หลักเกณฑ์และวธิ ีปฏิบตั ิการจัดทารายงานการประเมินตนเอง ระดบั หลักสตู ร ๔๐
ตัวบ่งชี้ เกณฑ์พจิ ารณา หลกั ฐานเพอื่ การพจิ ารณา แนวทางการตรวจประเมิน
ตั ว บ่ ง ชี้ ท่ี ๒ . ๒ ผลงานของนิสิต -สูจบิ ัตรพิธปี ระสาทปริญญา -จานวนผู้สาเร็จการศึกษาระดับ
(ป ริ ญ ญ า โ ท ห รื อ ปริญญาโท/เอกท่ี ประจาปี ปริญญาโท/เอก ให้นับตามสูจิ
ปริญญาเอก) ผลงาน ตี พิ ม พ์ ห รื อ -บทความวิจัยหรือบทความ บตั รพธิ ีประสาทปริญญา
ของนิสิตและผู้สาเร็จ เผยแพร่ วชิ าการ -ก า ร นั บ ก า ร ตี พิ ม พ์ เผ ย แ พ ร่
การศึกษ าใน ระดั บ -วารสารทีต่ ีพิมพบ์ ทความ ผลงานของนิสิตและผู้สาเร็จ
ป ริ ญ ญ า โ ท ห รื อ -รายงานสืบเนื่องจากการ การศึกษา นบั ณ วนั ทไี่ ดร้ ับการ
ปริญ ญ าเอกที่ได้รับ ประชุมวิชาการระดับหรือ ตี พิ ม พ์ ผ ล ง า น ใน ว า ร ส า ร
ก า ร ตี พิ ม พ์ ห รื อ นานาชาติ (Proceedings) ระดับชาติหรือนานาชาติ มิได้
เผยแพร่ นับจากวันท่ีได้รับการตอบรับ
(Accepted)
- กรณีวารสารทางวิชาการที่ไม่
อยู่ในฐานข้อมูลตามประกาศ
ก . พ . อ . / ร ะ เ บี ย บ
คณะกรรมการการอุดมศึกษา
ว่าด้วยหลักเกณฑ์การพิจารณา
วารสารทางวิชาการสาหรับการ
เผ ย แ พ ร่ ผ ล ง า น ท า ง วิ ช า ก า ร
พ.ศ.๒๕๕๖ แต่สภาสถาบันได้
พิจารณาและให้ความเห็นชอบ
แ ล้ ว ส ถ า บั น ต้ อ ง แ จ้ ง ให้
คณะกรรมการการอุดมศึกษา
รับทราบด้วย จึงจะสามารถนับ
ผล งาน ที่ ตี พิ ม พ์ ใน วารส าร
ดังกล่าวได้ ท้ังนี้ ประกาศฉบับ
ดังกล่าวสามารถนามาใช้ได้ถึง
วันที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๙ และ
ใช้ ไ ด้ เป็ น ก า ร เฉ พ า ะ ส ถ า บั น
เทา่ นั้น
ตวั บ่งชท้ี ี่ ๒.๓ - ผ ล ก ารส อ บ ค ะ แ น น ผ ล ก า ร ส อ บ ร้อยละและใบรับรองผลการ
- บัณฑิตปริญญาตรี ผ่ า น ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ แ ล ะ สอบผ่านภาษาอังกฤษและ
มีคุณลักษณะบัณฑิต ภ าษ าอั งก ฤ ษ เทคโนโลยสี ารสนเทศ ตาม เทคโนโลยีสารสนเทศ ตาม
ท่ีพึงประสงค์สอบ และเทคโนโลยี เก ณ ฑ์ ที่ ม ห าวิ ท ย าลั ย เกณฑท์ มี่ หาวิทยาลยั กาหนด
ผ่านภ าษ าอังกฤษ สารสนเทศ ตาม กาหนด
แ ล ะ เท ค โ น โ ล ยี เ ก ณ ฑ์ ที่
ส า ร ส น เท ศ ต า ม ม ห าวิ ท ย าลั ย
เกณฑ์ท่ีมหาวิทยาลัย กาหนด
กาหนด
หลกั เกณฑ์และวธิ ีปฏิบตั ิการจัดทารายงานการประเมนิ ตนเอง ระดบั หลักสตู ร ๔๑
๓.๒.๓ องคป์ ระกอบท่ี ๓ – ๖ ทีเ่ ปน็ ตัวบ่งช้ีกระบวนการ (บางตัวบง่ ช้ี)
หลักในการพิจารณาสาหรับตัวบ่งชี้การประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตรท่ีเป็นตัว
บ่งชี้กระบวนการ (๓.๑, ๓.๒, ๔.๑, ๕.๑, ๕.๒, ๕.๓ และ ๖.๑)
การพิจารณาตัดสินผลการประเมินตัวบ่งชี้เชิงคุณภาพในระดับหลักสูตร ท่ีเน้น
กระบวนการ เพื่อให้ผู้ประเมินนาไปใช้ในการตัดสินผลการประเมินให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน ให้ยึด
หลักการ คือ หลักสูตรควรกาหนดผลลัพธ์ซึ่งแสดงคุณภาพที่ต้องการจากกระบวนการท่ีได้ออกแบบ
โดยอธิบายวิธีการดาเนินงานท่ีนาไปสู่ผลลัพธ์ท่ีต้องการ มีการทบทวน/ประเมิน/ศึกษาผลการ
ดาเนินงานที่เทียบกับผลลัพธ์ที่กาหนด หากหลักสูตรไม่ได้ผลลัพธ์ตามท่ีต้องการ ให้อธิบายว่ามีการ
ปรับปรุงวธิ ีการทางานอยา่ งไร เพ่ือนาไปสผู่ ลลพั ธ์ทีต่ อ้ งการ
(หมายเหตุ ให้พิจารณาผลการดาเนินงานในภาพรวม ไม่ควรพิจารณาแต่ละประเด็นย่อย
และกรณจี ะใหค้ ะแนนระดบั ๔ หรือ ๕ ตอ้ งมีคาอธบิ ายท่ีเหน็ เป็นรูปธรรม)
ตารางที่ ๓.๔ เกณฑ์การพจิ ารณาและแนวทางการตรวจประเมินองคป์ ระกอบที่ ๓ – ๖
ประเดน็ พิจารณา ประเด็นพจิ ารณา
องคป์ ระกอบ ตวั บง่ ช้ี ระดับปรญิ ญาตรี ระดับปรญิ ญาโท/เอก แนวทางการพจิ ารณา
(๑๘ ประเดน็ ) (๒๑ ประเด็น)
๓. นสิ ติ ๓.๑ การรับ (๑) การรับนสิ ิต (๑) การรับนิสติ ในการพิจารณาเก่ียวกับการ
นสิ ิต (๒) การเตรียม (๒) การเตรียมความ รับเข้าและการเตรียมความ
ความพร้อมก่อน พรอ้ มก่อนเข้าศกึ ษา พร้อมก่อนเข้าศึกษาขอให้ดู
เข้าศึกษา เจ ต น าร ม ณ์ ข อ ง ห ลั ก สู ต รว่ า
ต้ อ ง ก า ร นิ สิ ต ที่ มี คุ ณ ส ม บั ติ
อย่างไร และจัดเตรียมความ
พร้อมให้กับนิสิตท่ีจะศึกษาใน
หลักสูตร โดยพิจารณาจาก
มคอ.๒ ท่ีได้ระบุถึงปัญหาของ
นิสิตแรกเขา้ และการแก้ปญั หา
๓ .๒ ก า ร (๓) การควบคุม (๓) การควบคุมดูแล
ส่งเสริมและ การดูแลการให้ ก า ร ให้ ค า ป รึ ก ษ า
พัฒนานิสติ ค า ป รึ ก ษ า วิทยานิพนธ์และสาร
วิชาการและแนะ นิ พ น ธ์ ใ น ร ะ ดั บ
แนวแก่นิสิตใน บัณฑติ ศกึ ษา
ระดบั ปรญิ ญาตรี (๔ ) ก า ร พั ฒ น า
(๔) การพัฒ นา ศักยภ าพนิ สิตและ
ศั ก ย ภ าพ นิ สิ ต การเสริมสร้างทักษะ
แ ล ะ ก า ร การเรียนรู้ในศตวรรษ
เสริมสร้างทักษะ ที่ ๒๑
ก า ร เรี ย น รู้ ใน
ศตวรรษท่ี ๒๑
หลักเกณฑ์และวธิ ปี ฏบิ ตั กิ ารจัดทารายงานการประเมนิ ตนเอง ระดับหลักสตู ร ๔๒
องคป์ ระกอบ ประเด็นพจิ ารณา ประเด็นพจิ ารณา แนวทางการพจิ ารณา
๔. อาจารย์ ตวั บง่ ชี้ ระดบั ปรญิ ญาตรี ระดบั ปรญิ ญาโท/เอก
-การบริหารและการพัฒนา
(๑๘ ประเดน็ ) (๒๑ ประเด็น) อาจารย์ให้หมายถึงอาจารย์
ประจาหลกั สูตรเทา่ นัน้
๔ .๑ ก า ร (๕) การรับและ (๕ ) ก า ร รั บ แ ล ะ -การนับผลงานทางวิชาการ
บริหารและ แต่งตั้งอาจารย์ แตง่ ตั้งอาจารย์ประจา ของอาจารย์ประจาหลักสูตร
พั ฒ น า ประจาหลกั สตู ร หลักสตู ร -กรณีผลงานวิจัยที่หน่วยงาน
อาจารย์ (๖) การบริหาร (๖ ) ก า ร บ ริ ห า ร หรือองค์ประดับชาติว่าจ้างให้
อาจารย์ ด า เนิ น ก า ร ให้ ดู จ า ก ร า ย ช่ื อ
อาจารย์ (๗) การส่งเสริมและ ผู้ วิจัย ที่ ป ราก ฏ ใน สั ญ ญ า
(๗) การส่งเสริม พัฒนาอาจารย์ ว่าจา้ ง
แ ล ะ พั ฒ น า -พิจารณ าจากผลงานของ
อาจารย์ อาจารย์ประจาหลักสูตรท่ีมี
ร า ย ช่ื อ ณ วั น สิ้ น สุ ด ปี
การศึกษาน้ันๆ โดยไม่ต้องนา
ระ ย ะ เว ล า ใน ก า ร ป ระ จ า
หลกั สตู รมาพิจารณา
-กรณีอาจารย์ประจาหลักสูตร
ปริญญาโท และปริญญาเอก
ที่ใช้อาจารย์ประจาหลักสูตร
ชุดเดียวกัน การนับผลงาน
วิชาการสามารถนับได้ท้ัง ๒
หลักสตู ร
-กรณีผลงานทางวิชาการของ
อ า จ า ร ย์ ป ร ะ จ า ที่ อ ยู่ ค น ล ะ
คณ ะ/สถาบันให้พิจารณ า
ดงั น้ี
-ในระดับหลักสูตรให้นับเป็น
ผ ล ง า น ข อ ง อ า จ า ร ย์ ป ร ะ จ า
ห ลั ก สู ต รต าม ท่ี ท า ห น้ าที่
อาจารย์ประจาหลักสูตร
- ในระดับคณ ะให้นับเป็ น
ผ ล ง า น ข อ ง อ า จ า ร ย์ ป ร ะ จ า
สงั กดั คณะน้ัน
หลักเกณฑ์และวิธปี ฏิบัตกิ ารจัดทารายงานการประเมนิ ตนเอง ระดบั หลักสตู ร ๔๓
ประเดน็ พจิ ารณา ประเดน็ พจิ ารณา
องคป์ ระกอบ ตัวบ่งช้ี ระดบั ปรญิ ญาตรี ระดับปรญิ ญาโท/เอก แนวทางการพจิ ารณา
(๑๘ ประเด็น) (๒๑ ประเด็น)
๕ ห ลั ก สู ต ร ๕ .๑ ส า ร ะ (๘) การออกแบบ (๘ ) ก ารอ อ ก แ บ บ การตีความกรณีหลักสูตรมี
การเรียนการ ของรายวิชา ห ลั ก สู ต ร แ ล ะ หลักสูตรและสาระ ความทันสมัยและสอดคล้อง
ส อ น ก า ร ในหลักสตู ร สาระรายวิชาใน รายวชิ าในหลักสตู ร กั บ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง
ป ร ะ เ มิ น หลักสตู ร (๙ ) ก า ร ป รั บ ป รุ ง ตลาดแรงงานหรือไม่ ควรดูที่
ผเู้ รียน (๙) การปรับปรุง หลักสูตรให้ทันสมัย เนื้อหาสาระรายวิชาที่เปิด
ห ลั ก สู ต ร ใ ห้ ตามความก้าวหน้าใน สอนว่าทันสมัยเหมาะสมกับ
ทั น ส มั ย ต า ม ศาสตรส์ าขาน้ันๆ ความเปลี่ยนแปลงของโลก
ความก้าวหน้าใน หรือไม่
ศาสตร์สาขาน้นั ๆ
๕.๒ การวาง (๑๐) การกาหนด (๑ ๐ ) ก ารก าห น ด ประเด็นการบูรณาการกับการ
ระบบผู้สอน ผ้สู อน ผ้สู อน บริการวิชาการทางสังคมไม่
แ ล ะ (๑๑) การกากับ (๑ ๑ ) ก า ร ก า กั บ จาเป็ น ต้ อ งเป็ น โค รงก าร
กระบวนการ ติ ด ต า ม แ ล ะ ตดิ ตามและตรวจสอบ เดียวกับที่อยู่ในแผนบริการ
จัดการเรียน ตรวจสอบ การ การจัดทาแผนการ ท า ง วิ ช า ก า ร ข อ ง
การสอน จัดทาแผนการ เรียนรู้ (มคอ.๓ และ สถาบันอุดมศึกษา แต่ให้ดู
เรียนรู้ (มคอ.๓ ม ค อ .๔ ) แ ล ะ ก า ร เจตนารมณ์ ว่าเกิดผลการ
และมคอ.๔) และ จดั การเรยี นการสอน เรียนรูบ้ รรลตุ ามเปา้ หมาย
การจัดการเรียน (๑ ๒ ) ก ารค วบ คุ ม
การสอน หัวข้อวิท ยานิ พ น ธ์
(๑๒) การจัดการ และการค้นคว้าอิสระ
เรียนการสอนใน ในระดับบัณฑิตศึกษา
ระดับปริญญาตรี ให้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ
ที่ มี ก า ร บู ร ณ า ส า ข า วิ ช า แ ล ะ
การกับการวิจัย ความก้าวหน้าของ
ก า ร บ ริ ก า ร ศาสตร์
วิ ช า ก า ร ท า ง (๑ ๓ ) ก า ร แ ต่ ง ตั้ ง
สังคม และการ อ าจ ารย์ ที่ ป รึ ก ษ า
ทานุบารุงศิลปะ วิทยานิพนธ์และการ
และวฒั นธรรม ค้นคว้าอิสระในระดับ
บณั ฑติ ศึกษาท่มี คี วาม
เช่ียวชาญสอดคล้อง
หรือสัมพันธ์กับหัวข้อ
วทิ ยานพิ นธ์
หลักเกณฑแ์ ละวิธปี ฏบิ ตั กิ ารจัดทารายงานการประเมินตนเอง ระดบั หลักสูตร ๔๔
ประเดน็ พิจารณา ประเดน็ พิจารณา
องคป์ ระกอบ ตวั บ่งชี้ ระดบั ปรญิ ญาตรี ระดบั ปรญิ ญาโท/เอก แนวทางการพจิ ารณา
(๑๘ ประเด็น) (๒๑ ประเดน็ )
(๑๔) การช่วยเหลือ
กากับ ติดตามในการ
ทาวิทยานิพนธ์และ
การค้นคว้าอิสระและ
การตีพิมพ์ผลงานใน
ระดบั บณั ฑติ ศึกษา
๕ .๓ ก า ร ( ๑ ๓ ) ก า ร (๑๕) การประเมินผล
ป ร ะ เ มิ น ประเมินผลการ การเรียนรู้ตามกรอบ
ผ้เู รียน เรียนรู้ตามกรอบ ม า ต ร ฐ า น คุ ณ วุ ฒิ
มาตรฐานคุณวุฒิ ร ะ ดั บ อุ ด ม ศึ ก ษ า
ระดับอุดมศึกษา แหง่ ชาติ
แห่งชาติ (๑๖) การตรวจสอบ
( ๑ ๔ ) ก า ร การประเมินผลการ
ตรวจสอบ การ เรียนรู้ของนิสิต
ประเมินผลการ (๑๗) การกากับการ
เรียนรขู้ องนสิ ติ ประเมินการจัดการ
(๑๕) การกากับ เรียน การสอน และ
การประเมินการ ป ระ เมิ น ห ลั ก สู ต ร
จัดการเรียนการ (ม ค อ .๕ , ม ค อ .๖ ,
สอนและประเมิน มคอ.๗)
หลักสูตร (มคอ. (๑ ๘ ) การป ระเมิน
๕, มคอ.๖ และ วิทยานิพนธ์และการ
มคอ.๗) ค้นคว้าอิสระในระดับ
บัณฑติ ศึกษา
๖ . ส่ิ ง ๖ . ๑ สิ่ ง (๑๖) ระบบการ (๑ ๙ ) ร ะ บ บ ก า ร ให้หลักสูตรระบุส่ิงสนับสนุน
สนับสนุนการ สนบั สนุนการ ดาเนินงานของ ด า เนิ น ง า น ข อ ง การเรียนรู้ที่จาเป็นสาหรับ
เรยี นรู้ เรียนรู้ ภาควิชา/คณะ/ ภาควิชา/คณะ/วิทยา หลักสูตรให้ชัดเจน ไม่ต้อง
วิ ท ย า เ ข ต / เขต/วทิ ยาลัย/สถาบนั พิจารณาสิ่งสนับสนุนทั่วไป
วทิ ยาลัย/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของ เช่น ห้องเรียน เคร่ืองฉาย
โด ย มี ส่ วน ร่วม อ า จ า ร ย์ ป ร ะ จ า LCD เป็นต้น
ข อ ง อ า จ า ร ย์ หลักสูตรเพ่ือให้มีส่ิง
ประจาหลักสูตร สนบั สนุนการเรียนรู้
เ พื่ อ ใ ห้ มี สิ่ ง (๒ ๐ ) จ า น ว น ส่ิ ง
ส นั บ ส นุ น ก า ร สนับสนุนการเรยี นรู้ท่ี
เรียนรู้ เ พี ย ง พ อ แ ล ะ
เห ม า ะ ส ม ต่ อ ก า ร
หลกั เกณฑ์และวธิ ีปฏบิ ตั ิการจัดทารายงานการประเมนิ ตนเอง ระดบั หลักสูตร ๔๕
ประเดน็ พจิ ารณา ประเด็นพจิ ารณา
องคป์ ระกอบ ตัวบ่งชี้ ระดบั ปรญิ ญาตรี ระดับปรญิ ญาโท/เอก แนวทางการพจิ ารณา
(๑๘ ประเด็น) (๒๑ ประเด็น)
(๑๗) จานวนสิ่ง จดั การเรียนการสอน
ส นั บ ส นุ น ก า ร (๒ ๑ )กระบ วน การ
เรียนรู้ที่เพียงพอ ปรับปรุงตามผลการ
และเหมาะสมต่อ ป ร ะ เมิ น ค ว า ม พึ ง
การจัดการเรียน พอใจของนิสิตและ
การสอน อ า จ า ร ย์ ต่ อ ส่ิ ง
(๑๘ ) กระบวน สนับสนุนการเรยี นรู้
การปรับปรุงตาม
ผ ล ก า ร ป ร ะ เมิ น
ความ พึ งพ อใจ
ข อ ง นิ สิ ต แ ล ะ
อาจ ารย์ ต่ อ ส่ิ ง
ส นั บ ส นุ น ก า ร
เรยี นรู้
เพ่ือให้การผลิตบัณฑิตมีคุณลักษณะพึงประสงค์และเป็นบัณฑิตท่ีมีคุณภาพ การ
ดาเนินงานและการบริหารงานระดับหลักสูตรซึ่งเก่ียวข้องโดยตรงกับนิสิตจึงถือว่ามีส่วนสาคัญที่สุด
ซ่ึงควรมรี ะบบการประกันคณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดับหลกั สตู ร เพื่อกากบั และพฒั นางาน ดังนี้
1. การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร เป็นการประกันคุณภาพการจัด
การศึกษาว่าหลักสูตรได้ดาเนินการเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษาและเกณฑ์
มาตรฐานอ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวข้อง โดยให้พิจารณาองค์ประกอบท่ีสาคัญ ได้แก่ การกากับมาตรฐาน บัณฑิต
นิสิต อาจารย์ หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน และส่ิงสนับสนุนการเรียนรู้ เพ่ือให้
สามารถผลติ บณั ฑิตให้มคี ณุ ภาพ
2. ในการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ให้เช่ือมโยงกับตัวบ่งชี้การ
ดาเนินการตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 เพื่อประโยชน์ในการ
เผยแพร่หลักสูตรท่ีมีคุณภาพและมาตรฐาน ซึ่ง สกอ. ได้กาหนดแนวทางการเผยแพร่หลักสูตรไว้ใน
ประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เร่ือง แนวทางการปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
ระดบั อดุ มศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552
3. ตัวบ่งชก้ี ารประกันคณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร เป็นข้อมูลพ้ืนฐานในส่วน
ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสตู รระดับอุดมศกึ ษา และตวั บง่ ช้เี ชงิ ปริมาณในส่วนท่ีเกย่ี วข้องกับ
คุณวุฒิ ตาแหน่งทางวิชาการ และผลงานทางวิชาการของอาจารย์ สาหรับตัวบ่งชี้เชิงคุณภาพท่ีเน้น
กระบวนการ จะประเมินในลักษณะของพิชญพิจารณ์ (Peer review) ซ่ึงมีรายละเอียดของคาถามท่ี
จะเป็นแนวทางให้แก่ผู้ประเมินเพ่ือให้สามารถนาไปพิจารณาตามบริบทของสถาบันได้ และได้กาหนด
แนวทางในการให้คะแนนในแตล่ ะระดบั สาหรบั ผู้ประเมนิ และผู้รบั การประเมนิ ได้ใช้ในการพิจารณา
หลักเกณฑ์และวิธปี ฏบิ ัตกิ ารจัดทารายงานการประเมนิ ตนเอง ระดับหลักสูตร ๔๖
4. สถาบันอุดมศึกษาสามารถจัดทาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับ
หลักสูตรโดยมีการดาเนินงานได้ตามมาตรฐานเทียบเคียงกับมาตรฐานของสานักงานคณะกรรมการ
การอดุ มศึกษา ทั้งนี้ ทุกระบบตอ้ งได้รับการเห็นชอบจากสภาสถาบันและเสนอคณะกรรมการประกัน
คุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา พิจารณาให้ความเห็นชอบ และให้มีการจัดส่งผลการประเมินพร้อม
ข้อมูลพื้นฐานให้กับสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาเพ่ือเผยแพร่ต่อสาธารณะ ตัวอย่างการ
ประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ที่เทียบเคียงได้ เช่น ผลการประเมินหลักสูตรของ
AUN QA ผลการประเมินหลักสตู รวิชาชีพท่ีได้รับการรับรองจากองค์การวิชาชีพระดับนานาชาติ เช่น
AACSB (สาหรับหลักสูตรทางด้านบริหารธุรกิจ) ABET (สาหรับหลักสูตรทางด้านวิศวกรรมศาสตร์)
แ ล ะ ห ลั ก สู ต ร ท่ี ไ ด้ รั บ ก า ร ต ร ว จ ป ร ะ เมิ น เป็ น ป ร ะ จ า แ ล ะ ผ่ า น ก า ร รั บ ร อ ง โ ด ย ส ภ า วิ ช า ชี พ
(คณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา คณะอนุกรรมการพัฒนาการประกันคุณภาพ
การศึกษาภายในระดบั อุดมศึกษา, ๒๕๕๘ : ๔๔ – ๔๘) ดงั กรอบการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน
ระดับหลักสูตร ตามระบบ I–P-O ในตารางท่ี ๓.๕
ตารางท่ี ๓.๕ กรอบการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั หลักสตู ร ตามระบบ I–P-O
อ ง ค์ ป ระ ก อ บ ใน ก า ร ตวั บง่ ช้ี ประเดน็ พิจารณา I–P-O
ประกันคณุ ภาพหลกั สูตร
๑ . ก า ร ก า กั บ ๑.๑ การบริหารจัดการ ผลการบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐาน
มาตรฐาน ห ลั ก สู ต รต าม เก ณ ฑ์ หลักสตู ร มาตรฐาน
มาตรฐานหลักสูตรท่ี ปรญิ ญาตรี เกณฑ์ ๓ ข้อ
กาหนดโดย สกอ. บณั ฑิตศึกษา เกณฑ์ ๑๑ ข้อ
๒. บัณฑติ ๒.๑ คุณภาพบัณฑิตตาม ผลประเมินคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐาน
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ คุณวฒุ ริ ะดับอดุ มศึกษาแหง่ ชาติ O
ร ะ ดั บ อุ ด ม ศึ ก ษ า
แหง่ ชาติ
๒.๒ การได้งานทาหรือ - ผลบัณฑิตปริญญาตรีท่ีได้งานทาหรือประกอบ
ผลงานวิจัยของผู้สาเร็จ อาชพี อสิ ระ
การศกึ ษา - ผลงานของนิสิตปริญญาโท/ปริญญาเอก ท่ีตีพิมพ์
- ร้อยละของบัณฑิต เผยแพร่
ปริญญาตรีท่ีได้งาน
ท าห รือ ป ระ ก อ บ
อาชีพอิสระภายใน O
๑ ปี
- ผลงานของนิสิตและ
ผู้สาเร็จการศึกษาใน
ร ะ ดั บ ป ริ ญ ญ า โท ท่ี
ได้รับการตีพิมพ์หรือ
เผยแพร่ผลงานของ
นิ สิ ตแล ะผู้สาเร็จ
หลักเกณฑ์และวิธปี ฏบิ ตั ิการจัดทารายงานการประเมินตนเอง ระดบั หลักสตู ร ๔๗
อ ง ค์ ป ระ ก อ บ ใน ก า ร ตวั บ่งช้ี ประเดน็ พจิ ารณา I–P-O
ประกนั คุณภาพหลกั สูตร
- ผลการสอบผ่านภาษาอังกฤษและเทคโนโลยี O
การศึกษาในระดับ สารสนเทศ ตามเกณฑท์ ่ีมหาวิทยาลัยกาหนด I
I
ปริญญาเอกท่ีได้รับ - การรับนิสิต I
- การเตรียมความพรอ้ มกอ่ นเขา้ ศกึ ษา I
ก า ร ตี พิ ม พ์ ห รื อ - การควบคุมการดูแลให้คาปรึกษาวิชาการและแนะ I
แนวแกน่ สิ ิตในระดับปริญญาตรี I
เผยแพร่ - การควบคุมดูแลการใหค้ าปรึกษาวิทยานิพนธ์ และ I
การค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑติ ศกึ ษา
๒.๓ บณั ฑิตปริญญาตรีมี - การพัฒนาศักยภาพนิสิตและการเสริมสร้างทักษะ
การเรยี นร้ใู นศตวรรษที่ ๒๑
คุณลักษณะบัณฑิตที่พึง - อัตราการคงอยขู่ องนิสติ
- อัตราการสาเร็จการศกึ ษา
ป ร ะ ส ง ค์ ส อ บ ผ่ า น - ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียนของ
นิสิต
ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ แ ล ะ - การรบั และแต่งตั้งอาจารย์ประจาหลักสตู ร
- การบริหารอาจารย์
เท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เท ศ - การสง่ เสรมิ และพฒั นาอาจารย์
- ร้อยละอาจารยท์ จ่ี บปริญญาเอก
ต า ม เ ก ณ ฑ์ ท่ี - ร้อยละอาจารยท์ ่มี ีตาแหนง่ ทางวชิ าการ
- จานวนบทความของอาจารย์ประจาหลักสูตร
มหาวทิ ยาลัยกาหนด ปริญญา ชเอกที่ได้รับการอ้างอิงในฐานข้อมูล TCI
และ SCOPUS ตอ่ จานวนอาจารย์ประจาหลักสตู ร
๓. นิสิต ๓.๑ การรับนสิ ิต - อัตราการคงอยู่ของอาจารย์
- ความพึงพอใจของอาจารย์
๓.๒ การส่งเสริมและ -หลักคิดในการออกแบบหลักสูตรข้อมูลท่ีใช้ในการ
พฒั นานสิ ิต พัฒนาหลักสตู รและวตั ถปุ ระสงค์ของหลักสูตร
- การปรับปรุงหลกั สูตรให้ทันสมยั ตามความกา้ วหน้า
๓.๓ ผลท่ีเกดิ กบั นิสติ ในศาสตรส์ าขาวชิ านน้ั ๆ
๔.อาจารย์ ๔.๑ การบริหารและ
พฒั นาอาจารย์
๔.๒ คณุ ภาพอาจารย์
๔.๓ ผลทเี่ กดิ กับอาจารย์
๕ . ห ลั ก สู ต ร ๕.๑ สาระของรายวิชา
การเรียนการสอน ในหลกั สูตร
การประเมินผูเ้ รียน
หลกั เกณฑ์และวธิ ีปฏิบัติการจัดทารายงานการประเมินตนเอง ระดบั หลักสตู ร ๔๘
อ ง ค์ ป ระ ก อ บ ใน ก า ร ตัวบง่ ชี้ ประเดน็ พจิ ารณา I–P-O
ประกนั คุณภาพหลักสูตร
๕.๒ การวางระบบ - การพจิ าณาอนุมตั หิ วั ข้อวทิ ยานพิ นธ์และสารนพิ นธ์
ผู้สอนและกระบวนการ ในระดบั บณั ฑิตศกึ ษา
จดั การเรยี นการสอน ผ้สู อนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน
- การพจิ ารณากาหนดผ้สู อน
- การกากับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทา มคอ.
๓ และ มคอ. ๔
- การแต่งตั้งอาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ และการ
คน้ คว้าอสิ ระในระดับบณั ฑติ ศกึ ษา P
- การกากับกระบวนการเรยี นการสอน P
P
- การจัดการเรียนการสอนที่มีการฝึกปฏิบัติในระดับ P
ปริญญาตรี
- การบูรณาการพันธกิจต่างๆ กับการเรียนการสอน
ในระดับปรญิ ญาตรี
- การช่วยเหลือ กากับ ติดตามในการทาวิทยานิพนธ์
และการคน้ คว้าอิสระ และการตีพมิ พ์ผลงานในระดับ
บณั ฑิตศกึ ษา
๕.๓ การประเมินผเู้ รียน - การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐาน
คณุ วุฒิ
- การตรวจสอบการประเมินผลการเรยี นร้ขู องนสิ ิต
- การกากับการประเมินการจัดการเรียนการสอน
และประเมนิ หลักสตู ร (มคอ.๕ มคอ.๖ และ มคอ.๗)
- การประเมินวิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์ในระดับ
บณั ฑติ ศึกษา
๕.๔ ผลการดาเนินงาน - ผลการดาเนินงานตามตัวบ่งช้ีตามกรอบมาตรฐาน
ห ลั ก สู ต ร ต า ม ก ร อ บ คุณวฒุ ริ ะดับอุดมศกึ ษาแห่งชาติ
ม า ต ร ฐ า น คุ ณ วุ ฒิ
ร ะ ดั บ อุ ด ม ศึ ก ษ า
แห่งชาติ
๖. สิ่งสนับสนุนการ ๖.๑ สิ่งสนับสนุนการ - ระบบการดาเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบันโดยมี
ส่วนร่วมของอาจารย์ประจาหลักสูตร เพ่ือให้มีส่ิง
เรยี นรู้ เรยี นรู้
ส นั บ ส นุ น การเรียน รู้ท่ี เพี ยงพ อแล ะเห ม าะส ม ต่อก าร
จดั การเรียนการสอน
- กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึง
พอใจของนิสิตและอาจารย์ตอ่ สิ่งสนบั สนุนการเรยี นรู้
ท่ีมา : มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๙ : ๓๔.
หลักเกณฑแ์ ละวิธีปฏิบตั กิ ารจัดทารายงานการประเมินตนเอง ระดับหลักสูตร ๔๙
๓.๓ หลกั เกณฑแ์ ละวิธีปฏบิ ัตงิ านท่ดี ี
จากตัวบ่งชี้และวิธีปฏิบัติงานท่ีดีเพ่ือใช้ในการแก้ไขปัญหาจากองค์ประกอบท้ัง ๖ ให้การ
ผลิตบัณฑิตมีคุณลักษณะพึงประสงค์และเป็นบัณฑิตท่ีมีคุณภาพ ซ่ึงต้องมีการพัฒนาปรับปรุงตัวบ่งชี้
การประเมินคุณภาพภายในของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในระดับหลักสูตร
ให้สามารถดาเนินการสอดคล้องกับตัวบ่งชี้การดาเนินการตามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒิระดบั อุดมศกึ ษา
แห่งชาติ พ.ศ.2552 เพื่อประโยชน์ในการเผยแพร่หลักสูตรท่ีมีคุณภาพและมาตรฐาน ซ่ึงสานักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษาและสานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) กาหนด
หลักเกณฑ์และการปฏิบัติงานการประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร ดังท่ีผู้เขียนได้บอกตัว
บ่งชี้และแนวปฏิบัตใิ นการแกไ้ ขปัญหาในองค์ประกอบท้งั ๖ ในตารางที่ ๓.๖
ตารางที่ ๓.๖ ตวั บง่ ชีแ้ ละแนวปฏิบตั ใิ นการแกไ้ ขปญั หาในองค์ประกอบทั้ง ๖
ตัวบ่งช้ี ปัญหา แนวปฏิบัติงานที่ดี
๑.๑ การบริหารจัดการ มีบางหลักสูตรท่ีมีจานวนอาจารย์ - ควรเร่งพิจารณาสารวจอาจารย์
ห ลั ก สู ต รต าม เก ณ ฑ์ ประจาหลักสูตร ไม่ครบ ๕ รูป/คน ประจาหลักสูตร และนาเสนอต่อ
มาตรฐานหลักสูตรที่ เชน่ มีอาจารย์ประจาหลักสตู รไดล้ า ส ภ า ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ พื่ อ ข อ อ นุ มั ติ
กาหนดโดย สกอ. ศึกษาตอ่ เป ล่ี ย น แ ป ล งอ าจ ารย์ ป ระ จ า
หลักสตู รให้ครบตามจานวนทีเ่ กณฑ์
กาหนด
- จานวนอาจารย์ประจาหลักสูตร
นับตามปกี ารศกึ ษา
- อาจารย์ประจาหลักสูตร ๕ รูป/คน
(ตามทเี่ สนอใน มคอ. ๒)
- อาจารยป์ ระจาสามารถเป็นอาจารย์
ประจาหลักสูตรได้อีก ๑ หลักสูตร
ในระดับเดียวกันหรือพหุวิทยาการ
เชน่
- ปริญ ญ าตรีกับปริญ ญ าตรีหรือ
ปรญิ ญาตรีพหุวทิ ยาการ
- ปริญ ญ าโท กับ ปริญ ญ าโท หรือ
ปริญญาโทพหุวิทยาการ
- แตจ่ ะไมส่ ามารถเปน็ อาจารย์ประจา
หลักสูตรข้ามระดับได้ เช่น ระดับ
ปรญิ ญาตรีไประดับปรญิ ญาโท หรือ
ระดับปริญญาโทไประดับปริญญา
ตรี
ในระดับปรญิ ญาโทและปริญญาเอก - ใน ก ารแ ต่งต้ั งอาจารย์ ป ระจ า
อาจารย์ประจาหลักสูตรมคี ณุ สมบัติ หลักสูตรในระดับปริญญาโท และ
ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ ปริญญาเอก ควรพิจารณาอาจารย์
หลกั เกณฑ์และวธิ ีปฏิบตั กิ ารจัดทารายงานการประเมินตนเอง ระดับหลักสูตร ๕๐
ตวั บ่งช้ี ปัญหา แนวปฏบิ ตั ิงานท่ีดี
ประจาให้มีคุณสมบัติให้เป็นไปตาม
เกณฑ์
- พิจารณาอาจารย์ประจาหลักสูตร
จานวน ๕ รูป/คน
กรณีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร - ในการพิจารณาอาจารย์ประจา
ไม่มคี ณุ สมบัติเปน็ ตามเกณฑ์ หลัก สูต ร ๕ รูป /คน ใน ระดั บ
ปริญญาโท และปริญญาเอก ต้องมี
คณุ สมบัตขิ องอาจารย์ ผู้รับผิดชอบ
หลั กสูต รให้ เป็ น ไป ต าม เกณ ฑ์
จานวนอย่างน้อย ๓ รูป/คน
- พิจารณาอาจารย์ประจาหลักสูตร
จานวน ๕ รปู /คน
- อาจารย์ใหม่ที่มีคุณวุฒิการศึกษา
ระดับปริญญาเอก มีความหมาย
มากกว่าอาจารย์ที่มีตาแหน่งทาง
วิชาการ เพราะสามารถมีคุณสมบัติ
เป็นอาจารย์ผู้รับผดิ ชอบหลักสตู รได้
ทั้งระดับปริญญาโทและปริญญา
เอก
ระดับปริญญาโทและปริญญาเอก - ค ว ร พิ จ า ร ณ า เ ส น อ ส ภ า
ส่วนใหญ่หลักสูตรทางด้านศิลปะ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เพ่ื อ ข อ อ นุ มั ติ
หรือวิชาชีพ มีอาจารย์ผู้สอนเป็น เทียบเคียงคุณ วุฒิ ของอาจารย์
ผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอกสถาบัน/ ผู้สอนท่ีผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอก/
อาจารย์พิเศษ ท่ีมีคุณ สมบัติไม่ อาจารย์พิเศษ ให้มีคุณวุฒิเป็นไป
เป็นไปตามเกณฑ์ ต า ม เ ก ณ ฑ์ เ น่ื อ ง จ า ก มี
ประสบการณ์ /ความเช่ียวชาญ
เฉพาะ
- รายช่ืออาจารย์ผู้สอนสามารถ
พิจารณาจากตารางสอน เพื่อดูว่า
เปดิ สอนกีร่ ายวชิ า
- รายชื่ออาจารย์ผู้สอน ดูจาก มคอ.
๓ ว่ามีทั้งหมดกี่รายวิชาท่ีเปิดสอน
และสามารถดรู ายชือ่ อาจารย์ผู้สอน
- อาจารย์ภายนอก/อาจารย์พิเศษ
ไม่จาเป็นต้องมีประสบการณ์ในการ
ทาวิจัย อาจารย์ใหม่ที่มีคุณ วุฒิ
การศึกษาระดับปริญญาเอก จะไม่
หลกั เกณฑ์และวธิ ปี ฏิบัติการจัดทารายงานการประเมินตนเอง ระดับหลักสตู ร ๕๑
ตวั บ่งชี้ ปัญหา แนวปฏิบัตงิ านท่ีดี
สามารถสอนในระดับปรญิ ญาเอกได้
ยกเว้นต้องมีผลงานวิจัย จานวน ๑
เรื่อง ภายในระยะเวลา ๒ ปี (นับ
ตามปีปฏิทิน) นับจากวันท่ีเร่ิมสอน
ท้ั ง น้ี ง า น วิ จั ย ต้ อ ง
ตีพิมพ์/proceedings และสามารถ
เป็นงานวจิ ัยทม่ี ีชอื่ ร่วมได้
สืบเน่ืองจากตัวบ่งช้ีท่ี ๔ กรณีใน - ค ว ร พิ จ า ร ณ า เ ส น อ ส ภ า
กลุ่มด้านศิลปะหรือวิชาชีพ ท่ีมี ม ห า วิ ท ย า ลั ย เพื่ อ ข อ อ นุ มั ติ
อาจารย์ผู้สอนเป็นผู้ทรงคุณวุฒิจาก เที ย บ เคี ย ง คุ ณ วุ ฒิ ข อ ง อ า จ า ร ย์ ที่
ภายนอกสถาบัน/ อาจารย์พิเศษ ท่ี ป รึก ษ าวิท ย านิ พ น ธ์ห ลั ก แ ล ะ
มีคุณสมบัติไม่เป็นไปตามเกณฑ์ทา อาจารย์ท่ีปรึกษาการค้นคว้าอิสระ
ให้อาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ ให้มีคุณสมบัติเป็นไปตามเกณฑ์ท่ี
หลัก มีคุณวุฒิ และประสบการณใ์ น กาหนด
การทาวิจัยไม่เป็นไปตามเกณฑ์ - กรณีอาจารย์ประจาที่ได้กิตติมศักดิ์
ผู้ เช่ี ย ว ช า ญ เฉ พ า ะ จ า ก ที่ อื่ น นั้ น
ส า ม า ร ถ เป็ น อ า จ า ร ย์ ที่ ป รึ ก ษ า
วทิ ยานพิ นธ์หลกั ได้
- คุณสมบัติของอาจารย์ที่ปรึกษา
วิ ท ย า นิ พ น ธ์ ห ลั ก แ ล ะ อ า จ า ร ย์ ที่
ปรึกษาการค้นคว้าอิสระ ต้องเป็น
อาจารยป์ ระจาเท่านนั้
กรณี ท่ีคุณ สมบัติของอาจารย์ที่ - ค ว ร พิ จ า ร ณ า เ ส น อ ส ภ า
ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม (ถ้ามี) ไม่ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เพื่ อ ข อ อ นุ มั ติ
เปน็ ไปตามเกณฑ์ เที ย บ เคี ย ง คุ ณ วุ ฒิ ข อ ง อ า จ า ร ย์ ท่ี
ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วมให้เป็นไป
ตามเกณฑท์ ี่กาหนด
กรณีท่ีคุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอบ - ค ว ร พิ จ า ร ณ า เ ส น อ ส ภ า
วิทยานิพนธ์ ไมเ่ ปน็ ไปตามเกณฑ์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เพ่ื อ ข อ อ นุ มั ติ
เทียบเคียงคุณ วุฒิ ของอาจารย์
ผู้สอบวิทยานิพนธ์ ให้เป็นไปตาม
เกณ ฑ์ ที่กาหนดคุณ สมบัติของ
อาจารย์ผู้ สอบ วิท ยานิ พ นธ์ท้ั ง
อาจารย์ประจาและอาจารย์จาก
ภ าย น อ ก ส ถ าบั น มี คุ ณ ส ม บั ติ
เดียวกัน
หลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีปฏิบัตกิ ารจัดทารายงานการประเมินตนเอง ระดบั หลักสูตร ๕๒
ตวั บ่งชี้ ปญั หา แนวปฏบิ ัตงิ านท่ีดี
ผลงานวิจัยของนิสิตอาจมีการ - สาขาวิชา/บัณฑิตวิทยาลัยต้องมี
ตีพมิ พ์เหล่ือมปี ม า ต ร ก าร ผ ลั ก ดั น ให้ นิ สิ ต จ บ
การศึกษา
- ผลงานนบั ตามปีปฏิทิน
- สิ่งพิมพ์วิชาการซ่ึงอยู่ในรูปแบบ
เอกสารหรือส่ืออิเล็กทรอนิกส์ เช่น
รายงานวจิ ัยท่ีขอ ISDN สามารถนับ
ได้
- เอ ก ส าร วิ ช าก าร ต้ อ งมี peer
review สาขาวิชาเปน็ ผเู้ ก็บขอ้ มลู
ภ า ร ะ ง า น อ า จ า ร ย์ ที่ ป รึ ก ษ า - บณั ฑิตวิทยาลยั ได้นาเสนอขออนุมตั ิ
วทิ ยานิพนธ์และการค้นควา้ อสิ ระใน สภ ามหาวิท ยาลัย ใน กรณี ที่ มี
ระดั บ บั ณ ฑิ ตศึ กษ า มี สัดส่ วน สัดส่วนอาจารย์ต่อนิสิตมากกว่า
มากกว่าเกณฑ์ เกณฑ์ (คนที่ ๖ - ๑๐)
- นบั นิสิตค้างทอ่ ทง้ั หมด
- นับนิสิตของมหาวิทยาลัยอ่ืนด้วยท่ี
อาจารยเ์ ป็น Adviser
- เง่ือนไขให้สัดส่วนอาจารย์ ๑ รูป/
คนต่อนิสิต ๕ รูป/คน ถ้ามากกว่า
๕ รูป/คน แต่ไม่เกิน ๑๐ รูป/คน
ใ ห้ น า เส น อ ข อ อ นุ มั ติ ส ภ า
มหาวิทยาลัย ซ่ึงในกรณีท่ีสัดส่วน
อาจารย์ ๑ คน ต่อนิสิต ๑๐ คน คือ
อาจารย์ ต้องมีศักยภาพในการดูแล
นิสิต ดังนั้น คาว่า “ศักยภาพ”
อาจารย์ประจาต้องมีตาแหน่งทาง
วิชาการ (บณั ฑิตวิทยาลัย)
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และ - สาขาวิชาควรมีมาตรการผลักดัน
ก า ร ค้ น ค ว้ า อิ ส ร ะ ใ น ร ะ ดั บ หรือสนับสนุนให้อาจารย์ประจา
บัณ ฑิ ตศึกษ า มีผลงานวิจัยไม่ หลักสูตรมผี ลงานวจิ ยั ทีต่ ีพิมพ์
ตอ่ เนอ่ื งในรอบ ๕ ปี - ผ ล ง า น วิ จั ย ต้ อ ง ตี พิ ม พ์ ห รื อ
proceedings (รายงาน สืบ เนื่อง
ฉบับเต็มในการประชุมทางวิชาการ)
- ผลงานในรอบ ๕ ปี คือ นับผลงาน
ย้อน ๕ ปี โดยนับรวมปีท่ีประเมิน
เช่น รับการประเมินในปีการศึกษา
๒๕๕๗ ผลงานวิจัยในรอบ ๕ ปี
หลกั เกณฑ์และวธิ ีปฏิบตั กิ ารจัดทารายงานการประเมินตนเอง ระดับหลักสตู ร ๕๓
ตวั บ่งช้ี ปญั หา แนวปฏบิ ตั งิ านที่ดี
ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๕๓, ๒๕๕๔,
๒๕๕๕, ๒๕๕๖ และ ๒๕๕๗
สาขาวิชาเข้าใจว่าการปรับปรุง - สาหรับ การป รับ ป รุงหลั กสูต ร
ห ลั ก สู ต ร ต้ อ ง ป รั บ ป รุ ง ต า ม ร อ บ สามารถปรบั ปรงุ หลกั สตู รได้กอ่ นถึง
ระยะเวลาที่กาหนดเท่านั้น รอบระยะเวลาที่กาหนด
- ถ้าคณะวิชามีหลักสูตรการศึกษา
พ.ศ. ๒๕๕๔ ควรเร่งดาเนินการ
แต่งตั้งกรรมก ารท บ ท วน แล ะ
ป รับ ป รุงหลักสูตรภ ายใน ภ าค
การศึกษา ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๗
(ปี พ .ศ . ๒ ๕ ๕ ๘ ) แ ล ะ เริ่ ม ใช้
หลกั สูตรใหมใ่ นปี พ.ศ. ๒๕๕๘
ตัวชี้วัดท่ี ๒.๑ คุณภาพ คณะวิชาไม่ชัดเจนในปีท่ีสารวจ - ส า รวจ จ าน ว น บั ณ ฑิ ต ที่ ส าเร็จ
บั ณ ฑิ ต ต า ม ก ร อ บ ขอ้ มลู การศึกษา
ม า ต ร ฐ า น คุ ณ วุ ฒิ - การสารวจข้อมูลต้องไม่น้อยกว่า
ร ะ ดั บ อุ ด ม ศึ ก ษ า ร้อยละ ๒๐ ของจานวนบัณฑิตท่ีสาเร็จ
แหง่ ชาติ การศกึ ษา โดยสารวจขอ้ มลู เป็นรายหลักสตู ร
- ระ ดั บ ป ริญ ญ าโท /เอ ก บั ณ ฑิ ต
วิทยาลยั เปน็ ผู้สารวจข้อมูล
ในกรณี หลักสูตรปรับปรุงที่ยังไม่
ครบรอบ สถาบันอุดมศึกษาต้องประเมินตัว
บ่งช้ี 2.1 ด้วย “แม้ว่าหลักสูตรน้ันจะยังไม่
ครบรอบการปรับปรุงก็ตาม โดยนาผลการ
ดาเนินงานของหลักสูตรในรอบท่ีผ่านมาใช้
ประกอบการประเมนิ
• กรณีบัณฑิตที่มีอาชีพอิสระ ไม่ต้อง
เอามานับในการประเมินความพึงพอใจของ
ผู้ ใช้ บั ณ ฑิ ต ใน ก รณี บั ณ ฑิ ต ห ลั ก สู ต ร
นานาชาติ เป็นนิสิตต่างชาติประมาณ 90%
การประเมินบัณฑิต อาจไม่ถึงร้อยละ 20
เนื่ อ ง จ า ก เดิ น ท า ง ก ลั บ ป ร ะ เท ศ ไ ป แ ล้ ว
สามารถอนุโลมให้ใช้บัณฑิตท่ี เป็นนิสิตชาว
ไทยเป็นฐานในการคิด เช่น มีนิสิตต่างชาติ
90 คน มีนิสิตไทย 10 คน ให้ประเมินโดย
คิดจากนสิ ติ ไทยจานวน 100
หลกั เกณฑ์และวิธีปฏบิ ตั ิการจัดทารายงานการประเมินตนเอง ระดบั หลักสูตร ๕๔
ตวั บ่งชี้ ปญั หา แนวปฏบิ ัติงานที่ดี
การนับจานวนผลงานที่มกี ารตีพิมพ์ - จานวนผลงานของนิสติ ใหน้ บั ปปี ฏิทนิ
เผ ย แ พ ร่ แ ล ะจ าน วน ผู้ ส าเร็จ - จานวนผู้สาเรจ็ การศึกษาใหน้ ับปกี ารศกึ ษา
การศึกษา - ผลงานของนิสิตท่ีมีอาจารย์ร่วมด้วย
สามารถนามานับในตัวบ่งช้ีนี้ และนับในตัว
บ่งชี้ท่ี ๔.๒ ขอ้ ๓
- กรณี ท่ีไม่มีผู้สาเร็จการศึกษาไม่นามา
พจิ ารณาในตัวบง่ ชน้ี ี้
ผลงานวิจัยท่ีมีชื่อนิสิตและอาจารย์ร่วมกัน
และนับในตัวบ่งช้ีนี้แล้วสามารถนาไปนับใน
ตวั บ่งชีผ้ ลงานทางวิชาการของอาจารย์
ผลงานของนิสิตและผู้สาเร็จการศึกษาให้นับ
ผลงานทุกช้ินท่ีมีการตีพิมพ์เผยแพร่ในปีการ
ประเมนิ นัน้ ๆ ในกรณที ี่ไมม่ ีผสู้ าเร็จการศกึ ษา
ไม่พิจารณาตัวบง่ ชี้นี้
การนับจานวนผลงานวิจัยและ จานวนผลงานวิจยั ให้นบั ปฏทิ นิ
จานวนผ้สู าเรจ็ การศกึ ษา - จานวนผสู้ าเรจ็ การศกึ ษาให้นับปีการศกึ ษา
- ผลงานของนิสิตที่มีอาจารย์ร่วมด้วย
สามารถนามานับในตัวบ่งช้ีน้ีและตัวบ่งช้ีที่
๔.๒ ข้อ ๓ และ ๔.๒ ข้อ ๔ (กรณีระดับ
ปรญิ ญาเอก)
• การนับการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานของนิสิต
และผู้สาเร็จการศึกษา นับ ณ วันท่ีได้รับการ
ตี พิ ม พ์ ผ ล ง า น ใน ว า ร ส า ร ร ะ ดั บ ช า ติ ห รื อ
นานาชาติ มิได้นับจากวันที่ได้รับการตอบรับ
(Accepted)
• กรณี วารสารท างวิช าก ารท่ี ไม่ อยู่ ใน
ฐานข้อมูลตามประกาศ ก.พ.อ. /ระเบียบ
คณ ะกรรมการการอุดมศึกษา ว่าด้วย
หลักเกณฑ์การพิจารณาวาสารทางวิชาการ
สาหรบั การเผยแพร่ ผลงานทางวิชาการ พ.ศ.
2556 แตส่ ภาสถาบันอุดมศึกษาไดพ้ ิจารณา
และใหค้ วามเห็นชอบแล้ว สถาบนั อดุ มศกึ ษา
ต้ อ ง แ จ้ ง ให้ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร อุ ด ม ศึ ก ษ า
รับทราบด้วย จึงจะสามารถนับผลงานท่ี
ตีพิมพ์ในวารสารดังกล่าวได้ ท้ังนี้ ประกาศ
ฉบับดังกล่าวสามารถนามาใช้ได้ถึงวันท่ี 20
ตุลาคม 2559 และใช้ได้เป็นการเฉพาะ
สถาบันเทา่ น้นั
หลักเกณฑ์และวิธปี ฏบิ ตั กิ ารจัดทารายงานการประเมินตนเอง ระดบั หลักสตู ร ๕๕
ตัวบง่ ช้ี ปญั หา แนวปฏิบตั งิ านท่ีดี
• การส่งบทความเพ่ือพิจารณาคัดเลือกให้
นาเสนอในการประชุมวิชาการต้องส่งเป็น
ฉบับสมบูรณ์ (Full Paper) และเม่ือได้รับ
การตอบรับและตีพิมพ์แล้ว การตีพิมพ์ต้อง
ตีพิมพ์เป็นฉบับสมบูรณ์ซ่ึงสามารถอยู่ใน
รูปแบบเอกสาร หรอื สอื่ อเิ ลก็ ทรอนกิ สไ์ ด้
• ผลงานสร้างสรรค์ทุกช้ินต้องผ่านการ
พิจารณาจากคณะกรรมการท่ีมีองค์ประกอบ
ไม่น้อยกว่า ๓ คน โดยมีบุคคลภายนอก
สถาบนั ร่วมพิจารณาดว้ ย
๒.๒ การได้งานทาหรือ - (ปริญ ญ าตรี) ร้อยละของของบัณ ฑิ ต
ผลงานวิจัยของผู้สาเร็จ บรรพชิตปริญญาตรีท่ีปฏิบัติหน้าที่สนองงาน
การศกึ ษา คณะสงฆ์และบัณฑิตคฤหัสถ์ปริญญาตรีท่ีได้
งานทาหรอื ประกอบอาชพี อสิ ระภายใน ๑ ปี
- (ปริญญาโท) ผลงานของนิสิตและผู้สาเร็จ
การศึกษาในระดับปริญญาโทท่ีได้รับการ
ตพี ิมพ์หรือเผยแพร่
- (ปริญญาเอก) ผลงานของนิสิตและผู้สาเร็จ
การศึกษาในระดับปริญญาเอกท่ีได้รับการ
ตีพิมพ์หรอื เผยแพร่
• กรณีหลักสูตรใหม่ ไม่ต้องประเมินตัวบ่งช้ีท่ี
2.1 แ ล ะ 2.2 เน่ื อ งจ า ก ไม่ มี ผู้ ส า เร็ จ
การศึกษา สาหรับหลักสูตรปรับปรุงท่ีมีนิสิต
เรียนอยู่ ต้องประเมินตัวบ่งชี้ท่ี 2.1 และ
2.2 ดว้ ย เน่ืองจากมผี ู้สาเรจ็ การศกึ ษาแล้ว
๒.๓ บัณฑิตปริญญาตรีมี - จดั การเรยี นการสอนพิเศษ เพือ่ ให้นิสิตมีผล
คุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึง การสอบผ่านภาษาอังกฤษและเทคโนโลยี
ป ร ะ ส ง ค์ ส อ บ ผ่ า น สารสนเทศ ตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกาหนด
ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ แ ล ะ
เท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เท ศ
ต า ม เ ก ณ ฑ์ ท่ี
มหาวทิ ยาลยั กาหนด
๓.๑ การรบั นิสติ - การรับนิสติ
- การเตรียมความพร้อมกอ่ นเข้าศกึ ษา
๓.๒ การสง่ เสริมและ การเขียนบรรยายผลการดาเนินงาน - การอธิบายกระบวนการ PDCA ให้อธิบาย
พฒั นานิสติ และการให้คะแนนประเมิน เกี่ยวกบั
- การควบคุมการดูแลให้คาปรึกษาวิชาการ
หลกั เกณฑแ์ ละวิธปี ฏบิ ตั ิการจัดทารายงานการประเมินตนเอง ระดบั หลักสูตร ๕๖
ตัวบง่ ช้ี ปัญหา แนวปฏิบตั ิงานท่ีดี
และแนะแนวแก่นสิ ติ ปริญญาตรี
- ก า ร ค ว บ คุ ม ดู แ ล ก า ร ให้ ค า ป รึ ก ษ า
วิทยานพิ นธแ์ กบ่ ัณฑิตศกึ ษา
- การพัฒนาศักยภาพนิสิตและการเสรมิ สร้าง
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ลักษณะ
ภาพรวม โดย Peer Review จะพิจารณา
คะแนนการประเมินในภาพรวมของผลการ
ดาเนินงาน PDCA
๓.๓ ผลทเ่ี กดิ กับนิสิต การเขยี นบรรยายผลการดาเนินงาน - การอธิบายกระบวนการ PDCA ให้อธิบาย
และการให้คะแนนประเมิน เกี่ยวกับ
- การคงอยู่
- การสาเร็จการศึกษา (แสดงข้อมูลย้อนหลัง
๓ ปี)
- ความพึ งพ อใจและผลการจัดการข้อ
ร้องเรียนของนิสิตลักษณะภาพรวมโดย Peer
Review จะพิจารณาคะแนนการประเมินใน
ภาพรวมของผลการดาเนนิ งาน PDCA
๔ .๑ การบ ริหารและ การเขียนบรรยายผลการดาเนินงาน - การอธิบายกระบวนการ PDCA ให้อธิบาย
พัฒนาอาจารย์ และการใหค้ ะแนนประเมิน เกยี่ วกับ
- ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ประจา
หลกั สตู ร
- ระบบการบรหิ ารอาจารย์
- ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์
ลักษณะภาพรวม โดย Peer Review จะ
พิจารณาคะแนนการประเมินในภาพรวมของ
ผลการดาเนนิ งาน PDCA
• ก ารบ ริห ารแ ล ะก ารพั ฒ น าอาจ ารย์
ให้หมายถึง อาจารยป์ ระจาหลกั สตู รเทา่ นั้น
• กรณีผลงานวิจัยท่ีหน่วยงานหรือองค์กร
ระดับชาติว่าจ้างให้ดาเนินการ ให้ดูจาก
รายชือ่ ผู้วิจัยท่ีปรากฏในสญั ญาวา่ จ้าง
• พิจารณาจากผลงานของอาจารย์ประจา
หลักสูตรที่มีรายชื่อ ณ วันสิ้นสุดปีการศึกษา
นั้นๆ โดยไม่ต้องนาระยะเวลาในการประจา
หลกั สตู รมาพิจารณา
• กรณีอาจารย์ประจาหลักสูตรปริญญาโท
และป ริญ ญ าเอก ท่ี ใช้อาจารย์ป ร ะจา
หลักเกณฑ์และวิธีปฏบิ ัตกิ ารจัดทารายงานการประเมินตนเอง ระดบั หลักสตู ร ๕๗
ตวั บ่งชี้ ปัญหา แนวปฏบิ ตั ิงานที่ดี
๔.๒ คณุ ภาพอาจารย์
หลักสูตรชุดเดียวกัน การนับผลงานวิชาการ
สามารถนบั ได้ทง้ั 2 หลักสูตร
• กรณีผลงานทางวิชาการของอาจารยป์ ระจา
ที่อยูค่ นละคณะ/สถาบนั ให้พจิ ารณาดังน้ี
- ในระดับหลักสูตรให้นับเป็นผลงานของ
อ า จ า ร ย์ ป ร ะ จ า ห ลั ก สู ต ร ต า ม ท่ี ท า ห น้ า ที่
อาจารย์ประจาหลักสูตร
- ในระดับคณ ะ ให้นั บเป็นผลงานของ
อาจารย์ประจาสังกดั คณะนั้นระดบั สถาบันให้
นับเป็นผลงานเดียว แต่ถ้าอยู่คนละสถาบันก็
นับตามสถาบนั ที่สังกัดของทกุ คน
การพิจารณาคะแนนประเมิน จานวนอาจารยป์ ระจานบั ตามปกี ารศึกษา
- พิจารณาอาจารยป์ ระจาหลักสตู ร ๕ คน
- ประเด็นย่อยในการพิจารณาตัวบ่งช้ีมี ๔
ประเด็นๆ ละ ๕ คะแนน (ข้อละ ๑.๒๕)
กรณีที่ไม่มีหลักสูตรปริญญาเอกไม่ต้องนาข้อ
๔ มาพิจารณาให้พจิ ารณา ๓ ข้อ คะแนนเต็ม
๕ (ข้อละ ๑.๖๖ คะแนน)
- การนับจานวนอาจารย์ประจา ให้นับ
ระยะเวลาการทางานสาหรับอาจารย์ที่บรรจุ
ใหม่ในปีท่ีประเมิน ดังนี้ ๙ - ๑๒ เดือน
คิดเป็น ๑ คน ๖ เดือนขึ้นไปแต่ไม่ถึง ๙
เดือน คิดเป็น ๐.๕ คน น้อยกว่า ๖ เดือน
ไม่สามารถนามานบั ได้
การนับจานวนอาจารย์ประจาท่ีมี งานบุคคลเป็นผู้เก็บข้อมูลโดยสาขาวิชา
คุณวุฒิปริญญาเอกไม่ตรงกับงาน สามารถตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลกับ
บุคคล งานบคุ คล คณุ วฒุ ปิ ริญญาเอก พิจารณาจาก
ระดับคุณ วุฒิ ท่ีได้รับหรือเทียบเท่าตาม
ห ลั ก เก ณ ฑ์ ก าร พิ จ ารณ าคุ ณ วุฒิ ข อ ง
กระทรวงศึกษาธิการ กรณีที่มีการปรับวุฒิ
การศึกษาให้มีหลักฐานการสาเร็จการศึกษา
ภายในรอบปีการศึกษานั้น จานวนอาจารย์
ประจานับปีการศึกษา พิจารณาอาจารย์
ประจาหลกั สตู ร ๕ คน
การนับจานวนอาจารย์ประจาท่ีมี (๑) งานบุคคลเป็นผู้เก็บข้อมูล โดยสาขาวิชา
ตาแหน่งทางวิชาการไม่ตรงกับงาน สามารถตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลกับ
บคุ คล งานบุคคล (๒) การนับตาแหน่งทางวิชาการ
หลักเกณฑแ์ ละวธิ ีปฏิบตั กิ ารจัดทารายงานการประเมนิ ตนเอง ระดับหลักสตู ร ๕๘
ตวั บง่ ชี้ ปัญหา แนวปฏิบตั ิงานท่ีดี
ให้นับตาแหน่งที่ได้รับอนุมัติล่าสุด ในรอบปี
การประเมิน (ตาแหน่ง รศ. และ ผศ. สภา
มหาวิทยาลัยฯ เป็นผู้อนุมัติ /ศ. ต้องได้รับ
การโปรดเกล้าฯ) (๓) จานวนอาจารย์ประจา
นับปีการศึกษา (๔) พิจารณาอาจารย์ประจา
หลักสูตร ๕ คน
การนับผลงานทางวิชาการ (๑) จานวนผลงานทางวิชาการของอาจารย์
นบั ปปี ฏิทิน (๒) จานวนอาจารย์ประจา นับปี
การศึกษา (๓) พิจารณาอาจารย์ประจา
หลักสตู ร ๕ คน (๔) กรณีอาจารยป์ ระจาที่อยู่
หลักสูตรเดียวกัน หรืออยู่ต่างหลักสูตร ถ้ามี
การทาผลงานร่วมกัน สามารถนับแยกได้แต่
ในระดบั คณะวิชาจะนบั ไดห้ นงึ่ เท่านั้น
การนับจานวนบทความที่ได้รับการ - จานวนผลงานทางวิชาการของอาจารย์นับ
อา้ งองิ ของอาจารย์ ปปี ฏทิ นิ
- จานวนอาจารย์ประจานับตามปีการศึกษา
- พิจารณาอาจารย์ประจาหลักสูตร ๕ คน
- การอ้างอิงบทความของอาจารย์ (citation)
เชน่ การ citation ของตวั เอง/บุคคลใดก็ได้ที่
นาไปอ้างอิง/การอ้างอิงงานวิทยานิพนธ์ของ
นิสิตเหล่าน้ีสามารถนับได้โดยต้องได้รับการ
อา้ งองิ ในฐานขอ้ มลู TCI และ Scopus
- การ citation มากกว่า ๑ ครั้ง ให้นับ ๑
เทา่ น้ัน
๔.๓ ผลทีเ่ กดิ กบั อาจารย์ การเขียนบรรยายผลการดาเนินงาน การอธิบายกระบวนการ PDCA ให้อธิบาย
และการใหค้ ะแนนประเมนิ เกีย่ วกบั
- การคงอย่ขู องอาจารย์
- ความพึ งพ อใจของอาจารย์ ลักษ ณ ะ
ภาพรวม โดย Peer Review จะพิจารณา
คะแนนการประเมินในภาพรวมของผลการ
ดาเนนิ งาน PDCA
- ความพึงพอใจของอาจารย์
๑) ประเมินด้านการบรหิ ารหลักสตู ร
๒) ประเมนิ ดา้ นการสอนของตนเอง
๓) ประเมินส่ิงสนบั สนุนการเรียนรู้
• ในการพิจารณาประเด็นความพึงพอใจของ
อาจารย์ ให้พิจารณาความพึงพอใจของ
หลกั เกณฑแ์ ละวิธีปฏิบตั ิการจัดทารายงานการประเมินตนเอง ระดับหลักสูตร ๕๙
ตัวบง่ ชี้ ปัญหา แนวปฏิบตั งิ านที่ดี
อาจารย์ประจาหลักสูตรท้ัง 5 คน ที่ได้ทา
หน้าท่ีประจาหลักสูตร เป็นการประเมนิ ความ
พึงพอใจของอาจารย์ประจาหลักสูตรต่อ
กระบวนการท่ีได้ดาเนินการให้กับอาจารย์
ตามกิจกรรมต่างๆ ในตัวบ่งชี้ท่ี 4.1 อัตรา
การคงอยู่ของอาจารย์ให้พิจารณาจากรายช่ือ
อ า จ า ร ย์ ป ร ะ จ า ห ลั ก สู ต ร ว่ า มี ก า ร
เปล่ียนแปลงในแต่ละปี ต้ังแต่หลักสูตรใหม่/
ปรับปรุงที่ได้รับการอนุมัติ/เห็นชอบจากสภา
มหาวทิ ยาลัยให้เปดิ ดาเนนิ การ
๕.๑ สาระของรายวิชา ก า ร เขี ย น บ ร ร ย า ย ผ ล ก า ร ให้อธิบายกระบวนการ PDCA เกี่ยวกับ
ในหลกั สตู ร ดาเนินงาน และการให้คะแนน - การออกแบบหลักสูตรและสาระรายวิชาใน
ประเมนิ หลกั สตู ร
การตีความกรณี หลักสูตรมี - การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตาม
ความทันสมัยและสอดคล้องกับ ความก้าวหน้าในศาสตร์สาขาน้ันๆ ลักษณะ
ความต้องการของตลาดแรงงาน ภาพรวมโดย Peer Review จะพิจารณา
หรือไม่ ควรดูที่เนื้อหาสาระรายวิชา คะแนนการประเมินในภาพรวมของผลการ
ท่ีเปิดสอนว่าทันสมัย เหมาะสมกับ ดาเนินงาน PDCA
ความเปลีย่ นแปลงของโลกหรอื ไม่
๕.๒ การวางระบบผู้สอน ก า ร เขี ย น บ ร ร ย า ย ผ ล ก า ร การอธิบายกระบวนการ PDCA ให้อธิบายใน
และกระบวนการจัดการ ดาเนินงาน และการให้คะแนน ประเด็นท่ีเก่ียวข้องในลักษณะภาพรวม โดย
เรียนการสอน ประเมนิ Peer Review จะพิ จารณ าค ะแน น ก าร
ประเด็นการบูรณาการกับการ ประเมินในภาพรวมของผลการดาเนินงาน
บ ริ ก า ร วิ ช า ก า ร ท า งสั ง ค ม ไม่ PDCA
จาเป็นต้องเป็นโครงการเดียวกับท่ี - การกากบั ติดตาม และตรวจสอบการจัดทา
อยู่ในแผนบริการทางวิชาการของ มคอ. ๓ และ มคอ. ๔ (นวัตกรรมการสอน
ส ถ า บั น อุ ด ม ศึ ก ษ า แ ต่ ให้ ดู แบบใหม่)
เจตนารมณ์ว่าเกิดผลการเรียนรู้ - การจัดการเรียนการสอนท่ีมีการฝึกปฏิบัติ
ในระดับปริญญาตรี เป็นการฝึกสหกิจ แหล่ง
บรรลุตามเป้าหมายหรือไม่
ฝกึ งาน
- การช่วยเหลือ กากับ ติดตาม ในการทา
วิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระและการ
ตีพิมพ์ผลงานในระดับบัณฑิตศึกษา (บัณฑิต
วิทยาลัย)
การเขี ยน บ รรยาย ผล การ การอธิบายกระบวนการ PDCA ให้อธิบายใน
ดาเนินงาน และการให้คะแนน ประเด็นท่ีเกี่ยวข้องในลักษณะภาพรวม โดย
ประเมิน Peer Review จะพิ จารณ าค ะแน น ก าร
หลักเกณฑแ์ ละวธิ ีปฏิบตั กิ ารจัดทารายงานการประเมนิ ตนเอง ระดับหลักสูตร ๖๐
ตัวบง่ ช้ี ปัญหา แนวปฏบิ ตั ิงานที่ดี
ประเมินในภาพรวมของผลการดาเนินงาน
PDCA
๕.๓ การประเมนิ ผเู้ รยี น ข า ด ก า ร ก า กั บ ติ ด ต า ม - การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบ
ตรวจสอบและประเมินผลตาม มาตรฐานคุณวุฒิแหง่ ชาติ
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ - การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้
ของนสิ ติ
- การกากับการประเมินการจัดการเรียนการ
สอนและประเมินหลักสูตร (มคอ.๕ มคอ.๖
และ มคอ.๗)
- การประเมินวิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์ใน
ระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา
๕.๔ ผลการดาเนินงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา ผลการดาเนินงานตามตัวบ่งช้ีตามกรอบ
ตาม ก รอบ ม าต รฐาน ได้มีประกาศคณะกรรมการการ มาตรฐานคุณวฒุ ริ ะดบั อุดมศกึ ษาแหง่ ชาติ
คุณวุฒิระดับอุดมศึกษา อุดมศึกษ า เรื่อง แนวทางการ
แหง่ ชาติ ปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (ฉบับท่ี
3) พ .ศ .2558 ล ง วั น ที่ 26
พฤศจิกายน 2558 ได้กาหนดแนว
ทางการปฏิบัติตามกรอบมาตรฐาน
คุ ณ วุ ฒิ ร ะ ดั บ อุ ด ม ศึ ก ษ า แ ห่ งช า ติ
เพม่ิ เติมไว้]
ข้ อ 2 ร ะ บุ ว่ า “ ก ร ณี ท่ี
ส ถ า บั น อุ ด ม ศึ ก ษ า จ ะ จั ด ท า
ร า ย ล ะ เอี ย ด ข อ ง ร า ย วิ ช า
ร า ย ล ะ เอี ย ด ข อ ง ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์
ภาคสนาม (ถ้ามี) รายงานผลการ
ดาเนินงานของรายวิชา รายงานผล
การดาเนินการของประสบการณ์
ภาคสนาม (ถ้ามี) และรายงานผล
การ ดาเนินงานของหลักสูตรใน
ลกั ษณะอน่ื
ส ถ า บั น อุ ด ม ศึ ก ษ า ส า ม า ร ถ
ดาเนินการจัดทาระบบละเอียดตาม
แนวทางของ มคอ. 3, มคอ. 4,
มคอ. 5 มคอ. 6 และ มคอ.7 โดย
ส า ม า ร ถ ป รั บ เป ลี่ ย น หั ว ข้ อ
รายละเอียดให้เหมาะสมกับบริบท
หลกั เกณฑแ์ ละวิธีปฏิบตั กิ ารจัดทารายงานการประเมินตนเอง ระดบั หลักสตู ร ๖๑
ตวั บ่งช้ี ปัญหา แนวปฏบิ ัตงิ านท่ีดี
เฉพาะของสถาบันอุดมศึกษานั้นๆ
ได้ท้ังน้ี ให้คานึงถึงเจตนารมณ์ของ
การจัดทา มคอ.3 มคอ.4 มคอ.5
มคอ.6 และ มคอ.7”
ข้อ 3 ระบุว่า “ให้ถือว่าตัว
บ่งชี้ผลการดาเนินงานตามกรอบ
มาตรฐานคุณวุฒิ จานวน 12 ตัว
บ่งช้ี เป็นเพียงแนวทางเท่าน้ัน โดย
สถาบันอุดมศึกษาสามารถกาหนด
ตัวบ่งช้ีผลการดาเนินงานตามกรอบ
มาตรฐานคุณวุฒิได้ แต่ละหลักสูตร
มอี สิ ระกาหนดตัวบง่ ชี้
ผลการดาเนินงานที่ใช้ในการ
ติดตาม ประเมิน และรายงาน
คุ ณ ภ า พ ข อ ง ห ลั ก สู ต ร ป ร ะ จ า ปี ท่ี
ระบุไว้ในหมวด 1 - 6 ของแต่ละ
ห ลั ก สู ต ร ต า ม บ ริ บ ท แ ล ะ
วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ใน ก า ร ผ ลิ ต บั ณ ฑิ ต
ทั้งนี้ ต้องได้รับความเห็นชอบหรือ
อนุมัติจากสภาสถาบันอุดมศึกษา
ในระหวา่ งที่สถาบันอุดมศึกษายังไม่
สามารถเสนอขอปรับตัวบ่งช้ีใหม่ได้
แล้วเสร็จ ให้ใช้ตัวบ่งชี้เดิมก่อน ได้
ห รื อ ห า ก ห ลั ก สู ต ร ใด มี ค ว า ม
ประสงค์กาหนดตัวบ่งช้ีแบบเดิมก็
สามารถกระทาได้ กรณีหลักสูตรมี
การปรับตัวบ่งช้ีใหม่ ให้นาเสนอ
สานั กงาน คณ ะกรรม การการ
อุดมศึกษารับทราบในการปรับปรุง
หลักสูตรครงั้ ต่อไป”
• ในประเด็นตัวบ่งช้ีผลการ
ด า เนิ น ง า น ต า ม TQF ข้ อ 8
อาจารย์ใหม่ (ถ้าม)ี ทกุ คนได้รับการ
ปฐมนิเทศหรือคาแนะนาด้านการ
จั ด ก า ร เรี ย น ก า ร ส อ น ค า ว่ า
“ อ า จ า ร ย์ ให ม่ ” ให้ ห ม า ย ถึ ง
อาจารย์ประจาหลักสูตรท่ีเพ่ิงย้าย
เข้ามาอยู่ในหลักสูตรใหม่ แม้ว่าจะ
หลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีปฏบิ ัติการจัดทารายงานการประเมนิ ตนเอง ระดับหลักสตู ร ๖๒
ตัวบง่ ชี้ ปัญหา แนวปฏบิ ัตงิ านที่ดี
เป็นอาจารย์เก่าท่ีมาจากหลักสูตร/
ภาควชิ าอนื่ ก็ถอื วา่ เปน็ อาจารย์ใหม่
• ในประเด็นตัวบ่งชี้ผลการ
ดาเนินงานตาม TQF ข้อ 11 ระดับ
ความพึงพอใจของนิสิตปีสุดท้าย/
บัณฑิตใหม่ท่ีมีต่อคุณภาพหลักสูตร
เฉล่ียไม่น้อยกว่า 3.5 จากคะแนน
เต็ม 5.0 กรณีหลักสูตรใหม่ท่ียังไม่
มีบัณฑิตไม่ต้องประเมินประเด็นนี้
แต่หากเป็นหลักสูตรปรับปรุง ต้อง
ประเมินประเด็นนี้ดว้ ย
๖.๑ สิ่งสนับสนุนการ - ระบบการดาเนินงานของวิทยาเขต/
เรยี นรู้ วิทยาลัยสงฆ์/หลักสูตร โดยการมีส่วนร่วม
ข อ ง อ า จ า ร ย์ ป ร ะ จ า ห ลั ก สู ต ร เพื่ อ ให้ มี สิ่ ง
สนบั สนุนการเรียนรู้
- จานวนส่ิงสนับสนุนการเรียนรู้ท่ีเพียงพอ
และเหมาะสมตอ่ การจดั การเรียนการสอน
- กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมิน
ความพึงพอใจของนิสิตและอาจารย์ต่อสิ่ง
สนบั สนุนการเรยี นรู้
องค์ประกอบที่ดีภายใต้กฎเกณฑ์การประเมินประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับ
หลักสูตรน้ัน เพื่อยกระดับให้การบริหารระดับหลักสูตรก้าวไปสู่ความเป็นเลิศ โดยอาจจัดทาเป็น
ตารางวเิ คราะห์ (สบุ รรณ เอ่ยี มวิจารณ์, ๒๕๖๑ : ๑๐๘) ดงั ตารางท่ี ๓.๗
ตารางที่ ๓.๗ การวิเคราะห์องค์ประกอบและหลักฐานอ้างอิงภายใต้เกณฑ์การประเมิน
ประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดับหลกั สูตร
ลาดับ องคป์ ระกอบ การวเิ คราะห์ หลกั ฐาน
อา้ งองิ
มี ไม่มี
๑ มวี ิธีปฏิบัติหรือขั้นตอนหรอื ไม่ √
๒ มีวิธีปฏิบัติหรือข้ันตอนปฏิบัติทีทาให้หลักสูตรประสบความสาเร็จหรือสู่ √
ความเปน็ เลศิ ตามเปา้ หมายอย่างไร
๓ มีการสรุปวิธีปฏิบตั หิ รือข้นั ตอนการปฏิบตั งิ านหรอื ไม่ √
๔ มีการสรปุ เป็นความรหู้ รือถอดประสบการณ์บันทึกเปน็ เอกสารหรอื ไม่ √
๕ มีการเผยแพรใ่ ห้หน่วยงานอ่นื นาไปใช้ประโยชน์ด้านใดบา้ ง √
หลกั เกณฑ์และวธิ ีปฏิบัติการจัดทารายงานการประเมินตนเอง ระดบั หลักสูตร ๖๓
จากการแสดงตัวบ่งชี้ วิธีปฏิบัติงาน เพ่ือการแก้ไขปัญหาในองค์ประกอบทั้ง ๖ ตามตัว
บ่งชี้การประเมินคุณภาพภายใน ระดับหลักสูตรของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
มีหลักเกณฑ์และการปฏิบัติงาน ซ่ึงเป็นระบบและกลไกการทางานให้เป็นไปตามระบบ PDCA
มปี รากฏแลว้ ดงั รายละเอียดในบทที่ ๓
๓.๔ ยทุ ธศาสตรก์ ารประกนั คุณภาพการศกึ ษา
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ได้จัดทาแผนยุทธศาสตร์การประกันคุณภาพ
การศึกษามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๕๗ - ๒๕๖๑ โดยกาหนดปรัชญาของ
งานประกันคุณภาพการศึกษาว่า “การประกันคุณภาพการศึกษาคือเครื่องมือพัฒนามหาวิทยาลัย”
มีวิสัยทัศน์ว่า “มุ่งยกระดับคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัย สู่มาตรฐานคุณภาพระดับนานาชาติ”
และพันธกิจของงานประกันคุณภาพการศึกษากาหนดไว้ ๓ ประการ ได้แก่ (๑) ควบคุมคุณภาพ
การศึกษา (๒) ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา (๓) ประเมินคุณภาพการศึกษา (คณะกรรมการจัดทา
แผนยุทธศาสตร์การประกันคุณภาพการศึกษามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๖ :
๒๓) ดังนั้น เพ่ือให้งานประกันคุณภาพการศึกษาบรรลุผลสาเร็จตามปรัชญา วิสัยทัศน์ และพันธกิจ
จงึ ไดก้ าหนดยทุ ธศาสตร์และกลยทุ ธ์ ดังน้ี
ยุทธศาสตร์ท่ี ๑ พัฒนาระบบการควบคุมคุณภาพการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ
ประกอบด้วย ๔ กลยุทธ์ คือ (๑) พัฒนาระบบบริหารงานประกันคุณภาพการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ
(๒) พัฒนาเกณฑ์และตัวบ่งชี้ประกันคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับเกณฑ์การประเมินและ
เหมาะสมกับเอกลักษณ์และอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย (๓) ส่งเสริมและสนับสนุนให้ทุกส่วนงาน
จัดทาแผนพัฒนาคุณภาพ (Improvement Plan) ให้มีประสิทธิภาพและครบวงจร และ (๔) พัฒนา
กจิ กรรมการประกันคณุ ภาพการศึกษากับมหาวิทยาลัยในเครอื ขา่ ยให้มีความหลากหลายเป็นรูปธรรม
อย่างตอ่ เนื่อง
ยุทธศาสตร์ที่ ๒ พัฒนาระบบตรวจสอบคุณภาพการศึกษาให้ได้คุณภาพตามเกณฑ์
มาตรฐาน ประกอบด้วย ๓ กลยุทธ์ คือ (๑) พัฒนาการจัดทารายงานการประเมินตนเองของทุกส่วน
งานให้มีประสิทธิภาพ (๒) พัฒนากรรมการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายในให้มีประสิทธิภาพ
และมีจานวนท่ีเพียงพอและ (๓) ส่งเสริมและสนบั สนนุ ให้เกดิ วฒั นธรรมคณุ ภาพท่วั ทงั้ มหาวทิ ยาลัย
ยุทธศาสตร์ที่ ๓ พัฒนาระบบการประเมินคุณภาพการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ
ประกอบด้วย ๒ กลยุทธ์ คือ (๑) พัฒนาโปรแกรมการประกันคุณภาพการศึกษาภายในให้มี
ประสิทธิภาพและเชื่อมโยงกับระบบเครือข่ายภายนอก และ (๒) การตรวจสอบและและประเมินผล
ส่วนงานจัดการศึกษาและส่วนงานสนับสนุนให้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง (คณะกรรมการจัดทา
แผนยุทธศาสตร์การประกันคุณภาพการศึกษามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๖ :
๑๗ – ๑๘, ๒๔ – ๓๔)
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ด า เนิ น ง า น ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง ม ห า วิ ท ย า ลั ย ได้ ติ ด ต า ม
ประเมนิ ผลแผนตามยุทธศาสตร์ เป้าหมาย และตัวช้วี ดั ท่ีกาหนดไว้ในแผน เพอ่ื นาเสนอคณะกรรมการ
อานวยการประกันคุณภาพการศึกษาและสภามหาวิทยาลัยทบทวน/ปรับปรุงกลยุทธ์ให้เหมาะสม
หลกั เกณฑ์และวิธีปฏบิ ตั กิ ารจัดทารายงานการประเมินตนเอง ระดับหลักสูตร ๖๔
เม่ือสิ้นสุดแผนมีการประเมินแผนเพื่อนาไปสู่การวางแผนยุทธศาสตร์งานประกันคุณภาพการศึกษา
ดงั แผนภาพที่ ๓.๔
แผนภาพที่ ๓.๔ แสดงความสอดคล้องของแผนพัฒนามหาวทิ ยาลัย ระยะท่ี ๑๑ กับแผน
ยุทธศาสตร์การประกันคุณภาพการศึกษา (คณะกรรมการจัดทาแผนยุทธศาสตร์การประกันคุณภาพ
การศกึ ษามหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๖ : ๓๘)
ยุทธศาสตร์การประกันคุณภาพการศึกษา จึงเป็นกระบวนการวางแผน และกระบวนการ
จดั การของผรู้ ับผดิ ชอบการจัดการศึกษาท่ีจะรับประกันให้สังคมเช่ือมัน่ ว่า จะพัฒนาใหผ้ ู้เรียนเกิดการ
เรียนรู้ได้ครบถ้วนตามมาตรฐานคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา เพ่ือพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน
การศึกษาทกุ ระดับ
๓.๕ เอกสาร หนังสือ วิทยานิพนธ์ และงานวิจยั ท่เี ก่ียวข้อง
ผู้เขียนได้ศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับจัดทารายงานการประเมินตนเอง (Self-
Assessment Report : SAR) ท้งั ในประเทศและตา่ งประเทศ ดงั ตอ่ ไปน้ี
Kanji G.K., Abdul Malek B.A. และ Wallace T.&W. ได้วิจัยเร่ือง “การศึกษา
เปรียบเทียบการดาเนินงานด้านคุณภาพของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศ
มาเลเซีย” วตั ถุประสงค์เพ่ือ ๑) ตรวจสอบการดาเนินงานดา้ นคุณภาพของประเทศสหรัฐอเมริกาและ
ประเทศมาเลเซีย ๒) พัฒนาโมเดล TQM (Total Quality Management) ซงึ่ สง่ ผลต่อความสาเร็จใน
การดาเนินงานด้านคุณภาพของสถาบันอดุ มศึกษาต่างๆ การวิจัยในครั้งน้ีเป็นการวิจัยเชิงสารวจ และ
หลกั เกณฑแ์ ละวธิ ปี ฏบิ ัติการจัดทารายงานการประเมินตนเอง ระดับหลักสูตร ๖๕
เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู โดยการสง่ แบบสอบถามทางไปรษณยี ์ ผลการวิจัยพบว่า ประเทศสหรฐั อเมริกาและ
ประเทศมาเลเซียมีการดาเนินงานด้านคุณภาพท่ีแตกต่างกัน พอสรุปได้ดังน้ี ๑) สถาบันอุดมศึกษาใน
ประเทศสหรัฐอเมริกามีสัดส่วนการดาเนินงานด้านคุณภาพ โดยใช้ระบบ TQM ท่ีสูงกว่า
สถาบันอุดมศึกษาในประเทศมาเลเซีย (ร้อยละ ๗๐.๙ ในประเทศสหรัฐอเมริกา และร้อยละ ๕๐
ในประเทศมาเลเซีย) ๒) สถาบันอุดมศึกษาท้ังในประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศมาเลเซีย
ให้ความสาคัญในความคาดหวังของลูกค้าในระดับท่ีใกล้เคียงกัน โดยมีลักษณะคล้ายกับองค์กรธุรกิจ
(ร้อยละ ๖๘.๔ ในประเทศสหรัฐอเมริกา และร้อยละ ๖๗.๗ ในประเทศมาเลเซีย) ๓)
สถาบันอุดมศึกษาขนาดเล็กถึงระดับปานกลางส่วนใหญ่ สามารถดาเนินการโดยใช้ระบบ TQM
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (ร้อยละ ๗๓.๑ ในประเทศสหรัฐอเมริกา และร้อยละ ๖๙.๒ ในประเทศ
มาเลเซีย) เน่ืองจากมีความสะดวกในการบริหารจัดการท้ังองค์กร ๔) ในประเทศสหรัฐอเมริกามี
หน่วยงานท่ีทาหน้าที่ในการประเมินคุณภาพ และมีคณะกรรมการดาเนินงานด้านคุณภาพใน
สถาบันการศึกษาในสัดส่วนที่สูงกว่าในประเทศมาเลเซีย โดยพบว่า ในประเทศสหรัฐอเมริกา
สถาบันอุดมศึกษาที่มีการประเมินจากหน่วยงานภายนอกมีอยู่ประมาณร้อยละ ๔๑.๕ เมื่อ
เปรียบเทียบกับประเทศมาเลเซีย ซึ่งมีอยู่เพียงร้อยละ ๒๐.๗ ๕) สถาบันอุดมศึกษาในประเทศ
สหรัฐอเมริกา มีการใช้ตัวบ่งช้ีสมรรถนะการดาเนินงาน (performance indicators) มากกว่า
สถาบันอุดมศึกษาในประเทศมาเลเซีย (ร้อยละ ๖๙.๖ ในประเทศสหรัฐอเมริกา และร้อยละ ๔๖.๔
ในประเทศมาเลเซีย) อย่างไรก็ตาม การใช้ตวั บ่งชสี้ มรรถนะการดาเนินงานถูกวิจารณ์โดยนักวจิ ัยส่วน
ใหญ่ว่าเป็นเพียงระดับที่ชี้ให้เห็นคุณภาพว่าอยู่ระดับใด แต่อาจไม่ใช่ตัวบ่งชี้ท่ีวัดระดับคุณภาพที่
แท้จริง ๖) ในการพัฒนาโมเดล TQM พบว่ามีองค์ประกอบที่สาคัญอยู่ ๔๘ องค์ประกอบ ท่ีส่งผลต่อ
การดาเนินงานด้านคุณภาพโดยใช้ระบบ TQM (Kanji G.K., Abdul Malek B.A. and Wallance T. &
W., 1999 : 357)
Newton J. ได้วิจัยเรื่อง “การประเมินผลกระทบในการตรวจสอบคุณภาพภายนอกของ
สถาบันอุดมศึกษาในสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปี ค.ศ. ๑๙๙๓ – ๑๙๙๘” มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ประเมินผลกระทบจากการใช้รูปแบบของการตรวจสอบภายนอก การประเมินคุณภาพการจัดการ
เรียนการสอนและการตรวจสอบคุณภาพการดาเนินงานของสถาบัน ผลการวิจัยพบว่า การใช้ข้อมูล
เชิงปริมาณ (Quantitative) และเชิงคุณภาพ (Qualitative) ที่ได้จากการวัดการปฏิบัติหรือการ
ดาเนินงานโดยองค์กรภายนอก เช่น รายงานการตรวจสอบและการประเมินของ Scottish Higher
Education Funding Council (SHEFC) และ Higher Education Quality Council (HEQC) และ
การตรวจสอบและประเมินภายใน โดยคณะกรรมการตามการรับรู้และประสบการณ์ทาให้ทราบถึง
ผลกระทบที่เกิดข้ึน ดังน้ี (๑) วัตถุประสงค์ของระบบคุณภาพ และวิธีการท่ีใช้ในการตรวจสอบและ
ประเมิน ช้ีให้เห็นว่า ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา จาเป็นต้องมีการตรวจสอบและประเมินท้ัง
โดยภายในและภายนอก การตรวจสอบและประเมินสถาบันอดุ มศกึ ษาต่างๆ เป็นเร่ืองท่ีสามารถทาได้
(Accountability) (๒) การปรับปรุงคุณภาพสาหรับบุคลากร มีขอบเขตที่กว้าง ดังนั้น จึงไม่สามารถ
แยกสว่ นของการปรับปรุงใหเ้ ป็นอิสระออกจากระบบการประกนั คุณภาพได้ (๓) การปรับปรงุ คุณภาพ
สาหรบั นิสติ เป็นเร่ืองที่มีความสาคัญย่ิงกวา่ การปรับปรงุ และพัฒนาบคุ ลากรเนื่องจากเป็นผลผลิตของ
หลกั เกณฑ์และวธิ ีปฏิบัติการจัดทารายงานการประเมินตนเอง ระดับหลักสูตร ๖๖
สถาบนั (๔) ควรจะมกี ารเพิ่มหรอื ขยายการดาเนินงานด้านการประกนั คุณภาพออกไปอย่างกว้างขวาง
เพ่ือตอบสนองต่อความต้องการของหนว่ ยงานต่างๆ มากขึ้น (Newton, J. 1999 : 215)
ธวัชชัย ศุภดิษฐ์ ทาวิจัยเร่ือง “การพฒั นาแนวปฏิบัติเพ่ือให้เกิดผลสัมฤทธ์ิในการประกัน
คณุ ภาพการศึกษา สถาบันบัณฑิตพัฒนบรหิ ารศาสตร์” ผลการวิจัยพบว่า ผู้ปฏิบัติงานยังขาดความรู้
ความเข้าใจในการจัดทาแผนการจัดการความรู้ทส่ี อดคล้องกบั แผนกลยุทธ์ของสถาบัน โดยครอบคลุม
พันธกิจด้านการผลิตบัณฑิตและการวิจัย ตัวบ่งช้ีในการประกันคุณภาพการศึกษาภายในบางตัวไม่
เหมาะสมกับการดาเนินงานของคณะหรือการดาเนินงานของสถาบัน ทัศนคติของบุคลากรมองว่าการ
ใช้งานระบบสารสนเทศที่ให้ข้อมูลสนับสนุนการประกันคุณภาพการศึกษาภายในทั้ง 9 องค์ประกอบ
นัน้ เป็นภาระงาน และไม่ให้ความสาคญั ผู้ปฏิบัตงิ านขาดความรู้ความเข้าใจในการจดั ทาแนวปฏิบตั ิท่ีดี
หรือการวิจัยด้านการประกันคุณภาพการศึกษาที่หน่วยงานพัฒนาข้ึน ซึ่งแนวปฏิบัติที่ดีอาจต้องใช้
ระยะเวลาในการดาเนินงาน เพื่อใหเ้ ห็นถึงขอ้ ดีข้อเสีย และนาไปปรับปรงุ อย่างต่อเนื่อง และหนว่ ยงาน
ควรสร้างทีมงานที่สามารถพัฒนางานวิจัยด้านการประกันคุณภาพ โดยให้มีอาจารย์ร่วมเป็นส่วนหน่ึง
ในทีมงาน เพื่อเปิดให้บุคลากรปรึกษาและทาความเข้าใจด้านการวิจัย (ธวัชชัย ศุภดิษฐ์, 2557 :
บทคัดยอ่ )
ลักขณา จาตกานนท์ และคณะ ได้ศึกษาเร่ือง “การพัฒนาการบริหารงานประกัน
คุณภาพคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ” โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมด้านการประกันคุณภาพของบุคลากร และเพื่อพัฒนาการ
บริหารงานประกันคุณภาพของคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ และจากผลการศึกษาพบว่า ปัญหา
และอุปสรรคในการประกันคุณภาพ คือต้องการให้มีการพัฒนาบริหารงานประกันคุณภาพโดย
ปรับปรุงวิธีบริหารจัดการงานท่ีทาให้ผู้ร่วมงานมีส่วนร่วมในการประกันคุณภาพท่ีมีหลายเกณฑ์
มาตรฐาน ไม่เกิดปัญหาในการปฏิบัติงาน ลดภาระงานเอกสารด้วยระบบสารสนเทศ หากเกิดปัญหา
การเปล่ียนบุคลากรก็สามารถจัดเก็บข้อมูลการรายงานผลการดาเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ และ
จากผลการสัมภาษณ์ผู้เช่ียวชาญ พบว่าปัญหาที่สาคัญที่สุดของการพัฒนาการบริหารงานประกัน
คุณภาพ คอื ต้องสร้างความเขา้ รู้ความเขา้ ใจแก่บุคลากรทุกรระดับให้เห็นความสาคญั เกิดความร่วมมือ
ประสานการทางานด้วยระบบ PDCA การจัดการความรู้ การเสริมแรงจูงใจและการยกย่องชมเชยจะ
ช่วยเพิ่มสมรรถนะในการปฏิบัติงาน หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องควรวางแผนในการดาเนิน หาวิธีเก็บ
รวบรวมข้อมูลด้วยระบบสารสนเทศ ข้อมูล ที่อยู่ในส่วนกลางต้องส่งให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ไม่
เปล่ียนแบบเก็บข้อมูลบ่อยๆ ไม่ขอข้อมูลซ้าซ้อนก็จะทาให้เกิดการพัฒนา การบริหารงานประกัน
คณุ ภาพแบบมีสว่ นรว่ ม (ลักขณา จาตกานนท์ และคณะ, ๒๕๕๔ : บทคดั ยอ่ )
สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กล่าวว่า ระบบการประกันคุณภาพภายในระดับ
หลักสูตร ระดับคณะ และระดับสถาบัน เป็นการส่งเสริมให้สถาบันอุดมศึกษาสามารถดาเนินการ
ประกันคุณภาพภายในได้อยา่ งมปี ระสิทธิผล และนาไปสู่การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในท่ี
เข้มแข็งอันจะเป็นกลไกสาคัญสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานของอุดมศึกษาที่ต่อเนื่องและยั่งยืน
ตอ่ ไป (สานักงานคณะกรรมการการอุดมศกึ ษา, 2558 : คานา)
หลักเกณฑ์และวธิ ีปฏิบตั กิ ารจัดทารายงานการประเมินตนเอง ระดบั หลักสูตร ๖๗
สิริลักษณ์ ไชยวงศ์ ได้ศึกษาเรือ่ ง “การวิเคราะห์ปัญหาและอปุ สรรคในการจัดทารายงาน
การประเมินตนเองของคณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่” มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ปัญหา
และอุปสรรคในการจัดทารายงานการประเมินตนเอง (SAR) ของคณะวิทยาศาสตร์ โดยการเก็บ
รวบรวมข้อมูลจากกลุ่มผู้บรหิ ารและกลุ่มผู้รับผดิ ชอบตัวบ่งช้ีตามเกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษา
ของคณะวิทยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๔ และจากผลการศึกษาพบว่า
ปัญหาและอุปสรรคในการจัดทารายงาน SAR ที่สาคัญท่ีสุดของกลุ่มตัวอย่าง คือ ไม่สามารถบริหาร
เวลาสาหรับการจัดทา SAR ได้ ระบบสารสนเทศที่มีอยู่ยังไม่รองรับการจัดทา SAR ไม่มีทักษะในการ
เขียน SAR ไม่สามารถดาเนินการตามแผนการจัดทา SAR ที่กาหนดไว้ และไม่ได้รับความร่วมมือที่ดี
จากผู้ทเี่ กี่ยวข้อง (สริ ิลกั ษณ์ ไชยวงศ์, ๒๕๕๕ : บทคดั ย่อ)
สุบรรณ เอี่ยมวิจารณ์ ได้เขียนหนังสือเรื่อง “การบริหารหลักสูตรของสถาบันอุดมศึกษา
ในศตวรรษที่ ๒๑ : การประยุกต์ใช้แนวคิดการจัดการสมัยใหม่เพื่อมุ่งสู่ความเป็นเลิศ” เพื่อเผยแพร่
ความรู้เก่ียวกับการบริหารหลักสูตรในระดับอุดมศึกษา ตลอดจนเพื่อใช้เป็นแนวทางในการบริหาร
จดั การและการดาเนนิ งานให้หลักสตู รสามารถพัฒนาผลผลิตและผลลัพธ์ของหลักสูตร ซ่ึงก็คือบัณฑิต
ทีพ่ ึงประสงค์และเส้นทางความก้าวหน้าท่ีรวดเร็วและประสบความสาเร็จในสายอาชีพ (Career Path)
ของบัณฑิตให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม รวมถึงเป็นแรงผลักดันให้หลักสูตรมุ่งสู่ความเป็นเลิศในที่สุด
(สุบรรณ เอี่ยมวิจารณ์, ๒๕๖๑ : คานา)
อดิศร โค้วเน่ืองศร ได้ศึกษาเร่ือง “ระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหารงานการประกัน
คุณภาพภายในของคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม” มีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนา
และศึกษาประสทิ ธภิ าพของระบบสารสนเทศ เพ่ือการบริหารงานการประกนั คุณภาพภายในของคณะ
วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม และจากผลการศึกษาพบว่า มีการแต่งตั้ง
คณะกรรมการด้านประกันคุณภาพข้ึน แต่ยังพบปัญหาในด้านการเก็บรวบรวมข้อมูลเพ่ือการบริหาร
การประกันคุณภาพภายในของคณะวิทยาศาสตร์ จึงมีการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลเพ่ือการประกัน
คุณภาพอย่างเป็นระบบ โดยพยายามเก็บรวบรวมข้อมูล หลักฐาน เพื่อการประกันคุณภาพให้มีความ
ครบถ้วนและเป็นปัจจุบันอยเู่ สมอ ระบบสารสนเทศที่พัฒนาข้ึนครอบคลุมในด้านการนาข้อมลู เขา้ การ
ประมวลผล และการแสดงผลสามารถนาไปประยุกต์ใช้เพื่อให้ผู้บริหารนาข้อมูลไปวางแผนในการทา
ประกนั คุณภาพการศกึ ษาในปตี ่อไป (อดิศร โคว้ เนอ่ื งศร, ๒๕๕๘ : บทคัดยอ่ )
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ได้เร่ิมดาเนินการประกันคุณภาพการศึกษา
ต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๒ จนถึงปัจจุบันมีพัฒนาการการดาเนินการเป็นระยะ ๆ ดังต่อไปนี้ ระยะที่หน่ึง
คณะกรรมการอานวยการการประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัย ได้มีมติเห็นชอบให้
ดาเนินการประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยตามความเหมาะสมกับธรรม ชาติของ
มหาวิทยาลัย โดยกาหนดเป็นระบบ IPOI คือ ปัจจัยนาเข้า (Input) ปัจจัยกระบวนการ (Process)
ปัจจัยผลผลิต (Output) และปัจจัยผลกระทบ (Impact) ประกอบด้วย ๑๒ ปัจจัย ๕๒ เกณฑ์ และ
๕๙ ตัวช้ีวัด เกณฑ์เหล่าน้ีใช้ประเมินคุณภาพภายใน คร้ังที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๔๔ – ๒๕๔๖) ใช้ระบบให้
คะแนนเป็น ๓ A (Awareness Attempt and Achievement) ระยะที่สอง ยังคงใช้ระบบเดิม
แต่มีการปรับปรุงและพัฒนาการประกันคุณภาพการศึกษามาเป็น ๑๕ ปัจจัย ๕๘ ตัวช้ีวดั ใช้ประเมิน
คุณภาพภายในคร้ังท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๔๗ – ๒๕๔๘) ใช้ระบบให้คะแนนเต็ม ๕ คะแนน และสานักงาน
หลกั เกณฑ์และวธิ ีปฏบิ ตั ิการจัดทารายงานการประเมนิ ตนเอง ระดับหลักสตู ร ๖๘
รบั รองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ไดเ้ ข้ามาประเมินคณุ ภาพการศึกษาภายนอก
ในรอบที่ ๑ เมื่อ วันที่ ๘ มีนาคม ๒๕๔๘ ระยะท่ีสาม หลังจากท่ีสานักงานรับรองมาตรฐานและ
ประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) เข้ามาประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอกและรายงานผลการ
ประเมินแล้ว คณะกรรมการดาเนินการประกันคุณภาพการศึกษาได้ปรับระบบการประกันคุณภาพ
การศึกษาของมหาวิทยาลัยใหม่ เพ่ือให้เป็นมาตรฐานและสะดวกต่อการดาเนนิ งานของทุกภาคส่วนใน
มหาวิทยาลัย โดยปรับจากปัจจัยเป็นมาตรฐานตาม สมศ. ประกอบด้วย ๗ มาตรฐาน คอื มาตรฐานท่ี
๑ ดา้ นคุณภาพบณั ฑติ มาตรฐานที่ ๒ ดา้ นงานวิจยั และงานสรา้ งสรรค์ มาตรฐานที่ ๓ ด้านการบริการ
วิชาการและการเผยแผ่พระพุทธศาสนา มาตรฐานท่ี ๔ ด้านการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม
มาตรฐานที่ ๕ ด้านการพัฒนาสถาบันและบุคลากร มาตรฐานท่ี ๖ ด้านหลักสูตรและการเรียนการ
สอน มาตรฐานที่ ๗ ด้านการประกันคุณภาพ โดยคณะกรรมการดาเนินการประกันคุณภาพการศึกษา
ภายใน ได้ดาเนินการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน คร้ังที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๔๙ –
๒๕๕๐) โดยใช้มาตรฐานตามเกณฑ์การประเมินของ สมศ. หลังจากน้ัน สานักงานรับรองมาตรฐาน
และประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอก (สมศ.) ก็ได้เข้ามาตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษา
ของมหาวิทยาลัยในรอบท่ี ๒ เม่ือวันท่ี ๒๓ – ๒๕ มกราคม ๒๕๕๑ ระยะทส่ี ี่ หลงั จากทีม่ หาวิทยาลัย
ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพการศึกษาภายนอกในรอบท่ี ๒ แล้ว มหาวิทยาลัยได้มีการปรับ
ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา โดยนาองค์ประกอบ ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินของ
สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาเข้ามาใช้ร่วมกัน ทาให้ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
ของมหาวิทยาลัยในระยะน้ีมี ๙ องค์ประกอบ ๕๖ ตัวบ่งชี้ ใช้ระบบให้คะแนนเต็ม ๓ คะแนน
มหาวิทยาลัยใช้ระบบนี้ดาเนินการประกันคุณภาพการศึกษาในปีการศึกษา ๒๕๕๐ – ๒๕๕๒
องค์ประกอบท้ัง ๙ ได้แก่ องค์ประกอบท่ี ๑ ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์และแผนการดาเนินการ
องค์ประกอบท่ี ๒ การเรียนการสอน องค์ประกอบท่ี ๓ กิจกรรมการพัฒนานิสิต องค์ประกอบที่ ๔
การวิจัย องค์ประกอบท่ี ๕ การบริการทางวิชาการแก่สังคม องค์ประกอบที่ ๖ การทานุบารุง
ศิลปวัฒนธรรม องค์ประกอบท่ี ๗ การบริหารและการจัดการ องค์ประกอบท่ี ๘ การเงินและ
งบประมาณ องค์ประกอบที่ ๙ ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ระยะที่ห้า มหาวิทยาลัยได้
จัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายใน โดยใช้เกณฑ์ประเมินของสานักงานคณะกรรมการการ
อุดมศึกษา (สกอ.) เป็นหลัก ผนวกกับเกณฑ์ประเมินของสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
คุณภาพการศึกษา (สมศ.) ทาให้ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาท่ีดาเนินการในระยะน้ี มี ๙
องค์ประกอบ ๔๒ ตัวบ่งชี้ ใช้ระบบการให้คะแนนเต็ม ๕ คะแนน ดาเนินการประกันคุณภาพ
การศึกษาในปีการศึกษา ๒๕๕๓ ในด้านกระบวนการดาเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ใช้กลไกของการปฏิบัติกิจกรรมที่เน้นคุณภาพของผลผลิต
ทางการศกึ ษา โดยกาหนดกระบวนการเป็น ๔ ขนั้ ตอน คือ
ข้นั ตอนที่ ๑ กาหนดแนวทางควบคุมคุณภาพ ๑) กาหนดองค์ประกอบคุณภาพ ตัวบ่งช้ี
และเกณฑ์การประเมินตัวบ่งชี้ท่ีเหมาะสมกับมหาวิทยาลัย ๒) กาหนดองค์ประกอบคุณภาพ ตัวบ่งช้ี
และเกณฑ์การประเมินตัวบ่งชี้ตามภารกิจหลักของส่วนงานระดับคณะ วทิ ยาเขต สถาบนั สานัก ศูนย์
และภาควิชา
หลกั เกณฑแ์ ละวิธปี ฏบิ ัติการจัดทารายงานการประเมินตนเอง ระดบั หลักสูตร ๖๙
ขั้นตอนท่ี ๒ พัฒนาระบบงานของมหาวิทยาลัย ๑) กาหนดพันธกิจ ปรัชญา
วัตถุประสงค์ และเป้าหมาย ๒) กาหนดนโยบาย ๓) จัดทาแผน ๔) กาหนดกรอบภาระงาน ๕)
ประเมนิ ตามกรอบภาระงาน
ข้ัน ตอน ท่ี ๓ ระบ บเอกสาร ๑ ) คู่มือการป ระกันคุณ ภ าพ การศึกษ าภ ายใน
ระดับอุดมศึกษาเป็นเอกสารที่ระบุนโยบาย และแนวทางในการดาเนินการประกันคุณภาพของส่วน
งาน รวมท้ังรายละเอียดของโครงสร้างการบริหารงาน และความรับผิดชอบ กากับภารกิจหลัก
องค์ประกอบต่างๆ ของส่วนงานเป็นลายลักษณ์อักษร เนื้อหาในคู่มือประกอบด้วย ความเป็นมาและ
โครงสรา้ งการบริหารภายในส่วนงาน นโยบายต่างๆ กระบวนการประกันคุณภาพภายในของส่วนงาน
รายละเอียดในการดาเนินการกากับแต่ละมาตรฐานในระบบประกันคุณภาพของส่วนงาน กลไกการ
ตรวจสอบภายในของสว่ นงาน และตัวบ่งชี้ภายในของส่วนงาน ซ่ึงสว่ นงานตา่ งๆ ของมหาวิทยาลยั อาจ
ใช้คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษานี้ เป็นคู่มือและแนวทางในการดาเนินการประกันคุณภาพ
การศึกษาภายในของตนเองได้ ๒) รายงานการประเมินตนเอง (SAR) เป็นเอกสารที่ส่วนงานท่ีจัด
การศึกษาต่างๆ ของมหาวิทยาลัยแสดงถึงผลการดาเนินการประกันคุณภาพของส่วนงาน เน้ือหาใน
เอกสารน้ี ประกอบด้วยแผนงานกากับภารกิจหลักและโครงการตามที่กาหนดไว้ในวงจรการจัด
กระบวนการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ผลการดาเนินงานภารกิจหลักและข้อมูลสถิติต่างๆ
ที่เกี่ยวข้อง เชน่ ผลผลติ เปา้ หมาย การให้บริการ งบประมาณ จานวนบุคลากร กิจกรรมและโครงการ
ต่างๆ ที่ส่วนงานดาเนินงานในแต่ละปีการศึกษา ผลการตรวจสอบและประเมินตนเองตามตัวบ่งช้ี
ภายในของส่วนงาน, และการวิเคราะห์จดุ แข็งและจดุ อ่อนของตนเองในแต่ละองคป์ ระกอบ
ขั้นตอนที่ ๔ การตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน แบ่งเป็น ๒ ระดับ
คือ ระดับที่ ๑ คณะ สานัก สถาบนั วทิ ยาเขต วิทยาลัยสงฆ์ ภาควิชา โครงการขยายห้องเรยี น หน่วย
วิทยบริการและสถาบันสมทบ การตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับนี้ เกิดข้ึนที่
คณะ สานัก สถาบัน วิทยาเขต วิทยาลัยสงฆ์ ภาควิชา ห้องเรียน หน่วยวิทยบริการ และสถาบัน
สมทบ โดยผทู้ รงคุณวุฒิหรือคณะกรรมการที่มหาวิทยาลัยแตง่ ต้ังข้ึน ผลการตรวจสอบจะเปน็ ข้อมูลใน
การรายงานจัดทารายงานการประเมินตนเองระดับคณะ สานัก สถาบัน วิทยาเขต วิทยาลัยสงฆ์
ภาควิชา โครงการห้องเรียน หน่วยวิทยบริการ และสถาบันสมทบน้ันๆ และเตรียมเพื่อรับการ
ตรวจสอบและประเมินจากคณะกรรมการระดับมหาวิทยาลยั ระดับที่ ๒ มหาวิทยาลัย การตรวจสอบ
ระดับนี้ดาเนินการโดยคณะกรรมการดาเนินการประกันคุณภาพการศึกษาและผู้ทรงคุณวุฒิท่ี
มหาวิทยาลัยแต่งต้ังข้ึน เพื่อตรวจสอบผลการดาเนินงานของมหาวิทยาลัย รายงานผลจากการ
ตรวจสอบจะได้ประมวลจัดทาสรุปเป็นภาพรวมเสนอผู้บริหาร เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการจัดทา
แผนพัฒนามหาวิทยาลัย และจัดทารายงานการประเมินคุณภ าพภายในเสนอต่อสานักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษาต่อไป อย่างไรกต็ าม ระบบประกันคณุ ภาพการศึกษาที่มหาวิทยาลัยมหา
จุฬาลงกรณราชวิทยาลัยได้ดาเนินการมาอย่างต่อเน่ืองนี้ สรุปได้ว่า มีการดาเนินการคือการควบคุม
คุณภาพ การตรวจสอบคุณภาพ และการประเมินคุณภาพ ซ่ึงสอดคล้องกับความหมายของการ
ประกันคุณภาพที่มกี ารนิยามไวว้ ่า “การประกนั คุณภาพ หมายถึง กระบวนการในการควบคุมคุณภาพ
ตรวจสอบคุณภาพ และประเมินคุณภาพอย่างเป็นระบบ เพื่อให้มั่นใจว่าคุณภาพการศึกษาได้รับการ
หลักเกณฑ์และวิธปี ฏิบัติการจัดทารายงานการประเมนิ ตนเอง ระดับหลักสตู ร ๗๐
รักษาหรือได้มาตรฐานอย่างต่อเนอ่ื งและสง่ เสริมเพิ่มพูน เพือ่ ให้ผลผลติ ของการศึกษาที่มคี ุณภาพตาม
ลักษณะทพ่ี งึ ประสงค”์ (มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๕๕ : ๑๗ – ๒๓)
จากการทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวข้องคร้ังนี้ จึงได้เห็นปัญหาและข้อเสนอแนะ
จากการดาเนินงานตามระบบประกันคุณภาพการศึกษา แล้วนามาประมวลองค์ความรู้และปัญหา
ต่างๆ จากการวิจัยหรืองานเขียน เพ่ือหาแนวทางในการพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาระดับ
หลกั สตู รของมหาวทิ ยาลยั ใหม้ ปี ระสิทธภิ าพย่งิ ขน้ึ ต่อไป
กล่าวโดยสรุป ในภาพรวมบทท่ี ๓ ได้แสดงให้เห็นระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
ภายใน องค์ประกอบและตวั บง่ ช้ีในการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หลกั เกณฑ์และวิธปี ฏบิ ตั ิการ
ยุทธศาสตร์การประกันคุณภาพการศึกษา เอกสาร หนังสือ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัยที่เก่ียวข้องซ่ึง
ทุกหัวข้อดังกล่าว ผู้ปฏิบัติการได้ค้นคว้า ศึกษา รวบรวม ช้ีแจง อธิบายเก่ียวกับองค์ประกอบและตัว
บ่งช้ีในการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติการด้านการประกันคุณภาพ
การศึกษาภายในระดับหลักสูตรด้วยระบบ IPO และกระบวนการ PDCA การจัดทารายงานการ
ประเมินตนเอง ระดบั หลักสูตร ถือได้วา่ เป็นงานที่มีความซับซ้อนและมีรายละเอียดมากท่ีสุด จึงได้จัด
แนวทางการพัฒนางานเล่มน้ีข้ึน เพ่ือผู้ปฏิบัติงานได้ทราบถึงบทบาทและหน้าที่ มีความรู้ความเข้าใจ
ในกระบวนการ เทคนิคการจัดทารายงานการประเมินตนเอง ระดับหลกั สูตร และแนวทางการพัฒนา
งานการจัดทารายงานการประเมนิ ตนเอง ระดับหลักสูตร ซ่ึงจะสง่ ผลต่อการประกันคุณภาพการศกึ ษา
ภายในส่วนงาน เพ่ือเปน็ กระจกที่จะสะทอ้ นคุณภาพงานที่หลักสูตรได้ร่วมกนั ปฏิบัตงิ านมาในรอบหน่ึง
ปีการศึกษาเพ่ือให้หน่วยงานได้ทราบถึงจุดแข็ง จุดควรพัฒนา และหาแนวทางสนับสนุนการทางาน
ของหลักสูตรให้มีประสิทธภิ าพยงิ่ ข้ึนไป ดังรายละเอียดต่างๆ ในบทท่ี ๔ ตอ่ ไป
บทที่ ๔
แนวทางการจัดทารายงานการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร
ของมหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตขอนแกน่
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น มีแนวทางการจัดทา
รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ด้วยกระบวนการและเทคนิคต่าง ๆ
ในการจัดทารายงาน ดงั รายละเอยี ดตอ่ ไปน้ี
๔.๑ ข้ันตอนการปฏิบัติงานจัดทารายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับ
หลกั สูตร
๔.๒ การกรอกขอ้ มูลเข้าสู่ระบบรายงานผลการประเมนิ ออนไลน์ MCU e-SAR
๔.๓ กจิ กรรมการปฏิบตั ิงาน
๔.๑ ข้ันตอนการปฏิบัติงานจัดทารายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับ
หลักสูตร
ก่อนเร่มิ เข้าสู่ขั้นตอนการปฏิบัติงานการจัดทารายงานการประเมินตนเอง ระดับหลักสูตร
(SAR) จะต้องมีการทบทวนรายละเอียดตัวบ่งช้ี มาตรฐาน และประกันคุณภาพการศึกษา ประกาศ
และการปรับเกณฑ์การประเมินในรอบปีท่ีผ่านมา กาหนดแบบฟอร์ม และวิธีการเขียน รายงานการ
ประเมินตนเอง (SAR) ทุกระดับ จดั ใหม้ ีการอบรม/สัมมนา/แลกเปลย่ี นเรยี นรู้อาจารย์ประจาหลักสตู ร
ผู้ปฏิบตั ิงาน มีความรู้ความเข้าใจตรงกันของผู้ปฏิบัติงานทุกส่วนงาน เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานได้ผลสมั ฤทธิ์
จากการดาเนินงานของแต่ละหลักสูตร ทราบจุดแข็ง และจุดท่ีควรพัฒนา สาหรับเป็นข้อมูลในการ
วางแผนการดาเนินงาน ให้ส่วนงานตน้ สังกัดมีข้อมูลพื้นฐานทจ่ี าเป็นสาหรับการส่งเสริมและสนับสนุน
การจดั การอุดมศกึ ษาในแนวทางทเ่ี หมาะสมตามองค์ประกอบคณุ ภาพทั้ง ๖ ดังนี้
องคป์ ระกอบที่ ๑ การกากบั มาตรฐาน
องค์ประกอบท่ี ๒ บณั ฑติ
องค์ประกอบที่ ๓ นสิ ิต
องค์ประกอบที่ ๔ อาจารย์
องคป์ ระกอบท่ี ๕ หลกั สตู ร การเรยี นการสอน การประเมินผเู้ รียน
องค์ประกอบท่ี ๖ สิ่งสนบั สนนุ การเรยี นรู้
การจัดทารายงานการประเมินตนเอง (SAR) ระดับหลักสูตร ผู้รับผิดชอบต้องมีความ
เข้าใจในเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษาและท่ีเกี่ยวข้อง มีข้ันตอนการดาเนินงานตามหลัก
PDCA เพอื่ ให้เขา้ ใจแผนผังการปฏบิ ตั ิงาน (Work Flow) ได้ดีย่ิงขนึ้ จึงไดจ้ ดั ทาผังการไหลของขนั้ ตอน
การปฏิบัตงิ านการจัดทารายงานการประเมินตนเอง ระดบั หลกั สูตร ในแผนภาพท่ี 4.1
แนวทางการจดั ทารายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลักสตู ร ๗๒
แผนภาพที่ ๔.1 ผงั การไหลข้ันตอนการปฏบิ ัติงานรายงานการประเมนิ ตนเอง ระดบั หลกั สตู ร
แนวทางการจัดทารายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสตู ร ๗๓
จากแผนภาพท่ี 4.1 ได้อธิบายรายละเอียดของกระบวนการและข้ันตอนการปฏิบัติงาน
เพือ่ ให้ผู้อ่านเข้าใจยง่ิ ขึ้น จงึ ได้แบง่ ออกเปน็ ๑๒ ข้นั ตอน ดงั น้ี
ข้ันตอนท่ี ๑ หลักสูตรวางแผนการจัดเก็บข้อมูล การเก็บหลักฐานจากการทางาน
เพอื่ ประกอบการจดั ทารายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR) ระดับหลักสูตร ตามระบบ PDCA ในกรอบ
ระยะเวลา ๑๒ เดือน โดยได้กาหนดเอกสารประกอบระบบประกันคุณภาพการศึกษา เพ่ือใช้เป็น
แนวทางในการปฏิบัตงิ าน ดังน้ี
๑. คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษา (Quality Manual) เป็นเอกสารหลักท่ีระบุถึง
นโยบายระบบประกันคุณภาพ สายการบังคับบัญชา ความรับผิดชอบ องค์ประกอบ และดัชนีบ่งชี้
คุณภาพ กระบวนการขั้นตอน แนวปฏิบัติ การควบคุม การตรวจสอบและประเมิน ตลอดจน
แผนปฏิบัติในการประกันคณุ ภาพ
2. ข้ันตอนการปฏิบัติงาน (Work Procedure) เป็นเอกสารท่ีระบุถึงข้ันตอนการทางาน
ว่าปฏิบัติอะไร ที่ไหน และเมื่อใด ใครเป็นผู้รับผิดชอบ รวมถึงเอกสารอ้างอิงหรือกฎระเบียบท่ี
เกี่ยวข้องทใ่ี ช้ประกอบในการปฏบิ ตั ิงาน พรอ้ มดชั นีบง่ ชค้ี ุณภาพ
3. รายละเอียดการปฏิบัติงาน (Work Instruction) เป็นเอกสารท่ีระบุถึงวิธีการโดย
ละเอียดในการปฏิบตั ิงาน จะช่วยช้ีใหผ้ ปู้ ฏิบตั ิงานทราบถึงวธิ ีการทางานใหป้ ระสบความสาเร็จ รวมถึง
คมู่ อื การทางานที่เก่ยี วขอ้ งและเอกสารสนับสนนุ อ่ืนๆ
4. คาบรรยายลักษณะงาน (Job Description) เป็นการบรรยายลักษณะงานที่ปฏิบัติ
พรอ้ มดัชนบี ่งชค้ี ณุ ภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรแตล่ ะคน
5. แบบรายงานการประเมินตนเอง (SAR) เปน็ เอกสารรายงานผลการประเมินตนเองตาม
กระบวนการพัฒนาประสิทธิภาพและคุณภาพของการทางาน จากการศึกษาวิเคราะห์จุดอ่อน/จุด
แข็งของการดาเนินงาน พร้อมทั้งเสนอแนะแนวทางที่จะปรับปรุงแก้ไขสิ่งที่บกพร่อง และแนวทาง
เสริมในส่งิ ทที่ าไดด้ อี ยแู่ ลว้
จากแนวทางการกาหนดเอกสารประกอบระบบประกันคุณภาพการศึกษา หลักสูตร
สามารถนามาจัดทาเป็นกระบวนการตามระบบ PDCA เพื่อลดปัญหาสาคัญที่ทาให้การจัดทารายงาน
การประเมินตนเอง (SAR) ระดับหลักสูตร เกิดความล่าช้า หลักฐานไม่สมบูรณ์ ซ่ึงเกิดจาก
กระบวนการจัดเก็บข้อมูลของหลักสูตร และทาให้การจัดทารายงานการประเมินตนเอง (SAR) ระดับ
หลักสูตร มีการดาเนินการอย่างเป็นระบบและเกิดประสิทธิภาพการทางานสูงสุด ดังน้ัน ผู้เขียนจึง
นาเสนอกระบวนการปฏิบัติงานเป็นรายเดือนในการเก็บหลักฐานจากการทางานประจา เพ่ือนามาใช้
เป็นหลักฐานประกอบการจัดทารายงานการประเมินตนเอง ระดับหลักสูตร (SAR) ตามระบบ PDCA
ตามกรอบระยะเวลา ๑๒ เดือน ดังนี้
ตารางท่ี ๔.๑ ปฏิทินการบริหารงานและกระบวนการจัดทารายงานการประกันคุณภาพ
การศึกษาภายใน ระดับหลกั สตู ร กระบวนการ PDCA ตามกรอบเวลา ๑๒ เดอื น
แนวทางการจดั ทารายงานการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ๗๔
เดอื น ตัวบ่งช้ี งานประกันคณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลักสตู ร กระบวนการ
มิถนุ ายน
๓.๑ รายงานผลโครงการประชาสมั พนั ธ์และแนะแนวการศกึ ษาหลกั สูตร C
สงิ หาคม ...บณั ฑิต สาขาวิชา....
๓.๑ รายงานผลการประเมนิ กระบวนการปฐมนิเทศนิสิตใหม่ หลักสูตร... C
บัณฑิต สาขาวชิ า..
๓.๑ รายงานผลการปรบั ปรุงและพัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน A
โครงการปฐมนสิ ิตใหม่
๓.๑ รายงานผลการประเมนิ จากการปรบั ปรงุ เหน็ ชัดเปน็ รูปธรรมจากผล A
การประเมนิ โครงการปฐมนิสติ ใหม่
๓.๒ นาเสนอแต่งต้ังกรรมการพัฒนาศักยภาพนิสิตและการเสริมสร้าง P
ทักษะการเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี ๒๑ หลักสูตร...บัณฑติ สาขาวิชา......
๕.๑ จัดทาแผนพัฒ นาระดับหลักสูตร.....บัณ ฑิต สาขาวิชา...... D
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ (เป็นแผน ๕ ปกี ารศกึ ษา)
๕.๒ เสนอคาสงั่ แต่งตั้งอาจารยท์ ่ปี รกึ ษาหลกั สูตร.....บัณฑติ สาขาวิชา.... P
๕.๒ เสนอคาสั่งแตง่ ต้ังกรรมการกากบั ติดตาม และตรวจสอบการจัดทา P
มคอ.๓ รายวิชาพื้นฐานท่ัวไป/ แกนพระพุทธศาสนา/วิชาเอก/วิชา
เลอื กเสรี หลักสตู ร.....บณั ฑิต สาขาวิชา......
๕.๒ เสนอคาส่ังแต่งต้ังกรรมการกากับกระบวนการเรียนการสอน P
หลักสูตร.....บัณฑติ สาขาวชิ า......
๕.๒ นาเสนอคาส่ังแต่งตั้งกรรมการบูรณาการพันธกิจต่าง ๆ กับการ P
เรียนการสอนหลักสตู ร.....บณั ฑติ สาขาวชิ า......
๕.๒ กาหนดขั้นตอนและกระบวนการบริการทางวิชาการเข้ามามีส่วน P
ร่วมในการจัดการเรียนการสอนและส่งผลต่อการเรียนรู้ของนิสิต
หลกั สตู ร.....บัณฑิต สาขาวิชา......
๕.๒ พิจารณารับรอง มคอ.๓ หลักสูตร..บัณฑิต สาขาวิชา.. ภาคเรียนท่ี C
๑/...
๖.๑ เสนอคาส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงานโดยมีส่วนร่วมของ P
อาจารย์ประจาหลกั สูตรเพื่อใหม้ ีส่งิ สนับสนนุ การเรียนรู้
๓.๑ พิจารณาแผนการรับสมัครพระภิกษุสามเณรและบุคคลท่ัวไปเพื่อ D
สอบคดั เลือกเข้าศกึ ษาหลักสูตร.....บัณฑติ สาขาวชิ า......
๓.๑ เสนออนุมัติโครงการ/กิจกรรมประชาสัมพันธ์และแนะแนว D
การศึกษาตอ่ ในหลักสตู รต่างๆ
๕.๒ จัดทากระบวนการวิจัยมาใช้ในการเรียนการสอนและส่งผลต่อการ D
เรียนร้ขู องนสิ ติ หลกั สูตร.....บณั ฑติ สาขาวิชา......
๕.๒ กาหนดข้ันตอนการนากระบวนการวิจัยมาใช้ในการเรียนการสอน P
และสง่ ผลตอ่ การเรยี นรู้ของนสิ ิตหลักสูตร.....บณั ฑติ สาขาวิชา......
แนวทางการจดั ทารายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลักสตู ร ๗๕
เดือน ตัวบ่งชี้ งานประกันคณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดับหลกั สตู ร กระบวนการ
๕.๓ เสนอคาส่ังแตง่ ตัง้ กรรมการประเมนิ ผลการเรียนในรายวิชาหลักสูตร
.....บัณฑิต สาขาวิชา.....ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติที่มี P
หลายกลุ่มเรยี นใหไ้ ดม้ าตรฐานเดียวกนั
กนั ยายน ๕.๓ เสนอคาสั่งแต่งต้ังคณะกรรมการวิเคราะห์/ตรวจสอบคุณภาพ/
ปรับปรุงพัฒนาเครื่องมือท่ีใช้ในการประเมินคุณภาพนิสิตหลักสูตร P
.....บัณฑิต สาขาวิชา...... (มีการวิพากษ์ข้อสอบ ปรับปรุงข้อสอบ
สร้างข้อสอบใหม่ ๆ เสมอ มีคลังข้อสอบ ข้อสอบ หรือเครื่องมือ
ประเมินสามารถวัดความรู้และการคิดข้ันสูงได้ เครื่องมือประเมิน
สะท้อนความสามารถในการปฏิบัติงานได้จริงในโลกแห่งการ
ทางาน)
๕.๓ เสนอคาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผลการเรียนในรายวิชา P
หลักสูตร.....บัณฑติ สาขาวิชา.. ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ
ทม่ี หี ลายกลุ่มเรียนให้ได้มาตรฐานเดียวกัน
๕.๓ พิจารณารับรองข้อสอบหลักสูตร...บัณฑิต สาขาวิชา.. ภาคเรียนที่ C
๑/...ง...
๕.๔ เสนอคาสั่งแต่งตั้งกรรมการการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนิสิต P
หลักสูตร....บัณฑิต สาขาวิชา.... ตามกรอบมาตรฐานผลการเรียนรู้
ใน มคอ.๓ อย่างน้อยรอ้ ยละ ๒๕ ของรายวิชาท่เี ปิดสอนในแต่ละปี
การศกึ ษา
ตุลาคม ๓.๒ รายงานผลการประเมินกระบวนการดาเนินโครงการ/กิจกรรม A
หลกั สูตร.... สาขาวชิ า ..... ภาคเรียนท่ี ๑/............
๔.๒ รายงานผลการประเมินการสอนของคณาจารย์หลักสูตร.....บัณฑิต C
สาขาวชิ า...... ภาคเรียนที่ ๑/....
๕.๓ รายงานผลการประเมินการจัดการเรยี นการสอนหลกั สตู ร.....บณั ฑติ C
สาขาวชิ า......ตามรายละเอยี ดใน มคอ. ๕ ภาคเรยี นท่ี ๑/....
๕.๓ ตรวจสอบการประเมินผลการเรียนนิสิตหลักสูตร.....บัณฑิต สาขา C
วิชา......ภาคเรียนที่ ๑/.....
พฤศจิกายน ๓.๒ รายงานผลการประเมินกิจกรรมที่นิสิตบรรพชิตและคฤหัสถ์ที่ C
บาเพญ็ สาธารณะประโยชนต์ ่อสังคมกิจกรรมมาปรับปรุงและพฒั นา
๓.๒ รายงานผลการปรบั ปรุงและพฒั นากระบวนการจากผลการประเมิน A
การสง่ เสรมและพฒั นานิสิตหลักสูตร...บัณฑติ สาขาวิชา....
๕.๔ เสนอคาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียน
การสอน กลยุทธ์การสอนหรือการประเมินผลการเรียนรู้หลักสูตร P
.....บัณฑิต สาขาวิชา...... (จากผลการประเมินการดาเนินงานใน
มคอ.๗ ปีทแี่ ลว้ )
แนวทางการจัดทารายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ๗๖
เดอื น ตัวบง่ ชี้ งานประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั หลกั สตู ร กระบวนการ
๕.๔ พิจาณารับรองมาตรฐานรายงานผลรายวิชา มคอ. ๕ หลักสูตร..... C
บัณฑิต สาขาวชิ า...... ภาคเรยี นที่ ๑/..... จานวน ....... รายวิชา
ธันวาคม ๒.๑ รายงานผลการประเมินความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ C
๕.๔ ของผูใ้ ช้บณั ฑิตตอ่ การปฏบิ ัตงิ านและอตั ลักษณข์ องนิสิตหลักสูตร...
บณั ฑติ สาขาวิชา...ที่สาเรจ็ การศกึ ษา
๖.๑ เสนอคาสั่งแต่งต้ังคณะกรรมการจัดซื้อวัสดุการศึกษาและสิ่ง P
สนบั สนุนการเรยี นรู้แกน่ สิ ิต
๖.๑ รายงานผลการเรียนรู้โดยดาเนิน การตามวงจร PDCA ใน C
กระบวนการดาเนนิ งานเกย่ี วกับส่ิงสนบั สนนุ การเรียนรู้
๖.๑ รายงานผลการประเมนิ กระบวนการเกี่ยวกับสิง่ สนับสนุนการเรยี นรู้ A
แกน่ ิสิต
มกราคม ๒.๒ รายงานผลแบบสารวจการปฏิบัติหน้าที่สนองงานคณะสงฆ์ของ
บัณฑิตบรรพชิตที่ปฏิบัติหน้าที่สนองงานคณะสงฆ์ของบัณฑิต C
บรรพชิตและภาวการณ์มีงานทาของบัณฑิตคฤหัสถ์มหาวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั วิทยาเขตขอนแกน่
๕.๓ เสนอรายช่ือผู้สาเร็จการศึกษา....บัณ ฑิต สาขาวิชา.....ต่อ C
กรรมการบรหิ ารหลักสตู ร....บัณฑติ
๖.๑ รายงานผลการจัดการความรู้ในกระบวนการดาเนินงานเก่ียวกับสิ่ง C
สนบั สนนุ การเรียนรู้
๖.๑ รายงานผลจากแนวทางปฏบิ ัติทด่ี ไี ด้เทยี บเคยี งกับหลักสูตรเดียวกัน
ในกลุ่มสถาบันเดียวกันที่เหมาะสม หรือได้รับรางวัลในระดับชาติ A
หรือนานาชาติ
กมุ ภาพันธ์ ๔.๑ รายงานผลการพิจารณาภาระงานตามเกณฑ์การสอนหลักสูตร..... C
สาขาวชิ า.... ภาคเรียนท่ี .../......
๔.๑ รายงานผลการปรบั ปรุงและพฒั นากระบวนการจากผลการประเมิน A
การบรหิ ารและพัฒนาอาจารย์
๕.๓ เสนอคาส่ังแต่งตั้งกรรมการการทวนสอบผลสัมฤทธ์ิของนิสิต
หลักสูตร..... สาขาวิชา...(ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ใน มคอ.๓ P
อย่างน้อยรอ้ ยละ ๒๕ ของรายวิชาที่เปิดสอนในแตล่ ะปีการศกึ ษา)
๕.๓ ติดตามผลการเรียนนิสิตหลักสูตร.....บัณฑิต สาขาวิชา...... C
ปีการศกึ ษา ..... ทมี่ เี กรดเฉลีย่ ไม่ถึง ๒.๐๐
๕.๓ รายงานผลการพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน
กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้หลักสูตร.....ที่โดด A
เดน่ จากหลักฐานเชิงประจกั ษ์ยนื ยัน จนสามารถใหเ้ หตุผลอธิบายว่า
เป็ น ผ ลก ารด าเนิ น งาน ท่ี โด ด เด่น อย่ างแท้ จริงหรือได้ รับ รางวัล
ระดบั ชาตหิ รือนานาชาติ
แนวทางการจดั ทารายงานการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลักสูตร ๗๗
เดอื น ตวั บ่งชี้ งานประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดับหลกั สตู ร กระบวนการ
มนี าคม
๓.๓ รายงานผลการประเมินความพึงพอใจของนสิ ิตปีสดุ ท้ายต่อคุณภาพ C
๕.๔ หลักสูตร.....บัณฑิต สาขาวิชา... มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วทิ ยาลัย วิทยาเขตขอนแกน่
๓.๓ รายงานผลการวิเคราะห์แนวโน้มผลการดาเนินงานท่ีดีขึ้นในทุก A
เรอื่ งเกี่ยวกบั ผลที่เกดิ ขนึ้ กับนสิ ิต
๓.๓ รายงานผลการดาเนนิ งานทโี่ ดดเด่นจากหลักฐานเชงิ ประจกั ษย์ นื ยนั
จนสามารถให้เหตุผลอธิบายว่าเป็นผลการดาเนินงานท่ีโดดเด่น A
อย่างแท้จริง
๓.๓ รายงานผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อ C
รอ้ งเรียนของนิสิต
๓.๓ รายงานผลการวิเคราะห์แนวโน้มผลการดาเนินงานที่ดีขึ้นในทุก A
เร่ืองเกย่ี วกบั ผลที่เกดิ ขน้ึ กบั นสิ ติ
๓.๓ รายงานผลการดาเนนิ งานท่โี ดดเด่นจากหลักฐานเชิงประจกั ษย์ นื ยนั A
จนสามารถให้เหตุผลอธิบายว่าเป็นผลการดาเนินงานที่โดดเด่น
อย่างแทจ้ รงิ
๔.๑ รายงานผลการประเมินการบริหารจัดการอาจารย์ประจาหลักสูตร C
(๓ ปี ตอ่ เนื่อง)
๔.๑ รายงานผลการนาระบบกลไกการบริหารและพัฒนาอาจารย์ไปสู่ C
การปฏิบตั ิ
๕.๑ รายงานผลการกระบวนการออกแบบหลักสูตรและสาระรายวชิ าใน C
หลักสูตร
๕.๑ รายงานผลการพัฒนาทกั ษะด้านการวจิ ัยและการเรียนรู้ด้วยตนเอง
ในการรายงานการดาเนินงานตามตัวบ่งช้ีน้ี (หลักสูตรระดับ C
บณั ฑิตศกึ ษา)
๕.๑ รายงานผลการประเมินจุดแข็ง/จดุ ออ่ นเพ่ือการปรบั ปรงุ หลักสตู ร C
๕.๑ รายงานผลการปรับปรุงและพัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน A
อยา่ งเหน็ ได้ชัดอยา่ งเป็นรปู ธรรม
๕.๓ พิจารณาข้อสอบวัดผลปลายภาคหลักสูตร....บัณฑิต สาขาวิชา..... C
ปีการศึกษา ๒/....
๕.๔ เสนอคาส่ังแต่งต้ังผู้รับผิดชอบองค์ประกอบและตัวบ่งช้ีการประกัน P
คุณภาพการศึกษา หลักสูตร.....บณั ฑติ สาขาวิชา......
๕.๔ ประเมินความพึงพอใจของบัณฑิตต่อคุณภาพหลักสูตร.....บัณฑิต C
สาขาวชิ า......
๕.๔ รายงานผลการจัดทารายงานการพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียน A
การสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้หลักสูตร
...บัณฑิต สาขาวิชา... จากผลการประเมินการดาเนินงานทรี่ ายงาน
ใน มคอ.๗ ปกี ารศึกษา .....
แนวทางการจดั ทารายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ๗๘
เดอื น ตัวบง่ ช้ี งานประกันคุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั หลกั สตู ร กระบวนการ
เมษายน ๓.๑ เสนอคาส่ังแต่งต้ังกรรมการสอบและพิจารณาข้อสอบคัดเลือกนิสิต P
หลกั สตู ร.....บัณฑิต สาขาวชิ า...... ปกี ารศกึ ษา ....
๓.๑ เสนอคาสัง่ แตง่ ต้ังคณะกรรมการสอบคัดเลือกนิสิตใหม่หลักสูตร..... P
บัณฑิต สาขาวชิ า......ปกี ารศึกษา ..... (สอบข้อเขียน/สัมภาษณ)์
๓.๑ รายงานผลการให้คาปรึกษาแก่นิสิตหลักสูตร.....บัณฑิต สาขาวิชา C
...... ภาคเรยี นที่ ๒/.......
๓.๒ รายงานผลการประเมินกิจกรรมมาปรับปรุงโดยการให้นิสิต A
บรรพชิตและคฤหัสถ์.....บัณฑิต สาขาวิชา.... ท่ีบาเพ็ญสาธารณะ
ประโยชน์ต่อสังคม ปกี ารศึกษา .......
๔.๑ พจิ ารณาผลการประเมนิ การสอนของคณาจารย์หลักสตู ร.....บณั ฑิต C
สาขาวิชา...... ภาคเรียนท่ี ๒/......
๔.๓ รายงานผลการดาเนนิ งานท่ีโดดเด่นจากหลกั ฐานเชิงประจักษย์ ืนยัน
จนสามารถให้เหตุผลอธิบายว่าผลท่ีเกิดกับอาจารย์เป็นผลการ A
ดาเนินงานที่โดดเด่นอย่างแท้จริงหรือได้รับรางวัลระดับชาติหรือ
นานาชาติ
๕.๒ รายงานผลการนากระบวนการบริการทางวิชาการเขา้ มามีส่วนร่วม C
ในการจัดการเรียนการสอนและส่งผลต่อการเรียนรู้ของนิสิต
หลกั สตู ร..... สาขาวิชา......
๕.๒ รายงานผลการนากระบวนการวิจัยมาใช้ในการเรียนการสอนและ C
ส่งผลตอ่ การเรยี นรขู้ องนสิ ิตหลกั สตู ร... สาขาวชิ า..
๕.๒ รายงานผลการประเมินกระบวนการซึ่งเกดิ ผลสมั ฤทธต์ิ ่อการเรียนรู้ A
ของนิสิตจนทาให้การเรยี นร้บู รรลตุ ามเป้าหมาย
๕.๒ รายงานผลการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน A
เหน็ ชัดเปน็ รปู ธรรม
๕.๒ รายงานผลการดาเนินงานทีโ่ ดดเด่นจากหลักฐานเชงิ ประจกั ษย์ นื ยนั
จนสามารถให้เหตุผลอธิบายว่าเป็นผลการดาเนินงานท่ีโดดเด่น A
อยา่ งแท้จริงหรือไดร้ ับรางวลั ระดับชาติหรอื นานาชาติ
๕.๓ รายงานผลการประเมินผู้เรียนจากรายงาน มคอ. ๕ และ มคอ. ๗ C
หลักสูตร.....บัณฑติ สาขาวิชา... ปกี ารศึกษา ......
๕.๓ รายงานผลการประเมินการจดั การเรียนการสอนหลักสูตร...บัณฑิต C
สาขาวชิ า.....ตามรายละเอยี ดใน มคอ. ๕ ภาคเรยี นท่ี ๑/.....
พฤษภาคม ๓.๑ การจดั โครงการปฐมนิเทศนสิ ิตใหม่ D
๓.๑ รายงานผลการจัดพิธีปฐมนิเทศนสิ ิตใหม่ C
P
๓.๒ เสนอคาส่ังแต่งต้ังกรรมการควบคุมดูแลการให้คาปรึกษาวิชาการ
และแนะแนวแกน่ ิสติ หลกั สตู ร.....บัณฑติ สาขาวิชา.....ปกี ารศกึ ษา...
แนวทางการจดั ทารายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสตู ร ๗๙
เดือน ตัวบง่ ชี้ งานประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั หลกั สตู ร กระบวนการ
๓.๒ รายงานการประเมินผลจากการปรับปรุงการส่งเสริมและพัฒนา A
นิสติ ใหเ้ หน็ ชัดเป็นรูปธรรม
๓.๒ รายงานแนวทางปฏิบัติที่ดีโดยมีหลักฐานเชิงประจักษ์ยืนยันและ A
สามารถให้เหตุผลอธิบายการเป็นแนวปฏิบัติที่ดีได้ชัดเจน จากผล
การประเมนิ การสง่ เสรมและพัฒนานสิ ิต
๔.๑ พจิ ารณาภาระงานตามเกณฑ์การสอนหลกั สตู ร.....บณั ฑิต สาขาวิชา P
...... ภาคเรียนที่ ๑/......
๔.๑ พิจารณาแนวทางการพัฒนาอาจารย์ประจาหลักสูตรหลักสูตร..... P
บัณฑิต สาขาวิชา...... ปีการศกึ ษา ....
๕.๑ พิจารณาแผนปฏิบัติการบริหารหลักสูตร.....บัณฑิต สาขาวิชา...... P
ปกี ารศึกษา ....
๕.๑ พิจารณาแผนการจัดการศึกษาตามรายละเอียดหลักสูตร....บัณฑิต P
สาขาวชิ า... ตามแบบ มคอ. ๒ ภาคเรยี นท่ี ๒/...
๕.๒ รายงานผลการควบคุมกากับกระบวนการจดั การเรียนการสอนและ C
การประเมนิ นสิ ิตหลกั สูตร...บณั ฑิต สาขาวชิ า... ปกี ารศึกษา ..
๕.๒ พิจารณาแนวทางการติดตาม มคอ.๓ หลักสูตร...บัณฑิต สาขาวิชา P
......ภาคเรียนท่ี ๑/....
๕.๒ กาหนดรายวิชาที่เปิดสอนและกาหนดผู้สอนหลักสูตร.....บัณฑิต P
สาขาวชิ า...... ปีการศกึ ษา ....
๕.๒ รายงานผลการสอดแทรกศิลปะและวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน C
ในกระบวนการเรียนการสอนและส่งผลต่อการเรียนรู้ของนิสิต
หลกั สตู ร.....บัณฑิต สาขาวิชา......ปีการศกึ ษา .....
๕.๓ รายงานผลการประเมินหลักสูตร...บัณฑิต สาขาวิชา... ตาม C
รายละเอียดใน มคอ. ๕
๕.๓ พจิ ารณารบั รองการรายงานผลรายวชิ าตามแบบ มคอ. ๕ ภาคเรียน C
ท่ี ๒/....
๕.๓ ตรวจสอบการประเมินผลการเรียนนิสิตหลักสูตร....บัณฑิต สาขา C
วชิ า..... ภาคเรยี นท่ี ๒/...
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร เป็นรายงานท่ีใช้
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ที่มีการเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบ เป็นข้ันตอน (Scientific
Report) มีการคิดวิเคราะห์เชงิ เหตุเชิงผล และใช้กระบวนการวิจยั ในการวิเคราะหต์ นเอง เพ่ือสรุปผล
จากข้อมูลท้ังหมด หลักฐานที่แสดงถึงผลการดาเนินงานอย่างชัดเจน เพื่อให้การดาเนินงานมี
ประสิทธิภาพและเป็นผลสัมฤทธ์ิ จึงได้มีแผนการปรับปรุงการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้ประกันคุณภาพ
การศกึ ษาภายใน ระดบั หลักสตู ร
แนวทางการจัดทารายงานการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลกั สูตร ๘๐
ขั้นตอนที่ 2 สานักงานประกันคุณภาพ สานักงานอธิการบดี โดยความเห็นชอบของสภา
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย มปี ระกาศมหาวทิ ยาลยั เร่ือง เป้าหมายของตัวบ่งชปี้ ระกัน
คุณภาพการศกึ ษา ปกี ารศึกษาที่รบั การประเมนิ ดงั แผนภาพที่ ๔.๒
แนวทางการจดั ทารายงานการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลักสตู ร ๘๑
แนวทางการจดั ทารายงานการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลักสตู ร ๘๒
แนวทางการจดั ทารายงานการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลกั สตู ร ๘๓
แผนภาพท่ี ๔.๒ ประกาศมหาวิทยาลัย เร่ือง เป้าหมายของตัวบ่งชี้ประกันคุณภาพ
การศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑
ท่ีมา : ให้ดูรายละเอียดใน สานักงานประกันคุณภาพ สานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง
กรณราชวิทยาลัย http://qa.mcu.ac.th/?fbclid=IwAR0Dmn59pcaW6DUmTD_sX YoIL1mKj2a4o
GtoKMopovdiqhVoaRrr4O1bqA
แนวทางการจดั ทารายงานการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลกั สูตร ๘๔
ข้ันตอนที่ 3 กลุ่มงานวิจัยและคุณภาพการศึกษา สานักวิชาการวิทยาเขตขอนแก่น
ไดจ้ ดั ทาปฏทิ ินการจดั ทารายงานการประเมินตนเอง ระดบั หลักสตู ร (SAR) ดงั แผนภาพที่ ๔.๓
แผนภาพท่ี ๔.๓ ปฏิทินประกันคุณภาพการศึกษา วิทยาเขตขอนแก่น
ที่มา : กล่มุ งานวิจัยและคุณภาพการศกึ ษา สานกั วชิ าการวิทยาเขตขอนแกน่ 2562
แนวทางการจดั ทารายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสตู ร ๘๕
ขั้นตอนท่ี 4 กลุ่มงานวจิ ัยและคุณภาพการศึกษา สานักวิชาการวทิ ยาเขตขอนแกน่ จัดให้
มีการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อทบทวนรายละเอียดตัวบ่งชี้ มาตรฐาน และประกันคุณภาพการศึกษา
แบบฟอร์มและวิธีการเขียนรายงานการประเมินตนเอง (SAR) และการรายงานผลการประเมิน
ออนไลน์ (MCU e_SAR61) ดังแผนภาพท่ี ๔.๔
แผนภาพท่ี ๔.๔ ปฏทิ ินการประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั ิการเพอ่ื รายงานผลการประเมินออนไลน์ (MCU
e_SAR61) ระดับหลักสูตร ระดับสานกั วทิ ยาลัย และวทิ ยาเขต ประจาปีการศึกษา 2561
ท่ีมา : กลุ่มงานวิจัยและคณุ ภาพการศึกษา สานักวิชาการวิทยาเขตขอนแก่น 256๑
แนวทางการจัดทารายงานการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลักสตู ร ๘๖
ขั้นตอนที่ 5 กลุ่มงานวิจัยและคุณภาพการศึกษา สานักวิชาการวิทยาเขตขอนแก่น
ได้เสนอคาส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ระดับ
สานัก วิทยาลยั ตามองค์ประกอบ ประจาปกี ารศึกษาทีร่ ับการประเมิน ดงั แผนภาพที่ ๔.๕
แนวทางการจัดทารายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลักสตู ร ๘๗
แผนภาพท่ี ๔.๕ คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับ
หลักสตู ร ระดบั สานกั วทิ ยาลัย ตามองคป์ ระกอบ ปีการศึกษา 2560
ทม่ี า : กลุ่มงานบริหารทัว่ ไป สานกั งานวิทยาเขตขอนแกน่ 256๐
แนวทางการจดั ทารายงานการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลกั สูตร ๘๘
ข้ันตอนที่ ๖ หลักสูตรรวบรวมผลการดาเนินงานในรอบปีการศึกษา และจัดทาร่าง
รายงานการประเมินตนเอง ระดับหลักสูตร (SAR) ตามแบบฟอร์มที่มหาวิทยาลัยกาหนด พร้อมทั้ง
เก็บรวบรวมหลักฐานอ้างอิงเป็นดัชนีตามรายองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ทั้ง ๑๓ ข้อ ว่ามีแนวปฏิบัติที่ดี
ในการจัดทารายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร (SAR) เป็นราย
องคป์ ระกอบพร้อมตัวอย่างเอกสารและหลักฐานที่รายงานความสอดคลอ้ งกบั ผลการดาเนินงาน ดงั น้ี
๔.๑.๑ องค์ประกอบท่ี ๑ การกากบั มาตรฐาน
องค์ประกอบท่ี ๑ การกากับมาตรฐาน มีตัวชี้วัดที่ ๑.๑ – ๑.๑๒ (ระดับปริญญาตรีใช้
เกณฑ์ ๓ ข้อ ระดับปริญญาโท ใช้เกณฑ์ ๑๑ ข้อ และระดับปริญญาเอก ใช้เกณฑ์ ๑๑ ข้อ)
ซ่ึงเก่ียวข้องกับการบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรท่ีกาหนดโดย สกอ. มีแนว
ปฏิบัติทด่ี ีและเทคนคิ การจัดทารายงานการประกันคณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลักสตู ร ดงั นี้
ตารางที่ ๔.๒ แนวปฏิบัตทิ ด่ี ีในการจดั ทารายงานองคป์ ระกอบท่ี ๑
แนวปฏิบัติทด่ี ี เอกสารและหลกั ฐาน กระบวนการ
ระดับปริญญาตรีใช้ เกณฑ์ ๓ ๑. เอกสารหลักสูตรฉบับที่ สกอ.ประทับตรา C
ข้อ ระดับปริญญาโท ใช้เกณฑ์ ๑๑ รบั ทราบ
ข้อและระดับปริญญาเอก ใช้เกณฑ์ ๒. หนงั สือที่ สกอ. แจ้งรับทราบหลกั สตู ร C
๑๑ ข้อ ตามตัวบ่งช้ีท่ี ๑ – ๑๒ ดังน้ี ๓. กรณีหลักสูตรยังไม่ได้แจ้งการรับทราบ ให้มี C
๑ . จาน วน อาจ ารย์ ป ระจ า หนังสือนาส่ง สกอ. หรือหนังสือส่งคืนจาก สกอ. และ
หลักสตู ร รายงานการประชุมสภาที่อนุมัติ/ให้ความเห็นชอบ
๒ . คุ ณ ส ม บั ติ ข อ งอ าจ ารย์ หลกั สตู ร
ประจาหลกั สตู ร ๔. คาส่ังมหาวิทยาลยั เรอ่ื งจา้ งบคุ ลากรอัตราจ้าง C
๓ . คุ ณ ส ม บั ติ ข อ งอ าจ ารย์ ท่ลี งนามโดยอธกิ ารบดี
ผู้รับผดิ ชอบหลกั สตู ร ๕. สัญญาจ้างอาจารย์ท่ีลงนามโดยผู้ที่อธิการบดี C
๔. คณุ สมบตั ขิ องอาจารย์ผสู้ อน มอบหมายเปน็ ครง้ั ๆ หรอื หลกั ฐานแสดงว่าอยู่ระหว่าง
๕ . คุณ สมบัติของอาจารย์ท่ี การดาเนนิ การทาสญั ญาจา้ ง
ป รึก ษ าวิท ย านิ พ น ธ์ห ลั ก แ ล ะ ๖. คาส่ังมหาวิทยาลัยแต่งตั้งอาจารย์ประจา C
อาจารย์ที่ปรึกษาการค้นควา้ อสิ ระ หลักสูตร/อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ที่ลงนามโดย
๖ . คุณ สมบัติของอาจารย์ท่ี อธิการบดีหรอื นายกสภามหาวทิ ยาลัย
ปรึกษาวิทยานพิ นธร์ ่วม ๗. ตารางสอนทอ่ี าจารย์ประจาหลักสูตร/อาจารย์ C
๗. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอบ ผู้รบั ผดิ ชอบหลกั สูตรทีส่ อนในปกี ารศึกษานน้ั
วิทยานพิ นธ์ ๘. หลักฐานการรบั เงินเดือนมีลักษณะการจ่ายเป็น C
๘. การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงาน เงินเดอื น
ของผู้สาเร็จการศกึ ษา
๙. ภาระงานอาจารย์ที่ปรึกษา
วิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระใน
ระดับบัณฑิตศกึ ษา
แนวทางการจัดทารายงานการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลกั สตู ร ๘๙
แนวปฏบิ ตั ิท่ดี ี เอกสารและหลักฐาน กระบวนการ
๑ ๐ . อ า จ า ร ย์ ท่ี ป รึ ก ษ า
วิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระใน
ระดบั บณั ฑติ ศึกษามผี ลงานวจิ ัยอย่าง
ต่อเนอ่ื ง และสม่าเสมอ
๑๑. การปรับปรุงหลักสูตรตาม
รอบระยะเวลาทก่ี าหนด
เกณฑ์การประเมินที่ ๑๑ การ ๙. คาส่ังแต่งต้ังคณ ะกรรมการพัฒ นาและ C
ปรับปรงุ หลักสูตรตามรอบระยะเวลา ปรบั ปรุงหลักสตู ร..... สาขาวิชา............
ทีก่ าหนด ๑๐. มติสภาวิชาการมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง C
ขั้นตอนและกระบวนการพัฒนา กรณราชวิทยาลัย ในคราวประชุมคร้ังท่ี ..../…. เมื่อ
และปรบั ปรงุ หลกั สตู ร วนั ท่ี … เดือน …… พ.ศ. ………
(การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบ ๑๑. มติสภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช C
ระยะเวลาที่กาหนดตามเกณฑ์การ วิทยาลัยในคราวประชุมครั้งที่..../…. เมื่อวันท่ี……
ประเมินน้ี หมายถึง การปรับปรุง เดอื น … พ.ศ. … C
หลักสูตรในระดับมากหลักสูตรใหม่/ ๑๒. มคอ.๒ หลักสูตร... สาขาวิชา.... ฉบับ C
หลักปรับปรุง พ.ศ. ใด เปิดสอนโดยใช้ C
หลกั สตู รดงั กลา่ วมาแลว้ กี่ปี จะครบรอบ ปรบั ปรุง พ.ศ. … (ฉบับเดมิ )
การปรบั ปรุงหลักสูตรเมอ่ื ใด และขณะนี้ ๑๓. มคอ.๒ หลักสูตร..... สาขาวิชา.... (ฉบับ
อยู่ในขั้นตอนใดของการป รับ ป รุง
หลกั สตู ร) ปรบั ปรงุ พ.ศ.......)
๑๔. คูม่ ือการประเมินหลักสูตรของมหาวิทยาลยั
๔.๑.๒ องคป์ ระกอบที่ ๒ บณั ฑิต
องค์ประกอบที่ ๒ บัณฑิต เป็นพันธกิจท่ีสาคัญท่ีสุดของสถาบันอุดมศึกษา คือ การผลิต
บัณฑิต หรือการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ผู้เรียนมีความรู้ในวิชาการและวิชาชีพ มีคุณลักษณะ
ตามหลักสูตรท่ีกาหนด มีแนวปฏิบัติที่ดีและเทคนิคการจัดทารายงานการประกันคุณภาพการศึกษา
ภายใน ระดับหลักสตู ร ดงั นี้
๔.๑.๒.๑ คุณภาพบัณฑติ ตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิระดบั อดุ มศึกษาแห่งชาติ (TQF)
คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) ได้มีการ
กาหนดคุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงค์ตามท่ีหลักสูตรกาหนดไว้ใน มคอ.๒ เก่ียวข้องกับตัวช้ีวัด
เรื่องผลลัพธ์ มีจานวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ ๒๐ ของ
จานวนบัณฑติ ท่ีสาเรจ็ การศกึ ษา มแี นวปฏิบตั ทิ ด่ี ี ดงั น้ี