The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวทางการพัฒนางาน เรื่อง การจัดทำรายงานการประเมินตนเอง (SAR) ระดับหลักสูตร ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แนวทางการพัฒนางาน เรื่อง การจัดทำรายงานการประเมินตนเอง (SAR) ระดับหลักสูตร ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น

แนวทางการพัฒนางาน เรื่อง การจัดทำรายงานการประเมินตนเอง (SAR) ระดับหลักสูตร ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น

Keywords: แนวทางการพัฒนางาน เรื่อง การจัดทำรายงานการประเมินตนเอง (SAR) ระดับหลักสูตร ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น

แนวทางการพัฒนางาน
เรอื่ ง การจัดทารายงานการประเมินตนเอง (SAR) ระดบั หลักสตู ร
ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตขอนแกน่

โดย

นางฤดี แสงเดอื นฉาย

นักวชิ าการศึกษา ชานาญการ

กลมุ่ งานวจิ ัยและคุณภาพการศึกษา สานกั วชิ าการ
มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น

พทุ ธศักราช ๒๕๖๒

แนวทางการพฒั นางาน เรอ่ื ง การจัดทารายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR)
ระดบั หลักสูตรของมหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั
วิทยาเขตขอนแกน่

ขอ้ มูลทางบรรณานุกรมของสานักหอสมุดแห่งชาติ

National Library of Thailand Cataloging in Publication Data

ฤดี แสงเดือนฉาย.
การจัดทารายงานการประเมินตนเอง (SAR) ระดับหลักสูตรของมหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาเขตขอนแก่น -- ขอนแก่น : มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตขอนแก่น, 2561.
153 หนา้ .
1. การจัดทารายงานการประเมินตนเอง (SAR) ระดับหลักสูตรของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย วิทยาเขตขอนแกน่ . I. ชื่อเรอ่ื ง.

ISBN

ลขิ สทิ ธหิ์ นังสือเล่มนี้เปน็ ของผเู้ ขียน ห้ามลอกเลียนแบบใดๆ ทง้ั สน้ิ
นอกจากมีหนงั สอื ขออนุญาตเปน็ ลายลกั ษณ์อกั ษรเท่านัน้

ผแู้ ต่ง นางฤดี แสงเดือนฉาย
นักวชิ าการศึกษา ชานาญการ
กลมุ่ งานวิจยั และคณุ ภาพการศกึ ษา สานักวชิ าการ
มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแกน่

แบบปก วชั รพงษ์ จนั ทรฎ์ าโสภากลุ
พมิ พค์ ร้ังท่ี ๑ ธนั วาคม ๒๕๖๒
จำนวนพิมพ์ ๕๐๐ เล่ม

สถำนที่พมิ พ์ เอม็ ม่ี กอ๊ ปปี้ พร้ินต์
Email : [email protected]
๓๐ หมู่ ๑ บ้านโคกสี ตาบลโคกสี อาเภอเมืองขอนแก่น
จังหวดั ขอนแกน่ ๔๐๐๐๐

คานิยม

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ได้ตระหนักถึงความสาคัญของการประกันคุณภาพ
การศึกษาเป็นอย่างดี และเป็นนโยบายหลักของมหาวิทยาลัยในอันท่ีจะเป็นกลไกขับเคล่ือนให้มหาวิทยาลัย
ก้าวไปสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการด้านพระพุทธศาสนา และมีคุณภาพในทุกพันธกิจ เร่ิมตั้งแต่การผลติ บัณฑิต
การวิจัยและพัฒนา การส่งเสริมพระพุทธศาสนาและบริการวิชาการแก่สังคม และการทานุบารุงศิลปะและ
วัฒนธรรม โดยอาศัยผู้บริหาร คณาจารย์ เจ้าหน้าท่ี และบุคลากรทุกคนได้ตระหนักและสร้างสัมมาทิฐิร่วมกัน
ในการทางานเพอ่ื พัฒนาตนเองและมหาวิทยาลัยไปสู่ความเป็นสากลและเปน็ ท่ยี อมรบั ในระดับอุดมศึกษา

วิทยาเขตขอนแก่น ได้ดาเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อตอบสนองเกณฑ์ประกัน
คุณภาพการศึกษาของสานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาและข้อบังคับมหาวิทยาลัย ว่าด้วยการประกัน
คุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ ให้ครอบคลุมพันธกิจทั้ง ๔ ด้านของมหาวิทยาลัย คือ การจัดการเรียน
การสอน การวิจัย การบริการวิชาการ และการทานุบารุงพระพุทธศาสนา ให้มีระบบและกลไกท่ีสอดคล้องกับ
เกณฑ์ประเมินของสานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ.) ท้ังในระดับหลักสูตรและระดับวิทยาเขต
ให้ระบบใหค้ ะแนนเต็ม ๕ คะแนน ต้งั แตป่ กี ารศกึ ษา ๒๕๕๗ เปน็ ต้นมา

กลุ่มงานวิจัยและประกันคุณภาพการศึกษา สานักวิชาการวิทยาเขตขอนแก่น ในฐานะกลุ่มงานท่ี
สนับสนุนงานประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาเขตขอนแก่น โดยนางฤดี แสงเดือนฉาย นักวิชาการศึกษา
ชานาญการ ได้ดาเนินการจัดทาคู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ซ่ึงมีแนวปฏิบัติท่ีดี
พร้อมเครื่องมือในการสร้างความเข้าใจในกระบวนการต่างๆ ของระบบประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร
ให้แก่ส่วนงานท่ีจัดการศึกษาและส่วนงานที่สนับสนุน ซ่ึงจะเป็นพลังในการผลักดันให้การประกันคุณภาพ
การศึกษาของวทิ ยาเขตขอนแก่น ระดบั หลกั สูตร ใหบ้ รรลุผลตามเกณฑป์ ระกนั คุณภาพการศึกษา

จึงเป็นสิ่งที่น่าอนุโมทนาสาธุการเป็นอย่างย่ิงสาหรับคู่มือการพัฒนางาน เร่ือง แนวทางการจัดทา
รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตรของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาเขตขอนแก่น ซึ่งสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในด้านการวางแผน การปฏิบัติงาน การติดตาม และการ
ประเมนิ ผล การปฏิบัตงิ าน ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพและบรรลวุ ัตถุประสงคต์ ามนโยบายของมหาวทิ ยาลัยย่ิงข้นึ

(พระโสภณพัฒนบณั ฑิต, รศ.ดร)
รองอธกิ ารบดวี ิทยาเขตขอนแก่น

๒ เมษายน ๒๕๖๓

คาปรารภ

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ได้มีการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
ภายใน ภายใต้กรอบแนวของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ตามคู่มือการประกันคุณภาพ
ภายใน ระดับอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2557 ที่พัฒนาตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
ทั้งระดับหลักสูตร ระดับคณะ และระดับสถาบัน เน้นการประเมินผลลัพธแ์ ละกระบวนการท่ีเป็นระบบภายใต้
พันธกิจของมหาวิทยาลัย เพอื่ ควบคุม ตรวจสอบ และพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาในระดบั หลักสูตรแต่ละ
สาขาวิชา ใหไ้ ดค้ ุณภาพตามมาตรฐานอดุ มศึกษา เพื่อสรา้ งความมน่ั ใจต่อสังคมและสาธารณชน

สานักวิชาการวิทยาเขตขอนแก่น ได้มีนโยบายให้บุคลากรในสานักวิชาการได้จัดทาคู่มือการ
ปฏิบัติงานในแต่ละงานข้ึน นางฤดี แสงเดือนฉาย นักวิชาการศึกษา กลุ่มงานวิจัยและประกันคุณภาพ
การศึกษา ได้จัดทาแนวทางการพัฒนางาน เร่ือง การจัดทารายงานการประเมินตนเอง (SAR) ระดับหลักสูตร
ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่ ตามเกณฑ์ประเมินในคู่มือการประกัน
คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๕๗ และตามตัวบ่งชี้เพิ่มเติมตามมาตรฐาน
การศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ พร้อมทั้งอธิบายส่วนประกอบและแบบฟอร์มการเขียนรายงานผลการประเมินภายใน
ระดับหลักสูตร การกรอกข้อมูลเข้าสู่ระบบรายงานผลการประเมินออนไลน์ MCU e-SAR ไว้อย่างเป็นระบบ
มีวัตถุประสงค์เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการรองรับการประกันคุณภาพการเรียนการสอนในระดับหลักสูตรให้มี
คุณภาพ ได้มาตรฐานตามองค์ประกอบและตัวบ่งช้ีการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของสานักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษา พร้อมท้ังกากับและพัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา ให้เกิดผลการบริหาร
จัดการหลักสูตรที่ได้คุณภาพมาตรฐานตามท่ีกาหนด และส่งเสริมการดาเนินงานตามภารกิจได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ นาไปสู่การสร้างบณั ฑิตของวทิ ยาเขตขอนแกน่ ให้มคี ุณภาพมากท่สี ุด

แนวทางการพัฒนางานเล่มนี้ จะเป็นคู่มือแก่คณาจารย์ ผู้ที่เกี่ยวข้อง และผู้สนใจ ได้ใช้เป็น
แนวทางในการปฏิบัติงาน ซึ่งตรงและสอดคล้องตามข้นั ตอนการปฏบิ ัติงานจริง อย่างเป็นระบบและมีกลไกการ
ทางานทีม่ มี าตรฐานและมปี ระสทิ ธิภาพ

พระมหาโยธิน โยธโิ ก, รศ.ดร.
ผู้อานวยการสานักวชิ าการ วิทยาเขตขอนแก่น

คานา

แนวทางการพัฒนางาน เร่ือง การจัดทารายงานการประเมินตนเอง (SAR) ระดับหลักสูตร ของ
มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตขอนแกน่ ฉบับนี้ ไดร้ วบรวมองค์ความรู้จากประสบการณ์
ในการปฏิบัติงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร เพ่ือปรับกระบวนการทางานให้มี
ความสอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานการประกันคุณภาพภายใน ระดับอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2557 ประกาศ
คณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา เร่ืองหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเก่ียวกับการประกัน
คุณภาพภายใน ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2557 ณ วันที่ 9 ธันวาคม 2558 ให้มีระบบการประกันคุณภาพ
การศึกษาภายใน ออกเป็น 3 ระดับ คือ ระดบั หลกั สูตร ระดับคณะ/สานัก/สถาบัน และระดับมหาวิทยาลยั

การจัดทาแนวทางการพัฒนางานฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นแนวทางการกาหนดข้ันตอนการ
ปฏิบัติงานด้านการจัดทารายงานการประเมินตนเอง (SAR) ระดับหลักสูตรของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ
ราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น เพ่ือให้ผู้ปฏิบัติการสามารถปฏิบัติงานไปในแนวทางเดียวกัน ซ่ึงจะช่วยลด
ปัญหาการทางานซ้าซ้อนและลดข้อผิดพลาดจากการปฏิบัติงาน และเพื่อใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติงาน
หรือใช้เป็นแนวทางการปฏิบัติงานสาหรับบุคลากรท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดทารายงานการประเมินตนเอง
(SAR) ระดบั หลักสูตรของวทิ ยาเขตขอนแก่น มีเนือ้ หาครอบคลมุ เก่ยี วกบั หลักเกณฑ์ องคป์ ระกอบ และตัวบง่ ช้ี
ต่างๆ ตามที่สานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ.) กาหนดไว้ มีขั้นตอนและวิธีการจัดทารายงานการ
ประเมินตนเอง แนวทางการปฏิบัติงาน กระบวนการและการเขียนรายงานการประเมินตนเองภายใน ระดับ
หลักสูตร ตามเกณฑ์ประเมินในคู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา ปีการศึกษา
๒๕๕๗ คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ปีการศึกษา
๒๕๕๙ และตามตัวบ่งช้ีเพ่ิมเติมตามมาตรฐานการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ พร้อมอธิบายส่วนประกอบและ
แบบฟอร์มการเขียนรายงานผลการประเมินภายใน ระดับหลักสูตร การกรอกขอ้ มูลเข้าสู่ระบบรายงานผลการ
ประเมินออนไลน์ MCU e-SAR

หวังเป็นอย่างยิ่งว่า แนวทางการพัฒนางานฉบับนี้จะทาให้การจัดทารายงานการประเมินตนเอง
ระดับหลักสูตร มีความเป็นระบบและมีมาตรฐานเดียวกัน และพัฒนาขีดสมรรถนะบุคลากรให้มีความรู้ความ
เข้าใจในหลักเกณฑ์ วิธีการปฏิบัติงาน และข้ันตอนการปฏิบัติงานในการจัดทารายงานการประเมินตนเอง
ระดับหลักสูตร ส่งผลให้การประกันคุณภาพการศึกษาประสบความสาเร็จตามนโยบายของมหาวิทยาลัย
หากมีข้อเสนอแนะและเพิ่มเตมิ กพ็ ร้อมยินดีรบั ไว้เพื่อการปรับปรุง แก้ไข และพัฒนางานใหด้ ียง่ิ ขน้ึ ตอ่ ไป

นางฤดี แสงเดือนฉาย
นักวชิ าการศกึ ษา ชานาญการ
สานกั วิชาการ วิทยาเขตขอนแกน่



สารบญั หน้า

คานา ข
สารบญั ง
สารบญั ตาราง จ
สารบัญแผนภาพ ๑
บทที่ ๑ บทนา ๑

๑.๑ ความเป็นมาและความสาคัญของปญั หา ๒
๑.๒ วัตถุประสงค์ 3
๑.๓ ขอบเขตของคู่มือ ๕
๑.๔ นยิ ามศพั ท์
๑.๕ ประโยชน์ทีค่ าดว่าจะไดร้ ับ ๗

บทที่ ๒ บทบาท หน้าท่ี และความรบั ผิดชอบ
๒.๑ พนั ธกิจมหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั วิทยาเขตขอนแกน่ ๙
๒.๒ โครงสร้างการบริหารงานของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๙
วิทยาเขตขอนแกน่ ๑๑
2.2.1 โครงสรา้ งวิทยาเขตขอนแกน่
2.๒.2 โครงสร้างสานกั วชิ าการวทิ ยาเขตขอนแกน่ ๑๑
2.3 ขอบขา่ ยภาระงานของสานกั วิชาการ วิทยาเขตขอนแก่น ๑๑
2.4 ความรับผิดชอบของกลุ่มงานวจิ ัยและคณุ ภาพการศกึ ษา สานักวิชาการ ๑๔
2.5 บทบาทหนา้ ทข่ี องผรู้ บั การประเมนิ

บทท่ี ๓ หลกั เกณฑ์และวธิ ปี ฏิบัติการจดั ทารายงานการประเมินตนเอง ระดบั หลักสูตร ๑๙
3.1 การประกันคณุ ภาพการศึกษาภายใน ๑๙
3.๒ องค์ประกอบและตัวบ่งชี้ในการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
ระดับหลักสตู ร ๓๗
๓.๒.๑ องค์ประกอบท่ี ๑ การกากับมาตรฐาน
๓.๒.๒ องคป์ ระกอบที่ ๒ บณั ฑิต ๓๗
๓.๒.๓ องคป์ ระกอบที่ ๓ – ๖ ทเ่ี ปน็ ตัวบ่งชก้ี ระบวนการ (บางตัวบ่งชี)้ ๓๘
3.๓ หลักเกณฑแ์ ละวิธีปฏบิ ตั ิงาน ๔๑
3.๔ ยทุ ธศาสตรก์ ารประกนั คุณภาพการศกึ ษา ๔๙
3.๕ เอกสาร หนงั สอื วิทยานพิ นธ์ และงานวิจัยท่เี ก่ียวขอ้ ง ๖๓
๖๔

สารบญั ค

บทท่ี ๔ แนวทางการจดั ทารายงานการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลักสูตร ๗๑
๔.๑ ข้ันตอนการปฏิบัติงานจัดทารายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
ระดับหลักสูตร ๗๑
๔.๑.๑ องค์ประกอบที่ ๑ การกากับมาตรฐาน ๘๘
๔.๑.๒ องค์ประกอบที่ ๒ บณั ฑติ ๘๙
๔.๑.๓ องคป์ ระกอบท่ี ๓ นิสิต ๙๓
๔.๑.๔ องคป์ ระกอบที่ ๔ อาจารย์ ๙๘
๔.๑.๕ องค์ประกอบที่ ๕ หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมิน
ผเู้ รียน ๑๐๒
๔.๑.๖ องค์ประกอบที่ ๖ สง่ิ สนับสนนุ การเรยี นรู้ ๑๑๓
๔.๒ การกรอกขอ้ มลู เข้าสู่ระบบรายงานผลการประเมินออนไลน์ MCU e-SAR ๑๓๙
๔.๓ กจิ กรรมการปฏิบัติงาน ๑๔๔

บทที่ ๕ ปัญหา อปุ สรรค และแนวทางในการแก้ไขและพัฒนางาน ๑๔๕
๕.๑ ปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงาน ๑๔๕
๕.๒ แนวทางการแก้ไข อุปสรรค และการพัฒนางาน ๑๔๕
๕.๓ ขอ้ เสนอแนะในการปฏบิ ัตงิ าน ๑๔๗
๕.๓.๑ ด้านการปฏบิ ัตงิ าน ๑๔๗
๕.๓.๒ ดา้ นการพัฒนางานหรอื ปรบั ปรุงงาน ๑๔๗
๕.๓.๓ ด้านการนาคูม่ ือการปฏิบตั ิงานไปใช้ ๑๔๘

บรรณานกุ รม ๑๔๙
ประวัติผู้เขียน ๑๕๑

สารบัญ ง

สารบญั ตาราง

หนา้
ตารางท่ี ๒.๑ จานวนบุคลากรสายวิชาการ ปีการศึกษา 256๐ ๑๐
ตารางที่ ๒.๒ จานวนบคุ ลากรสายปฏบิ ตั ิการ ปกี ารศึกษา 256๐ ๑๐
ตารางท่ี ๒.๓ มาตรฐานกาหนดตาแหนง่ และภาระงานที่ปฏิบตั ิ ๑๕
ตารางที่ ๓.๑ เกณฑ์การประเมินและผลการดาเนินงานจากตัวบ่งชี้ที่ ๕.๒ ระบบการประกัน ๒๑
คณุ ภาพหลกั สูตร
ตารางท่ี ๓.๒ เกณฑ์การพิจารณาและแนวทางการตรวจประเมินองค์ประกอบที่ ๑ ๓๗
ตารางที่ ๓.๓ เกณฑก์ ารพจิ ารณาและแนวทางการตรวจประเมนิ องค์ประกอบที่ ๒ ๓๘
ตารางที่ ๓.๔ เกณฑก์ ารพจิ ารณาและแนวทางการตรวจประเมินองค์ประกอบท่ี ๓ – ๖ ๔๑
ตารางที่ ๓.๕ กรอบการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดับหลกั สูตร ตามระบบ I–P-O ๔๖
ตารางท่ี ๓.๖ ตวั บง่ ช้ีและแนวปฏบิ ัตใิ นการแก้ไขปัญหาในองคป์ ระกอบทง้ั ๖ ๔๙
ตารางที่ ๓.๗ การวิเคราะห์องค์ประกอบและหลักฐานอ้างอิงภายใต้เกณฑ์การประเมินประกัน
คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดับหลักสูตร ๖๒

ตารางที่ ๔.๑ ปฏิทินการบริหารงานและกระบวนการจัดทารายงานการประกันคุณภาพ ๗๓
การศึกษาภายใน ระดบั หลักสูตร ตามระบบ PDCA ตามกรอบเวลา ๑๒ เดอื น
ตารางท่ี ๔.๒ แนวปฏิบัติทด่ี ใี นการการจัดทารายงานองคป์ ระกอบที่ ๑ การกากบั มาตรฐาน ๘๘
ตารางท่ี ๔.๓ แนวปฏิบัติที่ดีในการการจัดทารายงานองค์ประกอบที่ ๒.๑ คุณภาพบัณฑิตตาม
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดบั อดุ มศึกษาแหง่ ชาติ (TQF) ๙๐

ตารางที่ ๔.๔ แนวปฏิบัติท่ีดีในการการจัดทารายงานองค์ประกอบที่ ๒.๒ (ปริญญาตรี) / ๙๒
(ปรญิ ญาโท) / (ปริญญาเอก)
ตารางที่ ๔.๕ แนวปฏิบัตทิ ่ดี ีในการการจดั ทารายงานองค์ประกอบที่ ๓.๑ การรับนสิ ติ ๙๓
ตารางที่ ๔.๖ แนวปฏิบัติท่ีดีในการการจัดทารายงานองค์ประกอบที่ ๓.๒ การส่งเสริมและ
พัฒนานสิ ติ ๙๕

ตารางที่ ๔.๗ แนวปฏบิ ัตทิ ดี่ ใี นการการจัดทารายงานองคป์ ระกอบท่ี ๓.๓ ผลท่ีเกดิ ขน้ึ กบั นสิ ิต ๙๖
ตารางที่ ๔.๘ แนวปฏิบัติที่ดีในการการจัดทารายงานองค์ประกอบที่ ๔.๑ การบริหารและ
พัฒนาอาจารย์ ๙๘

ตารางท่ี ๔.๙ แนวปฏิบตั ิทด่ี ีในการการจัดทารายงานองค์ประกอบท่ี ๔.๒ คณุ ภาพอาจารย์ ๑๐๐
ตารางท่ี ๔.๑๐ แนวปฏิบัตทิ ่ดี ใี นการการจัดทารายงานองค์ประกอบท่ี ๔.๓ ผลทเ่ี กิดกบั อาจารย์ ๑๐๑
ตารางท่ี ๔.๑๑ แนวปฏิบัติที่ดีในการการจดั ทารายงานองค์ประกอบที่ ๕.๑ สาระของรายวิชาใน
หลักสูตร ๑๐๓

ตารางที่ ๔.๑๒ แนวปฏิบัติท่ีดีในการการจัดทารายงานองค์ประกอบท่ี ๕.๒ การวางระบบผู้สอน ๑๐๕
กระบวนการจดั การเรยี นการสอน
ตารางท่ี ๔.๑๓ องค์ประกอบท่ี ๕.๓ การประเมนิ ผเู้ รียน ๑๐๙
ตารางท่ี ๔.๑๔ แนวปฏิบัติที่ดีในการการจัดทารายงานองค์ประกอบที่ ๕.๔ การดาเนินงาน
หลักสตู รตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิระดบั อุดมศกึ ษาแห่งชาติ (มคอ.) ๑๑๑

ตารางท่ี ๔.๑๕ แนวปฏิบัติท่ีดีในการการจัดทารายงานองค์ประกอบที่ ๖.๑ ส่ิงสนับสนุนการ ๑๑๓
เรยี นรู้
ตารางท่ี ๔.๑๖ รายการเครื่องมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตรของ
มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑ ๑๑๕

ตารางที ๔.๑๗ แนวทางการตรวจหลกั ฐานประกนั คุณภาพภายใน ระดบั หลกั สตู ร ๑๒๐

สารบัญ จ

สารบัญแผนภาพ

หน้า

แผนภาพท่ี ๒.๑ โครงสรา้ งวทิ ยาเขตวิทยาเขตขอนแก่น ๙

แผนภาพท่ี ๒.๒ โครงสรา้ งสานกั วชิ าการวทิ ยาเขตขอนแก่น ๑๑

แผนภาพท่ี ๒.๓ โครงสรา้ งกลมุ่ งานวจิ ัยและคุณภาพการศึกษา สานกั วชิ าการวิทยาเขตขอนแก่น ๑๓

แผนภาพท่ี ๓.๑ จานวนองค์ประกอบการประกนั คณุ ภาพภายใน ระดับอดุ มศึกษา พ.ศ.2557 ๒๑

แผนภาพที่ ๓.๒ กระบวนการดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยมหาจุฬา ๓๕

ลงกรณราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตขอนแก่น

แผนภาพที่ ๓.๓ องคป์ ระกอบและตัวบ่งช้ีในการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลักสูตร ๓๗

แผนภาพที่ ๓.๔ แสดงความสอดคล้องของแผนพัฒนามหาวิทยาลัยระยะที่ ๑๑ กับแผน ๖๔

ยทุ ธศาสตร์การประกนั คุณภาพการศึกษา

แผนภาพท่ี ๔.1 ผังการไหลข้นั ตอนการปฏบิ ตั งิ านรายงานการประเมนิ ตนเอง ระดับหลกั สูตร ๗๒

แผนภาพที่ ๔.๒ ประกาศมหาวิทยาลัยเรื่องเป้าหมายของตัวบ่งช้ีคุณภาพการศึกษา ประจาปี ๘๐

ปกี ารศึกษา ๒๕๖๑

แผนภาพท่ี ๔.๓ ปฏทิ นิ การประกนั คณุ ภาพการศึกษา วิทยาเขตขอนแกน่ ๘๔

แผนภาพท่ี ๔.๔ ปฏิทินการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อรายงานผลการประเมินออนไลน์ ระดับ ๘๕

หลกั สูตร ระดับสานัก วิทยาลัย และวิทยาเขต ประจาปกี ารศึกษา 2561

แผนภาพท่ี ๔.๕ คาส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับ ๘๖

หลักสตู ร ระดบั สานกั วทิ ยาลัย ตามองค์ประกอบ ปีการศกึ ษา 2560

แผนภาพที่ ๔.๖ แบบรายงานผลการตรวจประเมนิ คุณภาพภายใน (ระหว่างกนั ) ระดบั หลักสตู ร ๑๑๘

แผนภาพท่ี ๔.๗ ตัวอย่างปก บทสรุปผู้บริหาร สารบัญ รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษา ๑๓๑

ภายในระดับหลักสูตร

แผนภาพที่ ๔.๘ การรายงานผลการประเมินออนไลน์ (MCU e-SAR) ระดับหลกั สูตร ๑๓๔

แผนภาพท่ี ๔.๙ สรุปขัน้ ตอนการเตรียมการกอ่ นการตรวจประเมิน ๑๓๕

แผนภาพท่ี ๔.๑๐ สรุปขนั้ ตอนการดาเนินการระหวา่ งการตรวจประเมนิ ๑๓๖

แผนภาพที่ ๔.๑๑ สรปุ ขั้นตอนการดาเนนิ การหลังการตรวจประเมนิ ๑๓๗

แผนภาพที่ 4.๑2 ผังการไหลข้ันตอนการกรอกข้อมูลเข้าสู่ระบบรายงานผลการประเมินออนไลน์ ๑๓๙

MCU e-SAR

แผนภาพท่ี 4.๑๓ หน้าเว๊ปไซตส์ านกั ประกันคณุ ภาพ มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ๑๔๐

แผนภาพที่ 4.๑๔ ไอคอนรายงานประเมินตนเองออนไลน์ ๑๔๐

แผนภาพที่ 4.๑๕ ไอคอนการรายงานผล ๑๔๒

แผนภาพท่ี 4.๑6 ตาราง ส.1 ๑๔๓

บทท่ี ๑
บทนำ

๑.๑ ควำมเปน็ มำและควำมสำคัญของปญั หำ

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545
ได้กาหนดจุดมุ่งหมาย และหลักการของการจัดการศึกษาท่ีมุ่งเน้นคุณภาพและมาตรฐาน โดยกาหนด
รายละเอียดไว้ในหมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษาซึ่งประกอบด้วยระบบการ
ประกันคุณภาพภายในและระบบการประกันคุณภาพภายนอก เพื่อใช้เป็นกลไกในการผดุงรักษา
คุณภาพและมาตรฐานของสถาบันอุดมศึกษา นอกจากนั้น ยังมีกฎหมายที่เก่ียวข้องกับการประกัน
คุณภาพการศึกษา ได้แก่ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2)
พ.ศ.2545 ท่ีเก่ียวข้องกับการประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษาและกฎหมายอ่ืนๆ
ทเี่ กย่ี วขอ้ ง (สานกั งานคณะกรรมการอดุ มศกึ ษา, ๒๕๕๗ : 3)

การประกันคุณภาพการศึกษาคือการจัดกระบวนการต่างๆ ได้แก่ การควบคุม การ
ตรวจสอบ การประเมิน การรักษา และการพัฒนาคุณภาพของระบบ สถาบัน หรือหลักสูตร เพื่อให้
ผู้รับบริการโดยตรง ได้แก่ ผู้เรียน ผู้ปกครอง และผู้รับบริการทางอ้อม ได้แก่ สถานประกอบการ
ประชาชน และสังคมโดยรวม มีความมั่นใจว่าผู้สาเรจ็ การศกึ ษามีความร้คู วามสามารถ มที ักษะ และมี
คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ตามหลักสูตรกาหนดและสังคมคาดหวัง สามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้
อย่างมีความสุข รวมท้ังสรา้ งประโยชน์ให้แก่ครอบครัวหรอื ชุมชนตามความเหมาะสม โดยการประกัน
คุณภาพการศึกษาจะต้องมีการบูรณาการร่วมมือกัน ระหว่างบุคลากรและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียใน
สถาบันการศึกษา ส่วนการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร มีความเก่ียวข้องกับการ
ผลิตบัณฑิต เพ่ือให้บัณฑิตมีคุณลักษณะพึงประสงค์และมีคุณภาพ เพ่ือให้การดาเนินการเป็นไปตาม
เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษาและเกณฑ์มาตรฐานอื่นๆ ท่ีเกี่ยวข้อง โดยให้พิจารณา
องค์ประกอบที่สาคัญ ได้แก่ การกากับมาตรฐาน บัณฑิต นิสิต อาจารย์ หลักสูตร การเรียนการสอน
การประเมินผู้เรียน และส่ิงสนับสนุนการเรียนรู้ ซึ่งมีการดาเนินงานให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน
หลกั สูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ริ ะดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (Thai Qualifications Register :TQR)
(สกอ.) นน้ั มีความจาเปน็ ต้องเตรียมความพรอ้ มการปฏิบตั ิงานประกันคณุ ภาพการศึกษาภายในระดับ
หลักสตู ร

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ได้กาหนดให้มีการประกันคุณภาพการศึกษา
ภายใน แบ่งเป็น ๓ ระดับ คือ ระดับหลักสูตร ระดับคณะ/วิทยาเขต และระดับสถาบัน ตามประกาศ
คณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๒ เร่ือง หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติ
เก่ียวกับการประกันคุณภาพภายใน ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ เร่ิมใช้ต้ังแต่ปีการศึกษา ๒๕๕๗
เป็นต้นมา กล่าวเฉพาะการประกันคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตร ว่ามีกระบวนการในการ
จัดเตรียมสารสนเทศสาหรับใช้ประกอบการตัดสินใจ ให้ครอบคลุมเกณฑ์การประเมินการประกัน
คณุ ภาพของหลักสูตรหรือไม่ เพื่อแจ้งตอ่ ผู้บริหารในการตัดสินใจและช่วยตรวจสอบข้อมูลและผลการ
ดาเนินงานในแต่ละหลกั สูตร เพ่ือใหผ้ ่านเกณฑ์การประกันคุณภาพหลักสูตร และนาผลการปฏิบตั ิงาน

บทนำ ๒

มาใช้เป็นแนวปฏิบัติท่ีดีสาหรับบุคคลากรทั้งสายวิชาการและสายปฏิบัติการวิชาชีพ และเพื่อพัฒนา
เปน็ องคค์ วามรใู้ นการพัฒนามหาวทิ ยาลยั ใหเ้ ป็นไปตามพันธกจิ ของมหาวิทยาลัย

การเขียนรายงานการประเมินตนเอง จัดทาขึ้นเพ่ือให้เป็นรูปแบบและแนวทางการ
รายงานผลการดาเนินงานที่สะท้อนผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาภายใน ระดั บหลักสูตร
ได้นาเสนอรายงานการประเมินตนเองท่ีไม่ยุ่งยาก ไม่ซับซ้อน เน้นเฉพาะการนาเสนอข้อมูลท่ีเกิดตาม
สภาพจริง เพื่อนาผลจากการนาเสนอในรายงานการประเมินตนเองไปพัฒนา ให้ได้คุณภาพตาม
มาตรฐานยิ่งขึ้น การเขียนรายงานการประเมินตนเองก็คือการนาเสนอผลการดาเนินงานให้เห็นว่า
หน่วยงานทาอะไรบ้าง มากน้อยเพียงใด ใครทาอะไร ซึ่งจะทาให้เข้าใจตัวบ่งช้ีและปริมาณงาน
คุณลักษณะของผลการดาเนินงานจะช่วยให้เข้าใจองค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์ต่างๆ ทาให้
ตดั สนิ ใจได้ว่าเป็นจดุ อ่อนหรอื จดุ แข็ง เพื่อแก้ไขปรับปรงุ ทาใหใ้ หเ้ กิดความเข้าใจในผลการดาเนินงาน
ไดง้ า่ ยและตรงตามสภาพท่ปี ฏิบัติงาน

จากสภาพปัญหาดังกล่าว ผู้ปฏิบัติงานจึงได้รวบรวมประสบการณ์จากการทางานและ
หลักเกณฑ์ต่างๆ ที่เก่ียวข้องกับการประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา มาจัดทาแนวทางการ
พัฒนางาน เร่ือง การจัดทารายงานการประเมินตนเอง (SAR) ระดับหลักสูตรของมหาวิทยาลัยมหา
จุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น เพื่อใช้เป็นเครอ่ื งมือการถ่ายทอดนโยบายไปสู่ภาคปฏิบัติ
ในการแก้ไขปัญหาการจัดทารายงานการประเมินตนเอง (SAR) ระดับหลักสูตร ท่ีไม่เป็นไปตามระบบ
และกลไกการปฏิบตั ิงานตามกระบวนการ PDCA และใช้เป็นคมู่ ือในการสอื่ สารในองค์กร เพ่ือนาเสนอ
แนวทางการปฏิบตั ิงานให้มีประสทิ ธภิ าพยิ่งข้ึน

๑.๒ วัตถปุ ระสงค์

๑. เพ่อื ใหผ้ ูป้ ฏิบัติงานไดท้ ราบถงึ บทบาทและหน้าท่ีในการจดั ทารายงานการประเมนิ ตนเอง
(SAR) ระดับหลักสูตร

๒. เพ่ือใหผ้ ู้ปฏบิ ัติงานมีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการและเทคนิคการจัดทารายงานการ
ประเมินตนเอง (SAR) ระดบั หลักสตู ร

๓. เพ่ือใช้เป็นแนวทางการพัฒนางานการจัดทารายงานการประเมินตนเอง (SAR) ระดับ
หลกั สตู รของมหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตขอนแก่น

๑.๓ ขอบเขตของคู่มือ

แนวทางการพฒั นางาน เร่ือง การจัดทารายงานการประเมินตนเอง (SAR) ระดบั หลักสูตร
ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น ได้กล่าวถึง (๑) บทบาท หน้าที่
และความรับผิดชอบในระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร (๒)
หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติงานการจัดทารายงานการประเมินตนเอง ระดับหลักสูตร (๓) แนวทางการ
จัดทารายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ตามเกณฑ์ประเมินในคู่มือการ
ประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๕๗ และคู่มือการประกันคุณภาพ
การศึกษาภายในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ปีการศึกษา ๒๕๕๙ และตามตัวบ่งชี้
เพ่ิมเติมตามมาตรฐานการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ พร้อมอธิบายส่วนประกอบและแบบฟอร์มการเขียน
รายงานผลการประเมินภายใน ระดับหลักสูตร (๔) การกรอกข้อมูลลงในระบบการรายงานผลการ

บทนำ ๓

ประเมินออนไลน์ (MCU_e - SAR) ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ส่วนขอบเขตการ
จัดทารายงานการประเมินตนเอง ระดับหลักสูตรของวิทยาเขตขอนแก่น มีกรอบเวลาจัดทาคู่มือตาม
รอบบวงปีการศกึ ษาระหว่างเดือนมถิ ุนายนถึงเดือนพฤษภาคม

๑.๔ นิยำมศพั ท์

การควบคุมคุณภาพ (Quality Control) หมายถึง กระบวนที่ใช้ควบคุมองค์ประกอบ
ต่างๆ ในสถาบันการศึกษาท่ีจะมีผลต่อคุณภาพและผลผลิตคุณภาพการศึกษา มีการดาเนินการท้ัง
ระบบและปัจจัยสนับสนุน ประกอบด้วยโครงสร้างการบริหารงานประกันคุณภาพการศึกษา บุคลากร
แผนยุทธศาสตร์ งบประมาณ งานประกันคุณภาพการศึกษา ระบบฐานข้อมูล และเกณฑ์มาตรฐาน
และเกณฑ์การประเมนิ

การตรวจสอบคุณภาพ (Quality Audit) หมายถึง การตรวจสอบผลการดาเนินการของ
ระบบและกลไกควบคุมคุณภาพการศึกษาภายในท่ีมหาวิทยาลัยได้จัดให้มีขึ้น โดยจะเป็นการ
ตรวจสอบเชงิ ระบบ และดาเนินการตรวจสอบด้วยตนเอง ประกอบด้วยการจดั ทารายงานการประเมิน
ตนเอง (SAR) ของส่วนงาน การดาเนินงานตรวจสอบคุณภาพของส่วนงาน และการนาผลการประเมิน
คณุ ภาพการศึกษาไปพฒั นาการเนนิ งาน

การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร หมายถึง ระบบกลไกในการ
ควบคุม กากับติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดาเนินตามองค์ประกอบ ๖ องค์ประกอบ ได้แก่
องค์ประกอบท่ี ๑ การกากับมาตรฐาน องค์ประกอบท่ี ๒ บัณฑิต องค์ประกอบที่ ๓ นิสิต
องค์ประกอบท่ี ๔ อาจารย์ องค์ประกอบที่ ๕ หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน และ
องค์ประกอบที่ ๖ สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ โดยตัวบ่งช้ีและเกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
ระดับหลักสูตร ครอบคลุมเรื่องการส่งเสริมพัฒนานิสิต การวางระบบกระบวนการจัดการเรียนการ
สอน จานวนอาจารยต์ อ่ นิสติ ในระดับบัณฑิตศึกษา (โดยเฉพาะการคุมวิทยานิพนธใ์ หเ้ ป็นไปตามเกณฑ์
มาตรฐานหลกั สตู ร) ผลงานทางวิชาการ

การประเมินคุณภาพ (Quality Assessment) หมายถึง กระบวนการประเมินผล
การดาเนินการการของมหาวิทยาลัยในภาพรวม เป็นกระบวนการต่อเนือ่ งจากกระบวนการตรวจสอบ
คุณภาพ แต่เน้นการวเิ คราะห์เปรยี บเทียบผลการดาเนินการของมหาวิทยาลัยกับดชั นีบ่งช้ีคุณภาพใน
ทกุ องค์ประกอบของคณุ ภาพ ว่าดาเนนิ การเป็นไปตามเกณฑแ์ ละมาตรฐานการศกึ ษาท่ีกาหนดเพยี งใด
โดยวัดเปน็ ระดับการบรรลุเป้าหมาย ประกอบด้วยกรรมการตรวจประเมนิ จานวนวันและจานวนของ
กรรมการตรวจประเมิน และการเตรียมรับการตรวจประเมิน (มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วทิ ยาลยั , ๒๕๕๕ : ๑๗ – ๒๓)

เกณฑ์การประเมิน หมายถึง ข้อกาหนดท่ีใช้ตัดสินคุณภาพของการดาเนินงานหรือผล
ประกอบการทไี่ ด้ตามเกณฑ์ของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)

คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน หมายถึง ผู้ทรงคุณวุฒิ/ผู้เช่ียวชาญท่ี
ได้รับการแต่งต้ังจากมหาวิทยาลัย ตามคุณสมบัติท่ีสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
กาหนดเพ่อื ทาหน้าท่ใี นการเขา้ ตรวจเยี่ยมและประเมินการดาเนินงานของหลักสตู ร

บทนำ ๔

แนวทาง หมายถึง วธิ ีการท่ีใชด้ าเนินการในกระบวนการต่างๆ ซ่ึงเป็นความเหมาะสมของ
วิธีการกับข้อกาหนดในหัวข้อนั้นกับสภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงานของสถาบัน รวมถึงประสิทธิผล
ของการใช้แนวทางเป็นมิติหนึ่งที่ใช้ในการประเมินหัวข้อกระบวนการ (มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๖๐ :
๔๒)

แนวปฏิบัติที่ดี หมายถึง วิธีปฏิบัติหรือขั้นตอนการปฏิบัติที่ทาให้สถาบันประสบ
ความสาเร็จหรอื สู่ความเปน็ เลิศตามเป้าหมาย เป็นที่ยอมรับในวงวิชาการหรือวิชาชีพนั้นๆ มีหลักฐาน
ของความสาเร็จปรากฏชัดเจน โดยมีการสรุปวิธีปฏิบัติ หรือข้ันตอนการปฏิบัติ ตลอดจนความรู้และ
ประสบการณ์ บันทึกเป็นเอกสาร เผยแพรใ่ ห้หน่วยงานภายในหรือภายนอกสามารถนาไปใช้ประโยชน์
ได้ (คณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา คณะอนุกรรมการพัฒนาการประกัน
คุณภาพการศกึ ษาภายในระดับอุดมศึกษา, ๒๕๕๘ : ๓๖)

ประเมินออนไลน์ (MCU e - SAR) หมายถึง ระบบฐานข้อมูลด้านการประกันคุณภาพ
การศึกษา ท่ีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พัฒนาข้ึนเพื่อเป็นระบบที่ใช้ในการจัดทา
รายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR) ในระดับหลักสูตร คณะ/หน่วยงาน และระดับสถาบนั

ผังการไหลของกระบวนการ (Work Flow Chart) หมายถึง การใช้สัญลักษณ์ต่างๆ
ในการเขียนแผนผังการทางาน เพื่อให้เห็นถึงลักษณะและความสัมพันธ์ก่อนและหลังของแต่ละ
ขนั้ ตอนในกระบวนการทางานประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดับหลักสูตร

ระบบ หมายถึง ข้ันตอนการปฏิบัติงานที่มีการกาหนดอย่างชัดเจนว่าต้องทาอะไรบ้าง
เพอื่ ใหไ้ ดอ้ อกมาตามที่ตอ้ งการ ข้ันตอนการปฏิบัติงานจะต้องปรากฏให้ทราบโดยทั่วกัน ไม่ว่าจะอยใู่ น
รูปของเอกสารหรอื สอื่ อิเลก็ ทรอนิกสห์ รือโดยวิธกี ารอ่ืนๆ องค์ประกอบของระบบ ประกอบด้วยปจั จัย
นาเขา้ กระบวนการ ผลผลิต และข้อมลู ป้อนกลับ ซง่ึ มคี วามสัมพนั ธ์เชื่อมโยงกัน

กลไก หมายถึง ส่ิงท่ีทาให้ระบบมีการขับเคล่ือนหรือดาเนินอยู่ได้ โดยมีการจัดสรร
ทรัพยากรมีการจัดองค์การ หน่วยงาน หรือกลุ่มบุคคลเป็นผู้ดาเนินงาน (คณะกรรมการประกัน
คุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา คณะอนุกรรมการพัฒนาการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
ระดบั อดุ มศกึ ษา, ๒๕๕๘ : ๓๙)

รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) หมายถึง รายงานท่ี
แสดงผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานในรอบปีท่ีผ่านมา และมีการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน
วางแผนการแก้ไขจดุ ออ่ น เสรมิ จุดแข็งของวิธีปฏิบัตงิ านให้มีประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ลมากข้ึน

วงจรคุณภาพ PDCA หมายถึง วงจรพัฒนาคุณภาพงาน เป็นวงจรพัฒนาพื้นฐานหลัก
ของการพัฒนาคุณภาพท้ังระบบ (TQM) คนท่ัวไปรู้จักวงจรนี้จากการเผยแพร่ของ Deming
ซึ่งประกอบด้วยการวางแผน (Plan) ปฏิบตั ิ (Do) ตรวจสอบ (Check) ปรับปรุง

หลักสูตร หมายถึง แนวทางในการจัดการเรียนการสอนในวิชาชีพตามมาตรฐานการ
อุดมศึกษาทั้งระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก ท่ีได้รับอนุมัติโดยสภามหาวิทยาลัย และ
ไดร้ ับการรบั ทราบจากสานักงานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา (สกอ.)

อาจารย์ หมายถึง คณาจารย์ ซึ่งจะมีตาแหน่งทางวิชาการที่ประกอบด้วยอาจารย์ ผู้ช่วย
ศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์

อาจารย์ประจาหลักสูตร หมายถึง อาจารย์ประจาเต็มเวลาท่ีมีภาระหน้าท่ีในการบริหาร
หลักสูตรและจัดการเรียนการสอน โดยวางแผน ติดตาม ทบทวนการดาเนินงานหลักสูตรและ

บทนำ ๕

ปฏิบัติงานประจาหลักสูตรนั้นตลอดระยะเวลาท่ีจัดการศึกษาตามหลักสูตรน้ัน มีคุณวุฒิตรงหรือ
สัมพันธ์กับสาขาวิชาที่เปิดสอนไม่น้อยกว่า 5 คน และทุกคนเป็นอาจารย์ประจาเกินกว่า 1 หลักสูตร
ในเวลาเดียวกันไม่ได้ ยกเว้นอาจารย์ประจาหลักสูตรระดับปริญญาโทและปริญญาเอก ในสาขาวิชา
เดียวกันได้ หรือเป็นอาจารย์ประจาหลักสูตรในหลักสูตรพหุวิทยาการได้อีก 1 หลักสูตรโดยต้องเป็น
หลักสูตรที่ตรงหรือสัมพันธ์กับหลักสูตรที่ได้ประจาอยู่แล้ว (คณะกรรมการการอุดมศึกษาในการ
ประชุมครั้งที่ 2/2549 วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2549) ทั้งน้ี กรณีบัณฑิตศึกษาอนุโลมให้เป็นอาจารย์
ประจาหลักสูตรได้มากท่ีสุดเพียง 2 หลักสูตรเท่าน้ัน หากมีการเปลี่ยนแปลงอาจารย์ประจาหลักสูตร
ขอให้นาเสนอโดยดาเนินการเช่นเดียวกับการนาเสนอหลักสูตรปรับปรุงเล็กน้อย โดยนาเสนอต่อสภา
สถาบันเพื่อพิจารณาอนุมัติหรือให้ความเห็นชอบ และเสนอให้คณะกรรมการการอุดมศึกษารับทราบ
ตามแบบฟอร์ม สมอ.08 ภายใน 30 วัน (คณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา
คณะอนุกรรมการพัฒนาการประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายในระดับอดุ มศกึ ษา, ๒๕๕๘ : ๔๒)

๑.๕ ประโยชน์ทค่ี ำดวำ่ จะไดร้ บั

๑. ผู้ปฏิบัติงานได้ทราบข้ันตอนและเทคนิคการปฏิบัติงาน การจัดทารายงานการประเมิน
ตนเอง (SAR) ระดับหลกั สูตร

๒. ลดปญั หาการทางานซ้าซ้อน ลดข้อผิดพลาดจากการปฏิบตั ิงานในการจัดทารายงานการ
ประเมนิ ตนเอง (SAR) ระดับหลักสูตร

๓. ผู้ปฏิบัติงานจัดทารายงานการประเมินตนเอง (SAR) ระดับหลักสูตร ได้มาตรฐานการ
ทางานเดียวกนั

บทนำ ๖

โครงสร้างบรหิ ารมหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแกน่

บทท่ี ๒
บทบาท หน้าทแี่ ละความรบั ผดิ ชอบ

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น ได้แบ่งบทบาท หน้าที่
แ ล ะค ว าม รั บ ผิ ด ช อ บ แ ก่ บุ ค ล าก ร ต าม พั น ธ กิ จแ ล ะโค รงส ร้างก ารบ ริห าร งาน ข อ ง ม ห าวิท ย าลั ย
กล่าวเฉพาะกลมุ่ งานวจิ ยั และคณุ ภาพการศึกษา ในสังกดั สานักวิชาการ วิทยาเขตขอนแกน่ ดังนี้

๒.๑ พันธกิจมหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย
๒.๒ โครงสรา้ งมหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๒.๓ ขอบขา่ ยภาระงานสานักวชิ าการ วิทยาเขตขอนแก่น
๒.๔ ความรับผิดชอบของกลุ่มงานวิจัยและคณุ ภาพการศกึ ษา สานักวชิ าการ
๒.๕ บทบาทหน้าทขี่ องผรู้ ับการประเมิน
๒.๖ คุณภาพ ความย่งุ ยาก และความซบั ซ้อนของงานทร่ี บั ผิดชอบ

๒.1 พันธกจิ มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตขอนแกน่

วิทยาเขตขอนแก่น เป็นเขตการศึกษาของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ เป็นไปตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๔๐ ลงในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๔ ตอนที่ ๕๑ ก ลงวันท่ี ๑ ตุลาคม ๒๕๔๐
มีฐานะเป็นนิติบุคคล สภามหาวิทยาลัยได้มีมติอนุมัติให้จัดตั้งเป็นวิทยาเขตขอนแก่น เม่ือวันที่ ๓
ตุลาคม ๒๕๒๘ ตามหนังสือที่ ๗๑๔/๒๕๒๘ ลงวันที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๒๘ ขยายท่ีทาการจากวัดธาตุ
ตาบลเมืองเก่า อาเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น มาตั้งอยู่ ณ เลขท่ี ๓๐ หมู่ที่ ๑ ถนนขอนแก่น-
น้าพอง ตาบลโคกสี อาเภอเมอื ง จังหวดั ขอนแก่น เมือ่ ปีพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐

ปีการศึกษา ๒๕๖๑ วิทยาเขตขอนแก่น ได้ดาเนินการจัดการศึกษาสาหรับนิสิตบรรพชิต
และคฤหัสถ์ จานวน ๑๔ หลักสูตร จาแนกเป็น ๓ ระดับการศึกษา ได้แก่ ระดับปริญญาตรี ๘
หลักสตู ร ระดับปริญญาโท ๔ หลักสูตร และระดับปริญญาเอก ๒ หลักสตู ร และมีวทิ ยาลัยในสงั กัด ๓
วทิ ยาลัย คือ วทิ ยาลยั สงฆเ์ ลย วทิ ยาลยั สงฆร์ อ้ ยเอ็ด และวทิ ยาลัยสงฆม์ หาสารคาม

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มีพันธกิจ ๔ ประการ คือ ผลิตบัณฑิต วิจัย
และพัฒนาสง่ เสริมพระพทุ ธศาสนาให้บรกิ ารวิชาการแก่สังคม และทะนุบารงุ ศิลปะและวัฒนธรรม

ผลิตบัณฑิต หมายถึง การผลิตและพัฒนาบัณฑิตให้ได้คุณภาพตามวัตถุประสงค์ของ
หลักสูตรและให้มีคุณลกั ษณะบัณฑิตตามนวลักษณ์ คอื ๑) มีปฏิปทาน่าเล่ือมใส ๒) ใฝ่รู้ใฝ่คิด ๓) เป็น
ผู้นาด้านจิตใจและปัญญา ๔) มีความสามารถ/ทักษะด้านภาษา ๕) มีศรัทธาอุทิศตนเพื่อ
พระพุทธศาสนา ๖) รจู้ ักเสียสละเพื่อส่วนรวม ๗) รู้เท่าทันความเปลี่ยนแปลงของสังคม ๘) มีโลกทัศน์
กว้างไกล ๙) พร้อมท่ีจะใช้และพัฒนานวัตกรรม พร้อมท้ังจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณลักษณ์ของบัณฑิต
ตามกรอบมาตรฐานผลการเรยี นรู้ (Domains of Learning) คุณวฒุ ปิ ระเทศไทยอย่างนอ้ ย ๕ ดา้ น ดงั นี้

๑. ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม (Ethics and Morals)
๒. ด้านความรู้ (Knowledge)

บทบาท หนา้ ที่และความรับผิดชอบ ๘

๓. ด้านทกั ษะทางปญั ญา (Cognitive Skills)
๔. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ (Interpersonal Skills and

Responsibility)

๕. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การส่ือสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

(Numerical, Communication and Information Technology Skills)

วิจัยและพัฒนา หมายถึง การสร้างองค์ความรู้ควบคู่ไปกับกระบวนการเรียนการสอน
เน้นการพัฒนาองค์ความรู้ในพระไตรปิฎก โดยวิธีบูรณาการกับศาสตร์อื่นแล้วนาองค์ความรู้ท่ีค้นพบ
มาประยุกต์ใช้แก้ปัญหาศีลธรรม และจริยธรรมของสังคม รวมท้ังพัฒนาคุณภาพงานวิชาการด้าน
พระพุทธศาสนา

ส่งเสริมพระพุทธศาสนาให้บริการวิชาการแก่สังคม หมายถึง การปรับปรุงกิจกรรม
ต่างๆ ให้ประสานสอดคล้องเอ้ือต่อการส่งเสริม สนับสนุนกิจการคณะสงฆ์ สร้างความรู้ความเข้าใจ
หลักคาสอนทางพระพุทธศาสนา สร้างจิตสานึกด้านคุณธรรม จริยธรรมแก่ประชาชน จัดประชุม
สัมมนา และฝึกอบรม เพื่อพัฒนาพระสงฆ์และบุคลากรทางศาสนา ให้มีศักยภาพในการธารงรักษา
เผยแผ่หลกั คาสอน และเป็นแกนหลักในการพฒั นาจติ ใจในวงกว้าง

ทะนุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม หมายถึง การเสรมิ สร้างและพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ด้าน
การทะนุบารุงศิลปวัฒนธรรม ให้เอ้ือต่อการศึกษาค้นคว้า เพ่ือสร้างจิตสานึกและความภาคภูมิใจใน
ความเปน็ ไทย สนับสนนุ ใหม้ ีการนาภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น มาเป็นรากฐานของการพัฒนาอยา่ งมีดลุ ยภาพ

พันธกิจหลักประการหน่ึงของสานักงาน ก.พ.ร. คือการส่งเสริมให้ระบบราชการไทยนา
หลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี มาใช้ในการบริหารราชการแผ่นดินเพื่อ
ประโยชน์สุขของประเทศชาติและประชาชน ตามเจตนารมณ์ของมาตรา ๓/๑ แห่งพระราชบัญญัติ
ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๔๕ และพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
บริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี พ.ศ. ๒๕๔๖ หลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่
ดี ประกอบ ด้วย ๑๐ หลัก ได้แก่ หลักการตอบสนอง (Responsiveness) หลักประสิทธิผล
(Effectiveness) หลักประสิทธิภาพ/คุ้มค่า (Efficiency/Value for money) หลักความเสมอภาค
(Equity) หลักมุ่งเน้นฉันทามติ (Consensus Oriented) หลักการตรวจสอบได้/มีภาระรับผิดชอบ
( Accountability) ห ลั ก เ ปิ ด เ ผ ย / โ ป ร่ ง ใ ส ( Transparency) ห ลั ก ก า ร ก ร ะ จ า ย
อานาจ (Decentralization) หลักการมสี ่วนรว่ ม (Participation) และหลักนติ ิธรรม (Rule of Law)

วิทยาเขตขอนแก่น เป็นสว่ นงานระดับคณะ ในมหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย
ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๔๐ ให้มีสถานเปน็ นิสิตบุคคล
และเป็นมหาวิทยาลยั ในกากบั ของรัฐ ตามประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ ท่ี ๑๑๔ ตอนท่ี ๕๑ ก ลง
วันท่ี ๑ ตุลาคม ๒๕๔๐ ปี พ.ศ. ๒๕๕๗ มกี ารแบง่ ส่วนงานใหม่ ตามประกาศมหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลง
กรณราชวทิ ยาลัย เร่ืองภารกิจ อานาจ หน้าท่ี และความรับผิดชอบของส่วนงานในมหาวิทยาลัย พ.ศ.
๒๕๕๗ ประกาศเมอ่ื วนั ท่ี ๒๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๗ ประกอบดว้ ย ๓ สานกั ดังนี้

(๑๙) สานกั งานวทิ ยาเขต
(๒๐) สานักวชิ าการวิทยาเขต
(๒๑) สานกั งานวทิ ยาลัย

บทบาท หน้าที่และความรับผิดชอบ ๙

โดยแบ่งโครงสร้างการบริหารภายในสานักวิชาการวิทยาเขตออกเป็น ๑ ส่วนงาน คือ
(๒๑.๑) ส่วนสนับสนุนวิชาการ กาหนดวิธีการบริหาร ๔ กลุ่มงาน คือ กลุ่มงานทะเบียนและวัดผล
กลุ่มงานห้องสมุดและสารสนเทศ กลุ่มงานวิจัยและคุณภาพการศึกษา และกลุ่มงานส่งเสริม
พระพทุ ธศาสนาและบรกิ ารสังคม

๒.๒ โครงสร้างมหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตขอนแกน่

มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย ไดจ้ ัดโครงสรา้ งวทิ ยาเขตขอนแกน่ ดงั น้ี

๒.๒.๑ โครงสร้างวทิ ยาเขตขอนแกน่
ตามประกาศมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เร่ืองภารกิจ อานาจ หน้าท่ี และ
ความรับผิดชอบของส่วนงานในมหาวิทยาลัย พ.ศ.๒๕๕๗ ประกาศเม่ือวันท่ี ๒๙ เมษายน พ.ศ.
๒๕๕๗ ประกอบดว้ ย ๓ สานัก ดังแผนภาพที่ ๒.๑

แผนภาพที่ ๒.๑ โครงสรา้ งวทิ ยาเขตวทิ ยาเขตขอนแก่น

บทบาท หนา้ ที่และความรับผิดชอบ ๑๐

จานวนบุคลากรสายวิชาการ ในปีการศึกษา 256๐ มีอาจารย์ทั้งหมด 73 รูป/คน
จาแนกเป็นปริญญาตรี - คน ปริญญาโท 34 รูป/คน ปริญญาเอก 39 รูป/คน และมีตาแหน่งทาง
วิชาการ จานวน 25 รูป/คน จาแนกเป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์ 21 รูป/คน รองศาสตราจารย์ 4
รูป/คน

ตารางที่ ๒.๑ จานวนบุคลากรสายวิชาการ ปกี ารศกึ ษา 256๐

จานวนอาจารย์

ที่ ประเภท ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก รวม

อ. ผศ. รศ. ศ. อ. ผศ. รศ. ศ. อ. ผศ. รศ. ศ. อ. ผศ. รศ. ศ.

1 อาจารย์ประจา - - - - 15 2 - - 5 11 3 - 20 13 3 -

2 อาจารย์อตั ราจา้ ง - - - - 14 2 1 - 14 6 - - 28 2 1 -

รวม - - - - 29 4 1 - 19 17 3 - 48 21 4 -

รวมทง้ั สิ้น - 34 39 73

จานวนบุคลากรสายปฏิบัติการ ในปีการศึกษา 256๐ มีบุคลากรประเภทตาแหน่งสาย
ปฏิบัติการและบริหารทั่วไป (นับรวมอัตราจ้างที่มีสัญญาจ้างและค่าตอบแทน) รวมทั้งหมด 89 รูป/
คน อัตราประจา 28 รูป/คน อัตราจ้าง 61 รูป/คน โดยจาแนกเป็นคุณวุฒิระดับต่ากว่าปริญญาตรี
จานวน 22 รูป/คน ปริญญาตรี จานวน 53 รปู /คน ปริญญาโท จานวน 12 รูป/คน และปรญิ ญา
เอก จานวน 2 คน

ตารางท่ี ๒.๒ จานวนบคุ ลากรสายปฏิบตั ิการ ปีการศึกษา 256๐ รวม
จานวนบุคลากรสายปฏบิ ัติการจาแนกตามสถานะและคุณวฒุ ิ 89

<ตรี ตรี โท เอก
ประจา จ้าง ประจา จ้าง ประจา จ้าง ประจา จา้ ง

2 20 13 40 11 1 2 -

บทบาท หนา้ ทีแ่ ละความรับผิดชอบ ๑๑

๒.๒.๒ โครงสรา้ งสานักวิชาการ วิทยาเขตขอนแกน่
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น ได้แบ่งโครงสร้าง

สานักวิชาการ วทิ ยาเขตขอนแก่น ดงั แผนภาพที่ ๒.๒

แผนภาพท่ี ๒.๒ โครงสร้างสานักวิชาการ วิทยาเขตขอนแก่น

๒.๓ ขอบขา่ ยภาระงานของสานกั วิชาการ วิทยาเขตขอนแก่น

สานักวิชาการวิทยาเขตขอนแก่น มีภารกิจเกี่ยวกับงานวิชาการของวิทยาเขตในส่วนงาน
ทะเบียนและวัดผล งานเทคโนโลยีสารสนเทศและห้องสมุด งานวิจัย งานมาตรฐาน งานประกัน
คุณภาพการศึกษา และงานส่งเสรมิ พระพทุ ธศาสนาและบริการสงั คม

แบ่งโครงสร้างการบริหารภายในสานักวิชาการวิทยาเขตออกเป็น ๑ ส่วนงาน คือ ส่วน
สนับสนุนวิชาการ มีอานาจหน้าที่และความรับผิดชอบเก่ียวกับงานธุรการ งานจัดเก็บข้อมูลเพ่ือ
ประโยชน์ต่อการวางแผน และดาเนินการเกี่ยวกับงานทะเบียนและวัดผล งานเทคโนโลยีสารสนเทศ
และห้องสมุด งานวิจยั มาตรฐาน และงานประกันคณุ ภาพการศึกษา และงานสง่ เสริมพระพุทธศาสนา
และบริการสังคม รวมทั้งการจัดเก็บสถิติทางวิชาการต่าง ๆ เพื่อใช้ในการวิเคราะห์และวางแผนทาง
วิชาการ เพ่ือให้สอดคล้องกับมหาวิทยาลัยและปฏิบัติงานอ่ืนท่ีเกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย
ไดก้ าหนดวธิ กี ารบรหิ าร ๔ กล่มุ งาน คอื

บทบาท หนา้ ที่และความรบั ผิดชอบ ๑๒

๑) กลุ่มงานทะเบียนและวัดผล ปฏิบัติงานจัดทาคู่มือ การรับสมัคร การคัดเลือกนิสิต
และการลงทะเบียน กองทุนการศึกษา ข้อมูลนิสิต และให้บริการเก่ียวกับทะเบียนประวัตินิสิต งาน
จัดทาระบบการวัดผลการศึกษา แจ้งผลการศึกษา ตรวจสอบการขออนุมัติปริญญาแก่ผู้สาเร็จ
การศึกษา ออกหนังสือสาคัญแก่ผู้สาเร็จการศึกษา และปฏิบัติงานอ่ืนท่ีเก่ียวข้องหรือที่ได้รับ
มอบหมาย

๒) กลมุ่ งานห้องสมุดและสารสนเทศ ปฏิบัตงิ านหอ้ งสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น
จัดหาและให้บริการยืม - คืนหนังสือ วารสาร เอกสารวิชาการ อุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์ จัดอบรม
บคุ ลากร นิสิต นักศกึ ษาของวทิ ยาเขตให้มคี วามรู้ ความเข้าใจ สามารถใช้คอมพิวเตอร์เพ่ือคน้ ควา้ หรือ
สนับสนุนการทาทางาน รวมทั้งผลิต จัดหาโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพ่ือสนับสนุนการทางานและการ
เรยี นการสอนให้มีประสิทธิภาพเพมิ่ ขึน้ และปฏบิ ตั งิ านอ่ืนทเ่ี กย่ี วขอ้ งหรือที่ไดร้ บั มอบหมาย

๓) กลุ่มงานวิจัยและคุณภาพการศึกษา ปฏิบัติงานวางแผนและพัฒนางานวิจัย จัดหา
ทุนสนบั สนนุ งานวจิ ัย เผยแพร่และนางานวิจยั ไปใช้ประโยชน์ รวบรวมและประมวลข้อมูลการประกัน
คุณภาพการศึกษา งานพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพ่ือการประกันคุณภาพการศึกษา งานพัฒนาระบบ
และกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา เผยแพร่การประกันคุณภาพการศึกษา งานฝึกอบรมและ
บริการวิชาการ รวมท้ังการจัดเก็บสถิติทางวิชาการต่าง ๆ และปฏิบัติงานอ่ืนท่ีเก่ียวข้องหรือท่ีได้รับ
มอบหมาย

๔) กลุ่มงานส่งเสริมพระพุทธศาสนาและบริการสังคม ปฏิบัติงานจัดกิจกรรม ส่งเสริม
สนับสนุน เผยแผ่ ทะนุบารุงพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรม งานบริการฝึกอบรมเกี่ยวกับ
คุณธรรม จริยธรรม วิปัสสนากัมมัฏฐาน งานพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน งานบรรพชาและอบรม
เยาวชนภาคฤดรู ้อนหรอื อนื่ ๆ และปฏิบตั งิ านอน่ื ทีเ่ กย่ี วข้องหรือทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย

๒.๔ ความรบั ผดิ ชอบกลมุ่ งานวจิ ยั และคณุ ภาพการศกึ ษา สานักวชิ าการวิทยาเขตขอนแกน่

ตามประกาศมหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เรอ่ื ง ภารกิจ อานาจหน้าที่ และ
ความรับผิดชอบของส่วนงานในมหาวิทยาลัย พ.ศ.๒๕๕๗ ได้กาหนดภาระงานของกลุ่มงานวิจัยและ
คณุ ภาพการศึกษา สานักวชิ าการ วทิ ยาเขตขอนแก่น ดังน้ี

๑. ปฏบิ ตั ิงานวางแผนและพัฒนางานวจิ ัย
๒. จัดหาทนุ สนบั สนุนงานวจิ ยั
๓. เผยแพรแ่ ละนางานวิจยั ไปใช้ประโยชน์
๔. รวบรวมและประมวลขอ้ มูลการประกันคุณภาพการศึกษา
๕. งานพฒั นาระบบฐานข้อมูลเพือ่ การประกันคุณภาพการศึกษา
๖. งานพัฒนาระบบและกลไกการประกนั คุณภาพการศึกษา
๗. เผยแพรก่ ารประกนั คุณภาพการศกึ ษา
๘. งานฝกึ อบรมและบริการวิชาการ
๙. รวมท้งั การจดั เกบ็ สถิติทางวชิ าการตา่ ง ๆ
๑0. ปฏบิ ัติงานอืน่ ทเี่ กีย่ วข้องหรือท่ีไดร้ ับมอบหมาย

บทบาท หน้าท่ีและความรบั ผิดชอบ ๑๓

ในการปฏิบัติงานกลุ่มงานวิจัยและคุณภาพการศึกษา ได้แบ่งงานย่อยลงไปอีก ๒ ด้าน คือ
ด้านงานวิจัย และดา้ นการประกันคุณภาพการศึกษาทั้งระดับวทิ ยาเขตและระดบั หลักสูตร

แผนภาพท่ี ๒.๓ โครงสร้างการบริหารกล่มุ งานวจิ ัยและคณุ ภาพการศกึ ษา สานักวชิ าการวิทยาเขตขอนแก่น

บทบาท หนา้ ทีแ่ ละความรับผิดชอบ ๑๔

๒.๕ บทบาทหน้าทีแ่ ละความรับผดิ ชอบของผู้รบั การประเมนิ

นางฤดี แสงเดือนฉาย นักวิชาการศึกษา สังกัดกลุ่มงานวิจัยและคุณภาพการศึกษา
สานกั วชิ าการ วิทยาเขตขอนแก่น มีบทบาท หนา้ ที่ และความรบั ผิดชอบในแต่ละอย่าง ดังน้ี

๑. รวบรวมและประมวลขอ้ มลู การประกนั คุณภาพการศกึ ษา
๑.๑ วิเคราะห์ระบบและกลไกการประกันคุณภาพระดับหลักสูตร และระดับ

วิทยาเขตขอนแกน่
๑.๒ รวบรวมรายงานผลการดาเนินงานประกันคุณภาพของสานัก วิทยาลัย และ

หลักสตู ร
๑.๓ ติดตาม ตรวจสอบ การจัดทารายงานการประเมนิ ตนเอง ระดบั หลักสตู ร สานัก

วทิ ยาลยั
๑.๔ ติดตาม รายงานผลการดาเนินงานประกันคุณภาพ การจัดทารายงานการ

ประเมนิ ตนเองเสนอตอ่ ผบู้ ังคับบญั ชา
๑.๕ นารายงานผลการดาเนินงานมาปรบั ปรุงไข
๑.๖ สรุปผลการดาเนนิ งานเสนอตอ่ ผบู้ งั คับบญั ชา

๒. งานพฒั นาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศกึ ษา
๒.๑ แต่งตงั้ คณะกรรมการดาเนินงานประกันคณุ ภาพวิทยาเขตขอนแกน่
๒.๒ จัดทาแผนปฏิบัติการ ปฏิทินการปฏิบัติงานประกันคุณภาพวิทยาเขตขอนแก่น

ระดับหลกั สตู ร และระดบั วิทยาลัย
๒.๓ ติดตามผลการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการงานประกันคุณภาพวิทยาเขต

ขอนแกน่ ระดบั หลักสตู ร และระดบั วิทยาลยั
๒.๔ จดั ทาคมู่ ือการปฏบิ ตั ิงานประกันคุณภาพและคู่มอื อ่นื ๆ ที่เกยี่ วข้อง
๒.๔ รายงานผลการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการงานประกันคุณภาพวิทยาเขต

ขอนแกน่ ระดบั หลักสตู ร และ ระดับวิทยาลัย เสนอต่อผบู้ ังคบั บญั ชา
๓. เผยแพรก่ ารประกันคณุ ภาพการศึกษา
๓.๑ ศกึ ษาระบบการทางานของ MCU e-SAR และ CHE QA ONLINE
๓.๒ จัดทาฐานข้อมูล บรรจุหรือจัดเก็บ (Upload) หรือเชื่อมโยง (ling) ไว้บนระบบ

ฐานข้อมูล MCU e-SAR ของมหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั และด้านการประกันคุณภาพ
การศึกษาระดบั อุดมศึกษา (CHE QA Online)

๓.3 ให้คาปรึกษา แนะนาเบ้ืองต้น เผยแพร่ ถ่ายทอดความรู้ในการจัดทารายงาน
การประเมินตนเอง (SAR) ระดับหลกั สตู ร และระดับวิทยาลัย

บทบาท หนา้ ทแี่ ละความรบั ผิดชอบ ๑๕

๓.๔ นาเอกสาร/หลักฐานสแกนเข้าสู่ระบบฐานข้อมูล MCU e-SAR ของ
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และด้านการประกันคุณภาพการศึกษา ระดับอุดมศึกษา
(CHE QA Online)

๓.๕ ตรวจสอบความถูกต้องของการนาเอกสาร/หลักฐานสแกนเข้าสู่ระบบ
ฐานข้อมูล MCU e-SAR ของมหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั และด้านการประกนั คุณภาพ
การศกึ ษา ระดบั อุดมศึกษา (CHE QA Online)

๓.6 สรปุ ผลการดาเนนิ งานเสนอต่อผ้บู ังคบั บัญชา
4. ปฏบิ ตั ิงานอ่นื ท่ีเกีย่ วข้องหรอื ที่ไดร้ บั มอบหมาย

4.1 งานสารบรรณกลางส่วนสนบั สนุนวชิ าการ
4.๒ งานแผนและงบประมาณสานักวชิ าการวิทยาเขตขอนแกน่
ผ้เู ขยี นจงึ ไดส้ รปุ เป็นมาตรฐานกาหนดตาแหน่งและภาระงานทปี่ ฏบิ ัติ ดงั นี้

ตารางที่ ๒.๓ มาตรฐานกาหนดตาแหนง่ และภาระงานทีป่ ฏบิ ัติ

มาตรฐานกาหนดตาแหน่ง ภาระงาน

ดา้ นการปฏบิ ตั กิ าร ๑. ด้านการปฏบิ ตั ิการ

๑. การรวบรวมและประมวล - วิเคราะห์ระบบและกลไกการประกันคุณภาพระดับ

ข้ อ มู ล ก ารป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ หลกั สตู ร และระดบั วิทยาเขตขอนแก่น

การศึกษา - รวบรวมรายงานผลการดาเนินงานประกันคุณภาพของ

สานกั วทิ ยาลัย และหลกั สูตร

- ติดตาม ตรวจสอบ การจัดทารายงานการประเมิน

ตนเอง ระดบั หลกั สูตร สานกั และวทิ ยาลยั สงฆ์ขอนแก่น

- ตดิ ตาม รายงานผลการดาเนนิ งานประกันคุณภาพ

- การจัดทารายงานการป ระเมินตนเองเสนอต่อ

ผู้บงั คบั บัญชา

- นารายงานผลการดาเนินงานมาปรับปรุงแก้ไข

- สรุปผลการดาเนินงาน เสนอตอ่ ผบู้ งั คบั บญั ชา

๒. งานพัฒนาระบบและกลไก - แต่งต้ังคณะกรรมการดาเนินงานประกันคุณภาพวิทยา

การ ประกนั คุณภาพการศึกษา เขตขอนแก่น

- จัดทาแผนงาน ปฏิทินการปฏิบัติงานประกันคุณภาพ

วทิ ยาเขตขอนแกน่ ระดบั หลักสตู ร และระดบั วทิ ยาลยั

- ติดตามผลการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการงาน

ประกันคุณภาพวิทยาเขตขอนแก่น ระดับหลักสูตร และระดับ

วทิ ยาลัย

- จัดทาคู่มอื การปฏิบัติงานประกันคุณภาพและคู่มอื อื่นๆ

ทเ่ี กยี่ วข้อง

บทบาท หน้าทแ่ี ละความรับผิดชอบ ๑๖

มาตรฐานกาหนดตาแหน่ง ภาระงาน

- รายงานผลการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการงาน
ประกันคุณภาพวิทยาเขตขอนแก่น ระดับหลักสูตร และระดับ
วิทยาลยั เสนอต่อผู้บงั คบั บัญชา

๓ . เผยแพ ร่งาน การป ระกัน - ศึกษาระบบการทางานของ MCU e-SAR และ CHE

คณุ ภาพการศกึ ษา QA ONLINE

- จัดทาฐานข้อมูล บรรจุหรือจัดเก็บ (Upload) หรือ

เช่ือมโยง (ling) ไว้บนระบบฐานข้อมูล MCU e-SAR ของ

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และด้านการประกัน

คณุ ภาพการศึกษา ระดับอุดมศกึ ษา (CHE QA Online)

- ให้คาปรึกษา แนะนาเบื้องต้น เผยแพร่ ถ่ายทอดความรู้

ในการจัดทารายงานการประเมินตนเอง (SAR) ระดับหลักสูตร

และระดับวิทยาลัย

- นาเอกสาร/หลักฐานสแกนเข้าสู่ระบบฐานข้อมูล MCU

e-SAR ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และด้าน

การประกันคุณภาพการศึกษา ระดับอุดมศึกษา (CHE QA

Online)

- ตรวจสอบความถูกต้อง ของการนาเอกสาร/หลักฐาน

สแกนเข้าสู่ระบบฐานข้อมูล MCU e-SAR ของมหาวิทยาลัยมหา

จฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย และด้านการประกันคุณภาพการศึกษา

ระดับอดุ มศึกษา (CHE QA Online)

- สรปุ ผลการดาเนินงาน เสนอต่อผบู้ งั คบั บัญชา

ด้านการวางแผน ๒. ดา้ นการวางแผน

การจัดทาแผนปฏิบัติการ - ติดตามผลการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการงาน

ปฏิทิน การปฏิบัติงานประกัน ประกันคุณภาพวิทยาเขตขอนแก่น ระดับหลักสูตร และระดับ

คณุ ภาพวิทยาเขตขอนแก่นระดับ วทิ ยาลัย

หลักสูตร และระดับวิทยาลัย - จัดทาคู่มือการปฏิบัติงานประกันคุณภาพและคู่มืออื่นๆ

ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง

- รายงานผลการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการงาน

ประกันคุณภาพวิทยาเขตขอนแก่น ระดับหลักสูตร และระดับ

วิทยาลัย เสนอต่อผู้บงั คับบัญชา

บทบาท หน้าที่และความรบั ผิดชอบ ๑๗

มาตรฐานกาหนดตาแหน่ง ภาระงาน

ด้านการประสานงาน ๓. ด้านการประสานงาน

ก า ร ติ ด ต า ม ผ ล ก า ร - แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงานประกันคุณภาพวิทยา

ดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการ เขตขอนแกน่

งานประกันคุณภาพวิทยาเขต - จัดทาแผนปฏิบัติการ ปฏิทินการปฏิบัติงานประกัน

ขอนแก่น ระดับหลักสูตร และ คณุ ภาพวทิ ยาเขตขอนแก่น ระดบั หลักสตู รและระดบั วิทยาลยั

ระดบั วทิ ยาลัย - ติดตามผลการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการงานประกัน

คณุ ภาพวทิ ยาเขตขอนแกน่ ระดบั หลักสตู ร และระดับวิทยาลัย

- จัดทาคู่มือการปฏบิ ัติงานประกันคุณภาพและคมู่ ืออน่ื ๆ ท่ี

เกยี่ วขอ้ ง

- รายงานผลการดาเนินงานตามแผนปฏิบตั ิการงานประกัน

คุณภาพวิทยาเขตขอนแก่น ระดับหลักสูตร และระดับวิทยาลัย

เสนอต่อผูบ้ ังคับบัญชา

ดา้ นการบริการ ๔. ด้านการบริการ

ปฏิบัติงานอ่ืนที่เก่ียวข้องหรือที่ - ดาเนินการติดตามหนังสือส่งท่ีได้ส่งไปยังส่วนงานว่าอยู่ใน

ได้รบั มอบหมาย กระบวนการใดแล้ว และได้มีการลงนามตามลาดับ เพ่ือให้เกิด

งานสารบรรณ กลางส่วน ผลสัมฤทธิต์ ามเปา้ หมายท่ีกาหนด

สนับสนนุ วชิ าการ - หนังสือรับติดตามหนังสือรับท้ังภายในและภายนอก

งานแผนและงบประมาณ เพื่อให้ผู้ที่เก่ียวข้องและผู้ที่มีส่วนได้เสียในหนังสือนั้น บรรลุ

สานักวิชาการวิทยาเขตขอนแกน่ ผลสมั ฤทธต์ิ ามเปา้ หมายท่กี าหนด

ง า น ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ - ดาเนินการติดตามมติท่ีประชุมเพ่ือให้เป็นไปตามที่

ก า ร ศึ ก ษ า ส า นั ก วิ ช า ก า ร คณะกรรมการได้ให้มติไว้ทั้งการประชุมคณะกรรมการประจา

วิทยาเขตขอนแก่น วิทยาเขต การประชุมคณะอนุกรรมการบริหารงานบุคคล และ

กรรมการอืน่ ๆ ทีเ่ ก่ยี วข้อง

- ดาเนินการจัดทาคาส่ังต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอันสืบเนื่องจาก

การประชุมของคณะกรรมการแตล่ ะชุด

- สรปุ ผลการดาเนนิ งานเสนอตอ่ ผู้บงั คับบัญชา

บทบาท หนา้ ทีแ่ ละความรับผิดชอบ ๑๘

โดยสรุป ในบทที่ ๒ ผู้ปฏิบัติการได้กล่าวถึงภาพรวมของพันธกิจมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง
กรณราชวิทยาลัย โครงสร้างการบริหารงานของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยขอบข่าย
ภาระงานของสานักวิชาการวิทยาเขตขอนแก่น ความรับผิดชอบของกลุ่มงานวิจัยและคุณภาพ
การศึกษาของสานักวิชาการ และบทบาทหน้าท่ีของผู้รับการประเมิน จากบทบาทหน้าท่ีที่ได้รับ
มอบหมายข้างต้น จึงได้เลือกงานการให้คาปรึกษา การแนะนาแนวทางการพัฒนา เพื่อถ่ายทอดองค์
ความรู้ในการจัดทารายงานการประเมินตนเอง (SAR) ระดับหลักสูตรตามตัวช้ีวดั การประเมินคุณภาพ
ภายใน (IQA) มาจัดทาแนวทางการปฏิบัตงิ าน

บทท่ี ๓

หลักเกณฑ์และวิธปี ฏบิ ัตกิ ารจัดทารายงานการประเมนิ ตนเอง ระดับหลกั สูตร

ระบบและกลไกในการปฏิบัติงานตามหลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติงาน ซ่ึงเก่ียวข้องกับการ
จดั ทารายงานการประเมนิ ตนเอง ระดบั หลกั สูตร มรี ายละเอียดสาคญั ดงั น้ี

3.1 การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
3.๒ องคป์ ระกอบและตวั บง่ ชี้ในการประกันคณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดับหลกั สตู ร
3.๓ หลกั เกณฑ์และวธิ ีปฏบิ ัติงาน
3.๔ ยุทธศาสตร์การประกันคณุ ภาพการศึกษา
3.๕ เอกสาร หนงั สือ วทิ ยานพิ นธ์ และงานวจิ ัยท่เี ก่ียวขอ้ ง

๓.๑ การประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน

ด้วยกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.
2553 ข้อ 33 ให้สถาบันอุดมศึกษาพัฒนาระบบประกันคุณภาพ โดยยึดหลักเสรีภาพทางวิชาการ
และความมีอิสระในการดาเนินการของสถานศึกษา เพื่อให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ในการ
พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาอย่างต่อเน่ือง และเตรียม
ความพร้อมเพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก สถาบันจึงมีอิสระในการพัฒนาระบบประกัน
คุณภาพภายในท่ีเหมาะสมสอดคล้องกับระดับการพัฒนาของสถาบัน โดยอาจเป็นระบบประกัน
คุณภาพที่ใช้กันแพร่หลายในระดับชาติหรือนานาชาติ หรือเป็นระบบเฉพาะท่ีสถาบันพัฒนาข้ึนเอง
แต่ไม่ว่าจะเป็นระบบคุณภาพแบบใด ต้องมีกระบวนการทางานท่ีเริ่มต้นจากการวางแผน
การดาเนินงานตามแผน การตรวจสอบประเมิน และการปรับปรุงพัฒนา ท้ังนี้ เพ่ือให้การดาเนิน
ภารกิจของสถาบันบรรลุเป้าประสงค์และมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง ขณะเดียวกันก็เป็นหลักประกัน
แกส่ าธารณชนใหม้ ่ันใจวา่ สถาบันอุดมศกึ ษาสามารถสร้างผลผลิตทางการศกึ ษาทม่ี คี ุณภาพ

หลักการที่สาคัญในการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพและตัวบ่งชี้การประกันคุณภาพ
การศึกษาภายในระดบั อดุ มศึกษา ดงั น้ี

1. ส่งเสริมพันธกิจหลักและพันธกิจสนับสนุนของการอุดมศึกษา ภายใต้ความสอดคล้อง
กบั หลักเกณฑท์ ี่กาหนดในกฎกระทรวงวา่ ดว้ ยระบบ หลักเกณฑ์ และวธิ ีการประกันคณุ ภาพการศึกษา
พ.ศ. 2553

2. เป็นระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ที่ครอบคลมุ ปัจจัยนาเขา้ และกระบวนการ
ซงึ่ สามารถส่งเสรมิ และนาไปสผู่ ลลพั ธ์ของการดาเนินการอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

3. ระบบการประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายในระดับอุดมศึกษารอบใหม่ ประกอบด้วยการ
ประกนั คณุ ภาพระดบั หลกั สตู ร ระดบั คณะ และระดับสถาบัน โดยจะเริ่มใช้ในปีการศึกษา 2557

หลกั เกณฑแ์ ละวิธปี ฏิบตั ิการจัดทารายงานการประเมนิ ตนเอง ระดบั หลักสตู ร ๒๐

- ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตร มีการดาเนินการต้ังแต่การควบคุม
คุณภาพ การติดตาม การตรวจสอบคุณภาพ และการพัฒนาคุณภาพ การพัฒนาตัวบง่ ชี้และเกณฑก์ าร
ประเมนิ ฯ จะมุ่งไปทรี่ ะบบการประกนั คุณภาพการศึกษามากกว่าการประเมนิ คณุ ภาพ เพือ่ ให้สามารถ
ส่งเสริม สนับสนุน กากับติดตาม การดาเนินงานให้เป็นไปตามที่กาหนด สะท้อนการจัดการศึกษา
อย่างมคี ณุ ภาพ

- ระบบการประกันคุณภาพภายในระดับคณะและระดับสถาบัน เป็นการดาเนินการ
ประกนั คุณภาพการศึกษาภายในท่ีคณะและสถาบันพัฒนาระบบประกนั คุณภาพ โดยยดึ หลักเสรีภาพ
ทางวิชาการและความมีอิสระในการดาเนินการของสถานศึกษา ซ่ึงจะประเมินตามระบบประกัน
คุณภาพการศึกษาภายในที่คณะและสถาบันต้องการให้คณะและสถาบันพัฒนาตามศักยภาพและ
ประเภทของกลุม่ สถาบัน ซึ่งเปน็ การประเมนิ ความเข้มแขง็ ทางวชิ าการ

4. ใหอ้ ิสระกับสถาบนั อดุ มศกึ ษาในการออกแบบระบบประกันคณุ ภาพการศึกษาภายใน
5. เช่ือมโยงกับระบบคุณภาพอื่นท่ีกาหนดและเป็นนโยบายของกรรมการการอุดมศึกษา
(กกอ.) โดยเฉพาะเร่ืองกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และการเช่ือมโยงกับการ
ประกันคุณภาพภายนอกของสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.)
เพ่ื อ ไม่ ให้ เป็ น ก า ร ท า ง า น ซ้ า ซ้ อ น เกิ น ค ว า ม จ า เป็ น ห รื อ ส ร้ า ง ภ า ร ะ ก า ร ท า ง า น ข อ ง ห น่ ว ย ง า น
(คณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา คณะอนุกรรมการพัฒนาการประกันคุณภาพ
การศึกษาภายในระดบั อุดมศกึ ษา, ๒๕๕๘ : ๑๗ – ๑๘)
ในปี พ.ศ.2557 สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาโดยคณะกรรมการประกัน
คุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา ได้ตระหนักถึงความสาคัญของหน่วยย่อยของการอุดมศึกษาที่ทา
หน้าที่ผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพ จึงได้กาหนดกรอบแนวทางการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพ
การศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา โดยใหพ้ ิจารณาเพ่ิมเติมในสาระท่ีเก่ียวข้องในกรอบแผนอุดมศึกษา
ระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551 - 2565) แผนพฒั นาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับท่ี 11
(พ.ศ. 2555 - 2559) มาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา เกณฑ์มาตรฐาน
หลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548 รวมท้ังกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.
2552 ทั้งน้ี ได้กาหนดให้มีการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน 3 ระดับ คือ ระดับหลักสูตร ระดับ
คณะ และระดับสถาบัน โดยมีองค์ประกอบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในตามพันธกิจ 4 ด้าน
ของสถาบนั อุดมศึกษา และเพม่ิ เตมิ ด้านอ่นื ๆ ท่ีจาเป็นสาหรับการพฒั นาตัวบ่งชีแ้ ละเกณฑ์การประกัน
คุณภาพการศึกษาภายในทั้งระดับหลักสูตร คณะ และสถาบัน ดาเนินการไปพร้อมกัน หากเป็นตัว
บ่งชี้ท่ีเน้นกระบวนการจะต้องมีการประเมินผลลัพธ์ ภายใต้การดาเนินการตามตัวบ่งช้ีกระบวนการ
ดังกล่าวด้วย (process performance) ซ่ึงได้กาหนดหลกั การพัฒนาไว้การประกันคุณภาพการศึกษา
ภายใน ระดับหลักสูตร ดังบทสรุปเก่ียวกับจานวนองค์ประกอบการประกันคุณภาพภายใน
ระดบั อดุ มศึกษาพ.ศ. 2557 ในแผนภาพที่ ๓.๑

หลกั เกณฑ์และวธิ ีปฏบิ ตั กิ ารจัดทารายงานการประเมนิ ตนเอง ระดับหลักสูตร ๒๑

แผนภาพที่ ๓.๑ จานวนองคป์ ระกอบการประกันคณุ ภาพภายใน ระดับอุดมศึกษาพ.ศ. 2557

ส่วนตัวอย่างรายงานการประเมินตนเอง ระดับวิทยาเขต ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ของ
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น จากตัวบ่งชี้ที่ ๕.๒ ระบบการประกัน
คุณภาพหลักสูตร ได้มีการประเมินผลจากกระบวนการทางาน ดังในตารางที่ ๓.๑ (มหาวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตขอนแกน่ , ๒๕๖๑ : ๗๓ – ๘๔)

ตารางท่ี ๓.๑ เกณฑ์การประเมินและผลการดาเนินงานจากตัวบ่งชี้ท่ี ๕.๒ ระบบการ

ประกนั คุณภาพหลกั สตู ร

เกณฑก์ ารประเมิน ผลการดาเนินงาน เอกสาร/หลักฐาน

๑. มีระบบและกลไก ใน ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๐ ๕.๒.๑-๑ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ

ใน การดาเนินการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช เรื่อง เกณ ฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับ
วิท ย าลั ย วิท ย าเข ต ข อ น แ ก่ น ปริญญาตรี พ.ศ.๒๕๕๘ และประกาศ
ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ
ห ลั ก สู ต ร ให้ เป็ น ไ ป มีระบบและกลไกในการดาเนินการ กระทรวงศกึ ษาธิการ เร่ือง เกณฑ์มาตรฐาน
ต า ม อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ก า รศึ ก ษ า ระ ดั บ หลักสูตรระดับบณั ฑติ ศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๘
หลกั สตู รใหเ้ ปน็ ไปตามองค์ประกอบ ๕.๒.๑-๒ รายละเอยี ดของหลักสูตร (มคอ.
การประกันคุณภาพ และตัวบ่งชี้การประกันคุณภาพ ๒) ของทุกหลกั สูตร
หลักสตู ร
หลักสตู ร ดังนี้ ๕ .๒ .๑ .๓ คู่ มื อ ก ารป ระ กั น คุ ณ ภ าพ

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ การศึกษามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัยวิทยาเขตขอนแก่น ได้ ราชวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๕๙

แจ้งให้อาจารย์ประจาหลักสูตรและ ๕.๒.๑-๔ รายงานการประชุมคณาจารย์

รับผิดชอบหลักสูตร คณาจารย์และ ประจาวิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น เพ่ือแจ้ง

บุคลากรสายปฏิบัติการวิชาชีพ เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรทั้งระดับปริญญา

ได้รับทราบและใช้ประกาศ และ ตรแี ละระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๘

หลกั เกณฑแ์ ละวิธีปฏบิ ัติการจัดทารายงานการประเมนิ ตนเอง ระดับหลักสูตร ๒๒

เกณฑ์การประเมนิ ผลการดาเนินงาน เอกสาร/หลักฐาน

คู่มือต่าง ๆ เป็นแนวทางในการ ๕.๒.๑-๕ รายงานการประชุมผู้บริหาร
ดาเนินงานให้เป็นไปตามเกณฑ์ ผู้อาน วย การห ลั ก สูต ร แ ล ะป ระธาน
มาตรฐานหลักสูตรและแนวทางการ หลกั สตู ร
ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า ๕.๒.๑-๖ แผนพัฒนาคุณภาพระดับวิทยา
ประกอบด้วยรายละเอียดของ เขต
หลักสูตร (มคอ.๒) ของทุกหลักสูตร ๕ .๒ .๑ .๗ แผน พั ฒ น าคุณ ภาพ ระดับ
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง หลกั สูตร
เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับ ๕.๒.๑.-๘ รายงานผลการดาเนินงานตาม
ป ริญ ญ าต รี พ .ศ .๒ ๕ ๕ ๘ แ ล ะ แผนพฒั นาคณุ ภาพระดบั วิทยาเขต
ประกาศกระทรวง ศึกษาธิการ เรือ่ ง ๕.๒.๑-๙ รายงานผลการดาเนินงานตาม
เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับ แผนพัฒนาคณุ ภาพระดับหลักสตู ร
บณั ฑิตศกึ ษา พ.ศ.๒๕๕๘ และคู่มือ
การประกันคุณ ภาพการศึกษา
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วิ ท ย า ลั ย พ .ศ .๒ ๕ ๕ ๙ แ ล ะ
แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาระดับ

วิทยาเขตและระดับหลักสูตรเป็น
เครื่องมือในการกากับติดผลการ
ดาเนินงานระดบั หลักสูตรเปน็ ต้น

เพื่อให้การบริหารจัดการ ๕.๒.๑-๑๐ รวมคาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ
หลักสูตรและกระบวนการจัดการ บริหารหลกั สูตรของทกุ หลกั สูตร
เรียนการสอนของแต่ละหลักสูตร ๕ .๒ .๑ -๑ ๑ ป ฏิ ทิ น ก า ร ป ร ะ ชุ ม
ดาเนินไปด้วยความเรียบร้อยได้ คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู ร
มาตรฐานสอดคล้องกับเกณฑ์การ ๕.๒.๑-๑๒ รวบรวมรายงานการประชุม
ป ระ เมิ น ก ารป ระ กั น คุ ณ ภ าพ คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู ร
การศึกษา วิทยาเขตขอนแก่นจึงได้ ๕ .๒ .๑ -๑ ๓ ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ ชุ ม
เสนอแต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร คณ ะก รรม การป ระจ าวิท ยาลั ยส งฆ์
หลักสูตร เพื่อทาหน้าที่รับผิดชอบ ขอนแก่น
ในการดาเนินการและกาหนดให้
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทา
ป ฏิ ทิ น ก า ร ป ร ะ ชุ ม ห ลั ก สู ต ร เพื่ อ
ประชุมกากับและติดตามผลการ
ด า เนิ น ง า น ข อ ง อ า จ า ร ย์ ป ร ะ จ า
หลักสูตรและรับผิดชอบหลักสูตร
พร้อมทั้งคณาจารย์ โดยมีการจัดทา

รายงานการประชุมคณะกรรมการ
บริหารหลักสูตรเพื่อแสดงให้เห็นถึง

หลกั เกณฑแ์ ละวิธีปฏบิ ัติการจัดทารายงานการประเมินตนเอง ระดับหลักสตู ร ๒๓

เกณฑก์ ารประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน เอกสาร/หลักฐาน

การมีส่วนร่วมและธรรมาภิบาลใน
การบริหารจัดการหลักสูตร อีกท้ัง
ติดตามอาจารยป์ ระจาหลักสูตรและ
รับผิดชอบหลักสูตรให้นาผลการ

ดาเนินงานแจ้งคณ ะกรรมการ
ประจาวทิ ยาลยั สงฆ์ขอนแก่น

ในด้านการสร้างความรู้ความ ๕ .๒ .๑ -๑ http://www.mcukk.com/qa/
เข้าใจแก่ผู้บริหารวิทยาลัยสงฆ์ ๕.๒.๑-๑๕
ขอนแก่น อาจารย์ประจาหลักสูตร https://www.facebook.com/groups/
และรับผิดชอบหลักสูตรน้ัน วิทยา ๕.๒.๑-๑๖ จดหมายขา่ วประกนั คณุ ภาพ
เขตขอนแก่น ได้ใช้คู่มือการประกัน การศกึ ษา
คุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัย ๕.๒.๑-๑๗ ไลน์บุคลากร มจร วิทยาเขต
มหาจุฬ าลงกรณ ราชวิท ยาลัย ขอนแก่น
พุทธศักราช ๒๕๕๙ เป็นเคร่ืองมือ ๕.๒.๑-๑๘ ไลน์คณาจารย์ มจร วทิ ยาเขต
ใน ก า ร ส ร้ า ง ค ว า ม เข้ า ใ จ ใ น ขอนแก่น
กระบวนการต่างๆของระบบการ
ประกันคุณภาพการศึกษาในระดับ
หลักสตู ร ระดับวิทยาลัย และระดับ
วิ ท ย า เข ต โ ด ย ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์ ใ ห้
บุ ค ล าก รแ ล ะ อ าจ ารย์ ป ระจ า
หลักสูตรศึกษาและทาความเข้าใจ
จากช่องทางต่าง ๆ เช่น เว็บไซต์
การประกันคุณ ภาพการศึกษา
Facebook ก ลุ่ ม ก า ร ป ร ะ กั น
คุณภาพการศึกษาไลน์บคุ ลากร การ
ส น ท น าก ลุ่ ม ป ระ กั น คุ ณ ภ าพ
การศึ ก ษ า จ ด ห ม าย ข่าวก าร
ประกันคุณภาพการศึกษาวิทยาเขต
ขอนแก่น Line บุคลากร และ Line
คณาจารย์ เปน็ ตน้

ห น่ ว ย ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ๕ .๒ .๑ -๑ ๙ ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ ชุ ม
การศึกษาวิทยาเขตขอนแก่น ได้ คณ ะก รรม การป ระจ าวิท ยาลั ยส งฆ์
แจ้งผลการประเมินคุณภาพระดับ ขอนแก่น ครั้งท่ี ๔/๒๕๖๐ เม่ือวันที่ ๓๐
หลักสูตร และระดับวิทยาเขต ปี ตลุ าคม ๒๕๖๐
การศึกษา ๒๕๕๙ ให้ผู้อานวยการ ๕.๒.๑-๒๐ รายงานการประชุมผู้บริหาร
หลักสูตร ประธานหลักสูตร และ อาจารย์ประจาหลักสูตรและรับผิดชอบ
คณาจารย์และบุคลากรทราบ เพื่อ หลกั

หลกั เกณฑแ์ ละวิธปี ฏิบตั กิ ารจัดทารายงานการประเมินตนเอง ระดบั หลักสตู ร ๒๔

เกณฑก์ ารประเมิน ผลการดาเนนิ งาน เอกสาร/หลักฐาน

เป็นแนวทางการจัดทาแผนพัฒนา ๕.๒.๑-๒๑ รายงานการประชุมบุคลากร

คุณภาพระดับวิทยาเขตและระดับ ประจาเดือน

หลักสูตรเพื่อนาไปปรับปรุงและ

พัฒนาการบริหารจัดการหลักสูตร

ใน การป ระชุมคณ าจารย์ การ

ป ระชุมคณ ะกรรมการป ระจา

วิ ท ย า ลั ย ส ง ฆ์ ข อ น แ ก่ น

ค ณ ะ ก ร ร ม ก า รวิ ท ย าลั ย ส งฆ์

ขอนแก่น การประชุมผู้บริหาร

และอาจารย์ประจาหลักสูตร และ

รับผิดชอบหลัก และการประชุม

บุคลากรประจาเดือน

เม่ือทุกหลักสูตรได้รับทราบ ๕ .๒ .๑ -๒ ๒ แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ

ผลการประเมินคุณภาพการศึกษา (Improvement Plan) ระดั บ ห ลั ก สูต ร

ภายในระดับหลักสูตรประจาปี จากผลการประเมินคุณภาพการศึกษา

การศกึ ษา ๒๕๕๙ แลว้ ทกุ หลักสูตร ภ าย ใน ป ระจ าปี ก ารศึ ก ษ า ๒ ๕ ๕ ๙

ได้ จั ด ท าแ ผ น พั ฒ น าคุ ณ ภ าพ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

( Improvement Plan) ต า ม วทิ ยาเขตขอนแก่น ระดับหลักสูตร จานวน

ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาจากผล ๑๓ หลกั สตู ร

การประเมินคุณภาพการศึกษา ๕ .๒ .๑ -๒ ๓ ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ ชุ ม

ภายในประจาปีการศึกษา ๒๕๕๙ คณ ะก รรม การป ระจ าวิท ยาลั ยส งฆ์

เพ่ือเป็นแนวทางปรับปรุงและ ขอนแก่น ครั้งท่ี ๖/๒๕๖๐ เม่ือวันท่ี ๓๐

พัฒนาคุณภาพการศึกษา ประจาปี ตุลาคม ๒๕๖๐

การศึกษา ๒๕๖๐ ซึ่งแผนพัฒนา ๕ .๒ .๑ -๒ ๔ ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ ชุ ม

คุณภาพท้ังระดับหลักสูตรได้รับ คณะกรรมการประจาวิทยาเขตขอนแก่น

อนุมัติจากคณะกรรมการประจา ในการประชุม เร่ืองอนุมัติแผนพัฒนา

วทิ ยาเขตขอนแกน่ คุณ ภ าพ (Improvement Plan) ระดั บ

หลักสูตร จากผลการประเมินคุณภาพ

การศึกษาภายใน ประจาปีการศึกษา

๒๕๕๙ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช

วิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น จานวน ๑๓

หลกั สูตร

๕.๒.๑-๒๓ รายงานผลการปฏิบัติตาม

แ ผ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ป ร ะ จ า ปี ก า รศึ ก ษ า

๒๕๖๐ ทุกหลกั สูตร

หลกั เกณฑแ์ ละวิธปี ฏบิ ัติการจัดทารายงานการประเมนิ ตนเอง ระดบั หลักสูตร ๒๕

เกณฑก์ ารประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน เอกสาร/หลกั ฐาน

-วทิ ยาเขตขอนแก่นกาหนดให้ ๕ .๒ .๑ -๒ ๕ แผน ปฏิ บัติการประจา ปี
ทุกหลักสตู รไดจ้ ัดทาแผนปฏบิ ัตกิ าร ๒๕๖๐ ของทุกหลักสูตร จานวน ๑๓
ประจาปีท่ีสอดคล้องกับแผนปฏิบัติ หลกั สูตร
การประจาปีของวทิ ยาเขตขอนแก่น ๕.๒.๑-๒๖ รายงานประจาปี พ.ศ. ๒๕๖๐
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๐- ของทุกหลกั สตู ร จานวน ๑๓ หลักสตู ร
๒๕๖๑ เพื่อเป็นกรอบและแนวทาง
ใน ก า ร ด า เนิ น โ ค ร ง ก า ร กิ จ ก ร ร ม
ประจาปีงบประมาณให้เป็นไปตาม
แผนยุทธศาสตรแ์ ละแผนปฏิบัติการ
ประจาปี อีกทั้งกาหนดให้มีการ
รายงานประจาปีตามรอบเวลาท่ี
กาหนด ผลการดาเนินงาน พบว่า มี
หลักสูตรที่จัดทาแผนปฏิบัติการ
ประจาปแี ละจดั ทารายงานประจาปี
ค รบ ทุ ก ห ลั ก สู ต ร ซึ่ งราย งา น
ป ร ะ จ า ปี ข อ ง ห ลั ก สู ต ร ป ร ะ จ า ปี
๒ ๕ ๖ ๐ ไ ด้ รั บ อ นุ มั ติ จ า ก
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ป ร ะ จ า วิ ท ย า เข ต
ขอนแกน่

เพื่อให้การกากับติดตามการ ๕.๒.๑-๒๗ ปฏิทินประชุมคณะกรรมการ
บริหารจัดการและกระบวนการ ประจาวิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น ประจาปี
จั ด ก ารเรีย น ก ารส อ น ข อ งทุ ก ๒๕๖๐ - ๒๕๖๑
ห ลั ก สู ต รให้ ด าเนิ น ไป อ ย่ างมี ๕ .๒ .๑ -๒ ๘ รวม รายงาน การป ระชุม
คุ ณ ภ าพ ส อ ด ค ล้ อ งกั บ เก ณ ฑ์ คณ ะก รรม การป ระจ าวิท ยาลั ยส งฆ์
มาตรฐานหลักสตู รและกระบวนการ ขอนแก่น ประจาปี ๒๕๖๐ - ๒๕๖๑
การประกันคุณ ภาพการศึกษา
วิทยาเขตขอนแก่น จึงได้กาหนดให้
มีการประชุมคณะกรรมการประจา
วิ ท ย า ลั ย ส ง ฆ์ ข อ น แ ก่ น ป ร ะ จ า ปี
๒๕๖๐ ตามขอ้ บงั คบั

เพ่ื อ ให้ บุ ค ล าก รวิ ท ย าเข ต ๕.๒.๑-๒๙ รายงานผลการดาเนินงาน
ขอนแก่น มีความรู้ความเข้าใจใน โครงการการพัฒนาการบริหารจัดการ
แนวทางและบทบาทในการบริหาร หลักสูตรตามแนวทางการประกันคุณภาพ
จัดการ การบริหารจัดการหลักสูตร การศึกษา วันท่ี ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑
ตามระบบและกลไกการประกัน
คุณภาพการศึกษา มีความสามารถ
ในการวางแผน การดาเนินงานอยา่ ง

หลักเกณฑ์และวธิ ปี ฏิบัติการจัดทารายงานการประเมินตนเอง ระดับหลักสตู ร ๒๖

เกณฑก์ ารประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน เอกสาร/หลักฐาน

มีส่วนร่วม การกากับติดตามและ

ประเมินผลการดาเนินงาน วิทยา

เขตขอนแกน่ จงึ ไดจ้ ดั โครงการอบรม

เร่ืองเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพ่ือ

ก า ร ด า เนิ น ก า ร ที่ เป็ น เลิ ศ ได้

(EdPEX) เพื่อสร้างความรู้ความ

เข้ า ใจ ใน เร่ื อ ง ดั ง ก ล่ า ว แ ล ะ น า ไ ป

ปรับปรุงและพัฒ นาการบริหาร

จัดการหลักสูตรให้มีคุณภาพมาก

ยงิ่ ขนึ้

๒. มีคณะกรรมการ เพื่อให้การกากับติดตามผล ๕.๒.๒-๑ คาสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ

กากับ ติดตามการ การดาเนินงานตามระบบท่ีกาหนด ประกันคุณภาพการศึกษาประจาวิทยาเขต

ดาเนินงานให้เป็นไป มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช ขอนแกน่

ตามระบบท่ีกาหนด วิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น จึงได้ ๕ .๒ .๒ -๒ ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ ชุ ม

ใ น ข้ อ ๑ แ ล ะ เสนอแต่งตั้งคณ ะอนุกรรมการ ค ณ ะ อ นุ ก รร ม ก าร ป ระ กั น คุ ณ ภ า พ

ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ประกันคุณภาพการศึกษาเพ่ือกากับ การศกึ ษาประจาวทิ ยาเขตขอนแก่น

ติดตามให้กรรมการ ติดตามการดาเนินงานด้านการ ๕ .๒ .๒ -๓ ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ ชุ ม

ป ระจ าค ณ ะ เพ่ื อ บริหารจัดการของหลักสูตร เพ่ือให้ คณ ะก รรม การป ระจ าวิท ยาลั ยส งฆ์

พิ จ ารณ าทุ ก ภ าค การบริหารจัดการและกระบวนการ ขอนแก่น ครั้งที่ ๔/๒๕๖๐ เม่ือวันที่ ๓๐

การศึกษา จัดการเรียนการสอนดาเนินไปอยา่ ง ตลุ าคม ๒๕๖๐

มีคุณภาพเป็นไปตามองค์ประกอบ ๕ .๒ .๒ -๔ ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ ชุ ม

และตัวบ่งช้ีการประกันคุณภาพ คณ ะก รรม การป ระจ าวิท ยาลั ยส งฆ์

การศึกษาระดับหลักสูตร ทั้งนี้ ขอนแก่น คร้ังที่ ๒/๒๕๖๑ เมื่อวันที่ ๒๑

เพ ราะ ค ณ ะ ก รรม ก ารบ ริห าร กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๑

หลักสูตรและอาจารย์ผู้รับผิดชอบ ๕ .๒ .๒ -๔ รว ม ร า ย งา น ก า รป ร ะ ชุ ม

หลักสูตร มีหน้าท่ีวางแผน ปรับปรุง คณะกรรมการประจาวิทยาเขตขอนแก่น

และพัฒนาคุณ ภาพการบริหาร

จัดการและการจัดการเรียนการ

สอนเพ่ื อให้การบ ริหารจัดการ

หลักสูตรและกระบวนการจัดการ

เรียนการสอนของแต่ละหลักสูตร

ดาเนินไปด้วยความเรียบร้อยได้

มาตรฐานสอดคล้องกับเกณฑ์การ

ป ระ เมิ น ก ารป ระ กั น คุ ณ ภ าพ

การศกึ ษา วทิ ยาเขตขอนแก่น

หลกั เกณฑแ์ ละวธิ ปี ฏิบัติการจัดทารายงานการประเมินตนเอง ระดบั หลักสูตร ๒๗

เกณฑก์ ารประเมนิ ผลการดาเนินงาน เอกสาร/หลกั ฐาน

น อ ก จ า ก นั้ น วิ ท ย า เข ต
ขอนแก่น ยังได้ใช้กลไกการประชุม
คณะกรรมการประจาวิทยาลัยสงฆ์
ขอนแก่น และ คณ ะกรรมการ
ประจาวิทยาเขตขอนแก่น เพื่อ
กากับติดตามผลการดาเนินงานของ
หลักสตู รอกี ดว้ ย

ใน ด้ า น ก า ร ติ ด ต า ม แ ล ะ ๕.๒.๒-๕ ปฏิทินประชุมคณะกรรมการ
ประเมินผลการดาเนินงานของ ประจาวิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น ประจาปี
หลักสูตร คณะกรรมการประจา การศกึ ษา ๒๕๖๐
วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น มีหน้าที่ ๕ .๒ .๒ -๖ รว ม ร า ย งา น ก า รป ร ะ ชุ ม
กากับ ติดตาม แนะนาการบริหาร คณ ะก รรม การป ระจ าวิท ยาลั ยส งฆ์
จัดการหลักสูตร การบริหารงาน ขอนแกน่ ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๐
วิชาการ และกระบวนการจัดการ
เรียนการสอนแก่ทุกหลักสตู ร

ดังน้ัน เพ่ือให้การกากับติดตาม
การบริหารจัดการและกระบวนการ
จั ด ก ารเรีย น ก ารส อ น ข อ งทุ ก
ห ลั ก สู ต รให้ ด าเนิ น ไป อ ย่ างมี
คุ ณ ภ าพ ส อ ด ค ล้ อ งกั บ เก ณ ฑ์
มาตรฐานหลกั สตู รและกระบวนการ
การประกันคุณภาพการศึกษาการ
วิทยาเขตขอนแก่น จึงได้กาหนดให้
มีการประชุมคณะกรรมการประจา
วิ ท ย า ลั ย ส ง ฆ์ ข อ น แ ก่ น ป ร ะ จ า ปี
การศกึ ษา ๒๕๖๐

เพื่อให้การกากับติดตามผล ๕.๒.๒-๗ รายงานผลการตรวจประเมิน
การดาเนินงานระดับหลักสูตรและ คุณ ภาพการศึกษาภายในระหว่างกัน
ระดับวิทยาเขตมีประสิทธิภาพมาก ระหวา่ งวันท่ี ๑๕ - ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๖๑
ย่ิ งข้ึ น ห น่ วย ป ระกั น คุ ณ ภ าพ ๕.๒.๒-๘ รายงานผลการจัดประชุมเชิง
การศึกษาวิทยาเขตขอนแก่น จึงได้ ปฏิบัติการเพ่ือจัดทารายงานการประเมิน
จั ด กิ จ ก รรม ก ารป ระ เมิ น แ ล ะ ตนเองประจาปีการศึกษา ๒๕๖๐ ระหว่าง
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านกิจกรรมการ วันท่ี ๒๔ - ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๖๑
ตรวจประเมินคุณภาพการศึกษา ๕.๒.๒-๙ รายงานผลการจัดประชุมเชิง
ระหว่างส่วนงานภายในวิทยาเขต ปฏิบัติการเพื่อจัดทารายงานการประเมิน
ขอนแก่นในระดับสานัก วิทยาลัย ตนเองประจาปีการศึกษา ๒๕๖๐ ระหว่าง
และระดับหลักสูตร เพ่ือให้บุคลากร วันที่ ๒๘ - ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๖๑

หลกั เกณฑแ์ ละวิธีปฏบิ ัตกิ ารจัดทารายงานการประเมินตนเอง ระดับหลักสูตร ๒๘

เกณฑก์ ารประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน เอกสาร/หลักฐาน

ได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เร่ืองการ ๕ .๒ .๒ -๑ ๐ ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ ชุ ม
ประกันคุณภาพการศึกษาระหว่าง คณ ะก รรม การป ระจ า วิท ยาลั ยส งฆ์
กันซ่ึงทาให้เกิดความร่วมมือร่วมใจ ขอนแก่น ครั้งที่ ๔/๒๕๖๐ เมื่อวันท่ี ๓๐
ก ารแ ล ก เป ล่ี ย น ข้ อ มู ล เรีย น รู้ ตุลาคม ๒๕๖๐
ระหว่างกนั และทาให้การดาเนินงาน
ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา
แล้วเสร็จตามกรอบเวลาที่กาหนด
และมีมาตรฐานเป็นไปในทิศทาง
เดียวกันทั้งในระดับสานัก ระดับ
วิทยาลัยระดับหลักสูตร วิทยาเขต
ขอนแก่น จึงกาหนดให้มีกิจกรรม
ก า ร แ ล ก เป ลี่ ย น เรี ย น รู้ ด้ า น ก า ร
ประกันคุณภาพการศึกษาระหว่าง
กัน เช่น การจัดกิจกรรมการตรวจ
ประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
ระหว่างกันในระดับสานัก วิทยาลัย

และหลักสูตร ระหว่างวันที่ ๑๕ -
๑๘ พฤษภาคม ๒๕๖๑ ผลการ
ดาเนินงานปรากฏว่าได้รับความ
ร่วมมือจากคณะกรรมการในการ
ตรวจประเมินภายในระหว่างกัน
เป็นอย่างดีและทาให้มีการเรียนรู้
และให้ความช่วยเหลอื ซงึ่ กันและกัน
เป็นอย่างดี ส่วนกิจกรรมที่ ๒ คือ
กิจกรรมการประชุมเชิงปฏิบัติการ
(Workshop) การจัดทารายงานการ
ประเมินตนเอง (SAR) ระดับสานัก
วิท ยาลัย แล ะระดั บ ห ลัก สู ต ร
ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๐โดย
กาหนดจัดในวันเวลาที่กาหนดอยา่ ง
พรอ้ มเพรียงกัน กาหนดให้หลักสูตร
สานักและวิทยาลัย ได้นาข้อมูลมา
ร่วมกันจัดทาและเขียนรายงานการ
ป ร ะ เมิ น ต น เอ ง ใน ห้ อ ง ที่ ก า ห น ด
จึงทาให้ได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
แบ่งปันข้อมลู ตามองค์ประกอบและ
ตัวบ่งช้ีที่แต่ละหลักสูตร สานัก

หลกั เกณฑแ์ ละวิธีปฏบิ ัติการจัดทารายงานการประเมินตนเอง ระดบั หลักสตู ร ๒๙

เกณฑ์การประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน เอกสาร/หลักฐาน

วิทยาลัย รับผิดชอบ ซ่ึงได้รับความ
ร่วมมือจากผู้บริหารอาจารย์ประจา
หลักสูตรและรับผิดชอบหลักสูตร
ทุกหลักสูตร มีผลทาให้วิทยาเขต
ขอนแก่นจัดทารายงานการประเมิน
ตนเองประจาปีการศึกษา ๒๕๖๐
แล้วเสร็จและส่งสานักประกั น
คณุ ภาพการศกึ ษามหาวทิ ยาลัยมหา
จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ทันตาม
กรอบเวลาท่ีกาหนดนอก จากน้ัน
วทิ ยาเขตขอนแก่นยงั ได้กาหนดให้มี
การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อตรวจ
ความถูกต้องความเหมาะสมของ
เอ ก ส า ร ท่ี ป ร ะ ก อ บ ร า ย ง า น ก า ร
ป ระเมิน ตน เองตามที่ ได้มี การ
ปฏิบัติงานจริง ก่อนรับการประเมิน

จากคณะกรรมการตรวจประเมิน
คุณภาพการศึกษาภายในที่ได้รับ
แต่งตั้งจากสานกั งานคณะกรรมการ
ก า ร อุ ด ม ศึ ก ษ า ทั้ ง น้ี เพ่ื อ ใ ห้ เป็ น
เอ ก ส า ร ท่ี ไ ด้ ม า ต ร ฐ า น เป็ น
ฐ า น ข้ อ มู ล แ ล ะ เป็ น ส า ร ส น เท ศ
นาไปสู่การตัดสินใจในการปรับปรุง
การปฏิบตั ิงานและการตัดสนิ ใจของ
ผู้บริหารรวมถึงนาไปปรับปรุงการ
ให้การบรหิ ารการบริการและการจดั
การศึกษาให้มีประสิทธิภาพมาก
ย่งิ ขึน้ ในปกี ารศกึ ษาตอ่ ไป

มีการกากับติดตามผ่านการ ๕.๒.๒-๙ คาส่ังแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ
ประชุมอนกุ รรมการประกนั คุณภาพ ประกันคุณภาพการศึกษาประจาวิทยาเขต
การศึกษาเพ่ือให้การกากับติดตาม ขอนแก่น คาส่ังท่ี ๖๘/๒๕๕๙ ลงวันท่ี ๒๐
การดาเนินงานด้านการประกัน เดอื นเมษายน ๒๕๕๙
คุณภาพการศึกษาท้ังในระดับสานัก ๕ .๒ .๒ -๑ ๐ ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ ชุ ม
ระดับวิทยาลัยและระดับหลักสูตร ค ณ ะ อ นุ ก รรม ก าร ป ระ กั น คุ ณ ภ า พ
ดาเนินไปตามองค์ประกอบและตัว การศึกษาประจาวิทยาเขตขอนแก่นเพ่ือ

บ่งช้ีการประกันคุณภาพการศึกษา กากับและติดตามงานเก่ียวกับการประกัน
และตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร คุณภาพการศึกษา ประจาปีการศึกษา

หลักเกณฑ์และวธิ ีปฏิบัติการจัดทารายงานการประเมินตนเอง ระดบั หลักสตู ร ๓๐

เกณฑ์การประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน เอกสาร/หลกั ฐาน

ต ล อ ด ถึ งต าม ระ เบี ย บ ต่ างๆ ที่ ๒๕๖๐
เกี่ยวข้อง มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง
ก รณ ราช วิ ท ย าลั ย วิ ท ย า เข ต
ข อ น แ ก่ น จึ งได้ เส น อ แ ต่ งตั้ ง
อนุ ก รรม ก ารป ระกั น คุ ณ ภ าพ
การศกึ ษาประจาวิทยาเขตขอนแก่น
ตามคาส่ังท่ี ๖๘/๒๕๕๙ ลงวันท่ี
๒๐ เดือนเมษายน ๒๕๕๙ และได้มี
การป ระชุมคณ ะอนุ กรรมก าร
ประกันคุณภาพการศึกษาประจา
วิทยาเขตขอนแก่นเพ่ือกากับและ
ติดตามงานเกี่ยวกับการประกัน
คณุ ภาพการศกึ ษา

มีการกากับติดตามผ่านการ ๕ .๒ .๒ -๑ ๑ ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ ชุ ม
ประชุมคณะกรรมการประจาวิทยา คณะกรรมการประจาวิทยาเขตขอนแก่น
เขตขอนแก่นเพ่ื อให้การกากับ เพื่อกากับและติดตามงานเกี่ยวกับการ
ติดตามการดาเนินงานด้านการ ประกันคุณ ภาพ การศึกษ า ป ระจาปี
ประกันคุณภาพการศึกษาท้ังใน การศกึ ษา ๒๕๖๐
ระดับหลักสูตร สานัก และระดับ
วิ ท ย า ลั ย ด า เ นิ น ไ ป ต า ม
องค์ป ระก อบ แ ละตั วบ่ งชี้ การ
ประกันคุณภาพการศึกษาและตาม
เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรตลอดถึง
ตามระเบยี บต่างๆท่ีเกี่ยวขอ้ ง หนว่ ย
ประกันคุณภาพการศึกษาประจา
วิทยาเขตขอนแก่น จึงได้ขอบรรจุ
วาระการประชุมเพ่ือแจ้งให้ทราบ
และกากับติดตามงานเกี่ยวกับการ
ประกันคุณภาพการศึกษาในการ
ประชุมคณะกรรมการประจาวิทยา
เขตขอนแก่น

หลักเกณฑแ์ ละวิธีปฏิบตั ิการจัดทารายงานการประเมินตนเอง ระดบั หลักสูตร ๓๑

เกณฑ์การประเมิน ผลการดาเนินงาน เอกสาร/หลักฐาน

๓ . มี ก า ร จั ด ส ร ร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
ท รั พ ย า ก ร เ พ่ื อ วิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่นได้
ส นั บ ส นุ น ก า ร จัดสรรทรัพยากรเพื่อสนับสนุนการ
ด า เนิ น ง า น ข อ ง ดาเนนิ งานของหลักสูตร ดงั น้ี
ห ลั ก สู ต ร ให้ เกิ ด ผ ล
ต า ม อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ
การประกันคุณภาพ
หลักสูตร

วิ ท ย า เข ต ข อ น แ ก่ น ได้ ๕ .๒ .๓ -๑ แ ผ น ป ฏิ บั ติ ก ารป ระ จ า ปี
สนับสนุนงบประมาณ ประจาปี งบประมาณ วิทยาเขตขอนแก่น พ.ศ.
งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๑ ๒๕๖๐ และ พ.ศ. ๒๕๖๑
แก่ทุกหลักสูตรจัดโครงการต่างๆ ๕ .๒ .๓ -๒ แ ผ น ป ฏิ บั ติ ก ารป ระ จ า ปี
เพื่อพัฒ นาคุณ ภาพการบริหาร งบประมาณ วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น พ.ศ.
จดั การหลักสตู ร พัฒนาอาจารยแ์ ละ ๒๕๖๐ และ พ.ศ. ๒๕๖๑
กิจกรรมพัฒนานสิ ติ

เพ่ื อ ให้ อ า จ า ร ย์ ป ร ะ จ า ๕.๒.๓-๓ คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ
หลักสูตรและอาจารย์ผู้รับผิดชอบ ประกนั คุณภาพระดับหลักสตู ร ปกี ารศึกษา
หลักสูตรได้มีภาระงานที่ชัดเจนใน ๒๕๖๐
ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา
ของหลักสูตร วิทยาเขตขอนแก่นจึง
แต่งตั้งอาจารย์ประจาหลักสูตรเป็น
คณ ะกรรมการประกันคุณ ภาพ
ระดับหลักสูตรประจาปีการศึกษา
๒๕๖๐ ครบทกุ หลักสูตร

เพื่ อ ใ ห้ มี บุ ค ล า ก ร ส า ย ๕.๒.๓-๔ คาส่ังแต่งตั้งผู้ประสานงาน
ปฏิบัติการประจาหลักสูตร วิทยา หลกั สูตร วิทยาลัยสงฆข์ อนแก่น
เขตขอนแก่นจึงแต่งตั้งบุคลากรฝ่าย
สนบั สนุนเพอื่ ทาหน้าท่ีประสานงาน
ด้านการบริหารจัดการหลักสูตร
ป ระส าน งาน ด้ าน ก ารป ระกั น
คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง ห ลั ก สู ต ร
ระหว่างผู้บริหารกับอาจารย์ประจา
หลักสูตรและรับผิดชอบหลักสูตร
วิทยาเขตขอนแก่น มีผลทาให้การ
ด า เนิ น ง า น ข อ ง ห ลั ก สู ต ร มี ค ว า ม
สะดวกและคล่องตัวมากยง่ิ ขึ้น

หลักเกณฑแ์ ละวิธปี ฏิบัติการจัดทารายงานการประเมนิ ตนเอง ระดับหลักสตู ร ๓๒

เกณฑ์การประเมิน ผลการดาเนนิ งาน เอกสาร/หลักฐาน

วิ ท ย า เข ต ข อ น แ ก่ น ไ ด้ ๕.๒.๓-๕ คาสั่งมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง

กาหนดให้สานักวิชาการวิทยาเขต กรณราชวิทยาลัยวิทยาเขตขอนแก่น เร่ือง

ขอนแก่น จัดซ้ือหนังสือตาราโดย แต่งต้ังคณะกรรมการจัดซื้อหนังสือและ

เน้นการมีส่วนร่วมของผู้บริหาร ตาราเขา้ ห้องสมดุ วิทยาเขตขอนแกน่

อาจารย์ประจาหลักสูตร ตามคาส่ัง ๕ .๒ .๓ -๖ ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ ชุ ม

ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ คณะกรรมการจัดซ้ือหนังสือและตาราเข้า

ราชวิทยาลัยวิทยาเขตขอนแก่น มี หอ้ งสมดุ วิทยาเขตขอนแกน่

การประชุมจัดสรรงบประมาณและ ๕.๒.๓-๗ รายการหนังสือและตาราท่ีจัดซ้ือ

จัดซื้อหนังสือตาราท่ีสอดคล้องกับ เข้าห้องสมุดวิทยาเขตขอนแก่นตามความ

ความต้องการของแต่ละหลักสูตร ตอ้ งการของแต่ละหลักสูตร

มีผลทาให้หลักสูตรมีเอกสารและมี

ตาราเพิ่มมากยิ่งขึ้นตรงตามความ

ตอ้ งการของคณาจารยแ์ ละของนสิ ิต

ซ่ึงจะมีส่วนทาให้การจัดการเรียน

การสอนดาเนินไปอย่างมคี ณุ ภาพ

๔ . มี การป ระเมิ น มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ๕.๒.๔-๑ รายงานการประเมินตนเองระดับ

คุณ ภ าพ หลักสูต ร ราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น หลักสูตรประจาปีการศึกษา ๒๕๖๐ ครบ

ตาม มคอ.๗ ตาม ได้รับการประเมินคุณภาพหลักสูตร ทกุ หลักสตู ร

ก า ห น ด เว ล า ทุ ก ตามรายงานการประเมินตนเอง ๕.๒.๔-๒ มคอ. ๗ ของทกุ หลกั สูตร

ห ลั ก สู ต ร แ ล ะ ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๐ และ ๕.๒.๔-๓ รายงานการประชุมอนุกรรมการ

ร า ย ง า น ผ ล ก า ร มคอ. ๗ ครบทุกหลักสูตร จานวน ประกันคุณภาพการศึกษาประจาวิทยาเขต

ประเมินให้กรรมการ ๑๓ หลักสูตร ระหว่างวันที่ ๒๕ - ขอนแก่น

ป ร ะ จ า ค ณ ะ เพื่ อ ๒๙ มิถุนายน ๒๕๖๑ และได้นาผล ๕ .๒ .๔ -๔ ร า ย ง า น ก า ร ป ร ะ ชุ ม

พิจารณา การประเมินคุณ ภาพหลักสูตร คณะกรรมการประจาวิทยาเขตขอนแก่น

รายงานให้อนุกรรมการประกัน เกี่ยวกับรับรองรายงานการประเมินตนเอง

คุณภาพการศึกษาประจาวิทยาเขต ระดับหลักสูตร ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๐

ขอนแก่น และกรรมการประจา ทง้ั ๑๓ หลักสูตร

วิทยาเขตเพอื่ ทราบและพจิ ารณา

๕ . น า ผ ล ก า ร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ๕.๒.๕-๑ รายงานการประชุมอนุกรรมการ

ป ร ะ เ มิ น แ ล ะ ราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่นได้ ประกันคุณภาพการศึกษาประจาวิทยาเขต

ข้อเสน อแ น ะจาก นาผลการประเมนิ และข้อเสนอแนะ ขอนแก่น

ก รรม ก ารป ระ จ า ของคณ ะอนุกรรมการป ระกัน ๕.๒.๕-๒ ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงการ

วทิ ยาเขตมาปรับปรุง คุ ณ ภ าพ ก ารศึ ก ษ า วิ ท ย าเข ต ดาเนินงานของหลักสูตร จากรายงานการ

ห ลั ก สู ต ร ใ ห้ มี ขอน แก่น และคณ ะกรรมการ ประชุมคณะกรรมการประจาวิทยาเขต

คุณภาพดีขึ้นอย่าง ประจาวิทยาเขตขอนแก่นแจ้งให้ ขอนแกน่

ตอ่ เนือ่ ง คณะกรรมการบริหารหลักสูตรเพ่ือ

นาไปปรับปรุงการบริหารจัดการ

หลกั เกณฑ์และวธิ ีปฏิบตั ิการจัดทารายงานการประเมินตนเอง ระดับหลักสูตร ๓๓

เกณฑ์การประเมิน ผลการดาเนนิ งาน เอกสาร/หลกั ฐาน

หลักสูตร ในปกี ารศึกษา ๒๕๖๑ ๕.๒.๕-๓ รายงานการประชุมอาจารย์

ประจาหลักสูตรที่แสดงถึงปัญ หาการ

บริหารจัดการหลักสูตรและกระบวนการ

จัดการเรียนการสอน และแนวทางการ

แก้ไข ปรับปรุงและพัฒนา ในปีการศึกษา

๒๕๖๑

๖. มีผลการประเมิน ผลการประเมินคณุ ภาพหลกั สตู ร ๕.๒.๖-๑ รายงานผลการประเมินคุณภาพ

คุณภาพทุกหลักสูตร ระดบั ปริญญาตรี จานวน จานวน ๘ การศึกษ าของทุ กหลักสูต รป ระจาปี

ผ่านองค์ประกอบที่ หลักสูตร ระดับปริญญาโท จานวน การศกึ ษา ๒๕๖๐ จานวน ๑๔ หลกั สูตร

๑ ก า ร ก า กั บ ๔ หลักสูตร ระดับปริญ ญาเอก

มาตรฐาน จาน วน ๒ ห ลักสูต ร รวม ๑ ๔

ห ลั ก สู ต ร ผ่ า น ก า ร ป ร ะ เมิ น

องค์ ป ระ ก อ บ ที่ ๑ ก ารก ากั บ

มาตรฐานทุกหลกั สูตร โดยมคี ะแนน

เฉล่ียรวม ๓.๔๑ คะแนน

การวิเคราะห์จุดแข็งและจุดท่ีควรพัฒนาจากองค์ประกอบที่ ๕.๒ (๑) วิทยาเขตขอนแก่น
มีระบบและกลไกประกันคุณภาพการศึกษาระดับสานัก วิทยาลัย และระดับหลักสูตรอย่างชัดเจน
ผู้บริหารมีนโยบายให้การสนับสนุนการบริหารจัดการระดับสานัก วิทยาลัย และระดับหลักสูตรเป็น
อย่างดี มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้บริหาร คณาจารย์ และบุคลากรอย่างต่อเนื่อง (๒) มีการ
จัดสรรทรัพยากรบุคคล เช่น การแต่งต้ังกรรมการบริหารหลักสูตร แต่งตั้งผู้ประสานงานหลักสูตร
งบประมาณสนับสนุนการประกันคณุ ภาพการศึกษา ระดับสานกั วิทยาลัย ระดับวิทยาเขต และระดับ
หลักสูตรอย่างเหมาะสม (๓) มีการกาหนดบทบาทหน้าท่ีและภารงานด้านการประกันคุณภาพ
การศึกษา ระดับวิทยาเขต และระดับหลักสูตรอย่างชัดเจน ทาให้บุคลากรมีส่วนร่วมรับผิดชอบมาก
ย่ิงข้ึน (๔) มีสานักงานบริหารคณะและหลักสูตร มีเจ้าหน้าท่ีประกันคุณภาพการศึกษาทาหน้าท่ี
อานวยความสะดวกและผปู้ ระสานงานประจาหลักสตู รทกุ หลกั สูตร

จุดท่ีควรพัฒนา บุคลากรบางส่วนขาดการวิเคราะห์การเช่ือมโยงของงานที่ตนรับผิดชอบ
กับงานของบุคลากรและส่วนงานอ่ืนทาให้ความร่วมมือเพ่ือบูรณาการร่วมกันด้านการปฏิบัติงานและ
การประกันคุณภาพการศึกษา

แนวทางเสริมจุดแข็ง ควรกาหนดมาตรการกระตุ้นและส่งเสริมให้การปฏิบัติงานระดับ
บุคคล ระดับสานักและวิทยาลัย และระดับหลักสูตรแล้วเสร็จอย่างมีประสิทธิผลตามกรอบเวลามาก
ยิ่งขนึ้

แนวทางปรับปรุงจุดที่ควรพัฒนา (๑) กาหนดมาตรการกระตุ้นและส่งเสริมท่ีเข้มข้นย่ิงขึ้น
เพ่ือให้บุคลากรให้ความร่วมมือด้านการปฏิบัติงานและการประกันคุณภาพการศึกษามากย่ิงข้ึน (๒)
ส่งเสริมและพัฒนาให้บุคลากร และคณาจารย์ให้มีส่วนร่วมในการบูรณาการภารงานตามพันธกิจของ
มหาวทิ ยาลยั และพัฒนาความสามารถในการนาเสนองานตอ่ ประชาคมภายในและภายนอ

หลกั เกณฑ์และวธิ ีปฏบิ ัติการจัดทารายงานการประเมนิ ตนเอง ระดับหลักสตู ร ๓๔

ส่วนการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ
ได้แก่ องค์ประกอบที่ 1 การกากับมาตรฐาน องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต องค์ประกอบท่ี 3 นิสิต
องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์ องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน และ
องค์ประกอบท่ี 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
ระดับหลักสูตรครอบคลุมเรื่องการส่งเสริม พัฒนานิสิต การวางระบบกระบวนการจัดการเรียนการ
สอน จานวนอาจารยต์ ่อนิสิตในระดับบัณฑิตศึกษา (โดยเฉพาะการคมุ วิทยานิพนธ์ให้เปน็ ไปตามเกณฑ์
มาตรฐานหลักสูตร) ผลงานทางวิชาการ ผลงานวิจัยของคณาจารย์ ส่ืออุปกรณ์การเรียนการสอน
ห้องสมุดและแหล่งการเรียนรู้ต่างๆการดาเนินการตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
แห่งชาติรวมท้ังคุณภาพบัณฑิตซึ่งจะพิจารณาจากการมีงานทาหรือประกอบอาชีพอิสระ คุณภาพ
ผลงานตีพิมพ์และเผยแพร่ของนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา (คณะกรรมการประกันคุณภาพภายใน
ระดับอุดมศึกษา คณะอนุกรรมการพัฒนาการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา,
๒๕๕๘ : ๒๘ – ๒๙)

เพื่อให้การประกันคุณภาพการศึกษาเกิดประโยชน์ จึงควรมีแนวทางการจัดกระบวนการ
ประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายในตามวงจรคุณภาพ ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ การวางแผน (Plan)
การดาเนนิ งานและเก็บขอ้ มูล (Do) การประเมินคุณภาพ (Check /Study) และการเสนอแนวทางการ
ปรับปรุง (Act) ดังคาอธบิ าย

P = เร่ิมกระบวนการวางแผนการประเมินตั้งแต่ต้นปีการศึกษา โดยนาผลการประเมินปี
ก่อนหน้าน้ีมาใช้เป็นข้อมูลในการวางแผน โดยต้องเก็บข้อมูลตั้งแต่เดือนมิถุนายน กรณีใช้ระบบเปิด-
ปิดภาคการศกึ ษาแบบเดิม หรอื ตง้ั แตเ่ ดือนสิงหาคม กรณใี ช้ระบบเปิด-ปดิ ภาคการศกึ ษาตามอาเซยี น

D = ดาเนินงานและเก็บข้อมูลบันทึกผลการดาเนินงานต้ังแต่ต้นปีการศึกษาคือเดือนที่
1 – 12 ของปีการศึกษา (เดือนมิถุนายน –พฤษภาคม ปีถัดไป หรือเดือนสิงหาคม – กรกฎาคม
ปีถดั ไป)

C/S = ดาเนินการประเมินคุณภาพในระดับหลักสูตร คณะ และสถาบัน ระหว่างเดือน
มิถุนายน – สิงหาคม หรอื เดือนสงิ หาคม – ตลุ าคม ของปีการศกึ ษาถัดไป

A = วางแผนปรับปรุงและดาเนินการปรับปรุงตามผลการประเมิน โดยคณะกรรมการ
บริหารระดับหลักสูตร ระดับคณะ และระดับสถาบัน โดยนาข้อเสนอแนะและผลการประเมินของ
คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในมาวางแผนปรับปรุงการดาเนินงาน (รวมทั้งข้อเสนอแนะของ
สภามหาวิทยาลัย) มาจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปีและเสนอต้ังงบประมาณปีถัดไป หรือจัดทา
โครงการพัฒนาและเสนอใช้งบประมาณกลางปีหรืองบประมาณพิเศษก็ได้ (คณะกรรมการประกัน
คุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา คณะอนุกรรมการพัฒนาการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
ระดับอุดมศึกษา, ๒๕๕๘ : ๓๐) ดังคาสรุปกระบวนการดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตขอนแก่น ในแผนภาพที่ ๓.๒

หลักเกณฑ์และวธิ ปี ฏบิ ัตกิ ารจัดทารายงานการประเมนิ ตนเอง ระดับหลักสตู ร ๓๕

แผนภาพที่ ๓.๒ กระบวนการดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัย
มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั วิทยาเขตขอนแก่น

หลกั เกณฑ์และวิธปี ฏบิ ัตกิ ารจัดทารายงานการประเมินตนเอง ระดบั หลักสตู ร ๓๖

วธิ กี ารประกันคุณภาพภายใน ท่ีกาหนดไว้ ดงั นี้
1. สถาบนั วางแผนการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในประจาปีการศึกษาใหม่
2. สถาบันเก็บข้อมูลระยะ 12 เดือนตามตัวบ่งช้ีที่ได้ประกาศใช้บนระบบ CHE QA

Online และให้มีการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในเป็นประจาทุกปีทั้งระดับหลักสูตร คณะวิชา
และสถาบัน

3. หลักสูตรเตรียมการประเมินตนเองระดับหลักสูตรและจัดทารายงานการประเมิน
ตนเองระดับหลกั สูตรผ่านระบบ CHE QA Online

4. คณะหรือหน่วยงานเทียบเท่านาผลการประเมินระดับหลักสูตรมาจัดทารายงานการ
ประเมินตนเองระดบั คณะ

5. คณะหรือหน่วยงานเทยี บเท่าประเมนิ ตนเองบนระบบ CHE QA Online และยนื ยันผล
การประเมนิ หลกั สตู รทไ่ี ดป้ ระเมนิ ไปแลว้

6. สถาบันนาผลการประเมินระดับหลักสูตร ผลการประเมินระดับคณะวิชามาจัดทา
รายงานการประเมนิ ตนเองระดับสถาบัน

7. สถาบันประเมินตนเองบนระบบ CHE QA Online และยืนยันผลการประเมินตนเอง
ระดับหลักสูตร คณะวิชา พร้อมนาผลการประเมินเสนอสภาสถาบันเพ่ือพิจารณาวางแผนพัฒนา
สถาบันในปกี ารศึกษาถดั ไป

8. ผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษานาผลการประเมินและข้อเสนอแนะของคณะกรรมการ
ประเมินคุณภาพภายในท่ีสถาบันแต่งตั้ง (รวมท้ังข้อเสนอแนะของสภาสถาบัน) มาวางแผนปรับปรุง
การดาเนินงาน แผนปฏิบัติการประจาปี และแผนกลยทุ ธ์

9. ส่งรายงานประจาปีท่ีเป็นรายงานการประเมินคุณภาพภายใน ผ่านระบบ CHE QA
Online ภายใน 120 วนั นบั จากสิ้นปีการศกึ ษา

สถาบันอุดมศึกษาต้องมีการประเมินตนเองตามตัวบ่งช้ีและเกณฑ์การประกันคุณภาพ
ภ ายใน ทุ กปี การศึกษ า ทั้ งระดับ ห ลักสูต ร ระดับ คณ ะ และระดับ สถาบั น ตามลา ดั บ
โดยสถาบันอุดมศึกษาเป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน และส่งผลการประเมินให้สานักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษาทราบผ่านระบบฐานข้อมูลด้านการประกันคุณภาพ (CHE QA Online)
ท้ังน้ี คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตร 1 ชุด อาจประเมินได้มากกว่าหนึ่ง
หลักสูตร หากเป็นหลักสูตรในสาขาวิชาเดียวกัน เช่น หลักสตู รสาขาวิชาเดียวกันทั้งในระดับปริญญา
ตรีและบัณฑิตศึกษา (คณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา คณะอนุกรรมการ
พัฒนาการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศกึ ษา, ๒๕๕๘ : ๓๑)

กลไกการประกันคุณภาพ ผู้ท่ีมีความสาคัญส่งผลให้การดาเนินงานประสบความสาเร็จ
และนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเน่ือง คือคณะกรรมการระดับนโยบายและผู้บรหิ ารสูงสุดของ
สถาบันท่ีจะต้องให้ความสาคัญและกาหนดนโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาท่ีชัดเจนและเข้าใจ
ร่วมกันทุกระดับ โดยมอบหมายให้หน่วยงานหรือคณะกรรมการรับผิดชอบในการติดตาม ตรวจสอบ
ประเมิน และกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเน่ือง หน้าท่ีสาคัญประการหนึ่งของ
คณะกรรมการหรือหน่วยงานนี้ คือการจัดระบบประกันคุณภาพพร้อมท้ังกาหนดตัวบ่งชี้และเกณฑ์
การประเมินคุณภาพที่เหมาะสมสาหรับคณะและสถาบัน ระบบประกันคุณภาพที่ใช้ต้องสามารถ

หลกั เกณฑแ์ ละวิธปี ฏบิ ัติการจัดทารายงานการประเมนิ ตนเอง ระดบั หลักสตู ร ๓๗

เช่ือมโยงให้เกิดคุณภาพของการปฏิบัติงานต้ังแต่ระดับบุคคล ระดับหลักสูตร ระดับคณะวิชาไปจนถึง
ระดับสถาบัน โดยอาจจาเป็นต้องจัดทาคู่มือคุณภาพในแต่ละระดับ เพื่อกากับการดาเนินงาน แต่ที่
สาคัญคณะกรรมการหรือหน่วยงานน้ี ต้องประสานงานและผลักดันให้เกิดระบบฐานข้อมูลและ
สารสนเทศท่ีมปี ระสิทธิภาพซึ่งสามารถใช้งานร่วมกนั ได้ในทุกระดบั

๓.๒ องคป์ ระกอบและตัวบง่ ชใี้ นการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั หลักสูตร

คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ได้พฒั นาระบบประกันคณุ ภาพการศึกษาภายในโดยใชเ้ กณฑ์ประเมนิ ของสานกั งานคณะกรรมการการ
อุดมศึกษา (สกอ.) เป็นหลัก โดยในระดับหลักสูตร ใช้ระบบให้คะแนนเต็ม ๕ คะแนน โดยกาหนดให้
การประกันคุณภาพภายในระดับหลักสูตรมี ๖ องค์ประกอบ ๑๔ ตวั บง่ ชี้ ดงั แผนภาพที่ ๓.๓

แผนภาพท่ี ๓.๓ องคป์ ระกอบและตัวบง่ ชใ้ี นการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลกั สตู ร

๓.๒.๑ องค์ประกอบที่ ๑ การกากบั มาตรฐาน

องค์ประกอบท่ี ๑ การกากับมาตรฐาน การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐาน
หลกั สูตรท่ีกาหนดโดย สกอ. พจิ ารณาไดจ้ ากตวั บง่ ชี้ ดังนี้

ตารางท่ี ๓.๒ เกณฑ์การพจิ ารณาและแนวทางการตรวจประเมินองคป์ ระกอบท่ี ๑

ตัวบ่งช้ี เกณฑพ์ ิจารณา หลกั ฐานประกอบการพจิ ารณา แนวทางการตรวจประเมนิ

ตั ว บ่ ง ชี้ ที่ ผลการบริหาร หลักฐานในการพิจารณา - หลักสูตรที่ตรวจตามเกณฑ์มาตรฐาน

๑ .๑ ก า ร จัดการหลักสูตร อ า จ า ร ย์ ป ร ะ จ า - หลักสูตร ๒๕๕๘ คือ หลักสูตรปรับปรุงปี

บ ริ ห า ร ต า ม เ ก ณ ฑ์ ห ลั ก สู ต รที่ ต รวจ ต าม ..... มี ... หลกั สตู ร คอื ........

จั ด ก า ร ม า ต ร ฐ า น เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร - หลักสูตรที่นอกเหนือจาก ... หลักสูตร

ห ลั ก สู ต ร หลักสูตร ๒๕๕๘ ห ลั ก สู ต ร / อ า จ า ร ย์ ตรวจตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ๒๕๕๘

หลกั เกณฑแ์ ละวิธปี ฏิบตั ิการจัดทารายงานการประเมนิ ตนเอง ระดับหลักสตู ร ๓๘

ตัวบง่ ชี้ เกณฑ์พิจารณา หลักฐานประกอบการพิจารณา แนวทางการตรวจประเมิน

ต าม เก ณ ฑ์ ป ริ ญ ญ า ต รี ผรู้ บั ผิดชอบหลักสตู ร ท้ังหมด

ม า ต ร ฐ า น เ ก ณ ฑ์ ๓ ๑. คาส่ังมหาวิทยาลัย - ในเกณฑ์ข้อ ๑๐/๑๑ เร่ืองการปรับปรุง

หลั กสูต รท่ี ป ร ะ เ ด็ น เร่ืองจ้างบุคลากรอัตราท่ี หลกั สตู รตามรอบระยะเวลา ตอ้ งมีหลกั ฐาน

กาหนดโดย ม า ต ร ฐ า น ลงนามโดยอธกิ ารบดี งานวจิ ัยประเมนิ หลักสูตร ทกุ หลักสตู ร

สกอ. ห ลั ก สู ต ร ท่ี ๒. สัญญาจ้างอาจารย์ท่ี - ในการตีความคาวา่ “ตอ้ งมีอาจารยป์ ระจา

บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า ลงนามโดยผู้ที่อธิการบดี หลักสูตรตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษา

เ ก ณ ฑ์ ๑ ๑ มอบหมายเป็นครง้ั ๆ หรือ ตามหลักสูตรนั้น” ใช้หลักการว่า การลา

ประเด็น ห ลั ก ฐ าน แ ส ด งว่ าอ ยู่ ศึกษาต่อ/ลาออกของอาจารย์ประจา

ระหว่างการดาเนินการทา หลักสูตรต้องมีการแต่งตั้งอาจารย์ประจา

สญั ญาจ้าง หลักสูตรคนใหม่มาทดแทน หากได้มีการ

๓. คาสั่งมหาวิทยาลัย ส ร ร ห า อ า จ า ร ย์ ใ ห ม่ ม า ท ด แ ท น

แต่งตั้งอาจารย์ประจา แต่กระบวนการแต่งตั้งให้เป็นอาจารย์

ห ลั ก สู ต ร / อ า จ า ร ย์ ประจาหลักสูตรยังไม่ถึงขั้นตอนของสภา

ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ท่ี ม ห า วิ ท ย า ลั ย โ ด ย อ ยู่ ใ น ขั้ น ต อ น

ลงนามโดยอธิการบดีหรือ กระบวนการในระดับคณะแล้ว จึงถือได้ว่า

นายกสภามหาวทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยได้มีการดาเนินการให้มี

๔. ตารางสอนที่อาจารย์ อาจารย์ประจาหลักสูตรตลอดระยะเวลาที่

ประจาหลักสูตร/อาจารย์ จดั การศกึ ษา

ผรู้ บั ผิดชอบหลักสูตรสอน

๕ . ห ลั ก ฐ า น ก า ร รั บ

เงินเดือน มีลักษณะการ

อาจารย์ประจาหลักสูตร

คนใหมม่ าทดแทน หากได้

มจี า่ ยเปน็ เงนิ เดอื น

๓.๒.๒ องค์ประกอบที่ ๒ บณั ฑิต

องค์ประกอบที่ ๒ บัณฑิต ประเมินคุณภาพบัณฑิตในแตล่ ะหลักสูตรจะสะทอ้ นไปท่คี ุณภาพ
บัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ โดยพิจารณาจากผลลัพธ์การเรียนรู้
การมีงานทา และคณุ ภาพผลงานวิจัยของนิสติ และผสู้ าเรจ็ การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาในปีการศึกษา
น้นั ๆ คณุ ภาพบณั ฑติ จะพิจารณาไดจ้ ากตัวบง่ ช้ี ดงั นี้

ตารางที่ ๓.๓ เกณฑก์ ารพิจารณาและแนวทางการตรวจประเมินองคป์ ระกอบที่ ๒

ตัวบง่ ช้ี เกณฑ์พจิ ารณา หลักฐานเพ่ือการพจิ ารณา แนวทางการตรวจประเมิน

ตั ว บ่ ง ช้ี ท่ี ๒ . ๑ ผ ล ป ร ะ เ มิ น แบบประเมินคณุ ภาพบัณฑติ - ในกรณีหลักสูตรปรับปรุงที่ยัง

คุณภาพบัณฑิตตาม คุณภาพบัณฑิต ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ไมค่ รบรอบ ต้องประเมินตัวบง่ ช้ี

ก ร อ บ ม า ต ร ฐ า น ต า ม ก ร อ บ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ท่ี ๒.๑ ด้วย แม้ว่าหลักสูตรน้ันจะ

คุ ณ วุ ฒิ ร ะ ดั บ มาตรฐานคุณวุฒิ มีการปรับมาตรฐานผลการ ยังไม่ครบรอบการปรับปรุงก็

อุดมศกึ ษาแห่งชาติ ระดับอุดมศึกษา เรียนรู้ให้เป็นไปตาม มคอ.๒ ตาม โดยนาผลการดาเนินงาน

หลกั เกณฑแ์ ละวธิ ปี ฏบิ ตั ิการจัดทารายงานการประเมนิ ตนเอง ระดับหลักสตู ร ๓๙

ตัวบ่งช้ี เกณฑ์พจิ ารณา หลักฐานเพื่อการพจิ ารณา แนวทางการตรวจประเมิน

แห่ งช าติ (โด ย หลกั สูตร...... สาขาวิชา.... ของหลักสูตรในรอบที่ผ่านมาใช้

ผู้ใช้บัณฑิต/ผู้มี - สู จิ บั ต ร พิ ธี ป ร ะ ส า ท ประกอบการประเมนิ

ส่วนได้ ส่วนเสีย ปรญิ ญา - กรณีบัณฑติ ทีม่ ีอาชพี อิสระ ไม่

- รายงานผลการประเมิน ต้องเอามานับในการประเมิน

คุณภาพบัณฑิตตามกรอบ ความพึงพอใจของผ้ใู ช้บณั ฑติ

ม า ต ร ฐ า น คุ ณ วุ ฒิ - ผู้ใช้บณั ฑติ /ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

ระดบั อุดมศึกษาแหง่ ชาติ ทีต่ อบแบบประเมิน ต้องไม่น้อย

กว่าร้อยละ ๒๐ ของจานวน

บณั ฑิตที่สาเร็จการศกึ ษา

- ใน ก รณี บั ณ ฑิ ต ห ลั ก สู ต ร

นานาชาติ เป็นนสิ ิต

- ต่ า ง ช า ติ ป ร ะ ม า ณ

รอ้ ยละ ๙๐ การประเมินบัณฑิต

อาจไม่ถึงร้อยละ ๒๐ เน่ืองจาก

เดิ น ท างก ลั บ ป ระ เท ศ แ ล้ ว

อนุโลมให้ใช้บัณฑิตท่ีเป็นนิสิต

ชาว ไทยเป็นฐานในการคิด เช่น

มีนิสิตต่างชาติ ๙๐ คนมีนิสิต

ไทย ๑๐ คนให้ประเมินโดยคิด

จากนิสิตไทยจานวน ๑๐ คน

เป็นฐานที่ ๑๐๐%

ตวั บ่งช้ีท่ี ๒.๒ บัณฑิตปริญญา แบบสารวจการปฏบิ ัติหน้าท่ี - ก ร ณี ห ลั ก สู ต ร ใ ห ม่

- (ปรญิ ญาตรี) ร้อยละ ต รีที่ ได้ งาน ท า สนองงานคณ ะสงฆ์ของ ไม่ต้องประเมินตัวบ่งชี้ท่ี ๒.๑

ของบัณฑิตบรรพชิต ห รื อ ป ร ะ ก อ บ บณั ฑติ บรรพชิต (หรือ) และ ๒.๒ เนื่องจากไม่มีผู้สาเร็จ

ปริญญาตรีท่ีปฏิบัติ อาชพี อิสระ - แบบสารวจภาวะการมงี าน การศึกษา สาหรับหลักสูตร

หน้าท่ีสนองงานคณะ ทาของบณั ฑติ คฤหสั ถ์ ปรับปรุงท่ีมีนิสิตเรียนอยู่ ต้อง

ส ง ฆ์ แ ล ะ บั ณ ฑิ ต - สู จิ บั ต ร พิ ธี ป ร ะ ส า ท ประเมินตัวบ่งช้ีท่ี ๒.๑ และ

คฤหัสถ์ปริญญาตรีที่ ปรญิ ญา ๒.๒ ด้วย เนื่องจากมีผู้สาเร็จ

ไ ด้ ง า น ท า ห รื อ - รายงานผลการสารวจการ การศกึ ษาแล้ว

ประกอบอาชีพอิสระ ปฏิบัติหน้าท่ีสนองงานคณะ - บณั ฑิตท่ีตอบแบบสารวจ ต้อง

ภายใน ๑ ปี สงฆ์ของบัณฑิตบรรพชิต เป็นบัณฑิตที่มีรายชื่อตามสูจิ

(หรอื ) บตั รพธิ ีประสาทปรญิ ญา

- รายงาน ผลการสารวจ - บณั ฑิตตอบแบบสารวจไมน่ ้อย

ภ าวะ ก ารมี งาน ท าข อ ง กวา่ ร้อยละ ๗๐

บัณฑิตคฤหัสถ์


Click to View FlipBook Version