The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

2563 นโยบายทางการเมืองในการส่งเสริมการท่องเที่ยวขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรอบบึงแก่นนคร จังหวัดขอนแก่น
POLITICAL POLICIES FOR TOURISM PROMOTION OF LOCAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATIONS AROUND BUENG KAEN NAKHON LAKE, KHON KAEN PROVINCE พระชัยภัก ชยเมธี (พาลี)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

2563 นโยบายทางการเมืองในการส่งเสริมการท่องเที่ยวขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรอบบึงแก่นนคร จังหวัดขอนแก่น POLITICAL POLICIES FOR TOURISM PROMOTION OF LOCAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATIONS AROUND BUENG KAEN NAKHON LAKE, KHON KAEN PROVINCE พระชัยภัก ชยเมธี (พ

2563 นโยบายทางการเมืองในการส่งเสริมการท่องเที่ยวขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรอบบึงแก่นนคร จังหวัดขอนแก่น
POLITICAL POLICIES FOR TOURISM PROMOTION OF LOCAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATIONS AROUND BUENG KAEN NAKHON LAKE, KHON KAEN PROVINCE พระชัยภัก ชยเมธี (พาลี)

Keywords: 2563,นโยบายทางการเมืองในการส่งเสริมการท่องเที่ยวขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรอบบึงแก่นนคร จังหวัดขอนแก่น,POLITICAL POLICIES FOR TOURISM PROMOTION OF LOCAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATIONS AROUND BUENG KAEN NAKHON LAKE, KHON KAEN PROVINCE,พระชัยภัก ชยเมธี (พาลี)

นโยบายทางการเมอื งในการสง เสรมิ การทอ งเท่ยี วขององคก ร
ปกครองสว นทองถิน่ รอบบึงแกนนคร จังหวดั ขอนแกน

POLITICAL POLICIES FOR TOURISM PROMOTION OF LOCAL
ADMINISTRATIVE ORGANIZATIONS AROUND

BUENG KAEN NAKHON LAKE, KHON KAEN PROVINCE

พระชัยภกั ชยเมธี (พาล)ี

วิทยานพิ นธนเ้ี ปน สวนหน่ึงของการศึกษา
ตามหลักสูตรปริญญารัฐศาสตรมหาบัณฑิต

บัณฑติ วิทยาลัย
มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั

พุทธศักราช ๒๕๖๓

นโยบายทางการเมืองในการสง เสรมิ การทอ งเทยี่ วขององคกร
ปกครองสวนทอ งถนิ่ รอบบงึ แกนนครจงั หวดั ขอนแกน

พระชยั ภกั ชยเมธี (พาล)ี

วิทยานพิ นธน เ้ี ปนสวนหน่ึงของการศึกษา
ตามหลักสตู รปรญิ ญารัฐศาสตรมหาบัณฑิต

บณั ฑิตวทิ ยาลยั
มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย

พุทธศักราช ๒๕๖๓
(ลิขสทิ ธ์ิเปนของมหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั )

Political Policies for Tourism Promotion of Local
Administrative Organizations around

Bueng Kaen Nakhon Lake, Khon Kaen Province

Phra Chaipuk Chayamethee (Pali)

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of
the Requirements for the Degree of
Master of Political Science Program
Graduate School

Mahachulalongkornrajavidyalaya University
C.E. 2020

(Copyright by Mahachulalongkornrajavidyalaya University)





ชือ่ วิทยานพิ นธ : นโยบายทางการเมืองในการสงเสรมิ การทองเทย่ี วขององคกรปกครอง
สวนทอ งถน่ิ รอบบึงแกนนคร จังหวดั ขอนแกน
ผูวิจัย : พระชัยภัก ชยเมธี (พาลี)
ปริญญา : รัฐศาสตรมหาบณั ฑิต
คณะกรรมการควบคมุ วทิ ยานพิ นธ
: ผศ. ดร.ชาญชัย ฮวดศรี, พธ.บ. (สงั คมศึกษา), M.A. (Political Science),
Ph.D. (Political Science)
: ผศ. ดร.วทิ ยา ทองดี, ป.ธ. ๓, พธ.บ. (การสอนสงั คมศึกษา),
ศษ.บ. (ประถมศึกษา), ศษ.ม. (เทคโนโลยีการศึกษา),
Ph.D. (Social Science)
วนั สาํ เร็จการศึกษา : ๑๕ กุมภาพันธ ๒๕๖๔

บทคัดยอ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค ๑. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของประชาชนตอนโยบายทาง
การเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียว ๒. เพ่ือศึกษาความคิดเห็นของประชาชนตอหลักธรรมการ
สง เสรมิ การทองเที่ยวโดยหลกั เบญจธรรม ๓. เพือ่ เปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนตอนโยบาย
ทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยว จําแนกตามปจจัยสวนบุคคลและหลักเบญจธรรม ๔. เพื่อ
ศึกษาแนวทางการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกรปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัด
ขอนแกน เปนการวิจยั แบบผสม โดยการวิจยั เชิงปรมิ าณและคุณภาพ กลุมตัวอยาง จํานวน ๒๘๕ คน
ผูใหขอมูลสําคัญ จํานวน ๑๐ คน เครื่องมือที่ใช คือ แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ สถิติที่ใชใน
การวิเคราะหขอมูล คือ คาความถ่ี คารอยละ คาเฉล่ีย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยการทดสอบคาที
(t-test) และการทดสอบคา เอฟ (F-test)

ผลการวิจัยพบวา
๑. ระดับความคิดเห็นของประชาชนตอนโยบายทางการเมอื งในการสงเสริมการทอ งเท่ียว
ขององคกรปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน และระดับความคิดเห็นหลักธรรม
ในการสง เสริมการทอ งเทีย่ วรอบบงึ แกนนครโดยหลกั เบญจธรรม โดยภาพรวมอยูในระดบั มาก
๒. ประชาชนมี เพศ อายุ อาชีพ รายได และระดับการศึกษา มีความคิดเห็นตอนโยบาย
ทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัด
ขอนแกน โดยภาพรวมไมแตกตางกัน และประชาชนท่ีมีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน มี
ความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมอื งในการสง เสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครองสว นทองถิน่ รอบ
บึงแกนนคร จังหวดั ขอนแกน แตกตา งกัน
๓. แนวทางการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกรปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร
จังหวัดขอนแกน พบวา ควรจัดกิจกรรมตาง ๆ รอบบึงแกนนคร ท่ีเปนกิจกรรมอนุรักษวัฒนธรรมของ
ชมุ ชน ควรมีการปรับปรุงภูมทิ ัศนโ ดยรอบ และมกี ารจัดการเรียนรูในสถานท่ีสําคัญ มกี ารประชาสัมพันธ
ผา นสื่อตาง ๆ นําเสนอขอมูลที่เปนประโยชนตอประชาชน มีการจัดต้ังคณะกรรมการบรหิ ารบึงแกนนคร
เพือ่ ความเรียบรอยในพน้ื ทโ่ี ดยรอบ



Thesis Title : Political Policies for Tourism Promotion of Local
Administrative Organizations around Bueng Kaen
Nakhon Lake, Khon Kaen Province
Researcher : Phra Chaipuk Chayamethee (Pali)
Degree : Master of Political Science Program
Thesis Supervisory Committee
: Asst. Prof. Chanchai Huadsri, B.A. (Social Study),
M.A. (Political Science), Ph.D. (Political Science)
: Asst. Prof. Dr. Vitthaya Thongdee, Pali III,
B.A. (Social Studied Teaching), B.Ed. (Primary Education),
M.Ed. (Educational Technology), Ph.D. (Social Science)
Date of Graduation : February 15, 2021

Abstract

The objectives of this research were: 1) to study the opinions of the
people on the political policy in promoting tourism; 2) to study the opinions of the
people on the Dhamma principles for promoting tourism by using the Five Pañca-
Dhammas (the Five Ennobling Virtues); 3) to compare people's opinions on the
political policy of promotion tourism, classified by samples’ personal factors and the
Five Pañca-Dhammas; 4) to study the guidelines for tourism promotion of local
administrative organizations around Bueng Kaen Nakhon Lake in Khon Kaen Province.
This study was carried out by means of the mixed research methodologies:
quantitative and qualitative research. The sample group consisted of 285 people and
10 key informants. The tools used were questionnaires and interviews. The statistics
used for data analysis were: Frequency, Percentage, Mean, Standard Deviation, t-test
and F-test.

The research results were as follows:
1) The level of public opinion on political policy for tourism promotion of
local government organizations around Bueng Kaen Nakhon Lake, Khon Kaen
Province and the level of opinions on the Dhamma principles in promoting tourism
around the lake by using the Five Pañca-Dhammas in overall was at a high level.
2. People with differences in sex, age, occupation, income and education
level had the overall different opinion on the political policy for tourism promotion
of local administrative organizations around Bueng Kaen Nakhon Lake. Those who
practice themselves according to the Five Pañca-Dhammas had a different opinion



on the political policy for tourism promotion of local administrative organizations
around Bueng Kaen Nakhon Lake.

3. Guidelines for tourism promotion of local administrative organizations
around Bueng Kaen Nakhon Lake are that various cultural preservation activities should
be organized around the lake for the community; the surrounding landscape should be
improved; learning management should be organized in important places; there should
be publicity through various media to present the information useful to the people;
Bueng Kaen Nakhon Lake management committee should be established for orderliness
in the surrounding area.



กิตตกิ รรมประกาศ

วิทยานิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวงไปดวยดี ดวยความเมตตานุเคราะหของคณะกรรมการท่ี
ปรึกษาวิทยานิพนธ ประกอบดวย ผศ.ดร. ชาญชัย ชวดศรี ประธานกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ
และผศ.ดร.วทิ ยา ทองดี กรรมการ ที่ไดกรุณาใหคําปรกึ ษา แนะนํา ดูแลเอาใจใสใหความชวยเหลือใน
การปรบั ปรงุ แกไ ขมาดวยดโี ดยตลอด

ขอกราบขอบพระคุณ พระมหาภิรัฐกรณ อํสุมาลี, ผศ.ดร, พระมหาพิสิฐ วิสิฏฐปฺโญ, ดร.,
พระมหาอธิวัฒน ภฺทรกวี, และขอเจริญพรขอบคุณ ดร.สมควร นามสีฐาน, ดร.สวาท ฮาดภักดี ท่ีกรุณา
รับเปนผูทรงคุณวุฒิท่ีใหความอนุเคราะหตรวจสอบความถูกตองทั้งดานภาษา เน้ือหา ระเบียบวิธีและ
เคร่อื งมอื ทใี่ ชใ นการดําเนนิ การวิจัยครั้งนี้

ผูวิจัยขอเจริญพรขอบคุณประชาชน ท่ีเปนกลุมตัวอยางในการวิจัยที่ไดใหความรวมมือ
เปนอยางดีในการตอบแบบสอบถาม และผูวิจยั ขอกราบขอบพระคุณ พระโสภณพัฒนบัณฑิต, รศ.ดร.
เจา อาวาสวัดธาตุ (พระอารามหลวง), พระครูปริยัตธิ รรมวงศ ผูแทนพระสงฆวดั หนองแวง พระอาราม
หลวง, พระครเู จตพล อินทฺ ปโฺ ญ ผ็แทนสงฆวัดโพธิ์, และขอเจริญพรขอบคุณ นายธีรศักดิ์ ฑีฆายพุ ันธ
นายกเทศมนตรีนครขอนแกน, นายธวัชชัย รื่นรมยสิริ รองนายกเทศมนตรีนครขอนแกน, นายมนตรี
สิงหปุณณภัทร รองนายกเทศมนตรีนครขอนแกน, นายมารุต อวนไตร เลขานุการนายกเทศมนตรี,
นายเติมศักด์ิ เดชโบราณ ประธานชุมชนคุมวัดธาตุ, นางโสภา พิศพล ประธานชุมชนหนองแวงเมือง
เกา, และนางสุธินี พรหมณี ประธานชุมชนคุมวัดกลาง ที่ไดใหความรวมมือเปนอยางดีในการตอบ
แบบสัมภาษณ

ขอขอบคุณคณะกรรมการสอบปองกันวิทยานิพนธ คือ ผศ.ดร.ยุทธนา ปราณีต ประธาน
สอบปองกันวิทยานิพนธ, รศ.ดร.ภาสกร ดอกจันทร กรรมการสอบปองกันวิทยานิพนธ, ท่ีไดให
ขอเสนอแนะเพื่อใหว ทิ ยานพิ นธฉ บับนีม้ ีความถูกตองและสมบรู ณย่ิงข้นึ

สุดทาย ขอขอบพระคุณคณาจารยคณะรัฐศาสตรมหาบัณฑิตทุกทาน ตลอดจนเจาหนาท่ี
ทุกคนท่ีไดใหความรู ประสิทธิ์ประสาทวิทยาการ และประสบการณ รวมถึงใหความเมตตาเอื้อเฟอ
ถายทอดความรู ความเขาใจ และเปนกําลังใจใหแกผูวิจัยมาตลอด คุณความดี การทําประโยชนใด ๆ
อันเกิดจากวิทยานิพนธนี้ ผูวิจัยขอมอบบูชาเปนกตเวทิตาคุณมารดา บิดา ญาติสนิท มิตรสหายและ
เพ่ือนรวมช้ันเรียนทั้งบรรพชิต และคฤหัสถ ที่เปนกําลังใจ และใหการสนับสนุนในทุก ๆ เร่อื ง รวมทั้ง
ญาติ และผมู ีพระคุณทกุ ทาน

พระชยั ภัก ชยเมธี (พาลี)
๑๕ กุมภาพนั ธ ๒๕๖๔

สารบัญ จ

เรื่อง หนา
บทคดั ยอภาษาไทย ก
บทคดั ยอภาษาองั กฤษ ข
กติ ตกิ รรมประกาศ ง
สารบัญ จ
สารบญั ตาราง ช
สารบญั แผนภาพ ฏ
บทท่ี ๑ บทนาํ ๑

๑.๑ ความเปน มาและความสําคญั ของปญ หา ๓
๑.๒ คาํ ถามการวิจยั ๓
๑.๓ วัตถุประสงคข องการวจิ ัย ๓
๑.๔ ขอบเขตของการวจิ ยั ๔
๑.๕ สมมตฐิ านการวจิ ยั ๕
๑.๖ นยิ ามศพั ทเ ฉพาะทใี่ ชในงานวจิ ยั ๕
๑.๗ ประโยชนท ่ีไดรับจากการวิจัย ๖
บทที่ ๒ แนวคิด ทฤษฎแี ละงานวจิ ยั ท่ีเกีย่ วขอ ง ๖
๒.๑ แนวคดิ เกีย่ วกบั นโยบายทางการเมอื ง
๒.๒ แนวคดิ เกีย่ วกับการสง เสริมการทองเทีย่ ว ๑๒
๒.๓ แนวคดิ เก่ยี วกับองคกรปกครองสวนทอ งถ่ิน ๒๙
๒.๔ หลักพุทธธรรมท่ีเกีย่ วของ ๔๐
๒.๕ ขอมูลเรอื่ งทว่ี ิจัย ๔๒
๒.๖ งานวจิ ยั ที่เก่ียวขอ ง ๔๓
๒.๗ กรอบแนวคดิ ในการวิจัย ๕๒
บทท่ี ๓ วิธีดําเนินการวิจยั ๕๔
๓.๑ รปู แบบการวจิ ัย ๕๔
๓.๒ ประชากร กลุม ตวั อยา ง และผูใหข อมลู สําคญั ๕๔
๓.๓ เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัย ๕๕
๓.๔ การเก็บรวบรวมขอ มลู ๕๘
๓.๕ การวิเคราะหข อมลู ๕๙



บทท่ี ๔ ผลการวเิ คราะหขอมูล ๖๐
๔.๑ ปจ จัยสวนบุคคลของผตู อบแบบสอบถาม ๖๑
๔.๒ ผลการวิเคราะหระดับความคิดเห็นของประชาชนตอนโยบายทางการเมืองในการ
สงเสริมการทองเที่ยวขององคกรปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัด
ขอนแกน ๖๓
๔.๓ ผลการวิเคราะหระดับความคิดเห็นของประชาชนตอหลักธรรมการสงเสริมการ
ทอ งเทีย่ วรอบบึงแกนนครโดยหลกั เบญจธรรม ๕ ๖๘
๔.๔ ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนตอนโยบายทางการเมืองในการ
สงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัด
ขอนแกน ตามปจ จยั สวนบุคคล ๗๔
๔.๕ ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนตอนโยบายทางการเมืองในการ
สงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัด
ขอนแกน ตามหลกั ธรรมการสงเสรมิ การทองเท่ยี วรอบบึงแกน นคร ๗๙
๔.๖ ผลการวิเคราะหแนวทางการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครองสวน
ทองถน่ิ รอบบึงแกน นคร จังหวัดขอนแกน ๑๐๖
๔.๗ ผลการวิเคราะหแนวทางการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครองสวน
ทองถนิ่ รอบบึงแกน นคร จังหวดั ขอนแกน ตามหลกั เบญจธรรม ๑๐๙
๔.๘ สรปุ องคค วามรทู ี่ไดจ ากการวิจยั ๑๑๒

บทที่ ๕ สรุป การอภิปรายผลและขอเสนอแนะ ๑๑๔
๕.๑ สรปุ ผลการวิจัย ๑๑๔
๕.๒ การอภปิ รายผลการวิจยั ๑๑๗
๕.๓ ขอเสนอแนะ ๑๒๒

บรรณานุกรม ๑๒๔

ภาคผนวกภาคผนวก ก รายนามผูเช่ียวชาญในการตรวจสอบเครื่องมือวจิ ัยและหนงั สือ ๑๓๐

ขอความอนุเคราะหต รวจแกไ ขเครื่องมือทีใ่ ชในการทําการวจิ ัย ๑๓๑
ภาคผนวก ข หนังสือขอความอนเุ คราะหใ นการสัมภาษณเพื่อการวิจัย ๑๓๘
ภาคผนวก ค ตัวอยา งเคร่ืองมือมือวจิ ัยท้ังเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ๑๔๙
ภาคผนวก ง ผลของการหาคา IOC แบบสอบถาม แบบสัมภาษณและคาสัมประสิทธ์ิ
แอลฟา ๑๖๑
ภาคผนวก จ ภาพสมั ภาษณประกอบการวิจัย ๑๗๑

ประวตั ผิ ูวจิ ยั ๑๗๖



สารบญั ตาราง

ตารางที่ หนา
ตารางที่ ๒.๑ สรุปแนวคิดเกย่ี วกบั นโยบายทางการเมอื ง ๑๑
ตารางท่ี ๒.๒ สรปุ แนวคดิ เกยี่ วกับการสงเสริมการทองเทีย่ ว ๒๖
ตารางที่ ๒.๓ สรปุ แนวคิดเก่ยี วกบั องคกรปกครองสวนทองถิน่ ๓๙
ตารางท่ี ๒.๔ สรปุ แนวคดิ เกยี่ วกับหลกั พทุ ธธรรม ๔๒
ตารางที่ ๒.๕ สรุปงานวิจัยทีเ่ กี่ยวขอ ง ๕๐
ตารางท่ี ๔.๑ จํานวนความถี่ของผูตอบแบบสอบถาม จําแนกตามเพศ ๖๑
ตารางที่ ๔.๒ จํานวนความถ่ีของผูต อบแบบสอบถาม จาํ แนกตามอายุ ๖๑
ตารางที่ ๔.๓ จํานวนความถีข่ องผตู อบแบบสอบถาม จาํ แนกตามระดบั การศึกษา ๖๒
ตารางท่ี ๔.๔ จาํ นวนความถีข่ องผตู อบแบบสอบถาม จําแนกตามอาชีพ ๖๒
ตารางที่ ๔.๕ จํานวนความถี่ของผูต อบแบบสอบถาม จาํ แนกตามรายได ๖๓
ตารางท่ี ๔.๖ ระดับความคิดเห็นของประชาชนตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการ
ทองเที่ยวขององคกรปกครองสวนทองถิ่นรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน โดย
ภาพรวม ๖๓
ตารางท่ี ๔.๗ ระดับความคิดเห็นของประชาชนตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการ
ทองเท่ียวขององคกรปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน ดาน
แหลง หรือกิจกรรมทองเที่ยว ๖๔
ตารางที่ ๔.๘ ระดับความคิดเห็นของประชาชนตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการ
ทองเที่ยวขององคกรปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน ดาน
การตลาดการทอ งเท่ียว ๖๕
ตารางที่ ๔.๙ ระดับความคิดเห็นของประชาชนตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการ
ทองเที่ยวขององคกรปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน ดาน
การทอ งเทยี่ วเชิงวัฒนธรรม ๖๖
ตารางที่ ๔.๑๐ ระดับความคิดเห็นของประชาชนตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการ
ทองเที่ยวขององคกรปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน
ดา นการประชาสัมพันธ ๖๗
ตารางที่ ๔.๑๑ ระดับความคิดเห็นหลักธรรมในดานการสงเสริมการทองเท่ียวรอบบึงแกนนคร
โดยหลกั เบญจธรรม ๕ โดยภาพรวม ๖๘
ตารางที่ ๔.๑๒ ระดับความคิดเห็นของประชาชนตอหลักธรรมการสงเสริมการทองเท่ียวรอบบึง
แกน นครโดยหลักเบญจธรรม ๕ ดานเมตตากรุณา ๖๙
ตารางที่ ๔.๑๓ ระดับความคิดเห็นของประชาชนตอหลักธรรมการสงเสริมการทองเที่ยวรอบบึง
แกนนครโดยหลักเบญจธรรม ๕ ดา นสมั มาอาชวี ะ ๗๐
ตารางท่ี ๔.๑๔ ระดับความคิดเห็นของประชาชนตอหลักธรรมการสงเสริมการทองเท่ียวรอบบึง
แกน นครโดยหลกั เบญจธรรม ๕ ดา นกามสังวร ๗๑



ตารางท่ี ๔.๑๕ ระดับความคิดเห็นของประชาชนตอหลักธรรมการสงเสริมการทองเท่ียวรอบบึง ๗๒
แกน นครโดยหลกั เบญจธรรม ๕ ดา นสจั จะ
ตารางที่ ๔.๑๖ ระดับความคิดเห็นของประชาชนตอหลักธรรมการสงเสริมการทองเท่ียวรอบบึง
แกน นครโดยหลกั เบญจธรรม ๕ ดานสตสิ ัมปชญั ญะ ๗๓
ตารางท่ี ๔.๑๗ แสดงการเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนตอนโยบายทางการเมืองในการ
สงเสริมการทองเที่ยวขององคกรปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัด
ขอนแกน จาํ แนกตามเพศ ๗๔
ตารางท่ี ๔.๑๘ แสดงความแปรปรวนความคิดเห็นของประชาชนตอนโยบายทางการเมืองในการ
สงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัด
ขอนแกน จาํ แนกตามอายุ ๗๕
ตารางที่ ๔.๑๙ แสดงความแปรปรวนความคิดเห็นของประชาชนตอนโยบายทางการเมืองในการ
สงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัด
ขอนแกน จาํ แนกตามอาชีพ ๗๖
ตารางที่ ๔.๒๐ แสดงความแปรปรวนความคิดเห็นของประชาชนตอนโยบายทางการเมืองในการ
สงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครองสวนทองถิ่นรอบบึงแกนนคร จังหวัด
ขอนแกน จําแนกตามรายได ๗๗
ตารางที่ ๔.๒๑ แสดงความแปรปรวนความคิดเห็นของประชาชนตอนโยบายทางการเมืองในการ
สงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครองสวนทองถิ่นรอบบึงแกนนคร จังหวัด
ขอนแกน จาํ แนกตามระดบั การศกึ ษา ๗๘
ตารางท่ี ๔.๒๒ แสดงความแปรปรวนการปฏบิ ัตติ นตามหลักเบญจธรรมตางกัน มีความคิดเห็นตอ
นโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทอ งเท่ียวขององคกรปกครองสวนทองถิ่น
รอบบงึ แกนนครจังหวัดขอนแกน จําแนกตามดา นเมตตากรุณา ๗๙
ตารางท่ี ๔.๒๓ แสดงคาเฉลี่ยรายคูผลการเปรียบเทียบการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน
มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกร
ปกครองสวนทอ งถ่นิ รอบบงึ แกนนคร จังหวัดขอนแกน จาํ แนกตามดา นแหลงหรือ
กิจกรรมทองเทีย่ ว ๘๐
ตารางที่ ๔.๒๔ แสดงคาเฉลี่ยรายคูผลการเปรียบเทียบการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน
มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกร
ปกครองสว นทองถิ่นรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน จําแนกตามดา นการตลาด
การทองเที่ยว ๘๑
ตารางที่ ๔.๒๕ แสดงคาเฉลี่ยรายคูผลการเปรียบเทียบการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน
มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกร
ปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน จําแนกตามดานการ
ทองเท่ียวเชงิ วฒั นธรรม ๘๒



ตารางท่ี ๔.๒๖ แสดงคาเฉล่ียรายคูผลการเปรียบเทียบการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน
มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกร
ปกครองสวนทองถิ่นรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน จําแนกตามดานการ
ประชาสัมพนั ธ ๘๓
ตารางท่ี ๔.๒๗ แสดงความแปรปรวนการปฏิบัตติ นตามหลักเบญจธรรมตางกัน มีความคิดเห็นตอ
นโยบายทางการเมอื งในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครองสว นทองถ่ิน
รอบบงึ แกน นครจงั หวดั ขอนแกน จําแนกตามดานสัมมาอาชีวะ ๘๔
ตารางที่ ๔.๒๘ แสดงคาเฉล่ียรายคูผลการเปรียบเทียบการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน
มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกร
ปกครองสวนทอ งถิ่นรอบบงึ แกนนคร จงั หวดั ขอนแกน จาํ แนกตามดา นแหลงหรือ
กจิ กรรมทองเทยี่ ว ๘๕
ตารางที่ ๔.๒๙ แสดงคาเฉล่ียรายคูผลการเปรียบเทียบการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน
มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกร
ปกครองสวนทอ งถิ่นรอบบึงแกนนคร จังหวดั ขอนแกน จําแนกตามดา นการตลาด
การทอ งเที่ยว ๘๖
ตารางที่ ๔.๓๐ แสดงคาเฉล่ียรายคูผลการเปรียบเทียบการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน
มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกร
ปกครองสวนทองถิ่นรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน จําแนกตามดานการ
ทองเทีย่ วเชิงวฒั นธรรม ๘๗
ตารางท่ี ๔.๓๑ แสดงคาเฉล่ียรายคูผลการเปรียบเทียบการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน
มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกร
ปกครองสวนทองถิ่นรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน จําแนกตามดานการ
ประชาสัมพันธ ๘๘
ตารางที่ ๔.๓๒ แสดงความแปรปรวนการปฏบิ ัตติ นตามหลักเบญจธรรมตางกัน มีความคิดเห็นตอ
นโยบายทางการเมืองในการสง เสริมการทอ งเที่ยวขององคกรปกครองสว นทอ งถ่ิน
รอบบึงแกนนครจังหวัดขอนแกน จําแนกตามดานกามสังวร ๘๙
ตารางที่ ๔.๓๓ แสดงคาเฉล่ียรายคูผลการเปรียบเทียบการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน
มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกร
ปกครองสวนทองถิ่นรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน จําแนกตามดานแหลงหรือ
กิจกรรมทองเทีย่ ว ๙๐
ตารางที่ ๔.๓๔ แสดงคาเฉลี่ยรายคูผลการเปรียบเทียบการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน
มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกร
ปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน จําแนกตามดานการตลาด
การทองเท่ยี ว ๙๑



ตารางที่ ๔.๓๕ แสดงคาเฉลี่ยรายคูผลการเปรียบเทียบการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน
มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกร
ปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน จําแนกตามดานการ
ทอ งเท่ียวเชิงวฒั นธรรม ๙๒
ตารางที่ ๔.๓๖ แสดงคาเฉล่ียรายคูผลการเปรียบเทียบการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน
มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกร
ปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน จําแนกตามดานการ
ประชาสัมพันธ ๙๓
ตารางที่ ๔.๓๗ แสดงความแปรปรวนการปฏบิ ัตติ นตามหลักเบญจธรรมตางกัน มีความคิดเห็นตอ
นโยบายทางการเมอื งในการสง เสริมการทอ งเที่ยวขององคกรปกครองสวนทอ งถ่ิน
รอบบึงแกน นครจังหวัดขอนแกน จาํ แนกตามดา นสัจจะ ๙๔
ตารางท่ี ๔.๓๘ แสดงคาเฉลี่ยรายคูผลการเปรียบเทียบการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน
มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกร
ปกครองสวนทอ งถิน่ รอบบงึ แกนนคร จงั หวดั ขอนแกน จําแนกตามดานแหลงหรือ
กิจกรรมทองเทยี่ ว ๙๕
ตารางที่ ๔.๓๙ แสดงคาเฉลี่ยรายคูผลการเปรียบเทียบการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน
มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกร
ปกครองสว นทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวดั ขอนแกน จําแนกตามดา นการตลาด
การทองเที่ยว ๙๖
ตารางที่ ๔.๔๐ แสดงคาเฉล่ียรายคูผลการเปรียบเทียบการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน
มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกร
ปกครองสวนทองถิ่นรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน จําแนกตามดานการ
ทอ งเที่ยวเชงิ วฒั นธรรม ๙๗
ตารางที่ ๔.๔๑ แสดงคาเฉล่ียรายคูผลการเปรียบเทียบการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน
มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกร
ปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน จําแนกตามดานการ
ประชาสัมพนั ธ ๙๘
ตารางที่ ๔.๔๒ แสดงความแปรปรวนการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน มีความคิดเห็นตอ
นโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครองสว นทอ งถิ่น
รอบบงึ แกน นครจังหวัดขอนแกน จําแนกตามดานสตสิ ัมปชัญญะ ๙๙
ตารางท่ี ๔.๔๓ แสดงคาเฉลี่ยรายคูผลการเปรียบเทียบการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน
มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกร
ปกครองสวนทองถ่นิ รอบบงึ แกนนคร จังหวัดขอนแกน จาํ แนกตามดา นแหลงหรือ
กจิ กรรมทองเที่ยว ๑๐๐



ตารางท่ี ๔.๔๔ แสดงคาเฉลี่ยรายคูผลการเปรียบเทียบการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน
มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกร
ปกครองสว นทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน จําแนกตามดานการตลาด
การทอ งเทย่ี ว ๑๐๑
ตารางท่ี ๔.๔๕ แสดงคาเฉล่ียรายคูผลการเปรียบเทียบการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน
มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกร
ปกครองสวนทองถิ่นรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน จําแนกตามดานการ
ทอ งเทย่ี วเชิงวัฒนธรรม ๑๐๒
ตารางที่ ๔.๔๖ แสดงคาเฉล่ียรายคูผลการเปรียบเทียบการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน
มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกร
ปกครองสวนทองถิ่นรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน จําแนกตามดานการ
ประชาสัมพันธ ๑๐๓
ตารางที่ ๔.๔๗ แสดงผลสรุปโดยการเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนตอนโยบายทาง
การเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครองสว นทองถิ่นรอบบึงแกน
นคร จังหวดั ขอนแกน จําแนกตามปจ จยั สว นบคุ คล ตามสมมติฐาน ๑ - ๕ ๑๐๔
ตารางท่ี ๔.๔๘ แสดงผลสรปุ โดยภาพรวมการเปรียบเทยี บความคิดเห็นของประชาชนตอนโยบาย
ทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกรปกครองสวนทองถิ่นรอบบึง
แกนนคร จงั หวดั ขอนแกน จาํ แนกหลกั เบญจธรรม ตามสมมติฐาน ๖ ๑๐๕

สารบญั แผนภาพ ฏ

แผนภาพที่ หนา
แผนภาพที่ ๒.๑ กรอบแนวคิดในการวิจัย ๕๓

บทที่ ๑

บทนํา

๑.๑ ความเปนมาและความสําคัญของปญ หา

นโยบายทางการเมืองเปนกระบวนการสําคัญมากของระบบการเมือง เพราะนโยบายของ
รัฐและรัฐบาลมีผลกระทบตอภาคสวนตางของสังคมการเมืองอยางไมอาจจะเล่ียงไดสมาชิกในฐาน
สงั คมการเมอื งเปน ผทู ่ีมีสว นไดสวนเสยี จากเนื้อหาสาระของนโยบายโดยตรงเชนเดียวกบั กระบวนการ
ทางนโยบายน้ันมีขั้นตอนท่ีซับชอนเพราะเกี่ยวของกับตัวกระทําทางการเมืองท่ีตองเขาไปมีบทบาท
การตัดสินใจจากการใชอํานาจรัฐและเขาไปมีอิทธิพลในการกําหนดนโยบายท่ีแตกตางกันไปตาม
บริบทการเมืองสงผลใหนโยบายออกมาสูก ารปฏิบัติท่ีอาจจะขนานนาม นโยบายวา นโยบายดี
นโยบายไมด ี หมายถงึ วา นโยบายนั้นอาจจะเปน ที่ถูกใจ ช่ืนชอบ ตรงตามความตอ งการของประชาชน
ตรงกันขามกับบางนโยบายท่ีไมต อบสนองความตองการของประชาชน อาจจะสงผลใหเกิดปฏิกิริยา
ของการใชอํานาจนโยบายจากตัวกระทําทางการเมืองในปริมณฑลทางนโยบายไดเสมอเชนเดียวกัน
ในปริมณฑลแหงอํานาจทางนโยบายนี้จึงเปนการเมืองในกระบวนการกําหนดนโยบายและให
ความหมายของคําวานโยบายแตกตางกันไปตามลักษณะของการเมืองที่มีตัวกระทําตามอํานาจมี
บทบาทที่แตกตางกันไปจากในปรากฏการณท่ีเปนจริงในการเมืองของการกําหนดนโยบายพบวาใน
บางลกั ษณะการเมอื งสามารถผานนโยบายออกมาอยา งรวดเร็วหรอื งายเพอื่ นําไปปฏิบัตติ รงกันขามกับ
บางระบบการเมืองพบวานโยบายผานออกมายาก ถูกตอตานถูกวิพากยหรือบางระบบการเมืองผาน
ออกมาเปนนโยบายมาแลวไมอาจจะปฏิบัติไดอาจจะเปนในชวงหรือ ลักษณะการเมืองยุคเดียวกัน
หรืออาจจะพบแตกตางกันในบางระบบการเมืองหากพินิจพิจารณาใหถองแทแลวพบวานโยบายจะ
สัมพันธ กบั อํานาจของตัวกระทาํ ทางการเมอื งทามกลางความแตกตา งกันของแตละระบบการเมือง

การสง เสริมการทองเทย่ี วเปนภารกิจสําคัญทอ่ี งคกรปกครองสว นทองถ่ินที่ตอ งดําเนินการ
ตามอํานาจหนาท่ีและตามที่ไดรับการถายโอนจากสวนราชการตาง ๆ โดยมีหลักการทํางานที่จะตอง
ยึดถือไววา “การจัดบริการสาธารณะใหแกประชาชนน้ันจะตองดีขึ้นหรือไมตํ่ากวาเดิมมีคุณภาพได
มาตรฐานมีการบริหารจัดการที่มีความโปรงใส มีประสิทธิภาพและมีความรับผิดชอบตอผูใชบริการท่ี
มากข้ึนการถายโอนภารกิจดานการทองเท่ียว ไดกําหนดใหการทองเท่ียวแหงประเทศไทยถายโอน
ภารกิจดานการทองเที่ยวใหแกองคกรปกครองสวนทองถ่ิน รวม ๓ ภารกิจ ไดแก การวางแผนการ
ทองเที่ยว การปรับปรุงดูแลบํารุงรักษาสถานที่ทองเที่ยวและการจัดทําสื่อประชาสัมพันธ ซ่ึงภารกิจ
ดังกลาวกําหนดถายโอนใหแกเทศบาลเมืองพัทยา องคการบริหารสวนตําบล องคการบริหารสวน
จังหวัด และกรุงเทพมหานคร ในประเภทกลุมงานเลือกทําโดยอิสระ และนอกจากน้ีงานดานการ



สงเสริมการทองเที่ยวยังเปนภารกิจตามอํานาจหนาท่ีขององคกรปกครองสวนทองถิ่นตามกฎหมาย
ดว ย0๑

บึงแกนนครต้ังอยูในเขตเทศบาลกลางเมืองขอนแกน เปนบึงขนาดใหญ มีเนื้อที่ ๖๐๐ ไร
นอกจากจะเปนที่ประดษิ ฐานอนุสาวรีย "เจาเพี้ยเมืองแพน" ผูก อต้ังเมืองขอนแกนแลว ท่ีนยี่ ังเปนสถานที่
ท่ีนิยมมาพักผอนหยอนใจ และทํากิจกรรมนันทนาการของชาวเมืองเพราะมีบรรยากาศสบาย ๆ พ้ืนท่ี
โดยรอบมีการปรับปรุงตกแตงใหเปนสวนสุขภาพ ประดับประดาดวยประติมากรรมรูปตาง ๆ ดูเพลินตา
เพลินใจ ย่ิงไปกวาน้ัน ทางเทศบาลยังปลูกตนคูณ และไมดัดไวโดยรอบเพิ่มความรมรื่น สวยงามใหกับ
สถานท่ีย่ิงขึ้น นอกจากนี้ยัง มีสนามเด็กเลนและรานอาหารเปดบริการหลายประเภท เหมาะมากสําหรับ
การพาครอบครัวไปเปลี่ยน บรรยากาศบึงแกนนคร เปนศูนยกลางของเมืองขอนแกน ชาวเมืองนิยมใช
เปนที่พบปะ พักผอน ออกกําลงั กาย ทั้งชวงเชา กลางวัน เย็น ถึงดึกดื่น มีสวนสาธารณะ และรานอาหาร
อยูรายรอบท่ีต้ัง อยูทางทิศใตของเทศบาลนครขอนแกน อําเภอเมืองเสนทาง จากส่ีแยกประตูเมือง
ถนนศรีจันทร ผา นตลาดบางลําภู และเลย้ี วเขาถนนกลางเมือง ผาน สภ.เมืองไปประมาณ ๗๕๐ เมตร
พบสี่แยกใหเล้ียวขวาเขาถนนนิกรสําราญ จนถึงส่ีแยกเขาถนนรอบบึง บึงแกนนครจะอยูทางขวามือ
ประวัติ "บึงบอน" คือชอ่ื เดิมเม่ือครัง้ ตั้งเมืองขอนแกน ขึ้นท่ีรมิ บงึ นร้ี าว พ.ศ.๒๓๔๐ มีเจาเพ้ียเมืองแพน
หรอื พระนครศรีบุรีรักษเปนเจาเมือง ในอดีตท่ีวาการเมือง หรือศาลากลางจงั หวัดตั้งอยูใกลบึงจนเม่ือ
พ.ศ.๒๕๐๗ สมัยจอมพลถนอม กิตติขจร เปนนายกรฐั มนตรี ไดยายศาลากลางจังหวัดไปตั้งยังบริเวณ
ศูนยร าชการจนปจ จบุ ันสิ่งทีน่ า สนใจ เปนทะเลสาบธรรมชาติขนาดใหญ เน้อื ที่ ๖๐๐ ไร รปู วงรี มีถนน
รอบบึงอยูชั้นนอก ทางเทาและท่ีพักผอนอยูริมบึงดานใน ชาวเมืองมักมาออกกําลังกาย และพักผอน
ในสวนสาธารณะบริเวณนี้ ดานเหนือของบึงมีเรือถีบใหเชา บรรยากาศท่ีบึงแกนนครคึกคัก ตั้งแตเชา
ถึงคํ่า ริมบึงดานทิศตะวันออกเปนจุดชมทิวทัศนเมืองขอนแกนยามพระอาทิตยตกที่สวยงาม ชวง
กลางคืนริมบึงดานเหนอื เปนแหลงรา นอาหารหลากหลายรปู แบบ1๒ บึงแกนนครมีความเปนเอกลกั ษณ
ของจงั หวดั ขอนแกน และเปน แหลงท่ีมีความสําคญั ทางประวัติศาสตร โดยเปนที่ประดษิ ฐานอนุสาวรีย
"เจาเพ้ียเมืองแพน" ผูกอตั้งเมืองขอนแกน และดวยเหตุท่ี บึงแกนนคร เปนสถานที่สําคัญอีกแหงหน่ึง
ของจังหวัดขอนแกนการบริหารจัดการทรัพยากรท่ีมีจึงตองเปนไปดวยความเรียบรอยและรอบ ๆบึง
แกนนครยังมีสถานที่สําคัญอกี มากการวิจัยคร้งั น้ีจึงอยากทราบถึงการสงเสริมและการพัฒนาศักยภาพ
ของเทศบาลทมี่ ตี อคนในชุมชนและนกั ทองเท่ียวอยางไร

การวิจัยคร้ังน้ี จึงใหความสําคัญกับบทบาทขององคกรปกครองสวนทองถิ่นท่ีอยูในพื้นท่ี
เพ่ือใหมีบทบาทในการสงเสริมและใหการสนับสนุนและการทองเที่ยวตามนโยบายของภาครัฐ โดย
ก า ร พั ฒ น า ศั ก ย ภ า พ ข อ ง บุ ค ล า ก ร แ ล ะ อ ง ค ก ร ด า น ก า ร ท อ ง เท่ี ย ว ให มี ค ว า ม พ ร อ ม เพ่ื อ ร อ ง รั บ
นักทองเที่ยว โดยมีคําถามหลักในการวิจัยวา ศักยภาพของวัดที่เปนแหลงทองเที่ยวรอบบึงแกนนคร

๑ กองจัดการสิ่งแวดลอมธรรมชาตแิ ละศิลปกรรม, การสงเสริมการทองเทยี่ ว, [ออนไลน] , แหลงท่ีมา:
http://naturalsite.onep.go.th/site/detail/526. [๕ สงิ หาคม ๒๕๖๓].

๒ Google Sites, ประวัติบึงแกนนคร, [ออนไลน], แหลงที่มา: https://sites.google.com/
site/mtk21652/bung-kaen-nkhr [๕ สิงหาคม ๒๕๖๓].



เปนอยางไรและจะสงเสริมศักยภาพขององคกรปกครองสวนทองถ่ินดานการทองเท่ียวรอบบึงแกน
นครไดอ ยา งไรและเพื่อรองรับจาํ นวนนักทองเที่ยวทจ่ี ะเพิม่ ขึ้นในอนาคตอันใกล เพอื่ เพม่ิ ศกั ยภาพดาน
การทองเท่ียว สรางกระบวนการมีสวนรวมของคนในชุมชนในการจัดการแหลงทองเท่ียวเพ่ือสราง
รายไดแ ละสง เสริมใหม ีการจดั การการทอ งเทยี่ วอยางย่งั ยนื

๑.๒ คําถามการวิจยั

๑.๒.๑ ความคิดเห็นของประชาชนตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยว
ขององคกรปกครองสวนทอ งถน่ิ รอบบงึ แกนนคร จังหวดั ขอนแกน เปนอยา งไร

๑.๒.๒ ความคิดเห็นของประชาชนตอ หลักธรรมการสง เสรมิ การทอ งเท่ียวรอบบึงแกนนคร
โดยหลกั เบญจธรรม เปน อยา งไร

๑.๒.๓ ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนตอนโยบายทางการเมืองในการ
สงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครองสวนทองถิ่นรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน จําแนกตาม
ปจจยั สวนบคุ คลและตามหลกั เบญจธรรม แตกตางกัน หรือไม

๑.๒.๔ แนวทางการสงเสรมิ การทอ งเที่ยวขององคก รปกครองสว นทองถิ่นรอบบึงแกนนคร
จังหวดั ขอนแกน เปน อยา งไร

๑.๓ วัตถุประสงคข องการวจิ ัย

๑.๓.๑ เพื่อศึกษาความคิดเห็นของประชาชนตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการ
ทอ งเท่ยี วขององคกรปกครองสวนทอ งถ่นิ รอบบงึ แกนนคร จังหวัดขอนแกน

๑.๓.๒ เพื่อศึกษาความคิดเห็นของประชาชนตอหลักธรรมการสงเสริมการทองเท่ียวรอบ
บึงแกนนครโดยหลกั เบญจธรรม

๑.๓.๓ เพ่ือเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนตอนโยบายทางการเมืองในการ
สงเสริมการทองเที่ยวขององคกรปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน จําแนกตาม
ปจจยั สวนบุคคลและตามหลักเบญจธรรม

๑.๓.๔ เพ่ือศึกษาแนวทางการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครองสวนทองถิ่นรอบ
บึงแกน นคร จังหวัดขอนแกน

๑.๔ ขอบเขตของการวจิ ัย

การวจิ ัยคร้ังนีผ้ ูว จิ ยั ไดก ําหนดขอบเขตของการวจิ ยั ดังนี้
๑.๔.๑ ขอบเขตดานเนื้อหา
ศึกษานโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน
รอบบึงแกนนครจงั หวดั ขอนแกน



๑.๔.๒ ขอบเขตดา นตัวแปร
ในการศึกษาครงั้ น้ี ผูวจิ ยั กาํ หนดขอบเขตดานตัวแปรทใี่ ชใ นการวิจัย ครัง้ น้ี
ตัวแปรตน (Independent Variables) คือ ขอมูลสถานภาพสวนบุคคล ไดแก เพศ อายุ
อาชีพ รายได ระดับการศึกษา และหลกั เบญจธรรม ๕
ตัวแปรตาม (Dependent Variables) คือ ความคิดเห็นของประชาชนและนักทองเท่ียว
การสงเสริมการทองเท่ียวรอบบึงแกนนคร ทั้ง ๔ ดาน คือ (๑) ดานแหลงหรือกิจกรรมทองเที่ยว (๒)
ดานการตลาดทอ งเที่ยว (๓) ดา นการทองเท่ยี วเชงิ วัฒนธรรม (๔) ดานการประชาสัมพันธ
๑.๔.๓ ขอบเขตดานพน้ื ที่
การวิจัยคร้ังน้ีผูวิจัยไดกําหนดพ้ืนท่ีในการศึกษาคือสถานที่ทองเที่ยวรอบบึงแกนนคร
จังหวดั ขอนแกน
๑.๔.๔ ขอบเขตดานประชากร
ประชากรที่ใชในการวิจัยคร้ังนี้ไดแก ประชาชนที่อาศัยอยูรอบบึงแกนนคร เทศบาลนคร
ขอนแกน จังหวัดขอนแกน ไดแก ชุมชนวดั ธาตุ ชมุ ชนวดั กลาง ชุมชนวัดหนองแวง ชุมชนบานโนนทัน
และชุมชนวัดศรีนวลและนักทองเท่ียวที่มาเที่ยวรอบบึงแกนนคร จํานวน ๒๘๕ คน แลวผูใหขอมูล
สําคญั จาํ นวน ๑๐ รปู /คน
๑.๔.๕ ขอบเขตดา นระยะเวลา
ระยะเวลาในการดําเนินการวิจัยคร้ังนี้ เริ่มต้ังแตเดือนกันยายน พุทธศักราช ๒๕๖๓ ถึง
เดอื นธนั วาคม พทุ ธศักราช ๒๕๖๓ รวมระยะเวลาในการวิจัย ๔ เดือน

๑.๕ สมมติฐานการวจิ ยั

๑.๕.๑ ประชาชนมีเพศตางกัน มีความคดิ เห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสง เสรมิ การ
ทอ งเที่ยวขององคกรปกครองสวนทอ งถิ่นรอบบงึ แกน นคร จังหวัดขอนแกน แตกตางกนั

๑.๕.๒ ประชาชนมอี ายตุ างกนั มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมอื งในการสงเสริมการ
ทองเท่ยี วขององคกรปกครองสวนทอ งถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน แตกตางกัน

๑.๕.๓ ประชาชนมีอาชีพตางกัน มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริม
การทอ งเที่ยวขององคกรปกครองสว นทองถิ่นรอบบงึ แกน นคร จังหวัดขอนแกน แตกตา งกัน

๑.๕.๔ ประชาชนมีรายไดตางกัน มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริม
การทอ งเทีย่ วขององคกรปกครองสว นทองถน่ิ รอบบงึ แกน นคร จังหวดั ขอนแกน แตกตา งกัน

๑.๕.๕ ประชาชนมีระดับการศึกษาตางกัน มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการ
สง เสริมการทอ งเท่ียวขององคก รปกครองสวนทองถิ่นรอบบงึ แกน นคร จังหวดั ขอนแกน แตกตางกัน

๑.๕.๖ ประชาชนท่มี ีการปฏิบัติตนตามหลกั เบญจธรรมตางกัน มคี วามคิดเห็นตอนโยบาย
ทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครองสวนทองถิ่นรอบบึงแกนนคร จังหวัด
ขอนแกน แตกตางกนั



๑.๖ นยิ ามศพั ทเ ฉพาะทใี่ ชใ นงานวิจยั

๑.๖.๑ นโยบายทางการเมือง หมายถึง การที่บุคคลหรือกลุมบุคคลในสังคม ซ่ึงอาจจะมี
ประโยชนรวมกันหรือขัดแยงกันหรือมีความคดิ เหมือนกัน หรือมีความคิดไมเ หมอื นกัน รวมมือกันหรือ
ตอสูกันเพ่ือสรรหาบุคคลไปทําหนาท่ีปกครองประเทศแทนพวกเขา และหรือเพ่ือใหไดมาซึ่งอํานาจที่
จะทําใหพวกเขาสามารถตัดสนิ ใจในเรอ่ื งสว นรวมไดโ ดยชอบธรรม

๑.๖.๒ การสงเสริมการทองเท่ียว หมายถึง การเดินทางไปเยือนสถานที่ตางถ่ินซ่ึงไมใช
เปนที่พํานักอาศัยประจําของบุคคลนั้น และเปนการไปเยือนช่ัวคราวโดยไมใชเพ่ือเปนการประกอบ
อาชีพหารายได

๑.๖.๓ องคกรการปกครองทองถน่ิ หมายถึง เทศบาลนครขอนแกน อําเภอเมือง จังหวัด
ขอนแกน

๑.๗ ประโยชนที่ไดร ับจากการวจิ ัย

๑.๗.๑ ไดทราบถึงความคิดเห็นของประชาชนตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสรมิ การ
ทอ งเทยี่ วขององคก รปกครองสว นทอ งถ่นิ รอบบงึ แกนนครจังหวัดขอนแกน

๑.๗.๒ ไดทราบถึงความคิดเห็นของประชาชนตอหลักธรรมการสงเสริมการทองเที่ยวรอบ
บึงแกนนครโดยหลกั เบญจธรรม ๕

๑.๗.๓ ไดทราบถึงผลการเพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนตอนโยบายทาง
การเมืองในการสงเสรมิ การทอ งเที่ยวขององคกรปกครองสวนทอ งถ่ินรอบบึงแกน นครจงั หวัดขอนแกน
จําแนกตามปจ จัยสวนบคุ คลและตามหลักธรรมการสงเสริมการทอ งเทย่ี วรอบบึงแกนนคร

๑.๗.๔ ไดทราบถึงแนวทางการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครองสว นทองถิ่นรอบ
บงึ แกน นคร จงั หวดั ขอนแกน

๑.๗.๕ เพือ่ นาํ ผลการวิจยั ไปเผยแพรใ นระบบสารสนเทศ เพื่อเปนขอมูลสารสนเทศในการ
เผยแพร

บทท่ี ๒
แนวคิด ทฤษฎแี ละงานวจิ ยั ท่เี กี่ยวของ

การวิจัยเรื่อง“นโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกรปกครองสวน
ทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน” ผูวิจัยไดศึกษาคนควาเอกสารแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัย
ตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของกับเรื่องท่ีผูวิจัยไดทําการวิจัยกรอบแนวคิดในการวิจัยประกอบดวยทฤษฎีและ
แนวคดิ ในการศึกษาดงั ตอ ไปน้ี

๒.๑ แนวคิดเก่ียวกบั นโยบายทางการเมือง
๒.๒ แนวคิดเกี่ยวกับการสง เสรมิ การทองเท่ยี ว
๒.๓ แนวคิดเก่ียวกับองคก รปกครองสว นทองถิน่
๒.๔ หลกั พทุ ธธรรมทเ่ี กยี่ วขอ ง
๒.๕ ขอ มูลเรื่องทว่ี ิจยั
๒.๖ งานวิจัยทีเ่ ก่ียวขอ ง
๒.๗ กรอบแนวคิดในการวจิ ยั

๒.๑ แนวคดิ เกยี่ วกับนโยบายทางการเมอื ง

จากการศึกษาแนวคิดเก่ียวกับเกี่ยวกับนโยบายทางการเมืองของนักวิชาการหลายทาน
ผูวิจัยไดประมวลแนวคิดเก่ียวกับเกี่ยวกบั นโยบายทางการเมือง ท้ังความหมาย ความเปนมา ลักษณะ
ความสาํ คัญ ประเภท และประโยชนของหลกั ธรรมาภิบาล มีรายละเอยี ดดังตอไปนี้

๒.๑.๑ ความหมายของนโยบายทางการเมือง
กวี รักษชน กลาววา นโยบายมีความหมาย ๒ ลักษณะที่มี ความสัมพันธกัน ลักษณะท่ี
หนึ่งมีความหมายถึงกิจกรรม (activities) สวนอีกลักษณะหน่ึงจะมีความหมายในฐานะท่ีเปนศาสตร
(science) ซ่ึง ๒ ลักษณะจะมีความสัมพันธกัน กลาวคือ นโยบายสาธารณะในฐานะท่ีเปนศาสตรจะ
ทําการศึกษาจากนโยบายสาธารณะท่ีเปนกิจกรรมแลวนํามาสะสมกันเปนความรูหรือเปนวิชา
(subject) เพ่ือประโยชนในการศึกษาท่ีจะไดทําใหการกําหนดนโยบายในฐานะท่ีเปนกิจกรรม
บรรลผุ ลอยา งมปี ระสิทธภิ าพตอไป2๓

๓ กวี รักษชน, การสัมมนาการบริหารรัฐกิจ : การประเมินนโยบายสาธารณะ (กรุงเทพมหานคร:
มหาวิทยาลยั รามคาํ แหง, ๒๕๔๑) หนา ๓.



สมบัติ ธํารงธัญวงศ กลาววา นโยบายการเมืองจะตองเปนกิจกรรมท่ีกระทําโดยรัฐบาล
การตัดสนิ ใจเลือกที่จะกระทําของรฐั บาลตอ งคาํ นึงถึงคณุ คาของสงั คมเปนเกณฑโ ดยมุง ท่จี ะตอบสนอง
ความดองการของประชาชนเปนหลัก3๔

ถวัลย วรเทพพุฒิพงษ กลาววา นโยบายการเมืองเปนแนวทางปฏิบัติของรัฐบาลมี
วัตถุประสงคแนนอนอยางใดอยางหน่ึงหรือหลายอยางแกปญหาในปจจุบันปองกันปญหาในอนาคต
กอใหเกดิ ผลทีพ่ งึ ปรารถนา4๕

กุลธน ธนาพงศธร ไดกลาวถึงนโยบายวา คือ แนวทางที่แตละประเทศไดเลือกปฏิบัติไป
เพ่ือใหบรรลุถึงวัตถุประสงคอยางใดอยางหนึ่งท่ีกําหนดไวอันเปนวัตถุประสงคที่เช่ือกันวาถาทําได
สําเร็จก็จะเปนผลดีตอประเทศของตน โดยท่ัวไปนั้นรัฐบาลของประเทศจะตัดสินใจเลือกปฏิบัติ
นโยบายท่มี ีการเสีย่ งภยั นอ ยที่สดุ ปฏิบัตไิ ดงายทสี่ ดุ และเปน ประโยชนตอ ชาติ มากท่ีสดุ 5๖

ปยะนุช เงินคลาย กลาววา นโยบายการเมือง หมายถึง แนวทางหรือกิจกรรมตาง ๆท่ี
รัฐบาลหรือหนวยงานของรัฐตัดสินใจวาจะทําหรือไมทําภายใตอํานาจหนาที่และความรับผิดชอบโดย
กําหนดเปน หลกั การแผนงานหรือโครงการเพือ่ กอ ประโยชนแ กสังคมและสวนรวม6๗

สรอยตระกลู (ติวยานนท) อรรถมานะ แบงกระบวนการนโยบายออกเปน ๖ ขั้นตอน
โดยประยุกต แนวคิดของ Hogwood & Gunn เชนกันกับนักวิชาการอีกหลายราย กระบวนการ
นโยบายสาธารณะของสรอยตระกูลไดแกการกอตัวของ นโยบาย การเตรียมนโยบายและเสนอราง
นโยบาย การอนุมัติประกาศเปนนโยบาย การนํานโยบายไปสูการปฏิบัติ การประเมินผลนโยบายการ
ปรับปรุงแกไขหรือ การสิ้นสุดทั้งน้ี สรอยตระกูล กลาววาหากนํา ๓ ขั้นตอนแรกหากรวมเขาดวยกัน
จะเรียกวา การกําหนดนโยบายจากน้ันก็เปนขั้นตอนการนํานโยบายไปปฏิบัติและการประเมินผล
นโยบาย7๘

ศุภชัย ยาวะประภาษ ไดกลาววา กิจกรรมทุกประเภทไมวาจะเปนระดับใดในหนวยงาน
ใด ลวนมีกําเนิดมาจากความคิดอันเปนกรอบนําทางวาควรจะทําอะไร เมื่อใด ท่ีไหน โดยใคร และ
อยางไร หากปราศจากทิศทางที่แนนอนชดั เจนในการดําเนินกิจกรรมของรัฐบาล ความคิดหรือเจตนา
ก็เกิดข้ึนกอนเชนเดียวกัน จากนั้นคอย ๆ พัฒนาชัดเจนข้ึน กลายเปนกรอบกําหนดทิศทางและแนว

๔ สมบัติ ธาํ รงธัญวงศ, นโยบายสาธารณะ: แนวความคิด การวเิ คราะหและกระบวนการ พมิ พค รงั้ ท่ี
๑๐ (กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พเสมาธรรม, ๒๕๔๕), หนา ๒.

๕ ถวัลย วรเทพพุฒิพงษ, การประเมินผลนโยบาย : ประสิทธิภาพประสิทธิผลและความเปนธรรม
ของนโยบาย (กรุงเทพมหานคร: สถาบันบัณฑติ พัฒนบริหารศาสตร, ๒๕๓๖) หนา ๒.

๖ กุลธน ธนาพงศธร, ประโยชนและบริการใน เอกสารการสอนชุดวิชาการบริหารงานบุคคลสาขา
วทิ ยาการจัดการ, พิมพครัง้ ท่ี ๗, (นนทบรุ ี: มหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช, ๒๕๓๐), หนา ๕๘.

๗ ปยะนุช เงินคลาย, นโยบายสาธารณะ, (กรุงเทพมหานคร: ศูนยเ อกสารทางวิชาการ คณะรัฐศาสตร
มหาวิทยาลยั รามคําแหง, ม.ป.ป.), หนา ๖.

๘ สรอยตระกูล (ติวยานนท) อรรถมานะ, การบริหารระหวางประเทศ : ลักษณะปญหาในการ
บรหิ ารงานบคุ คล, (กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พจ ุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั , ๒๕๓๓), หนา ๑๔๙-๑๕๑.



ทางการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ของรัฐบาล ซึ่งในความหมายกวาง ๆ คือ นโยบายของรัฐบาลหรือ
นโยบายสาธารณะ(public policy) น่ันเอง8๙

นโยบายกบั การเมอื งและการเมอื งในกระบวนการกําหนดนโยบาย
นโยบายกับการเมือง ในกระบวนการกําหนดนโยบายท่ีมีประเด็นครอบคลุม ๓ ประเด็น
คือ นโยบาย ประเดน็ ท่ีสอง คือ การเมือง ประเดน็ ที่สาม คือ รปู แบบรฐั หรอื รปู แบบการเมือง ดังนี้
ประเด็นแรก กลาวถึง นโยบาย ในทรรศนะน้ีเนนที่ “กระบวนการ” ใหไดนโยบาย ดังนั้น
กระบวนการกําหนดนโยบายจึงเปนเรื่องของอํานาจตาง จะเปนประเด็นสําคัญ แมวาจะมีการยอมรับ
กันวา กระบวนการของนโยบายนั้นแมนวาจะมี ๓ ตอน คือ ขั้นตอนแรก คือ การกําหนดนโยบาย
ข้ันตอนที่สอง คือ การปฏิบัติตามนโยบาย และขั้นตอนท่ีสาม คือ การประเมินผลนโยบาย ก็ตาม แต
ขั้นตอนที่มีกระบวนการใชอํานาจของตัวกระทําทางการเมืองน้ันมีการใชอํานาจคอนขางมากใน
ข้นั ตอนแรก ข้ันตอนน้ีจึงเปนเหมือนเวทีแหงอํานาจในนโยบาย หรือนโยบายท่ีเต็มไปดวยพลงั อํานาจ
เปนมิตสิ าํ คัญในการเมอื งของการกําหนดนโยบาย
ประเด็นท่ีสอง เมื่อกลาวถึงคําวา “การเมือง” เปนคําที่มีความหมายที่หลากหลาย
แตกตางกันไปมากมายตามแตความพงึ ประสงคของการใหคํานิยาม ความหมายของการเมอื งในท่ีนี้จึง
ตองการความหมายถึงกิจกรรมกระบวนการใชอํานาจ ของตัวกระทําทางอํานาจตาง โดยพฤติกรรม
การใชอาํ นาจทางการเมอื งน้ันตรงกบั ท่ีไดอ ธิบายวา มสี องรปู แบบ คือ การใชอํานาจโดยตรงและการใช
อํานาจโดยออม ดังนั้น ปริมณฑลทางอํานาจทางนโยบาย คือ พ้ืนท่ีของการใชอํานาจที่สัมพันธกับตัว
กระทําทางอํานาจ หมายถึง ตัวกระทําทางอํานาจเปนแบบใด ยอมมีกลไกล กระบวนการแสดงออก
ทางอํานาจตามธรรมชาตขิ องตวั กระทําแบบน้ัน
ประเด็นท่ีสาม กลาววาการเมืองในนโยบายเปนอยางไรนั้นตองเขาใจถึง “ตัวแบบรัฐ”
เสียกอนเพราะการเมืองกระบวนการกําหนดนโยบาย คือ กระบวนการใชอํานาจของตัวกระทําทาง
การเมืองหรืออํานาจรัฐในปริมณฑลทางนโยบาย เพ่ือการตัดสินใจและเพ่ือมีอิทธิพลในการตัดสินใจ
ตอ นโยบาย ทง้ั นี้ ประเด็นพจิ ารณาเบือ้ งตนจึงอยทู ี่วา รปู แบบรฐั นั้นมีความหมายทีก่ ิจกรรมทางอํานาจ
ของรัฐในบริบทรัฐในบริบทรัฐแบบทุนนิยมเสรีปจจุบัน ท้ังน้ี ศราตราจารย ดร. อนุสรณ ล่ิมมณี ได
ศกึ ษาและสังเคราะหรูปแบบรัฐ ๕ รูปแบบ ท่ีเลือกใชในการวิเคราะหก ับกระบวนการกําหนดนโยบาย
คือ ตัวแบบรัฐนิยม รัฐพหุนิยม รัฐแบบสหการ รัฐแบบทางเลือกสาธารณะหรือเหตุผลในการเลือก
และรัฐชนชน้ั นํา
๑. ตัวแบบรัฐนิยม ตัวแบบรัฐนิยมเปนแนวคิดท่ีอธิบายความอิสระในการตัดสินใจของรัฐ
ท่ีมาจากอิทธิพลของลัทธิ “อํานาจอธิปไตย” ท่ียอมรับอํานาจสูงสุดอยูท่ีรัฐ โดยมีฐานคิดวา “รัฐมี
อํานาจ มีบทบาทนําในการกําหนดนโยบายเสมอ แมวาจะมีกลุมสังคมตางใชอิทธิพลหรืออํานาจ
ตอรองเพ่ือผลักดัน” งานของ Scokpol เสนอวาบทบาทรัฐสองประการ คือ ประการแรก บทบาทรัฐ

๙ ศุภชัย ยาวะประภาษ, นโยบายสาธารณะ, พิมพครั้งท่ี ๘, (กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพแหง
จฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลัย, ๒๕๓๓), หนา ๑.



ในการเปนผูแสดงหลักของสังคม ประการที่สอง รัฐในฐานะโครงสรางในรูปสถาบัน ท้ังสองประการน้ี
รัฐจะมีอิสระในการตัดสินใจของรัฐสงผลใหความสามารถที่จะผลักดันนโยบายบรรลุเปาหมายไดมาก
นอยเพียงใด ข้ึนอยูกับรัฐมีศักยภาพหรือขีดความสามารถที่จัดระเบียบทางสังคม เศรษฐกิจภายใน
และความสัมพันธกับภายนอก ความเปนอิสระในการตัดสินใจของรัฐ งอนของ Wiess และ Hobson
เรยี กวา Neo- Statism เช่ือวารัฐมคี วามเปน อสิ ระในฐานะผทู มี่ ีบทบาทแสดงหลกั อิสระจากอาํ นาจอื่น
แมวาจะไมอสิ ระเบ็ดเสรจ็ เด็ดขาดแตกม็ คี วามเปนอสิ ระสูงสดุ กวา อาํ นาจสงั คมอ่ืน

๒. ตัวแบบรัฐแบบพหุนิยม หรอื Plural State เปนลักษณะรัฐที่เนนความสําคัญของพลัง
ทางสังคมที่ “พลังทางสังคมมีหลายศูนยอํานาจ” อันมาจากกลุม องคกร ขบวนการทางสังคมที่มี
อิทธิพลตอกระบวนการของรัฐ เชนดังท่ีอนุสรณ ลิ่มมณี อธิบายความสําคัญของกลุมทางสังคมผาน
กระแสความคิดแบบพหุนิยมเห็นวา ในสังคมสมัยใหมน้ันอํานาจหาไดกระจุกตัวอยูในมือของผูกุม
อํานาจรัฐแตเพียงลําพังไมหากกลับกระจัดกระจายอยูในสถาบันและกลุมตาง ในสังคมดวยเหมือนกัน
ดังน้ัน สถาบันและกลุมหลากหลายเหลาน้ี จึงควรจะมีสวนรวมในการกําหนดทิศทางของสังคมและ
ควบคุมบทบาทของรัฐพหุนิยม หรือ Pluralist จึงอธิบายวาอํานาจ คือการปฏิบัติการของปจเจก
บุคคลท่ีมีแรงจูงใจดวยผลประโยชน ซ่ึงสงผลตอพฤติกรรม และแขงขันเพื่อตัดสินใจในกระบวนการ
กาํ หนดนโยบาย

๓. ตัวแบบรัฐในเชิงสหการหรือรัฐในแนวบรรทัศนิยม แนวคิดตัวแบบเชิงสหการ อธิบาย
วา เปนแนวคิดนีเ้ กิดจากปฏิกิรยิ าท่ีมีตออํานาจรัฐและความขดั แยงซ่ึงอยูในระบบทุนนิยม แนวคิดนี้ท่ี
เกิดจากความคิดพหุนิยมที่เนนบทบาทของกลุมเปนกลไกในการกระทําหรือกลุม องคกรสมาคมทาง
สังคมเปนตัวกระทําทางการเมือง สมาคมฯ หรือกลุมทางสังคมเปนตัวถวงดุลอํานาจรัฐ ประสาน
ผลประโยชนทั้งหลายในสังคม โดยใหกลุมองคกรตางเห็นสอดคลองตองกัน พัฒนาการทางการแสดง
พลังอํานาจมาจากกลุมองคกร สมาคมทางสังคมท่ีรวบกลุมกันขึ้นเพื่อมีบทบาทตอการตัดสินใจใช
อํานาจรัฐ มิไดเปนกลุม องคกร สมาคมทางสังคมในระดับลาง แตเปนกลุม องคกร สมาคมระดับสูง
อันมาจากการประกอบข้ึนเปนตัวแทนกลุม องคกร สมาคมระดับลาง กลุมองคกรระดับสูงนั้นเปน
ตัวแทนในนาม “บรรษัท” หรือ “สหการ” ก็จะเปนองคกรระดับสูงท่ีทําหนาที่เปนตัวแทนท้ังน้ี
สหการมี ๒ ประเภท คือ ๑) สหการโดยรัฐหรือบรรษัทโดยรัฐ คือ รัฐจะครอบงําการกําหนดนโยบาย
คือนโยบายจะถูกกําหนดจากบนลงลาง โดยกลุมอาชีพปฏิบัติตาม สมาคมและกลุมตาง จึงตกเปน
เครื่องของรัฐ ๒) สหการโดยสังคมหรือบรรษัทโดยสังคม องคกรทางสังคมกลุมผลประโยชนจะมี
บทบาทสูงในการกําหนดนโยบายและนํานโยบายไปปฏิบัติรวมกับรัฐ ทําใหผลประโยชนจึงตกอยูกับ
เบอื้ งลาง ภาคสังคมมคี วามอิสระและมีบทบาทสูงในการกําหนดนโยบาย สามารถกําหนดนโยบายเพ่ือ
ผลประโยชนต อกลุม เบ้อื งลา ง ตามบทบาทของตวั แทนในกระบวนการกําหนดนโยบาย

๔. ตัวแบบรัฐในเชิงการตัดสินใจเลือกสาธารณะ ตัวแบบการตัดสินใจเลือก สาธารณะมา
จากฐานทางเศรษฐศาสตร โดยมุงศึกษาการตัดสินใจของปจเจกชนในกระบวนการกําหนดนโยบาย
ของรัฐโดยอาศัยกระบวนการทางการเมอื ง คือ “การออกเสียงเลือกตั้ง” ท้ังน้ี การตัดสินใจของปจเจก
บคุ คลหรือสาธารณชนในการเลือกพรรคการเมืองใดนัน้ พรรคการเมืองน้ันตองมนี โยบายสอดคลองกับ
ความตองการหรือสอดสัมพันธกับขอเรียกรองของคนกลุมในสังคม ดังน้ัน การตัดสินใจเลือกของ
ปจเจกชนจึงมีเหตุผล นั้นคือ แสวงหาอรรถประโยชนสูงสุดใหกับตนเอง ดังน้ันกิจกรรมทางการเมือง

๑๐

ของผูคน และนโยบายของรัฐบาล จึงเปนผลรวมจากการตัดสินใจเลือกและการกระทําของปจเจกชน
ท่ีมาจากพ้ืนฐานของเหตุผลหรือประโยชนทั้งส้ิน ตัวแบบน้ีมีฐานคติวา พฤติกรรมการตัดสินใจใน
กิจการท่ีเปนเร่ืองสวนรวมทั้งหลายจะไมแตกตางจากพฤติกรรมของคนแตละคน น้ันคือ เหตุผล
หมายถึงประโยชน จึงตัดสินใจเลือกและกระทํา มีการเปรียบเทียบวาสภาพท่ีไมแตกตางจากการ
แลกเปลี่ยนซื้อขายในระบบตลาด รัฐหรือรัฐบาลมีฐานะเปนหนวยผลิต นโยบายและบริการตาง โดย
ผานพรรคการเมืองหรือนักการเมืองจะเปนผูประกอบการทางการเมือง ซึ่งทําหนาที่เปนฝายอุปทาน
การผลิตสินคาสาธารณะหรือนโยบาย สวนประชาชนเปนกลุมคนอยูในฝายอุปสงค ในฐานะของ
ผูบริโภคนโยบายและบรกิ าร ผานการใชสิทธิในการเลือกต้ังการซ้ือนโยบายและบริการสาธารณะจาก
การเมืองและรัฐบาลผานการเลือกต้ังดวยเหตุผล คือการแสวงหาอรรถประโยชนสูงสุด เชนน้ี
กระบวนการตัดสนิ ใจกําหนดนโยบายในตัวแบบการตัดสินใจเลอื กสาธารณะจึงเปนการหาจุดดุลยภาพ
ระหวางอปุ สงคจ ากฝายประชาชน และอุปทานจากฝายนักการเมืองและขาราชการ นโยบายทก่ี ําหนด
ออกมาจึงเกิดจากการตัดสินใจในกรอบของเงื่อนไข ๑) การสรางคะแนนนิยมในหมูประชาชนของ
นักการเมอื ง ๒) การแสวงหาผลประโยชนใ หแ กตนเองของประชาชน

๕. ตัวแบบรัฐของชนช้ันนํา เปนแนวคิดชนช้ันนําเหน็ วา “ในทุกสังคมจะมชี นชน้ั ของบุคคล
ผูเหมาะสมท่ีจะเปนผูปกครองเพยี งชนช้ันเดียว ซ่ึงชนชัน้ นาํ พวกน้ีมีคุณลักษณะพเิ ศษในดานทักษะและ
ลักษณะทางศีลธรรมที่จําเปนตอการปกครองรัฐ เพราะธรรมชาติสรางชนชั้นนําทางการเมืองเปน
ผูปกครอง” ซ่ึงมีการศึกษาชนช้ันนํา ผูนําไวหลากหลายทรรศนะเก่ียวกับชนช้ันนําท่ีเกี่ยวของกับ
การเมืองและอํานาจในสังคมการเมือง สําหรับการศึกษาชนชั้นนําในระบอบประชาธิปไตยแนววิพากษ
มีการศึกษาของ Burnham กลุมคนมีอํานาจในสังคมสมัยใหม คือชนช้ันนําท่ีควบคุมองคกรท้ังหลาย
ทั้งน้เี พราะองคกรทางเศรษฐกจิ และการเมืองเปนแหลงที่มาทแ่ี ทจริงของอํานาจอยางเปนทางการ Mill
ศึกษาชนช้ันนําผูมีอํานาจ ในสังคมอเมริกันไดแก กลุมคนสําคัญ หรือคนชั้นสูงทางธุรกิจ การเมืองและ
การทหาร ซึ่งมีอํานาจในการตัดสินใจประเด็นหลักของสังคมและมีสายสัมพันธเช่ือมโยงกันอยาง
ใกลชิด สุดทาย Hunter ที่เนนอํานาจในชุมชน กระจุกตัวอยูในมือของชนชั้นนําทางธุรกิจ วากันถึง
ท่ีสุดแลว ไมวาจะศึกษาชนช้ันนําในแบบใดที่สุดแลวก็คือ “การตัดสินใจกําหนดนโยบายของรัฐใน
ระดับตาง ถูกครอบงําโดยอํานาจของชนช้ันนํา เพราะสามารถควบคุมองคกรหลักในสังคมและ
ครอบครองทรัพยากรซ่ึงเปนฐานและที่มาของอํานาจ นอกจากนี้ชนช้ันนํายังมีเครือขายความสัมพันธ
ระหวางชนช้ันในดานเศรษฐกิจ การเมืองและระบบราชการ ซ่ึงสงผลตอความสามารถในการผลักดัน
ใหบรรลุเปาหมาย” จะวาแลว ชนชั้นนําในบริบทที่กลาวมานี้ผูเขียนเห็นรวมวาเปนปจเจกบุคคลท่ีมี
ลักษณะพิเศษ แตหากกลาวใหชัดเจน คือ บุคคลเหลานีไ้ มไดอยูในตาํ แหนงทางการเมอื งหรือตําแหนง
ของรัฐท่ีครอบครองอํานาจตามกฎหมายโดยตรง แตมีการใชอํานาจแบบแฝงเรนผานการมีอิทธิพล มี
บารมี ที่ผูอ ื่นยอมรับหรือมาจากความเช่อื ความไวว างใจ และศรทั ธาจากผูอื่น จนมีปจ เจกบคุ คลเปน ผู
ตาม9๑๐

๑๐ รงค บุญสวยขวัญ, “การเมืองของนโยบาย”, วารสารสถาบันวิจัยญาณสังวร, ปท่ี ๘ ฉบับท่ี ๑
(มกราคม-มิถุนายน ๒๕๖๐): ๑๙๘ - ๒๐๐.

๑๑

สรุปไดวา นโยบายการเมือง หมายถึง สิ่งใดก็ตามที่รัฐบาลเลือกจะกระทําหรือไมกระทํา
กิจกรรมตา ง ๆ ท่ีรฐั บาลหรอื องคก รของรัฐจัดทําข้ึนเชน การจัดการบริการสาธารณะ การจัดทําสินคา
สาธารณะ การออกกฎหมายและการบังคับใชกฎหมาย แนวทางปฏิบัตทิ ี่กําหนดข้ึน เพื่อตอบสนองตอ
ปญหาตาง ๆ ท่ีเกิดข้ึน หรือแนวทางท่ีรัฐบาลกําหนดขึ้นเพื่อแกไขปญหา ความคิดของรัฐท่ีกําหนดวา
จะทําอะไรหรือไม อยางไร เพียงไร เมื่อไร แนวทางกวาง ๆ ท่ีรัฐบาล (ไมวาจะระดับใด) กําหนดขึ้น
เพื่อลว งหนา เพ่ือเปน การชนี้ ําใหเกิดการกระทําตาง ๆ ตามมา เม่ือใชหลักในการทางกฎหมายมหาชน
เปนเกณฑในการจําแนกรูปแบบของนโยบายสาธารณะเราสามารถจําแนกรูปแบบของนโยบาย
สาธารณะออกเปน ๔ รูปแบบไดแก นโยบายสาธารณะที่แสดงเปนรูปแบบกฎหมาย นโยบาย
สาธารณะท่ีแสดงออกในรูปแบบของ การแถลงนโยบายตอรัฐสภา นโยบายสาธารณะที่เปนมติ
คณะรัฐมนตรี และในรูปแบบของแผนงานหรือโครงการที่เปนลายลักษณอักษร ท้ังน้ี ไมควรถือเอา
“รัฐธรรมนญู ” เปน การกําหนดนโยบายสาธารณะประเภทหนึ่ง เน่อื งจากถือเปนกฎหมายท่ีตองปฏิบัติ
ไมสามารถเลือกท่ีจะ “ไมกระทํา” ตามหลักนโยบายสาธารณะได กรณีท่ีรัฐเลือกที่จะไมกระทําตาม
รัฐธรรมนูญจึงมีกรณีเดียวคือการท่ีประชาชนหรือผูแทนประชาชนเห็นพองรวมกันอยางเปนทางการ
วา บทบญั ญัตใิ นรัฐธรรมนูญมาตราใดไมสอดคลองกับเจตจาํ นงแหงรฐั ท่ีเปลี่ยนแปลงไป จงึ เสนอใหทํา
การปรบั ปรุงแกไขรัฐธรรมนญู ใหเขากบั เจตจาํ นงดงั กลา วและปฏิบัติตามกรอบแหง รัฐธรรมนูญตอ ไป

ตารางที่ ๒.๑ สรปุ แนวคิดเกยี่ วกับนโยบายทางการเมอื ง

นักวิชาการหรอื แหลงขอมูล ผลการวิจยั
กวี รักษช น (๒๕๔๑) หนา ๓. นโยบายมคี วามหมาย ๒ ลกั ษณะที่มี
ความสมั พนั ธก ัน ลักษณะที่หนง่ึ มีความหมายถึง
สมบัติ ธาํ รงธัญวงศ (๒๕๔๕) หนา ๒ กิจกรรม (activities) สวนอีกลกั ษณะหน่ึงจะมี
ความหมายในฐานะทีเ่ ปน ศาสตร
ถวลั ย วรเทพพฒุ ิพงษ (๒๕๓๖), หนา ๒. นโยบายการเมอื งจะตองเปนกิจกรรมท่ีกระทาํ
กลุ ธน ธนาพงศธร (๒๕๓๐), หนา ๕๘ โดยรฐั บาล งบประมาณหรอื เคร่ืองมืออื่น ๆ ใน
การนํานโยบายไปปฏิบตั ิ แนวการมองการเมอื ง
ปยะนุช เงินคลาย (ม.ป.ป)., หนา ๖ เปน เร่อื งของอาํ นาจ (Power Approach)
สรอยตระกูล (ติวยานนท) อรรถมานะ (๒๕๓๓) นโยบายการเมืองเปน แนวทางปฏบิ ัติของรัฐบาลมี
วัตถุประสงคแนนอน
แนวทางท่ีแตละประเทศไดเ ลือกปฏบิ ตั ิไปเพื่อให
บรรลุถึงวตั ถุประสงคอ ยางใดอยา งหนง่ึ ท่ีกําหนด
ไวอ นั เปนวตั ถุประสงคท่ีเชอื่ กันวา ถาทาํ ไดสาํ เรจ็ ก็
จะเปน ผลดีตอ ประเทศของตน
แนวทางหรือกจิ กรรมตา ง ๆ ทร่ี ัฐบาลหรอื
หนว ยงานของรฐั ตดั สินใจวาจะทําหรือไมทํา
ภายใตอาํ นาจหนาที่และความรับผิดชอบ
กระบวนการนโยบายสาธารณะของสรอ ยตระกลู

๑๒

นกั วชิ าการหรอื แหลงขอมูล ผลการวิจัย
หนา ๑๔๙-๑๕๑. ไดแกการกอตวั ของ นโยบาย การเตรียมนโยบาย
ศุภชยั ยาวะประภาษ (๒๕๓๓), หนา ๑. และเสนอรา งนโยบาย การอนุมตั ปิ ระกาศเปน
นโยบาย การนาํ นโยบายไปสูการปฏบิ ัติ การ
ประเมินผลนโยบายการปรบั ปรุงแกไ ขหรอื การ
สิ้นสุด
กจิ กรรมทุกประเภทไมว า จะเปน ระดบั ใดใน
หนวยงานใด ลวนมกี ําเนิดมาจากความคิดอันเปน
กรอบนาํ ทางวา ควรจะทําอะไร เม่ือใด ที่ไหน โดย
ใคร และอยา งไร

๒.๒ แนวคิดเก่ียวกบั การสงเสรมิ การทองเทยี่ ว

จากการศึกษาแนวคิดเกี่ยวกบั เก่ยี วกับการสง เสรมิ การทอ งเที่ยวของนักวชิ าการหลายทา น
ผูวิจัยไดประมวลแนวคิดเกี่ยวกับเก่ียวกับการสงเสริมการทองเท่ียว ทั้งความหมาย ความเปนมา
ลกั ษณะ ความสําคญั ประเภท และประโยชนของหลักธรรมาภบิ าล มีรายละเอยี ดดังตอ ไปนี้

๒.๒.๑ ความหมายของการทอ งเทีย่ ว
การทอ งเท่ียว หมายถึง การท่ีคนเดินทางไปยังสถานท่ีตาง ๆ และตลอดระยะเวลาเหลานั้น
ไดม กี ิจกรรมตา ง ๆ เกิดขึน้ การไปเท่ียวชมสถานท่ที ี่สวยงามหรือทัศนยี ภาพแปลก ๆ หรือเดนิ ซ้ือสิ่งของ
ตาง ๆ เปนตน การทองเที่ยวมีหลายรูปแบบดวยกันทั้งนี้ข้ึนอยูกับปจจัยหลายอยาง เชน ระยะเวลาใน
การทองเที่ยว ประเภทของการคมนาคม จํานวนสมาชิก หรือคาใชจายตาง และการเดินทางเพ่ือความ
เพลิดเพลนิ และพักผอนหยอนใจ และเปนการเดนิ ทางที่มเี ง่ือนไข สาํ คัญ ๓ ประการ คอื

๑. เดนิ ทางจากทอ่ี ยอู าศยั ตามปกตไิ ปยังที่อืน่ เปน การช่ัวคราว
๒. เดินทางดวยความสมัครใจ
๓. เดินทางดวยวตั ถุประสงคใ ด ๆ ก็ได แตไ มใ ชเ พอื่ การประกอบอาชพี หรอื หารายได
การทองเทีย่ ว (Tourism) หมายถงึ กิจกรรมใด ๆ ที่เกี่ยวขอ งกับการเดินทางของบุคคลจาก
ที่อยูอาศัยปกติไปยังท่ีอ่ืนเปนการชั่วคราวดวยความสมัครใจ เพ่ือวัตถุประสงคใด ๆ ท่ีไมใชเพ่ือการหา
รายได ซึ่งกจิ กรรมดงั กลา วกอ ใหเ กดิ ปรากฏการณ และความสัมพันธท่ีเกิดจากการมีปฏิสัมพนั ธระหวาง
นักทองเท่ียวกับผูประกอบการธุรกิจในอุตสาหกรรมทองเท่ียวที่ผลิตสินคาและบริการเพื่อตอบสนอง
ความตองการของนักทองเท่ียว ภาครัฐบาลที่วางแผนและจัดการทองเท่ียว และชุมชนหรือเจาของ
ทองถิ่นในพื้นที่ทองเที่ยว10๑๑ และการทองเที่ยวถือวาเปนปรากฏการณของมนุษยที่เกิดจากการสราง

๑๑ ราณี อิสิชัยกุล, การจัดการทองเท่ียวเฉพาะทาง, (นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,
๒๕๕๗), หนา ๓ - ๔.

๑๓

ปฏิสัมพันธเชงิ บวกกับสภาพแวดลอ มทางธรรมชาติและทางวฒั นธรรมในเรือ่ งเก่ยี วกับการเดินทางไปยัง
สถานท่ีตาง ๆ เพื่อจุดประสงคตา ง ๆ กัน ทไี่ มใ ชเ พ่อื การยายถิ่นฐานแบบถาวร11๑๒

สรุป ความหมายของการทองเที่ยวคือการเดินทางไปในสถานท่ีตาง ๆ ดวยความสมัครใจ
ใชเพื่อรับจางแตเปนการพักผอน หยอนใจ เพ่ือความสนุกเพลิดเพลิน เพ่ือการศึกษาสภาพพ้ืนที่
วัฒนธรรม สังคม บริบทพื้นที่น้ัน ๆ และยังกลาวไดวาการทองเท่ียวเปนกิจกรรมนันทนาการท่ี
ผบู ริหารประเทศกาํ หนดเปนนโยบายใหม ีการสง เสรมิ สนบั สนนุ และกระตุนใหห นวยงานทั้งภาครัฐและ
เอกชนปรับปรุงจดั หาแหลงทอ งเที่ยว พรอมบรกิ ารท่ดี ีใหแกน กั ทอ งเทยี่ วท้งั ชาวไทยและชาวตา งชาติ

๒.๒.๒ ความสาํ คญั ของการทอ งเทย่ี ว
การทองเที่ยวจัดเปนอุตสาหกรรมที่มีความสําคัญตอการพัฒนาประเทศ ใหเดินหนาไปได
อยางตอเน่ือง และเปนการสงเสริมการพัฒนาประเทศอยางมาก เนื่องจากอุตสาหกรรมทองเที่ยว
ประกอบดวยธุรกิจหลายประเภท ท้ังธุรกิจที่เกี่ยวของโดยตรง และธุรกิจท่ีเกี่ยวของทางออม มี
ความสําคัญอยางย่ิงตอการพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ มีศักยภาพในการทํา
รายไดใหกับประเทศไทยสูงและสงผลตอการพัฒนาประเทศในดานตาง ๆ และปรีชา แดงโรจน ได
กลา วถึงความสําคญั ของการทองเทยี่ วไว ๓ ดาน ไดแก

๑) ดานการพัฒนา (Development) โดยเมื่อเกิดการเดินทางเขาไปถึงแหลง
ทองเที่ยวการพัฒนาความเจริญไปยังภูมิภาคน้ัน ๆ อาทิ ระบบสาธารณูปโภค การคมนาคม โรงแรม
ภตั ตาคารและรานคา

๒) ดานเศรษฐกิจ (Economics) การทองเท่ียวกอใหเกิดรายไดในรูปเงินตรา
ตางประเทศเปนจํานวนมากเม่ือเทียบกับการผลิตดานอื่น ๆ โดยรายไดจากการทองเท่ียวจะมีผลทวีคูณ
ในการสรางรายไดหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจเพ่ิมขึ้น และจะทําใหผลผลิตสวนรวมของประเทศมีคา
ทวีคูณกวา ๒ เทาตัว และการทองเท่ียวยังชวยกระตนุ ใหเกดิ ผลผลิตหมุนเวียนภายในประเทศและยงั เปน
การลดอัดตราการวางงานทําใหประชากรมีรายไดเพ่ิมข้ึน ซ่ึงมีผลตอประเทศในเรื่องการเพิ่มขึ้นของ
รายไดรวมถึงรายไดของรัฐบาลทเ่ี พ่ิมขึ้นในรูปของภาษีอากรประเภทตาง ๆ

๓) ดา นสงั คม (Social) การทองเที่ยวเปนสวนหน่ึงในการมนุษยสัมพนั ธของมนุษยใน
การแลกเปล่ียนวัฒนธรรม และการสรางความเปนมิตรไมตรีและความเขาใจอันดีระหวาเจาของบาน
และแขกผูมาเยอื น โดยการทองเทย่ี วมีบทบาทในการพัฒนาสรางความเจริญในสงั คมใหกับทอ งถิน่ น้ัน
ประชาชนก็มีวิถีชีวิตความเปนอยูท่ีดีขึ้นตามลําดับ อีกทั้งการทองเท่ียวยังกอใหเกิดการอนุรักษฟนฟู
มรดกทางวัฒนธรรมและส่ิงแวดลอม หรือยังกอใหเกิดความภาคภูมิใจและจิตสํานึกในการอนุรักษอีก
ดว ย นอกจากนก้ี ารทอ งเท่ยี วยังชวยขจดั ปญหาความเปล่ยี นแปลงของชุมชนเมืองกับชมุ ชนชนบทและ

๑๒ การทองเท่ียวแหงประเทศไทย, คําศัพทในอุตสาหกรรมการทองเท่ียว, (กรุงเทพมหานคร: กอง
บรรณาธกิ ารและฝก อบรม, ๒๕๔๔), หนา ๑๕.

๑๔

ท่สี ําคัญยังเปนการประชาสัมพันธแ หลงทองเทยี่ วนั้น ๆ ใหเ ปน ทร่ี ูจกั แกประชาชนทั่วไปหรือผูท่ีไมเคย
เห็นมากอน12๑๓

พิมพรรณ สุจารินพงค ไดสรุปไววาการทองเท่ียวมีบทบาทสําคัญทั้งใน ดานเศรษฐกิจ
สงั คม และการเมือง ดงั ตอ ไปนี้

๑) การทองเท่ียวสรางงาน สรา งอาชีพอยางกวาง เนือ่ งจากเปนอุตสาหกรรมบริการที่ตอง
ใชคนในการบริการ

๒) การทองเที่ยวเปนอุตสาหกรรมท่ีกระจายรายไดไปสูประชาชน สรางงาน สรางอาชีพ
มากมาย และยงั เปน อาชีพเสรมิ ใหก ับคนไทยอยางกวา งขวาง

๓) เปนอุตสาหกรรมที่กอใหเกิดรายไดเปนเงินตราตางประเทศ เชนเดียวกับการสงออก
สนิ คา ประเภทอ่ืน ๆ ไปจําหนา ยยังตา งประเทศ

๔) ชวยในการสนับสนุนการฟนฟู ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี การละเลน ท่ีเปนมรดกตก
ทอดทีค่ วรเผยแพรและแลกเปลย่ี นวฒั นธรรมดงั กลา วกับเจา ของทองถ่นิ

๕) ทําใหเกิดความเจริญไปสูภูมิภาคตาง ๆ และยังทําใหพื้นท่ีท่ีไดรับการพัฒนาเปนแหลง
ทอ งเที่ยวมีความปลอดภัย ความมนั่ คง จะเห็นไดหากแหลงทองเท่ียวใดมีความปลอดภัยนักทองเที่ยว
ยอ มเลอื กเดินทางไปในแหลง ทอ งเทีย่ วนน้ั

๖) ชวยในการสงเสริมสันติภาพและสัมพันธไมตรี และความเขาใจอันดีใหกับมนุษย ตาง
สงั คมตา งวัฒนธรรม ไดม ารูจ กั และเขา ใจกนั เพ่ือจะนาํ ไปสคู วามเปน เพื่อนรว มโลกและสนั ติภาพ

๗) ทําใหเกิดความกลมกลืนระหวางการอนุรักษส่ิงแวดลอมและการทองเท่ียวรวมถึงการ
พัฒนาการทองเทย่ี วใหเปนแหลงทองเท่ียวอยา งยัง่ ยนื 13๑๔

สรุป การทอ งเที่ยวจัดเปน อุตสาหกรรมท่ีมคี วามสําคัญตอ การพัฒนาประเทศ ทั้งดานการ
พัฒนา ดานเศรษฐกิจ ดานสังคม และวัฒนธรรม เพ่ือใหเดินหนาไปไดอยางตอเน่ือง และเปนการ
สง เสริมการพัฒนาประเทศอยา งมาก เนื่องจากอุตสาหกรรมทองเท่ียว สรางอาชีพและกระจายรายได
สูชุมชน โดยเฉพาะการทําใหความเจริญสูทองถ่ิน และสนับสนุนการฟนฟู ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี
ของทองถิ่น และเผยแผส สู ่งั คมใหรบั รู

๒.๒.๓ ประเภทของการทอ งเท่ยี ว
การทองเที่ยวเปนอุตสาหกรรมท่ีเกิดข้ึนเพราะเกิดจากการรวมตัวของอุตสาหกรรมอ่ืน ๆ
และมีผอู ธิบายไวในหลายประเด็น ดงั นี้
การทองเที่ยวเชิงนิเวศ (Ecotourism) หมายถึง แหลงทองเที่ยวที่มีลักษณะทาง
ธรรมชาติที่เปนเอกลักษณเฉพาะทองถิ่น โดยอาจมีเร่ืองราวทางวัฒนธรรมท่ีเกี่ยวเน่ืองกับระบบนิเวศ

๑๓ ปรีชา แดงโรจน, อุตสาหกรรมทองเที่ยวสูศตวรรษที่ ๒๑, พิมพครั้งท่ี ๑, (กรุงเทพมหานคร:
บรษิ ัทไฟว แอนด โฟร พร้ินติง้ จาํ กดั , ๒๕๔๔), หนา ๓๐ - ๓๑.

๑๔ พมิ พรรณ สจุ ารินพงค, มัคคุเทศก, พิมพคร้ังท่ี ๒, (กรุงเทพมหานคร: โอเดยี นสโตร, ๒๕๕๒), หนา
๑๑.

๑๕

ที่เกี่ยวของโดยการจัดการการทองเท่ียวในแหลงนั้น จะตองมีกระบวนการเรียนรูรวมกันของผูที่
เกี่ยวของมีกิจกรรมท่ีสงเสริม ใหเกิดการเรียนรูเกี่ยวกับระบบนิเวศน้ัน มีการจัดการสิ่งแวดลอม และ
การทองเที่ยวอยางมีสวนรวมของทองถิ่น เพ่ือมุงเนนใหเกิดจิตสํานึกตอการรักษาระบบนิเวศอยาง
ยง่ั ยนื ซ่ึงมผี ใู หความหมาย ดงั น้ี

การทองเที่ยวแหงประเทศไทย ไดนิยาม การทองเที่ยวเชิงนิเวศ วาเปนรูปแบบหน่ึงของ
การทองเท่ียวแบบยั่งยืน ซ่ึงเปนการทองเที่ยวที่มีความรับผิดชอบในแหลงทองเท่ียวธรรมชาติ มีการ
จดั การการรกั ษาสิง่ แวดลอ มและมกี ารใหม กี ารศึกษาแกผทู อ งเที่ยว14๑๕

ไพฑูรย พงศบุตร ใหความหมายของการทองเท่ียวเชิงนิเวศ หมายถึง การทองเท่ียวเพื่อ
เรยี นรูเก่ียวกับสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ และการดํารงชวี ิตของสงิ่ มีชีวิตตา ง ๆ ทัง้ พืช สตั ว และมนุษย
เปนรูปแบบของการทองเท่ียวท่ีนักทองเที่ยวไดเรียนรู และมีประสบการณเก่ียวกับส่ิงแวดลอมทาง
ธรรมชาติของสิง่ มีชวี ิตตา ง ๆ การไดสมั ผสั และชน่ื ชมกบั ความงามของธรรมชาติอยา งใกลชิด15๑๖

อุดม เชยกีวงศ กลาววา การทองเท่ียวเชิงนิเวศ หมายถึง การทองเท่ียวท่ีมีความรบั ผิดชอบ
ในแหลงทองเท่ียวธรรมชาติที่มีเอกลักษณเฉพาะถ่ิน และแหลงวัฒนธรรมท่ีเกี่ยวเน่ืองกับระบบนิเวศ
สิ่งแวดลอม และการทองเที่ยวโดยมีกระบวนการเรียนรูรวมกันของผูที่เก่ียวของ ภายใตการจัดการอยาง
มสี วนรว มของทองถน่ิ เพื่อเปน การมงุ เนนใหเกิดจิตสาํ นึกที่ดีตอการรักษาระบบนิเวศอยางยั่งยนื 16๑๗

องคป ระกอบของการทองเทีย่ วเชงิ นิเวศ
การทองเที่ยวเชิงนิเวศเปนการทองเท่ียวเฉพาะทางที่มีความคลายคลึงกับการทองเที่ยว
เชิงธรรมชาติ หรือการทองเท่ียวอื่น ๆ เชน การทองเที่ยวชนบท การทองเที่ยวเชิงเกษตร แตการ
ทองเท่ียวเชิงนิเวศเปนการทองเที่ยวท่ีใหความสําคัญตอการอนุรักษสิ่งแวดลอมที่ไมใชเพียง
สิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ แตเกี่ยวเนื่องกับส่ิงแวดลอมรอบตัวมนุษย รวมทั้งแนวคิดของการอนุรักษ
วัตถุโบราณโบราณสถานตาง ๆ อนุสาวรีย อาคารบานเรือน การทองเท่ยี วเชิงนิเวศจึงเนนกิจกรรมใน
การอนุรักษและฟนฟูสภาพแวดลอมรอบตัวเพื่อใหเกิดความย่ังยืน ท้ังสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ
และสภาพแวดลอมทางวัฒนธรรม17๑๘ โดยการกําหนดแหลงทองเท่ียวจะตองมีองคประกอบสําคัญของ
การทองเที่ยวเชิงนิเวศ มุงเนนการทองเที่ยวอยางมีความรับผิดชอบ มุงเนนใหความรูและเกิด
ประสบการณใหแกนักทองเทีย่ ว ใหมีจิตสํานึกตอสภาพแวดลอ มและวัฒนธรรมทอ งถิน่ โดยประชาชน

๑๕ การทองเที่ยวแหงประเทศไทย, เอกสารประชุมเชิงปฏิบัติการดานการทองเที่ยวเชิงนิเวศ,
(กรงุ เทพมหานคร: สถาบันวิจัยวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยีแหง ประเทศไทย, ๒๕๔๔), หนา ๔.

๑๖ ไพฑูรย พงศะบุตร, การทอ งเท่ียวเชงิ นิเวศ, สารานุกรมไทยสําหรบั เยาวชน ฉบับเสริมการเรยี นรู
เลม ๕, พมิ พครงั้ ท่ี ๕, (กรุงเทพมหานคร: โครงการสารานุกรมสําหรับเยาวชน โดยพระราชประสงคพ ระบาทสมเด็จ
พระเจา อยูหัวฯ, ๒๕๕๓).

๑๗ อุดม เชยกีวงศ, การทองเท่ียวเชิงนิเวศ, (กรุงเทพมหานคร: แสงดาว, ๒๕๕๔), หนา ๖๗.
๑๘ ราณี อิสิชัยกุล, การจัดการการทองเที่ยวเฉพาะทาง, (นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,
๒๕๕๗), หนา ๒๐๘ - ๒๐๙.

๑๖

ในทอ งถนิ่ มีสวนรวมในการจัดการการทองเที่ยวในแหลงทองเท่ียวธรรมชาติเปนหลัก ซ่ึงองคประกอบ
หลกั ของการทอ งเทีย่ วเชิงนเิ วศ มดี งั น้ี

๑) องคประกอบดา นพน้ื ท่ที ี่เปน แหลง ทองเท่ยี ว และเกี่ยวเนอื่ งกบั ธรรมชาตทิ ม่ี ีเอกลกั ษณ
เฉพาะถิ่น รวมถึงแหลงวัฒนธรรม ประวัติศาสตรท ่ีเกยี่ วเนอื่ งกับระบบนเิ วศในพื้นทีน่ ้นั ๆ

๒) องคประกอบดานกิจกรรมและกระบวนการ เปนการทองเท่ียวที่มีกระบวนการเรียนรู
โดยศึกษาเกี่ยวกับสภาพแวดลอมและระบบนิเวศของแหลงทองเที่ยวนั้น ๆ เปนการเพ่ิมพูนความรู
เพ่ิมประสบการณ ความประทับใจ เพื่อปลูกจิตสํานึกท่ีดีและถูกตองตอนักทองเที่ยวประชาชนที่
เปน อยูใ นทอ งถนิ่ น้ันและผปู ระกอบการที่เกย่ี วของ

๓) องคประกอบดานการจัดการ เปนการทองเท่ียวท่ีความรับผิดชอบ ไมกอใหเกิด
ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและสังคม มีการจัดการท่ีย่ังยืนครอบคลุมถึงทรัพยากรส่ิงแวดลอม อีกทั้ง
ควบคุมการพัฒนาการทอ งเที่ยวอยางมขี อบเขตและยั่งยนื ใหเกดิ เปนการทองเที่ยวท่ีรบั ผิดชอบ โดยไม
มีผลกระทบตอสงิ่ แวดลอมและสงั คม

๔) องคประกอบดานการมีสวนรวมของชุมชน และประชาชนทองถ่ิน รวมคิดวางแผน
ปฏิบัติตาม ไดรับประโยชน ติดตามตรวจสอบ รวมบํารุงรักษาทรัพยากร อันกอใหเกิดประโยชนใน
ทองถ่ิน เชน การกระจายรายได การยกระดับคุณภาพชีวิตและการไดรับผลตอบแทนเพ่ือกลับมา
บาํ รุงรักษาทรพั ยากรการทองเทยี่ วอยางมีคุณภาพ เปนการรวมมือจากระดับลางไปจนถงึ การปกครอง
สวนทอ งถิ่น รวมไปถงึ ผเู ก่ียวของ จึงเปน การทองเทีย่ วอยา งมีสว นรว มของชุมชน18๑๙

แหลงทองเท่ียวเชิงศาสนาและวัฒนธรรม หมายถึง แหลงทองเท่ียวที่มีคุณคาทางศิลปะ
และขนบธรรมเนียมประเพณีท่ีบรรพบุรุษไดสรางสมและถายทอดเปนมรดกสืบทอดกันมา แหลง
ทองเที่ยวประเภทน้ีประกอบดวย งานประเพณี วิถีชีวิตความเปนอยูของผูคน การแสดงศิลปวัฒนธรรม
สินคาพื้นเมือง การแตงกาย ภาษา ชนเผา เปนตน ตัวอยางของแหลงทองเที่ยวที่สําคัญของประเทศไทย
ซ่งึ มผี ูใหความหมาย ดงั นี้

นุชนารถ รัตนสุวงศชัย กลาววา เปนรูปแบบการทองเท่ียวท่ีนักทองเที่ยวไดรับแรง
บันดาลใจหรือสิ่งกระตุนใหเดินทางไปยังจุดหมายปลายทางนั้น ซึ่งครอบคลุมถึงงานสรางสรรค
ประเพณีขนบธรรมเนยี ม และกิจกรรมตาง ๆ ของชมุ ชนจุดหมายปลายทาง ท้ังน้ีนักทองเที่ยวและคน
ในชุมชนตองเคารพ เรียนรู และเขาใจวัฒนธรรมของกันและกันเพื่อใหเกิดมิตรภาพระหวางชุมชน
อยางย่งั ยืน19๒๐

ฉันทัช วรรณถนอน กลาววา การทองเท่ียวเชิงวัฒนธรรม เปนการทอ งเที่ยวซึ่งมีจุดสนใจ
อยูวฒั นธรรมความเปน อยขู องผูคน ตลอดจนแหลง โบราณสถาน ประเพณี และศลิ ปะแขนงตาง ๆ ๒๑
20

๑๙ อดุ ม เชยกีวงศ, การทอ งเทีย่ วเชิงนเิ วศ, (กรงุ เทพมหานคร: แสงดาว, ๒๕๕๔), หนา ๗๐ - ๗๑.
๒๐ นุชนารถ รัตนสุวงศชัย, “กลยุทธการพัฒนาการทองเท่ียวเชิงวัฒนธรรม”, วารสาร มนุษยศาสตร
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร, ปท ี่ ๑๘ ฉบับท่ี ๑ (๒๕๕๔): ๓๑ - ๕๐.
๒๑ ฉันทัช วรรณถนอม, การวางแผนและการจัดนําเท่ียว, (กรุงเทพมหานคร: วิรัตน เอ็ดดูคชั่น,
๒๕๕๔), หนา ๔๔.

๑๗

ศิริ ฮามสโุ พธิ์ ไดอธบิ ายถึง การทองเทยี่ วเชงิ วฒั นธรรมวา เปนการเดนิ ทางเพ่ือสัมผัส และ
การเขารวมใชวิถีชีวิตแบบเกา ๆ ท่ีกําลังสูญหายไปในบางทองถิ่น เพื่อใหมีความเขาใจอยางลึกซ้ึงถึง
ประวัติความเปนมา การดําเนินชีวิตท่ีแตกตางไปจากวัฒนธรรมของตน เชน การแสดงศิลปวัฒนธรรม
ประเพณี และงานเทศกาลตาง ๆ การประกอบอาชีพเกษตรกรรม เปนชาวสวน และชาวนา เปนตน สิ่ง
เหลาน้ี ถือเปนทรัพยากรทองเที่ยวที่สําคัญ ทําใหนักทองเท่ียวอยากเขาไปชมศิลปวัฒนธรรมประเพณี
ทองถิ่น เพื่อศกึ ษาหาความรู และพักผอนหยอนใจ21๒๒

โดยสรุป การทองเท่ียวเชิงวัฒนธรรมเปนการทองเที่ยวไปยังแหลงทองเท่ียวเพื่อศึกษา
และเรียนรูวิถีชีวิตของคนในทองถิ่น รวมท้ังความเปนมา ประเพณีและเทศกาลตาง ๆ เพื่อเปนการ
เรยี นรแู ละกอ ใหเ กิดประสบการณด านวัฒนธรรมทแ่ี ตกตา งจากของตน

องคประกอบของการทองเทยี่ วเชงิ วฒั นธรรม
บุญเลิศ จติ ตง้ั วัฒนา ไดก ลาวถึง หลกั การทองเท่ยี วเชิงศิลปวฒั นธรรมไว ๔ ประการ คือ
๑) เปนการทองเที่ยวที่มีการศึกษารวบรวมขอมูลเกี่ยวกับความสําคัญ คุณคาทาง
ประวัติศาสตร ความเปนมาของทรัพยากรวัฒนธรรมในแหลงทองเที่ยวน้ัน เพื่อเปนขอมูลใหแก
นักทองเที่ยวในการเพ่ิมคุณคาของประสบการณในการเขาชม ในขณะเดียวกันก็ทําใหเกิดความ
ภาคภมู ใิ จในมรดกทางวัฒนธรรมของชมุ ชนทองถน่ิ
๒) เปนการทองเท่ียวท่ีมีการปลูกฝงจิตสํานึกของคนในชุมชนทองถ่ินใหเกิดความรัก หวง
แหน รักษา และดึงชุมชนทองถ่ินเขามามีสวนรวมในการบริหารจัดการทรัพยากรของตน และไดรับ
ประโยชนตอบแทนจากการทองเที่ยวในรูปแบบตาง ๆ เชน การจางงาน การบริการนําเที่ยว การ
ใหบริการขนสง การใหบ รกิ ารทพี่ ัก และการขายสินคา ท่ีระลึก เปน ตน
๓) เปนการทองเท่ียวท่ีมีการใหความรูแกนักทองเที่ยว เพ่ือใหเกิดความเขาใจใน
วัฒนธรรม และไดรบั ความเพลิดเพลิน พรอมทั้งสรางจิตสํานึกในการอนุรักษทรัพยากรทองเท่ียวทาง
วัฒนธรรมและส่ิงแวดลอม
๔) เปนการทอ งเที่ยวท่ีมีการเคารพวัฒนธรรมของเพื่อนบา น หรือชุมชนอ่นื รวมท้ังเคารพ
ในวัฒนธรรม ศักดศ์ิ รี และผูคนของตนเองดวย
สวนดานองคประกอบดานแหลงทองเที่ยวทางวัฒนธรรม เปนการทองเที่ยวในแหลง
ทองเทยี่ วทางวฒั นธรรมที่มเี อกลักษณเ ฉพาะถน่ิ อันประกอบดว ยสิง่ ดงึ ดดู ใจ ๙ ประการไดแ ก
๑) ประวัตศิ าสตรแ ละรอ งรอยทางประวตั ศิ าสตรท ยี่ ังปรากฏใหเหน็
๒) งานสถาปตยกรรมเกาแกดั้งเดิมในทองถิ่นและสิ่งปลูกสราง ผังเมือง รวมท้ังซาก
ปรักหกั พงั
๓) ศลิ ปะ หัตถกรรม ประติมากรรม ภาพวาด รูปปน และงานแกะสลกั
๔) ศาสนา รวมถงึ พิธกี รรมตาง ๆ ทางศาสนา

๒๒ ศิริ ฮามสุโพธิ์, สังคมวิทยาการทองเที่ยว, (กรุงเทพมหานคร: โอเดียสโตร, ๒๕๔๓), หนา ๖๓ -
๖๕.

๑๘

๕) ดนตรีการแสดง มหรสพตาง ๆ
๖) ภาษาและวรรณกรรม
๗) วถิ ีชวี ติ เสื้อผาเครอื่ งแตงกาย การทาํ อาหาร ธรรมเนียมการรบั ประทานอาหาร
๘) ประเพณี วฒั นธรรมพ้นื บา น ขนบธรรมเนียม และเทศกาลตาง ๆ
๙) ลกั ษณะงานหรือเทคโนโลยีตา ง ๆ ท่ีนําเขามาใชใ นการประชาสมั พันธแนะนําเพื่อจูงใจ
ทน่ี ํามาใชเฉพาะทอ งถ่นิ 22๒๓
๒.๒.๔ องคประกอบของการทอ งเทยี่ ว
การทองเท่ียวเปนอุตสาหกรรมท่ี “ไรตัวตน” เพราะเกิดจากการรวมตัวของอุตสาหกรรม
อน่ื ๆ น่ันหมายความวา หากจะจัดการทองเท่ียวใหย งั่ ยนื ก็จะตองจัดองคป ระกอบตา ง ๆ ใหย ่งั ยนื ดวย
องคป ระกอบของอุตสาหกรรมทอ งเทีย่ ว
๑) ที่พัก (Accommodation) หมายถึง สถานที่ที่จัดไวเพื่อใหคนเดินทางหรือ
นักทองเที่ยวไดเขาพักพรอมกับอาหารและเครื่องดื่ม ซึ่งปจจุบันธุรกิจที่พักไดพัฒนาเรื่อยมาโดยมี
รูปแบบการจัดบริการตาง ๆ เพื่ออํานวยความสะดวกใหกับลูกคาอยางสูงสุด มีการบริหารงานใน
ระบบเครือขายท้ังในรูปของเครือขายทองถิ่นและเครือขายระหวางประเทศมากข้ึน ทั้งนี้ การพัฒนา
ธุรกิจที่พักรูปแบบตาง ๆ ยัง เปนแรงผลักดันใหมีการแขงขันกันสูงขึ้นทั้งระบบมาตรฐานการบริการ
ที่สูงขึ้น และการดูแลรักษาสิ่งแวดลอมควบคูกับการบริหารจัดการที่เอื้อประโยชนตอนักทองเที่ยว
ระบบเศรษฐกิจของประเทศชาติและความยั่งยืนของการทองเที่ยวยิ่งขึ้น เชน โรงแรม รีสอรท
บังกะโล เกสทเฮาส โมเทลลอรจ เปนตน
๒) การคมนาคม (Accessibility) การคมนาคมเปนอีกหนึ่งองคประกอบที่สําคัญ
เนื่องจากมีบทบาทในการเคลื่อนยายนักทองเที่ยวไปยังแหลงทองเที่ยวตาง ๆ ทั่วโลก ซึ่งการ
คมนาคมในปจจุบันไดถูกพัฒนาใหสามารถตอบสนองการเดินทางทองเที่ยวไดหลายรูปแบบ เชน
ธุรกิจการบิน การเดินเรือ และการคมนาคมขนสงทางรถยนตโดยสาร รถไฟ รถไฟฟา เปนตน
๓) ส่ิงดึงดูดใจ (Attraction) ทรัพยากรทางการทองเท่ียวที่สามารถดึงใหนักทองเท่ียว
เดนิ ทางไปทองเที่ยวได เชน ส่งิ ดึงดดู ใจประเภทแหลง ทองเที่ยวทางธรรมชาติ ไดแก ทะเล ภูเขาน้าํ ตก
เกาะ แมน้าํ หาดทราย ฯลฯ สงิ่ ดึงดูดใจประเภทวฒั นธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี ไดแก ประเพณี
สงกรานต ประเพณีลอยกระทง งานแหเทียนพรรษา เปนตน ซึ่งส่ิงดึงดูดใจเหลานี้หมายถึงรวมถึงส่ิง
ดึงดูดใจท่ีเกิดจากการเปลี่ยนแปลงหรือมีความโดดเดนและเปนท่ีสนใจกวาแหลงทองเท่ียวอื่น ๆ เชน
ทะเลหมอก ทะเลแหวก บอ นาํ้ พุรอ น เปนตน
๔) ส่ิงอํานวยความสะดวก (Amenity) ส่ิงอํานวยความสะดวก หมายถึง สิ่งทจ่ี ัดข้ึนเพื่อให
เอ้ือประโยชนและอํานวยความสะดวกแกนักทองเท่ียว เชน ถนน ไฟฟา นํ้าประปา โทรศัพท แผนท่ี
อินเตอรเนต็ ศนู ยใหข อมลู ทางการทอ งเทย่ี ว ระบบปอ งกนั ความปลอดภัยทางทะเล เปนตน

๒๓ บญุ เลิศ จิตตงั้ วัฒนา, การพัฒนาการทองเที่ยวอยางยั่งยืน, (กรงุ เทพมหานคร: เพรส แอนดดีไซน,
๒๕๔๘), หนา ๑๖๘-๑๖๙.

๑๙

๕) กิจกรรมตาง ๆ ดานการทองเท่ียว (Activity) ผลิตภัณฑทางการทองเที่ยวท่ีถูกสราง
ข้ึน โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือสงเสริมและดึงดูดใหเกิดการทองเท่ียวในแหลงทองเที่ยวมาย่ิงขึ้น
นอกเหนือจากการไปเยี่ยมชมแหลงทองเท่ียวเทานั้น โดยรูปแบบกิจกรรมตาง ๆ จะแตกตางกันตาม
ประเภทของแตละแหลงทอ งเที่ยว ไดแก กิจกรรมการทองเทย่ี วทางธรรมชาติ เชน การเดินปา การนั่ง
ชา ง การดูนก ฯลฯ กิจกรรมทอ งเทย่ี วทางทะเล เชน การดาํ นาํ้ การตกปลา เปน ตน23๒๔

รงั สมิ า กลาวไววา การทองเที่ยวจะเกิดขนึ้ ไดต อ งประกอบดวยองคป ระกอบทีส่ ําคญั หลาย
ประการ โดยองคประกอบของการทองเที่ยว มี ๒ สวน คือ องคประกอบหลักและองคประกอบ
สนบั สนุน

สวนท่ี ๑ องคประกอบหลักการทองเท่ียว เปนปจจัยท่ีเปนองคประกอบหลักของการ
ทอ งเท่ียว หากขาดปจ จยั ใดปจจยั หน่งึ การทองเทยี่ วไมสามารถเกิดข้นึ ได มีดงั นี้

๑) นักทองเที่ยว เปนองคประกอบท่ีสําคัญที่สุดของการทองเที่ยว ลักษณะของ
นักทองเที่ยว ทั้งในดานความคิด ความรูสึก รสนิยม คานิยม รวมถึงพฤติกรรมการแสดงออกและ
ลกั ษณะทางกายภาพ มีผลตอ การทอ งเทยี่ วทัง้ โดยทางตรงและทางออม ซง่ึ เกี่ยวขอ งกบั ปจจัย ดังนี้

(๑) ลักษณะพื้นฐานของนักทองเท่ียว ประกอบดวย เพศ อายุ อาชีพ ระดับ
การศึกษา ระดับรายได สถานภาพสมรส ถิน่ พาํ นกั

(๒) การกระจายตัวของนักทองเท่ียว มีความสําคัญตอการพัฒนาพื้นที่แหลง
ทองเท่ียวเพ่ือรองรับนักทองเท่ียวอยางเพียงพอ เพ่ือมิใหเกิดปญหาตอสภาพพ้ืนท่ีและการใหบริการ
แกนักทองเท่ียวท่มี ีจาํ นวนมาก

(๓) กิจกรรมตาง ๆ ของนักทองเที่ยว เชน การพักผอนทางทะเลกิจกรรมผจญภัย
การทองเที่ยวในปา เขา กจิ กรรมเชงิ สุขภาพ หรือกจิ กรรมทวั่ ๆ ไป

(๔) ฤดูกาลทองเที่ยว มีผลโดยตรงตอการทองเท่ียวและการเลือกตัดสินใจทองเท่ียว
ในชวงเวลาท่เี หมาะสม

๒) ทรัพยากรการทองเทีย่ ว หมายถึง สถานที่ทองเที่ยว กิจกรรม และวฒั นธรรมประเพณี
ที่สะทอนใหเห็นถึงเอกลักษณเดน และสามารถดึงดูดความสนใจจากนักทองเที่ยวไดแบงออกเปน ๒
ลักษณะ คอื

(๑) ทรัพยากรการทองเที่ยวท่ีเกิดข้ึนเองโดยธรรมชาติ ไดแก สภาพภูมิอากาศ และ
ทรัพยากรธรรมชาติ

(๒) ทรัพยากรทองเที่ยวท่ีมนุษยสรางขึ้น ประกอบดวย ทรัพยากรที่เกี่ยวกับดาน
ประวัติศาสตร ดา นวัฒนธรรมและสงั คม ดา นบันเทงิ และความเพลดิ เพลิน

๒๔ เทิดชาย ชวยบํารุง, เอกสารประกอบการสอนรายวิชาระเบียบวิธีวิจัยสําหรับการทองเที่ยวและ
บรกิ าร, (กรงุ เทพมหานคร: สถาบนั บณั ฑิตพัฒนบรหิ ารศาสตร, ๒๕๕๕), หนา ๓๒ - ๓๓.

๒๐

สวนที่ ๒ องคประกอบสนับสนนุ การทอ งเทีย่ ว ไดแ ก
๑) ขอมูลขาวสารทางการทองเที่ยว หมายถึง ขอความท่ีมีจุดประสงคเพ่ือการพัฒนาและ
สงเสริมการทองเท่ียวใหแกผูที่เกี่ยวของ ทั้งผูคนในทองถิ่นซึ่งเปนผูใหบริการแกนักทองเท่ียว และ
นกั ทองเท่ียวซึง่ เปน ผรู บั บริการ แบง ออกเปน

(๑) ขอมูลสําหรับคนทองถิ่น ไดแก การสรางความตระหนักในความสําคัญของการ
ทองเท่ียว การมีสวนรวมในการพัฒนาการทองเที่ยว ส่ิงท่ีควรปฏิบัติเพ่ือตอนรับนักทองเที่ยว การให
ความรทู างดานประวตั ิศาสตร โดยผานสอื่ ตา ง ๆ เชน สื่อส่ิงพิมพ หนังสอื พิมพ เอกสาร เสียงตามสาย
วิทยุ โทรทศั น ผูน ําทองถิน่ วัด โรงเรยี น เปนตน

(๒) ขอมูลสําหรับนักทองเที่ยว ไดแก รายละเอียดเก่ียวกับแหลงทองเท่ียว งาน
เทศกาล แผนท่ีทองเท่ียว การโฆษณาประชาสัมพันธเพื่อจูงใจนักทองเท่ียว การแนะนําสิ่งท่ี
นักทองเท่ียวควรและไมควรปฏิบัติ คําเตือนเก่ียวกับสิ่งท่ีนักทองเที่ยวควรระวัง โดยผานส่ือ เชน ส่ือ
ส่ิงพิมพ หนังสือ แผนพับ หนังสือพิมพ นิตยสาร วิทยุ โทรทัศน ซีดีรอม ปายโฆษณา อินเตอรเน็ต
เวบ็ ไซตตา ง ๆ เครื่องคอมพวิ เตอรแบบจอสัมผัส (Kiosk) เปนตน

๒) ความปลอดภัยและการอํานวยความสะดวกในการเขาเมือง มีผลตอการตัดสินใจเลือก
แหลงทองเท่ียวของนักทองเที่ยว ไดแก การใหความชวยเหลือจากคนในทองถิ่นและหนวยงานตาง ๆ
การกําหนดมาตรการตาง ๆ เพื่อความปลอดภัยของนักทองเทย่ี ว จัดทําปายเตือนในแหลงทองเท่ียวที่
เสย่ี งอันตราย เปน ตน

๓) โครงสรางพ้ืนฐานสนับสนุนการทองเท่ียว เปนองคประกอบสนับสนุนใหการทองเที่ยว
สามารถดําเนินไปไดดวยดี และทําใหเกิดความสะดวกรวดเร็วในการดําเนินธุรกิจเกี่ยวกับการ
ทองเทยี่ ว โดยโครงสรางพืน้ ฐานหลักท่จี ําเปน สาํ หรบั รองรับนกั ทอ งเทย่ี ว ไดแก

(๑) ระบบไฟฟา ในแหลงทองเที่ยวควรมีไฟฟาใชอยางเพียงพอและใชการไดดี
ในชวงฤดูกาลทองเท่ียวท่ีมีจํานวนนักทองเที่ยวมาก ปริมาณการใชไฟฟาจะสูง จําเปนตองมีการ
เตรยี มการรองรับเปนอยางดี

(๒) ระบบประปา การใชนํา้ มีความจําเปนมากท่ีสดุ สาํ หรับนักทองเท่ียวโดยเฉพาะใน
ท่ีพัก จะตองมีระบบประปาที่สะอาด ถูกสุขอนามัย และมีปริมาณเพียงพอตอการบริการใหแก
นักทอ งเทยี่ ว

(๓) ระบบสาธารณสุข
(๔) ระบบการสื่อสารโทรคมนาคม การส่ือสารชวยใหแหลงทองเที่ยวท่ีอยูหางไกล
สามารถติดตอเช่ือมโยงขา วสารกับพืน้ ที่ภายนอกได โดยเฉพาะในกรณีฉุกเฉินระบบส่ือสารจําเปนตอง
มีความรวดเร็วและเพียงพอ เชน ระบบไปรษณีย โทรศัพท โทรสาร ไปรษณีย อิเล็กทรอนิกส
โทรศัพทเ คลอื่ นที่ ฯลฯ
(๕) ระบบขนสงสาธารณะ จําเปนอยางย่ิงในการเดินทางเขาไปในแหลงทองเท่ียว
และเดินทางกลับดวยความสะดวก ปลอดภัย พื้นท่ีทองเที่ยวที่สมบูรณแบบจะมีระบบการขนสง
สาธารณะทม่ี ีมาตรฐานสูง เช่ือมโยงการขนสงไดทวั่ ถึงท้ัง ๔ เสนทาง ไดแ ก ทางรถยนต รถไฟ ทางนํ้า
และทางอากาศ โดยเฉพาะเสนทางถนนที่เชื่อมสูแหลงทองเที่ยวควรมีปายเขียนบอกเสนทางอยาง

๒๑

ชัดเจนและงายตอความเขาใจ ควรมีแผนผังหรือแผนที่เสนทางแสดงใหเห็นอยางชัดเจนรวมถึงการ
จัดทําเอกสารแจกแกนักทอ งเทยี่ วเพ่ือความสะดวกในการเดินทาง

๔) การสนับสนุนจากหนวยงานของรัฐบาลและองคกรเอกชน ซงึ่ การพัฒนาการทอ งเท่ียว
จะเกดิ ขึ้นได ตองอาศัยความรวมมือจากทุกภาคสวนทั้งองคกรของรฐั และเอกชน รวมถึงองคกรอิสระ
ท่ีจัดตั้งขึ้นโดยประชาชนกลุมตาง ๆ องคกรธุรกิจท่ีเกี่ยวของควรมีการประสานความรวมมือและ
รับผิดชอบในผลประโยชนและการดูแลรักษาแหลงทองเที่ยว และการดําเนินธุรกิจอยางมีมาตรฐาน
เปนธรรม และมงุ เนน การตอบสนองความตอ งการของนักทองเที่ยวมากกวา ผลกําไร24๒๕

๒.๒.๕ แนวความคดิ ของการสงเสริมการทองเท่ยี ว
ชาญวิทย เกษตรศิริ ไดใหความหมายการสงเสริมการทองเที่ยวหมายถึง วิธีการศึกษา
ประวัติศาสตรและวัฒนธรรมผานการเดินทางทองเที่ยว เปนการทองเที่ยวท่ีเนนการพัฒนาดานภูมิ
ปญญา สรางสรรค เคารพตอสิ่งแวดลอ ม วัฒนธรรม ศักด์ิศรีและวิถชี ีวิตผูคนหรือสามารถกลาวไดอีก
นัยหนึ่งวา การทองเทยี่ วทางวัฒนธรรมคือการทอ งเทยี่ วเพอ่ื การเรียนรผู ูอ่ืนและยอ นกลับมามองตนเอง
อยางเขา ใจความเกยี่ วพนั ของสง่ิ ตาง ๆ ในโลกท่มี ีความเกี่ยวโยงพ่ึงพาไมสามารถแยกออกจากกนั ได25๒๖
อนุรกั ษ ปญญานุวตั น ไดใ หค วามหมายไววา การสง เสริมการทองเท่ียวหมายถึง เปนการ
เดินทางทองเท่ียวที่ครอบคลุมทุกแงทุกมุมของการทองเท่ียวที่มนุษยสามารถศึกษาถึงวิถีชีวิตและ
ความนึกคดิ ซึง่ กันและกนั 26๒๗
ภูสวสั ด์ิ สุขเลีย้ ง ไดใหความหมายไวว า การสงเสริมการทองเท่ียว หมายถงึ การทองเที่ยว
เพื่อการเรียนรูผูอ่ืน และยอนกลับมามองตนเองอยางเขาใจ วัฒนธรรมกับมนุษยมีความสัมพันธกัน
อยางแยกไมอ อก เพราะวฒั นธรรมเขามามีบทบาทในวถิ ชี ีวิตมนุษยอยูตลอดเวลา27๒๘
วาลิกา แสนคํา ไดใ หความหมายไววา การสงเสริมการทองเทีย่ ว หมายถึงการเคลือ่ นไหว
ของผูคนท่ีเกิดขึ้นจากปจจัยกระตุนทางวัฒนธรรม เชน การเดินทางทองเที่ยวเพ่ือการศึกษา การ
เดินทางทองเที่ยวเพ่ือช่ืนชมศิลปวัฒนธรรม ประเพณี เทศกาล การเขาเยี่ยมชมอนุสรณสถานการ

๒๕ รังสมิ า มั่นใจอารย, อุตสาหกรรมทอ งเที่ยว, (กรงุ เทพมหานคร: พฒั นาวชิ าการ, ๒๕๕๕), หนา ๑๘
- ๒๙.

๒๖ ชาญวิทย เกษตรศิริ, วิถีไทยการทองเที่ยวทางวัฒนธรรม, (กรุงเทพมหานคร: โครงการวิถีทัศน,
๒๕๔๐), หนา ๑-๑๐.

๒๗ อนุรักษ ปญญานุวัตน, ชุมชนทรัพยากรและการพัฒนาส่ิงแวดลอม, เอกสารประกอบคําสอน
สาขาวชิ าการจัดการมนุษยกบั ส่งิ แวดลอม, (เชียงใหม: มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม, ๒๕๔๒), หนา ๑๓.

๒๘ ภูสวัสด์ิ สุขเลี้ยง, “การพัฒนาแหลงทองเที่ยวทางวัฒนธรรม กรณีศึกษา หมูบานหวยโปงผาลาด
อําเภอเวียงปาเปา จงั หวัดเชียงราย”, รายงานการวิจยั , (มหาวิทยาลยั เชยี งใหม, ๒๕๔๕), หนา ๓๙.

๒๒

เดินทางเพ่ือศึกษาขนบธรรมเนียมความเช่ือที่สืบทอดกันมาของชุมชนทองถ่ินตลอดจนความเชื่อทาง
ศาสนา28๒๙

ไกรฤกษ ปนแกว ไดใหความหมายไวว า การสง เสริมการทองเท่ียว หมายถึงการทองเทย่ี ว
ท่ี ไดนําเอาวัฒนธรรมมาเปนจุดขายเพ่อื ดึงดดู ความสนใจของนกั ทอ งเที่ยวชาวตางประเทศ โดยเฉพาะ
นักทอ งเทย่ี วชาวอเมรกิ ันและยุโรป ท่ีตางสนใจที่จะเรียนรวู ัฒนธรรมมรดกทางประวตั ิศาสตรเย่ียมชม
งานสถาปต ยกรรม และสมั ผสั วิถชี ีวิตความเปนอยูของคนในประเทศนัน้ 29๓๐

สํานักงานพัฒนาการทองเท่ียว ไดใหความหมายไววา การทองเที่ยว หมายถึง การ
เดินทางเพ่ือผอนคลายความเครียด แสวงหาประสบการณแปลกใหม โดยการเดินทางน้ัน เปนการ
เดินทางเพยี งช่วั คราวผูเดินทางจะตอ งไมถ กู บงั คับใหเ ดนิ ทาง30๓๑

นิศา ชัชกุล ไดใหความหมายไววา การทองเที่ยว หมายถึง กิจกรรมการเดินทางจากจุด
หน่ึงไปยังอีกจุดหนึ่ง ซ่ึงนับต้ังแตจุดเริ่มตนถึงปลายทางจะตองประกอบดวยปจจัย ๓ ประการเปน
อยางนอ ยคือ การเดินทาง การพักคางแรม และการกนิ อาหารนอกบาน31๓๒

สรุปไดวา การสงเสริมการทองเท่ียว หมายถึง การเดินทางของคน จากสถานที่ที่อยู
ประจําไปยังทอ งถิ่นอน่ื เพื่อชมเอกลักษณ ความงดงามทางวฒั นธรรม ทั้งน้ีจะตองเคารพในวฒั นธรรม
ของกันและกันเพื่อกอใหเกิดมิตรภาพ ความรูความเขาใจ และความซาบซ้ึงตรึงใจในวัฒนธรรมของ
ชุมชนน้ัน ๆ ตองคํานึงถึงผลกระทบท่ีจะเกิดตอบุคคลและวัฒนธรรมและส่ิงแวดลอมในชุมชนน้ันให
นอยที่สุดชุมชนทองถิ่นผูเปน เจาของวัฒนธรรมก็ไดประโยชนจากการทองเที่ยวในดานการ สราง
รายไดและการจางงาน อันนํามาซึ่งการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม การทองเท่ียวเชิงวัฒนธรรมเปนวิธี
การศึกษา ประวัติศาสตรแ ละวัฒนธรรมผานการเดินทางทองเที่ยวเปนการทองเท่ียวที่เนนการพัฒนา
ดานภูมิปญญา สรางสรรค เคารพตอส่ิงแวดลอม วัฒนธรรม ศักด์ิศรี และวิถีชีวิตผูคน หรอื อาจกลาว
ไดอีกนัยหนึ่งวา เปนการ ทองเท่ียวเพื่อการเรียนรูผูอ่ืนและยอนกลับมามองตนเอง อยางเขาใจความ
เกยี่ วพันของสง่ิ ตาง ๆ ในโลกทีม่ คี วาม เกี่ยวโยง พ่งึ พาไมส ามารถแยกออกจากกันได

๒๙ วาลิกา แสนคํา, “การทองเที่ยวทางวัฒนธรรมบานเปยงยาง อําเภอเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม”,
วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมการทองเที่ยว, (บัณฑิตวิทยาลัย:
มหาวิทยาลยั เชยี งใหม, ๒๕๔๕), หนา ๓๔.

๓๐ ไกรฤกษ ปนแกว, การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม, (กรุงเทพมหานคร: ภาควิชาการจัดการธุรกิจ
ระหวางประเทศ,มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, ๒๕๕๕).

๓๑ สํานักงานพัฒนาการทองเที่ยว, เอกสารชุดฝกอบรมทางไกลหลักสูตรการจัดการการทองเที่ยว
ชมุ ชนอยา งย่งั ยืน, (กรงุ เทพมหานคร: สาํ นักงาน, ๒๕๔๖), (อดั สาํ เนา).

๓๒ นิศา ชัชกุล, อุตสาหกรรมการทองเท่ียว, (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,
๒๕๕๐), (อดั สําเนา).

๒๓

๒.๒.๖ สถานทท่ี อ งเทย่ี วรอบบงึ แกน นคร
บึงแกนนคร ตั้งอยูในเขตเทศบาลเมืองขอนแกน เปนบึงขนาดใหญ มีเนื้อที่ ๖๐๓ ไร
นอกจากจะเปน ที่ประดษิ ฐานอนุสาวรีย “เจาเพีย้ เมืองแพน” ผกู อตงั้ เมืองขอนแกนแลว ยังเปนสถานท่ี
ทน่ี ิยมมาพกั ผอนหยอนใจ และทาํ กิจกรรมนนั ทนาการของชาวเมืองเพราะมีบรรยากาศสบาย ๆ พื้นท่ี
โดยรอบมีการปรับปรุงตกแตงใหเปนสวนสุขภาพ ประดับประดาไปดวยประติมากรรมรูปตาง ๆ ดู
เพลิดเพลินใจ สะพานขามบึงแกนนคร สวนสาธารณะบึงแกนนครจุดแลนดมารคแหงใหมของเมือง
ขอนแกน เปนสะพานขามบึงท่ีสวยไมแพที่ใดในโลก ทัศนียภาพของสะพานขามบึงแกนนคร จะมีลูว่ิง
และจดุ ชมววิ กลางน้ํา เพื่อใชอ าํ นวยความสะดวกแกผูมาออกกําลงั กาย และใชเปน สถานท่ีพักผอนของ
ชาวขอนแกนและนักทองเท่ียว โดยทางเทศบาลนครขอนแกนตองการพัฒนาสวนสาธารณะบึงแกน
นครใหเปนแลนดมารคสําคัญแหงหน่ึงของจังหวัดขอนแกน นอกจากน้ียังมีสถานท่ีสําคัญทาง
วัฒนธรรม ประเพณีท่ีสาํ คญั 32๓๓ ดงั น้ี
วัดธาตุ พระอารามหลวง วัดธาตุ พระอารามหลวง ต้ังอยูเลขท่ี ๒๓๗ ถนนกลางเมือง
(บานเมืองเกา) ตําบลในเมือง อําเภอเมืองขอนแกน จังหวัดขอนแกน สังกัดคณะสงฆม หานิกาย สราง
ข้ึนเมื่อ พ.ศ. ๒๓๓๒ โดยพระนครศรีบริรักษบรมราชภักดี (เพี้ยเมืองแพน) เจาเมืองขอนแกน เปนผู
กอสรางขึ้นพรอมกับการตั้งเมืองขอนแกน และไดสรางพระธาตุขึ้นเปนปูชนียสถานท่ีเคารพสักการะ
ของชาวเมืองขอนแกน จงึ เรียกช่ือวัดนี้วา "วัดธาตุ" ไดรับการสถาปนาขึ้นเปนพระอารามหลวง ช้ันตรี
ชนิดสามัญ เม่ือป พ.ศ. ๒๕๒๑ มีเน้ือที่ ๑๒ ไร พ.ศ. ๒๓๓๕ ทาวสัก ตําแหนง เพ้ียเมืองแพน อยูบาน
ชีโหลน เมืองสุวรรณภูมิ ไดชักชวนครอบครัวไดประมาณ ๓๓๐ ครอบครัว อพยพมาต้ังบานเรือนขึ้น
ใหมอีกแหงหน่ึง เรียกวา บา นบึงบอน ตอ มา พ.ศ. ๒๓๔๐ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟาจุฬาโลก มี
พระบรมราชโองการยกฐานะใหเปน "เมืองขอนแกน"แตงตั้งให "ทาวสัก" เปนเจาเมืองขอนแกนคน
แรก มีนามวา "พระนครศรีบริรักษ" เนื่องจากชนช้ันปกครองเมืองตาง ๆ ในภาคอีสาน ซ่ึงมีเชื้อสาย
เน่ืองมาจากนครเวียงจันทน เมื่อทาวเมืองแพน หรือพระนครศรีบริรักษ บรมราชภักดี ไดต้ังเมือง
ขอนแกนข้ึนท่ีบานบึงบอนแลวก็ไดเริ่มสรางวัดขึ้น ๔ วัด ตามแบบประเพณีโบราณเน่ืองจากวัดเหนือ
(วัดธาต)ุ เปนวดั สาํ หรบั เจาเมือง
วัดธาตุ มีเจาอาวาสผูปกครองวัดสืบตอกันมามากกวาศตวรรษ เจาอาวาสอาจจะมี
ตําแหนงเปนพระครูหลักคํา พระครูสังฆราช พระครูดาน พระครูฝาย พระครูยอดแกวหรือพระครู
ลูกแกว ตามศักดิ์ท่ีใชเรียกตําแหนงสมณศักด์ิในสมัยน้ันมาบางแลวหลายรูป แตไมสามารถจะหา
หลักฐานมายืนยันได วัดธาตุแมจะมีปูชนียสถานคือพระธาตุเจดียอยูก็จริง แตพระเจดียหลายองค ก็
ชาํ รุดทรุดโทรมพังทลายไปเกือบหมดสิ้น จนไมสามารถจะสงั เกตไดวาองคไหนเปนพระธาตุด้ังเดิม ซึ่ง
เจาเพี้ยเมืองแพนไดส รางขน้ึ หลกั ฐานใด ๆ ก็ไมมีปรากฏ

๓๓ ไปดวยกัน, บึงแกนนคร ขอนแกน, [ออนไลน], แหลงที่มา: https://www.paiduaykan.
com/travel, [๒๓ มกราคม ๒๕๖๔].

๒๔

วัดกลาง ตั้งอยูที่บาน เมืองเกา เปนวัดคูบานคูเมืองจังหวัดขอนแกน สรางขึ้นเม่ือป
พุทธศักราช ๒๓๓๓ โดยพระนครศรีบริรักษ บรมราชภักดี (ทาวเพียเมืองแพน) เจาเมืองขอนแกนคน
แรก เปนผูกอสรางพรอมการต้ังเมืองขอนแกน เปนวัดท่ีอยูระหวางวัดเหนือ (ปจจุบันวัดหนองแวง
พระอารามหลวง) และวดั ใต (ปจจุบันวัดธาตุ พระอารามหลวง)

วัดหนองแวง (พระมหาธาตุแกนนคร) ตั้งอยูที่ถนนกลางเมือง ริมบึงแกนนคร อําเภอ
เมือง ภายในวัดหนองแวงเมืองเกาซึ่งเปนพระอารามหลวง มีพระมหาธาตุแกนนคร หรือ พระธาตุ
เกาชั้นฐานสี่เหลี่ยมกวางดานละ ๕๐ เมตร เรือนยอดทรงเจดียจําลองแบบจากพระธาตุขามแกน
จัดสรางขึ้น เนื่องในวโรกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงครองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ป
และมหามังคลานุสรณ ๒๐๐ ป เมืองขอนแกน ความสูงขององคพระธาตุฯ ๘๐ เมตร มีพระจุลธาตุ
๔ องค ตั้งอยู ๔ มุมและมีกําแพงแกวพญานาค ๗ เศียรลอมรอบ เปนศิลปะสมัยทวาราวดี
ผสมผสานศิลปะอินโดจีน ซึ่งเปนลักษณะแบบชาวอีสานตากแหตอมาป พ.ศ.๒๕๑๒ นายสวาสดิ์
เศวตจินดา เปนวิศวกร กํากับการกองบํารุงทางเขตขอนแกนไดเชิญอาจารย ฐิติ เฮงรัศมี อาจารย
คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน มาทาํ การออกแบบปรับปรุง คือทาสีขอนเปนสี
ดํา เขียนตัวหนังสือสีขาว และตกแตงสวนหยอมรอบ ๆ บริเวณที่ตั้งขอนแกน ตอมา ป พ.ศ.
๒๕๓๙ การรถไฟฯ ไดยกถนนใหเทศบาลนคร ขอนแกนเปนผูปรับปรุง และมีเงื่อนไขใหปรับถนน
วงเวียนและขอนไมดวย ทางเทศบาลฯ จึงไดมอบ ใหเอกชนมาดาํ เนินการปรับปรุงตกแตง

วัดโพธ์ิ เปนวัดท่ีมีความเกาแกทางประวัติศาสตร และมีความสําคัญของเมืองขอนแกน มี
การศึกษาพระปริยัติธรรมและการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานของพระสงฆ ตลอดถึงอุบาสกอุบาสิกา
และยังไมทราบแนชดั วาใครเปนคนสรางและสรางมาตั้งแตเมื่อใด แตเทาที่สืบทราบตามหลักฐานทาง
โบราณวัตถุตลอดถึงคําบอกเลาของคนเฒาคนแก เชน มีพระอุโบสถหลังเกา (สิม) จากการตรวจสอบ
ของกรมศลิ ปากรพบวาสิมแหงนมี้ ีอายุไมน อยกวา ๒๐๐ กวาป ถารวมถึงอายกุ ารสรางวัดดว ยคงมีอายุ
ไมตํ่ากวา ๓๐๐ ป เพราะเปนวัดที่มีมากอนทที่ าวเพียเมืองแพนจะมาสรางบานบึงบอน เมื่อสรางเมือง
เสร็จแลว กม็ ีการบูรณะปฏิสังขรณวดั เกาข้ึนมาตามประวัติการสรางวัดคูเมืองขอนแกน ปจ จบุ ันวัดโพธิ์
บานโนนทัน ไดรบั การคัดเลือกใหเปนสาํ นักปฏิบัติธรรมประจําจังหวดั ขอนแกน แหงที่ ๑ ซ่ึงทางวัดมี
ความพรอ มทางดานสถานท่ี บคุ ลากร และอปุ กรณในดา นตา ง ๆ ในแตละปจะไดรับความไววางใจจาก
หนวยงานราชการ เอกชน และรวมถึงสถาบันการศึกษาหลายแหง เขามาฝกอบรม และปฏิบัติธรรม
รวมถึงใชสถานที่ในงานพิธีการของแตละองคกรดวย เน่ืองจากทางวัดโพธ์ิ ไดจัดสถานที่ไวสําหรับ
อบรมประชาชนประจําตําบลในเมืองโดยเฉพาะ ซึ่งสามารถรองรับโครงการตาง ๆ จากทางภาคสวน
รัฐบาล และรวมถึงทองถิ่นไดเปนอยางดี ดวยเหตุน้ี ทางวัดโพธ์ิ บานโนนทัน ตําบลในเมือง อําเภอ
เมือง จังหวัดขอนแกน มีสาขา ไดแก ๑) ศูนยปฏิบัติธรรมหลวงปูโพธิ์ ตําบลในเมือง อําเภอเมือง
จังหวัดขอนแกน ๒) วัดปาภูกระแต อําเภอนําพอง จังหวัดขอนแกน ซึ่งเปนสถานท่ีสําหรับรองรับผู
ปฏิบตั ิธรรมทส่ี นใจในการปฏบิ ัติและสะดวกตอ การสญั จรในพน้ื ทีน่ นั้

วัดเสาเดียว “วัดเสาเดียว” หรือ One Pillar Pagoda สรางขึ้น เมื่อป ค.ศ.๑๐๔๙ (เม่ือ
๙๗๐ ป กอ น) ใกลก รุงโฮจิมินต - เมืองการคา การลงทุน ทางตอนใตของประเทศ เปนท่สี ักการะ บชู า

๒๕

เส่ือมใส ของชาว และเพ่ือความเปนสิริมงคล ยึดเหน่ียวทางจิตใจ ชาวเวียดนามไปตั้งรกรากท่ีใด
มกั จะสรางวัดเสาเดียว จาํ ลองไวท ี่พ้นื ที่นน้ั ๆ ที่นครขอนแกน ก็เชนกัน

สวนมิตรภาพ ขอนแกน – หนานหนงิ สําหรับอาคารวัฒนธรรมและสวนมติ รภาพ ขอนแกน
- หนานหนิง กอสรางเปนอาคาร ๒ ช้ัน มีศาลาพักผอน และลานอเนกประสงค ประดับลวดลายมังกร
นูนตํ่า และงานประติมากรรม รวมมูลคาการกอสรางกวา ๒๑ ลานบาท โดยแบงการสนับสนุน
งบประมาณ ออกเปน ๓ สวน คือ งบประมาณจากเทศบาลนครหนานหนิง ๗ ลานบาท งบประมาณ
จากจงั หวดั ขอนแกน ๗ ลานบาท และงบประมาณจากเทศบาลนครขอนแกน ๗ ลานบาท

โฮงมูนมังเมืองขอนแกน เปนสถานท่ีเก็บรวบรวมเร่ืองราวอันเปนท่ีมาของเมืองขอนแกน
ตั้งแตแนะนําเมือง ประวัติศาสตรของเมือง การตั้งเมือง วิถีชีวิตและขอนแกนในปจจุบัน เปน
พพิ ิธภัณฑท่ีสะทอ นใหเห็นถึงสภาพชีวิตและเปนศนู ยกลางการศึกษาคน ควาขอมูลประวตั ิศาสตรเมือง
ขอนแกนตั้งอยทู ่ีถนนรอบบึง ตาํ บล ในเมอื ง อําเภอ เมอื ง จังหวัด ขอนแกน บริเวณช้ันลางของอาคาร
สวนสาธารณะ ๒๐๐ ป ริมบึงแกนนครดานทิศตะวันออกเฉียงเหนือ เปนพิพิธภัณฑประจําเมือง
ขอนแกน ท่ีจัดสรางขึ้นดวยงบอุดหนุนของการทองเท่ียวแหงประเทศไทย (ททท.) จํานวน ๑๘ ลาน
บาท เมื่อป พ.ศ. ๒๕๔๐ แลวเสร็จและเปดใหบริการในป ๒๕๔๖ ปจจุบันบริหารจัดการโดยองคกร
ปกครองสวนทองถ่ิน “โฮงมูนมัง” ในภาษาอีสานแปลวาหอเก็บสมบัติ (คําวา “โฮง” หมายถึง โรง
หรือหองโถงท่ีมีขนาดใหญ สวน คําวา “มูลมัง” หมายถึง ทรัพยสมบัติหรือมรดก) “สมบัติ” ที่โฮง
มูนมังเมืองขอนแกนเก็บรวบรวมไว ไดแก เรื่องราวตาง ๆ ของขอนแกน โดยมีจุดประสงคใหเปน
พิพิธภัณฑท่ีสงเสริมใหคนในทองถ่ินไดรับรูประวัติศาสตรความเปนมาของชุมชน เกิดความเขาใจ
ความหมายและคุณคาของภูมิปญญาและวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามของขอนแกนซึ่งแฝงไวดวยแง
คิดและคติสอนใจ โดยหวังวาจะชวยกระตุนใหชุมชนเกิดจิตสํานึกรักและหวงแหนทองถ่ินของตนเอง
รวมทั้งเปนศูนยกลางการศึกษาคนควาขอมูลเกี่ยวกับประวัติศาสตรและศิลปวัฒนธรรมของเมือง
ขอนแกน

ศาลเจาพอมเหศักดิ์ หรือ ศาลหลังเมือง เดิมมีช่ือวา ศาลเจาปูโตงมเหศักด์ิหลักเมือง เมื่อ
ป พ.ศ. ๒๕๔๓ ไดเปลี่ยนช่ือมาเปน ศาลเจาพอมเหศักดิ์ เปนที่เคารพของประชาชนในพ้ืนที่ ในวัน
สงกรานต จะตองแหรอบบานและจะบวงสรวง เล้ียง เซนไหว บูชาในวันพระ กันเปนธรรมเนียม
ปฏิบัติเน่ืองจาก ศาลเจาพอมเหศักด์ิ นั้นอยูในบริเวณบึงแกนนคร ทางเขาจึงสามารถไปไดหลายทาง
แตถนนเสนหลกั ท่ีงายทสี่ ุด ก็คอื ถนนกลางเมอื ง จากนครราชสีมา วง่ิ บนถนนเสนมติ รภาพ มุงหนาไป
ขอนแกน ตรงไปเรอ่ื ย ๆ จนผานการไฟฟาฝายผลิตขอนแกน ใหเตรยี มชิดขวา เพื่อเขาถนนเหลานาดี
ตรงไปเร่ือย ๆ จนผานแยกท่ีตัดถนนกลางเมืองใหตรงไป จนสุดทางเจอสามแยก เลี้ยวซายเขาถนน
รอบบงึ ตรงไปสักพัก จะพบศาลเจาพอมเหศกั ดิ์

อนุสาวรีย พระนครศรีบริรักษ ต้ังอยูทางดานทิศเหนือของบึงแกนนคร บริเวณสนามเจซีเกา
ตรงส่ีแยกชอง ๔ (เพราะฝง ตรงขา มเดิมทจี ะเปนสถานที่ตง้ั ของ สถานีโทรทัศนช อง ๔ หรอื ชอง ๑๑ หรือ
NBT ในปจจุบัน) กอสรางขึ้นเมื่อป พ.ศ. ๒๕๔๕ เพ่ือระลึกถึง "ทาวเพี้ยเมืองแพน" ผูสรางเมืองขอนแกน
ทุก ๆ ปในชวงเทศกาลสงกรานต ชาวขอนแกนจะรวมกันประกอบพิธีบวงสรวง "อนุสาวรีย พระนครศรี
บริรักษ หรือ ทาวเพี้ยเมืองแพน" เพ่ือความเปนสิริมงคลและปกปองคุมภัยใหประชาชนชาวขอนแกนมี

๒๖

ความสขุ ความเจรญิ เดิม ทาวเพี้ยเมอื งแพน เปนขุนนางเช้ือพระวงศกษัตรยิ เวียงจันทร มีธดิ าชื่อ "นางคํา
แวน " เปนสนมเอกในพระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ในป พ.ศ. ๒๓๒๕ เจาพระยามหา
กษัตริยศึก ไดขึน้ ครองราชยสมบัติและไดส ถาปนาเปน "พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก รชั กาล
ท่ี ๑ แหงรัตนโกสินทร" และ นางคําแวน ไดรับพระกรุณาธิคุณ โปรดเกลาฯ ใหเปน "เจาจอม" ใน
ขณะเดียวกัน "เพ้ียเมืองแพน" ไดอพยพไพรพลจากเมืองทุรคม แขวงเวียงจันทนขามแมน้ําโขงมาอาศัย
อยูท่ี "ชีโลน" แขวงเมืองสุวรรณภูมิ (อําเภออาจสามารถ จังหวัดรอยเอ็ดในปจจุบัน) และเม่ือป พ.ศ.
๒๓๓๒ "เจาจอมคําแวน" ไดกราบบังคมทูลพระกรุณาให "ทาวเพี้ยเมืองแพน" แยกตัวออกจากแขวง
สุวรรณภูมิ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหยกบานบึงบอน
(โนนทอง) ข้ึนเปนเมือง โดยให "ทาวเพี้ยเมืองแพน" เปนเจาเมืองขึ้นตรงกับเมืองนครราชสีมา ตอมาในป
พ.ศ. ๒๓๔๐ "ทาวเพี้ยเมืองแพน" ไดรับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกลาฯ เปน "พระนครศรีบริรักษ" เจา
เมืองคนแรกของขอนแกนและไดยกเมืองขอนแกนขึ้นเปนเมืองสําคัญปลายราชอาณาเขต ขึ้นตรงตอ
กรุงเทพมหานครฯ โดยมใี บตราตงั้ เปนเมืองอยางเปนทางการ

ตารางท่ี ๒.๒ สรุปแนวคิดเกี่ยวกับการสง เสริมการทองเทยี่ ว

นักวชิ าการหรอื แหลงขอมูล ผลการวจิ ยั
ราณี อสิ ชิ ัยกลุ , (๒๕๕๗). หนา ๓ - ๔. การทอ งเทย่ี ว (Tourism) หมายถงึ กิจกรรมใด ๆ
ปรชี า แดงโรจน, (๒๕๔๔), หนา ๓๐ - ๓๑. ทีเ่ ก่ยี วของกับการเดนิ ทางของบคุ คลจากที่อยู
อาศัยปกตไิ ปยังท่ีอ่นื เปนการช่วั คราวดว ยความ
สมคั รใจ เพ่ือวัตถุประสงคใ ด ๆ ที่ไมใชเ พ่ือการหา
รายได
ความสําคญั ของการทองเทีย่ วไว ๓ ดาน ไดแก
๑) ดา นการพฒั นา (Development) โดยเมอ่ื เกิด
การเดนิ ทางเขาไปถงึ แหลง ทอ งเทย่ี วการพัฒนา
ความเจรญิ ไปยังภูมภิ าคนัน้ ๆ อาทิ ระบบ
สาธารณูปโภค การคมนาคม โรงแรม ภตั ตาคาร
และรา นคา
๒) ดา นเศรษฐกิจ (Economics) การทองเทย่ี ว
กอ ใหเกิดรายไดในรูปเงนิ ตราตา งประเทศเปน
จํานวนมากเม่ือเทยี บกบั การผลติ ดานอื่น ๆ ๓)
ดานสังคม (Social) การทองเทยี่ วเปนสวนหนึ่ง
ในการมนุษยส มั พนั ธของมนุษยในการแลกเปล่ียน
วฒั นธรรม และการสรา งความเปนมติ ร
๓) ดานสังคม (Social) การทองเท่ยี วเปนสว น
หนง่ึ ในการมนุษยสมั พนั ธของมนุษยใ นการ
แลกเปลย่ี นวฒั นธรรม และการสรางความเปน
มติ รไมตรี

นกั วิชาการหรือแหลงขอมูล ๒๗
การทองเท่ียวแหงประเทศไทย, (๒๕๔๔), หนา
๔. ผลการวจิ ัย
ไพฑรู ย พงศะบุตร, (๒๕๕๓) การทองเทยี่ วเชงิ นิเวศเปน การทองเทยี่ วเฉพาะ
อดุ ม เชยกวี งศ, (๒๕๕๔) หนา ๗๐ - ๗๑. ทางทม่ี ีความคลา ยคลงึ กบั การทองเที่ยวเชิง
ราณี อสิ ิชัยกลุ , (๒๕๕๗) หนา ๒๐๘ - ๒๐๙. ธรรมชาติ หรือการทองเที่ยวอนื่ ๆ เชน การ
ทองเทีย่ วชนบท การทองเที่ยวเชิงเกษตร
อดุ ม เชยกีวงศ, (๒๕๕๔) หนา ๗๐ - ๗๑. การทอ งเทยี่ วเพ่ือเรยี นรูเก่ยี วกบั สง่ิ แวดลอ มทาง
ธรรมชาติ และการดาํ รงชีวติ ของส่งิ มชี วี ติ ตาง ๆ
นชุ นารถ รตั นสุวงศช ัย, (๒๕๕๔) หนา ๑๘(๑), ทงั้ พชื สตั ย และมนุษย เปน รูปแบบของการ
๓๑ - ๕๐. ทอ งเทยี่ วทน่ี ักทองเทีย่ วไดเรียนรู
ฉันทัช วรรณถนอน, (๒๕๕๔) หนา ๔๔. การทองเทย่ี วทมี่ ีความรบั ผดิ ชอบในแหลง
ทอ งเท่ยี วธรรมชาติทีม่ ีเอกลักษณเ ฉพาะถิ่น และ
แหลง วัฒนธรรมท่ีเก่ียวเน่ืองกับระบบนิเวศ
สิ่งแวดลอ ม และการทองเทย่ี วโดยมกี ระบวนการ
เรียนรู
การทองเทย่ี วเชิงนิเวศเปนการทองเทีย่ วเฉพาะ
ทางทม่ี ีความคลา ยคลงึ กบั การทอ งเท่ยี วเชงิ
ธรรมชาติ หรอื การทองเทย่ี วอ่ืน ๆ เชน การ
ทองเท่ยี วชนบท การทองเที่ยวเชิงเกษตร แตก าร
ทอ งเทย่ี วเชิงนเิ วศเปนการทองเทย่ี วทีใ่ ห
ความสาํ คญั ตอการอนุรกั ษส ่งิ แวดลอ ม
แหลงทอ งเที่ยวจะตองมีองคประกอบสําคัญของ
การทอ งเที่ยวเชิงนเิ วศ มงุ เนนการทองเท่ยี วอยาง
มคี วามรบั ผิดชอบ มุงเนนใหความรแู ละเกิด
ประสบการณใหแกนักทองเที่ยว ใหม จี ิตสํานกึ ตอ
สภาพแวดลอมและวฒั นธรรมทอ งถน่ิ โดย
ประชาชนในทอ งถ่ิน
เปนรปู แบบการทองเทย่ี วทน่ี ักทองเทย่ี วไดรับแรง
ดลใจหรอื สิง่ กระตนุ ใหเดินทางไปยังจดุ หมาย
ปลายทางน้นั ซ่งึ ครอบคลุมถึงงานสรางสรรค
ประเพณขี นบธรรมเนียม และกิจกรรมตา ง ๆ
ของชุมชน
การทอ งเทีย่ วเชงิ วฒั นธรรม เปน การทองเที่ยวซง่ึ
มจี ดุ สนใจอยูวฒั นธรรมความเปน อยขู องผูคน
ตลอดจนแหลง โบราณสถาน ประเพณี และศิลปะ
แขนงตาง ๆ

นกั วิชาการหรอื แหลงขอมูล ๒๘
ศริ ิ ฮามสโุ พธิ์, (๒๕๔๓) หนา ๖๓ - ๖๕.
บญุ เลศิ จิตต้ังวัฒนา, (๒๕๔๘) หนา ๑๖๘ - ผลการวจิ ยั
๑๖๙. การทอ งเที่ยวเชงิ วฒั นธรรมเปนการเดินทางเพ่ือ
สมั ผสั และการเขารว มใชว ิถีชวี ติ แบบเกา ๆ ท่ี
เทิดชาย ชวยบาํ รุง, (๒๕๕๕) หนา ๓๒ - ๓๓. กําลงั สญู หายไปในบางทองถิ่น เพื่อใหมีความ
รงั สมิ า มน่ั ใจอารย, (๒๕๕๕) หนา ๑๘ - ๒๙. เขา ใจอยางลกึ ซง้ึ ถงึ ประวตั คิ วามเปนมา การ
ดาํ เนินชีวติ ท่แี ตกตา งไปจากวัฒนธรรมของตน
ชาญวิทย เกษตรศริ ิ (๒๕๔๐), หนา ๑-๑๐ บุญเลศิ จติ ตัง้ วฒั นา ไดก ลา วถึง หลกั การ
อนรุ กั ษ ปญ ญานุวตั น (๒๕๔๒), หนา ๑๓ ทอ งเทยี่ วเชงิ ศลิ ปวฒั นธรรมไว ๔ ประการ
๑) เปนการทองเที่ยวท่ีมีการศึกษารวบรวมขอมูล
เกยี่ วกับความสาํ คญั คณุ คาทางประวัตศิ าสตร
๒) เปนการทองเทย่ี วท่ีมกี ารปลกู ฝงจิตสาํ นึกของ
คนในชุมชนทองถ่ินใหเกิดความรกั หวงแหน
รกั ษา
๓) เปน การทองเทยี่ วที่มีการใหค วามรแู ก
นักทองเทยี่ ว เพ่ือใหเ กดิ ความเขาใจในวัฒนธรรม
๔) เปน การทองเที่ยวท่ีมกี ารเคารพวัฒนธรรม
ของเพื่อนบา น หรอื ชมุ ชนอนื่ รวมทัง้ เคารพใน
วฒั นธรรม
การทอ งเทย่ี วเปน อุตสาหกรรมท่ี “ไรต ัวตน”
เพราะเกิดจากการรวมตวั ของอุตสาหกรรมอ่นื ๆ
รังสิมา กลาวไววา การทองเที่ยวจะเกิดขนึ้ ไดต อง
ประกอบดว ยองคป ระกอบที่สําคญั ๒ สว น คอื
๑) องคประกอบหลกั การทองเที่ยว เปน ปจจยั ท่ี
เปน องคประกอบหลักของการทอ งเทย่ี ว หากขาด
ปจจัยใดปจจัยหนง่ึ การทองเท่ียวไมสามารถ
เกดิ ขน้ึ ได
๒) องคป ระกอบสนับสนนุ การทองเทยี่ ว
การสงเสรมิ การทอ งเทย่ี วหมายถงึ วิธกี ารศึกษา
ประวตั ิศาสตรและวัฒนธรรมผา นการเดนิ ทาง
ทอ งเท่ียว เปน การทองเท่ียวท่ีเนนการพัฒนาดาน
ภูมปิ ญ ญา สรา งสรรค เคารพตอส่งิ แวดลอม
วฒั นธรรม ศักดิศ์ รีและวถิ ชี ีวิตผคู น
การสงเสรมิ การทอ งเท่ยี วหมายถงึ เปนการ
เดนิ ทางทองเทีย่ วท่ีครอบคลุมทกุ แงทกุ มุมของ
การทอ งเทยี่ วท่ีมนุษยสามารถศกึ ษาถงึ วิถีชีวิต
และความนึกคิดซึ่งกันและกัน

๒๙

นักวชิ าการหรือแหลงขอมูล ผลการวจิ ยั
ภสู วัสดิ์ สขุ เล้ียง (๒๕๔๕), หนา ๓๙ การสง เสริมการทอ งเทย่ี ว หมายถึงการทอ งเท่ียว
วาลกิ า แสนคํา (๒๕๔๕), หนา ๓๔ เพื่อการเรยี นรูผ ูอน่ื และยอ นกลบั มามองตนเอง
อยา งเขาใจ วัฒนธรรมกบั มนุษยมคี วามสัมพนั ธ
ไกรฤกษ ปนแกว (๒๕๕๕) กนั อยางแยกไมออก เพราะวัฒนธรรมเขา มามี
สาํ นกั งานพฒั นาการทองเทย่ี ว (๒๕๔๖) บทบาทในวิถชี วี ิตมนุษยอยตู ลอดเวลา
นศิ า ชัชกุล (๒๕๕๐) การสง เสริมการทอ งเทีย่ ว หมายถึงการ
เคลือ่ นไหวของผคู นท่เี กิดข้นึ จากปจจัยกระตนุ
ทางวฒั นธรรม เชน การเดนิ ทางทอ งเทีย่ วเพ่ือ
การศึกษา การเดนิ ทางทองเท่ียวเพือ่ ช่ืนชม
ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี เทศกาล การเขา เยย่ี ม
ชมอนุสรณสถานการเดนิ ทางเพือ่ ศกึ ษา
ขนบธรรมเนยี มความเชื่อที่สบื ทอดกันมาของ
ชมุ ชนทอ งถน่ิ ตลอดจนความเชอื่ ทางศาสนา
การสง เสรมิ การทอ งเทย่ี ว หมายถงึ การทอ งเทยี่ ว
ทไ่ี ดน าํ เอาวฒั นธรรมมาเปน จุดขายเพ่ือดึงดูด
ความสนใจของนกั ทองเท่ียวชาวตางประเทศ
การทอ งเทยี่ ว หมายถึง การเดินทางเพ่ือผอ น
คลายความเครียด แสวงหาประสบการณแปลก
ใหม
การทอ งเทย่ี ว หมายถึง กจิ กรรมการเดนิ ทางจาก
จดุ หนงึ่ ไปยังอกี จุดหน่ึง ซึ่งนบั ตั้งแตจ ดุ เริม่ ตน ถึง
ปลายทาง

๒.๓ แนวคิดเก่ียวกับองคกรปกครองสวนทอ งถนิ่

จากการศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับองคกรปกครองสวนทองถ่ินของนักวิชาการหลายทาน
ผูวิจัยไดประมวลแนวคิดเก่ียวกับเก่ียวกับองคกรปกครองสวนทองถ่ิน ท้ังความหมาย ความเปนมา
ลกั ษณะ ความสาํ คญั ประเภท และประโยชนของหลกั ธรรมาภิบาล มีรายละเอียดดังตอ ไปน้ี

๒.๓.๑ ความหมายของการปกครองสวนทอ งถิ่น
การปกครองทองถน่ิ มีความหมายท่ีเก่ียวพันกับอํานาจอยางแยกออกจากกันไดยาก ฉะน้ัน
การปกครองทองถ่ินจึงหมายถึงการปกครองที่รัฐบาลในสวนกลางใหอํานาจ หรือกระจายอํานาจไปให
หนวยการปกครองทองถ่ิน เพ่ือเปดโอกาสใหประชาชนในทองถ่ินไดมีอํานาจในการปกครองรวม
รบั ผดิ ชอบทั้งหมด หรอื แตเพียงบางสว นในการบรหิ ารงานทองถ่ินของตน ท้ังนี้เปนไปตามแนวคิดที่วา
ถาอํานาจการปกครองมาจากประชาชนในทองถิ่นแลว รัฐบาลของทองถ่ินก็ยอมจะเปนรัฐบาลของ

๓๐

ประชาชน โดยประชาชน และเพื่อประชาชนในทองถ่ินนั้น ๆ สําหรับความหมายของการปกครอง
ทอ งถ่นิ น้นั ยกตัวอยางได ดังน้ี

Griffith (กริฟฟท) อธิบายวา การปกครองสวนทองถิ่นเปนการปกครองท่ีตองเปนสวน
หนึ่งของรัฐบาล และรัฐธรรมนูญ ตอ งมีพ้ืนที่เฉพาะระบุวาเปนของทองถิ่น และตองมีเขตการปกครอง
ทีไ่ มใชทงั้ หมดของประเทศ33๓๔

อัลเดอรเฟอร (Alderfer) อธิบายวา รูปแบบ และโครงสรางของการปกครองทองถิ่นเปน
ผลผลิตทางประวัติศาสตรซ่ึงพัฒนามาควบคูกับอารยธรรม และอาจมีเนื้อหาภายในท่ีตางไป เพราะเปน
ส่งิ ที่เกิดมาควบคูก ับวิถีชีวติ ของสังคม และเปน รูปแบบทกี่ อใหเกิดความสัมพนั ธเชิงอํานาจ34๓๕

บารเบอร (Barbe) อธิบายวา การปกครองทอ งถ่ิน หมายถึง การมีองคการตัดสินใจ และ
บรหิ ารภายในพ้ืนท่ีจํากัด และมีขนาดเล็กกวา รัฐทง้ั หมด35๓๖

Stewart John (สจวต) อธิบายวา การปกครองสวนทองถ่ินเปนสถาบันทางการเมืองท่ี
ตั้งขนึ้ เพ่อื เปนทางเลือกในการปกครองทองถนิ่ และเปน องคการท่ตี ัง้ ขน้ึ เพือ่ ใหบริการประชาชน36๓๗

Jones, Michael. (โจนส) อธิบายวา ระบบการปกครองสวนทอ งถิ่นทปี่ ระสบความสาํ เร็จ
จําเปนตองมีความเชื่อเก่ียวกับคุณธรรมของประชาธิปไตยระดับรากหญา ความเช่ือนี้ควรสอดคลอง
กบั การออกแบบระบบการเมืองในรัฐธรรมนูญ และเปนส่ิงที่สําคัญกวาระบบการจัดการท่ีดีท่ีสุด หรือ
การปกครองทองถ่นิ สว นทองถิ่นท่ีมีประสิทธิภาพ37๓๘

Wilson, David, and Game, Chris. (วิลสัน และเกม) นิยามวา การปกครองสวน
ทองถิ่นเปนรูปแบบการกระจายอํานาจทางการเมืองตามพื้นที่ภูมิศาสตร ซึ่งมีสภาที่มาจากการ
เลือกตั้งโดยตรง สรางข้ึนโดยรัฐสภา และอยูต่ํากวารัฐสภามีอิสระบางสวน เพ่ือใหบริการหลายอยาง
ทงั้ ทางตรง และทางออ ม และไดเ งนิ ทุนบางสว นจากภาษอี ากรของทองถิ่น38๓๙

๓๔ Griffith, J. A. G., Principles of local government law, ( London: University of
London Press, 1960).

๓๕ Alderfer, Harold, Local government in developing countries, (New York:
McGrawHill, 1964), p. 17.

๓๖ Barber, Michael P., Local government, 4th ed., (London: Macdonald & Evans, 1987),
p. 3.

๓๗ Stewart John., Understanding the management of local government : Its
special purpose, conditional and tasks, (London: Longman Group, 1988), p. 3.

๓๘ Jones, Michael., Managing local government : Leadership for 21st century,
(Melbourne: Hargreen Publishing Company, 1989), p. 10.

๓๙ Wilson, David, and Game, Chris., Local government in The United Kingdom,
(London: Macmillan Press, 1994).

๓๑

Bryne, Tony (เบิรน) อธิบายวา คุณลักษณะที่ทําใหการปกครองสวนทองถ่ินเปน
รูปแบบการบริหารภาครัฐที่แตกตางจากการบริหารอื่นมี ๖ ประการ ไดแก (๑) การปกครองสวน
ทอ งถิ่นมาจากการเลือกต้ัง (elected) แมบางเขตอาจมีขนาดเลก็ พอท่ีจะประชมุ ประชาชนไดท้ังหมด
แตสวนใหญประกอบดวยตัวแทนท่ีมาจากการเลือก และกอต้ังเปนสภาทองถิ่น จากนั้นจึงเลือก
เจาหนาที่ประจํา (๒) มีวัตถุประสงคหลายอยาง (multi-purpose) ทุกทองถิ่นมีงานที่ตองทําหลาย
อยา ง และใหบริการหลายดาน แตละแหงอาจตองรบั ผิดชอบตอ การบริการของโรงเรยี น บา นผูสงู อายุ
และศูนยฝกคนพกิ าร บรกิ ารดบั เพลิง สรา ง และบํารุงถนน จดั การจราจร ควบคุมสภาพแวดลอม โดย
การควบคุมการกอสราง และพัฒนาที่ดิน (๓) มีการปฏิบัติการในทองถ่ิน (local scale) การปกครอง
สวนทองถิ่นแตละแหงมีความรับผิดชอบเฉพาะในพ้ืนที่ของตน (๔) การปกครองสวนทองถิ่นมี
โครงสรางที่กําหนดไวค อนขางชัดเจน (a quite clearly defined structure) ซึ่งอาจมีโครงสรางการ
ปกครองชั้นเดียว หรือหลายชั้น (๕) เปนการปกครองลําดับรอง (subordinated) จากการปกครอง
ระดับชาติซ่ึงมีรัฐสภา และเปนผลมาจากพระราชบัญญัติที่ออกโดยรัฐสภา หรือรัฐธรรมนูญ ดังน้ัน
อาํ นาจหนาท่ีท้ังหมดของการปกครองสวนทองถ่ินจึงขึ้นอยูกบั กฎหมาย หากการปกครองสวนทอ งถิ่น
กระทํานอกเหนือกฎหมายก็จะถูกลงโทษเหมือนวิธีที่เอกชนถูกกระทํา และ (๖) มีระบบภาษีทองถ่ิน
(local tax system) สามารถเกบ็ ภาษที องถนิ่ ตอผอู ยูอาศยั หรือเก็บภาษธี ุรกจิ ในทอ งถ่ินได39๔๐

คอลเลอรี และวอลลิส อธิบายวา การปกครองสวนทอ งถิ่นเปน การอธิบายถึงการปกครอง
ท่ีมาจากการเลือกตั้งตามระบอบประชาธิปไตยในระดับที่ต่ํากวารัฐบาลกลาง ซ่ึงมีเขตการปกครองใน
พื้นที่ท่ีจํากัด รวมถงึ การอธิบายการปกครองที่มีลําดับช้นั ทัง้ ในรัฐเดี่ยว และรฐั รวมอยางอ่นื ทมี่ ลี ักษณะ
แตกตางออกไป40๔๑

Shah, Anwar and Shah, Sana (ชาห และชาห) อธิบายวา การปกครองสวนทอ งถ่ิน
หมายถึง สถาบันเฉพาะ หรือองคการท่ีเกิดโดยรัฐธรรมนูญแหงชาติ เชน บราซิล เดนมารก ฝร่ังเศส
อินเดีย อิตาลี ญี่ปุน และสวีเดน หรือโดยรัฐธรรมนูญของมลรัฐ เชนออสเตรเลีย และสหรัฐอเมริกา
หรอื โดยกฎหมายระดับสูงของรัฐบาลกลาง เชน นิวซีแลนด อังกฤษ และประเทศอื่น ๆ โดยสวนใหญ
หรือโดยกฎหมายของจังหวัด หรือของมลรัฐ เชน แคนาดา ปากีสถาน หรือโดยคําส่ังทางการบริหาร
เชน จีน ท้ังนีเ้ พ่ือจัดบริการเฉพาะแกพน้ื ท่ีตามภูมิศาสตรท่ีมีขนาดคอนขา งเลก็ 41๔๒

วิญู อังคณารักษ อดีตปลัดกระทรวงมหาดไทย ไดใหความหมายของการปกครอง
ทองถิ่นไววา หมายถึง การปกครองในรูปลักษณะกระจายอํานาจการปกครองบางอยาง ซ่ึงรัฐได

๔๐ Bryne, Tony., Local government in Britain, 6th ed,. (London: penguin Books, 1994),
pp. 2-3.

๔๑ Dollery, Brian E., and Wallis, Joe L., The political economy of local government:
Leadership reform and market failure, (Massachusetts: Edward Elgar Publishing, 2001), pp.1-2

๔๒ Shah, Anwar and Shah, Sana., The new vision of local governance and the
evolving roles of local governments. In Shah, Anwar, ed. Local governance in developing
countries, (Washington, D.C.: The World Bank, 2006), pp. 1-2.

๓๒

มอบหมายใหทองถ่ินทํากันเอง เพ่ือใหประชาชนในทองถิ่นไดมีโอกาสปกครอง และบริหารงานของ
ทอ งถ่ินดวยตนเอง เพื่อสนองความตองการสวนรวมของประชาชนในทองถ่ินน้ัน ใหงานดําเนินไปอยาง
ประหยัด มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ตรงกับความประสงคของประชาชน โดยเหตุท่ีวาประชาชนใน
แตละทองถ่ินยอมจะทราบความตองการของทองถิ่นน้ัน ๆ ไดดีกวาบุคคลอื่น และยอมมีความผูกพัน
ตอทองถิ่นน้ัน ๆ ยิ่งกวาผูอื่น โดยการจัดใหมีเจาหนาที่ซึ่งราษฎรในทองถ่ินไดเลือกตั้งข้ึนมาท้ังหมด
หรือแตบางสวนมาบริหารราชการในทองถ่ินนั้น โดยมีงบประมาณของตนเอง และมีอิสระในการ
บรหิ ารงานพอสมควร42๔๓

ประหยัด หงสทองคํา ใหความหมายการปกครองทองถ่ินวา หมายถึง รูปการปกครองที่
เกดิ จากระบบการกระจายอํานาจจากสว นกลางไปยังทองถิ่น เพ่ือวัตถุประสงคใ นอันท่ีจะใหประชาชน
ในทองถ่ินไดมีโอกาสเรียนรู และดําเนินงานตาง ๆ ในการปกครองทองถ่ินดวยตนเองเพื่อสนองตอบ
ความตอ งการ และแกปญหาดว ยตัวของตวั เอง43๔๔

โกวิทย พวงงาม อธิบายวา คําวา “ทองถ่ิน” หมายถึงเขตพ้ืนท่ีจําเพาะท่ีเปนสวนยอย
ของประเทศ ในแงการปกครองทองถ่ิน คือ เขตการปกครองที่กฎหมายปกครองของประเทศนั้น
กําหนด เชน ในตางประเทศแบงเขตการปกครองทองถ่ินเปนเมือง (town) นคร (city) และมหานคร
(metropolitan) เปนตน 44๔๕

๒.๓.๒ ความสําคัญของการปกครองทองถ่นิ
ความสาํ คญั ของการปกครองทองถิ่น มีความสําคญั ๔ ประการ
ประการแรก การปกครองทองถิ่นเปนวิธีการกระจายอํานาจการปกครอง หรือการแบง
เบาภาระของรัฐบาลในสวนกลางไปยังหนวยการปกครองทองถิ่น โดยใหหนวยการปกครองทองถิ่น
หรือประชาชนในทองถ่ินมีสวนรวม (participation) รับผิดชอบดําเนินกิจการบางอยาง เชน การ
บริหารงาน และการใหบริการแกประชาชนในทองถ่ิน โดยใชเจาหนาท่ีงบประมาณ ทรัพยากร และ
ความรูความสามารถของประชาชนในทองถิ่นเอง เพ่ือสนองความตองการ หรือเพื่อผลประโยชนของ
ประชาชนในทองถิ่นของตนเอง ทง้ั นส้ี ืบเนือ่ งมาจากความเชือ่ และแนวคิดวาประชาชนที่อยูในทองถ่ิน
ยอ มรูป ญ หา และสามารถแกไขปญ หาของตนเองไดด ีกวาบคุ คลภายนอกทองถิ่น
ประการที่สอง ในเวลาเดียวกัน การเมืองการปกครอง และการบริหารในระดับทองถ่ินเปน
รากฐานสาํ คญั ของการเมืองการปกครอง และการบรหิ ารในระดับสูงข้ึนไปตามระบอบประชาธิปไตย หรือ
กลาวอีกอยางหนึ่งไดวา เปนการฝกหัดประชาธิปไตยพื้นฐาน (basic democracy) โดยการปกครอง

๔๓ วิญู อังคณารักษ, แนวคิดการกระจายอํานาจการปกครองทองถ่ิน ในเอกสารประกอบการ
บรรยาย, (ม.ป.ท, ๒๕๑๙) (อดั สําเนา).

๔๔ ประหยัด หงสทองคํา, การพัฒนาเมืองโดยกระบวนการปกครองทองถ่ิน, (กรุงเทพมหานคร: นํา
อกั ษรการพิมพ, ๒๕๑๙), หนา ๔๐.

๔๕ โกวิทย พวงงาม, การจัดการตนเองของชุมชนและทองถิ่น, (กรุงเทพมหานคร: บริษัทบพิธการ
พมิ พ จํากัด, ๒๕๕๓), หนา ๒๗.

๓๓

ทองถ่ินจะชวยใหประชาชนไดมีโอกาสเตรียมตนเอง ฝกฝนตนเอง และพัฒนาตนเองทางดานการเมือง
การปกครอง และการบริหารอยางคอยเปนคอยไป อันจะทําใหประชาชนตระหนัก หรือเกิดความรูสึกท่ี
รัก หวงแหน ผูกพัน และรับผิดชอบกับทองถ่ินของตน (sense of awareness, sense of community,
sense of belonging, sense of responsibility) อันจะนําไปสูการเปนนักการเมืองระดับชาติ หรือเปน
ประชาชนท่ีมีทั้งคุณภาพ และคุณธรรม คือมีท้ังความรูความสามารถ ประสบการณ มีระเบียบวินัย มี
ความช่ือสัตยสุจริต เสียสละ และมีอุดมการณเพ่ือประชาชนสวนรวมอยางแทจริง ท้ังน้ีสืบเนื่องมาจาก
ความเช่ือและแนวคิดวา การเมืองการปกครอง และการบริหารในระดับชาติ หรือของประเทศตาม
ระบอบประชาธิปไตยมีอาจมั่นคง และมีประสิทธิภาพได หากนักการเมืองในระดับชาติ และประชาชนไม
มีพื้นฐานที่มั่นคง ซ่ึงการเปนนักการเมือง และเปนประชาชนที่มีพ้ืนฐานท่ีม่ันคงนั้น หนทางหน่ึงก็คือการ
ไดร บั การฝกหัด หรือมปี ระสบการณจ ากการปกครองในระดับทองถ่ินนั่นเอง45๔๖

ประการที่สาม การปกครองทอ งถิน่ จะชวยลดปญหาของเมืองหลวง และเปนการกระจาย
ความเจริญออกสูทองถ่ิน กลาวคือ การปกครองประเทศในลักษณะรวมศูนย หรือรวมการบริหารงาน
ทุกอยางของรัฐไวที่สวนกลาง หรือเมืองหลวงเพียงแหงเดียว ดังท่ีเรียกกันวา การรวมอํานาจ
(centralization) นั้น ตามความเปนจริงแลว หาใชเพียงการรวมอํานาจแตเพียงอยางเดียวไม แตเปน
การรวมเอาเจริญไวแตเฉพาะในสวนกลางดวย ทําใหเ กิดชองวาง หรือความแตกตางระหวางชนบทกับ
เมืองหลวงอยางมาก และเห็นไดชัดเจน ทั้งน้ีเพราะโดยธรรมชาติของมนุษยยอมตองพยายามด้ินรน
ตอสูเพื่อเขามาหาความเจริญ ซ่ึงมีอยูในสวนกลาง หรือเมืองหลวง เม่ือเปนเชนนี้ประชาชนท่ีอยูใน
ชนบทที่ประสบกับความทุกขยากดานการประกอบอาชีพ และรายได จึงทิ้งถิ่นที่อยูของตน และมุง
หนา เขาสูสว นกลาง หรอื เมอื งหลวง เพื่อหวังจะใหมสี ภาพความเปนอยู และมีรายไดท่ีดขี ึ้น การอพยพ
โยกยายเกินขึ้นอยางตอเน่ืองในท่ีสุดความเจริญก็ยิ่งรวมอยูในที่แหงเดียว ในเวลาเดียวกัน สวนกลาง
หรือเมืองหลวงเม่ือประชาชนเขามาอยูมากข้ึน ก็เกิดปญหาของชุมชนเมือง เชน ปญหาการจราจร
ติดขัด ปญหายาเสพติด ปญหาชุมชนแออัด ปญหาส่ิงแวดลอมเปนพิษ และปญหาอาชญากรรม เปน
ตน ปญหาย่ิงเกิดมากข้ึน หากรัฐบาลในสวนกลางไมพยายามกระจายอํานาจการปกครอง หรือการ
บรหิ ารบริหารไปสูทอ งถ่ิน หรอื แมแ ตกระจายอาํ นาจไปแลว แตหากไมจัดระบบการปกครองทองถิ่นให
มีประสิทธิภาพก็จะทําใหเกิดปญหาดังกลาวเชนเดียวกัน ดังน้ัน การกระจายอํานาจใหประชาชนไดมี
โอกาสปกครองตนเองก็จะเปนแนวทางสําคัญแนวทางหนึ่งที่จะชว ยลดปญหาของชุมชนเมืองดังกลาว
ได ขณะเดียวกันก็จะเปนการกระจายความเจริญสูทองถิ่นดวย ซ่ึงสอดคลองกับคํากลาวของ เอ.บี เล
วิล (A.B. Lewis) ท่ีวา ถาประเทศดอยพัฒนาตองการจะพัฒนาเศรษฐกิจใหสําเร็จ ส่ิงแรกที่ตองทําก็

๔๖ วิรัช วิรัชนิภาวรรณ, ดร. “การจัดรูปแบบการปกครองทองถ่ินในอนาคต : กรณีศึกษาจังหวัด
นนทบุรี นครราชสีมา และระนอง”, รายงานผลการวิจัย, (คณะกรรมาธิการปกครอง วุฒิสภาและสถาบันดํารงรา
ชานภุ าพ กระทรวงมหาดไทย, ๒๕๓๗), หนา ๓๗-๓๘.

๓๔

คือ การเปลี่ยนแปลงโครงสรางทางการปกครอง โดยใหหมูบาน และอําเภอที่หางไกลความเจริญไดมี
การปกครองตนเอง46๔๗

ประการท่ีสี่ การปกครองทองถ่ินเปนสิ่งแสดงถึงความเปนประชาธิปไตย โดยจะควบคูไป
กับการกระจายอํานาจตามระบอบประชาธิปไตย ประเทศท่ีเปนแมบทของการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตย เชน อังกฤษ และสหรัฐอเมริกา ลวนเปนประเทศท่ีมีหนวยการปกครองทองถิ่นท่ี
เขมแข็ง โดยประเทศดังกลาวจะยึดหลักกระจายอํานาจ และกระจายอํานาจทางดานการเมืองการ
ปกครอง ตลอดจนการบรหิ ารใหแกหนวยการปกครองทอ งถนิ่ อยางจรงิ จงั 47๔๘

๒.๓.๓ รปู แบบการปกครองสว นทองถิน่
การจัดรูปแบบการปกครองทองถิ่นเหลาน้ีเปนการจัดโดยคํานึงถึงสภาพเศรษฐกิจ สังคม
ของชุมชน กลาวคือ รูปแบบการปกครองทองถิ่น สําหรับทองถิ่นท่ีเปนชุมชนเมือง ไดแก เทศบาล
รูปแบบการปกครองทองถิ่นสําหรับทองถ่ินที่เปนชนบท ไดแก องคการบริหารสวนจังหวัด สวน
ทองถิ่นที่มีลักษณะชุมชนก่ึงเมืองกึ่งชนบทก็จัดรูปแบบสุขาภิบาล และทองถ่ินที่มีลักษณะความเจริญ
ทางเศรษฐกิจ สังคม สูงแตกตางจากพ้ืนท่ีโดยทั่วไปก็จัดเปนการปกครองทองถิ่นรูปแบบพิเศษ ไดแก
กรงุ เทพมหานคร เมืองพัทยา นบั แตป พ.ศ.๒๔๗๖ จนปจ จุบันไดมีการจัดรปู แบบการปกครองทอ งถิ่น
ของไทย ๖ รูปแบบ

๑) สุขาภิบาล การปกครองทองถิ่นในรูปสุขาภิบาลเร่ิมเปนครั้งแรกในสมัยของ
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว โดยไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชกําหนด
สุขาภิบาลกรุงเทพฯ พ.ศ. ๒๔๔๐ จัดการปกครองรูปสุขาภิบาลข้ึนในกรุงเทพฯ ใหอยูในบังคับบัญชา
ของ เสนาบดีกระทรวงนครบาล ตอมาในป พ.ศ. ๒๔๔๘ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว
ไดมีพระราชโองการใหประกาศแกภาษีโรงรานจัดสุขาภิบาลทาฉลอม เมืองสมุทรสาคร โดยไดทรง
พระกรณุ าโปรดเกลา ฯ ใหจัดตั้งสุขาภบิ าลตําบลทา ฉลอม และพระราชทานภาษโี รงรานท่ีเกบ็ ไดใ นเขต
ทอ งท่ีตาํ บลบานตลาดทาฉลอม ใหสุขาภิบาลใชใ นการซอ มแซมถนนหนทาง การจุดโคมไฟ และรกั ษา
ความสะอาด กิจการสุขาภิบาลตําบลบานตลาดทาฉลอมไดกอใหเกิดประโยชน และสรางความนิยม
แกประชาชนเปนอันมาก พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลาเจาอยูหัวทรงพระราชดําริเหน็ สมควรขยาย
กิจการสุขาภิบาลไปตามหัวเมืองตาง ๆ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติ
สขุ าภบิ าลตามหวั เมอื งขึน้ เม่อื ป พ.ศ. ๒๔๕๑ และไดม ีการจัดตั้งสุขาภิบาลตามพระราชบัญญัตนิ ้ีข้นึ ใน
หวั เมืองตาง ๆ รวม ๒๕ แหง จนกระทั่งมีการเปลย่ี นแปลงการปกครองแผนดินในป พ.ศ. ๒๔๗๕ เปน
ผลใหมีการตื่นตัวในการปกครองระบอบประชาธิปไตย และสงผลใหการจัดตั้งสุขาภิบาลตอง
หยุดชะงักลง โดยไดมีการปกครองทองถ่ินในรูปเทศบาลขึ้นมาแทนเปนคร้ังแรกตามพระราชบัญญัติ

๔๗ A.B. Lewis, "Local Seif Government : A Key to National Economic Advancement and
Political Stability", Philippine Journal of Public Administration, (January 1958): 55-57.

๔๘ วิรัช วิรัชนิภาวรรณ, ดร., “การจัดรูปแบบการปกครองทองถิ่นในอนาคต : กรณีศึกษาจังหวัด
นนทบรุ ี นครราชสมี า และระนอง”, รายงานผลการวจิ ัย, หนา ๓๙.


Click to View FlipBook Version