The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

2563 นโยบายทางการเมืองในการส่งเสริมการท่องเที่ยวขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรอบบึงแก่นนคร จังหวัดขอนแก่น
POLITICAL POLICIES FOR TOURISM PROMOTION OF LOCAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATIONS AROUND BUENG KAEN NAKHON LAKE, KHON KAEN PROVINCE พระชัยภัก ชยเมธี (พาลี)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

2563 นโยบายทางการเมืองในการส่งเสริมการท่องเที่ยวขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรอบบึงแก่นนคร จังหวัดขอนแก่น POLITICAL POLICIES FOR TOURISM PROMOTION OF LOCAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATIONS AROUND BUENG KAEN NAKHON LAKE, KHON KAEN PROVINCE พระชัยภัก ชยเมธี (พ

2563 นโยบายทางการเมืองในการส่งเสริมการท่องเที่ยวขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรอบบึงแก่นนคร จังหวัดขอนแก่น
POLITICAL POLICIES FOR TOURISM PROMOTION OF LOCAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATIONS AROUND BUENG KAEN NAKHON LAKE, KHON KAEN PROVINCE พระชัยภัก ชยเมธี (พาลี)

Keywords: 2563,นโยบายทางการเมืองในการส่งเสริมการท่องเที่ยวขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรอบบึงแก่นนคร จังหวัดขอนแก่น,POLITICAL POLICIES FOR TOURISM PROMOTION OF LOCAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATIONS AROUND BUENG KAEN NAKHON LAKE, KHON KAEN PROVINCE,พระชัยภัก ชยเมธี (พาลี)

๘๕

ตารางที่ ๔.๒๘ แสดงคาเฉล่ียรายคูผลการเปรียบเทียบการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน มี
ความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกร
ปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน จําแนกตามดานแหลงหรือ
กจิ กรรมทอ งเที่ยว

ดานแหลง หรอื กิจกรรมทองเที่ยว (n = ๒๘๕)
หลกั นอยทส่ี ุด นอ ย ปานกลาง มาก
เบญจธรรม (x�) ๔.๐๐ ๒.๓๘ ๓.๓๗ ๓.๘๑ มากท่สี ดุ
นอยทสี่ ดุ ๔.๐๐ - ๑.๖๓* ๐.๖๓* ๐.๑๙ ๓.๖๐
นอ ย ๒.๓๘ - - -๑.๐๐* -๑.๔๓* ๐.๔๐
ปานกลาง ๓.๓๗ - - - -๐.๔๓* -๑.๒๓*
มาก ๓.๘๑ - - - - -๐.๒๓
มากท่ีสดุ ๓.๖๐ - - - - ๐.๒๑
*มนี ัยสําคัญทางสถิตทิ ี่ระดับ ๐.๐๕
-

จากตารางท่ี ๔.๒๘ พบวา ประชาชนท่ีมีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน มี
ความคิดเหน็ ตอ นโยบายทางการเมอื งในการสง เสริมการทองเท่ียวขององคก รปกครองสวนทองถ่นิ รอบ
บึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน แตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ ๐.๐๕ จํานวน ๖ คู
ไดแก

ประชาชนที่มีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรม ดานสัมมาอาชีวะ ในระดับนอยที่สุด
แตกตางกับประชาชนท่ีมคี วามคิดเห็นตอนโยบายทางการเมอื งในการสงเสริมการทอ งเท่ียวขององคกร
ปกครองสวนทองถิ่นรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน ดานแหลงหรือกิจกรรมทองเท่ียว ในระดับ
นอย และระดับปานกลาง

ประชาชนท่ีมีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรม ดานสัมมาอาชีวะ ในระดับนอย
แตกตา งกับประชาชนทีม่ คี วามคิดเห็นตอนโยบายทางการเมอื งในการสง เสริมการทอ งเท่ยี วขององคก ร
ปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน ดานแหลงหรือกิจกรรมทองเท่ียว ในระดับ
ปานกลาง ระดบั มาก และระดับมากทส่ี ุด

ประชาชนที่มีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรม ดานสัมมาอาชีวะ ในระดับปานกลาง
แตกตางกบั ประชาชนทม่ี ีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเทีย่ วขององคก ร
ปกครองสวนทองถ่นิ รอบบงึ แกน นคร จังหวัดขอนแกน ดานแหลง หรือกจิ กรรมทองเที่ยว ในระดับมาก
นอกนนั้ ไมพบความแตกตา งรายคู

๘๖

ตารางท่ี ๔.๒๙ แสดงคาเฉล่ียรายคูผลการเปรียบเทียบการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน มี
ความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกร
ปกครองสวนทองถิ่นรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน จําแนกตามดานการตลาด
การทองเท่ยี ว

หลัก นอยทส่ี ดุ ดา นการตลาดการทอ งเท่ียว (n = ๒๘๕)
เบญจธรรม (x�) ๔.๐๐ นอย ปานกลาง มาก
มากท่ีสดุ
นอ ยท่สี ุด ๔.๐๐ - ๒.๕๐ ๓.๑๙ ๓.๘๒ ๔.๐๐
นอย ๒.๕๐ - ๑.๕๐* ๐.๘๑* ๐.๑๘ ๐.๐๐
ปานกลาง ๓.๑๙ - -๑.๕๐*
มาก ๓.๘๒ - - -๐.๖๙* -๑.๓๒* -๐.๘๑*
มากที่สุด ๔.๐๐ - - - -๐.๖๒* -๐.๑๘
*มนี ัยสําคญั ทางสถิติทร่ี ะดับ ๐.๐๕ ---
--- -

จากตารางท่ี ๔.๒๙ พบวา ประชาชนท่ีมีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน มีความ
คิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกรปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกน
นคร จงั หวัดขอนแกน แตกตา งกนั อยา งมีนยั สาํ คัญทางสถิตทิ ี่ระดบั ๐.๐๕ จํานวน ๗ คู ไดแก

ประชาชนท่ีมีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรม ดานสัมมาอาชีวะ ในระดับนอยที่สุด
แตกตางกับประชาชนที่มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกร
ปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน ดานการตลาดการทองเที่ยว ในระดับนอย และ
ระดับปานกลาง

ประชาชนที่มีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรม ดานสัมมาอาชีวะ ในระดับนอย แตกตาง
กับประชาชนท่ีมีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครอง
สวนทองถิน่ รอบบึงแกน นคร จงั หวัดขอนแกน ดา นการตลาดการทองเที่ยว ในระดบั ปานกลาง ระดับมาก
และระดับมากท่ีสดุ

ประชาชนที่มีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรม ดานสัมมาอาชีวะ ในระดับปานกลาง
แตกตางกับประชาชนท่ีมีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกร
ปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน ดานการตลาดการทองเท่ียว ในระดับมาก และ
ระดับมากทส่ี ุด นอกน้นั ไมพ บความแตกตางรายคู

๘๗

ตารางท่ี ๔.๓๐ แสดงคาเฉลี่ยรายคูผลการเปรียบเทียบการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน มี
ความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครอง
สวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน จําแนกตามดานการทองเที่ยวเชิง
วัฒนธรรม

ดานการทองเที่ยวเชิงวฒั นธรรม (n = ๒๘๕)
หลัก นอ ยท่ีสดุ นอ ย ปานกลาง มาก
เบญจธรรม (x�) ๔.๐๐ ๒.๖๓ ๓.๓๓ ๓.๘๔ มากทสี่ ุด
นอ ยทีส่ ุด ๔.๐๐ - ๑.๓๘* ๐.๖๗* ๐.๑๖ ๓.๘๐
นอ ย ๒.๖๓ - - -๐.๗๐* -๑.๒๒* ๐.๒๐
ปานกลาง ๓.๓๓ - - - -๐.๕๑* -๑.๑๗*
มาก ๓.๘๔ - - - - -๐.๔๗
มากทส่ี ุด ๓.๘๐ - - - - ๐.๐๔
*มีนัยสาํ คัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ ๐.๐๕
-

จากตารางที่ ๔.๓๐ พบวา ประชาชนที่มีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน มีความ
คิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกรปกครองสวนทองถิ่นรอบบึงแกน
นคร จงั หวดั ขอนแกน แตกตางกัน อยางมีนยั สาํ คญั ทางสถติ ิท่ีระดบั ๐.๐๕ จํานวน ๖ คู ไดแก

ประชาชนที่มีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรม ดานสัมมาอาชีวะ ในระดับนอยท่ีสุด
แตกตางกบั ประชาชนทม่ี ีความคิดเห็นตอ นโยบายทางการเมืองในการสง เสริมการทองเทย่ี วขององคกร
ปกครองสวนทองถนิ่ รอบบึงแกนนคร จังหวดั ขอนแกน ดานการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ในระดับนอย
และระดับปานกลาง

ประชาชนท่ีมีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรม ดานสัมมาอาชีวะ ในระดับนอย
แตกตา งกับประชาชนท่ีมคี วามคดิ เห็นตอ นโยบายทางการเมืองในการสง เสรมิ การทองเที่ยวขององคกร
ปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวดั ขอนแกน ดา นการทองเท่ียวเชงิ วฒั นธรรม ในระดับปาน
กลาง ระดับมาก และระดบั มากทสี่ ุด

ประชาชนท่ีมีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรม ดานสัมมาอาชีวะ ในระดับปานกลาง
แตกตางกบั ประชาชนทม่ี ีความคดิ เห็นตอ นโยบายทางการเมืองในการสงเสรมิ การทองเท่ยี วขององคก ร
ปกครองสว นทองถ่นิ รอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน ดา นการทองเท่ียวเชงิ วฒั นธรรม ในระดับมาก
นอกนน้ั ไมพบความแตกตางรายคู

๘๘

ตารางท่ี ๔.๓๑ แสดงคาเฉลี่ยรายคูผลการเปรียบเทียบการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน มี
ความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครอง
สวนทองถิ่นรอบบึงแกนนคร จงั หวัดขอนแกน จําแนกตามดานการประชาสัมพนั ธ

หลกั นอยที่สุด ดา นการประชาสัมพนั ธ มาก (n = ๒๘๕)
เบญจธรรม (x�) ๔.๐๐ นอย ปานกลาง ๓.๖๕
๒.๕๐ ๓.๐๘ ๐.๓๕ มากที่สุด
นอยทส่ี ดุ ๔.๐๐ - ๑.๕๐* ๐.๙๑* -๑.๑๕* ๓.๖๐
นอย ๒.๕๐ - - -๐.๕๙* -๐.๕๖* ๐.๔๐
ปานกลาง ๓.๐๙ - -- -๑.๑๐*
มาก ๓.๖๕ - -- - -๐.๕๑
มากทสี่ ดุ ๓.๖๐ - -- - ๐.๐๕
*มีนัยสาํ คญั ทางสถิติทีร่ ะดับ ๐.๐๕
-

จากตารางที่ ๔.๓๑ พบวา ประชาชนท่ีมีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน มี
ความคิดเหน็ ตอ นโยบายทางการเมอื งในการสง เสริมการทองเท่ียวขององคก รปกครองสวนทองถิน่ รอบ
บึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน แตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ ๐.๐๕ จํานวน ๖ คู
ไดแ ก

ประชาชนที่มีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรม ดานสัมมาอาชีวะ ในระดับนอยที่สุด
แตกตา งกับประชาชนทีม่ ีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสรมิ การทอ งเท่ียวขององคก ร
ปกครองสวนทองถิ่นรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน ดานการประชาสัมพันธ ในระดับนอย และ
ระดบั ปานกลาง

ประชาชนที่มีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรม ดานสัมมาอาชีวะ ในระดับนอย
แตกตา งกบั ประชาชนทมี่ ีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสรมิ การทองเท่ียวขององคก ร
ปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน ดานการประชาสัมพันธ ในระดับปานกลาง
ระดบั มาก และระดับมากทส่ี ดุ

ประชาชนท่ีมีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรม ดานสัมมาอาชีวะ ในระดับปานกลาง
แตกตางกบั ประชาชนทม่ี ีความคดิ เห็นตอนโยบายทางการเมอื งในการสง เสรมิ การทองเที่ยวขององคก ร
ปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวดั ขอนแกน ดานการประชาสัมพันธ ในระดับมาก นอกน้ัน
ไมพ บความแตกตางรายคู

๘๙

ตารางท่ี ๔.๓๒ แสดงความแปรปรวนการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน มีความคิดเห็นตอ
นโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน
รอบบงึ แกน นครจงั หวัดขอนแกน จําแนกตามดา นกามสงั วร

ความแปรปรวน SS (n = ๒๘๕)
ดา นแหลง หรือ ระหวา งกลุม ๒๑.๑๔ df MS F Sig.
กจิ กรรม ภายในกลมุ ๘๐.๕๓
ทองเที่ยว ๑๐๑.๖๖ ๔ ๕.๒๘ ๑๘.๓๗ ๐.๐๐*
รวม ๒๔.๒๗ ๒๘๐ ๐.๒๙
๘๑.๕๑ ๒๘๔
ดานการตลาด ระหวางกลมุ ๑๐๕.๗๘
การทองเทีย่ ว ภายในกลุม ๒๗.๕๑ ๔ ๖.๐๗ ๒๐.๘๔ ๐.๐๐*
๗๑.๗๐ ๒๘๐ ๐.๒๙
รวม ๙๙.๒๑ ๒๘๔
๑๖.๐๖
ดานการ ระหวางกลุม ๑๒๗.๑๕ ๔ ๖.๘๘ ๒๖.๘๖ ๐.๐๐*
ทองเท่ียวเชิง ภายในกลมุ ๑๔๓.๒๑ ๒๘๐ ๐.๒๖
วฒั นธรรม รวม ๒๗.๐๒ ๒๘๔
๑๐๐.๖๕
ดา นการ ระหวางกลมุ ๑๒๗.๖๖ ๔ ๔.๐๑ ๘.๘๔ ๐.๐๐*
ประชาสัมพันธ ภายในกลมุ ๒๘๐ ๐.๔๕
๑๘๔
รวม
๔ ๖.๗๕ ๑๘.๗๙ ๐.๐๐*
ระหวา งกลุม ๒๘๐ ๐.๓๖
รวม ภายในกลุม ๒๘๔
รวม

*มีนัยสาํ คัญทางสถิติทีร่ ะดับ ๐.๐๕

จากตารางที่ ๔.๓๒ พบวา ประชาชนท่ีมีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน ดาน
กามสังวร มคี วามคดิ เห็นตอนโยบายทางการเมอื งในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกรปกครองสวน
ทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน ในภาพรวมแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ
๐.๐๕ ซึ่งเปนไปตามสถิติที่ตั้งไว เมื่อพิจารณาเปนรายดา นพบวา มีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรม
ดานกามสังวรตางกัน มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกร
ปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน แตกตางกันในทุกดาน อยางมีนัยสําคัญทาง
สถิตทิ ่ีระดบั ๐.๐๕ ซ่งึ เปน ไปตามสถิตทิ ่ีต้ังไว

ดังน้ัน เม่ือพบความแตกตางจึงไดทําการทดสอบเพ่ือหาความแตกตางรายคู โดยใชวิธี
ผลตา งนัยสําคญั นอยท่สี ุด (Least Significant Difference : LSD.) ดงั น้ี

๙๐

ตารางท่ี ๔.๓๓ แสดงคาเฉล่ียรายคูผลการเปรียบเทียบการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน มี
ความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกร
ปกครองสวนทองถิ่นรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน จําแนกตามดานแหลงหรือ
กจิ กรรมทองเท่ียว

หลกั ดา นแหลงหรอื กิจกรรมทองเทยี่ ว (n = ๒๘๕)
เบญจธรรม นอ ยท่สี ดุ นอย ปานกลาง มาก
(x�) ๓.๘๐ ๒.๒๕ ๓.๔๙ ๓.๗๘ มากที่สุด
นอยทส่ี ดุ ๓.๘๐ - ๑.๕๕* ๐.๓๑ ๐.๐๒ ๓.๖๗
นอ ย ๒.๒๕ - - -๑.๒๔* -๑.๕๓* ๐.๑๓
ปานกลาง ๓.๔๙ - - - -๐.๓๐* -๑.๔๒*
มาก ๓.๗๘ - - - - -๐.๑๘
มากที่สุด ๓.๖๗ - - - - ๐.๑๒
*มีนัยสาํ คญั ทางสถติ ทิ ่ีระดบั ๐.๐๕
-

จากตารางท่ี ๔.๓๓ พบวา ประชาชนที่มีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน มี
ความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมอื งในการสง เสริมการทองเที่ยวขององคกรปกครองสวนทองถ่ินรอบ
บึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน แตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ ๐.๐๕ จํานวน ๕ คู
ไดแก

ประชาชนท่ีมีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรม ดานกามสังวร ในระดับนอยท่ีสุด
แตกตา งกบั ประชาชนท่ีมคี วามคิดเห็นตอ นโยบายทางการเมืองในการสงเสรมิ การทอ งเทย่ี วขององคก ร
ปกครองสวนทองถิ่นรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน ดานแหลงหรือกิจกรรมทองเท่ียว ในระดับ
นอ ย

ประชาชนท่ีมีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรม ดานกามสังวร ในระดับนอย แตกตาง
กับประชาชนที่มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกร
ปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน ดานแหลงหรือกิจกรรมทองเท่ียว ในระดับ
ปานกลาง ระดับมาก และระดับมากทสี่ ดุ

ประชาชนท่ีมีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรม ดานกามสังวร ในระดับปานกลาง
แตกตางกับประชาชนทีม่ ีความคิดเห็นตอ นโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเทยี่ วขององคกร
ปกครองสวนทองถิ่นรอบบึงแกนนคร จังหวดั ขอนแกน ดานแหลง หรอื กจิ กรรมทอ งเที่ยว ในระดับมาก
นอกนัน้ ไมพบความแตกตางรายคู

๙๑

ตารางท่ี ๔.๓๔ แสดงคาเฉล่ียรายคูผลการเปรียบเทียบการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน มี
ความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครอง
สวนทองถิ่นรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน จําแนกตามดานการตลาดการ
ทอ งเท่ยี ว

ดา นการตลาดการทอ งเท่ียว (n = ๒๘๕)
นอ ยท่ีสุด นอย ปานกลาง มาก
หลกั มากท่ีสดุ
เบญจธรรม
(x�) ๓.๖๐ ๒.๕๐ ๓.๓๒ ๓.๘๑ ๓.๓๓
นอ ยท่ีสุด ๓.๖๐ - ๑.๑๐* ๐.๒๘ -๐.๒๑ ๐.๒๗
นอ ย ๒.๕๐ - - -๐.๘๒* -๑.๓๑* -๐.๘๓*
ปานกลาง ๓.๓๒ - - - -๐.๔๙* -๐.๐๑
มาก ๓.๘๑ - - - - ๐.๔๘*
มากท่สี ุด ๓.๓๓ - - - - -
*มีนยั สําคัญทางสถติ ิทรี่ ะดบั ๐.๐๕

จากตารางท่ี ๔.๓๔ พบวา ประชาชนท่ีมีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน มีความ
คิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกน
นคร จงั หวัดขอนแกน แตกตา งกนั อยา งมนี ยั สาํ คัญทางสถิติท่ีระดับ ๐.๐๕ จํานวน ๖ คู ไดแ ก

ประชาชนท่ีมีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรม ดานกามสังวร ในระดับนอยท่ีสุด แตกตาง
กับประชาชนที่มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครอง
สว นทอ งถ่ินรอบบงึ แกนนคร จังหวัดขอนแกน ดานการตลาดการทองเท่ียว ในระดับนอย

ประชาชนท่ีมีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรม ดานกามสังวร ในระดับนอย แตกตางกับ
ประชาชนที่มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครองสวน
ทองถิ่นรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน ดานการตลาดการทองเท่ียว ในระดับปานกลาง ระดับมาก
และระดบั มากทีส่ ุด

ประชาชนที่มีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรม ดานกามสังวร ในระดับปานกลาง แตกตาง
กับประชาชนท่ีมีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครอง
สวนทองถน่ิ รอบบึงแกน นคร จังหวดั ขอนแกน ดา นการตลาดการทองเท่ยี ว ในระดับมาก

ประชาชนท่ีมีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรม ดานกามสังวร ในระดับมาก แตกตางกับ
ประชาชนที่มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครองสวน
ทองถิ่นรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน ดานการตลาดการทองเที่ยว ในระดับมากที่สุด นอกน้ันไมพบ
ความแตกตางรายคู

๙๒

ตารางท่ี ๔.๓๕ แสดงคาเฉล่ียรายคูผลการเปรียบเทียบการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน มี
ความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครอง
สวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน จําแนกตามดานการทองเที่ยวเชิง
วัฒนธรรม

หลกั ดานการทอ งเทย่ี วเชงิ วัฒนธรรม (n = ๒๘๕)
เบญจธรรม นอยท่ีสุด นอ ย ปานกลาง มาก
(x�) ๓.๘๐ ๒.๕๐ ๓.๓๒ ๓.๘๖ มากที่สดุ
นอยทส่ี ดุ ๓.๘๐ - ๑.๓๐* ๐.๔๘* -๐.๐๖ ๔.๐๐
นอ ย ๒.๕๐ - - -๐.๘๒* -๑.๓๖* -๐.๒๐
ปานกลาง ๓.๓๒ - - - -๐.๕๔* -๑.๕๐*
มาก ๓.๘๖ - - - - -๐.๖๘*
มากทสี่ ดุ ๔.๐๐ - - - - -๐.๑๔
*มีนัยสาํ คัญทางสถติ ิท่ีระดับ ๐.๐๕
-

จากตารางที่ ๔.๓๕ พบวา ประชาชนท่ีมีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน มีความ
คิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกน
นคร จงั หวัดขอนแกน แตกตา งกัน อยางมีนยั สาํ คญั ทางสถิตทิ ี่ระดบั ๐.๐๕ จํานวน ๗ คู ไดแ ก

ประชาชนที่มีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรม ดานกามสังวร ในระดับนอยท่ีสุด แตกตาง
กับประชาชนท่ีมีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกรปกครอง
สวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวดั ขอนแกน ดานการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ในระดับนอย และระดับ
ปานกลาง

ประชาชนที่มีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรม ดานกามสังวร ในระดับนอย แตกตางกับ
ประชาชนที่มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกรปกครองสวน
ทองถิ่นรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน ดานการทองเท่ียวเชิงวัฒนธรรม ในระดับปานกลาง ระดับมาก
และระดับมากท่สี ุด

ประชาชนที่มีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรม ดานกามสังวร ในระดับปานกลาง แตกตาง
กับประชาชนที่มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกรปกครอง
สวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน ดานการทองเท่ียวเชิงวัฒนธรรม ในระดับมาก และระดับ
มากทสี่ ุด นอกน้ันไมพบความแตกตางรายคู

๙๓

ตารางท่ี ๔.๓๖ แสดงคาเฉล่ียรายคูผลการเปรียบเทียบการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน มี
ความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกร
ปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน จําแนกตามดานการ
ประชาสมั พนั ธ

หลัก นอยท่สี ุด ดานการประชาสัมพนั ธ มาก (n = ๒๘๕)
เบญจธรรม (x�) ๓.๔๐ นอ ย ปานกลาง ๓.๖๔
๓.๐๐ ๓.๑๓ -๐.๒๔ มากทสี่ ุด
นอยท่ีสดุ ๓.๔๐ - ๐.๔๐ ๐.๒๗ -๐.๖๔* ๓.๖๗
นอ ย ๓.๐๐ - - -๐.๑๒ -๐.๕๑* -๐.๒๗
ปานกลาง ๓.๑๓ - -- -๐.๖๗
มาก ๓.๖๔ - -- - -๐.๕๔
มากที่สุด ๓.๖๗ - -- - -๐.๐๓
*มนี ัยสาํ คัญทางสถติ ทิ รี่ ะดบั ๐.๐๕
-

จากตารางที่ ๔.๓๖ พบวา ประชาชนที่มีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน มีความ
คิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกรปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกน
นคร จังหวดั ขอนแกน แตกตา งกนั อยา งมีนยั สําคญั ทางสถิติท่ีระดบั ๐.๐๕ จาํ นวน ๒ คู ไดแ ก

ประชาชนท่ีมีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรม ดานกามสังวร ในระดับนอย แตกตางกับ
ประชาชนท่ีมีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครองสวน
ทองถิน่ รอบบึงแกน นคร จงั หวัดขอนแกน ดานการประชาสมั พนั ธ ในระดบั มาก

ประชาชนท่ีมีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรม ดานกามสังวร ในระดับปานกลาง แตกตาง
กับประชาชนท่ีมีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกรปกครอง
สว นทอ งถ่นิ รอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน ดานการประชาสมั พันธ ในระดับระดับมาก นอกนั้นไมพบ
ความแตกตา งรายคู

๙๔

ตารางที่ ๔.๓๗ แสดงความแปรปรวนการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน มีความคิดเห็นตอ
นโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกรปกครองสวนทองถิ่น
รอบบงึ แกน นครจังหวัดขอนแกน จําแนกตามดานสัจจะ

ความแปรปรวน SS (n = ๒๘๕)
ดา นแหลงหรอื ระหวา งกลมุ ๒๑.๑๙ df MS F Sig.
กิจกรรม ภายในกลมุ ๘๐.๔๗
ทอ งเทีย่ ว ๑๐๑.๖๖ ๔ ๕.๓๐ ๑๘.๔๓ ๐.๐๐*
รวม ๓๐.๓๓ ๒๘๐ ๐.๒๙
๗๕.๔๔ ๒๘๔
ดานการตลาด ระหวางกลมุ ๑๐๕.๗๘
การทอ งเที่ยว ภายในกลุม ๒๕.๑๗ ๔ ๗.๕๘ ๒๘.๑๔ ๐.๐๐*
๗๔.๐๔ ๒๘๐ ๐.๒๗
รวม ๙๙.๒๑ ๒๘๔
๓๗.๓๒
ดานการ ระหวา งกลมุ ๑๐๕.๘๘ ๔ ๖.๒๙ ๒๓.๘๐ ๐.๐๐*
ทอ งเที่ยวเชงิ ภายในกลมุ ๑๔๓.๒๑ ๒๘๐ ๐.๒๖
วัฒนธรรม รวม ๓๐.๗๙ ๒๘๔
๖๑.๘๒
ดา นการ ระหวา งกลุม ๘๔.๖๐ ๔ ๙.๓๓ ๒๔.๖๗ ๐.๐๐*
ประชาสมั พนั ธ ภายในกลุม ๒๘๐ ๐.๓๘
๒๘๔
รวม
๔ ๗.๗๑ ๒๒.๒๙ ๐.๐๐*
ระหวางกลุม ๒๘๐ ๐.๓๕
รวม ภายในกลมุ ๒๘๔
รวม

*มีนยั สําคญั ทางสถิตทิ รี่ ะดบั ๐.๐๕

จากตารางที่ ๔.๓๗ พบวา ประชาชนที่มีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน ดาน
สัจจะ มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครองสวน
ทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน ในภาพรวมแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ
๐.๐๕ ซึ่งเปนไปตามสถิติที่ตั้งไว เมื่อพิจารณาเปนรายดานพบวา มีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรม
ดานสัจจะตางกัน มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกร
ปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน แตกตางกันในทุกดาน อยางมีนัยสําคัญทาง
สถติ ทิ รี่ ะดับ ๐.๐๕ ซง่ึ เปนไปตามสถติ ทิ ี่ตั้งไว

ดังน้ัน เมื่อพบความแตกตางจึงไดทําการทดสอบเพื่อหาความแตกตางรายคู โดยใชวิธี
ผลตา งนยั สาํ คัญนอยท่ีสุด (Least Significant Difference : LSD.) ดังน้ี

๙๕

ตารางที่ ๔.๓๘ แสดงคาเฉล่ียรายคูผลการเปรียบเทียบการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน มี
ความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกร
ปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน จําแนกตามดานแหลงหรือ
กจิ กรรมทอ งเทย่ี ว

หลัก ดานแหลงหรอื กจิ กรรมทองเทย่ี ว (n = ๒๘๕)
เบญจธรรม นอ ยทส่ี ดุ นอย ปานกลาง มาก
(x�) ๔.๐๐ ๒.๘๐ ๓.๓๘ ๓.๘๔ มากทีส่ ดุ
นอ ยทส่ี ดุ ๔.๐๐ - ๑.๒๐* ๐.๖๓* ๐.๑๖ ๔.๐๐
นอย ๒.๘๐ - - -๐.๕๘* -๑.๐๔* ๐.๐๐
ปานกลาง ๓.๓๘ - - - -๐.๔๖* -๑.๒๐*
มาก ๓.๘๔ - - - - -๐.๖๒*
มากท่ีสุด ๔.๐๐ - - - - -๐.๑๖
*มนี ยั สําคัญทางสถติ ทิ รี่ ะดับ ๐.๐๕
-

จากตารางที่ ๔.๓๘ พบวา ประชาชนที่มีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน มีความ
คิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกรปกครองสวนทองถิ่นรอบบึงแกน
นคร จังหวดั ขอนแกน แตกตางกัน อยางมีนัยสําคญั ทางสถติ ิที่ระดบั ๐.๐๕ จาํ นวน ๗ คู ไดแ ก

ประชาชนที่มีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรม ดานสัจจะ ในระดับนอยท่ีสุด แตกตาง
กับประชาชนที่มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกร
ปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน ดานแหลงหรือกิจกรรมทองเที่ยว ในระดับ
นอย และระดบั ปานกลาง

ประชาชนท่ีมีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรม ดานสัจจะ ในระดับนอย แตกตางกับ
ประชาชนที่มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครอง
สวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน ดานแหลงหรือกิจกรรมทองเท่ียว ในระดับปานกลาง
ระดับมาก และระดับมากท่ีสดุ

ประชาชนที่มีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรม ดานสัจจะ ในระดับปานกลาง แตกตาง
กับประชาชนที่มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกร
ปกครองสวนทองถิน่ รอบบึงแกน นคร จังหวดั ขอนแกน ดานแหลง หรือกิจกรรมทองเทีย่ ว ในระดับมาก
และระดบั มากทีส่ ดุ นอกนั้นไมพ บความแตกตา งรายคู

๙๖

ตารางท่ี ๔.๓๙ แสดงคาเฉล่ียรายคูผลการเปรียบเทียบการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน มี
ความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกร
ปกครองสวนทองถิ่นรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน จําแนกตามดานการตลาด
การทอ งเทีย่ ว

หลกั นอ ยท่ีสดุ ดานการตลาดการทอ งเที่ยว (n = ๒๘๕)
เบญจธรรม (x�) ๓.๖๓ นอ ย ปานกลาง มาก
๒.๘๐ ๓.๒๕ ๓.๘๗ มากที่สดุ
นอยทสี่ ุด ๓.๖๗ - ๐.๘๗* ๐.๔๒ -๐.๒๐ ๔.๐๐
นอย ๒.๘๐ - - -๐.๔๕* -๑.๐๗* -๐.๓๓
ปานกลาง ๓.๒๕ - - - -๐.๖๒* -๑.๒๐*
มาก ๓.๘๗ - --- -๐.๗๕*
มากที่สดุ ๔.๐๐ - --- -๐.๑๓
*มนี ัยสาํ คัญทางสถิตทิ ร่ี ะดบั ๐.๐๕
-

จากตารางท่ี ๔.๓๙ พบวา ประชาชนที่มีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน มีความ
คิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกรปกครองสวนทองถิ่นรอบบึงแกน
นคร จังหวัดขอนแกน แตกตางกัน อยา งมีนยั สําคญั ทางสถิติท่ีระดับ ๐.๐๕ จาํ นวน ๖ คู ไดแก

ประชาชนที่มีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรม ดานสัจจะ ในระดับนอยท่ีสุด แตกตาง
กับประชาชนที่มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกร
ปกครองสว นทองถน่ิ รอบบงึ แกนนคร จังหวดั ขอนแกน ดา นการตลาดการทองเที่ยว ในระดบั นอ ย

ประชาชนที่มีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรม ดานสัจจะ ในระดับนอย แตกตางกับ
ประชาชนที่มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครอง
สว นทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน ดานการตลาดการทองเท่ียว ในระดับปานกลาง ระดับ
มาก และระดับมากทสี่ ุด

ประชาชนที่มีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรม ดานสัจจะ ในระดับปานกลาง แตกตาง
กับประชาชนท่ีมีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกร
ปกครองสวนทองถิ่นรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน ดานการตลาดการทองเที่ยว ในระดับมาก
และระดบั มากท่ีสดุ นอกนนั้ ไมพบความแตกตางรายคู

๙๗

ตารางท่ี ๔.๔๐ แสดงคาเฉลี่ยรายคูผลการเปรียบเทียบการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน มี
ความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครอง
สวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน จําแนกตามดานการทองเท่ียวเชิง
วัฒนธรรม

หลกั ดานการทอ งเที่ยวเชิงวฒั นธรรม (n = ๒๘๕)
เบญจธรรม นอ ยที่สุด นอ ย ปานกลาง มาก
(x�) ๓.๖๓ ๒.๗๐ ๓.๓๙ ๓.๘๙ มากทส่ี ุด
นอ ยที่สุด ๓.๖๗ - ๐.๙๗* ๐.๒๘ -๐.๒๒ ๔.๐๐
นอ ย ๒.๗๐ - - -๐.๖๙* -๑.๑๙* -๐.๓๓
ปานกลาง ๓.๓๙ - - - -๐.๕๐* -๑.๓๐*
มาก ๓.๘๙ - - - - -๐.๖๑*
มากทส่ี ุด ๔.๐๐ - - - - -๐.๑๑
*มนี ยั สาํ คญั ทางสถติ ทิ รี่ ะดับ ๐.๐๕
-

จากตารางท่ี ๔.๔๐ พบวา ประชาชนท่ีมีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน มี
ความคิดเหน็ ตอนโยบายทางการเมอื งในการสง เสริมการทองเท่ียวขององคก รปกครองสว นทองถ่นิ รอบ
บึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน แตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ ๐.๐๕ จํานวน ๖ คู
ไดแก

ประชาชนที่มีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรม ดานสัจจะ ในระดับนอยที่สุด แตกตาง
กับประชาชนที่มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกร
ปกครองสวนทอ งถนิ่ รอบบึงแกนนคร จงั หวดั ขอนแกน ดา นการทอ งเทยี่ วเชงิ วัฒนธรรม ในระดับนอ ย

ประชาชนท่ีมีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรม ดานสัจจะ ในระดับนอย แตกตางกับ
ประชาชนที่มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกรปกครอง
สวนทองถิ่นรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน ดานการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ในระดับปานกลาง
ระดบั มาก และระดบั มากทีส่ ุด

ประชาชนท่ีมีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรม ดานสัจจะ ในระดับปานกลาง แตกตาง
กับประชาชนที่มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกร
ปกครองสว นทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน ดานการทองเท่ียวเชงิ วัฒนธรรม ในระดบั มาก
และระดบั มากท่สี ุด นอกนนั้ ไมพบความแตกตา งรายคู

๙๘

ตารางที่ ๔.๔๑ แสดงคาเฉลี่ยรายคูผลการเปรียบเทียบการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน มี
ความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกรปกครอง
สวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวดั ขอนแกน จําแนกตามดา นการประชาสัมพันธ

หลัก นอยท่สี ดุ ดา นการประชาสมั พนั ธ มาก (n = ๒๘๕)
เบญจธรรม (x�) ๓.๘๓ นอ ย ปานกลาง ๓.๗๕
๓.๐๐ ๒.๙๙ ๐.๐๘ มากท่ีสดุ
นอ ยท่ีสดุ ๓.๘๓ - ๐.๘๓* ๐.๘๔* -๐.๗๕* ๓.๕๐
นอ ย ๓.๐๐ - - ๐.๐๑ -๐.๗๖* ๐.๓๓
ปานกลาง ๒.๙๙ - -- -๐.๕๐
มาก ๓.๗๕ - -- - -๐.๕๑
มากทส่ี ดุ ๓.๕๐ - -- - ๐.๒๕
*มนี ัยสําคัญทางสถติ ิท่รี ะดับ ๐.๐๕
-

จากตารางท่ี ๔.๔๑ พบวา ประชาชนท่ีมีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน มีความ
คิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกรปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกน
นคร จงั หวัดขอนแกน แตกตา งกนั อยา งมนี ัยสาํ คัญทางสถิตทิ ี่ระดบั ๐.๐๕ จํานวน ๔ คู ไดแก

ประชาชนท่ีมีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรม ดานสัจจะ ในระดับนอยที่สุด แตกตางกับ
ประชาชนท่ีมีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครองสวน
ทอ งถน่ิ รอบบงึ แกนนคร จังหวดั ขอนแกน ดา นการประชาสัมพนั ธ ในระดบั นอ ย และระดับปานกลาง

ประชาชนที่มีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรม ดานสัจจะ ในระดับนอย แตกตางกับ
ประชาชนท่ีมีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครองสวน
ทองถน่ิ รอบบึงแกน นคร จงั หวัดขอนแกน ดา นการประชาสัมพนั ธ ในระดบั มาก

ประชาชนท่ีมีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรม ดานสัจจะ ในระดับปานกลาง แตกตางกับ
ประชาชนที่มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครองสวน
ทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน ดานการประชาสัมพันธ ในระดับมาก นอกน้ันไมพบความ
แตกตางรายคู

๙๙

ตารางท่ี ๔.๔๒ แสดงความแปรปรวนการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน มีความคิดเห็นตอ
นโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน
รอบบึงแกนนครจงั หวดั ขอนแกน จาํ แนกตามดา นสติสัมปชญั ญะ

ความแปรปรวน SS (n = ๒๘๕)
ดา นแหลง หรอื ระหวางกลมุ ๑๙.๙๑ df MS F Sig.
กิจกรรม ภายในกลมุ ๘๑.๗๖
ทองเที่ยว ๑๐๑.๖๖ ๔ ๔.๙๘ ๑๗.๐๔ ๐.๐๐*
รวม ๒๗.๒๕ ๒๘๐ ๐.๒๙
๗๘.๕๒ ๒๘๔
ดานการตลาด ระหวางกลุม ๑๐๕.๗๘
การทองเทยี่ ว ภายในกลมุ ๓๐.๓๒ ๔ ๖.๘๑ ๒๔.๒๙ ๐.๐๐*
๖๘.๘๙ ๒๘๐ ๐.๒๘
รวม ๙๙.๒๑ ๒๘๔
๑๔.๘๘
ดา นการ ระหวา งกลมุ ๑๒๘.๓๒ ๔ ๗.๕๘ ๓๐.๘๑ ๐.๐๓*
ทอ งเทย่ี วเชิง ภายในกลมุ ๑๔๓.๒๑ ๒๘๐ ๐.๒๕
วฒั นธรรม รวม ๒๙.๓๙ ๒๘๔
๙๘.๒๗
ดา นการ ระหวา งกลุม ๑๒๗.๖๖ ๔ ๓.๗๒ ๘.๑๒ ๐.๐๐*
ประชาสัมพันธ ภายในกลมุ ๒๘๐ ๐.๔๖
๑๘๔
รวม
๔ ๗.๓๕ ๒๐.๙๔ ๐.๐๐*
ระหวา งกลุม ๒๘๐ ๐.๓๕
รวม ภายในกลมุ ๒๘๔
รวม

*มีนยั สําคญั ทางสถิตทิ ี่ระดบั ๐.๐๕

จากตารางที่ ๔.๔๒ พบวา ประชาชนท่ีมีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน ดาน
สติสัมปชัญญะ มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกร
ปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน ในภาพรวมแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทาง
สถิติท่ีระดับ ๐.๐๕ ซึ่งเปนไปตามสถิติที่ต้ังไว เม่ือพิจารณาเปนรายดานพบวา มีการปฏิบัติตนตาม
หลกั เบญจธรรม ดานสติสมั ปชญั ญะตางกัน มคี วามคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการ
ทองเท่ียวขององคกรปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน แตกตางกันในทุกดาน
อยางมนี ัยสาํ คัญทางสถิติท่รี ะดบั ๐.๐๕ ซึง่ เปนไปตามสถติ ิที่ตัง้ ไว

ดังนั้น เม่ือพบความแตกตางจึงไดทําการทดสอบเพื่อหาความแตกตางรายคู โดยใชวิธี
ผลตา งนยั สาํ คญั นอยทสี่ ดุ (Least Significant Difference : LSD.) ดงั นี้

๑๐๐

ตารางที่ ๔.๔๓ แสดงคาเฉล่ียรายคูผลการเปรียบเทียบการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน มี
ความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกร
ปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน จําแนกตามดานแหลงหรือ
กจิ กรรมทองเที่ยว

(n = ๒๘๕)
ดา นแหลง หรอื กจิ กรรมทองเท่ียว
หลัก นอยท่ีสดุ นอย ปานกลาง มาก มากท่ีสุด
เบญจธรรม (x�) ๓.๗๕ ๒.๕๐ ๓.๔๑ ๓.๘๑ ๓.๘๓

นอ ยทส่ี ุด ๓.๗๕ - ๑.๒๕* ๐.๓๔ -๐.๐๖ -๐.๐๘
นอ ย ๒.๕๐ - - -๐.๙๑* -๑.๓๑* -๑.๓๓*
ปานกลาง ๓.๔๑ - - - -๐.๔๐* -๐.๔๓
มาก ๓.๘๑ - - - - -๐.๐๓
มากท่ีสุด ๓.๘๓ - - - - -
*มนี ัยสาํ คญั ทางสถติ ทิ ่รี ะดบั ๐.๐๕

จากตารางท่ี ๔.๔๓ พบวา ประชาชนที่มีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน มีความ
คิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครองสวนทองถิ่นรอบบึงแกน
นคร จังหวัดขอนแกน แตกตา งกนั อยา งมีนยั สําคัญทางสถิติท่ีระดบั ๐.๐๕ จํานวน ๕ คู ไดแก

ประชาชนที่มีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรม ดานสติสัมปชัญญะ ในระดับนอยที่สุด
แตกตางกบั ประชาชนทีม่ คี วามคดิ เห็นตอนโยบายทางการเมอื งในการสงเสริมการทองเท่ยี วขององคก ร
ปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน ดานแหลงหรือกิจกรรมทองเที่ยว ในระดับ
นอ ย

ประชาชนท่ีมีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรม ดานสติสัมปชัญญะ ในระดับนอย
แตกตางกับประชาชนทม่ี ีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสง เสริมการทองเทย่ี วขององคกร
ปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน ดานแหลงหรือกิจกรรมทองเท่ียว ในระดับ
ปานกลาง ระดับมาก และระดบั มากท่ีสุด

ประชาชนท่ีมีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรม ดานสติสัมปชัญญะ ในระดับปานกลาง
แตกตางกับประชาชนทมี่ คี วามคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสง เสรมิ การทองเทยี่ วขององคก ร
ปกครองสว นทองถน่ิ รอบบงึ แกนนคร จังหวดั ขอนแกน ดานแหลง หรือกจิ กรรมทอ งเท่ยี ว ในระดับมาก
นอกน้นั ไมพ บความแตกตา งรายคู

๑๐๑

ตารางที่ ๔.๔๔ แสดงคาเฉลี่ยรายคูผลการเปรียบเทียบการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน มี
ความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกร
ปกครองสวนทองถิ่นรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน จําแนกตามดานการตลาด
การทอ งเท่ยี ว

หลัก ดานการตลาดการทอ งเทีย่ ว (n = ๒๘๕)
เบญจธรรม นอ ยท่สี ดุ นอ ย ปานกลาง มาก
(x�) ๓.๖๓ ๒.๖๓ ๓.๒๕ ๓.๘๓ มากทส่ี ดุ
นอยทีส่ ดุ ๓.๖๓ - ๑.๐๐* ๐.๓๘ -๐.๒๐ ๔.๐๐
นอ ย ๒.๖๓ - - -๐.๖๒* -๑.๒๐* -๐.๓๗
ปานกลาง ๓.๒๕ - - - -๐.๕๘* -๑.๓๗*
มาก ๓.๘๓ - - - - -๐.๗๕*
มากท่ีสดุ ๔.๐๐ - - - - -๐.๑๗
*มีนยั สาํ คัญทางสถติ ิท่ีระดับ ๐.๐๕
-

จากตารางท่ี ๔.๔๔ พบวา ประชาชนที่มีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน มีความ
คิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกรปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกน
นคร จังหวดั ขอนแกน แตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถติ ิท่ีระดบั ๐.๐๕ จํานวน ๖ คู ไดแก

ประชาชนที่มีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรม ดานสติสัมปชัญญะ ในระดับนอยที่สุด
แตกตางกบั ประชาชนทีม่ คี วามคดิ เห็นตอนโยบายทางการเมอื งในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกร
ปกครองสว นทองถ่นิ รอบบงึ แกนนคร จงั หวัดขอนแกน ดา นการตลาดการทองเท่ียว ในระดับนอ ย

ประชาชนท่ีมีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรม ดานสติสัมปชัญญะ ในระดับนอย
แตกตางกับประชาชนท่มี ีความคิดเห็นตอ นโยบายทางการเมอื งในการสงเสริมการทองเทีย่ วขององคก ร
ปกครองสวนทองถิ่นรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน ดานการตลาดการทองเที่ยว ในระดับปาน
กลาง ระดับมาก และระดบั มากท่ีสุด

ประชาชนที่มีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรม ดานสติสัมปชัญญะ ในระดับปานกลาง
แตกตา งกบั ประชาชนท่ีมคี วามคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสรมิ การทอ งเทย่ี วขององคกร
ปกครองสวนทองถิ่นรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน ดานการตลาดการทองเท่ียว ในระดับมาก
และระดับมากท่ีสุด นอกนนั้ ไมพ บความแตกตางรายคู

๑๐๒

ตารางที่ ๔.๔๕ แสดงคาเฉลี่ยรายคูผลการเปรียบเทียบการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน มี
ความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครอง
สวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน จําแนกตามดานการทองเท่ียวเชิง
วัฒนธรรม

(n = ๒๘๕)
ดานการทอ งเทยี่ วเชงิ วฒั นธรรม
หลัก นอ ยทสี่ ุด นอ ย ปานกลาง มาก มากที่สุด
เบญจธรรม (x�) ๓.๘๘ ๒.๕๐ ๓.๓๐ ๓.๘๙ ๓.๖๗

นอ ยที่สุด ๓.๘๘ - ๑.๓๘* ๐.๕๗* -๐.๐๑ ๐.๒๑
นอย ๒.๕๐ - - -๐.๘๐* -๑.๓๙* -๑.๑๗*
ปานกลาง ๓.๓๐ - - - -๐.๕๙* -๐.๓๖
มาก ๓.๘๙ - - - - ๐.๒๑
มากท่สี ดุ ๓.๖๗ - - - - -
*มีนัยสําคญั ทางสถิติทร่ี ะดับ ๐.๐๕

จากตารางที่ ๔.๔๕ พบวา ประชาชนที่มีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน มี
ความคิดเหน็ ตอนโยบายทางการเมอื งในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกรปกครองสว นทองถ่นิ รอบ
บึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน แตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ ๐.๐๕ จํานวน ๖ คู
ไดแ ก

ประชาชนที่มีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรม ดานสติสัมปชัญญะ ในระดับนอยท่ีสุด
แตกตางกบั ประชาชนท่ีมีความคิดเห็นตอ นโยบายทางการเมอื งในการสงเสรมิ การทอ งเทย่ี วขององคกร
ปกครองสว นทองถ่นิ รอบบงึ แกนนคร จังหวัดขอนแกน ดานการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ในระดับนอย
และระดับปานกลาง

ประชาชนท่ีมีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรม ดานสติสัมปชัญญะ ในระดับนอย
แตกตา งกับประชาชนที่มีความคดิ เห็นตอ นโยบายทางการเมอื งในการสงเสรมิ การทอ งเที่ยวขององคกร
ปกครองสว นทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวดั ขอนแกน ดา นการทองเทีย่ วเชงิ วฒั นธรรม ในระดับปาน
กลาง ระดบั มาก และระดบั มากทีส่ ุด

ประชาชนท่ีมีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรม ดานสติสัมปชัญญะ ในระดับปานกลาง
แตกตา งกับประชาชนทม่ี ีความคดิ เห็นตอ นโยบายทางการเมืองในการสงเสรมิ การทองเทย่ี วขององคกร
ปกครองสว นทองถน่ิ รอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน ดา นการทองเท่ียวเชงิ วัฒนธรรม ในระดบั มาก
นอกนน้ั ไมพบความแตกตางรายคู

๑๐๓

ตารางที่ ๔.๔๖ แสดงคาเฉล่ียรายคูผลการเปรียบเทียบการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน มี
ความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกรปกครอง
สว นทอ งถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน จําแนกตามดานการประชาสัมพนั ธ

ดา นการประชาสมั พนั ธ (n = ๒๘๕)
นอ ย ปานกลาง
หลัก นอยทสี่ ดุ ๓.๑๓ ๓.๑๔ มาก มากท่สี ดุ
เบญจธรรม ๐.๓๘ ๐.๓๖ ๓.๖๕ ๓.๓๓
(x�) ๓.๕๐ - -๐.๐๒ -๐.๑๕ ๐.๑๗
นอยทส่ี ุด ๓.๕๐ - -- -๐.๕๒* -๐.๒๑
นอย ๓.๑๓ - -- -๐.๕๐* -๐.๑๙
ปานกลาง ๓.๑๔ - -- ๐.๓๑
มาก ๓.๖๕ - -
มากท่สี ุด ๓.๓๓ - - -
*มนี ยั สําคัญทางสถติ ทิ ี่ระดบั ๐.๐๕

จากตารางที่ ๔.๔๖ พบวา ประชาชนที่มีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน มี
ความคิดเหน็ ตอ นโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครองสวนทองถนิ่ รอบ
บงึ แกน นคร จงั หวดั ขอนแกน แตกตางกนั อยางมีนยั สําคญั ทางสถิติท่ีระดบั ๐.๐๕ จํานวน ๒ คู ไดแ ก

ประชาชนท่ีมีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรม ดานสติสัมปชัญญะ ในระดับนอย
แตกตางกับประชาชนทม่ี ีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสง เสรมิ การทอ งเท่ียวขององคก ร
ปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน ดานการประชาสัมพันธ ในระดับปานกลาง
ระดบั มาก

ประชาชนท่ีมีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรม ดานสติสัมปชัญญะ ในระดับปานกลาง
แตกตางกบั ประชาชนท่ีมีความคดิ เห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสง เสรมิ การทอ งเทยี่ วขององคก ร
ปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน ดานการประชาสัมพันธ ในระดับมาก นอกนั้น
ไมพบความแตกตา งรายคู

ผลสรปุ โดยภาพรวมการเปรียบเทยี บความคิดเห็นของประชาชนตอนโยบายทางการเมือง
ในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครองสว นทองถิน่ รอบบึงแกนนคร จังหวดั ขอนแกน จําแนก
ตามปจ จัยสว นบุคคล ตามสมมตฐิ าน ๑-๕ รายละเอยี ดดงั แสดงในตารางที่ ๔.๔๗

๑๐๔

ตารางท่ี ๔.๔๗ แสดงผลสรุปโดยการเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนตอนโยบายทาง
การเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกน
นคร จังหวดั ขอนแกน จาํ แนกตามปจจัยสวนบุคคล ตามสมมตฐิ าน ๑ - ๕

สมมตฐิ าน ตัวแปร ตวั แปรตาม t F Sig ผลการทดสอบ
ตน ยอมรบั ปฏิเสธ
๑ เพศ นโยบายทางการเมืองในการ ๐.๒๐ - ๐.๗๗
สง เสริมการทองเทย่ี วของ
องคกรปกครองสว นทองถน่ิ
รอบบึงแกนนคร จังหวัด
ขอนแกน
๒ อายุ นโยบายทางการเมืองในการ - ๑.๑๐ ๐.๓๕
สงเสรมิ การทองเท่ียวของ
องคกรปกครองสว นทองถนิ่
รอบบึงแกนนคร จังหวัด
ขอนแกน
๓ อาชพี นโยบายทางการเมืองในการ - ๑.๕๕ ๐.๒๑
สง เสรมิ การทองเทย่ี วของ
องคกรปกครองสวนทองถน่ิ
รอบบึงแกน นคร จงั หวดั
ขอนแกน
๔ ราย ได นโยบายทางการเมืองในการ - ๐.๗๓ ๐.๕๗
สง เสริมการทองเทย่ี วของ
องคกรปกครองสว นทองถิ่น
รอบบงึ แกน นคร จังหวัด
ขอนแกน
๕ ระดับ นโยบายทางการเมืองในการ - ๑.๕๐ ๐.๑๗
การ สง เสรมิ การทองเท่ียวของ
ศกึ ษา องคกรปกครองสว นทองถิ่น
รอบบงึ แกนนคร จงั หวดั
ขอนแกน

๑๐๕

จากตารางท่ี ๔.๔๗ สรุปไดวา ประชาชนมีเพศตางกัน มีความคิดเห็นตอนโยบายทาง
การเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกรปกครองสวนทองถิ่นรอบบึงแกนนคร จังหวัด
ขอนแกน โดยภาพรวมไมแ ตกตา งกัน จงึ ปฏิเสธสมมตฐิ าน

ประชาชนมีอายุตางกัน มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการ
ทองเที่ยวขององคกรปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน โดยภาพรวมไมแตกตาง
กนั จึงปฏิเสธสมมตฐิ าน

ประชาชนมีอาชีพตางกัน มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการ
ทองเที่ยวขององคกรปกครองสวนทองถิ่นรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน โดยภาพรวมไมแตกตาง
กัน จงึ ปฏเิ สธสมมติฐาน

ประชาชนมีรายไดตางกัน มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการ
ทองเที่ยวขององคกรปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน โดยภาพรวมไมแตกตาง
กนั จงึ ปฏเิ สธสมมตฐิ าน

ประชาชนมีระดับการศึกษาตางกัน มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมอื งในการสงเสริม
การทองเท่ียวขององคกรปกครองสวนทองถิ่นรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน โดยภาพรวมไม
แตกตา งกัน จงึ ปฏเิ สธสมมติฐาน

ผลสรปุ โดยภาพรวมการเปรียบเทยี บความคิดเห็นของประชาชนตอนโยบายทางการเมือง
ในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกรปกครองสวนทองถิ่นรอบบึงแกน นคร จงั หวัดขอนแกน จําแนก
หลักเบญจธรรม ตามสมมตฐิ าน ๖ รายละเอยี ดดังแสดงในตารางที่ ๔.๔๘

ตารางที่ ๔.๔๘ แสดงผลสรุปโดยภาพรวมการเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนตอนโยบาย
ทางการเมืองในการสงเสริมการทอ งเที่ยวขององคกรปกครองสวนทองถ่นิ รอบบึงแกน
นคร จงั หวัดขอนแกน จําแนกหลกั เบญจธรรม ตามสมมติฐาน ๖

สมมติ ตวั แปร ตวั แปรตาม tF Sig ผลการทดสอบ
ฐาน ตน ยอมรบั ปฏเิ สธ
๖ ดา น นโยบายทางการเมืองใน - ๑๙.๕๘ ๐.๐๐ 
เมตตา การสง เสริมการทอ งเที่ยว
กรณุ า ขององคกรปกครองสว น
ทอ งถน่ิ รอบบงึ แกนนคร
จงั หวัดขอนแกน
๖ ดา น นโยบายทางการเมืองใน - ๒๑.๓๒ ๐.๐๐ 
สมั มาอา การสงเสรมิ การทอ งเท่ยี ว
ชีวะ ขององคกรปกครองสว น
ทองถน่ิ รอบบงึ แกน นคร
จังหวดั ขอนแกน

๑๐๖

สมมติ ตวั แปร ตัวแปรตาม tF Sig ผลการทดสอบ
ฐาน ตน ยอมรบั ปฏิเสธ
๖ ดา นกาม นโยบายทางการเมืองใน - ๑๘.๗๙ ๐.๐๐ 
สงั วร การสงเสริมการทอ งเทยี่ ว
ขององคกรปกครองสวน
ทองถ่ินรอบบงึ แกนนคร
จังหวัดขอนแกน
๖ ดาน นโยบายทางการเมืองใน - ๒๒.๒๙ ๐.๐๐ 
สจั จะ การสงเสรมิ การทองเทย่ี ว
ขององคกรปกครองสวน
ทองถน่ิ รอบบงึ แกนนคร
จังหวดั ขอนแกน
๖ ดาน นโยบายทางการเมืองใน - ๒๐.๙๔ ๐.๐๐ 
สติสมั ปชั การสง เสริมการทอ งเท่ยี ว
ญญะ ขององคกรปกครองสว น
ทอ งถ่ินรอบบึงแกนนคร
จงั หวดั ขอนแกน

จากตารางท่ี ๔.๔๘ สรปุ ไดวา ประชาชนท่ีมกี ารปฏิบัตติ นตามหลักเบญจธรรมตา งกัน มี
ความคิดเหน็ ตอ นโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครองสว นทองถนิ่ รอบ
บึงแกนนคร จงั หวัดขอนแกน โดยภาพรวมแตกตางกนั จึงเปนไปตามสมมติฐานที่ตง้ั ไว

๔.๖ ผลการวิเคราะหแนวทางการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกรปกครองสวน
ทองถิ่นรอบบึงแกน นคร จังหวัดขอนแกน

๑. ดา นแหลงหรอื กิจกรรมทองเทีย่ ว
พบวา ทางเทศบาลไดใหความสําคัญกับการสงเสริมการทองเที่ยวรอบบึงแกนนครและมี
ความภาคภูมิใจกับสถานที่ดังกลาวเปนอยางมากจะเห็นไดวา ทางเทศบาลมักจะจัดกิจกรรมตาง ๆ
บริเวณรอบบึงแกนนครอยูบอยครั้งและมีกิจกรรมตาง ๆ ที่เทศบาลไดสงเสริมอีกทั้งบึงแกนนครเปน
สถานที่ท่ีสําคัญเพราะเปนท่ีต้ังของอนุสาวรียพระนครศรีบริรักษซ่ึงทานเปนเจาเมืองขอนแกนคนแรก
และก็มีที่สําคัญ ๆ อีกมากมายโดยรอบบึงแกนนครในสวนที่ส่ือสารเพ่ือสรางความรักและความ
ภาคภูมิใจในความเปนไทยทางเทศบาลก็ไดจัดกิจกรรมตาง ๆ เชน ลอยประทีปบูชา พุทธกตัญู
ประเพณีออกพรรษา ตกั บาตรเทโว เปนตน ซึ่งกิจกรรมท้ังหมดท่ีทางเทศบาลจัดขน้ึ ก็ไดใหช ุมชนตาง ๆ
เขามามีสวนรวมทุกครั้งโดยการท่ีใหชุมชนเขามามีสวนรวมน้ันนอกจากจะเปนการอนุรักษวัฒนธรรม

๑๐๗

ของชุมชนแลวยังไดสรางความรักความสามัคคีใหแกคนในชุมชน72๑ ไปดวยนอกจากนั้นทางเทศบาลก็
ยังไดมีการจัดกิจกรรมรวมกับทางวัดและพระสงฆท่ีอยูในพ้ืนที่อยูเสมอเพราะวัดก็จัดเปนสถานท่ี
ทองเท่ียวเชนกันจึงเปนส่ิงท่ีขาดกันไมไดเพราะท้ัง ๒ ฝายตองหนุนชวยกันเพราะบานกลับวัดจะ
ขาดกันไมไดเลย กอนท่ีจะทําโครงการหรือกิจกรรมตาง ๆ จะตองมีการแจงใหประชาชนไดรับทราบ
อยางทั่วถึงรวมทั้งตองเชิญตัวแทนชุมชนหรือคณะกรรมการชุมชนใหไดเขามามีสวนรวมเปน
คณะกรรมการตาง ๆ ของแตละกิจกรรมตองใหประชาชนรูวาตัวเขา ชุมชนของเขามีปญหาอะไรโดย
ใหประชาชนเปนผูหาปญหาสาเหตุของปญหาแลวใหพวกเขาชว ยกนั คิดชวยกันหาแนวทางวาจะแกไข
ปญหาอยางไรโดยเทศบาลจะเปนผูดูแลและคอยชวยเหลือ ดานบุคคลากรและดานงบประมาณ
ภายใตย ุทธศาสตรการสรางสังคมเอ้ืออาทรดวยจิตสาธารณะของการเปน“ผูให” การใหอยางมีคณุ คา
และรับอยางมีศักด์ิศรี ภายใตโครงการ “คนขอนแกน ไมทอดท้ิงกัน” เพื่อตองการชวยเหลือผูรับ
โอกาสอยางตอเนื่องและทั่วถึงในเร่อื งความเดือดรอนของผูรับโอกาส ผูตกทุกขไดยาก ผูที่อยูในภาวะ
ทุกขยากลําบากดานตาง ๆ และจากการสํารวจพบวายังมีผูรับโอกาสท่ีข้ึนทะเบียนในโครงการคน
ขอนแกนไมทอดท้ิงกันอีกหลายคน73๒

๒. ดานการตลาดการทองเท่ยี ว
พบวา การสงเสริมตลาดท่ีตั้งอยูในบึงแกนนครใหดูดีข้ึนเพ่ือดึงดูดประชาชนทั่วไปและ
นักทองเท่ียวใหมาจับจายใชสอยพรอมทั้งมีการปรับปรุงภูมิทัศนโดยรอบและจัดงานใหญ ๆ เชน
มหกรรมหมอลํา เปนตน และอีกหลายอยางการนําเสนอสถานที่สําคญั รอบบึงแกนนครเชนแหลงการ
เรียนรูประวัติเมืองขอนแกนท่ีโฮมมูลมังและยังมีการจัดการคาขายที่หลากหลาย เชน อาหาร เส้ือผา
และอ่ืน ๆ อีกมากมายและเทศบาลก็ไดดําเนินการเพื่อเปนการกระตุนใหเกิดการใชจายผานการจัด
งานเทศกาลตาง ๆเพ่ือใหนักทองเท่ียวไดมาเท่ียวชมตลอดอาทิเชน งานสวนเรืองแสง เทศกาล
สงกรานตอีสาน เปนตน บางครั้งก็จะไดรวมกับทางวัดและพระเถระในเขตเทศบาลจัดงานบุญ
ประจําปตาง ๆ และยังมีกิจกรรมที่นาสนใจอีกมากมายที่ทางเทศบาลไดรวมกับวัดและชุมชนจัดขึ้น
เพ่ือเปนการกระตนุ การใชจายและกระตนุ เศรษฐกิจในสวนตาง ๆ ของเทศบาล
ในชวงท่ีผานมา ภาครัฐไดออก มาตรการดานการทองเที่ยว ทั้งมาตรการกอนหนาและ 16
มาตรการลาสุด เพื่อกระตุนรายไดท้ังจากนักทองเท่ียวตางชาติและชาวไทย74๓ เชน การขยายระยะเวลา
มาตรการ Free Visa on Arrival โครงการรอยเดียวเท่ียวทั่วไทย เปนตน จากประสบการณในอดีต การ
กระตุนภาคการทองเที่ยวมีประสิทธิผลตอเศรษฐกิจชัดเจน เพราะภาคทองเที่ยวมีความแข็งแกรงใน
ระดับหนึ่งเปนพื้นฐานและตอบสนองเร็วตอมาตรการกระตุน อีกทั้งยังสงผลดีกระจายไปในหลายภาค
สวน ไมวาจะเปนรานอาหาร รานคาทั้งขนาดใหญและขนาดเล็ก กลุมเกษตรกร และธุรกิจขนสง เปนตน
แตมาตรการเหลาน้ันก็เปนมาตรการระยะสั้น เราตองไมลืมวาการพัฒนาศักยภาพภาคการทองเที่ยวให

๑ สมั ภาษณ นายธีรศกั ดิ์ ฑีฆายุพันธ, นายกเทศมนตรีนครขอนแกน, ๒๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓.
๒ สัมภาษณ นายธวัชชัย ร่นื รมยสริ ิ, รองนายกเทศมนตรนี ครขอนแกน ,๒๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓.
๓ สมั ภาษณ นายมนตรี สงิ หปณุ ณภทั ร, รองนายกเทศมนตรนี ครขอนแกน, ๒๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓.

๑๐๘

สามารถเปนฮีโรต ัวจริงชวยขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยไดอ ยางยงั่ ยืน จะตองมมี าตรการระยะยาวดว ยเชนกัน
โดยในอดีตที่ผานมาภาคการทองเท่ียวประสบปญหาเชิงโครงสรางที่อาจกระทบตอศักยภาพและการ
เติบโตในระยะยาวอยูพอสมควรมุงแกปญหาการกระจุกตัวของนักทองเที่ยว เทศบาลจึงวางแผน
ออกแบบการทองเท่ียวโดยคํานึงถึง ความรูสึก ท่ีนักทองเท่ียวจะไดรับนอกเหนือจากประสบการณจาก
การเดินทาง75๔

๓. ดานการทองเที่ยวเชงิ วัฒนธรรม
พบวา สิ่งอํานวยความสะดวกและความพรอมใหแกประชาชนทั่วไปและนักทองเที่ยว
ที่มาเยี่ยมเยือนอีกทั้งยังมีสถานที่ศักดิ์สิทธิ์รอบบึงแกนนครอยูถึง ๙ แหงรอใหนักทองเที่ยวไดไป
เยี่ยมชมไดตลอดภายในบึงแกนนครก็มีสิ่งนาสนใจมากเชน วัดเสาเดียว ศาลเจาแมสองนาง หรือ
อยากจะแวะพักที่สวนมิตรภาพขอนแกน – หนานกิง สักการะเจาแมกวนอิม วัฒนธรรมของชุมชน
โดยเปดพื้นที่สรางสรรครอบบึงแกนนครใหเปนประธานที่แสดงและจําหนายสินคาวัฒนธรรมชุมชน
อํานวยความสะดวกใหนักทองเที่ยวไดเลือกซื้อสินคาวัฒนธรรมโดยรวมถึงการประชาสัมพันธทางสื่อ
ตาง ๆ การสรางภาคีเพื่อการทองเที่ยวเพื่อใหเกิดสิ่งตาง ๆ หลากหลายภายในรอบบึงแกนนคร
น่ันเองส่ิงที่มาจากยุทธศาสตรชาติ ๒๐ ปนั้นไดเลือกจังหวัดขอนแกนใหเปนหนึ่งในเมืองที่ไดรับการ
ผลักดันใหเปนเมืองทองเที่ยวโดยมีนักทองเท่ียวกลุมหนึ่งนั้นถือเปนนักทองเท่ียวที่มีศักยภาพในการ
ใชจายคุมคา76๕ ทางเทศบาลนครขอนแกนไดดําเนินการเพื่อเปนการกระตุนใหเกิดการใชจายสวนการ
จัดงานเทศกาลตาง ๆ อาทิเชนเทศกาลสวดมนตขามปงาน countdown ปใหมงานสวนเชียงแสง
โดยงานตาง ๆ จะจัดเครื่องมือทางเทศบาลนครขอนแกนกวา ๑ วันเพื่อดึงใหนักทองเที่ยวกลุม
ดังกลาวมาจับจายใชสอยไดงายขึ้น
พื้นท่ีรอบบึงแกนนครประกอบดวยสถานท่ีทองเที่ยวการที่ปจจัยวาประชาชนนิยมมา
ทองเท่ียวสวนมากคือประเภทสิ่งศักด์ิสิทธิ์รอบบึงแกนนครประมาณ ๙ แหงซ่ึงทางเทศบาลนคร
ขอนแกน ไดม ีความคิดจะจัดพน้ื ทไี่ หวส ิ่งศักดสิ์ ิทธ์ิ ๙ แหงรอบบึงแกน นคร77๖ ปทผี่ านมาเพื่อสงเสริมการ
ในของทางมจรขอนแกนแตท้ังนี้ ภาษานอยจะเนนใหประชาชนไดครับเส่ียงเซียมซีเพ่ือเปนการเสริม
ดวงความรักความสามารถในใหเกิดข้ึนในทางการงานรวมทั้งประชาชนท่ีมากราบไหวสิ่งศักดิ์สิทธิ์รอบ
บงึ แกน นคร
๔. ดา นการประชาสัมพนั ธ
พบวา มีการติดตอส่ือสารและรับฟงความคิดเห็นของประชาชน โดยมุงตอบสนอง
ผลประโยชนรวมกันขององคกรและประชาชน เพื่อทําใหเกิดความเขาใจระหวางภาครัฐกับภาค
ประชาชน โดยมกี ารสอื่ สารขาวสารทีต่ รงไปตรงมา และการนาํ เสนอขอมูลทเ่ี ปนประโยชนต อประชาชน
ในการดําเนินงานตาง ๆ มีการเชิญชวนใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการจัดกิจกรรมตาง ๆ เพ่ือให

๔ สัมภาษณ นายมารุต อว นไตร, เลขานุการนายกเทศมนตร,ี ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๓.
๕ สัมภาษณ นายเติมศักดิ์ เดชโบราณ, ประธานชมุ ชนคมุ วดั ธาตุ, ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๖๓.
๖ สัมภาษณ นางโสภา พศิ พล, ประธานชุมชนหนองแวงเมืองเกา ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๓.

๑๐๙

เกิดความเช่ือมั่นในการดําเนินโครงการภาครัฐ และมีการนําสื่อออนไลนมาชวยในการเปนชองทางใน
การประชาสัมพนั ธ78๗

เทศบาลนครขอนแกนมุงสรางความเขมแข็งใหสังคมท้ังทางดานรางกายและจิตใจจะเห็น
ไดจากการพัฒนาพื้นที่บึงแกนนครใหเปนสถานที่ออกกําลังกาย พักผอน หรืออื่น ๆ เทศบาลได
ปรับปรุงภูมิทัศนใหมีความสวยงามและมีการรักษาสิ่งแวดลอมอยางดี79๘ อาทิเชน มีถังทิ้งขยะตามจุด
ตาง ๆ มีพนักงานทําความสะอาดและไดมีการจัดตั้งคณะกรรมการบริหารบึงแกนนครเพ่ือความ
เรียบรอยดีงามของพ้ืนท่ีโดยการรวมมอื กันกับชุมชนตาง ๆ ทีอ่ ยูรอบบึงแกนนคร นอกจากน้ี เทศบาล
นครขอนแกนไดจัดทาํ โครงการบานสีขาวชุมชนสีขาว เพื่อเปนการดําเนินการปองกันและแกไขปญหา
ยาเสพติด โดยเทศบาลใชพ ลังบวกท่ีเปรียบเสมือนจดุ ขาวที่มีจาํ นวนมากกวาลอมจดุ สดี ําไมใหแผขยาย
เพ่ิม รวมถึงการผนึกกําลังกับเจาหนาทีภ่ าครัฐสวนอนื่ ๆ ทีเ่ กี่ยวของ ผานกิจกรรมตา ง ๆ ของเทศบาล
เองและหนวยงานภาคีเครือขายมีการเพิ่มจํานวนชุมชนท่ีเขารวมโครงการผานการชักชวนและความ
รวมมือของผูนําชุมชนที่เกิดความเช่ือม่ันตอกระบวนการทํางานของเทศบาล เพื่อสรางความเขมแข็ง
ใหก บั สงั คม80๙

สรุปไดวา แนวทางการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกรปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกน
นคร จงั หวัดขอนแกน พบวา ๑) ดา นแหลงหรอื กิจกรรมทองเที่ยว จัดกิจกรรมตาง ๆ จะตองแจงให
ประชาชนไดรับทราบ รวมถึงเชิญตัวแทนชุมชนเขามามีสวนรวมเปนคณะกรรมการในกิจกรรมตาง ๆ
๒) ดา นการตลาดการทองเทย่ี ว ภาครฐั และสถานท่ีทองเที่ยวสนบั สนุนใหช ุมชน หรือประชาชน กลุม
แมบาน และนักธุรกิจ เขาไปจําหนายสินคาเพื่อเปนการสนับสนุนการทองเท่ียว และเปนการกระตุน
เศรษฐกิจภายในชุมชนแหลงทองเท่ียว ๓) ดานการทองเท่ียวเชิงวัฒนธรรม สถานที่ทองเที่ยวท่ีมี
อารยะธรรม ประเพณี วัฒนธรรมของทองถิ่น เชน วัดท่ีมีความสําคัญในการตั้งเมืองขอนแกน และ
สถานที่ฟนฟู และอนุรักษ สภาพพ้ืนที่ดั้งเดิม ๔) ดานการประชาสัมพันธ มีการเผยแพรขอมูล
ขาวสารของสถานท่ีทองเท่ียวอยางชัดเจน และภาครัฐสนับสนุนการสรางแหลงขอมูลขาวสารของ
สถานทีท่ อ งเท่ยี วเพอ่ื ใหงา ยตอ การสอบถาม เชน สรางเว็บไซต สรา งเพสเฟสบคุ เปน ตน

๔.๗ ผลการวิเคราะหแนวทางการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครองสวน
ทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวดั ขอนแกน ตามหลักเบญจธรรม

๑. ดานเมตตากรุณา
พบวา แหลงทองเท่ียวภายในและรอบนอกบึงแกนนครมีสถานที่สําคัญอยูหลายสถานที่
เชน พิพิธภัณฑโฮงมูลมังขอนแกน เปนสถานที่จัดแสดงวัตถุส่ิงของทางประวัติศาสตรการต้ังเมืองของ
แกน ประเพณีวัฒนธรรมดั้งเดิมจนปจจุบัน ประวัติผูทําคุณประโยชนแกจังหวัดขอนแกน และอีก

๗ สัมภาษณ นายธรี ศักดิ์ ฑีฆายพุ นั ธ, นายกเทศมนตรีนครขอนแกน, ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๓.
๘ สมั ภาษณ นางสุธินี พรหมณ,ี ประธานชมุ ชนคมุ วดั กลาง, ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๓.
๙ สมั ภาษณ นายเติมศกั ดิ์ เดชโบราณ, ประธานชุมชนคมุ วดั ธาตุ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๓.

๑๑๐

มากมาย จัดแสดงใหนักทองเท่ียวไดเขามาชมและศึกษาเร่ืองราว วัฒนธรรม ประเพณีทาง
ประวัติศาสตร81๑๐ และยังมีสถานที่ทองเที่ยวทางวัฒนธรรมทางพระพุทธศาสนา เชน วัดธาตุพระ
อารามหลวง มีเจดียนครเดิม เปนโบราณสถานที่สําคัญ มีลวดลายเปนแบบดั้งเดิมทรงกรวยมีฉัตรบน
ยอด วัดกลางเมืองเกา มีเจดียที่สวยงามศิลปะรวมสมัยสรางข้ึนในภายหลัง วัดหนองแวงพระอาราม
หลวง มีพระมหาธาตุแกนอนุสรณสาธุชน สรางข้ึนในภายหลัง เปนศิลปะแบบประยุกต (เสมือนแหที่
ทอดลงมาเบ้ืองลาง) วัดโพธิ์ บานโนนทัน มีพิพิธภัณฑโบราณ ศาลาโพธิสาร ๗๒ ท่ีมีภาพฝาผนังแบบ
ปนนูน และภาพวาด และสังเวชนียสถาน ๔ ตาํ บล จําลอง ฯลฯ โดยสถานที่ทองเทีย่ วนน้ั ไดจัดทําเปน
ภาคีเครอื ขา ยในการใหบ ริการนกั ทองเทย่ี วท่ีเดนิ ทางเขา มาดวยความอนุเคราะหจากพระคุณเจาทกุ วัด
ในการใหค วามรูในทางวัฒนธรรม ประเพณี ของแตละชุมชน และมีการสบื ทอด ถายทอดสูเยาวชนรุน
หลงั เพอื่ ใหคงอยอู ยา งยง่ั ยืน82๑๑

๒. ดานสัมมาอาชวี ะ

พบวา ภาครัฐสงเสริมใหชุมชนภายในแหลงทองเที่ยวเขามามีสวนรวมในการจัดการ
บริการดานอาชีพ และรายไดของชุมชน โดยมีการสนับสนุนผลิตภัณฑของชุมชน เชน การจักสาร ผา
ไหมและผาฝายตาง ๆ ใหบริการภายในพิพธิ ภัณฑโฮงมูลมังขอนแกน83๑๒ และสว นสถานที่ทองเท่ียวรอบ
บึงแกนนคร เชน วัดธาตุพระอารามหลวง ก็มีการใหชุมชนเขามามีบทบาทในการจัดการงานของสวน
โบราณสถาน พระธาตุนครเดิมในดา นการจดั งานประเพณีสบื สารวฒั นธรรม ประเพณีสักการะพระพุทธ
พระลับประจําป และใหความรูค วามเขา ใจแกนักทองเท่ียว ฯลฯ84๑๓ วดั กลาง ก็สนบั สนนุ ใหชุมชนมสี วน
รวมในการ จัดงานประเพณีทางวัฒนธรรม ใหความรูทางดานศาสนาวัตถุ ฯลฯ ๑๔ วัดหนองแวงพระ
85
อารามหลวง มีการสนับสนุนใหชุมชนเขามามีสวนรวมในการ ตอนรับแนะแนวทาง ใหความรูเก่ียวกับ
วัฒนธรรม ประเพณี ในทองถิ่น และมีชุมชนเชามารักษา ทําความสะอาด โดยมีคาตอบแทน และวัด
โพธิ์ บานโนนทัน ไดมีชุมชนเขามารักษา สืบทอด ตอยอด วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ความหมายรูป
ปนนูนและภาพวาดฝาผนัง เพ่ือใหความรูแกนักทองเท่ียว เชน วัฒนธรรมการฟอนเต้ียโนนทัน ท่ีมีมา
นานกวารอยป86๑๕ เปน ตน

๑๐ สัมภาษณ นายมนตรี สิงหปุณณภัทร, รองนายกเทศมนตรนี ครขอนแกน, ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๓.
๑๑ สัมภาษณ นายธีรศักด์ิ ฑฆี ายพุ นั ธ, นายกเทศมนตรนี ครขอนแกน , ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๓.
๑๒ สัมภาษณ นายธวชั ชยั รืน่ รมยส ริ ,ิ รองนายกเทศมนตรนี ครขอนแกน ,๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๓.
๑๓ สัมภาษณ พระโสภณพัฒนบัณฑิต, รศ. ดร., เจาอาวาสวัดธาตุพระอารามหลวง เจาคณะจังหวัด
ขอนแกน , ตาํ บลในเมือง อําเภอเมอื ง จงั หวดั ขอนแกน , ๒๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓.
๑๔ สัมภาษณ พระครูปรยิ ัติมัชฌิมานุกูล, วดั กลาง ตําบลเมอื งเกา อําเมืองเมือง จังหวดั ขอนแกน, ๒๔
พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓.
๑๕ สัมภาษณ พระครูวนิ ัยธรเจตพล อินฺทปฺโญ, วดั โพธ์ิ บานโนนทัน ตาํ บลในเมอื ง อาํ เภอเมอื ง จังหวัด
ขอนแกน , ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๓.

๑๑๑

๓. ดานกามสงั วร

พบวา ภาคอีสานมีวัฒนธรรมประเพณีที่เก่ียวกับการสํารวมระมัดระวังในเร่ืองการเคารพ
สถานที่อันเปนท่ีสักการบูชาอยางมาก เพราะคําสอนของนักปราชญหรือคนโบราณถือวาถามีการลบ
หลูส่ิงศักด์ิสิทธ์ินั้นจะนําไปสูเรื่องราย เชน ความเชื่อเรื่องเทพไท เทวดา ภูตผี บรรพบุรุษ และการ
เคารพผูใหญ87๑๖ ดังนั้นจึงสงผลมาถึงเร่ืองของการทองเที่ยวโดยปริยายเพราะสถานท่ีทองเที่ยวใน
ประเทศไทยสวนใหญเปนสถานที่เกี่ยวกับความเชื่อ เชน พุทธสถานตาง ๆ ภายในวัด หรือวฒั นธรรม
ขอม วัฒนธรรมราณทวารวดี ซึ่งเก่ียวกับความเชื่อทั้งนั้น จึงสงผลใหนักทองเท่ียวท่ีเขามาตองมีการ
แตงตัวใหเรียบรอยมิดชิด ใหความเคารพสถานท่ีซ่ึงเปน วัด ก็ดี ปรางกู ก็ดี หรือสถานที่ตาง ๆ ท่ีมี
ความสําคัญทางประวัติศาสตร ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม ทีด่ งี ามของชมุ ชนน้ัน ๆ ๑๗
88

๔. ดานสจั จะ

พบวา เทศบาลนครขอนแกนเปนหนว ยงานท่ีรบั ผิดชอบสถานที่ทองเที่ยวบึงแกนนครรอบ
ในซ่ึงสนับสนุนใหชุมชนเขาไปมีสวนรวมในการรักษา ประกอบไปดวย วัดเสาเดียว จําลอง ของชาว
เวียดนาม สวนมิตรภาพ ขอนแกน - หนานหนิง มีประติมากรรม วัฒนธรรมแบบจีน โฮงมูลมัง เปน
พิพิธภัณฑ วัฒนธรรมทองถิ่นของชุมชน ศาลเจาพอมเหศักด์ิ (ศาลหลักเมืองเดิม) หรือศาลเจาพอ
มเหศักดิ์หลกั เมือง และอนุสาวรีย พระนครศรบี รีรกั ษ ฯลฯ ซงึ่ มีการบูรณะ ฟนฟู รักษา และปรับปรุง
เปนประจํา โดยมีการตรวจสอบและเปดเผยขอมูลแกนประชนชน เพราะเทศบาลสนับสนุนให
ประชาชน หรือตัวแทนของแตละชุมชน เขามามีสวนรวมในการบริหารงาน และประธานชุมชนเปน
กรรมการของบึงแกนนครอยูแลว และมีการเผยแผขอมูลขาวสารในชองทางตา ง ๆ อาทิ เชน เวบ็ ไซต
เพสเฟสบคุ เปน ตน89๑๘

สวนสถานท่ีทองเที่ยวรอบนอกบึงแกนนคร เชน วัดเหนือ (วัดธาตุพระอารามหลวง) วัด
กลาง วดั ใต (วัดหนองแวงพระอารามหลวง) และวัดทา แขก (วัดโพธิ์ บานโนนทัน) ซึ่งเปนวดั สําคัญใน
การสรางเมืองขอนแกน โดยมีพระนครศรีบริรักษ บรมราชภักดี (เพ้ียเมืองแพน) เปนเจาเมืองผูสราง
เมื่อ พ.ศ. ๒๓๓๒ และท้ัง ๔ วัด มีเจาอาวาสเปนลําดับจนปจจุบัน และไดมีการบูรณปฏิสังขรณ
ตามลาํ ดบั มา มีหนว ยงานภาครฐั เขา มาสนบั สนุนในการสรางศาสนวัตถุบาง และทางวดั ไดใหชมุ ชนเขา
มารว มเปนคณะกรรมการในการบริหารกิจการวดั เชน ตาํ แหนง ไวยาวัจรกร มัคนายก เปน ตน90๑๙

๑๖ สัมภาษณ พระครูวินัยธรเจตพล อินฺทปโฺ ญ, วัดโพธ์ิ บานโนนทัน ตําบลในเมือง จังหวดั ขอนแกน,
๒๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓.

๑๗ สัมภาษณ พระโสภณพัฒนบัณฑิต, รศ.ดร., เจาอาวาสวัดธาตุพระอารามหลวง เจาคณะจังหวัด
ขอนแกน, ตาํ บลในเมือง อาํ เภอเมือง จงั หวดั ขอนแกน , ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๖๓.

๑๘ สัมภาษณ นายธีรศกั ดิ์ ฑีฆายพุ ันธ, นายกเทศมนตรีนครขอนแกน , ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๓.
๑๙ สัมภาษณ พระครูปริยัติธรรมวงศ, รศ.ดร., ผูชวยเจาอาวาสพระอารามหลวง วัดหนองแวงพระ
อารามหลวง ตาํ บลเมืองเกา อําเภอเมอื ง จังหวดั ขอนแกน, ๒๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓.

๑๑๒

๕. ดานสมั ปชัญญะ

พบวา การปกครองสวนทองถิ่นมีการสนับสนุนใหบุคลากรของสถานที่ทองเท่ียวจัด
สัมมนาเพื่อเพิ่มศักยภาพในการถายทอดองคความรูเก่ียวกับสถานที่ทองเที่ยว และดานวัฒนธรรม
ขนบธรรมเนียมประเพณีของชุมชนทองถิ่น และมีการพัฒนาแหลงทองเท่ียวใหเหมาะสม มีหองนํ้า
อาคารรับรองนกั ทองเที่ยวอยางเพยี งพอ91๒๐

ในสวนสถานท่ีทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม มีการอบรมมัคคุเทศกในการใหความรูแก
นักทองเที่ยว โดยสนับสนุนใหเยาวชน ประชาชน นักศึกษา92๒๑ มีกิจอาสาเขารวมเปนภาคีเครือขาย
เพ่ือใหมีศักยภาพในการใหขอมูลแกนักทองเท่ียว และมีการกําหนดเสนทางในการเท่ียวอยางเปน
ระบบ มีระบบในการติดตอคนหาขอมูลอยางชัดเจน สถานท่ีทองเที่ยวมีการใชเทคโนโลยีท่ีทันสมัย
เชน การสแกนคิวอารโคต เพ่ือสืบคนขอมูลความหมาย ความเปนมา ของสถานท่ีตาง ๆ เชน ภาพฝา
ผนังของวัดโพธิ์ บานโนนทัน ไดรับการสนับสนุนจาก นิสิต มหาวิทยาลัยขอนแกน จัดทําเว็บไชต
แหลงขอ มูลโดยสแกนควิ อารโ คต แตละจดุ ที่ตองการทราบขอมลู น้นั ๆ ๒๒
93

สรุปไดวา แนวทางการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครองสวนทองถิ่นรอบบึงแกน
นคร จังหวัดขอนแกน ตามหลักเบญจธรรม พบวา ๑) ดานเมตตากรุณา ควรจัดแสดงใหนักทองเท่ียวได
เขามาชมและศึกษาเร่ืองราว วัฒนธรรม ประเพณีทางประวัติศาสตร ๒) ดานสัมมาอาชีวะ ควรสงเสริม
ใหชุมชนภายในแหลงทองเที่ยวเขามามีสวนรวมในการจัดการบริการดานอาชีพ และรายไดของชุมชน
โดยมีการสนับสนุนผลิตภัณฑของชุมชน ๓) ดานกามสังวร ควรสํารวมระมัดระวังในเร่ืองการเคารพ
สถานท่ีอันเปนท่ีสักการบูชา ๔) ดานสัจจะ ควรมีการเผยแผขอมูลขาวสารในชองทางตาง ๆ อาทิ เชน
เว็บไซต เพสเฟสบุค เปนตน และ ๕) ดานสติสัมปชัญญะ ควรอบรมมัคคุเทศกในการใหความรูแก
นกั ทอ งเทีย่ ว สรา งภาคีเครอื ขาย เพือ่ ใหม ศี กั ยภาพในการใหขอมูลแกนักทองเท่ียว

๔.๘ สรุปองคค วามรทู ไ่ี ดจากการวิจยั

ระดับความคิดเห็นของประชาชนตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยว
ขององคกรปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน โดยภาพรวม อยูในระดับมากและ
ระดับความคดิ เห็นหลักธรรมในดานการสงเสริมการทองเที่ยวรอบบึงแกนนครโดยหลักเบญจธรรม ๕
โดยภาพรวมอยูในระดับมาก นอกจากน้ัน ประชาชนมี เพศ อายุ อาชีพ รายได และระดับการศึกษา
มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน
รอบบึงแกนนคร จังหวดั ขอนแกน โดยภาพรวมไมแ ตกตา งกัน อีกทัง้ ยงั พบวา ประชาชนท่ีมกี ารปฏบิ ัติ

๒๐ สมั ภาษณ นายธวัชชัย รน่ื รมยส ิร,ิ รองนายกเทศมนตรีนครขอนแกน ,๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๓.
๒๑ สัมภาษณ พระครูปริยัติธรรมวงศ, รศ.ดร., ผูชวยเจาอาวาสพระอารามหลวง วัดหนองแวงพระ
อารามหลวง ตําบลเมืองเกา อําเภอเมอื ง จังหวัดขอนแกน, ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๖๓.
๒๒ สัมภาษณ พระครูวนิ ัยธรเจตพล อินทฺ ปฺโญ, วัดโพธิ์ บานโนนทัน ตําบลในเมือง จังหวดั ขอนแกน,
๒๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓.

๑๑๓

ตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียว
ขององคกรปกครองสวนทองถน่ิ รอบบงึ แกน นคร จังหวัดขอนแกน แตกตา งกนั

แนวทางการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกรปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัด
ขอนแกน พบวา ควรจัดกิจกรรมตาง ๆ รอบบึงแกนนคร ท่ีเปนกิจกรรมอนุรักษวัฒนธรรมของชุมชน
ควรมีการปรับปรงุ ภมู ิทศั นโ ดยรอบ และมกี ารจัดการเรยี นรูในสถานทสี่ าํ คญั มีการประชาสมั พันธผานสื่อ
ตาง ๆ นําเสนอขอมูลท่ีเปนประโยชนตอประชาชน มีการจัดต้ังคณะกรรมการบริหารบึงแกนนคร เพ่ือ
ความเรียบรอยในพื้นที่โดยรอบ อีกทั้งยังพบวา ควรจัดใหนักทองเท่ียวไดเขามาชมและศึกษาเร่ืองถึง
วัฒนธรรม ประเพณีท่ีดีงามของชุมชนด้ังเดิม และจัดใหมีภาคีเครือขายในการทองเท่ียว ระหวาง วัด
ชุมชน และภาครัฐและสนับสนุนใหชุมชนมีสวนรวมในการจัดงานประเพณีทางวัฒนธรรม ใหความรู
เกี่ยวกับวัฒนธรรมประเพณีของทองถิ่น มีการปรับปรุงพัฒนาแหลงทองเท่ียวใหเหมาะสม มีสถานท่ี
รับรองนักทองเที่ยวอยางเพียงพอ และจัดสัมมนาและอบรมมัคคุเทศกในการใหความรูแกนักทองเที่ยว
เพือ่ เพ่มิ ศกั ยภาพในการทองเทยี่ วของทองที่

บทที่ ๕

สรปุ การอภปิ รายผลและขอ เสนอแนะ

การวิจัยเร่ือง “นโยบายทางการเมอื งในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครองสวน
ทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน” มีวัตถุประสงค คือ เพื่อศึกษาความคิดเห็นของประชาชน
ตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียว เพื่อศึกษาความคิดเห็นของประชาชนตอ
หลักธรรมการสงเสริมการทองเที่ยวรอบบึงแกนนครโดยหลักเบญจธรรม เพื่อเปรียบเทียบความ
คิดเห็นของประชาชนตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยว จําแนกตามปจจัยสวน
บุคคลและหลักเบญจธรรม เพื่อศึกษาแนวทางการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกรปกครองสวน
ทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน เปนการวิจัยแบบผสม (Mixed Method) โดยเปนการวจิ ัย
เชิงปรมิ าณ (Quantitative Research) ซึ่งเปนการวิจัยเชิงสํารวจ (Survey Research) กบั ผูใหขอมูล
สําคัญ (Key Informants) ผูวิจัยไดใชเคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมขอมูล คือ แบบสอบถามและแบบ
สัมภาษณ โดยแจกแบบสอบถามใหก ับกลุมตวั อยาง จาํ นวน ๒๘๕ ฉบับ แลวจึงนาํ มาทําการวเิ คราะห
ขอมูลโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูปทางสังคมศาสตร ในสวนแบบสัมภาษณไดนําไปสัมภาษณเชิงลึกกับ
ผูใหขอมูลสําคัญจํานวน ๑๕ รูป/คน แลวนํามาวิเคราะหขอมูลเชิงเน้ือหาตอไป ซ่ึงผลการวิเคราะห
ขอมูลมีดังตอไปนี้ มีความเช่ือมั่น เทากับ ๐.๙๙๒ วิเคราะหขอมูลโดยหาคาความถ่ี รอยละ คาเฉล่ีย
สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน การทดสอบคาที (t-test) และการวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว (One
way analysis of variance) และ เปรียบเทียบคาเฉลี่ยเปนรายคูโดยวิธีผลตางนัยสําคัญท่ี นอยท่ีสุด
(Least Significant Difference: LSD.) ผลการวิจัยสามารถสรุป อภิปรายผล และมีขอเสนอแนะ
ตามลําดบั ดังนี้

๕.๑ สรปุ ผลการวิจัย
๕.๒ การอภปิ รายผลการวจิ ัย
๕.๓ ขอ เสนอแนะ

๕.๑ สรุปผลการวจิ ยั

๕.๑.๑ ปจ จยั สวนบุคคลของผตู อบแบบสอบถาม
ผูต อบแบบสอบถามสว นใหญเปนเพศหญิง จํานวน ๑๖๐ คน คิดเปนรอ ยละ ๕๖.๑ มีอายุ
อยูระหวาง ๓๑ – ๔๐ ป จํานวน ๙๑ คน คิดเปนรอยละ ๓๑.๙ อยูในระดับการศึกษามัธยมศึกษา
จาํ นวน ๗๕ คน คดิ เปนรอยละ ๒๖.๓ มอี าชพี ธุรกจิ สวนตัว/คาขาย จํานวน ๑๒๒ คน คิดเปนรอ ยละ
๔๒.๘ มีรายไดร ะหวา ง ๒๐,๐๐๑ – ๓๐,๐๐๐ บาท จํานวน ๗๕ คน คดิ เปน รอยละ ๒๖.๓

๑๑๕

๕.๑.๒ ความคิดเห็นของประชาชนตอนโยบายทางการเมอื งในการสงเสรมิ การทองเทยี่ ว
ขององคก รปกครองสวนทองถน่ิ รอบบึงแกน นคร จงั หวัดขอนแกน

พบวา ความคิดเห็นของประชาชนตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยว
ขององคกรปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน โดยภาพรวม อยูในระดับมาก
(x� = ๓.๖๕) เม่ือพิจารณาเปน รายดาน พบวา ดานทอ่ี ยูในระดับมาก เรยี งลาํ ดบั จากคา เฉลยี่ จากมาก
ไปหานอย ไดแก ดานแหลงหรือกิจกรรมทองเท่ียว มีคาเฉลี่ยมากที่สุด (x� = ๓.๖๘) รองลงมา คือ
ดานการตลาดการทองเที่ยว (x� = ๓.๖๖) รองลงมา คือ ดานการทองเท่ียวเชิงวัฒนธรรม (x� =
๓.๖๕) และดา นสุดทาย คือ ดา นการประชาสมั พนั ธ (x� = ๓.๖๐)

๕.๑.๓ ความคิดเห็นของประชาชนตอหลักธรรมการสงเสริมการทองเท่ียวรอบบึงแกน
นคร โดยหลักเบญจธรรม ๕

พบวา ความคดิ เห็นของประชาชนตอหลักธรรมการสงเสรมิ การทองเทยี่ วรอบบึงแกนนคร
โดยหลักเบญจธรรม ๕ โดยภาพรวมอยูในระดับมาก (x� = ๓.๖๔ ) เม่ือพิจารณาเปนรายดานพบวา
อยูในระดับมากทุกดาน เรียงลําดับคาเฉล่ียจากมากไปหานอย ไดแก ดานเมตตากรุณา (x� = ๓.๖๗)
ดานสัมมาอาชีวะ (x� = ๓.๖๕) ดานกามสังวร (x� = ๓.๖๕) ดานสติสัมปชัญญะ (x� = ๓.๗๘) และ
ดานสจั จะ (x� = ๓.๕๘) ตามลําดับ

๕.๑.๔ ผลการเปรียบเทียบความคิดเหน็ ของประชาชนตอนโยบายทางการเมืองในการ
สงเสริมการทองเที่ยวขององคกรปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน จําแนก
ตามปจ จยั สว นบคุ คลและเบญจธรรม

๑) ประชาชนมีเพศตางกัน มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริม
การทองเท่ียวขององคกรปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน โดยภาพรวมไม
แตกตา งกนั จึงปฏิเสธสมมติฐาน

๒) ประชาชนมีอายุตางกัน มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริม
การทองเท่ียวขององคกรปกครองสวนทองถิ่นรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน โดยภาพรวมไม
แตกตางกนั จงึ ปฏเิ สธสมมติฐาน

๓) ประชาชนมีอาชีพตางกัน มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริม
การทองเที่ยวขององคกรปกครองสวนทองถิ่นรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน โดยภาพรวมไม
แตกตางกนั จงึ ปฏเิ สธสมมติฐาน

๔) ประชาชนมีรายไดตางกัน มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริม
การทองเที่ยวขององคกรปกครองสวนทองถิ่นรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน โดยภาพรวมไม
แตกตา งกัน จงึ ปฏิเสธสมมตฐิ าน

๕) ประชาชนมีระดับการศึกษาตางกัน มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองใน
การสงเสริมการทองเที่ยวขององคกรปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน โดย
ภาพรวมไมแ ตกตา งกนั จึงปฏเิ สธสมมติฐาน

๖) ประชาชนท่ีมีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรมตางกัน มีความคิดเห็นตอ
นโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกรปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร

๑๑๖

จงั หวัดขอนแกน โดยภาพรวมแตกตางกนั จึงเปนไปตามสมมติฐานท่ีตั้งไว อยางมีนัยสําคญั ทางสถิติท่ี
ระดบั ๐.๐๕

๕.๑.๕ แนวทางการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครองสวนทองถิ่นรอบบึงแกน
นคร จงั หวัดขอนแกน สรปุ ไดด ังนี้

๑) ดานแหลงหรือกิจกรรมทองเท่ียว ควรมีการสงเสริมกิจกรรมในการทองเที่ยว
โดยการเพ่ิมกิจกรรมใน เชน นําการละเลนพ้ืนบานมาจัดแสดง เปนตน ภายในแหลงทองเท่ียว โดยมี
ชุมชนเขาไปสวนรวมในการจัดกิจกรรม เพ่ือสรางความรวมมือระหวางภาครัฐและภาคประชาชน
มุงเนน เพอ่ื สรา งความรวมมอื เปนการสง เสริมการทองเทีย่ วทยี่ ่งั ยนื

๒) ดานการตลาดการทองเท่ียว ควรสงเสริมสินคาทองถิ่นในชุมชน หรือสินคา
OTOP เพื่อเพิ่มรายไดใหเกิดมีในชุมชน และควรมีการจัดสถานที่ในการเสริมการจับจายชื้อของที่
ชัดเจน เพ่อื งายตอการการเขา ถงึ ของนักทองเที่ยว และมกี ารดแู ลรกั ษาความสะอาดอยางสมํ่าเสมอ

๓) ดานการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ควรสงเสริมการทองเท่ียวในแบบการศึกษา
เรียนรู โดยการนําเสนอขอมูลทางดานวัฒนธรรม ซ่ึงมีท้ังดานแตงกาย ดานดนตรี ดานศีลปะ ดาน
อาหาร หรือดานวิถีชีวิตภายในชุมชน เพ่ิมแหลงเรียนรูในลักษณะท่ีลงมือปฏิบัติ โดยเนนสรางการมี
สวนรวมของนักทองเทีย่ ว โดยการนาํ เอาวัฒนธรรมมาสรา งเปนอัตลกั ษณใ นการทอ งเที่ยว

๔) ดานการประชาสัมพันธ ควรมีการประชาสัมพันธขอมูลหรือการดําเนินการใน
แหลงทองเท่ียว จัดใหมีมัคคุเทศกในการใหความรูในสถานท่ีทองเที่ยว หรือมีการจัดอบรมเสวนา
ความรูเก่ียวกับสถานที่ทองเที่ยว ที่อาจเก่ียวกับประวัติหรือความสําคัญ เปนตน และการใชส่ือสังคม
ออนไลนเขามามสี วนชวยในการประชาสัมพนั ธถึงกิจกรรมการทอ งเท่ยี วท่ีไดม กี ารจดั ขนึ้

๕.๑.๖ แนวทางการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกน
นคร จังหวดั ขอนแกน ตามหลกั เบญจธรรม

๑) ดานเมตตากรุณา ควรจัดใหมีกิจกรรมที่เสริมความสมัครสมานสามัคคีกันของ
ประชาชน ที่ปรารถนาดีตอกัน เปนกิจกรรมที่มีการลงมือชวยกันของคนในชุมชน การแบงปนส่ิงของ
ใหแ กก นั

๒) ดานสัมมาอาชีวะ ความสงเสริมการทํางานชวยเหลือกัน การสงเสริมอาชีพให
เกิดมีภายในชุมชน หรือแหลงภายในทองเที่ยว จัดสถานที่ใหประชาชนไดคาขายสินคา เปนการสราง
งาน สรางอาชีพ และสรา งเงนิ ใหก ับชุมชน

๓) ดานกามสังวร ควรจัดรูปแบบการทองเที่ยวที่หลากหลาย การทองเที่ยวเชิง
อนรุ กั ษ และการปรับปรงุ ทัศนยี ภาพในแหลง ทอ งเทย่ี ว

๔) ดา นสัจจะ ควรมกี ารทาํ แผนนโยบายในการพัฒนาแหลงทอ งเที่ยว ๓ – ๕ ป เพื่อ
กําหนดการพัฒนาการทองเท่ียวท่ีชัดเจน และตอเนื่องเพื่อสรางยุทธศาสตรในการสงเสริมการ
ทอ งเท่ยี ว

๕) ดานสติสัมปชัญญะ ควรมีการติดตามการดําเนนิ งานในการสงเสริมกิจกรรมการ
ทองเท่ียวอยา งสมา่ํ เสมอ และประเมินผลการดําเนนิ งานในการสงเสรมิ การทองเท่ยี ว

๑๑๗

๕.๒ การอภปิ รายผลการวจิ ัย

การอภิปรายผลการวิจัยครั้งน้ีผูวิจัยจะไดนําประเด็นท่ีมีความสําคัญ“นโยบายทาง
การเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนครจังหวัด
ขอนแกน” มีประเด็นทีน่ าสนใจสามารถนาํ มาอภปิ รายไดด ังน้ี

๕.๒.๑ นโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกรปกครองสวน
ทอ งถน่ิ รอบบงึ แกน นครจังหวดั ขอนแกน

จากผลการศึกษา พบวา ความคิดเห็นของประชาชนตอนโยบายทางการเมืองในการ
สงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครองสวนทองถิ่นรอบบึงแกนนครจงั หวัดขอนแกน โดยรวมอยูใน
ระดับมาก ทั้งน้ีอาจเปนเพราะวา ประชาชนมีสวนรวมในการสงเสริมการทองเท่ียว และมีสวนในการ
พัฒนาแหลงทองเท่ียวในรอบบึงแกนนคร โดยการเขาไปใชประโยชนในสถานที่ทั้งการไปพักผอน
หยอนใจ และใชเปนสถานที่ออกกาํ ลังกาย และเสนทางในการเดินทางกส็ ะดวกตอการเดินทาง มีการ
จัดใหมีแผนท่ีเพ่ืองายตอการเดินทางของนักทองเท่ียว สอดคลองกับงานวจิ ัยของ พร้มิ พัตร ไชยมี ได
ทําการวิจัยเรื่อง “การประเมินดานคุณภาพดานการบริการนักทองเท่ียวในแหลงทองเที่ยวเชิง
วัฒนธรรมในอําเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี” ผลการวิจัยพบวา ความพึงพอใจตอ
คุณภาพการบริการในแหลงทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในอําเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
อยใู นระดับมาก และไมสอดคลองกบั สชุ าดา รกั เกื้อ ไดทําการวจิ ัยเร่ือง “แนวทางพัฒนาการสงเสริม
การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของเทศบาลตําบลนครชุม อําเภอกําแพงเพชร” ผลการวิจัยพบวา การ
สง เสรมิ การทอ งเทย่ี วเชิงวฒั นธรรมของเทศบาลตําบลนครนครชมุ โดยภาพรวมอยใู นระดับปานกลาง

เมื่อพจิ ารณาเปน รายดาน สามารถนํามาอภปิ รายผลการวจิ ัยไดดังน้ี
ดา นแหลง หรือกจิ กรรม
ความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกรปกครอง
สวนทองถิ่นรอบบึงแกนนครจังหวัดขอนแกน ดานแหลงหรือกิจกรรม โดยรวมอยูในระดับมาก ทั้งนี้
อาจเปนเพราะวา มีการใหบ ริการกับนักทอ งเท่ียวในสว นการเดนิ ทางจากภาครฐั โดยมีรถขอนแกน ชิตี้
บสั ในการใหบ รกิ ารในการชว ยในการเดนิ ทางในไปแหลงทองเท่ยี วบึงแกน นคร และการนาํ เอากจิ กรรม
สําคัญทางพระพุทธศาสนา และนาํ วัฒนธรรมประเพณีของแตละชุมชนเขา มาจดั แสดงและสรางใหเปน
เอกลักษณในสถานที่ทองเที่ยว สอดคลองกับบทสัมภาษณของ นายธีรศักดิ์ ฑีฆายุพันธ ท่ีกลาววา
กิจกรรมท้ังหมดที่ทางเทศบาลจัดขึ้นก็ไดใหชุมชนตาง ๆ เขามามีสวนรวมทุกครั้ง เปนการอนุรักษ
วฒั นธรรมของชุมชนแลวยงั ไดส รางความรักความสามัคคีใหแกคนในชุมชน และสอดคลองกับงานวจิ ัย
ของ ชนะพล เดชวิทูล, สมิหรา จิตตลดาการ, ดร. อนุชา ทีรคานนท, นางพรทิพย ออนนุม ไดทํา
การวิจยั เร่อื ง “การนาํ นโยบายพัฒนาการทองเที่ยวของกรุงเทพมหานครไปปฏิบัติ” ผลการวิจยั พบวา
มีการพัฒนาการทองเท่ียวใหเปนไปในทิศทางที่สรางสรรค และสอดคลองกับงานวิจัยของ ผศ.ดร.
กาญจนา สุคัณธสิริกุล ไดทําการวิจัยเร่ือง “การพัฒนาคุณภาพการทองเท่ียวเชิงวัฒนธรรมในภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ” ผลการวิจัยพบวา ศักยภาพในการรองรับดานการทองเท่ียว แหลงทองเท่ียวมี
การพัฒนาส่ิงอํานวยความสะดวกขน้ั พนื้ ฐาน และสอดคลองกับงานวิจัยของ สชุ าดา รักเกื้อ ไดท ําการ

๑๑๘

วิจัยเรื่อง “แนวทางพัฒนาการสงเสริมการทองเท่ียวเชิงวัฒนธรรมของเทศบาลตําบลนครชุม อําเภอ
กําแพงเพชร” ผลการวิจัยพบวา มีการจักตั้งศูนยบริการนักทองเที่ยว และสอดคลองกับงานวิจัยของ
พระครูภาวนาเจติยานุกูล, ฉวีวรรณ สุวรรณาภา และพัฒนนรี อัฐวงศ ไดทําการวิจัยเรื่อง “การมี
สวนรวมขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน ในการสงเสริมการทองเท่ียวเชิงวัฒนธรรมในจังหวัดแพร”
ผลการวิจัยพบวา เปนแหลงทองเท่ียวท่ีมีเสนทางการคมนาคมที่ตั้งอยูบนเสนทางหลัก ถนนหนทาง
สะดวกสบาย ณัชญากัญจน รัตนวรกานต ไดทําการวิจัยเร่ือง “องคกรปกครองสวนทองถิ่นกับ
มาตรการทางกฎหมายเพื่อสงเสรมิ การทองเที่ยว” ผลการวจิ ัยพบวา การพัฒนาโครงสรา งพื้นฐานและ
ส่ิงอาํ นวยความสะดวกเพ่อื การทองเที่ยว

ดานการตลาดการทอ งเทยี่ ว
ความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกรปกครอง
สวนทองถิ่นรอบบึงแกนนครจังหวัดขอนแกน ดานการตลาดการทองเท่ียว โดยรวมอยูในระดับมาก
ทั้งนี้อาจเปนเพราะวา มีการสงเสริมใหมีการคาขายในสถานทองเที่ยว มีศูนยการคาสินคาใหบริการ
กับนักทองเที่ยว เพ่ือใหนักทองเท่ียวไดจับจายซ้ือหาสินคา และเปนการเพ่ิมรายไดใหกับชุมชน
โดยรอบไดเขามาสรางอาชีพ และมีการจัดสถานท่ีการคาขายที่เปนระเบียบ และชัดเจน เปนการ
สรางภาคีระหวางภาครัฐกับประชาชน สอดคลองกับบทสัมภาษณของ นายมนตรี สิงหปุณณภัทร
กลาววา การสงเสริมตลาดที่ตั้งบึงแกนนครใหดูดีเพื่อดึงดูดประชาชนท่ัวไปและนักทองเที่ยวใหมา
จับจายใชสอย และสอดคลองกับงานวิจัยของ ธีระวัฒน แสนคํา, พระครูสังฆรักษเกียรติศักดิ์ กิตฺ
ติปฺโญ, และบุษกร วัฒนบุตร ไดทําการวิจัยเรื่อง “ยุทธศาสตรการพัฒนาการทองเที่ยวเชิง
วัฒนธรรมอยางย่ังยืนตามแนวพระพุทธศาสนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในจังหวัดเลย”
ผลการวิจัยพบวา กลยุทธการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานอาหารเพ่ือรองรับการทองเที่ยวเชิง
วฒั นธรรม
ดานการทองเทยี่ วเชงิ วัฒนธรรม
ความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครอง
สวนทองถ่ินรอบบึงแกนนครจังหวัดขอนแกน ดานการทองเท่ียวเชิงวัฒนธรรม โดยรวมอยูในระดับ
มาก ทั้งนี้อาจเปนเพราะวา สถานที่ทองเท่ียวรอบบึงแกนนครเปนชุมชนด้ังเดิม มีสถานท่ีสําคัญท่ี
เกาแก ท้ังวัด และโบราณสถาน เชน โฮงมูลมัง เปนพิพิธภัณฑเพื่อการศึกษาแหลงประวัติศาสตร
ชุมชน โดยมีการเปดใหนักทองเท่ียวไดเขาไปศึกษาถึงประวัติวิถีชีวิตของชุมชนดั้งเดิม และประเพณี
วัฒนธรรมของชุมชน และการบูรณาการการทองเที่ยวเชงิ พุทธ โดยการจัดใหมีการทองเที่ยวนมสั การ
ส่ิงศักด์ิสิทธิ์รอบบึงแกนนคร การจดั กิจกรรมตักบาตรพระสงฆหมูใหญรอบบึ่งแกนนคร และประเพณี
ลอยกระทง – ใตประทีปโคมไฟ เปนตนเปนกิจกรรมการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม สอดคลองกับบท
สัมภาษณของ นายเติมศักดิ์ เดชโบราณ กลาววา ประชาชนนิยมมาทองเที่ยวสวนมาก คือ ประเภท
ส่ิงศักดิ์สิทธ์ิรอบบึงแกนนคร และสอดคลอ งกับงานวิจัยของ ผศ.ดร.กาญจนา สุคณั ธสิริกุล ไดทาํ การ
วิจัยเรื่อง “การพัฒนาคุณภาพการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ” ผลการวิจัย
พบวา ศักยภาพในการดงึ ดูดใจในดา นการทอ งเที่ยว แหลง ทองเทีย่ วมีความเปน เอกลกั ษณดานวิถีชีวิต
ภูมิปญญา และองคความรูในงานประเพณีสวนใหญเปนทางพระพุทธศาสนา และมีกิจกรรมเสริม

๑๑๙

เพือ่ ใหเ กิดความสนุกสนานและนาสนใจ และความงดงามทางศิลปวฒั นธรรม เชน การแตง กาย ภาษา
ทใี่ ชในการส่ือสาร ความเปนอยูของคนในทองถิ่นการแสดงและการละเลน และสอดคลองกับงานวิจัย
ของ พระครูภาวนาเจติยานุกูล, ฉวีวรรณ สุวรรณาภา และพัฒนนรี อัฐวงศ ไดทําการวิจัยเรื่อง
“การมีสวนรวมขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ในการสงเสริมการทองเท่ียวเชิงวัฒนธรรมในจังหวัด
แพร” ผลการวิจัยพบวา มีคุณคาทางประวัติศาสตรและความเปนเอกลักลักษณของชุมชนมีวิถีชีวิต
ความเปนอยูเรียบงายมีวัฒนธรรมที่สืบสานกันมาอยางยาวนานและสงเสริมวัฒนธรรมสราง
กระบวนการแลกเปล่ียนเรยี นรูเพ่ือใหชมุ ชนและนกั ทอ งเที่ยวมีความตระหนักรใู นคุณคาความงามของ
และสอดคลองกับงานวิจัยของ ธีระวัฒน แสนคํา, พระครูสังฆรักษเกียรติศักด์ิ กิตฺติปฺโญ, และ
บุษกร วัฒนบุตร ไดทําการวิจัยเร่ือง “ยุทธศาสตรการพัฒนาการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอยางยั่งยืน
ตามแนวพระพุทธศาสนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในจังหวัดเลย” ผลการวิจัยพบวา รูปแบบ
สังคมวัฒนธรรมท่ีมีความสมัครสมานสามัคคี มีโอกาสท่ีจะทําใหเกิดการพัฒนาการทองเท่ียวเชิง
วัฒนธรรมอยางยั่งยืน โดยการนําหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาประยุกตใชเพื่อใหเกิดการพัฒนา
ดานการทองเท่ยี วเชงิ วัฒนธรรมอยา งยั่งยนื

ดานการประชาสัมพันธ
ความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกรปกครอง
สวนทองถิ่นรอบบึงแกนนครจังหวัดขอนแกน ดานการทองเท่ียวเชิงวัฒนธรรม โดยรวมอยูในระดับ
มาก ทั้งน้ีอาจเปน เพราะวา มกี ารจดั ประชาสัมพนั ธถ ึงการจัดงานทอ งเท่ยี วตา ง ๆ รอบบึงแกนนคร ทั้ง
ปายประกาศ ทางวิทยุ และทางส่ือสังคมออนไลน เพ่ือการกระจายขอมูลขาวสารตาง ๆ ไปยัง
ประชาชนไดรับทราบ และมีการจัดใหมีแผนที่ทองเที่ยวรอบบึงแกนนคร เพื่องายตอการหาขอมูล
สําหรับนักทองเท่ียวท่ีตองการที่จะเดินทางไปยังสถานท่ีตาง ๆ และมีการกําหนดเสนทางการ
ทองเท่ียวเปนนโยบายของเทศบาลนครขอนแกน เปนการประชาสัมพันธเชิงรุก ที่สะดวกตอ
นักทองเท่ียว มีการจัดใหมีมัคคุเทศกประจําสถานที่ทองเท่ียว เพื่อไดใหขอมูลแกนักทองเที่ยวผูมา
เท่ียวไดทราบถงึ ขอมูลท่ถี ูกตองในแหลงทองเที่ยว สอดคลองกบั บทสัมภาษณของ นายธรี ศักดิ์ ฑีฆายุ
พันธ กลาววา การติดตอส่ือสารและรับฟงความคิดเห็นของประชาชน โดยมงุ ตอบสนองผลประโยชน
รวมกันขององคกรและประชาชน และนําเสนอขอมูลท่ีเปนประโยชนตอประชาชน และสอดคลองกับ
งานวิจัยของ สุชาดา รักเกื้อ ไดทําการวิจัยเร่ือง “แนวทางพัฒนาการสงเสริมการทองเที่ยวเชิง
วัฒนธรรมของเทศบาลตําบลนครชุม อําเภอกําแพงเพชร” ผลการวิจัยพบวา การเผยแพร
ประชาสมั พันธแนะนําสถานท่ีทองเท่ียวทางวิทยุ โทรทัศน เวบ็ ไซตและส่อื ตาง ๆ อยา งสมํ่าเสมอ และ
สอดคลองกับงานวิจัยของ รสสุคนธ ประดิษฐ และรัดเกลาเปรมประสิทธ ไดทําการวิจัยเร่ือง
“ศักยภาพและโอกาสในการพัฒนาการทองเที่ยวของอําเภอเขาคอ จังหวัดเพชรบูรณ” ผลการวิจัย
พบวา การสงเสริมดานการประชาสัมพันธและการสงเสริมเทศการประเพณีใหเปนแหลงทองเท่ียว มี
การบรกิ ารขอ มลู ขา วสาร การตดิ ตอ สอบถามเพอ่ื อํานวยความสะดวกแกน ักทองเทยี่ ว

๑๒๐

๕.๒.๒ ความคิดเห็นของประชาชนตอหลักธรรมการสงเสริมการทองเที่ยวรอบบึงแกน
นครโดยหลักเบญจธรรม ๕

ผลการวิจยั พบวา ความคิดเห็นของประชาชนตอหลักธรรมการสงเสริมการทองเที่ยวรอบ
บึงแกนนครโดยหลักเบญจธรรม ๕ โดยภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายดานพบวา อยู
ในระดับมากทุกดาน ทั้งน้ีอาจเปนเพราะวา การทองเที่ยวรอบบึงแกนนครเปนการทองเที่ยวเชิงพุทธ
โดยรอบบึงแกนนครนนั้ มีทั้งวัด และศาลที่เปนท่ีเคารพของคนที่มาเท่ียวสักการะ จึงมวี ัฒนธรรมแนว
พุทธและความเคารพในสถานท่ี และมีการจัดกิจกรรมในทางพระพุทธศาสนาเขามาจัดกิจกรรมใน
แหลงทองเที่ยว จึงมีการปฏิบัติตนตามแนวทางพุทธศาสนาเปนพ้ืนฐาน สอดคลองกับบทสัมภาษณ
ของ นายมนตรี สิงหปุณณภัทร กลาววา สถานท่ีแสดงจัดแสดงวัตถุส่ิงของทางประวัติศาสตรและ
ประเพณีวัฒนธรรมดั้งเดิมจนปจจุบัน จัดแสดงใหนักทองเที่ยวไดเขามาชมและศึกษาเรื่องราว
วัฒนธรรม ประเพณีทางประวัติศาสตร และสอดคลองกับงานวิจัยของ พระเอกนรินทร อาภากโร,
พระครูสุนทรมหาเจติยานุรักษ และจรูญศักดิ์ แพง ไดทําการวิจัยเรื่อง “การประยุกตใชหลักเบญจ
ศีลเบญจธรรมในการสงเสริมคุณธรรมจริยธรรมในโรงเรียนเทศบาลตําบลสันมหาพน อําเภอแมแตง
จังหวัดเชียงใหม” ผลการวิจัยพบวา มีการประสานความรวมมือกับองคกรทองถ่ินและผูปกครองใน
การดําเนินการจัดกิจกรรม และสอดคลองกบั งานวิจัยของ พระนัชพล ฐิตปฺโญ (คงพันธ), ชวาล ศิ
ริวัฒน และสมชัย ศรีนอก ไดทําการวิจัยเรื่อง “การศึกษาพฤติกรรมในการดําเนินชีวิตของนักเรียน
มัธยมศึกษาตอนปลาย ตามหลักเบญจศีล เบญจธรรม อําเภอขุนหาญ จังหวดั ศรีสะเกษ” ผลการวิจัย
พบวา การจัดกิจกรรมสาธารณประโยชนเพ่ือปลกู ฝง ใหเ ยาวชนมีจิตสํานึกท่ีดตี อ สงั คม

๕.๒.๓ การเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนตอนโยบายทางการเมืองในการ
สงเสริมการทองเที่ยวขององคกรปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน ตาม
ปจ จัยสว นบุคคลและตามหลกั ธรรมการสงเสริมการทอ งเท่ียวรอบบงึ แกน นคร

จากการเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริม
การทองเทีย่ วขององคก รปกครองสวนทอ งถิน่ รอบบึงแกนนคร จังหวดั ขอนแกน โดยจาํ แนกตามปจจัย
สวนบุคคล ไดแก เพศ อายุ อาชีพ รายได ระดับการศึกษาและตามหลักธรรมการสงเสริมการ
ทอ งเทีย่ วรอบบงึ แกน นคร

๕.๒.๓.๑ ผลการวิจัยพบวา ประชาชนมีเพศตางกัน มีความคิดเห็นตอนโยบาย
ทางการเมืองในการสงเสรมิ การทอ งเที่ยวขององคก รปกครองสวนทอ งถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัด
ขอนแกน โดยภาพรวมไมแตกตางกัน จงึ ปฏิเสธสมมตฐิ าน ทั้งนี้อาจเปนเพราะวา การทองเท่ียวเปน
การเดินทางของบุคคลจากท่ีอาศัยปกติไปยังท่ีอื่นเปนการชั่วคราวดวยความสมัครใจ เปนการสราง
ปฏิสมั พันธเชิงบวกกับสภาพแวดลอมทางธรรมชาติและในทางวัฒนธรรมในเรื่องเกีย่ วกับการเดินทาง
ไปยงั สถานท่ีตา ง ๆ เพศจึงไมส งผลตอการมีสวนรวมในกิจกรรมทางการเมืองความคิดเห็นตอนโยบาย
ทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน สอดคลองกับงานวิจัยของ
พริ้มพัตร ไชยมี ไดทําการวิจัยเร่ือง “การประเมินดานคุณภาพดานการบริการนักทองเที่ยวในแหลง
ทองเท่ียวเชิงวัฒนธรรมในอําเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี” ผลการวิจัยพบวา เพศ
แตกตางกนั มีความพงึ พอใจในการบรกิ ารนกั ทองเทยี่ ว ไมแตกตางกนั

๑๒๑

๕.๒.๓.๒ ผลการวิจัยพบวา ประชาชนมีอายุตางกัน มีความคิดเห็นตอนโยบาย
ทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคก รปกครองสวนทอ งถน่ิ รอบบึงแกนนคร จงั หวัด
ขอนแกน โดยภาพรวมไมแตกตางกัน จงึ ปฏิเสธสมมติฐาน ท้ังนี้อาจเปนเพราะวา การทองเที่ยวเปน
การเดินทางไปเพ่ือสัมผัสถึงประวัติความเปนมา ของสถานที่ท่ีไดเดินทางไป เปนการสราง
ประสบการณในการทองเท่ียว สรางจิตสํานึกตอสภาพแวดลอมและวัฒนธรรมทองถ่ิน เพ่ือใหเกิด
ความเขาใจในสถานที่ สอดคลองกับงานวิจัยของ พร้ิมพัตร ไชยมี ไดทําการวิจัยเรื่อง “การประเมิน
ดานคุณภาพดานการบริการนักทองเท่ียวในแหลงทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในอําเภอเมืองอุบลราชธานี
จงั หวัดอุบลราชธานี” ผลการวิจัยพบวา อายุ แตกตางกัน มีความพึงพอใจในการบริการนักทองเท่ียว
ไมแตกตา งกนั

๕.๒.๓.๓ ผลการวิจัยพบวา ประชาชนมีอาชีพตางกัน มีความคิดเห็นตอนโยบาย
ทางการเมืองในการสงเสรมิ การทองเที่ยวขององคกรปกครองสวนทองถนิ่ รอบบึงแกนนคร จงั หวัด
ขอนแกน โดยภาพรวมไมแตกตางกัน จึงปฏิเสธสมมติฐาน ท้ังน้ีอาจเปนเพราะวา การกําหนด
นโยบายการทองเที่ยวน้ัน เปนการวางแผนเพื่อใหความสะดวกและงานตอการทองเท่ียวของ
นกั ทองเที่ยว ซึ่งประชาชนทุกคนสามารถที่จะรับบรกิ ารจากสถานที่ทองเท่ียวในแตละสถานท่ีได เปน
การสงเสริมจากภาครัฐ ไมสอดคลองกับงานวิจัยของ พริ้มพัตร ไชยมี ไดทําการวิจัยเรื่อง “การ
ประเมินดานคุณภาพดานการบริการนักทองเที่ยวในแหลงทองเท่ียวเชิงวัฒนธรรมในอําเภอเมือง
อุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี” ผลการวิจัยพบวา อาชีพ แตกตางกัน มีความพึงพอใจในการ
บรกิ ารนักทอ งเที่ยว แตกตางกนั

๕.๒.๓.๔ ผลการวิจัยพบวา ประชาชนมรี ายไดตางกัน มีความคิดเห็นตอนโยบาย
ทางการเมืองในการสงเสรมิ การทองเที่ยวขององคกรปกครองสวนทอ งถิ่นรอบบึงแกนนคร จงั หวัด
ขอนแกน โดยภาพรวมไมแ ตกตางกนั จึงปฏิเสธสมมตฐิ าน ทั้งน้ีอาจเปนเพราะวา การทองเที่ยวรอบ
บึงแกนนครเปนการทองเที่ยวเชิญวัฒนธรรม ตามสถานที่สําคัญ และรอบบึงแกนนครถือวาเปน
สถานท่ีสาธารณะ โดยเปดใหทุกคนสามารถเขาไปทองเท่ียวได และอีกทั้งวัดก็เปนที่สาธารณะดวย
การเขาไปสักการบูชาสิ่งศักดิ์เปนเรื่องปจเจกบุคคล ข้ึนอยูที่ความสมัครใจของตัวบุคคล ไมสอดคลอง
กับงานวิจัยของ พร้ิมพัตร ไชยมี ไดทําการวิจัยเรื่อง “การประเมินดานคุณภาพดานการบริการ
นักทองเท่ียวในแหลงทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในอําเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี”
ผลการวจิ ัยพบวา รายได แตกตางกนั มีความพงึ พอใจในการบรกิ ารนกั ทองเทยี่ ว แตกตา งกัน

๕.๒.๓.๕ ผลการวิจัยพบวา ประชาชนมีระดับการศึกษาตางกัน มีความคิดเห็น
ตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกรปกครองสวนทองถ่ินรอบบึงแกน
นคร จังหวัดขอนแกน โดยภาพรวมไมแตกตางกัน จึงปฏิเสธสมมติฐาน ท้ังน้ีอาจเปนเพราะวา การ
จัดสถานที่การทองเท่ียวใหแกนักทองเท่ียวเปนการใหบริการของหนวยงานรัฐแกนักทองเที่ยว เพื่อ
ความสะดวกสบายของการมาเท่ียวตามสถานท่ีทองเที่ยวตาง ๆ ใหความสงเสริมดูแลในสถานท่ี
ทอ งเท่ียว สรางเครอื คายภาครี ะหวางหนวยงานรฐั และชมุ ชนโดยสงเสรมิ ใหชมุ มบี ทบาทที่สงเสริมการ
ทองเท่ียวเชิงทองถิ่น สอดคลองกับงานวิจัยของ พริ้มพัตร ไชยมี ไดทําการวิจัยเร่ือง “การประเมิน
ดานคุณภาพดานการบริการนักทองเท่ียวในแหลงทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในอําเภอเมืองอุบลราชธานี

๑๒๒

จังหวัดอุบลราชธานี” ผลการวิจัยพบวา ระดับการศึกษา แตกตางกัน มีความพึงพอใจในการบริการ
นักทอ งเทยี่ ว ไมแ ตกตางกัน

๕.๒.๓.๖ ผลการวิจัยพบวา ประชาชนท่ีมีการปฏิบัติตนตามหลักเบญจธรรม
ตางกัน มีความคิดเห็นตอนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครอง
สวนทองถ่ินรอบบึงแกนนคร จังหวัดขอนแกน โดยภาพรวมแตกตางกัน จึงเปนไปตามสมมติฐาน
ที่ต้ังไว ทั้งน้ีอาจเปนเพราะวา สถานที่ทองเท่ียวรอบบึงแกนนครลวนเปนสถานที่สําคัญ และเปนศูนย
ยึดเหนี่ยวจิตใจของประชาชนมีวัดเปนตน ลวนเปนสถานที่สําคัญที่นักทองเท่ียวเดินทางไป
สกั การะบชู ากราบไหวส ิ่งศักดิ์สิทธ์ิมีความสาํ รวมในการทองเที่ยว และทางหนวยงานรัฐไดจดั กิจกรรม
เชิงวัฒนธรรมตามสําคัญทางพระพุทธศาสนา โดยนํากิจกรรมที่ทางศาสนามาสรางเปนการทองเที่ยว
รอบบึ่งแกนนครท้ังประเพณีลอยกระทง ในเทศการออกพรรษาหรือกิจกรรมตักบาทรอบบึงแกนนคร
สอดคลองกับแนวคิดของ พิสิฐ เจริญสุข ไดทําการศึกษา “เบญจศีล – เบญจธรรม” ผลการศึกษา
พบวา ธรรมเปนเครือ่ งบํารงุ จิตใจใหงดงามสรา งอธั ยาศยั นสิ ัย ทีด่ ีและประณีต

๕.๓ ขอเสนอแนะ

ผลการวิจัยเรื่อง “นโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครอง
สวนทองถิ่นรอบบึงแกน นครจงั หวัดขอนแกน” ผูวจิ ยั มีขอเสนอแนะดงั นี้

๕.๓.๑ ขอ เสนอแนะเชิงนโยบาย
ผูว จิ ัยมีขอ เสนอแนะเชิงนโยบายดงั นี้

๑. หนวยงานที่เกี่ยวของกับนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวของ
องคกรปกครองสวนทองถ่ิน กลาวคือ องคกรปกครองสวนทองถิ่นจังหวัดขอนแกน ควรมีการสงเสริม
ใหม กี ารจดั แผนพฒั นาการทองเที่ยวเชงิ วฒั นธรรม

๒. หนวยงานท่ีเก่ียวของกับนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวของ
องคกรปกครองสวนทองถิ่น กลาวคือ องคกรปกครองสวนทองถ่ินจังหวัดขอนแกน ควรมีการจัดใหมี
ศูนยบรกิ ารขอมูลแหลงทองเทย่ี วใหกับนักทองเที่ยว

๓. หนวยงานที่เก่ียวของกับนโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวของ
องคกรปกครองสวนทองถิ่น กลาวคือ องคกรปกครองสวนทองถิ่นจังหวัดขอนแกน ควรมีการจัดให
ประชาชนในชมุ ชนเขามามีบทบาทในการสงเสริมการทองเท่ียวเชิงทองถ่ิน สนบั สนุนใหช ุมชนเขามามี
บทบาทมากขึ้น

๕.๓.๒ ขอเสนอแนะเชงิ ปฏบิ ตั ิการ
จากผลการวจิ ัย ผูวิจัยมขี อ เสนอแนะเชงิ ปฏบิ ัติดงั ตอ ไปน้ี

๑. หนว ยงานทเี่ กี่ยวของควรจัดอบรมมัคคเุ ทศกในการใหความรแู กน ักทองเท่ยี ว
๒. หนวยงานที่เกี่ยวของควรจัดใหมีคณะกรรมการของชุมชนไดเขามามีสวนรวมใน
การดูแลและรกั ษาสถานท่ีทองเทยี่ ว

๑๒๓

๕.๓.๓ ขอ เสนอแนะเพื่อการวจิ ัยคร้งั ตอ ไป
ผวู จิ ยั เสนอแนะการดําเนินการวจิ ยั ในลกั ษณะตอ ไปน้ี

๑. ควรศึกษานโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเท่ียวขององคกรปกครอง
สวนทอ งถน่ิ อ่นื ๆ เพอื่ เปรยี บเทยี บความแตกตา ง หรือไดแนวทางในการสง เสริมการทอ งเท่ียวเพ่มิ ข้ึน

๓. ควรศึกษานโยบายทางการเมืองในการสงเสริมการทองเที่ยวขององคกรปกครอง
สวนทองถ่ินตามหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา เชน หลักสังคหวัตถุ ๔, หลักฆราวาสธรรม ๔, หลัก
พรหมวหิ าร ๔, หลกั อทิ ธิบาท ๔ เพื่อนาํ มาเปรยี บเทยี บกับผลการวจิ ัยในครัง้ นี้

๔. ควรศึกษาความสัมพันธระหวางหลักพุทธธรรมกับนโยบายทางการเมืองในการ
สงเสรมิ การทอ งเท่ียวขององคกรปกครองสวนทองถน่ิ ใหเ หมาะสมกับสถานการณปจ จุบนั

๑๒๔

บรรณานกุ รม

๑. ภาษาไทย

ก. ขอมูลทุติยภูมิ

(๑) หนงั สอื :
กวี รักษชน. การสัมมนาการบริหารรัฐกิจ : การประเมินนโยบายสาธารณะ กรุงเทพมหานคร:

มหาวทิ ยาลยั รามคําแหง, ๒๕๔๑.
การทองเท่ียวแหงประเทศไทย. คําศัพทในอุตสาหกรรมการทองเท่ียว. กรุงเทพมหานคร: กอง

บรรณาธิการและฝก อบรม, ๒๕๔๔.
________. เอกสารประชุมเชิงปฏิบัติการดานการทองเที่ยวเชิงนิเวศ. กรุงเทพมหานคร:

สถาบนั วิจยั วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยีแหง ประเทศไทย, ๒๕๔๔.
กุลธน ธนาพงศธร. ประโยชนและบริการใน เอกสารการสอนชุดวิชาการบริหารงานบุคคลสาขา

วิทยาการจัดการ. พมิ พค รงั้ ท่ี ๗. นนทบุร:ี มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๓๐.
โกวิทย พวงงาม. การจัดการตนเองของชุมชนและทองถ่ิน. กรุงเทพมหานคร: บริษัทบพิธการพิมพ

จํากดั , ๒๕๕๓.
ไกรฤกษ ปนแกว. การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม. กรุงเทพมหานคร: ภาควิชาการจัดการธุรกิจระหวาง

ประเทศ. มหาวิทยาลัยกรงุ เทพ, ๒๕๕๕.
ฉันทัช วรรณถนอม. การวางแผนและการจดั นาํ เท่ียว. กรุงเทพมหานคร: วริ ตั น เอ็ดดูคชน่ั , ๒๕๕๔.
ชาญวิทย เกษตรศิริ. วิถีไทยการทองเท่ียวทางวัฒนธรรม. กรุงเทพมหานคร: โครงการวิถีทัศน,

๒๕๔๐.
ชูศรี วงศรัตนะ. เทคนิคการใชสถิติเพื่อการวิจัย. พิมพคร้ังท่ี ๗. กรุงเทพมหานคร: เทพเนรมิตร.

๒๕๔๑.
ถวลั ย วรเทพพุฒพิ งษ. การประเมินผลนโยบาย : ประสทิ ธภิ าพประสิทธิผลและความเปนธรรมของ

นโยบาย กรุงเทพมหานคร: สถาบนั บัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร, ๒๕๓๖.
เทิดชาย ชวยบํารุง. เอกสารประกอบการสอนรายวิชาระเบียบวิธีวิจัยสําหรับการทองเที่ยวและ

บรกิ าร. กรุงเทพมหานคร: สถาบันบัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร, ๒๕๕๕.
นิศา ชัชกุล. อุตสาหกรรมการทองเที่ยว. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,

๒๕๕๐.
บุญชม ศรีสะอาด. การวจิ ัยเบ้อื งตน. พิมพค ร้ังท่ี ๗. กรุงเทพมหานคร: สวุ รี ยิ าสาสน , ๒๕๔๕.
บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. การพัฒนาการทองเท่ียวอยางยั่งยืน. กรุงเทพมหานคร: เพรส แอนดดีไซน,

๒๕๔๘.
ประหยัด หงสทองคํา. การพัฒนาเมืองโดยกระบวนการปกครองทองถ่ิน. กรุงเทพมหานคร: นํา

อกั ษรการพมิ พ, ๒๕๑๙.

๑๒๕

ปรีชา แดงโรจน. อุตสาหกรรมทองเที่ยวสูศตวรรษท่ี ๒๑. พิมพคร้ังที่ ๑. กรุงเทพมหานคร: บริษัท
ไฟว แอนด โฟร พริ้นติง้ จํากัด, ๒๕๔๔.

ปญญา คลายเดช. ระเบียบวิจัยทางรัฐศาสตร. พิมพครั้งที่ ๒. ขอนแกน: หจก.ขอนแกนการพิมพ,
๒๕๖๐.

ปยะนุช เงินคลาย. นโยบายสาธารณะ. กรุงเทพมหานคร: ศูนยเอกสารทางวิชาการ คณะรัฐศาสตร
มหาวทิ ยาลัยรามคําแหง, ม.ป.ป.

พระพรหมคุณาภรณ ปอ.ปยุตฺโต. พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม. พิมพคร้ังท่ี ๑๒.
กรงุ เทพมหานคร: สหธรรมกิ , ๒๕๔๖.

พมิ พรรณ สจุ ารนิ พงค. มัคคเุ ทศก. พมิ พค ร้งั ที่ ๒. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร, ๒๕๕๒.
พสิ ิฐ เจรญิ สขุ . เบญจศลี –เบญจธรรม. กรงุ เทพมหานคร: กรมการศาสนา, ๒๕๔๓.
ไพฑูรย พงศะบุตร. การทองเที่ยวเชิงนิเวศ. สารานุกรมไทยสําหรับเยาวชน ฉบับเสริมการเรียนรู

เลม ๕. พิมพครั้งท่ี ๕. กรุงเทพมหานคร: โครงการสารานุกรมสําหรับเยาวชน โดยพระ
ราชประสงคพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ, ๒๕๕๓.
รงั สิมา มน่ั ใจอารย. อตุ สาหกรรมทอ งเที่ยว. กรงุ เทพมหานคร: พฒั นาวชิ าการ, ๒๕๕๕.
ราณี อิสิชัยกุล. การจัดการการทองเท่ียวเฉพาะทาง. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,
๒๕๕๗.
ศิริ ฮามสุโพธิ.์ สงั คมวิทยาการทองเทีย่ ว. กรุงเทพมหานคร: โอเดียสโตร, ๒๕๔๓.
ศุภชัย ยาวะประภาษ. นโยบายสาธารณะ. พิมพครั้งท่ี ๘. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพแหง
จฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลัย, ๒๕๓๓.
สมบัติ ธํารงธัญวงศ. นโยบายสาธารณะ: แนวความคิด การวิเคราะหและกระบวนการ พิมพครั้งที่
๑๐ กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พเ สมาธรรม, ๒๕๔๕.
สรอยตระกูล ติวยานนท อรรถมานะ. การบริหารระหวางประเทศ : ลักษณะปญหาในการ
บริหารงานบคุ คล. กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พจ ุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๓๓.
อดุ ม เชยกวี งศ. การทอ งเท่ยี วเชงิ นเิ วศ. กรงุ เทพมหานคร: แสงดาว, ๒๕๕๔.
(๒) วิทยานพิ นธ:
วาลิกา แสนคํา. “การทองเที่ยวทางวัฒนธรรมบานเปยงยาง อําเภอเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม”.
วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมการทองเท่ียว.
บณั ฑติ วิทยาลยั : มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม, ๒๕๔๕.
ภูสวัสด์ิ สุขเลี้ยง. “ประสิทธิผลของนโยบายสงเสริมการทองเท่ียวปทองเที่ยวไทย ๒๕๕๑-๒๕๕๒ ใน
การฟนฟูความเชื่อมั่นนักทองเท่ียวตางประเทศ”. วิทยานิพนธมหาวิทยาลัยนานาชาติ
แสตมฟอรด , ๒๕๔๕.

๑๒๖

(๓) รายงานวจิ ัย:
กาญจนา สุคัณธสิริกุล. “การพัฒนาคุณภาพการทองเท่ียวเชิงวัฒนธรรมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ”.

รายงานการวจิ ยั . มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีสรุ นารี: สาํ นกั วชิ าเทคโนโลยสี ังคม, ๒๕๕๖.
ภูสวัสดิ์ สุขเล้ียง. “การพัฒนาแหลงทองเที่ยวทางวัฒนธรรม กรณีศึกษา หมูบานหวยโปงผาลาด

อําเภอเวียงปา เปา จงั หวดั เชียงราย”. รายงานการวจิ ัย, มหาวิทยาลัยเชยี งใหม, ๒๕๔๕.
วิรัช วิรัชนิภาวรรณ. ดร. “การจัดรูปแบบการปกครองทองถ่ินในอนาคต : กรณีศึกษาจังหวัดนนทบุรี

นครราชสีมา และระนอง”. รายงานผลการวิจัย. คณะกรรมาธิการปกครอง วุฒิสภาและ
สถาบนั ดํารงราชานภุ าพ กระทรวงมหาดไทย, ๒๕๓๗.

(๔) บทความ:
ชนะพล เดชวิทลู . รศ.ดร. สมหิ รา จิตตลดากร. ดร. อนชุ า ทีรคานนท. นางพรทิพย ออนนุม. “การนํา

นโยบายพัฒนาการทองเที่ยวของกรุงเทพมหานครไปปฏิบัติ”. วารสารรัชตภาคต. ปที่
๑๑ ฉบับที่ ๒๓ (พฤษภาคม-สิงหาคม. ๒๕๖๐): ๒๑๘.
ณัชญากัญจน รัตนวรกานต. “องคกรปกครองสวนทองถิ่นกับมาตรการทางกฎหมายเพื่อสงเสริมการ
ทองเที่ยว”. วารสารรมพฤกษ มหาวิทยาลัยเกริก. ปท่ี ๓๖ ฉบับท่ี ๓ (กันยายน-
ธันวาคม. ๒๕๖๑): ๑๘๐-๑๘๑.
ธีระวัฒน แสนคํา. พระครูสังฆรักษเกียรติศักด์ิ กิตฺติปฺโญ. และบุษกร วัฒนบุตร. “ยุทธศาสตรการ
พัฒนาการทองเท่ียวเชิงวัฒนธรรมอยางยั่งยืนตามแนวพระพุทธศาสนาขององคกร
ปกครองสวนทองถิ่นในจังหวัดเลย”. วารสาร มจร สังคมศาสตรป รทิ รรศน. ปท่ี ๗ ฉบับ
ที่ ๒ (ฉบับพเิ ศษ) (เมษายน-มถิ ุนายน. ๒๕๖๑): ๔๐๕.
นุชนารถ รัตนสุวงศชัย. “กลยุทธการพัฒนาการทองเท่ียวเชิงวัฒนธรรม”. วารสาร มนุษยศาสตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. ปท ี่ ๑๘ ฉบับที่ ๑ (๒๕๕๔): ๓๑ - ๕๐.
พระครูภาวนาเจติยานุกูล. ฉวีวรรณ สุวรรณาภา และพัฒนนรี อัฐวงศ. “การมีสวนรวมขององคกร
ป ก ค ร อ ง ส ว น ท อ ง ถิ่ น ใน ก าร ส งเส ริ ม ก า ร ท อ ง เที่ ย ว เชิ งวั ฒ น ธ ร ร ม ใน จั งห วั ด แ พ ร ” .
วารสารบบัณฑิตปริทรรศน. มจร วิทยาเขตแพร. ปท่ี ๓ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม –
ธันวาคม ๒๕๖๐): ๔.
พระนัชพล ฐิตปฺโญ (คงพันธ). ชวาล ศิริวัฒน และสมชัย ศรีนอก. “การศึกษาพฤติกรรมในการ
ดําเนินชีวิตของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย ตามหลักเบญจศีล เบญจธรรม อําเภอขุน
หาญ จงั หวดั ศรีสะเกษ”. บัณฑติ ศึกษาปริทรรศน วทิ ยาลัยนครสวรรค. ปท่ี ๗ ฉบับท่ี ๒
(พฤษภาคม – สิงหาคม. ๒๕๖๒): ๘๕-๘๖.
พระเอกนรินทร อาภากโร. พระครูสุนทรมหาเจติยานุรกั ษ และจรญู ศักดิ์ แพง. “การประยุกตใชหลัก
เบญจธรรมในการสงเสรมิ คุณธรรมจริยธรรมในโรงเรยี นเทศบาลตําบลสันมหาพน อําเภอ
แมแตง จังหวัดเชียงใหม”. วารสารพุทธศาสตรศึกษา ปที่ ๙ ฉบับที่ ๑ (มกราคม –
มถิ นุ ายน. ๒๕๖๑): ๘๒-๘๓.

๑๒๗

พร้มิ พตั ร ไชยมี. “การประเมินคุณภาพดา นการบริการนกั ทอ งเทีย่ วในแหลง ทองเทยี่ วเชงิ วัฒนธรรมใน
อําเภอเมืองอบุ ลราชธานี จงั หวัดอบุ ลราชธาน”ี . วารสารมนษุ ยศาสตรและสังคมศาสตร.
ปท ่ี ๗ ฉบบั ท่ี ๒ (กรกฎาคม–ธนั วาคม. ๒๕๕๙): ๔๒.

รงค บุญสวยขวัญ. “การเมืองของนโยบาย”. วารสารสถาบันวิจัยญาณสังวร. ปที่ ๘ ฉบับที่ ๑
(มกราคม-มิถนุ ายน ๒๕๖๐): ๑๙๘ - ๒๐๐.

รสสคุ นธ ประดิษฐ และรัดเกลา เปรมประสิทธ์ิ. “ศักยภาพและโอกาสในการพัฒนาการทอ งเทีย่ วของ
อาํ เภอเขาคอ จังหวัดเพชรบูรณ”. วารสารสังคมศาสตร. ปท ่ี ๑๐ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม–
ธันวาคม. ๒๕๕๗):๑๒๗.

สุชาดา รักเกื้อ. “แนวทางพัฒนาการสงเสริมการทองเท่ียวเชิงวัฒนธรรมของเทศบาลตําบลนครชุม
อําเภอเมืองกําแพงเพชร จงั หวดั กําแพงเพชร”. รายงานสบื เนื่องจากการประชมุ วชิ าการ
ระดับชาติ คร้ังท่ี ๔. สถาบันวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏกําแพงเพชร (๒๒ ธันวาคม
๒๕๖๐): ๘๖๙.

(๕) เอกสารทไี่ มไ ดตีพมิ พเ ผยแพรและเอกสารอน่ื ๆ:
ขอ มลู จากสํานักทะเบยี นทองถน่ิ . เทศบาลนครขอนแกน . สํารวจเดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๖๓.
วิญู อังคณารักษ. แนวคิดการกระจายอํานาจการปกครองทองถิ่น ในเอกสารประกอบการ

บรรยาย. ม.ป.ท., ๒๕๑๙ (อดั สาํ เนา).
สํานักงานพัฒนาการทองเที่ยว. เอกสารชุดฝกอบรมทางไกลหลักสูตรการจัดการการทองเที่ยว

ชมุ ชนอยางยัง่ ยนื . กรงุ เทพมหานคร: สาํ นกั งาน, ๒๕๔๖. (อัดสาํ เนา).
อนุรักษ ปญญานุวัตน. ชุมชนทรัพยากรและการพัฒนาส่ิงแวดลอม. เอกสารประกอบคําสอน

สาขาวชิ าการจัดการมนษุ ยก ับส่งิ แวดลอม. เชยี งใหม: มหาวิทยาลัยเชยี งใหม, ๒๕๔๒.

(๖) สื่ออเิ ลก็ ทรอนิกส:
Google Sites. ประวัติบึงแกนนคร. [ออนไลน]. แหลงท่ีมา: https://sites.google.com/site/mtk

21652/bung-kaen-nkhr [๕ สงิ หาคม ๒๕๖๓].
กองจัดการสิ่งแวดลอมธรรมชาติและศิลปกรรม. การสงเสริมการทองเที่ยว. [ออนไลน]. แหลงท่ีมา:

http://naturalsite.onep.go.th/site/detail/526. [๕ สิงหาคม ๒๕๖๓].
ไปดวยกัน. บึงแกนนคร ขอนแกน. [ออนไลน]. แหลงท่ีมา: https://www.paiduaykan.com/

travel. [๒๓ มกราคม ๒๕๖๔].

(๗) สัมภาษณ/สนทนากลมุ :
สัมภาษณ พระโสภณพัฒนบัณฑิต, รศ.ดร., เจาอาวาสวัดธาตุพระอารามหลวง เจาคณะจังหวัด

ขอนแกน , ตําบลในเมอื ง อําเภอเมอื ง จงั หวัดขอนแกน , ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๖๓.
สัมภาษณ พระครปู รยิ ัติธรรมวงศ, รศ.ดร., ผูชว ยเจาอาวาสพระอารามหลวง วัดหนองแวงพระอาราม

หลวง ตาํ บลเมอื งเกา อาํ เภอเมอื ง จงั หวัดขอนแกน , ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๖๓.

๑๒๘

สัมภาษณ พระครูปริยัติมัชฌิมานุกูล, วัดกลาง ตําบลเมืองเกา อําเมืองเมือง จังหวัดขอนแกน, ๒๔
พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓.

สัมภาษณ พระครูวินัยธรเจตพล อินฺทปฺโญ, วัดโพธิ์ บานโนนทัน ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัด
ขอนแกน, ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๓.

สมั ภาษณ นายธรี ศักด์ิ ฑีฆายพุ ันธ นายกเทศมนตรีนครขอนแกน , ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๓.
สมั ภาษณ นายธวชั ชยั รนื่ รมยส ริ ิ รองนายกเทศมนตรีนครขอนแกน,๒๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓.
สัมภาษณ นายมนตรี สงิ หปุณณภทั ร, รองนายกเทศมนตรีนครขอนแกน , ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๓.
สัมภาษณ นายมารุต อว นไตร, เลขานุการนายกเทศมนตร,ี ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๓
สัมภาษณ นางโสภา พิศพล, ประธานชมุ ชนหนองแวงเมอื งเกา ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๓.
สมั ภาษณ นายเตมิ ศกั ด์ิ เดชโบราณ ประธานชุมชนคมุ วดั ธาตุ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๓.
สมั ภาษณ นางสธุ นิ ี พรหมณี ประธานชมุ ชนคุมวัดกลาง, ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๓.

๒. ภาษาอังกฤษ

1. Secondary Sources

(I) Books:
Alderfer. Harold. Local government in developing countries. New York: McGrawHill,

1964.
Barber. Michael P. Local government. 4th ed. London: Macdonald & Evans, 1987.
Bryne. Tony. Local government in Britain. 6th ed. London: penguin Books, 1994.
Dollery. Brian E. and Wallis. Joe L. The political economy of local government:

Leadership reform and market failure. Massachusetts: Edward Elgar
Publishing. 2001.
Griffith. J. A. G. Principles of local government law. London: University of London
Press, 1960.
Jones. Michael. Managing local government: Leadership for 21st century.
Melbourne: Hargreen Publishing Company, 1989.
Shah. Anwar and Shah. Sana. The new vision of local governance and the evolving
roles of local governments. In Shah. Anwar. ed. Local governance in
developing countries. Washington. D.C.: The World Bank, 2006.
Stewart John. Understanding the management of local government: Its special
purpose. conditional and tasks. London: Longman Group, 1988.
Wilson. David. and Game. Chris. Local government in The United Kingdom.
London: Macmillan Press, 1994.

๑๒๙

(II) Articles:
A.B. Lewis. "Local Seif Government : A Key to National Economic Advancement and

Political Stability". Philippine Journal of Public Administration. (January
1958): 55-57.

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก
รายนามผเู ชย่ี วชาญในการตรวจสอบเคร่ืองมือวจิ ัย
และหนงั สอื ขอความอนุเคราะหตรวจแกไขเครอื่ งมือท่ีใชในการทาํ การวิจัย

๑๓๒

รายนามผูเช่ียวชาญในการตรวจสอบเครอื่ งมือวิจัย

๑. พระมหาภิรัฐกรณ อํสุมาลี, ผศ.ดร. อาจารยประจําหลักสูตรพระพุทธศาสนา
มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั วิทยาเขตขอนแกน

๒. พระมหาพิสิฐ วิสิฏฐปฺโญ อาจารยประจําหลักสูตรพระพุทธศาสนา มหาวิทยาลัย
มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแกน

๓. พระมหาอธิวัฒน ภทรกวี อาจารยประจําหลักสูตรการสอนภาษาไทย มหาวิทยาลัย
มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั วิทยาเขตขอนแกน

๔. อาจารยสวาท ฮาดภักดี อาจารย ประจําหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต
มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั วิทยาเขตขอนแกน

๕. อาจารย ดร.สมควร นามสีฐาน อาจารยประจําหลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต
มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย วิทยาเขตขอนแกน

๑๓๓

หนังสอื ขอความอนุเคราะหผเู ช่ยี วชาญตรวจสอบคุณภาพเครอ่ื งมอื วจิ ัย

๑๓๔


Click to View FlipBook Version