักษรประเภทหัวกลม มีลักษณะกลมมน เรียกตามโครงสร้างของตัวอักษรว่า หัวกลมตัวมน เป็นตัวอักษรหัวกลม ตัวเหลี่ยม ภาควิชาประถมศึกษา คณะครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้พัฒนาขึ้น 128


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๐ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๒๑๐๒ รายวิชา ภาษาไทย ๔ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๑ ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ชื่อหน่วย สำรวจหลักศิลา ศึกษาลายสือไทย เรื่อง การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย (การคัดพยัญชนะ สระ และตัวเลข) ผู้สอน ว่าที่ร้อยตรี ฐานทัพ ชุ่มจันทร์ ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราว ในรูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ ๑.๑ ตัวชี้วัด ท ๒.๑ ม.๒/๑ คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ๑.๒ ตัวชี้วัด ท ๒.๑ ม.๒/๘ มีมารยาทในการเขียน ๒. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๒.๑ อธิบายการคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย ๒.๒ คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย ๒.๓ มีมารยาทในการเขียน ๒.๔ แสดงความสนใจและให้ความร่วมมือกับกิจกรรมการเรียนการสอน เรื่อง การคัดลายมือ ตัวบรรจงครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย ๓. สาระสําคัญ ด้วยอักษรเป็นสัญลักษณ์ที่ใช้เขียนถ่ายทอดเรื่องราวต่าง ๆ จากผู้เขียนไปสู่ผู้อ่าน ถ้าผู้เขียนเขียนตัวอักษร ได้ถูกต้องและเป็นระเบียบ หรือเรียกว่า ลายมือดีจะช่วยให้ผู้อ่านรักษาได้ถูกต้อง แต่ถ้าลายมืออ่านยาก ย่อมเป็นอุปสรรคในการสื่อสาร เพราะผู้อ่านไม่สามารถรับสารที่ผู้เขียนต้องการสื่อได้ตรงตามวัตถุประสงค์ นอกจากนี้การฝึกฝนคัดลายมือด้วยตัวอักษรไทยรูปแบบต่าง ๆ ยังเป็นการช่วยอนุรักษ์วัฒนธรรมทางภาษา อีกประการหนึ่ง ๔. สาระการเรียนรู้ การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย ๕. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร ๕.๒ ความสามารถในการคิด ๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๖.๑ มุ่งมั่นในการทํางาน ๖.๒ รักความเป็นไทย 129


๗. จุดเน้นสู่การพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ คุณลักษณะผู้เรียนโรงเรียนมาตรฐานสากล ๗.๑ สื่อสาร ๒ ภาษา ๓.๒ ล้ำหน้าทางความคิด ทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ (๓R ๘C) ๗.๓ ทักษะการอ่าน ๗.๔ เขียนได้ ๗.๕ มีทักษะในการคิดวิเคราะห์การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และแก้ไขปัญหาได้ ทักษะชีวิตและอาชีพ ๗.๖ ความยืดหยุ่นและการปรับตัว ๗.๗ การริเริ่มและนำพาตนเอง ๘. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๑. นักเรียนและครูสนทนากันในเรื่อง รูปแบบอักษร ๒. นักเรียนดูรูปตัวอักษร ๓ แบบ ได้แก่ ๑) ตัวอักษรแบบอาลักษณ์ ๒) ตัวอักษรแบบกระทรวงศึกษาธิการ ๓) ตัวอักษรแบบคณะครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แล้วนักเรียนลองทายชื่อแบบตัวอักษรให้ถูกต้อง ๓. นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด แนวคำถาม “นักเรียนคิดว่าตัวอักษรทั้ง ๓ แบบ แบบใดคัดง่ายที่สุด เพราะเหตุใด” ขั้นสอน ๔. นักเรียนร่วมกันอธิบายลักษณะตัวอักษรแต่ละแบบ ๕. นักเรียนคัดตัวอักษรทั้ง ๓ แบบ ตามตัวอย่างที่แสดงให้เห็นทีละขั้นตอน โดยให้คัดลายมือ ตัวบรรจงครึ่งบรรทัด โดยนักเรียนแต่ละคนสามารถดูตัวอย่างตัวอักษรได้ในระบบ Line Official Account “THAI LINK” ๖. นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด แนวคำถาม “นักเรียนคิดว่าการคัดลายมือให้ถูกต้องและสวยงามมีความสำคัญหรือไม่ เพราะเหตุใด” ขั้นสรุป ๗. นักเรียนคัดตัวอักษรทั้ง ๓ แบบ ทำเสร็จแล้วส่งครูตรวจประเมินแก้ไขรายบุคคล ๙. ภาระงาน / ชิ้นงาน คัดลายมือตัวอักษรทั้ง ๓ แบบ 130


๑๐. การวัดและประเมินผล ๑๐.๑ การประเมินตามจุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ ภาระ/ชิ้นงาน วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การให้ คะแนน เกณฑ์ การผ่าน ๑. อธิบายคัดลายมือ ตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ตามรูปแบบการเขียน ตัวอักษรไทย ศึกษา รูปแบบตัวอักษร ประเมิน การเข้าร่วม กิจกรรม ในชั้นเรียน แบบประเมิน ตามสภาพจริง แบบประเมิน ตามสภาพจริง ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๒. คัดลายมือตัวบรรจง ครึ่งบรรทัดตามรูปแบบ การเขียนตัวอักษรไทย ๓. มีมารยาทในการเขียน คัดลายมือ ตัวบรรจง ครึ่งบรรทัด ตรวจการคัดลายมือ ตัวบรรจง ครึ่งบรรทัด แบบประเมิน การคัดลายมือ แบบประเมิน การคัดลายมือ ตัวบรรจง ครึ่งบรรทัด ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๔. แสดงความสนใจ และให้ความร่วมมือ กับกิจกรรมการเรียน การสอน เรื่อง การคัดลายมือตัวบรรจง ครึ่งบรรทัดตามรูปแบบ การเขียนตัวอักษรไทย ๑. ศึกษา รูปแบบตัวอักษร ๒. คัดลายมือ ตัวบรรจง ครึ่งบรรทัด ประเมิน การเข้าร่วม กิจกรรม ในชั้นเรียน แบบประเมิน ตามสภาพจริง แบบประเมิน ตามสภาพจริง ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๑๐.๒ การประเมินสมรรถนะสำคัญ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และทักษะศตวรรษที่ ๒๑ (๓R ๘C) จุดประสงค์การเรียนรู้ ภาระ/ชิ้นงาน วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การให้ คะแนน เกณฑ์การ ผ่าน สมรรถนะสำคัญ ๑.ความสามารถ ในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด ๑. ศึกษาเนื้อหา รูปแบบตัวอักษร ๒. คัดลายมือ ตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ประเมินสมรรถนะ สำคัญ แบบประเมิน สมรรถนะสำคัญ แบบประเมิน สมรรถนะสำคัญ ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ คุณลักษณะผู้เรียน มาตรฐานสากล ๑. สื่อสาร ๒ ภาษา ๒. ล้ำหน้าทางความคิด ๑. ศึกษาเนื้อหา รูปแบบตัวอักษร ๒. คัดลายมือ ตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ๑. ประเมิน การเข้าร่วมกิจกรรม ในชั้นเรียน ๒. ตรวจ การคัดลายมือ ตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. แบบประเมิน การคัดลายมือ ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. แบบประเมิน การคัดลายมือ ตัวบรรจง ครึ่งบรรทัด ๑. ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๒. ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ๑. มุ่งมั่นในการทำงาน ๒. รักความเป็นไทย ๑. ศึกษาเนื้อหา รูปแบบตัวอักษร ๒. คัดลายมือ ตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ประเมิน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ แบบประเมิน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ แบบประเมิน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ทักษะศตวรรษที่ ๒๑ ๑. อ่านออก ๒. เขียนได้ ๓. มีทักษะในการวิเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และแก้ไขปัญหาได้ ๑. ศึกษาเนื้อหา รูปแบบตัวอักษร ๒. คัดลายมือ ตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ๑. ประเมิน การเข้าร่วมกิจกรรม ในชั้นเรียน ๒. ตรวจ การคัดลายมือ ตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. แบบประเมิน การคัดลายมือ ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. แบบประเมิน การคัดลายมือ ตัวบรรจง ครึ่งบรรทัด ๑. ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๒. ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ 131


จุดประสงค์การเรียนรู้ ภาระ/ชิ้นงาน วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การให้ คะแนน เกณฑ์การ ผ่าน ทักษะชีวิตและอาชีพ ๑. ความยืดหยุ่นและ การปรับตัว ๒. การริเริ่มและนำพา ตนเอง ๑. ศึกษาเนื้อหา รูปแบบตัวอักษร ๒. คัดลายมือ ตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ๑. ประเมิน การเข้าร่วมกิจกรรม ในชั้นเรียน ๒. ตรวจ การคัดลายมือ ตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. แบบประเมิน การคัดลายมือ ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. แบบประเมิน การคัดลายมือ ตัวบรรจง ครึ่งบรรทัด ๑. ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๒. ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๑๑. สื่อการเรียนรู้ ๑๑.๑ ภาพตัวอย่างรูปแบบพยัญชนะ สระ และตัวเลข ตัวอักษรทั้ง ๓ แบบ ๑๑.๒ ระบบ Line Official Account “THAI LINK” https://liff.line.me/1645278921-kWRPP32q/?accountId=158vjmol ๑๒. แหล่งเรียนรู้ หนังสือวรรณคดีวิจักษ์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ 132


บันทึกผลหลังการสอน สรุปผลหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้/ผลการเรียนรู้/ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... นักเรียนทั้งหมดจำนวน ……………….. คน (ทุกคนที่สอน) จุดประสงค์การเรียนรู้ข้อที่ จำนวนนักเรียนที่ผ่าน จำนวนนักเรียนที่ไม่ผ่าน จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ 1 2 3 4 ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข/ข้อเสนอแนะ/ข้อสังเกตอื่น ๆ ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ .......................................................................... ครูผู้สอน (.............................................................................) .............../.............../............... บันทึกข้อคิดเห็นเพิ่มเติม ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ .......................................................................... ครูพี่เลี้ยง (.............................................................................) .............../.............../............... บันทึกข้อคิดเห็นเพิ่มเติม ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ .......................................................................... ผู้นิเทศ (.............................................................................) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หรือผู้ช่วยผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ .............../.............../............... 133


แบบการประเมินการคัดลายมือ คำชี้แจง : ให้ผู้สอนตรวจภาระงาน/ชิ้นงานนักเรียน แล้วประเมินด้วยการทำเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องระดับคะแนน ประเด็นการประเมิน /ระดับคะแนน ลำดับที่-ชื่อ-สกุล นักเรียน ๑. ใช้ตัวอักษร ถูกต้องตาม รูปแบบของ ตัวอักษร ขนาด มาตรฐาน ตัวอักษร ๒. ถูกต้องตาม อักขระวิธี การ วางตำแหน่ง พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ ๓. อ่านง่าย เป็นระเบียบ การเว้นช่องไฟ ๔. สะอาด เรียบร้อย ๕. การสะกดคำ เว้นวรรคคำ และตัวอักษร ถูกต้อง รวม ๒๐ คะแนน ระดับ คุณภาพ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ลงชื่อ .......................................................................... ผู้ประเมิน (.............................................................................) .............../.............../............... เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค (Scoring Rubric) การประเมินการคัดลายมือ ประเด็น การประเมิน ระดับคุณภาพคะแนน น้ำหนัก คะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑. ใช้ตัวอักษรถูกต้องตามรูปแบบของตัวอักษร ขนาดมาตรฐานตัวอักษร ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมี ข้อบกพร่องใน จุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมี ข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ ๒. ถูกต้องตามอักขระวิธีการวางตำแหน่ง พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมี ข้อบกพร่องใน จุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมี ข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ ๓. อ่านง่าย เป็นระเบียบการเว้นช่องไฟ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมี ข้อบกพร่องใน จุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมี ข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ ๔. สะอาด เรียบร้อย ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมี ข้อบกพร่องใน จุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมี ข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ ๕. การสะกดคำ เว้นวรรคคำ และตัวอักษรถูกต้อง ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมี ข้อบกพร่องใน จุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมี ข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๗-๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๓-๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๑๐-๑๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๔-๙ หมายถึง ปรับปรุง 134


แบบประเมินการเข้าร่วมกิจกรรมในชั้นเรียนตามสภาพจริง (การประเมินทักษะในศตวรรษที่ ๒๑) คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วประเมินด้วยการทำเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องระดับคะแนน ประเด็นการประเมิน /ระดับคะแนน ลำดับที่-ชื่อ-สกุล นักเรียน ๑. ความรู้ ความเข้าใจใน เนื้อหา ๒. กระบวนการ คิดวิเคราะห์ ประเมินค่า ๓. การแสดง ความคิดเห็น ๔. ความมี น้ำใจกับเพื่อน ร่วมงาน ๕. ความ รับผิดชอบต่อ หน้าที่ที่ได้รับ มอบหมาย รวม ๒๐ คะแนน ระดับ คุณภาพ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ลงชื่อ .......................................................................... ผู้ประเมิน (.............................................................................) .............../.............../............... เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค (Scoring Rubric) การเข้าร่วมกิจกรรมในชั้นเรียนตามสภาพจริง ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ ความรู้ความเข้าใจในเนื้อหา ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ กระบวนการคิดวิเคราะห์ ประเมินค่า ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ การแสดงความคิดเห็น ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ ความมีน้ำใจกับเพื่อน ร่วมงาน ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๕ ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ ได้รับมอบหมาย ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๗-๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๓-๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙-๑๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕-๘ หมายถึง ปรับปรุง 135


แบบประเมินสมรรถนะสำคัญ ชื่อ-นามสกุล นักเรียน ................................................................................................... ชั้น ม.๒/.......... เลขที่ ............ คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วประเมินด้วยการทำเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องระดับคะแนน สมรรถนะสำคัญ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๑ ๒ ๓ ๔ ความสามารถ ในการสื่อสาร ๑. มีความสามารถในการรับส่งสาร ๒. มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ความคิดความเข้าใจของตนเองโดย ใช้ภาษาอย่างเหมาะสม ๓. ใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะสม ๔. วิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล รวม ระดับคุณภาพ ความสามารถ ในการคิด ๑. มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์สังเคราะห์ ๒. มีทักษะในการคิดนอกกรอบอย่างสร้างสรรค์ ๓. สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ ๔. มีความสามารถในการคิดอย่างมีระบบ ๕. ตัดสินใจแก้ปัญหาเกี่ยวกับตนเองได้ รวม ระดับคุณภาพ ลงชื่อ .......................................................................... ผู้ประเมิน (.............................................................................) .............../.............../............... 136


เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค (Scoring Rubric) สมรรถนะสำคัญ ความสามารถในการสื่อสาร ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ มีความสามารถในการรับส่ง สาร ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ มีความสามารถในการ ถ่ายทอดความรู้ความคิด ความเข้าใจของตนเองโดยใช้ ภาษาอย่างเหมาะสม ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ ใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะสม ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ วิเคราะห์ แสดงความคิดเห็น อย่างมีเหตุผล ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๔-๑๖ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๑-๑๓ หมายถึง ดี คะแนน ๘-๑๐ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๔-๗ หมายถึง ปรับปรุง สมรรถนะสำคัญ ความสามารถในการคิด ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ มีความสามารถในการคิด วิเคราะห์สังเคราะห์ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ มีทักษะในการคิดนอกกรอบ อย่างสร้างสรรค์ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ สามารถคิดอย่างมี วิจารณญาณ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ มีความสามารถในการคิด อย่างมีระบบ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๕ ตัดสินใจแก้ปัญหาเกี่ยวกับ ตนเองได้ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๗-๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๓-๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙-๑๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕-๘ หมายถึง ปรับปรุง 137


แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ชื่อ-นามสกุล นักเรียน ................................................................................................... ชั้น ม.๒/.......... เลขที่ ............ คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วประเมินด้วยการทำเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๑ ๒ ๓ ๔ รักความเป็นไทย ๑. ใช้ภาษาไทยและเลขไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ๒. ชักชวน แนะนำให้ผู้อื่นเห็นคุณค่าของการใช้ภาษาไทยที่ถูกต้อง ๓. นำภูมิปัญญาไทยมาใช้ให้เหมาะสมในวิถีชีวิต ๔. ร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาไทย ๕. แนะนำ มีส่วนร่วมในการสืบทอดภูมิปัญญาไทย รวม ระดับคุณภาพ มุ่งมั่นในการทำงาน ๑. เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ๒. ตั้งใจและรับผิดชอบในการทำงานให้สำเร็จ ๓. ปรับปรุงและพัฒนาการทำงานด้วยตนเอง ๔. ทุ่มเทงาน อดทน ไม่ย่อท้อต่อปัญหาและอุปสรรคในการทำงาน ๕. พยายามในการแก้ปัญหาและอุปสรรคในการทำงานให้สำเร็จ รวม ระดับคุณภาพ ลงชื่อ .......................................................................... ผู้ประเมิน (.............................................................................) .............../.............../............... 138


เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค (Scoring Rubric) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ รักความเป็นไทย ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ ใช้ภาษาไทยและเลขไทยใน การสื่อสารได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ ชักชวน แนะนำให้ผู้อื่นเห็น คุณค่าของการใช้ภาษาไทยที่ ถูกต้อง ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ นำภูมิปัญญาไทยมาใช้ให้ เหมาะสมในวิถีชีวิต ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ ร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ ภูมิปัญญาไทย ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๕ แนะนำ มีส่วนร่วมในการสืบ ทอดภูมิปัญญาไทย ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๗-๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๓-๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙-๑๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕-๘ หมายถึง ปรับปรุง คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มุ่งมั่นในการทำงาน ลำดับ ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๒ ตั้งใจและรับผิดชอบในการ ทำงานให้สำเร็จ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๓ ปรับปรุงและพัฒนาการ ทำงานด้วยตนเอง ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๔ ทุ่มเทงาน อดทน ไม่ย่อท้อ ต่อปัญหาและอุปสรรคใน การทำงาน ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ๕ พยายามในการแก้ปัญหา และอุปสรรคในการทำงาน ให้สำเร็จ ปฏิบัติสมบูรณ์ ชัดเจน ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง ในจุดที่ไม่สำคัญ ปฏิบัติยังมีข้อบกพร่อง เป็นส่วนใหญ่ ปฏิบัติไม่ได้เลย ระดับคุณภาพ คะแนน ๑๗-๒๐ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๑๓-๑๖ หมายถึง ดี คะแนน ๙-๑๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๕-๘ หมายถึง ปรับปรุง 139


รูปแบบพยัญชนะ สระ และตัวเลข ของอักษรไทยแบบอาลักษณ์ แบบกระทรวงศึกษาธิการ และแบบคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย https://web.facebook.com/getupteacher/photos/a.456373088148654/629708230815138/?type=3&_rdc=1&_rdr 140


141


https://www.slideshare.net/napadonyingyongsakul/ss-13245520 142


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๒๑๐๒ รายวิชา ภาษาไทย ๔ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๑ ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ชื่อหน่วย สำรวจหลักศิลา ศึกษาลายสือไทย เรื่อง การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย (การคัดข้อความ) ผู้สอน ว่าที่ร้อยตรี ฐานทัพ ชุ่มจันทร์ ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราว ในรูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ ๑.๑ ตัวชี้วัด ท ๒.๑ ม.๒/๑ คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ๑.๒ ตัวชี้วัด ท ๒.๑ ม.๒/๘ มีมารยาทในการเขียน ๒. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๒.๑ อธิบายการคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย ๒.๒ คัดลายมือตัวบรรจงเครื่องบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย ๒.๓ มีมารยาทในการเขียน ๒.๔ แสดงความสนใจและให้ความร่วมมือกับกิจกรรมการเรียนการสอน เรื่อง การคัดลายมือ ตัวบรรจงครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย ๓. สาระสําคัญ ด้วยอักษรเป็นสัญลักษณ์ที่ใช้เขียนถ่ายทอดเรื่องราวต่าง ๆ จากผู้เขียนไปสู่ผู้อ่าน ถ้าผู้เขียนเขียนตัวอักษร ได้ถูกต้องและเป็นระเบียบ หรือเรียกว่า ลายมือดีจะช่วยให้ผู้อ่านรักษาได้ถูกต้อง แต่ถ้าลายมืออ่านยาก ย่อมเป็นอุปสรรคในการสื่อสาร เพราะผู้อ่านไม่สามารถรับสารที่ผู้เขียนต้องการสื่อได้ตรงตามวัตถุประสงค์ นอกจากนี้การฝึกฝนคัดลายมือด้วยตัวอักษรไทยรูปแบบต่าง ๆ ยังเป็นการช่วยอนุรักษ์วัฒนธรรมทางภาษา อีกประการหนึ่ง ๔. สาระการเรียนรู้ การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย ๕. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ๕.๑ ความสามารถในการสื่อสาร ๕.๒ ความสามารถในการคิด ๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๖.๑ มุ่งมั่นในการทํางาน ๖.๒ รักความเป็นไทย 143


๗. จุดเน้นสู่การพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ คุณลักษณะผู้เรียนโรงเรียนมาตรฐานสากล ๗.๑ สื่อสาร ๒ ภาษา ๓.๒ ล้ำหน้าทางความคิด ทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ (๓R ๘C) ๗.๓ ทักษะการอ่าน ๗.๔ เขียนได้ ๗.๕ มีทักษะในการคิดวิเคราะห์การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และแก้ไขปัญหาได้ ทักษะชีวิตและอาชีพ ๗.๖ ความยืดหยุ่นและการปรับตัว ๗.๗ การริเริ่มและนำพาตนเอง ๘. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๑. นักเรียนฝึกคัดตัวอักษรทั้ง ๓ แบบ ด้วยลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด โดยไม่ต้องดูแบบ ๒. นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด แนวคำถาม “การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดต่างจากการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดอย่างไร” ขั้นสอน ๓. นักเรียนแต่ละคนนำกระดาษรายงาน (กระดาษมีเส้น) ของตนมาคัดลายมือบทร้อยกรอง ด้วยตัวบรรจงครึ่งบรรทัด เรื่อง วันภาษาไทยแห่งชาติ ของครูกระดาษทราย จำนวน ๑๔ บรรทัด โดยเลือกรูปแบบ ตัวอักษรตามความสนใจ โดยให้ครอบคลุมประเด็นตามที่กำหนด ดังนี้ ๑) ความถูกต้องตามรูปแบบของตัวอักษร ๒) มาตรฐานของตัวอักษร ๓) การเว้นช่องไฟ ๔) การวางตำแหน่งพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ โดยนักเรียนดูตัวอย่างบทร้อยกรองได้ในระบบ Line Official Account “THAI LINK” ๔. นักเรียนคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดเสร็จแล้วส่งครูตรวจประเมินแก้ไขรายบุคคล ขั้นสรุป ๕. นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียนเรื่อง การคัดลายมือ ในระบบ Line Official Account “THAI LINK” ๙. ภาระงาน / ชิ้นงาน คัดลายมือบทร้อยกรอง ด้วยตัวบรรจงครึ่งบรรทัด เรื่อง วันภาษาไทยแห่งชาติ ของครูกระดาษทราย จำนวน ๑๔ บรรทัด 144


๑๐. การวัดและประเมินผล ๑๐.๑ การประเมินตามจุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ ภาระ/ชิ้นงาน วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การให้ คะแนน เกณฑ์ การผ่าน ๑. อธิบายคัดลายมือ ตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ตามรูปแบบการเขียน ตัวอักษรไทย ศึกษา รูปแบบตัวอักษร ประเมิน การเข้าร่วม กิจกรรม ในชั้นเรียน แบบประเมิน ตามสภาพจริง แบบประเมิน ตามสภาพจริง ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๒. คัดลายมือตัวบรรจง ครึ่งบรรทัดตามรูปแบบ การเขียนตัวอักษรไทย ๓. มีมารยาทในการเขียน คัดลายมือตัว บรรจงครึ่งบรรทัด ตรวจการคัดลายมือ ตัวบรรจง ครึ่งบรรทัด แบบประเมิน การคัดลายมือ แบบประเมิน การคัดลายมือ ตัวบรรจง ครึ่งบรรทัด ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๔. แสดงความสนใจ และให้ความร่วมมือ กับกิจกรรมการเรียน การสอน เรื่อง การคัดลายมือตัวบรรจง ครึ่งบรรทัดตามรูปแบบ การเขียนตัวอักษรไทย ๑. ศึกษา รูปแบบตัวอักษร ๒. คัดลายมือ ตัวบรรจงครึ่ง บรรทัด ประเมิน การเข้าร่วม กิจกรรม ในชั้นเรียน แบบประเมิน ตามสภาพจริง แบบประเมิน ตามสภาพจริง ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๑๐.๒ การประเมินสมรรถนะสำคัญ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และทักษะศตวรรษที่ ๒๑ (๓R ๘C) จุดประสงค์การเรียนรู้ ภาระ/ชิ้นงาน วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การให้ คะแนน เกณฑ์การ ผ่าน สมรรถนะสำคัญ ๑.ความสามารถ ในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด ๑. ศึกษาเนื้อหา รูปแบบตัวอักษร ๒. คัดลายมือตัว บรรจงครึ่งบรรทัด ประเมินสมรรถนะ สำคัญ แบบประเมิน สมรรถนะสำคัญ แบบประเมิน สมรรถนะสำคัญ ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ คุณลักษณะผู้เรียน มาตรฐานสากล ๑. สื่อสาร ๒ ภาษา ๒. ล้ำหน้าทางความคิด ๑. ศึกษาเนื้อหา รูปแบบตัวอักษร ๒. คัดลายมือตัว บรรจงครึ่งบรรทัด ๑. ประเมิน การเข้าร่วมกิจกรรม ในชั้นเรียน ๒. ตรวจการคัดลายมือ ตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. แบบประเมิน การคัดลายมือ ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. แบบประเมิน การคัดลายมือ ตัวบรรจง ครึ่งบรรทัด ๑. ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๒. ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ๑. มุ่งมั่นในการทำงาน ๒. รักความเป็นไทย ๑. ศึกษาเนื้อหา รูปแบบตัวอักษร ๒. คัดลายมือตัว บรรจงครึ่งบรรทัด ประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ แบบประเมิน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ทักษะศตวรรษที่ ๒๑ ๑. อ่านออก ๒. เขียนได้ ๓. มีทักษะในการวิเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และแก้ไขปัญหาได้ ๑. ศึกษาเนื้อหา รูปแบบตัวอักษร ๒. คัดลายมือตัว บรรจงครึ่งบรรทัด ๑. ประเมิน การเข้าร่วมกิจกรรม ในชั้นเรียน ๒. ตรวจการคัดลายมือ ตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. แบบประเมิน การคัดลายมือ ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. แบบประเมิน การคัดลายมือ ตัวบรรจง ครึ่งบรรทัด ๑. ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๒. ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ 145


จุดประสงค์การเรียนรู้ ภาระ/ชิ้นงาน วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การให้ คะแนน เกณฑ์การ ผ่าน ทักษะชีวิตและอาชีพ ๑. ความยืดหยุ่นและ การปรับตัว ๒. การริเริ่มและนำพา ตนเอง ๑. ศึกษาเนื้อหา รูปแบบตัวอักษร ๒. คัดลายมือตัว บรรจงครึ่งบรรทัด ๑. ประเมิน การเข้าร่วมกิจกรรม ในชั้นเรียน ๒. ตรวจการคัดลายมือ ตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. แบบประเมิน การคัดลายมือ ๑. แบบประเมิน ตามสภาพจริง ๒. แบบประเมิน การคัดลายมือ ตัวบรรจง ครึ่งบรรทัด ๑. ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๒. ผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ ๑๑. สื่อการเรียนรู้ ๑๑.๑ ตัวอย่างบทร้อยกรอง สำหรับคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย ๑๑.๒ รูปแบบตัวอักษร ๓ รูปแบบ ๑๑.๓ ระบบ Line Official Account “THAI LINK” https://liff.line.me/1645278921-kWRPP32q/?accountId=158vjmol ๑๒. แหล่งเรียนรู้ หนังสือวรรณคดีวิจักษ์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ 146


Click to View FlipBook Version