แนวทางการจัดทารายงานการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลกั สูตร ๙๐
ตารางที่ ๔.๓ แนวปฏิบัติที่ดีในการจัดทารายงานองค์ประกอบที่ ๒.๑ คุณภาพบัณฑิตตาม
กรอบมาตรฐานคุณวฒุ ริ ะดบั อุดมศกึ ษาแหง่ ชาติ (TQF)
แนวปฏบิ ตั ิทดี่ ี เอกสารและหลกั ฐาน กระบวนการ
ก ร อ บ ม า ต ร ฐ า น คุ ณ วุ ฒิ ระดับปริญญาตรี
ร ะ ดั บ อุ ด ม ศึ ก ษ า แ ห่ ง ช า ติ (Thai 1. รายงานผลการประเมินความพึง C
Qualifications Framework for Higher พอใจแบบสอบถามความพึงพอใจของ
Education : TQF) ไ ด้ มี ก า ร ก า ห น ด ผู้ใช้ บั ณ ฑิ ต ต่ อก ารป ฏิ บั ติ งาน แ ล ะ
คุณ ลักษ ณ ะบัณ ฑิ ตท่ี พึ งประสงค์ตามท่ี อตั ลักษณ์ของนิสิตหลกั สูตร..... สาขาวิชา
หลกั สูตรกาหนดไว้ใน มคอ.๒ ซึ่งครอบคลุมผล .....ท่ีสาเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัย
การเรียนรู้อย่างน้อย ๕ ด้าน คือ ๑) ด้าน มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย
คุณธรรมจริยธรรม ๒) ด้านความรู้ ๓) ด้าน 2. สูจิบัตรงานประสาทปริญญาปี C
ทักษะทางปัญญา ๔) ด้านทักษะความสัมพันธ์ (ปีการศกึ ษาทีร่ ับการตรวจประเมนิ )
ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบและ ๕) ๓. รายงานผลบัณฑิตปริญญาตรีมี C
ดา้ นทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร คณุ ลักษณะบัณฑิตทพ่ี งึ ประสงค์สอบผ่าน
และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศตัวบ่งชี้นี้จะ ภาษาอังกฤษและเทคโนโลยีสารสนเทศ
เป็นการประเมินคุณภาพบัณฑิตในมุมมองของ ตามเกณฑท์ มี่ หาวิทยาลยั
ผู้ใชบ้ ัณฑติ
(หลักสูตรต่างๆ จะดาเนินการสรุป ระดับบัณทิตศึกษา
ข้อมลู แยกตามรายหลกั สูตรและนาเสนอขอ้ มูล 1. รายงานผลการประเมินความพึง C
ให้มหาวิทยาลัย ยกเว้นหลักสูตรท่ีแจ้งความ พอใจแบบสอบถามความพึงพอใจของ
ประสงค์ในการสารวจเอง จะใช้ข้อมลู ท่ีสารวจ ผู้ใช้ บั ณ ฑิ ต ต่ อก ารป ฏิ บั ติ งาน แ ล ะ
จากวิทยาลยั สงฆข์ อนแก่น อั ต ลั ก ษ ณ์ ข อ งนิ สิ ต ห ลั ก สู ต ร ข อ ง
ข้อมูลจากการสารวจต้องมีความเป็น มหาบัณฑิต/ดุษฎีบัณฑิต... สาขาวิชา...
ตัวแทนของผู้สาเรจ็ การศึกษาทัง้ ในเชิงปริมาณ ท่ีสาเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยมหา
และในเชิงคุณภาพอย่างน้อยร้อยละ 20 ของ จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
จานวนผูส้ าเรจ็ การศกึ ษา 2. สูจิบัตรงานประสาทปริญญาปี C
ใน กรณี ห ลั กสูต รป รับ ป รุงที่ ยังไม่ (ปกี ารศกึ ษาท่รี ับการตรวจประเมิน)
ครบรอบ ต้องประเมินตัวบ่งชี้ 2.1 ด้วย
แม้หลักสูตรนั้นจะยังไม่ครบรอบการปรับปรุง
หลักสูตรก็ตาม โดยนาผลการดาเนินงานของ
หลักสูตรในรอบที่ผ่านมามาใช้ประกอบการ
ประเมิน สาหรับหลักสูตรใหม่ไม่ต้องประเมิน
ตวั บง่ ช้ี 2.1 เนอ่ื งจากไม่มีผสู้ าเร็จการศึกษา
กรณีบัณฑิตท่ีมีอาชีพอิสระ ไม่ต้องเอา
มานับในการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้
บัณฑิต ส่วนกรณีบัณฑิตหลักสูตรนานาชาติ
ท่ีมีนิสิตต่างชาติประมาณร้อยละ 90 การ
ประเมนิ บัณฑิตอาจไม่ถงึ ร้อยละ 20 เน่ืองจาก
แนวทางการจัดทารายงานการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสตู ร ๙๑
แนวปฏบิ ัติท่ีดี เอกสารและหลกั ฐาน กระบวนการ
เดินทางกลับประเทศไปแล้ว สามารถอนุโลม
ให้ใช้บัณฑิตที่เป็นนิสิตชาวไทยเปน็ ฐานในการ
คิด เช่น มีนิสิตต่างชาติ 90 คน มีนิสิตไทย
10 คน ใหป้ ระเมนิ โดยคดิ จากนสิ ิตไทยจานวน
10 คน เปน็ ฐานท่ีรอ้ ยละ 100 )
สานักงานประกันคุณภาพ สานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วทิ ยาลัย ได้กาหนดให้ใช้แบบประเมนิ และแบบรายงาน ดงั นี้
1. แบบประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตต่อคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐาน
คุณวฒุ ิระดับอดุ มศึกษาแห่งชาติ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ปีการศึกษา ..... (ปค. ๐๑
สาหรับผู้ใช้บัณฑติ )
2. แบบรายงานผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตต่อคุณภาพบัณฑิตตาม
กรอบมาตรฐานคณุ วุฒริ ะดบั อุดมศึกษาแห่งชาติ ปีการศกึ ษา .........
๔.๑.๒.๒ ร้อยละของบัณฑิตบรรพชิตปริญญาตรีท่ีปฏิบัติหน้าท่ีสนองงานคณะสงฆ์
และบัณฑิตคฤหัสถ์ปริญญาตรีท่ีได้งานทาหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน ๑ ปี/ ร้อยละของ
บัณ ฑิตปริญ ญ าตรีมีคุณ ลักษ ณ ะบัณ ฑิตที่พึงประส งค์ส อบผ่าน ภาษาอังกฤษแล ะเท คโนโล ยี
สารสนเทศ ตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัย/ ผลงานของนิสิตและผู้สาเร็จการศึกษาในระดับปริญญา
โทที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่/ผลงานของนิสิตและผู้สาเร็จการศึกษาในระดับปริญญาเอกที่
ไดร้ ับการตีพมิ พ์/การได้งานทาหรอื ผลงานวิจยั ของผู้สาเร็จการศึกษา
๑. ร้อยละของบัณฑิตบรรพชิตปริญญาตรีท่ีปฏิบัติหน้าท่ีสนองงานคณะสงฆ์และบัณฑิต
คฤหัสถ์ปริญญาตรีท่ีได้งานทาหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน ๑ ปี ได้ปฏิบัติหน้าท่ีสนองงานคณะ
สงฆ์ ได้งานทาหรือมีกิจการของตนเองที่มีรายได้ประจาภายในระยะเวลา ๑ ปี นับจากวันท่ีสาเร็จ
การศึกษาเมื่อเทียบกับบัณฑิตที่สาเร็จการศึกษาในปีการศึกษาน้ัน (จานวนบัณฑิตท่ีตอบแบบสารวจ
จะตอ้ งไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 70 ของจานวนบณั ฑติ ทสี่ าเรจ็ การศกึ ษา)
๒. ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีมีคุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงค์สอบผ่าน
ภาษาองั กฤษและเทคโนโลยสี ารสนเทศ ตามเกณฑ์ท่มี หาวทิ ยาลัย
๓. ผลงานของนิสิตและผู้สาเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโท ที่ได้รับการตีพิมพ์หรือ
เผยแพร่ ให้เป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ ตัวบ่งชี้น้ีจะเป็นการประเมินคุณภาพของผลงานของผู้สาเร็จ
การศึกษาในระดับปริญญาโท (ผลงานสร้างสรรค์ทุกชิ้นต้องผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการท่ีมี
องคป์ ระกอบไม่น้อยกว่า ๓ คน โดยมีบุคคลภายนอกสถาบันรว่ มพิจารณาดว้ ย ผลงานวิจัยที่มชี ื่อนิสิต
และอาจารย์ร่วมกันและนับในตัวบ่งช้ีนี้แล้ว สามารถนาไปนับในตัวบ่งชี้ผลงานทางวิชาการของ
อาจารย์ ผลงานของนิสิตและผู้สาเร็จการศึกษาให้นับผลงานทุกชิ้นท่ีมีการตีพิมพ์เผยแพร่ในปีการ
ประเมินนั้นๆ)
๔. ผลงานของนิสิตและผู้สาเร็จการศึกษาในระดับปริญญาเอก ท่ีได้รับการตีพิมพ์ให้เป็น
ประโยชน์ต่อสาธารณะ ตัวบ่งชี้นี้จะเป็นการประเมินคุณภาพของผลงานของผู้สาเร็จการศึกษาใน
แนวทางการจัดทารายงานการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลักสตู ร ๙๒
ระดับปริญญาเอก (ผลงานสร้างสรรคท์ ุกชิ้นต้องผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการที่มีองค์ประกอบ
ไม่น้อยกว่า ๓ คน โดยมีบุคคลภายนอกสถาบันรว่ มพิจารณาด้วย ผลงานวิจัยท่ีมีช่ือนิสิตและอาจารย์
ร่วมกันและนับในตัวบ่งชี้น้ีแล้ว สามารถนาไปนับในตัวบ่งช้ีผลงานทางวิชาการของอาจารย์ ผลงาน
ของนิสิตและผู้สาเร็จการศึกษาให้นับผลงานทุกชิ้นท่ีมีการตีพิมพ์เผยแพร่ในปีการประเมินน้ั นๆ
ในกรณที ไ่ี มม่ ผี ูส้ าเรจ็ การศกึ ษาไม่พิจารณาตัวบง่ ชนี้ ้ี) มีแนวปฏิบัติที่ดี ดงั นี้
ตารางท่ี ๔.๔ แนวปฏบิ ัติทด่ี ีในการจัดทารายงานองค์ประกอบที่ ๒.๒ ระดับปริญญาตรี/
ปริญญาโท/ปริญญาเอก
แนวปฏิบัติที่ดี เอกสารและหลักฐาน กระบวนการ
การนับบัณฑิตบรรพชิตท่ีปฏิบัติหน้าที่ ปรญิ ญาตรี
สนองงานคณะสงฆ์ นับจากผู้ได้รับแต่งตั้งเป็น 1. รายงานผลแบบสารวจการ C
พระสังฆาธิการ ครูสอนพระปริยัติธรรม พระ ปฏิบัติหน้าที่สนองงานคณะสงฆ์ของ
สอนศีลธรรมในโรงเรียนหรืองานลักษณะอ่ืนที่ บัณฑิตบรรพชิตที่ปฏิบัติหน้าที่สนอง
เทยี บเคียงกนั ได้ งานคณะสงฆ์ของบัณฑิตบรรพชิตและ
การนับการมีงานทาหรือประกอบอาชีพ ภาวะการมีงานทาของบัณฑิตคฤหัสถ์
อิสระของบัณฑิตคฤหัสถ์ นับกรณีการทางาน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราช
สุจริตทุกประเภทที่สามารถสร้างรายได้เข้ามา วทิ ยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น
เป็นประจาเพื่อเล้ียงชีพตนเองได้ การคานวณ 2. สูจิบัตรงานประสาทปริญญาปี C
ร้อยละของผู้มีงานทาของผู้สาเร็จการศึกษาท่ี (ปกี ารศึกษาท่ีรับการตรวจประเมิน)
ลงทะเบียนเรียนในภาคพิเศษหรือภาคนอกเวลา ๓. ผลการสอบผ่านภาษาองั กฤษและ C
ให้คานวณเฉพาะผู้ที่เปลี่ยนงานใหม่หลังสาเร็จ เทคโนโลยีสารสนเทศ ตามเกณฑ์ที่
การศกึ ษาเทา่ นน้ั มหาวทิ ยาลยั กาหนด
ผ ล ก ารส อ บ ผ่ าน ภ าษ าอั งก ฤ ษ แ ล ะ
เทคโนโลยีสารสนเทศ ตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัย
กาหนด
การศึกษาในระดับปริญญาโท จะต้องมี บัณฑิตศกึ ษา
การค้นคว้าคิดอย่างเป็นระบบ วิจัยเพื่อหา 1. รายงานผลแบบสารวจการปฏบิ ตั ิ C
คาตอบท่ีมีความน่าเชื่อถือ ผู้สาเร็จการศึกษา หน้าที่สนองงานคณะสงฆ์ของบัณฑิต
จะต้องประมวลความรู้เพ่ือจัดทาผลงานที่แสดง บรรพชิตท่ีปฏิบัติหน้าที่สนองงานคณะ
ถึงความสามารถในการใชค้ วามรู้อย่างเป็นระบบ สงฆ์ของมหาบัณ ฑิต/ดุษฎีบัณ ฑิต
และสามารถนาเผยแพร่ให้เป็นประโยชน์ต่อ บรรพชิตและภาวะการมีงานทาของ
สาธารณะ ตัวบ่งช้ีนี้จะเป็นการประเมินคุณภาพ มหาบั ณ ฑิ ต /ดุษ ฎี บัณ ฑิ ตคฤหัสถ์
ของผลงานของผู้สาเร็จการศึกษาในระดับ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราช
ปริญญาโท วทิ ยาลัย วทิ ยาเขตขอนแก่น
การศึกษาในระดับปริญ ญ าเอก เป็น 2. สูจิบัตรงานประสาทปริญญาปี C
การศึกษาในระดับสูงจะต้องมีการค้นคว้าคิด (ปีการศึกษาถัดไป)
อย่างเป็นระบบ วิจัยเพื่อหาประเด็นความรู้ใหม่
ท่ีมีความน่าเชื่อถือ เป็นประโยชน์ ผู้สาเร็จ
แนวทางการจดั ทารายงานการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลกั สตู ร ๙๓
แนวปฏิบตั ิทดี่ ี เอกสารและหลกั ฐาน กระบวนการ
การศึกษาจะต้องประมวลความรู้เพ่ือจัดทา
ผลงานท่ีแสดงถึงความสามารถในการใช้ความรู้
อย่างเป็นระบบและสามารถนาเผยแพร่ให้เป็น
ประโยชน์ต่อสาธารณะ ตัวบ่งชี้นี้จะเป็นการ
ประเมินคุณ ภาพ ของผลงานของผู้สาเร็จ
การศกึ ษาในระดบั ปริญญาเอก
สานักงานประกันคุณภาพมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ได้กาหนดให้ใช้แบบ
ประเมนิ และแบบรายงาน ดงั น้ี
1. แบบสารวจการปฏิบตั ิหนา้ ท่สี นองงานคณะสงฆข์ องบัณฑติ บรรพชติ สาหรับ..... บัณฑิต
ผรู้ บั ปริญญาบตั ร เม่อื เดือนพฤษภาคม ... มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (ปค.๐๒ บัณฑิต
บรรพชิต)
2. แบบรายงานผลการสารวจการสนองงานคณะสงฆ์ของบณั ฑติ บรรพชิต
3. แบบสารวจภาวะการมีงานทาของบณั ฑิตคฤหัสถ์ (ปค.๐๓ บณั ฑิตคฤหสั ถ์)
4. แบบรายงานผลการสารวจภาวะการมีงานทาของบณั ฑติ คฤหสั ถ์
ในกรณีท่ีหลักสูตรยังไม่มีผู้สาเร็จการศึกษา ให้แจ้งไม่ขอรับการประเมินในองค์
องคป์ ระกอบท่ี ๒
๔.๑.๓ องคป์ ระกอบท่ี ๓ นสิ ิต
องค์ประกอบท่ี ๓ นิสิต เป็นการอธิบายกระบวนการตั้งแต่ระบบการรับนิสิต การส่งเสริม
และพัฒนานิสิต และผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับนิสิตภายใต้กระบวนการดาเนินการ มีแนวปฏิบัติท่ีดีและ
เทคนคิ การจดั ทารายงานการประกันคณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลักสตู ร ดังนี้
๔.๑.๓.๑ การรบั นสิ ติ
การรับนิสิตเป็นการอธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการดาเนินงานในประเด็นที่
เก่ียวข้องกับการรับนิสิตและการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษา ว่าต้องการนิสิตที่มีคุณสมบัติ
อย่างไร และจัดเตรียมความพร้อมให้กับนิสิตท่ีจะศึกษาในหลักสูตร โดยพิจารณาจาก มคอ. 2 ที่ได้
ระบุถงึ ปัญหาของนิสิตแรกเขา้ และการแก้ปัญหา ในการประเมินเพื่อให้ทราบวา่ อย่ใู นระดับคะแนนใด
ให้พิจารณาในภาพรวมของผลการดาเนินงานทั้งหมด ที่ทาให้ได้นิสิตที่มีความพร้อมท่ีจะเรียนใน
หลกั สตู ร มีแนวปฏิบตั ิท่ีดี ดงั นี้
ตารางท่ี ๔.๕ แนวปฏบิ ตั ิท่ีดีในการจดั ทารายงานองค์ประกอบท่ี ๓.๑ การรับนิสิต
แนวปฏิบัติทด่ี ี เอกสารและหลักฐาน กระบวนการ
ข้อเสนอแนะในการรายงานผลการดาเนนิ งาน ๑. คมู่ อื การรบั สมัครนิสิต P
- ให้อธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการ ๒. แผนการรับสมัครพระภิกษุ P
ดาเนินงานในประเด็นท่ีเก่ียวข้องกับการรบั นิสิต สามเณ รและบุคคลท่ัวไปเพื่อสอบ
และการเตรียมความพร้อมกอ่ นเข้าศึกษา คดั เลอื กเข้าศกึ ษาหลกั สูตร.. สาขาวิชา
แนวทางการจดั ทารายงานการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลกั สูตร ๙๔
แนวปฏิบตั ิทด่ี ี เอกสารและหลักฐาน กระบวนการ
- ในการพิจารณาเกี่ยวกับการรับเข้าและ ๓. ขออนุมัติโครงการ/กิจกรรม D
การเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษา ขอให้ดู ประชาสัมพันธ์และแนะแนวการศึกษา
เจตนารมณ์ของหลักสูตร ว่าต้องการนิสิตท่ีมี ระดับหลักสตู ร....สาขาวิชา.....
คุณสมบัติอย่างไร และจัดเตรียมความพร้อม ๔. แต่งต้ังกรรมการสอบ และ P
ให้กับนิสิตที่จะศึกษาในหลักสูตร โดยพิจารณา พิจารณาข้อสอบคัดเลือกนิสิตหลักสูตร
จาก มคอ. 2 ทไ่ี ด้ระบุถึงปัญหาของนิสิตแรกเข้า .... สาขาวิชา.... ปกี ารศกึ ษา ....
และการแกป้ ญั หา
- ในการประเมินเพื่อให้ทราบว่าอยู่ใน ๕. แต่งตั้งคณ ะกรรมการสอบ P
ระดับคะแนนใด ให้พิจารณาในภาพรวมของผล คัดเลือกนิสิตใหม่หลักสูตร.... สาขาวิชา
การดาเนินงานท้ังหมด ท่ีทาให้ได้นิสิตท่ีมีความ .....ปีการศึกษา ..... (สอบข้อเขียน/
พร้อมที่จะเรียนในหลักสูตร ไม่ควรพิจารณา สัมภาษณ์)
แต่ละประเดน็ ย่อย และกรณีจะให้คะแนนระดับ ๖ . แต่งต้ังคณ ะกรรมการจัด P
4 หรือ 5 ต้องมีคาอธิบายท่ีเห็นเป็นรูปธรรม มี กิจกรรมเตรียมความพร้อมนิสิตใหม่
แนวปฏิบัตทิ ่ีดี ดังน้ี หลักสูตร... สาขาวิชา..
๗. รายงานผลการประชาสัมพันธ์ C
๑. มรี ะบบมกี ลไก
๒. มีการนาระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ และแนะแนวการศึกษาหลักสูตร....
ดาเนนิ งาน สาขาวชิ า.....
๓. มกี ารประเมนิ กระบวนการ ๘. รายงานผลการรับนิสิตหลักสูตร C
๔. มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจาก .... สาขาวิชา...
ผลการประเมิน ๙ . ป ร ะ เมิ น ผ ล ก ระ บ ว น ก า ร A
๕. มผี ลจากการปรบั ปรุงเหน็ ชดั เป็นรปู ธรรม ประชาสัมพันธ์และแนะแนวการศึกษา
๖. มีแนวทางปฏิบัติที่ดี โดยมีหลักฐานเชิง ของหลักสตู รหลกั สตู ร..... สาขาวชิ า.....
ประจักษ์ยืนยัน และกรรมการผู้ตรวจประเมิน ๑๐. รายงานผลการจัดกิจกรรม C
สามารถให้เหตุผลอธิบายการเป็นแนวปฏิบัติที่ดี เตรียมความพร้อมนิสิตใหม่หลักสูตร...
ได้ชดั เจน สาขาวิชา..
โ ด ย ท่ี ห ลั ก สู ต ร ต้ อ ง จั ด โ ค ร ง ก า ร ๑ ๑ . ราย งาน ผ ล ก าร ป ระ เมิ น A
ประชาสัมพันธ์แนะแนวหลักสูตร และจัดให้มี กระบวนการปฐมนเิ ทศนสิ ิตใหม่
กิจกรรมการเตรียมผู้สมัครเข้าเรียน และ ๑๒. รายงานผลการปรับปรุงและ A
ป ฐม นิ เท ศ เพื่ อให้ ผู้ สมั ค รเรีย น คุ้ น เค ย มี พัฒนากระบวนการจากผลการประเมนิ
ความสัมพันธ์ที่ดีกับอาจารย์ประจาหลักสูตร ๑๓. รายงานผลการประเมินจาก A
และมีการจัดอบรมแนะแนวการทาข้อสอบเข้า การปรบั ปรงุ เหน็ ชัดเป็นรปู ธรรม
ศกึ ษา และใหม้ ีการประเมินกระบวนการรับนสิ ิต ๑๔. รายงานแนวทางปฏิบัติท่ีดี
และการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษาอย่าง โดยมีหลักฐานเชิงประจักษ์ยืนยันและ A
เป็นรูปธรรม มีตัวชี้วัดความสาเร็จและค่า สามารถให้เหตุผลอธิบายการเป็นแนว
เป้าหมายจากการรายงานผลดาเนินโครงการ ปฏบิ ัติทดี่ ไี ด้ชัดเจน
ประชาสมั พันธห์ ลกั สตู ร
แนวทางการจดั ทารายงานการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลักสูตร ๙๕
๔.๑.๓.๒ การส่งเสรมิ และพฒั นานิสิต
การส่งเสริมและพัฒนานิสิต เป็นการอธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการดาเนินงานใน
ประเดน็ ท่เี ก่ยี วขอ้ งกับการควบคุม การดูแล การให้คาปรึกษาวิชาการและแนะแนวแกน่ ิสิตปริญญาตรี
การควบคุมดูแลการให้คาปรึกษาวิทยานิพนธ์แก่บัณฑิตศึกษา และการพัฒนาศักยภาพนิสิตและการ
เสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ในการประเมินเพ่ือให้ทราบว่าอยู่ในระดับคะแนนใด
ให้พิจารณาในภาพรวมของผลการดาเนินงานท้ังหมด ท่ีทาให้ได้นิสิตเรียนอย่างมีความสุข และมี
ทกั ษะที่จาเปน็ ต่อการประกอบอาชพี ในอนาคต มแี นวปฏบิ ตั ิทีด่ ี ดงั นี้
ตารางท่ี ๔.๖ แนวปฏิบัติที่ดีในการจัดทารายงานองค์ประกอบที่ ๓.๒ การส่งเสริมและ
พัฒนานิสติ
แนวปฏบิ ตั ิท่ดี ี เอกสารและหลักฐาน กระบวนการ
ขอ้ เสนอแนะในการรายงานผลการดาเนนิ งาน ๑. ระเบียบและข้อบังคับเกี่ยวกับ C
ให้อธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการ การสง่ เสริมและพฒั นานิสติ
ดาเนินงานในประเด็นท่ีเก่ียวขอ้ งกับการควบคุม ๒. คาส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการ P
การดูแล การให้คาปรึกษาวิชาการและแนะแนว ควบคุมดูแลการให้คาปรึกษาวิชาการ
แก่นิสิตปริญญาตรี การควบคุมดูแล การให้ และแนะแนวแก่นิสิต/การควบคุมดูแล
คาปรึกษาวิทยานิพนธ์แก่บัณฑิตศึกษา และการ การให้ ค าป รึก ษ าวิท ย านิ พ น ธ์แ ก่
พัฒนาศักยภาพนิสิตและการเสริมสร้างทักษะ บัณฑิตศึกษา หลักสูตร..... สาขาวิชา.....
การเรียนร'ู ในศตวรรษท่ี 21 ๓. คาส่ังแต่งต้ังกรรมการพัฒนา P
การประเมินเพ่ือให้ทราบว่าอยู่ในระดับ ศักยภาพนิสิตและการเสริมสร้างทักษะ
คะแนนใด ให้พิจารณาในภาพรวมของผลการ การเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ ๒๑
ดาเนินงานท้ังหมด ที่ทาให้ได้นิสิตเรียนอย่างมี ๔. คู่มืออาจารย์ที่ปรึกษานิสิตและ P
ความสุขและมีทักษะท่ีจาเป็นต่อการประกอบ คู่มือการใช้งานระบบอาจารย์ท่ีปรึกษา
อาชีพในอนาคต ไม่ควรพิจารณาแต่ละประเด็น (สว่ นของอาจารย)์
ย่อย และกรณีจะให้คะแนนระดับ 4 หรือ 5 ๕. รายงานผลสถานภาพนิสิตและ C
ต้องมคี าอธบิ ายท่เี ห็นเปน็ รูปธรรม การติดตามผลการเรียนนิสิตหลักสูตร
การรายงานการดาเนินงานตามตัวบ่งช้ีน้ี ..... สาขาวิชา....ปกี ารศึกษา ... ท่ีมีเกรด
ให้อธิบายกระบ วนการหรือแสดงผลการ เฉล่ยี ไม่ถึง ๒.๐๐
ดาเนินงานอย่างน้อยให้ครอบคลุมการควบคุม ๖. รายงานผลการพัฒนาศักยภาพ C
(๑) การดูแลให้คาปรึกษาวิชาการและแนะแนว นิสิตและการเสรมิ สร้างทกั ษะการเรยี นรู้
แก่นิสิตปริญญาตรีการควบคุมดูแลการให้ ในศตวรรษที่ ๒๑
คาปรึกษาวิทยานิพนธ์แก่บัณฑิตศึกษา (๒) การ ๗ . รายงาน ผลการดาเนิ น งาน C
พัฒนาศักยภาพนิสิตและการเสริมสร้างทักษะ โครงการท่ีเก่ยี วข้องกับกบั ตัวบ่งชี้นี้
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ มีแนวปฏิบัติที่ดี ๘ . ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ป ร ะ เมิ น C
ดังน้ี กระบวนการดาเนินโครงการ/กิจกรรม
๑. มีระบบมกี ลไก หลักสตู ร
๒. มีการนาระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ ๙. รายงานผลการประเมินกิจกรรม A
ดาเนินงาน มาปรบั ปรุงโดยการให้นสิ ติ บรรพชิตและ
๓. มีการประเมินกระบวนการ คฤหัสถ์ที่บาเพ็ญสาธารณประโยชน์ต่อ
แนวทางการจัดทารายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ๙๖
แนวปฏบิ ัติที่ดี เอกสารและหลกั ฐาน กระบวนการ
๔. มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจาก สังคม
ผลการประเมนิ ๑๐. รายงานผลการปรับปรุงและ A
๕. มีผลจากการปรับปรุงเห็นชัดเป็น พัฒนากระบวนการจากผลการประเมนิ
รูปธรรม
๖. มีแนวทางปฏิบัติท่ีดี โดยมีหลักฐานเชิง ๑๑. รายงานผลการประเมินผลจาก A
ประจักษ์ยืนยัน และกรรมการผู้ตรวจประเมิน การปรับปรุงการส่งเสริมและพัฒนา
สามารถให้เหตุผลอธิบายการเป็นแนวปฏิบัติที่ดี นสิ ิตให้เห็นชัดเป็นรปู ธรรม
ไดช้ ัดเจน ๑๒. รายงานแนวทางปฏิบัติท่ีดี A
โดยที่หลักสูตรต้องมีวิธีการดาเนินงานจาก โดยมีหลักฐานเชิงประจักษ์ยืนยันและ
การจัดทาแผนการส่งเสริมและพัฒนานิสิต เช่น สามารถให้เหตุผลอธิบายการเป็นแนว
แผนพัฒนาศักยภาพและทักษะการเรียนรู้ของ ปฏิบตั ิทด่ี ีได้ชดั เจน
นิสิตศตวรรษท่ี ๒๑ แผนสัมมนาเชิงปฏิบัติ ซ่ึง
จะทาให้นิสิตได้ขับเคลื่อนและนาความรู้ท่ีได้รับ
จากการอบรมไปบูรณาการกับกิจกรรมต่างๆ
ของวัดหรือชมุ ชนน้ันๆ
๔.๑.๓.๓ ผลท่ีเกดิ ขนึ้ กับนิสิต
ผลท่ีเกิดขึ้นกับนิสติ เป็นการอธบิ ายกระบวนการหรอื แสดงผลการดาเนินงานในประเดน็ ที่
เกี่ยวข้อง คือ การคงอยู่ของนิสิตในหลักสูตร การสาเร็จการศึกษาตามหลักสูตร ความพึงพอใจของ
นิสิตต่อกระบวนการท่ีดาเนินการให้แก่นิสิตตามกิจกรรมในตัวบ่งช้ีที่ 3.1 และ 3.2 และผลการ
จดั การขอ้ รอ้ งเรยี นของนิสติ มีแนวปฏบิ ัตทิ ่ดี ี ดังน้ี
ตารางท่ี ๔.๗ แนวปฏิบัติทีด่ ีในการจัดทารายงานองคป์ ระกอบที่ ๓.๓ ผลทเ่ี กิดข้นึ กบั นิสิต
แนวปฏิบัติทด่ี ี เอกสารและหลกั ฐาน กระบวนการ
มีขอ้ เสนอแนะในการรายงานผลการดาเนนิ งาน ๑. รายงานผลการ C
- ให้อธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการดาเนินงานใน ค ง อ ยู่ ข อ ง นิ สิ ต ใ น
ประเด็นท่ีเก่ียวข้องคือ การคงอยู่ของนิสิตในหลักสูตร หลักสูตร
การสาเร็จการศึกษาตามหลักสูตร ความพึงพอใจของ ๒. รายงานผลการ C
นิสิตต่อกระบวนการที่ดาเนินการให้กับนิสิตตาม สาเร็จการศึกษ าของ
กิจกรรมในตัวบ่งชี้ที่ 3.1 และ 3.2 และผลการจัดการ นสิ ติ หลกั สตู ร...
ข้อรอ้ งเรยี นของนสิ ิต ๓. รายงานผลความ C
- การจัดการขอ้ รอ้ งเรียน หมายถึง การอธบิ ายการจัดการ พึ งพ อใจของนิ สิ ตต่อ
ข้อร้องเรียนท่ีมีนัยสาคัญ ไม่ได้เน้นท่ีปริมาณหรือ กระบวนท่ีดาเนินการ
จานวนขอ้ รอ้ งเรียน ให้กับนิสิตตามกิจกรรม
- อตั ราการคงอยู่ของนิสิต คิดจากจานวนนิสิตที่เข้าในแต่ ในตัวบ่งชี้ท่ี 3.1 และ
ละรุ่น ลบด้วยจานวนนิสิตท่ีออกทุกกรณีนับถึงสิ้นปี 3.2
การศึกษาท่ีประเมิน ยกเว้นการเสียชีวิต การย้าย
แนวทางการจัดทารายงานการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลกั สูตร ๙๗
แนวปฏบิ ัติทดี่ ี เอกสารและหลักฐาน กระบวนการ
สถานที่ทางานของนิสิตในระดับบัณฑิตศึกษาคิดเป็น ๔. รายงานผล C
ร้อยละของจานวนท่ีรับเข้าแต่ละรุ่นท่ีบัณฑิตสาเร็จ ความพึงพอใจของนิสิตปี
การศึกษาแล้ว สุ ด ท้ า ย ต่ อ คุ ณ ภ า พ C
- การคดิ รอ้ ยละของจานวนนสิ ิตทยี่ งั คงอยขู่ องแตล่ ะรนุ่ หลักสตู ร A
ในประเดน็ การประเมนิ “มแี นวโน้มผลการดาเนินงานที่
ดขี นึ้ ” ควรนาเสนอผลการดาเนนิ งานเทียบเคยี งอย่างนอ้ ย 3 ปี ๕. รายงานผลการ A
จากผลการประกันคุณภาพการศึกษา ควรทาให้นิสิตมี ประเมินความพึงพอใจ A
ความพรอ้ มทางการเรยี น มีอัตราการคงอยู่ของนิสิตในหลกั สูตร ของนิสิตต่อเรียนรู้และ
สูง อัตราการสาเร็จการศึกษาตามหลักสูตรสูง นิสิตมีความพึง การบริการ A
พอใจต่อหลักสูตร และผลการจัดการข้อร้องเรียนของนิสิตใน
การรายงาน การดาเนิ น งาน ตาม ตัวบ่ งช้ีนี้ ให้ อธิบ าย ๖. รายงานผลการ
กระบวนการหรือแสดงผลการดาเนินงานเก่ียวกับการคงอยู่ วิเคราะห์ความพึงพอใจ
การสาเร็จการศึกษา โดยมกี าร แ ล ะ ผ ล ก า ร จั ด ก า ร ข้ อ
๑. วิเคราะห์ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อร้องเรียน ร้องเรียนของนิสติ
ของนิสิต
๒. มีการรายงานผลการดาเนินงานครบทุกเรื่องตาม ๗. รายงานผลการ
คาอธบิ ายในตวั บง่ ช้ี ดาเนินงานครบทุกเร่ือง
๓. วิเคราะหแ์ นวโน้มผลการดาเนินงานที่ดขี ึน้ ในทุกเรอ่ื ง ตามคาอธบิ ายในตวั บ่งชี้
๔. มีผลการดาเนินงานที่โดดเด่น เทียบเคียงกับหลักสูตร
นั้นในสถาบันกลุ่มเดียวกันโดยมีหลักฐานเชิงประจักษ์ยืนยัน ๘. รายงานผลการ
และกรรมการผู้ตรวจประเมินสามารถให้เหตุผลอธิบายว่าเป็น วิเคราะห์แนวโน้มผลการ
ผลการดาเนนิ งานท่ีโดดเดน่ อยา่ งแท้จริง ดาเนินงานที่ดีขึ้นในทุก
โดยท่ีหลักสูตรต้องจัดทารายงานผลเก่ียวกับการคงอยู่ เรือ่ ง
การสาเร็จการศึกษา ความพึงพอใจและผลการจัดการข้อ
ร้องเรียนของนิสิต เพ่ือวิเคราะห์ผลกระทบท่ีทาให้จานวนนิสิต ๙. รายงานผลการ
และผู้สาเร็จการศึกษามีแนวโน้มลดลง โดยเฉพาะอย่างย่ิงการ ดาเนนิ งานทโี่ ดดเด่นจาก
จัดการข้อร้องเรียนของนิสิต ให้ประธานหลักสูตรเรียกประชุม ห ลั ก ฐ า น เชิ ง ป ร ะ จั ก ษ์
อาจารย์ประจาหลักสูตรข้อมูลตามข้อร้องเรียน รวบรวม ยืน ยัน จน สามารถให้
เอกสารหลักฐาน ตรวจงานเอกสารของนิสิตโดยละเอียด เหตุผลอธิบายว่าเป็นผล
พิจารณาผลการเรียนของนิสิตอีกครั้ง ผลการดาเนินงานท่ี การดาเนินงานท่ีโดดเด่น
เกิดขึ้นว่าผู้ร้องเรียนมีความพึงพอใจต่อระบบวิธีการจัดการต่อ อยา่ งแทจ้ รงิ
ข้อร้องเรียน และยอมรับผลการพิจารณาผลของผูร้ อ้ งเรยี นนน้ั
สานักงานประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ได้กาหนดให้ใช้
แบบประเมนิ และแบบรายงาน ดงั น้ี
1. แบบประเมินความพึงพอใจของนิสิตระดับปริญญาตรี (ปค.๐๔ นิสิตปริญญาตรี)
(ใช้เป็นหลักฐานในองค์ประกอบที่ 6.1 ดว้ ย)
แนวทางการจัดทารายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลักสูตร ๙๘
2. แบบประเมนิ ความพงึ พอใจของนสิ ติ ระดบั บัณฑิตศึกษาต่อการบรหิ ารจัดการหลักสูตร
..... (ปค.๐๕ นสิ ติ โท/เอก) (ใชเ้ ป็นหลักฐานในองค์ประกอบท่ี 6.1 ดว้ ย)
หลกั สตู รต้องแสดงผลการประเมินความพึงพอใจทกุ รายการ ๓ ปีย้อนหลัง
๔.๑.๔ องค์ประกอบที่ ๔ อาจารย์
องค์ประกอบท่ี ๔ ด้านอาจารย์ เริ่มดาเนินการต้ังแต่การบริหารและพัฒนาอาจารย์
คุณภาพอาจารย์และผลลัพธ์ท่ีเกิดกับอาจารย์ มีแนวปฏิบัติที่ดีและเทคนิคการจัดทารายงานการ
ประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดับหลกั สูตร ดงั น้ี
๔.๑.๔.๑ การบรหิ ารและพฒั นาอาจารย์
การบริหารและพัฒนาอาจารย์ เป็นระบบการรับและแต่งต้ังอาจารย์ประจาหลักสูตร
ระบบการบริหารอาจารย์ ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ ในการประเมินเพื่อให้ทราบว่าอยู่ใน
ระดับคะแนนใด ให้พิจารณาในภาพรวมของผลการดาเนินงานทั้งหมด ที่ทาให้หลักสูตรมีอาจารย์ท่ีมี
คุณสมบัติเหมาะสมทั้งในด้านวุฒิการศึกษาและตาแหน่งทางวิชาการ เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน
หลักสูตรอย่างต่อเน่ือง และมีการส่งเสริมให้มีการเพ่ิมพูนความรู้ความสามารถของอาจารย์เพื่อสร้าง
ความเขม้ แข็งทางวิชาการของหลักสูตร มีแนวปฏิบัติท่ดี ี ดงั น้ี
ตารางท่ี ๔.๘ แนวปฏิบัติท่ีดีในการจัดทารายงานองค์ประกอบท่ี ๔.๑ การบริหารและ
พฒั นาอาจารย์
แนวปฏบิ ัติที่ดี เอกสารและหลกั ฐาน กระบวนการ
ขอ้ เสนอแนะในการรายงานผลการดาเนนิ งาน ๑ . ระ บ บ ก ารรั บ แ ล ะ P
- ให้ อธิบ ายกระบ วนการหรือแสดงผลการ แต่งต้ังอาจารย์ประจาหลักสูตร
ดาเนินงานอย่างเป็นระบบ มีขั้นตอนที่ชัดเจน สามารถ เชน่ คาสัง่ แต่งตง้ั อาจารยป์ ระจา
ทาซา้ ได้ (ระบุได้ว่าใครทาอะไร ช่วงใด อยา่ งไร) วัดและ หลกั สตู ร
ประเมินประสิทธิภาพ/ประสิทธิผลอย่างไร มีการ ๒ . ร ะ บ บ ก า ร บ ริ ห า ร P
ปรับปรุงอย่างไร และควรอธิบายให้ครบทุกประเด็นใน อาจารย์ส่วนร่วมในการประชุม
ประเด็นท่ีเกี่ยวข้องกับระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ เพือ่ วางแผนตดิ ตามและทบทวน
ประจาหลักสูตร ระบบการบริหารอาจารย์ประจา การดาเนินงานหลกั สูตร
หลักสูตร ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ประจา ๓. ระบบการส่งเสริมและ P
หลักสูตร พัฒนาอาจารย์ในการประเมิน
- ในการประเมนิ เพ่อื ใหท้ ราบวา่ อยู่ในระดับคะแนน ให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน
ใด ให้พิจารณาในภาพรวมของผลการดาเนินงาน การอุดมศึกษา ทั้งนี้หลักสูตรก็
ทั้งหมด ท่ีทาให้หลักสูตรมีอาจารย์ที่มีคุณสมบัติ จะมีแผนการบริหารอาจารย์
เหมาะสมท้ังในด้านวุฒิการศึกษาและตาแหน่งทาง ประจาหลกั สตู ร
วิชาการเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรอย่าง ๔. รายงานการพิจารณาผล C
ต่อเนื่อง และมีการส่งเสริมให้มีการเพิ่มพูนความรู้ การประเมินอาจารย์ประจา
ความสามารถของอาจารย์เพ่ือสร้างความเข้มแข็งทาง หลักสตู ร....
วชิ าการของหลกั สตู ร
แนวทางการจดั ทารายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลกั สตู ร ๙๙
แนวปฏบิ ตั ิท่ีดี เอกสารและหลกั ฐาน กระบวนการ
- ความหมายของอาจารย์ตามตัวบ่งชี้นี้ หมายถึง ๕. รายงานผลการพิจารณา C
อาจารยป์ ระจาหลกั สตู รเทา่ นัน้ ภาระงานตามเกณฑ์การสอน
การบริหารและพัฒนาอาจารย์เร่ิมต้นตั้งแต่ระบบ หลักสูตร..... สาขาวิชา.... ภาค
การรบั อาจารย์ใหม่ต้องกาหนดเกณฑ์คณุ สมบตั ิอาจารย์ เรียนที่ .../......
ที่สอดคล้องกับสภาพบริบท ปรัชญา วิสัยทัศน์ของ ๖ . ร า ย ง า น ผ ล ก า ร C
สถาบันและของหลักสูตร มีกลไกการคัดเลือกอาจารย์ท่ี พิจารณาภาระงานตามเกณฑ์
เหมาะสม โปร่งใส นอกจากน้ี ต้องมีระบบการบริหาร การสอนหลักสูตร.. สาขาวิชา...
อาจารย์โดยการกาหนดนโยบาย แผนระยะยาว เพ่ือให้ ภาคเรียนที่ .../......
ได้อาจารย์ทีม่ ีคณุ สมบตั ทิ ัง้ เชิงปริมาณและเชิงคณุ ภาพท่ี ๗ . ค า สั่ ง แ ต่ ง ตั้ ง
เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กาหนดโดย คณะกรรมการพิจารณาแนว P
สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และระบบการ ทางการพัฒนาอาจารย์ประจา
ส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ มีการวางแผน และการ หลักสูตร
ลงทุนงบประมาณและทรัพยากรและกิจกรรมการ ๘. รายงานผลการประเมิน
ดาเนินงาน ตลอดจนการกากับดูแล และการพัฒนา การพั ฒ น าอ าจารย์ป ระจา C
คุณภาพอาจารย์ หลักสูตร... สาขาวิชา....ภาค
ในการรายงานการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้น้ี ให้ เรียนที่ ....../.....
อธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการดาเนินงานอย่าง ๙. รายงานผลการปรับปรุง
น้อยให้ครอบคลุมระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ และพัฒนากระบวนการจากผล A
ประจาหลักสูตร ระบบการบริหารอาจารย์ ระบบการ การประเมิน
ส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ในการประเมินเพื่อให้ทราบ ๑๐. รายงานผลจากการ A
วา่ อยู่ในระดับคะแนนใด ให้พจิ ารณาในภาพรวมของผล ปรบั ปรุงเห็นชดั เปน็ รูปธรรม
การดาเนินงานท้ังหมด ท่ีทาให้หลักสูตรมีอาจารย์ที่มี ๑ ๑ . ร า ย ง า น ผ ล ก า ร
คุณสมบัติเหมาะสมท้ังในด้านวุฒิ การศึกษาและ ด า เนิ น งา น ท่ี โด ด เด่ น จ า ก A
ตาแหน่งทางวิชาการ เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน หลักฐานเชิงประจักษ์ยืนยัน จน
หลักสูตรอย่างต่อเนื่อง และมีการส่งเสริมให้มีการ สามารถให้เหตผุ ลอธิบายว่าเป็น
เพ่มิ พูนความรคู้ วามสามารถของอาจารย์เพอื่ สรา้ งความ ผลการดาเนินงานที่โดดเด่น
เข้มแขง็ ทางวชิ าการของหลักสูตร มแี นวปฏบิ ัติท่ีดี ดังน้ี อยา่ งแทจ้ ริง
๑. มรี ะบบมกี ลไก
๒. มกี ารนาระบบกลไกไปสู่การปฏิบตั /ิ ดาเนินงาน
๓. มีการประเมนิ กระบวนการ
๔. มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการ
ประเมนิ
๕. มผี ลจากการปรบั ปรุงเห็นชัดเปน็ รูปธรรม
๖. มีแนวทางปฏิบัติทีด่ ี โดยมีหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์
ยืนยัน และกรรมการผู้ตรวจประเมินสามารถให้เหตุผล
อธิบายการเป็นแนวปฏิบัตทิ ีด่ ีไดช้ ดั เจน
โดยท่ีหลักสูตรต้องประชุมเพื่อวางแผนการบริหาร
แนวทางการจัดทารายงานการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลักสตู ร ๑๐๐
แนวปฏิบตั ิทด่ี ี เอกสารและหลักฐาน กระบวนการ
และพัฒนาอาจารย์ โดยดาเนินการจัดทาปฏิทินการ
ประชุมอาจารย์ประจาหลักสูตร สารวจความต้องการ
ข อ ง อ า จ า รย์ ป ร ะ จ า ห ลั ก สู ต รเพื่ อ จั ด ท า แ ผ น พั ฒ น า
อาจารย์รายบุคคล
๔.๑.๔.๒ คณุ ภาพอาจารย์
คุณภาพอาจารย์ เป็นการประเมินตามรอบปีการศึกษา การนับอาจารย์ประจาท่ี
ปฏบิ ัติงานจรงิ รวมท่ีลาศกึ ษาต่อในรอบปีการศึกษา และการนับจานวนอาจารย์ทม่ี ีคุณวุฒิปริญญาเอก
จะนับเม่ืออาจารย์ได้รับใบรับรองการสาเร็จการศึกษา มีประเด็นในการพิจารณา ตัวบ่งช้ีน้ีจะ
ประกอบดว้ ย
- ร้อยละของอาจารย์ประจาหลักสตู รท่ีมีคณุ วุฒิปรญิ ญาเอก
- รอ้ ยละของอาจารย์ประจาหลักสูตรทด่ี ารงตาแหน่งทางวิชาการ
- ผลงานวชิ าการของอาจารย์ประจาหลกั สูตร
- จานวนบทความของอาจารย์ประจาหลักสูตรปริญญาเอกที่ได้รับการอ้างอิงในวารสาร
ระดับชาตหิ รอื นานาชาติต่อจานวนอาจารยป์ ระจาหลักสตู ร มแี นวปฏิบัติทดี่ ี ดังน้ี
ตารางที่ ๔.๙ แนวปฏบิ ตั ิทดี่ ีในการจัดทารายงานองค์ประกอบท่ี ๔.๒ คุณภาพอาจารย์
แนวปฏบิ ัติทด่ี ี เอกสารและหลกั ฐาน กระบวนการ
ขอ้ เสนอแนะในการรายงานผลการดาเนินงาน ๑ . อ า จ า ร ย์ ป ร ะ จ า C
- ประเมินตามรอบปีการศึกษ า (มิถุนายน – หลักสูตรท่ีมีคุณวุฒิปริญญา
พฤษภาคม) เอก
- นับอาจารย์ประจาที่ปฏิบัติงานจริงรวมที่ลา ๒ . อ า จ า ร ย์ ป ร ะ จ า C
ศกึ ษาต่อในรอบปกี ารศกึ ษา หลักสูตรท่ีดารงตาแหน่งทาง
- การนับจานวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก วชิ าการ
จะนับเม่ืออาจารย์ได้รับใบรับรองการสาเร็จ ๓. ผลงานวิชาการของ C
การศกึ ษา อาจารย์ประจาหลกั สูตร
การส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ต้องทาให้อาจารย์ ๔. บทความของอาจารย์ C
ในหลักสตู รมีคณุ สมบัติทเ่ี หมาะสมและเพียงพอ โดยทาให้ ประจาหลักสูตรปริญญาเอกท่ี
อาจารย์มีความรู้ความเชี่ยวชาญทางสาขาวิชาที่เปิด ได้รับการอ้างอิงในวารสาร
ให้บริการ และมีประสบการณ์ท่ีเหมาะสมกับการผลิต ระดับชาติหรือนานาชาติต่อ
บัณฑติ อนั สะท้อนจากวุฒิการศกึ ษา ตาแหน่งทางวิชาการ จ า น ว น อ า จ า ร ย์ ป ร ะ จ า
และความก้าวหน้าในการผลิตผลงานทางวิชาการอย่าง หลกั สตู ร (นับตามปีปฏิทนิ )
ตอ่ เน่ืองประเดน็ ในการพิจารณา ตวั บ่งชีน้ ้ีประกอบด้วย
๑. ร้อยละของอาจารย์ประจาหลักสูตรท่ีมีคุณวุฒิ
ปริญญาเอก
๒. ร้อยละของอาจารย์ประจาหลักสูตรที่ดารง
ตาแหนง่ ทางวชิ าการ
แนวทางการจดั ทารายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลักสูตร ๑๐๑
แนวปฏิบัติทด่ี ี เอกสารและหลกั ฐาน กระบวนการ
๓. ผลงานวิชาการของอาจารย์ประจาหลกั สตู ร
๔. จานวนบทความของอาจารย์ประจาหลักสูตร
ปริญญาเอกที่ได้รับการอ้างอิงในวารสารระดับชาติหรือ
นานาชาตติ อ่ จานวนอาจารย์ประจาหลกั สูตร
โดยที่หลักสตู รต้องจัดทาแผนพัฒนา ส่งเสริมอาจารย์
เพื่อเข้าสู่ตาแหน่งทางวิชาการและเรียนต่อในระดับท่ี
สูงข้ึน ส่งเสริมอาจารย์ให้มีการพัฒนาตนเอง ท้ังในแง่การ
อบรมพัฒนาทักษะการสอน การบริการวิชาการ การทานุ
บารุงศลิ ปวัฒนธรรมและการทาวิจัย
๔.๑.๔.๓ ผลทีเ่ กดิ กบั อาจารย์
ผลท่ีเกิดกับอาจารย์ อธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการดาเนินงานในประเด็นที่
เก่ียวข้อง คือ การคงอยู่ของอาจารย์ ความพึงพอใจของอาจารย์ประจาหลักสูตรต่อกระบวนการที่ได้
ดาเนินการให้กับอาจารย์ตามกิจกรรมต่างๆ ในตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ส่วนประเด็นการประเมินมีแนวโน้มผล
การดาเนนิ งานทดี่ ขี นึ้ มแี นวปฏบิ ัตทิ ีด่ ี ดังน้ี
ตารางท่ี ๔.๑๐ แนวปฏิบัติท่ีดีในการจัดทารายงานองค์ประกอบท่ี ๔.๓ ผลท่ีเกิดกับ
อาจารย์
แนวปฏิบัติท่ดี ี เอกสารและหลกั ฐาน กระบวนการ
ขอ้ เสนอแนะในการรายงานผลการดาเนนิ งาน ๑. คาสั่งแต่งตั้งอาจารย์ P
- ให้ อธิบ ายกระบ วนการหรือแสดงผลการ ประจาหลักสตู ร..... สาขาวิชา.....
ดาเนินงานในประเด็นท่ีเกี่ยวข้อง คือ การคงอยู่ของ ๒. คาสั่งแต่งตั้งอาจารย์ C
อาจารย์ ความพึงพอใจของอาจารย์ประจาหลักสูตรต่อ ประจาหลักสูตร... สาขาวิชา...
กระบวนการท่ีได้ดาเนินการให้กับอาจารย์ตามกิจกรรม (๓ ปี ย้อนหลงั )
ต่างๆ ในตัวบ่งชีท้ ่ี 4.1 ๓. รายงานผลการคงอยู่ของ C
- อัตราการคงอยู่ของอาจารย์ให้พิจารณาจาก อาจารย์ประจาหลักสูตร
รายช่ืออาจารยป์ ระจาหลักสูตรว่ามีการเปลี่ยนแปลงใน ๔. รายงานผลความพงึ พอใจ C
แต่ละปี ต้ังแต่หลักสูตรใหม่/ปรับปรุง ท่ีได้รับการ ของอาจารย์ประจาหลักสูตรต่อ
อนมุ ัต/ิ เห็นชอบจากสภามหาวทิ ยาลัยใหเ้ ปิดดาเนนิ การ กระบวนการที่ได้ดาเนินการ
- ในประเด็นการประเมิน “มีแนวโน้มผลการ ให้กบั อาจารย์ตามกจิ กรรมต่างๆ
ดาเนินงานที่ดีขึ้น” ควรนาเสนอผลการดาเนินงาน ในตวั บ่งช้ที ่ี 4.1 (๓ ปตี อ่ เนอื่ ง)
เทียบเคียงอยา่ งน้อย 3 ปี ๕. รายงาน ผลความพึ ง C
ผลการประกนั คุณภาพการศึกษาตอ้ งนาไปสู่การมี พ อ ใจ ข อ งอ า จ า ร ย์ ป ร ะ จ า
อัตรากาลังอาจารย์ท่ีมีจานวนเหมาะสมกับจานวนนิสิต หลักสูตรต่อการบริหารจัดการ
ท่ีรับเข้าในหลักสูตร อัตราคงอยู่ของอาจารย์สูง ห ลั ก สู ต ร....ส าข าวิช า.... ปี
และอาจารย์มีความพึงพอใจต่อการบริหารหลักสูตร ใน การศกึ ษา .... (๓ ปี ต่อเนือ่ ง)
การรายงานการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้นี้ ให้อธิบาย
แนวทางการจดั ทารายงานการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลักสตู ร ๑๐๒
แนวปฏิบัติท่ีดี เอกสารและหลกั ฐาน กระบวนการ
กระบวนการหรือแสดงผลการดาเนินงานมีแนวปฏิบัติ ๖. รายงานผลการปรับปรุง A
ทีด่ ี ดงั น้ี และพัฒนากระบวนการจากผล
๑. มีการรายงานผลการดาเนินงานครบทุกเร่ือง การประเมิน
ตามคาอธิบายในตัวบ่งช้ี ๗. รายงานผลจากการ A
๒. มแี นวโนม้ ผลการดาเนินงานทด่ี ีข้นึ ในทกุ เร่อื ง ปรับปรุงเห็นชัดเป็นรูปธรรมท่ีดี
๓. มีผลการดาเนินงานท่ีเป็นเลิศ/โดดเด่น โดย ขนึ้ ในทกุ เรอื่ ง
เทียบเคียงกับหลักสูตรนั้นในสถาบันกลุ่มเดียวกันท่ี ๘ . ร า ย ง า น ผ ล ก า ร A
เหมาะสม หรอื ได้รบั รางวัลระดับชาตหิ รือนานาชาติ ด า เนิ น งา น ท่ี โด ด เด่ น จ า ก
โดยที่หลักสูตรต้องวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดกับ หลักฐานเชิงประจักษ์ยืนยันจน
อาจารย์จากรายงานผลการเปรียบเทียบความพึงใจของ สามารถให้เหตุผลอธิบายว่าเป็น
อาจารย์ต่อการบริหารหลักสูตรเพ่ือหาแนวทางในการ ผลการดาเนินงานท่ีโดดเด่น
จัดทาแผนพัฒนาอาจารย์และการส่งเสริมสวัสดิการ อย่างแท้จริงหรือได้รับรางวัล
โดยเสนอมหาวิทยาลัยเพ่ือของบประมาณสนับสนุน ระดับชาตหิ รือนานาชาติ
ดาเนินการใหเ้ ปน็ ไปตามแผน
สานักงานประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย ได้กาหนดให้ใช้แบบ
ประเมินความพึงพอใจของอาจารย์ประจาหลักสูตรต่อการบริหารจัดการหลักสูตร...... สาขาวิชา……
(ปค.๐๖ อาจารย์) (ใช้เป็นหลักฐานในองค์ประกอบที่ ๖.๑ ด้วย) และหลักสูตรต้องแสดงผลการ
ประเมินความพึงพอใจของอาจารยป์ ระจาหลักสตู ร ๓ ปีย้อนหลัง
๔.๑.๕ องค์ประกอบท่ี ๕ หลกั สูตร การเรียนการสอน การประเมนิ ผเู้ รยี น
องค์ประกอบที่ ๕ เก่ียวข้องกับการบริหารจัดการ ๓ ด้านท่ีสาคัญ คือ สาระของรายวิชา
ในหลักสูตร การวางระบบผู้สอนและกระบวนการเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน ระบบประกัน
คุณภาพในการดาเนินการหลักสูตรตามตวั บ่งช้ี ๕.๑, ๕.๒ และ ๕.๓ มีแนวปฏิบัติท่ีดแี ละเทคนิคการ
จดั ทารายงานการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั หลกั สูตร ดงั น้ี
๔.๑.๕.๑ สาระของรายวชิ าในหลกั สตู ร
สาระของรายวิชาในหลักสูตร เป็นการอธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการดาเนินงาน
เกี่ยวกับหลักคิดในการออกแบบหลักสตู ร การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัย การพิจารณาอนุมัติหัวข้อ
วิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา ต้องเน้นการพัฒนาทักษะด้านการวิจัยและ
การเรียนรู้ด้วยตนเอง ในการประเมินเพื่อให้ทราบว่าอยู่ในระดับคะแนนใด ให้พิจารณาในภาพรวม
ของผลการดาเนินงานทั้งหมดท่ีทาให้หลักสูตรมีความทันสมัย สอดคล้องกับความต้องการของ
ตลาดแรงงานและความต้องการของประเทศอย่างไร มแี นวปฏบิ ัติที่ดี ดงั น้ี
แนวทางการจัดทารายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสตู ร ๑๐๓
ตารางที่ ๔.๑๑ แนวปฏิบัตทิ ดี่ ีในการจัดทารายงานองคป์ ระกอบที่ ๕.๑ สาระของรายวชิ า
ในหลกั สูตร
แนวปฏบิ ัติทด่ี ี เอกสารและหลักฐาน กระบวนการ
มขี อ้ เสนอแนะในการรายงานผลการดาเนนิ งาน ๑. ประกาศคณะกรรมการ C
ให้อธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการ การอุดมศกึ ษา เร่ือง แนวทางการ
ดาเนินงานในประเด็นท่ีเก่ียวข้องกับ (๑) หลักคิดใน ปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
การออกแบบหลักสูตร ข้อมูลที่ใช้ในการพัฒนา ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.
หลักสูตรและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร (๒) การ ๒๕๕๒ (ฉบับท่ี ๒), พ.ศ.๒๕๕๔
ปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าใน (ฉบบั ท่ี ๓), พ.ศ. ๒๕๕๘
ศาสตร์สาขาน้ันๆ (๓) การพิจารณาอนุมัติหัวข้อ ๒. หนังสือสภาวิชาการการ C
วิท ยานิ พ น ธ์และการค้น คว้าอิสระใน ระดั บ พิจารณาเห็นชอบและสภามหา
บณั ฑิตศึกษา (๔) สาหรับหลักสูตรบัณฑิตศึกษาตอ้ ง มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
เน้นการพัฒนาทักษะด้านการวิจัยและการเรียนรู้ วิทยาลัย ได้พิจารณาอนุมัติ ใน
ด้วยตนเอง คราวประชุมคร้งั ที่ .../.... เมื่อวนั ที่
หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาต้องเน้นการ .... เดือน ..... พ.ศ. .... และจะ
พัฒนาทักษะด้านการวิจัยและการเรียนรดู้ ้วยตนเอง ป รั บ ป รุงห ลั ก สู ต รต า ม ร อ บ
ในการรายงานการดาเนินงานตามตัวบ่งช้ีน้ี ให้ ระยะเวลา ๕ ปี ในปีการศึกษา
อธิบายกระบวนการออกแบบหลักสูตร และสาระ ๒ ๕ ๕ ๙ โด ย ค ณ ะ ก รรม ก า ร
รายวิชาในหลักสูตร การปรับปรุงหลักสูตรให้ ป ร ะ เ มิ น ห ลั ก สู ต ร ข อ ง
ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขาน้ันๆ มห าวิท ยาลั ยกาห น ดวิธีการ
เพอ่ื ให้ทราบว่าอยูใ่ นระดบั คะแนนใด ให้พิจารณาใน ประเมินหลักสูตรในรูปการวิจัย
ภาพรวมของผลการดาเนินงาน ท้ังหมดที่ทาให้ พร้อมท้ังจัดทาคู่มือการประเมิน
หลกั สตู รมีความทันสมัย สอดคล้องกับความต้องการ ห ลั ก สู ต รส าห รับ ทุ ก ส่ วน จั ด
ของตลาดแรงงานและความต้องการของประเทศ การศึก ษ าเพ่ื อใช้ ด าเนิ น การ
หรือไม่ การตีความกรณีหลักสูตรมีความทันสมัย ประเมนิ หลักสูตรที่เปิดสอน
และสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน ๓. หนังสือรับทราบหลักสูตร C
หรือไม่ ควรดูที่เนื้อหาสาระรายวิชาที่เปิดสอนว่า .... จากสานักงานคณะกรรมการ
ทันสมัย เหมาะสมกับความเปล่ียนแปลงของโลก ก า ร อุ ด ม ศึ ก ษ า ส า นั ก ง า น
หรือไม่ คณะกรรมการการอุดมศึกษาท่ี
แม้ทุกหลักสูตรที่สถาบันการศึกษาเปิด ศธ....../... แจ้งรับทราบการให้
ให้บริการต้องผ่านการรับรองจากสานักงาน ความเหน็ ชอบหลกั สูตร
คณะกรรมการการอดุ มศึกษา และมกี ารปรบั ปรงุ ทุก ๔. คาสั่งแต่งตั้งการควบคุม
๕ ปี แต่ผู้บริหารตอ้ งรับผิดชอบในการควบคุมกากับ กากับการจัดทารายวิชาต่างๆ ให้ P
การจัดทารายวิชาต่างๆ ให้มีเน้ือหาที่ทันสมัย ก้าว มี เน้ื อ ห า ท่ี ทั น ส มั ย ก้ า ว ทั น
ทันความก้าวหน้าทางวิทยาการท่ีเปล่ียนแปลง ความก้าวหน้าทางวิทยาการที่
ตลอดเวลา มีการบริหารจัดการ การเปิดรายวิชา เปล่ยี นแปลงตลอดเวลา
ต่างๆ ท้ังวิชาบังคับและวิชาเลือก ที่เน้นนิสิตเป็น ๕. คาสั่งแต่งตั้งการบริหาร P
สาคัญ โดยสนองความต้องการของนิสิตและ จัดการ การเปิดรายวิชาต่างๆ ท้ัง
แนวทางการจัดทารายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสตู ร ๑๐๔
แนวปฏิบตั ิที่ดี เอกสารและหลักฐาน กระบวนการ
ตลาดแรงงาน มีแนวปฏิบัตทิ ี่ดี ดงั น้ี
วิชาบังคับและวิชาเลือก ที่เน้น P
๑. มีระบบมีกลไก นิสิตเป็นสาคัญ โดยสนองความ
๒ . มีการนาระบบ กลไกไปสู่การป ฏิบั ติ/ ต้ อ ง ก า ร ข อ ง นิ สิ ต แ ล ะ P
ดาเนินงาน ตลาดแรงงาน P
๓. มกี ารประเมนิ กระบวนการ C
๖ . ค า ส่ั ง แ ต่ ง ตั้ ง C
๔. มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผล คณะกรรมการพิจารณาแผนการ P
การประเมิน จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ต า ม ร า ย ล ะ เอี ย ด C
หลักสูตร...สาขาวิชา...ตามแบ
๕. มผี ลจากการปรับปรงุ เหน็ ชัดเป็นรูปธรรม มคอ.๒ ปกี ารศกึ ษา ......... C
โดยท่ีหลักสูตรต้องแต่งต้ังคณ ะกรรมการ C
ผู้ทรงคุณวุฒิ และคณะกรรมการจัดทารายงานวิจัย ๗. คาสั่งแต่งต้ังการจัดทา
ประเมินหลักสูตรตามรอบอายุของหลักสูตร เพ่ือให้ แผนพฒั นาหลักสูตร.. สาขาวิชา...
ได้ข้อเสนอเชิงนโยบายหรือข้อเสนอแนะในการ
ปรับปรุงหลักสูตรเพือ่ ไดห้ ลักสตู รทีท่ ันสมยั ๘. แผนการจัดการศึกษา
ตามรายละเอียดของหลักสูตร....
สาขาวิชา... ตามแบบ มคอ. ๒
๙. มคอ.๒ หลักสูตร สาขา
วิชา.... ปีการศึกษา
๑๐. รายงานผลหลักสูตรท่ี
ผ่ า น ก า ร รั บ ร อ ง จ า ก ส า นั ก ง า น
คณะกรรมการการอุดมศึกษาที่มี
การปรบั ปรุงทุก ๕ ปี
๑๑. แผนปฏิบัติการบริหาร
หลกั สูตร..... สาขาวิชา.....
๑๒. รายงานผลการพัฒนา
ทกั ษะดา้ นการวิจัยและการเรยี นรู้
ด้ ว ย ต น เอ ง ใน ก า ร ร า ย ง า น ก า ร
ด า เนิ น ง า น ต า ม ตั ว บ่ ง ชี้ นี้
(หลกั สูตรระดบั บณั ฑิตศกึ ษา)
๑๓. รายงานผลการ
กระบวนการออกแบบหลักสูตร
และสาระรายวชิ าในหลกั สูตร
๑๔. รายงานผลการปรับปรุง
ห ลั ก สู ต ร ใ ห้ ทั น ส มั ย ต า ม
ค ว า ม ก้ า ว ห น้ า ใ น ศ า ส ต ร์ ส า ข า
น้ันๆ สอดคล้องกับความต้องการ
ของตลาดแรงงานและความ
ต้องการของประเทศ
แนวทางการจัดทารายงานการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลกั สตู ร ๑๐๕
แนวปฏบิ ัติทด่ี ี เอกสารและหลกั ฐาน กระบวนการ
๑๕. รายงานผลการประเมิน C
จุดแข็ง/จุดอ่อนเพื่อการปรับปรุง
หลักสูตร A
A
๑๖. รายงานผลการประเมิน A
การบริหารจัดการอาจารย์ประจา A
หลักสตู ร (๓ ปี ตอ่ เนื่อง)
A
๑๗. รายงานผลการนาระบบ
กลไกไปสูก่ ารปฏบิ ัติ
๑๘. รายงานผลการประเมิน
กระบวนการ
๑๙. รายงานผลการปรับปรุง
และพัฒนากระบวนการจากผล
การประเมิน
๒๐. รายงานผลจากการ
ปรับ ป รุงเห็ น ได้ชัดอย่างเป็ น
รปู ธรรม
๔.๑.๕.๒ การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรยี นการสอน
การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน เป็นการกระบวนการอธิบาย
ผลการดาเนินงานในประเด็นที่เก่ียวข้องกับการพิจารณากาหนดผู้สอน การกากับ ติดตาม และ
ตรวจสอบการจัดทา มคอ.3, มคอ.4 การจัดการเรยี นการสอนท่ีมีการบูรณาการกับพันธกจิ ตา่ งๆ เน้น
ท่ีการเกิดผลสัมฤทธ์ิต่อการเรียนรู้ของนิสิต เกิดผลการเรียนรู้บรรลุตามเป้าหมาย ในการรายงานผล
การดาเนนิ งานตามตัวบง่ ช้ีน้ี ใหอ้ ธบิ ายกระบวนการหรอื แสดงผลการดาเนนิ งาน มแี นวปฏบิ ตั ิทด่ี ี ดังน้ี
ตารางท่ี ๔.๑๒ แนวปฏิบัติท่ีดีในการจัดทารายงานองค์ประกอบท่ี ๕.๒ การวางระบบ
ผ้สู อนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน
แนวปฏิบัติท่ีดี เอกสารและหลักฐาน กระบวนการ
ข้อเสนอแนะในการรายงานผลการดาเนินงาน ๑. คาส่ังแต่งตั้งกรรมการ P
ให้อธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการ กากบั ติดตาม และตรวจสอบการ
ดาเนินงานในประเด็นที่เก่ียวข้องกับการพิจารณา จัดทา มคอ.๓ รายวิชาพ้ืนฐาน
กาหนดผู้สอน การกากบั ติดตาม และตรวจสอบการ ท่ัวไป/หมวดวิชาบาลีเสริม/แกน
จัดทา มคอ.3 และ มคอ.4 การจัดการเรียนการ พระพุทธศาสนา/วิชาเอก/วิชา
สอนท่ีมีการฝึกปฏิบัติในระดับปริญญาตรี การจัด เลอื กเสรี หลักสูตร..... สาขาวชิ า
เรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มีการบูรณาการ ๒. คาส่ังแต่งต้ังกรรมการ P
กับพันธกิจต่างๆ การแต่งต้ังอาจารย์ที่ปรึกษา กากับกระบวนการเรียนการสอน
วิท ยานิ พ น ธ์และการค้น คว้าอิสระใน ระดั บ ห ลั ก สู ต ร ... ส า ข า วิ ช า .. ปี
บัณฑิตศึกษา ที่มีความเชี่ยวชาญสอดคล้องหรือ การศกึ ษา .....
แนวทางการจดั ทารายงานการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลกั สูตร ๑๐๖
แนวปฏบิ ัติท่ีดี เอกสารและหลักฐาน กระบวนการ
สัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์ การควบคุมกากับ
จานวนนิสิตต่ออาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์และ ๓. คาสั่งแต่งตั้งการกาหนด P
การค้นคว้าอิสระให้เป็นไปตามเกณฑ์ การช่วยเหลือ รายวิชาที่เปิดสอนและกาหนด P
กากบั ติดตาม ในการทาวทิ ยานิพนธ์และการคน้ ควา้ ผู้สอนหลกั สูตร
อสิ ระและการตีพิมพ์ผลงานในระดับบณั ฑติ ศึกษา P
๔. คาสั่งแต่งต้ังกรรมการการ P
การพิจารณ าภาพรวมผลการดาเนินงาน พิจารณากาหนดผู้สอน ควบคุม P
ทั้งหมด ที่ทาให้กระบวนการจัดการเรียนการสอน กากับกระบวนการจัดการเรียน
ตอบสนองความแตกต่างของผู้เรียน การจัดการ การสอนและการประเมินนิสิต P
เรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ก่อให้เกิดผล ห ลั ก สู ต ร ... ส าข าวิ ช า .... ปี C
การเรียนร้บู รรลุตามเป้าหมาย มแี นวปฏบิ ัติทดี่ ี ดงั นี้ การศึกษา ... C
๑. มรี ะบบมกี ลไก ๕. คาแต่งตั้งกรรมการกากับ
๒ . มีการนาระบบ กลไกไปสู่การป ฏิบั ติ/ ก ระ บ ว น ก ารเรีย น ก ารส อ น
ดาเนนิ งาน หลกั สตู ร..... สาขาวิชา.
๓. มกี ารประเมนิ กระบวนการ
๔. มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผล ๖. คาส่ังแต่งต้ังกรรมการ
การประเมิน บูรณาการพันธกิจต่าง ๆ กับการ
๕. มผี ลจากการปรบั ปรุงเหน็ ชดั เป็นรูปธรรม เรี ย น ก า ร ส อ น ห ลั ก สู ต ร .....
๖. มีแนวทางปฏิบัติที่ดี โดยมีหลักฐานเชิง สาขาวชิ า
ป ร ะ จั ก ษ์ ยื น ยั น แ ล ะ ก ร ร ม ก า ร ผู้ ต ร ว จ ป ร ะ เมิ น
สามารถให้เหตุผลอธิบายการเป็นแนวปฏิบัติที่ดีได้ ๗. คาสั่งแต่งต้ังกรรมการ
ชดั เจน กากับ ตดิ ตาม และตรวจสอบการ
จัดทา มคอ.๓ รายวิชาพ้ืนฐาน
โดยที่หลักสูตรต้องมกี ารประชุมปรึกษาหารือ ทั่วไป/หมวดวิชาบาลีเสริม/แกน
เพื่อกาหนดอาจารย์ผู้สอนตามความเชี่ยวชาญของ พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า / วิ ช า เอ ก
อาจารย์ กาหนดแนวปฏิบัตใิ นการกากบั ติดตามและ พระพุทธศาสนา/วิชาเลือกเสรี
ตรวจสอบการจัดทา มคอ.๓ และ มคอ.๕ และ หลักสูตร..... สาขาวิชา
มอบหมายให้อาจารย์ประจาหลักสูตรจัดการเรียน
การสอนให้มีการบูรณาการกับงานวิจัย การบริการ ๘ คาส่ังแต่งตั้งกรรมการบูร
วิชาการ และทานุบารุงศิลปะและวัฒ นธรรม ณาการพันธกิจต่าง ๆ กับการ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเร่อื งเก่ยี วกบั เรียนการสอนหลักสูตร... สาขา
วิชา.....
๑. การบูรณาการเน้นท่กี ารเกิดผลสัมฤทธ์ิต่อ
การเรียนรู้ของนิสิต โดยไม่จาเป็นต้องทาทั้งรายวิชา ๙. รายงานผลการประเมิน
หรอื ทุกรายวิชา การบริหารจัดการอาจารย์ประจา
หลกั สตู ร
๒. การบูรณาการกับการวิจัยควรมีลักษณะ
การสอดแทรกกระบวนการวิจัยลงไปในหัวข้อวิชา ๑๐. รายงานผลการ
ตา่ งๆ ไมใ่ ช่การเปดิ สอนรายวชิ าวจิ ัยหรือต้องใหน้ สิ ิต สอดแทรกศิลปะและวัฒนธรรม
ทาวิจยั ท้ังนเ้ี พอื่ ให้นิสิตได้เรียนรกู้ ระบวนการวิจัย ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ในกระบวนการ
เรียนการสอนและส่งผลต่อการ
เรี ย น รู้ ข อ งนิ สิ ต ห ลั ก สู ต ร ...
สาขาวิชา.....
แนวทางการจัดทารายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลกั สตู ร ๑๐๗
แนวปฏิบตั ิทีด่ ี เอกสารและหลกั ฐาน กระบวนการ
๓. การบูรณาการกับการบริการวิชาการทาง ๑๑. รายงานผลการควบคุม C
สังคมไม่จาเป็นต้องเป็นโครงการเดียวกับท่ีอยู่ใน กากับกระบวนการจัดการเรียน C
แผนบริการทางวิชาการของสถาบันอุดมศึกษา การสอนและการประเมินนิสิต C
แต่ให้ดูเจตนารมณ์ว่าเกิดผลการเรียนรู้บรรลุตาม หลักสูตร.....สาขาวิชา.. C
เป้าหมาย C
๑๒. รายงานผลการติดตาม
มคอ.๓ หลักสูตร..... สาขาวิชา..... C
ภาคเรียนท่ี .../......
C
๑๓. รายงานผลการกาหนด C
รายวิชาท่ีเปิดสอนและกาหนด
ผ้สู อนหลกั สูตร..... สาขาวิชา. C
C
๑๔. รายงานผลการพิจารณา
กาหนดอาจารย์บรรยายประจา
หลักสูตร.... สาขาวชิ า...
๑๕. รายงานผลการนา
กระบวนการบริการทางวิชาการ
เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการ
เรียนการสอนและส่งผลต่อการ
เรียน รู้ของนิ สิต ห ลักสูต ร.....
สาขาวิชา
๑๖. รายงานผลการนา
กระบวนการวิจัยมาใชใ้ นการเรียน
การสอนและส่งผลต่อการเรียนรู้
ของนสิ ิตหลกั สูตร... สาขาวชิ า..
๑๗. รายงานผลการพิจารณา
รับรอง มคอ.๓ หลักสตู ร..... สาขา
วชิ า... ภาคเรียนที่ ๑/......
๑๘. รายงานผลการพิจารณา
รับ รอง มคอ.๓ หลักสูตร.....
สาขาวิชา... ภาคเรียนท่ี ๒/....
จานวน ..... รายวิชา
๑๙. รายงานผลการพจิ ารณา
รับรอง SAR หลักสตู ร.. สาขาวชิ า
๒๐. รายงานผลการ
สอดแทรกศิลปะและวัฒนธรรม
ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น ในกระบวนการ
เรียนการสอนและส่งผลต่อการ
เรียนรู้ของนิสิตหลักสูตร..... สาขา
แนวทางการจัดทารายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลกั สตู ร ๑๐๘
แนวปฏบิ ัติที่ดี เอกสารและหลกั ฐาน กระบวนการ
วชิ า....ปีการศกึ ษา ....... A
๒๑. รายงานผลการนา
C
กระบวนการบริการทางวิชาการ A
เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการ A
เรียนการสอนและส่งผลต่อการ A
เรีย น รู้ข องนิ สิ ต ห ลั ก สู ต ร.... A
สาขาวิชา.... A
๒๒. รายงานผลการจัดการ
เรียนการสอนท่ีมีการบูรณาการ
กบั พันธกจิ ต่างๆ
๒๓. รายงานผลการพิจารณา
ผลการประเมินอาจารย์หลักสูตร
..... สาขาวชิ า... ปกี ารศกึ ษา ......
๒๔. รายงานผลการประเมิน
กระบวนการซึ่งเกิดผลสัมฤทธ์ิต่อ
การเรียนรู้ของนิสิตจนทาให้การ
เรยี นรบู้ รรลุตามเปา้ หมาย
๒๕. รายงานผลการปรับปรุง/
พัฒนากระบวนการจากผลการ
ประเมิน
๒๖. รายงานผลจากการ
ปรับปรุงเหน็ ชดั เปน็ รปู ธรรม
๒๗. รายงานผลการ
ดาเนินงานท่ีโดดเดน่ จากหลักฐาน
เชิงประจักษ์ยืนยัน จนสามารถให้
เหตุผลอธิบายว่าเป็น ผลการ
ดาเนินงานท่ีโดดเด่นอย่างแท้จริง
หรือได้รับรางวัลระดับชาติหรือ
นานาชาติ
๔.๑.๕.๓ การประเมินผู้เรียน
การประเมินผู้เรียน เป็นการอธิบายกระบวนการประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบ
มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนิสิต
การกากับ การประเมิน การจัดการเรียนการสอนและประเมนิ หลกั สูตร (มคอ.5, มคอ.6 และ มคอ.7)
ในรายงานการดาเนนิ งานตามตัวบ่งช้นี ี้ ให้อธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการดาเนินงานในประเด็น
ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง มแี นวปฏิบตั ิที่ดี ดงั นี้
แนวทางการจดั ทารายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลกั สูตร ๑๐๙
ตารางที่ ๔.๑๓ องคป์ ระกอบท่ี ๕.๓ การประเมนิ ผเู้ รยี น
แนวปฏิบตั ิ เอกสารและหลกั ฐาน กระบวนการ
มขี อ้ เสนอแนะในการรายงานผลการดาเนินงาน ๑. คาส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการ
ในรายงานการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้นี้ ให้ พัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียนการ
อธบิ ายกระบวนการหรือแสดงผลการดาเนนิ งาน ส อ น ก ล ยุ ท ธ์ก ารส อ น ห รือ ก าร P
ในประเด็นท่ีเก่ียวข้อง (๑) การประเมินผลการ ประเมินผลการเรียนรู้หลักสูตร....
เรี ย น รู้ ต า ม ก ร อ บ ม า ต ร ฐ า น คุ ณ วุ ฒิ สาขาวิชา.... (จากผลการประเมินการ
ระดับอดุ มศึกษาแหง่ ชาติ (๒) การตรวจสอบการ ด า เนิ น งา น ท่ี ร า ย ง า น ใน SAR ปี
ประเมินผลการเรียนรู้ของนิสิต (๓) การกากับ การศึกษาทผี่ ่านมา)
การประเมินการจัดการเรียนการสอนและ ๒. คาส่ังแต่งต้ังกรรมการทวน
ประเมินหลักสูตร (มคอ.๕, มคอ.๖ มคอ. ๗) (๔) สอบผลสัมฤทธิ์ของนิสิตหลักสูตร..... P
การประเมินวิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าอิสระ สาขาวิชา...(ตามมาตรฐานผลการ
ในระดบั บัณฑติ ศึกษา เรียนรใู้ น มคอ.๓ อย่างน้อยร้อยละ ๒๕
ในการประเมินเพ่ือพิจารณาในภาพรวม ของรายวิชาท่ีเปิดสอนในแต่ละปี
ของผลการดาเนินงาน ท้ังหมดท่ีสะท้อนสภาพ การศึกษา)
จริงด้วยวิธีการหรือเคร่อื งมือประเมินท่ีเชื่อถอื ได้ ๓. การพิจารณารายช่ือนิสิตผู้มี C
ให้ข้อมูลท่ีช่วยให้ผู้สอนและผู้เรียนมีแนวทางใน สิทธิสอบปลายภาค หลกั สตู ร...
การปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอน มีแนว ๔. การพิจารณารับรองข้อสอบ
ปฏบิ ัติทีด่ ี ดังน้ี หลักสูตร... C
๑. มรี ะบบมกี ลไก ๕.รายงานผลการจัดทาแผนพัฒนา
๒. มีการนาระบบกลไกไปสู่การปฏิบัติ/ ร ะ ดั บ ห ลั ก สู ต ร .....ส า ข า วิ ช า ... C
ดาเนินงาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ...... - ...... ( ๕ ปี)
๓. มีการประเมนิ กระบวนการ ๖. รายงานผลการประเมินความพึง
๔. มีการปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจาก พอใจของนิสิตปีสุดท้ายต่อคุณภาพ C
ผลการประเมนิ หลักสูตร..... สาขาวชิ า.....
๕. มผี ลจากการปรับปรุงเหน็ ชัดเป็นรูปธรรม ๗. รายงานผลการประเมินความ C
๖. มีแนวทางปฏิบัติที่ดี เช่น การกาหนด พึ งพ อ ใจ ข องบั ณ ฑิ ต ต่ อ คุ ณ ภ าพ
ปฏิทินของมหาวิทยาลัยการส่ง มคอ.ตาม หลักสูตร... สาขาวชิ า.... ปีการศกึ ษา ...
ข้อกาหนดของ TQF มีข้อคิดเห็นในการพัฒนา ๘ . ร า ย ง า น ผ ล ก า ร พั ฒ น า / C
ควรมีการร่วมกันพัฒนา มคอ.3 ในรายวิชาท่ีมี ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กล
ผู้รับผิดชอบหลายท่าน โดยมีหลักฐานเชิง ยุทธ์การสอนหรือการประเมินผลการ
ประจักษ์ยืนยัน และกรรมการผู้ตรวจประเมิน เรียนรู้หลักสูตร..... สาขาวิชา..... (จาก
สามารถให้เหตุผลอธิบายการเป็นแนวปฏิบัติที่ดี ผลการประเมินการดาเนนิ งานใน SAR)
ไดช้ ดั เจน ๙. รายงานผลการประเมินความ C
โดยท่ีหลักสูตรต้องดาเนินการประชุม พึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
เพอื่ รบั รองมาตรฐานข้อสอบใหเ้ ป็นไปตามกรอบ ของผู้ใช้บัณ ฑิตต่อการปฏิบัติงาน
เวลา กาหนดรายวิชาท่ีต้องทวนสอบผลสัมฤทธ์ิ และอัตลักษณ์ของนิสิตหลักสูตร....
ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๒๕ ของวิชาท่ีเปิดสอน สาขาวิชา.....ทส่ี าเรจ็ การศกึ ษา
แนวทางการจดั ทารายงานการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลกั สตู ร ๑๑๐
แนวปฏิบัติ เอกสารและหลกั ฐาน กระบวนการ
ท้ังหมดในแต่ละภาคการศึกษา การตรวจสอบ ๑๐. รายงานผลกระบวนการ C
การประเมินผลการเรียนรู้ของนิสิต และการ ป ระเมิน ผลการเรียน รู้ตาม กรอบ
กากับการประเมินการจัดการเรียนการสอนและ มาตรฐานคุณ วุฒิ ระดับอุดมศึกษา
ประเมินหลกั สตู ร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7) แหง่ ชาติ
๑๑. รายงานผลการตรวจสอบ C
การประเมินผลการเรียนรขู้ องนิสิต
๑๒. รายงานผลการกากับการ
ประเมินการจัดการเรียนการสอนและ C
ประเมินหลักสูตร (มคอ.5, มคอ.6
และ มคอ.7
๑๓. รายงานผลประเมินความพึง
พอใจของนิสิตปีสุดท้ายต่อคุณภาพ C
หลักสตู ร..... สาขาวชิ า.....
๑๔. รายงานผลประเมินความพึง C
พอใจของบัณฑิตต่อคุณภาพหลักสูตร
พทุ ธ... สาขาวิชา...
๑๕. รายงานผลการทวนสอบ
ผลสัมฤทธ์ิของนิสิตตามมาตรฐานผล A
การเรียนรู้หลักสูตร... สาขาวิชา...
(ท่ีกาหนดใน มคอ.๓ อย่างน้อยร้อยละ
๒๕ ของรายวิชาทเ่ี ปดิ สอน)
๑๖. รายงานผลการพัฒนาและ A
ป รั บ ป รุ ง ก า ร จั ด ก า ร เรี ย น ก า ร ส อ น
กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผล
การเรียนรู้หลักสูตร..... สาขาวิชา.....
จากผลการประเมนิ การดาเนนิ งาน
๑๗. รายงานผลจากการปรับปรุง A
เหน็ ชดั เปน็ รปู ธรรม
๑๘. รายงานผลการดาเนินงานที่
โดดเด่นจากหลักฐานเชิงประจักษ์ A
ยืนยัน จนสามารถให้เหตุผลอธิบายว่า
เป็นผลการดาเนินงานที่โดดเด่นอย่าง
แท้จริงหรือได้รับรางวัลระดับชาติหรือ
นานาชาติ
แนวทางการจัดทารายงานการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสตู ร ๑๑๑
๔.๑.๕.๔ การดาเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดับอดุ มศกึ ษาแหง่ ชาติ
การดาเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ เป็นการ
อธิบายผลลัพธ์ซ่ึงเป็นตัวบ่งช้ีผลการดาเนินงาน เพื่อการประกันคุณภาพหลักสูตรและการเรียนการ
สอนตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติข้อที่ 1 - 5 ท่ีใช้ผลการดาเนินงานจาก
องค์ประกอบท่ี 1 ตัวบ่งช้ีท่ี 1.1 ข้อ 12 มีผลการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้การดาเนินงานตามกรอบ
มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาที่ปรากฏในหลักสูตร (มคอ.๒) หมวดที่ ๗ ข้อ ๗ ท่ีหลักสูตรแต่ละ
หลักสูตรดาเนินงานได้ในแต่ละปีการศึกษา อาจารย์ประจาหลักสูตรต้องเป็นผู้รายงานผลการ
ดาเนนิ งานประจาปีในแบบรายงานผลการดาเนินการหลักสตู รตามแบบ มคอ. ๗ มแี นวปฏบิ ัติที่ดี ดงั น้ี
ตารางท่ี ๔.๑๔ แนวปฏิบัติที่ดีในการจัดทารายงานองค์ประกอบท่ี ๕.๔ การดาเนินงาน
หลกั สูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิระดับอดุ มศกึ ษาแหง่ ชาติ (มคอ.)
แนวปฏบิ ัติที่ดี เอกสารและหลักฐาน กระบวนการ
ขอ้ เสนอแนะในการดาเนินงาน ๑. หลักสูตร.....บัณฑิต สาขาวิชา C
ผลการดาเนนิ งานของหลักสูตร หมายถงึ ร้อย ... มี การป ระชุมเพ่ื อการวางแผน
ละของผลการดาเนินงานตามตัวบ่งช้ีการ หลักสูตร การติดตามการดาเนินงาน
ด าเนิ น งาน ต าม ก รอบ ม าต รฐาน คุ ณ วุ ฒิ หลักสูตร การทบทวนการดาเนินงาน
ระดับอุดมศกึ ษา ใน มคอ.๒ หมวดท่ี ๗ ขอ้ ๗ ที่ หลักสูตร วางแผนติดตามและทบทวน
หลักสูตรแต่ละหลักสูตรดาเนินงานได้ในแต่ละปี การดาเนินงานหลักสูตร ไม่ควรต่ากว่า
การศึกษา อาจารย์ประจาหลักสูตรจะเป็น ๔ ครงั้
ผู้รายงานผลการดาเนินงานประจาปีในแบบ ๒. รายงานผลรายวิชา มคอ. ๒ C
รายงานผลการดาเนินการหลักสูตร (มคอ. ๗) มี หลกั สตู ร
ระบบและกลไก ดังนี้ ๓. รายงานผลรายวิชา มคอ. ๓ A
๑. อาจารย์ประจาหลักสูตรอย่างน้อย และ มคอ.๕ หลกั สตู ร
ร้อยละ ๘๐ มีส่วนร่วมในการดาเนินงาน ๔. รายงานผลการดาเนินงานของ C
หลักสตู ร รายวิชา และรายงานผลการดาเนินงาน
๒. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ ตามแบบ มคอ. ๕
มคอ. ๒ ท่ีสอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ๕. รายงานผลการดาเนินการของ C
ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ มคอ. ๑ สาขา หลักสูตร ตามแบบรายงานภายใน ๖๐
วิชา........ วัน หลังส้นิ สดุ ปีการศกึ ษา
๓. มีรายละเอียดของรายวิชา และ ๖ . รายงาน ผ ล ก ารท วน ส อบ
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ผลสัมฤทธิ์ของนิสิตตามมาตรฐานผล C
ตามแบบ มคอ. ๓ และ มคอ. ๔ อย่างน้อยก่อน การเรียนรู้หลักสูตร..... สาขาวิชา.....
การเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุก ที่กาหนดใน มคอ.๓ อย่างน้อยร้อยละ
รายวชิ า ๒๕ ของรายวิชาท่ีเปดิ สอน
๔. จัดทารายงานผลการดาเนินงานของ ๗. รายงานผลการพัฒนา/ปรับปรุง
รายวิชา และรายงานผลการดาเนินงานตามแบบ การจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การ C
มคอ. ๕ และ มคอ.๖ ภายใน ๓๐ วนั หลงั ส้นิ สุด สอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้
ภาคการศกึ ษาทเี่ ปดิ สอนให้ครบทุกรายวชิ า จากผลการประเมินการดาเนินงานท่ี
แนวทางการจดั ทารายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลกั สตู ร ๑๑๒
แนวปฏบิ ตั ิท่ดี ี เอกสารและหลักฐาน กระบวนการ
๕. จัดทารายงานผลการดาเนินการของ รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษา C
หลักสูตร ตามแบบ มคอ. ๗ ภายใน ๖๐ วัน ปีทีแ่ ล้ว C
หลงั ส้นิ สุดปกี ารศกึ ษา C
๘ . รายงาน ผล อาจารย์ป ระจา C
๖. มีการทบทวนผลสัมฤทธ์ิของนิสิตตาม หลักสูตรได้รับการปฐมนิเทศ หรือ C
มาตรฐานผลการเรียนรู้ท่ีกาหนดใน มคอ. ๓ คาแนะนาดา้ นการจดั การเรยี นการสอน
อย่างน้อยร้อยละ ๒๕ ของรายวิชาท่ีเปิดสอนใน
แตล่ ะปกี ารศึกษา ๙. รายงานผลอาจารย์ประจา
หลักสูตรได้รับการพัฒนาทางวิชาการ
๗. มีการพัฒนา/ปรับปรุง การจัดการ หรือวชิ าชีพ
เรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการ
ประเมินผลการเรียนรู้ จากผลการประเมินการ ๑๐. รายงานผลบุคลากรสนับสนุน
ดาเนนิ งานท่ีรายงานใน มคอ. ๗ ปที แี่ ล้ว การเรียนการสอน ได้รับการพัฒนา
วิชาการหรอื วชิ าชพี
๘. อาจารย์ใหม่ (ถ้ามี) ทุกคนได้รับการ
ปฐมนิเทศ หรือคาแนะนาด้านการจัดการเรียน ๑๑. รายงานผลความพึงพอใจของ
การสอน นสิ ิตปสี ดุ ทา้ ยต่อคุณภาพหลกั สตู ร
๙. อาจารย์ประจาหลักสูตรทุกคนได้รับ ๑๒. รายงานผลการประเมินความ
การพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่าง พึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
นอ้ ยปลี ะคร้งั ของผู้ใช้บัณฑิตต่อการปฏิบัติงานและ
อตั ลักษณข์ องนิสิตหลักสูตร
๑๐. จานวนบุคลากรสนับสนุนการเรียน
การสอน (ถ้ามี) ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/
หรอื วิชาชพี ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ ๕๐ ตอ่ ปี
๑๑ . ระดับ ความพึ งพ อใจของนิสิตปี
สุดท้าย/บัณฑิตใหม่ ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร
เฉลย่ี ไม่น้อยกวา่ ๓.๕ จากคะแนนเตม็ ๕
๑๒. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตท่ี
มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉล่ียไม่น้อยกว่า ๓.๕ จาก
คะแนนเต็ม ๕
โดยที่หลักสูตรต้องจัดประชุมอาจารย์
ประจาหลักสูตรอย่างน้อยภาคการศึกษาละ ๓
คร้ัง เพ่ือกากับติดตาม มคอ.๒ มคอ.๓ มคอ.๕
และ มคอ.๗ ให้เป็นไปตามกรอบเวลาและได้
มาตรฐานการเกณฑ์ สกอ. มีรายงานการประชุม
หลักสูตรที่มีการรับรองและกากับมาตรฐานการ
ดาเนินงานหลักสูตรตามตัวบ่งชี้ครบทั้ง ๑๒ ข้อ
ใน มคอ. ๒
แนวทางการจดั ทารายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลักสูตร ๑๑๓
ผลการดาเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ให้มี
รายงานการทวนผลสัมฤทธ์ิรายวิชา และแบบประเมินความพึงพอใจของนิสิตปีสุดท้ายต่อคุณภาพ
หลักสูตร (ปค.๐๗ หลักสูตรระดบั ปริญญาตรี) และแบบประเมินความพงึ พอใจของบณั ฑิตต่อคุณภาพ
หลักสตู รระดบั บัณฑติ ศึกษา (ปค.๐๘ หลักสูตรระดบั บัณฑิตศึกษา)
๔.๑.๖ องค์ประกอบที่ ๖ สง่ิ สนบั สนนุ การเรยี นรู้
องค์ประกอบท่ี ๖ สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ เป็นการอธิบายปัจจัยที่ส่งเสริมสนับสนุนให้
นิสิตสามารถเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่กาหนดตาม
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ มีประเด็นที่เกี่ยวข้องกับ (๑) ระบบการดาเนินงาน
ของสาขาวชิ า/วิทยาลัยสงฆ์/วิทยาเขต (มหาวิทยาลัย) โดยการมีส่วนร่วมของอาจารย์ประจาหลกั สูตร
เพ่ือให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ (๒) จานวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ท่ีเพียงพอ พร้อมใช้งาน ทันสมัย
และเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน (๓) กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึง
พอใจของนิสิตและอาจารย์ต่อส่ิงสนับสนุนการเรียนรู้ มีแนวปฏิบัติที่ดีและเทคนิคการจัดทารายงาน
การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลกั สูตร ดงั นี้
ตารางท่ี ๔.๑๕ แนวปฏิบัติที่ดีในการจัดทารายงานองค์ประกอบท่ี ๖.๑ ส่ิงสนับสนุนการ
เรียนรู้
แนวปฏบิ ตั ิท่ีดี เอกสารและหลกั ฐาน กระบวนการ
ข้อเสนอแนะในการรายงานผลการดาเนนิ งาน ๑. คาส่ังมหาวิทยาลัย วิทยาเขต P
D
ให้อธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการ ขอนแก่น แต่งตั้งคณะกรรมการจดั ซ้ือวัสดุ C
C
ดาเนินงานในประเด็นที่เก่ียวข้องกับ (๑) ระบบ การศึกษาฯ ปงี บประมาณ …………. C
A
การดาเนินงานของวิทยาลัยสงฆ์โดยมีส่วนร่วม ๒. ประชุมคณะกรรมการการพัฒนา
ของอาจารย์ป ระจาหลักสูตร เพ่ื อให้มีสิ่ง ระบ บเท คโน โลยีสารสน เทศ คร้ังที่
สนับสนนุ การเรียนรู้ (๒) จานวนส่งิ สนับสนุนการ ..../......
เรียนรู้ที่เพียงพอ พร้อมใช้งาน ทันสมัยและ ๓. รายงานผลความพงึ พอใจของนิสิต
เหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน (๓) ต่อเรียนรู้และการบริการของวิทยาเขต
กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความ ขอนแก่น ปีการศกึ ษา.....
พึงพอใจของนิสิตและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุน ๔. รายงานผลสรุปผลความพึงพอใจ
การเรียนรู้ โดยให้ระบุสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ท่ี ของนิ สิต ต่อคุ ณ ภ าพ การให้ บ ริการ
จาเปน็ สาหรบั หลกั สตู รให้ชัดเจน หอ้ งสมุด
ในปีงบประมาณ ..... หลักสูตร..... สาขา ๕. รายงานผลความพึงพอใจของ
วิชา..... ได้ดาเนนิ ตามระบบและกลไกการจดั หา อาจารย์ต่อคุณภาพการบริการห้องสมุด
สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ มี และสงิ่ สนับสนุนการเรียนรู้
การปรับกระบวนการทางานในส่วนของการ ๖ . ร า ย งา น ผ ล ก า ร บู ร ณ า ก า ร
กากับดูแล การใช้สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ให้มี กระบวนการเกี่ยวกับส่ิงสนับสนุนการ
ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ โด ย ให้ ค ว า ม ส า คั ญ ต่ อ เรียนรูจ้ ากผลการประเมนิ ปีการศึกษา.....
กลุ่มเป้าหมาย และกาหนดวิธีการ และเง่อื นไขที่
กลุ่มเป้าหมายต้องปฏิบัติตาม ให้สอดคล้อง
แนวทางการจัดทารายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลักสูตร ๑๑๔
แนวปฏิบัติที่ดี เอกสารและหลกั ฐาน กระบวนการ
นโยบายการใช้เทคโนโลยีบูรณาการกับการเรียน ๗ . ร า ย ง า น ผ ล ก า ร เรี ย น รู้ โด ย A
การสอนท่มี ีคุณภาพ ด า เนิ น ก า ร ต า ม ว ง จ ร PDCA ใ น
การดาเนินการบริหารหลักสูตร จะต้องมี กระบวนการดาเนินงานเก่ียวกับสิ่ง
ปัจจัยที่สาคัญอีกประการหน่ึงคือ ส่ิงสนับสนุน สนับสนนุ การเรยี นรู้ ปีการศึกษา.....
การเรียนรู้ ซ่ึงประกอบด้วยความพร้อมทาง ๘. รายงานผลการปรับปรุง/พัฒนา A
กายภาพ เช่น ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ ห้องทา เก่ียวกับสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้จากผล
วิจัย อุปกรณ์การเรียนการสอน ห้องสมุด การ การประเมนิ
บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ คอมพิวเตอร์ Wifi ๙. รายงานผลการจัดการความรู้ใน
และอื่นๆ ที่ส่งเสริมสนับสนุนให้นิสิตสามารถ กระบวนการดาเนินงานเก่ียวกับส่ิง A
เรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ตาม สนบั สนุนการเรียนรู้
มาตรฐานผลการเรียนรู้ท่ีกาหนดตามกรอบ ๑ ๐ . ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ป ร ะ เมิ น
มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ โดย กระบวนการเก่ียวกับส่ิงสนับสนุนการ A
ให้มรี ะบบและกลไกการทางาน ดังน้ี เรยี นรู้
๑. มีระบบและกลไกเก่ียวกับสิ่งสนับสนุน ๑๑. รายงานผลจากแนวทางปฏิบัติที่
การเรียนรู้ ดีได้เทียบเคียงกับหลักสูตรเดียวกันใน A
๒. มีการนาระบบและกลไกเกี่ยวกับสิ่ง กลุ่มสถาบันเดียวกันที่เหมาะสม หรือ
สนั บ ส นุ น การเรียน รู้ไป สู่การป ฏิ บั ติ แล ะ ไดร้ บั รางวัลในระดับชาติหรือนานาชาติ ปี
ดาเนินงาน การศกึ ษา.....
๓. มีการประเมินกระบวนการเก่ียวกับส่ิง
สนบั สนนุ การเรยี นรู้
๔. มีการปรับปรุง/พัฒ นา/บูรณ าการ
กระบวนการเกี่ยวกับสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้จาก
ผลการประเมิน
๕. มีการเรียนรู้โดยดาเนินการตามวงจร
PDCA มากกว่า ๑ รอบหรือมีการจัดการความรู้
ในกระบวนการดาเนินงานเกี่ยวกับส่ิงสนับสนุน
การเรยี นรู้
๖. มีแนวทางปฏิบัติท่ีดีโดยมีการเทียบเคียง
กับหลักสูตรเดียวกันในกลุ่มสถาบันเดียวกันท่ี
เหมาะสม หรือได้รับรางวัลในระดับชาติหรือ
นานาชาติ
โดยต้องมีการส่วนร่วมของอาจารย์ประจา
หลักสูตรต้องมีระบบการดาเนินงานเพ่ือให้มีส่ิง
สนับสนุนการเรียนรู้ของนิสิตเก่ียวกับหนังสือ
ตาราเรยี น งานวิจยั และระบบสารสนเทศในการ
สนับสนุนการจัดการเรียนการสอน เช่น หนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์ ระบบอินเทอร์เน็ต เป็นต้น การ
แนวทางการจดั ทารายงานการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ๑๑๕
แนวปฏบิ ตั ิทด่ี ี เอกสารและหลักฐาน กระบวนการ
เพ่ิมจานวนหนังสือ ความเร็วของอินเตอร์เน็ต
เพื่อการศึกษา จานวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ท่ี
เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการ
สอน กระบวนการปรับปรุงตามผล การประเมิน
ค ว า ม พึ ง พ อ ใจ ข อ ง นิ สิ ต แ ล ะ อ า จ า ร ย์ ต่ อ สิ่ ง
สนบั สนุนการเรยี นรู้
ในการอธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการดาเนินงานในประเดน็ ที่เก่ียวข้องตัวบ่งช้ี 6.1
โดยอาศัยขอบเขตข้อมูล/แหล่งที่มา การประเมินความคิดเห็นจากระบบ Reg. และผลประเมินที่
จัดทามีหลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ยืนยัน และสามารถให้เหตุผลอธิบายการเป็นแนวปฏิบัติที่ดีไดช้ ดั เจน
ตารางท่ี ๔.๑๖ รายการเครื่องมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร
ของมหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั
ที่ รหัสเอกสาร รายการ ตวั บง่ ชี้ คาอธบิ าย
๑ ปค. ๐๑ แบบประเมินความพึง ตัวบ่งชี้ท่ี ๑. แจกผู้ใช้บัณฑิตของบัณฑิตที่รับปริญญา
สาหรบั ผใู้ ช้ พอใจของผู้ใช้บัณฑิตต่อ ๒.๑ และ บตั ร
บัณฑิต คุ ณ ภ าพ บั ณ ฑิ ต ต าม ตัวบ่งชี้ที่ ๒. จานวนบัณฑิตท่ีรับการประเมินจากผู้ใช้
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ๕.๔ บัณฑิตจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ ๒๐ ของ
ร ะ ดั บ อุ ด ม ศึ ก ษ า จานวนบัณฑิตท่สี าเรจ็ การศึกษา
แห่งชาติ มหาวิทยาลัย ๓ . ใช้ ส า ห รั บ ห ลั ก สู ต ร ป ริ ญ ญ า ต รี
มหาจุฬ าลงกรณ ราช ประกาศนียบัตรบัณฑิต ปริญญาโท และ
วทิ ยาลัย ปรญิ ญาเอก
๒ รายงานผลการประเมิน ตั ว บ่ ง ชี้ ท่ี ๑. วิเคราะห์ผลการประเมินความพึงพอใจ
ความพึงพอใจของผู้ใช้ ๒.๑ ของผู้ใช้บัณฑิตต่อคุณภาพบัณฑิตตามกรอบ
บั ณ ฑิ ต ต่ อ คุ ณ ภ า พ ม า ต ร ฐ า น คุ ณ วุ ฒิ ร ะ ดั บ อุ ด ม ศึ ก ษ า แ ห่ งช า ติ
บั ณ ฑิ ต ต า ม ก ร อ บ จากแบบ ปค.๐๑
ม า ต ร ฐ า น คุ ณ วุ ฒิ
ร ะ ดั บ อุ ด ม ศึ ก ษ า ๒. รายงานผลการวิเคราะห์ลงในแบบ
แห่งชาติ รายงานผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้
บัณฑิตต่อคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐาน
คณุ วุฒิระดับอดุ มศกึ ษาแห่งชาติ
๓ ปค. ๐๒ แบบสารวจการปฏิบัติ ตัวบ่งช้ีท่ี ๑. แจกบัณฑิตบรรพชิตผู้รับปริญญาบัตร
บัณฑิต หน้าที่สนองงานคณ ะ ๒.๒ เดอื นพฤษภาคม
บรรพชติ สงฆ์ของบัณฑิตบรรพชิต ๒. จานวนบัณฑิตบรรพชิตท่ีตอบแบบ
สาหรับ.........บัณฑิตผู้รับ สารวจต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ ของจานวน
ป ริ ญ ญ า บั ต ร เ มื่ อ บณั ฑติ บรรพชิตที่สาเร็จการศึกษา
พฤษภาคม ๓. ใชเ้ ฉพาะหลักสตู รปรญิ ญาตรี
แนวทางการจัดทารายงานการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลกั สูตร ๑๑๖
ที่ รหัสเอกสาร รายการ ตวั บ่งชี้ คาอธบิ าย
๔ รายงานผลการสารวจ ตัวบ่งช้ีท่ี ๑. วิเคราะห์ผลการสารวจการปฏิบัติหน้าท่ี
การปฏิบัติหน้าท่ีสนอง ๒.๒ สนองงานคณะสงฆ์ของบัณฑิตบรรพชิต จาก
งานคณะสงฆ์ของบณั ฑิต แบบ ปค.๐๒
บรรพชติ ๒. รายงานผลการวิเคราะห์ลงในแบบ
รายงานผลการสารวจการปฏิบัติหน้าที่สนอง
งานคณะสงฆ์ของบัณฑติ บรรพชติ
๕ ปค. ๐๓ แบบสารวจภาวะการมี ตัวบ่งช้ีที่ ๑. แจกบัณฑิตคฤหัสถ์ผู้รับปริญญาบัตร
บณั ฑติ ง า น ท า ข อ ง บั ณ ฑิ ต ๒.๒ เดือนพฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๑
คฤหัสถ์ ค ฤ หั ส ถ์ ส า ห รั บ .... ๒. จานวนบัณฑิตคฤหัสถ์ท่ีตอบแบบสารวจ
บัณฑิตผู้รับปริญญาบัตร ตอ้ งไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ ของจานวนบณั ฑิต
เ ม่ื อ พ ฤ ษ ภ า ค ม คฤหัสถท์ ่สี าเร็จการศกึ ษา
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง ๓. ใช้เฉพาะหลกั สูตรปรญิ ญาตรี
กรณราชวทิ ยาลยั
๖ รายงานผลการสารวจ ตัวบ่งชี้ท่ี ๑. วเิ คราะหผ์ ลการสารวจภาวะการมงี านทา
ภาวะการมีงานทาของ ๒.๒ ของบัณฑติ คฤหัสถ์ จากแบบ ปค.๐๓
บณั ฑติ คฤหสั ถ์ ๒. รายงานผลการวิเคราะห์ลงในแบบ
รายงานผลการสารวจภาวะการมีงานทาของ
บณั ฑติ คฤหัสถ์
๗ ปค.๐๔ นสิ ิต แบบประเมินความพึง ตัวบ่งชี้ที่ ๑. เปล่ียนแปลงช่ือหลักสูตรและสถานที่
ปรญิ ญาตรี พ อใจของนิ สิตระดั บ ๓.๓ และ ศกึ ษาในแบบประเมนิ ตามความเปน็ จริง
ป ริ ญ ญ า ต รี ต่ อ ก า ร ตัวบ่งชี้ที่ ๒. ใช้เฉพาะหลักสตู รปริญญาตรี
บริหารจดั การหลักสตู ร ๖.๑ ๓. แจกนิสิตปรญิ ญาตรที ุกชน้ั ปี
๔. รายงานผลเปน็ รายหลักสูตร
๕. ตัวบ่งช้ีท่ี ๓.๓ ใช้ข้อมูลทั้งหมดจากแบบ
ประเมนิ น้ี
๖. ตัวบ่งชี้ที่ ๖.๑ ใช้ข้อมูลเฉพาะข้อ ๒.๔
ดา้ นส่งิ สนบั สนนุ การเรยี นรู้ของแบบประเมนิ น้ี
๘ ปค.๐๕ นิสิต แบบประเมินความพึง ตัวบ่งชี้ที่ ๑. เปลี่ยนแปลงช่ือหลักสูตรและสถานที่
ป.โท/เอก พ อใจของนิ สิตระดั บ ๓.๓ และ ศกึ ษาในแบบประเมินตามความเป็นจริง
บั ณ ฑิ ตศึกษ าต่อการ ตัวบ่งชี้ที่ ๒. ใชเ้ ฉพาะหลกั สูตรปรญิ ญาโท/เอก
บรหิ ารจัดการหลกั สตู ร ๖.๑ ๓. แจกนสิ ิตปริญญาโท/เอก ทุกชนั้ ปี
๔. รายงานผลเปน็ รายหลกั สูตร
๕. ตัวบ่งช้ีที่ ๓.๓ ใช้ข้อมูลท้ังหมดจากแบบ
ประเมินนี้
๖. ตัวบ่งชี้ท่ี ๖.๑ ใช้ข้อมูลเฉพาะข้อ ๒.๔
ด้านสงิ่ สนับสนุนการเรยี นรู้ของแบบประเมินน้ี
แนวทางการจัดทารายงานการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ๑๑๗
ที่ รหสั เอกสาร รายการ ตวั บง่ ชี้ คาอธิบาย
๙ ปค. ๐๖ แบบประเมินความพึง ตัวบ่งช้ีท่ี ๑. เปลี่ยนแปลงชื่อหลักสูตรและสถานที่
อาจารย์ พ อ ใจ ข อ ง อ า จ า ร ย์ ๔.๓ และ ศึกษา ในแบบประเมนิ ตามความเปน็ จรงิ
ประจาหลักสูตรต่อการ ตัวบ่งช้ีที่ ๒. แจกเฉพาะอาจารย์ประจาหลักสูตรของ
บรหิ ารจดั การหลักสูตร ๖.๑ แตล่ ะหลกั สตู ร
๓. รายงานผลเป็นรายหลกั สูตร
๔. ตัวบ่งช้ีท่ี ๔.๓ ใช้ข้อมูลทั้งหมดจากแบบ
ประเมินน้ี
๕. ตัวบ่งช้ีท่ี ๖.๑ ใช้ข้อมูลเฉพาะตอนท่ี ๕
สงิ่ สนบั สนุนการเรียนรู้ ของแบบประเมินน้ี
๑๐ ปค. ๐๗ แบบประเมินความพึง ตัวบ่งชี้ที่ ๑. เปลี่ยนแปลงชื่อหลักสูตร วัตถุประสงค์
หลักสตู รระดับ พอใจของนิสิตปีสุดท้าย ๕.๔ หลักสูตร โครงสร้างหลักสูตร รายวิชาและ
ปริญญาตรี ต่อคุณภาพหลักสูตร สถานท่ีศึกษาในแบบประเมนิ ตามเป็นจรงิ
๒. แจกเฉพาะนสิ ิตปริญญาตรปี สี ุดท้าย
๓. รายงานผลเปน็ รายหลักสตู ร
๑๑ ปค. ๐๘ แบบประเมินความพึง ตัวบ่งชี้ท่ี ๑. เปลี่ยนแปลงชื่อหลักสูตร วัตถุประสงค์
หลักสูตรระดบั พ อใจ ของบั ณ ฑิ ต ต่ อ ๕.๔ หลักสูตร โครงสร้างหลักสูตร รายวิชาและ
บณั ฑติ ศึกษา คณุ ภาพหลักสูตร (ระดับ สถานท่ีศกึ ษาในแบบประเมนิ ตามเป็นจรงิ
บัณฑติ ศกึ ษา) ๒. แจกเฉพาะนิสิตปริญญาโท/เอก ภาค
การศึกษาสุดทา้ ยในชนั้ (coursework)
๓. รายงานผลเปน็ รายหลักสตู ร
(ให้ดูรายละเอียดใน สานักงานประกันคุณภาพ สานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วิ ท ย า ลั ย http://qa.mcu.ac.th/?fbclid=IwAR0 Dmn5 9 pcaW6 DUmTD_sX YoIL1 mKj2 a4 o
GtoKMopovdiqhVoaRrr4O1bqA)
ขั้นตอนที่ 7 กลุ่มงานวิจัยและคณุ ภาพการศึกษา สานักวชิ าการวิทยาเขตขอนแก่น จัดให้
มีการวพิ ากษ์รายงานการประเมินตนเอง ระดบั หลกั สูตร (SAR) โดยผูท้ รงคุณวฒุ ิทไี่ ดร้ บั การแต่งตงั้
ขั้นตอนที่ 8 หลักสูตรแก้ไขปรับปรุงตามข้อเสนอแนะร่างรายงานการประเมินตนเอง
ระดับหลกั สตู ร (SAR) ตามข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวฒุ ิ
แนวทางการจัดทารายงานการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลกั สตู ร ๑๑๘
ข้ันตอนที่ 9 หลักสูตรเข้ารับการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษา จากคณะกรรมการ
ตรวจประเมิน (ระหว่างกัน) ดงั แผนภาพที่ ๔.๖
แนวทางการจัดทารายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ๑๑๙
แผนภาพท่ี ๔.๖ แบบรายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน (ระหว่างกัน) ระดับ
หลกั สตู ร
ท่มี า : กลมุ่ งานวจิ ยั และคณุ ภาพการศกึ ษา สานักวิชาการวทิ ยาเขตขอนแก่น 2562.
ในการตรวจสอบเอกสารอ้างอิงในแต่ละตัวบ่งช้ี หากเอกสารส่วนใดที่คณะกรรมการ
ผู้ตรวจประเมินพบวา่ มีบางประเด็นที่มีขอ้ สงสัย หรือตอ้ งการหาข้อมลู เพ่มิ เตมิ สามารถตรวจสอบจาก
เอกสารหรือข้อมูลอ่ืน ๆ ที่หน่วยงานจัดเตรียมไว้ เพื่อให้คณะกรรมการมีความม่ันใจในข้อมูลที่ได้รับ
แล้วนามาสรุปผลการจัดเก็บข้อมูล ดังแนวทางการตรวจหลักฐานประกันคุณภาพภายใน
ระดับหลักสตู ร ในตารางท่ี ๔.๑๗
แนวทางการจดั ทารายงานการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลกั สูตร ๑๒๐
ตารางท่ี ๔.๑๗ แนวทางการตรวจหลักฐานประกนั คุณภาพภายใน ระดับหลกั สูตร ดงั น้ี
ตวั บง่ ชี้ เกณฑก์ ารประเมิน หลักฐาน
ตัวบ่งช้ี 1.1 การบริหาร 1. จานวนอาจารย์ 1. ศักยภาพอาจารย์ประจาหลกั สตู ร (ตารางในภาคผนวก)
จั ด ก ารห ลั ก สู ต รต า ม ประจาหลกั สูตร 2. รูปเล่มหลักสูตรที่ปรากฏชื่อและคุณสมบัติอาจารย์ประจา
เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร หลักสูตร อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร อาจารย์ผู้สอน
ท่ีกาหนดโดยสานักงาน (มคอ.2)
คณ ะกรรมการการ 3. ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงอาจารย์ประจาหลักสูตรต้องแนบ
อดุ มศึกษา สมอ.08 (มตสิ ภามหาวิทยาลัย)
2. คุ ณ ส ม บั ติ ข อ ง 1. ศักยภาพอาจารยป์ ระจาหลกั สตู ร
อ า จ า ร ย์ ป ร ะ จ า 2. รูปเล่มหลักสูตรที่ปรากฏชื่อและคุณสมบัติอาจารย์ประจา
หลักสตู ร หลักสูตร อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร อาจารย์ผู้สอน
(มคอ.2)
3. ถ้ามกี ารเปลย่ี นชอ่ื ต้องแนบ สมอ.08 (มติสภามหาวิทยาลัย)
4. สรปุ รายชือ่ อาจารย์ทปี่ รึกษาวทิ ยานพิ นธ์
3. คุ ณ ส ม บั ติ ข อ ง 1. ส รุป ราย ช่ื อ อ าจ ารย์ ที่ ป รึก ษ าวิ ท ย านิ พ น ธ์ (ก รณี
อาจารย์ผู้รับผิดชอบ บัณฑิตศึกษา)
หลกั สตู ร 2. สรปุ รายวิชาท่ีสอน
3. รูปเล่มหลักสูตรที่ปรากฏชื่อและคุณสมบัติอาจารย์ประจา
หลักสตู ร อาจารยผ์ ู้รบั ผิดชอบหลักสูตร อาจารย์ผู้สอน
4. คุ ณ ส ม บั ติ ข อ ง 1. สรุปรายช่อื อาจารยท์ ่ีปรกึ ษาวิทยานิพนธ์
อาจารยผ์ สู้ อน 2. สรุปรายวชิ าทสี่ อน
3. สรปุ ผลงานวจิ ยั และการตีพมิ พ์
4. คาสั่งอาจารย์ผู้สอน
5. รูปเล่มหลักสูตรที่ปรากฏช่ือและคุณสมบัติอาจารย์ประจา
หลกั สูตร อาจารย์ผรู้ บั ผดิ ชอบหลกั สตู ร อาจารยผ์ ู้สอน
5. คุ ณ ส ม บั ติ ข อ ง 1. ใช้สาหรบั ปรญิ ญาโทและปริญญาเอกเท่านั้น
อาจารย์ท่ี ป รึกษ า 2. สญั ญาจา้ งและภาระงาน
วิทยานพิ นธ์หลกั และ 3. ผลงานวจิ ัย
อาจารย์ที่ ป รึกษ า 4. ฐานข้อมูล/ทะเบียนประวัติ คุณวุฒิ ประสบการณ์ด้านวิจัย
การคน้ คว้าอิสระ ของอาจารย์ผู้สอน อาจารยท์ ่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์หลักและที่
ปรึกษาร่วม อาจารย์ที่ปรึกษาการค้นคว้าอิสระ อาจารย์
ผู้สอบวทิ ยานพิ นธ์
6. คุ ณ ส ม บั ติ ข อ ง 1. ผลงานวิจัย
อาจารย์ท่ี ป รึกษ า 2. ฐานข้อมูล/ทะเบียนประวัติ คุณวุฒิ ประสบการณ์ด้านวิจัย
วิ ท ย า นิ พ น ธ์ ร่ ว ม ของอาจารยผ์ ู้สอน อาจารยท์ ่ีปรกึ ษาวทิ ยานพิ นธ์หลักและที่
(ถ้าม)ี ปรึกษาร่วม อาจารย์ท่ีปรึกษาการค้นคว้าอิสระ อาจารย์
ผสู้ อบวทิ ยานพิ นธ์
แนวทางการจดั ทารายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสตู ร ๑๒๑
ตวั บง่ ชี้ เกณฑก์ ารประเมิน หลกั ฐาน
7. คุ ณ ส ม บั ติ ข อ ง 1. ผลงานวิจัย
อ า จ า ร ย์ ผู้ ส อ บ 2. ฐานข้อมูล/ทะเบียนประวัติ คุณวุฒิ ประสบการณ์ด้านวิจัย
วทิ ยานิพนธ์ ของอาจารย์ผสู้ อน อาจารยท์ ่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์หลักและท่ี
ปรึกษาร่วม อาจารย์ที่ปรึกษาการค้นคว้าอิสระ อาจารย์
ผ้สู อบวทิ ยานิพนธ์
8. ก า ร ตี พิ ม พ์ 1. สรุปผลงานตีพิมพข์ องนิสิต (บัณฑิตวทิ ยาลัยสรปุ )
เผยแพร่ผลงานของ 2. ใบตอบรับการเผยแพร่ผลงาน/การตีพิมพ์จากสถาบัน
ผูส้ าเรจ็ การศกึ ษา ผ้จู ดั ประชมุ วิชาการ/ผูต้ พี มิ พ์ (ที่มี Peer Review)
3. รูปเล่มวารสาร/เอกสาร/สิ่งพิมพ์วิชาการที่มีการตีพิมพ์
ผลงาน
9. ภาระงานอาจารย์ 1. สรุปภาระงานอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ (บัณฑิต
ท่ี ป รึ ก ษ า วทิ ยาลัย)
วิทยานิพนธ์และการ
ค้ น ค ว้ า อิ ส ร ะ ใน 2. ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรอื่ งเกณฑ์มาตรฐานหลักสตู ร
ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ระดบั บณั ฑิตศกึ ษา พ.ศ. 2548 (1 : 5)
3. แบบสรุปภาระงานของอาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ และ
การค้นคว้าอสิ ระของหลักสตู รทช่ี ี้ให้เห็นความต่อเนอ่ื ง
1 0 . อ า จ า ร ย์ ที่ 1. สรปุ ผลการดาเนินการวิจัย 5 ปียอ้ นหลัง
ปรึกษาวิทยานิพนธ์ 2. สัญญาทุนวจิ ัยของอาจารย์ทีป่ รึกษาวิทยานพิ นธ์และคน้ คว้า
แ ล ะ ก า ร ค้ น ค ว้ า อิสระ
อิ ส ร ะ ใ น ร ะ ดั บ 3. ผลงานวิจัยของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และค้นคว้า
บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า มี อิสระท่ชี ี้ใหเ้ หน็ ความตอ่ เนื่อง
ผ ล งาน วิจั ย อ ย่ าง
ตอ่ เนือ่ ง
11. ก ารป รับ ป รุง 1. แบบฟอร์มการขอปรับปรุงหลักสูตร หรือโครงการขอ
หลักสูตรตามรอบ ปรับปรุงหลกั สูตร
ระยะเวลาที่กาหนด 2. ประกาศมหาวิทยาลัย.... เร่ือง แผนการปรับปรุงหลักสูตรที่
(ถ้ายังไม่ถึงกรอบเวลา เปดิ สอนครบรอบตามเกณฑม์ าตรฐานของหลักสูตร
ปรับปรุงหลักสูตร ให้ 3. รปู เลม่ หลักสูตร (มคอ. 2) ฉบบั ท่ี สกอ.ประทบั ตรา
ร ะ บุ ว่ า ยั ง ไ ม่ ถึ ง ร อ บ
การปรับปรุงหลกั สูตร)
12.1 อ า จ า ร ย์ 1. รายงานการประชุมกรรมการบริหารหลักสูตรอย่างน้อย 4
ป ร ะ จ า ห ลั ก สู ต ร ครั้ง (เวลาให้ยึดตามปฏิทินบริหารหลักสูตร) ครั้งท่ี 1 เพื่อ
อย่างน้ อยร้อยล ะ วางแผน (ก่อนเปิดภาคเรียนที่ 1/...) คร้ังท่ี 2 เพ่ือติดตาม
80 มสี ว่ นร่วมในการ (ปิดภาคเรียนที่ 1/.....) ครั้งที่ 3 เพ่ือติดตาม (ก่อนเปิดภาค
ประชุมเพื่อวางแผน เรียนท่ี 2/...) คร้ังท่ี 4 เพ่ือทบทวน (ปิดภาคเรียนท่ี 2/..)
ติดตาม และทบทวน หรือจะจัดประชุมมากกว่า 4 คร้ังก็ได้ โดยให้คร้ังแรกเป็น
ก า ร ด า เนิ น ง า น ประชมุ เพอื่ วางแผนและครง้ั สดุ ท้ายเป็นประชุมเพือ่ ทบทวน
หลกั สตู ร 2. บันทกึ ลงนามผเู้ ขา้ ร่วมประชมุ
แนวทางการจดั ทารายงานการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลักสตู ร ๑๒๒
ตวั บ่งช้ี เกณฑก์ ารประเมิน หลกั ฐาน
12.2 มีรายละเอียด 1. รายงานผลการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้มาตรฐานหลักสูตร
ของหลักสูตรตาม (TQR) ตามรูปแบบ สมอ. 07
แ บ บ ม ค อ . 2 ท่ี 2. รปู เลม่ หลักสูตร (มคอ. 2) ฉบับ สกอ.ประทบั ตรารบั รอง
ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ 3. หนังสอื รับรองหลักสูตรจาก สกอ.
ม าต รฐ าน คุ ณ วุ ฒิ
สาขา / สาขาวชิ า
12.3 มีรายละเอียด 1. ประกาศมหาวิทยาลัย.... เรื่อง ปฏิทินการบริการหลักสูตร
ของรายวิชา และ ปีการศกึ ษา ..
ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ 2. มคอ.3 ของรายวิชาในหลกั สูตรท่ีเปิดสอนในปีการศึกษา ....
ภาคสนามตามแบบ ทกุ วชิ า
มคอ.3 และ มคอ.4 3. ใบรายงานสรปุ ผลการส่ง มคอ.3
อย่างน้อยก่อนการ 4. ใบรายงานสรุปผลการสง่ หรอื ตรวจสอบ มคอ. 3
เปิ ดส อน ใน แต่ล ะ
ภ าค ก ารศึ ก ษ าให้
ครบทกุ รายวชิ า
12.4 จัดทารายงาน 1. ประกาศมหาวิทยาลัย เร่ือง ปฏิทินการบริการหลักสูตร
ผลการดาเนินการ ปีการศกึ ษา ....
ของรายวิชา และ 2. มคอ.5 ของรายวิชาในหลักสูตรท่ีเปิดสอนในปีการศึกษา
ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ..... ทกุ วชิ า
ภาคสนามตามแบบ 3. ใบรายงานสรุปผลการนาสง่ หรอื ตรวจสอบ มคอ.5
มคอ.5 และ มคอ.6
ภายใน 30 วัน หลัง
ส้ิ น สุ ด ภ า ค
การศึกษาท่ีเปิดสอน
ใหค้ รบทกุ รายวิชา
12.5 จัดทารายงาน 1. ประกาศมหาวิทยาลัย.... เรื่อง ปฏิทินการบริการหลักสูตร
ผลการดาเนินการ ปีการศกึ ษา ....
ของหลักสูตรตาม 2. เล่มรายงานการประเมินตนเอง (SAR)/มคอ. 7
แบบ มคอ.7 ภายใน
60 วัน หลังส้ินสุดปี
การศึกษา
ตั ว บ่ งช้ี 2.1 คุ ณ ภ าพ 1. ใช้ค่าเฉลี่ยของ 1. แบบประเมินคุณภาพบณั ฑิตจากผ้ใู ชบ้ ัณฑิต (หลกั สตู ร)
บั ณ ฑิ ต ต า ม ก ร อ บ คะแนนประเมินผู้ใช้ 2. รายงาน/เอกสารการสรุปผลประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้
ม า ต ร ฐ า น คุ ณ วุ ฒิ บัณฑิต (คะแนนเต็ม บัณฑิตที่ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 20 ของจานวนบัณฑิตใน
ระดบั อุดมศึกษาแหง่ ชาติ 5) หลักสูตรท่ีสาเรจ็ การศกึ ษาในปี.....
แนวทางการจดั ทารายงานการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสตู ร ๑๒๓
ตวั บ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน หลักฐาน
ตัวบ่งช้ี 2.2 (ปริญ ญ า 1. ร้ อ ย ล ะ ข อ ง 1. รายงาน/เอกสารการสรุปผลภาวการณ์มีงานทาของบัณฑิต
ตรี) ร้อยละของบัณฑิต บณั ฑติ ปริญญาตรี ปรญิ ญาตรที ี่ไดง้ านทาหรอื ประกอบอาชพี อสิ ระภายใน 1 ปี
ปริญญาตรีที่ได้งานทาหรือ ที่สาเร็จการศึกษา (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของบัณฑิตท่ี
ป ร ะ ก อ บ อ าชี พ อิ ส ร ะ สาเร็จการศกึ ษา)
ภายใน 1 ปี
ตัวบ่งช้ี 2.2 (ปริญ ญ า 1. ปริญญาโท 1. บณั ฑิตทาสรปุ ผลงานวิทยานิพนธ์ทีไ่ ดร้ บั การตพี ิมพเ์ ผยแพร่
โท) ผลงานของนิสิตและ 2. การสรปุ ผลงานของนสิ ิตและผสู้ าเร็จการศึกษาระดับปริญญา
ผู้สาเร็จการศึกษาในระดับ โทท่ีไดร้ ับการตพี ิมพ์/เผยแพร่ในปกี ารศกึ ษาน้นั
ปริญ ญ าโท ท่ีได้รับการ 3. ผลงานของนิสิตและผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทท่ี
ตีพมิ พ์หรือเผยแพร่ ได้รับการตีพิมพ์/เผยแพร่ลงในวารสาร/เอกสาร/สิ่งพิมพ์
วชิ าการท่ีมกี ารตีพิมพผ์ ลงาน
4. สรุปรายชื่อ/จานวนนสิ ติ ที่สาเรจ็ การศกึ ษา
ตัวบ่งชี้ 2.2 (ปริญ ญ า 1. ปริญญาเอก 1. ทาสรุปผลงานวิทยานิพนธ์ของบัณฑิตที่ได้รับการตีพิมพ์
เอก) ผลงานของนิสิตและ เผยแพร่
ผู้สาเร็จการศึกษาในระดับ
ป ริ ญ ญ า เอ ก ท่ี ได้ รั บ ก า ร
ตพี มิ พห์ รอื เผยแพร่
ตัวบ่งช้ีท่ี ๒.๓ บัณ ฑิต ๑. ปรญิ ญาตรี ๑. รายงานผลการสอบผ่านภาษาอังกฤษและเทคโนโลยี
ปริญญาตรี มีคุณลักษณะ สารสนเทศ ตามเกณฑท์ ่มี หาวทิ ยาลยั กาหนด
บัณฑิตท่ีพึงประสงค์สอบ
ผ่านภาษ าอังกฤษ และ
เท ค โน โลยีสารสน เท ศ
ตามเกณฑ์ท่ีมหาวิทยาลัย
กาหนด
ตวั บ่งชี้ 3.1 การรบั นสิ ิต 1. ระบบและกลไก 1. แผนภาพพร้อมคาอธิบายแสดงกระบวนการตามระบบและ
- การเตรียมความพร้อม กลไกการรับนสิ ิตของหลักสตู ร
กอ่ นเขา้ ศกึ ษา 2. มคอ.2 ทป่ี รากฏคณุ ลักษณะบัณฑติ ในหลักสูตร
3. รายงานการประชุมวทิ ยาลัยสงฆข์ อนแก่น เรื่อง แผนการรับ
นสิ ติ ประจาปขี องหลักสูตรต่าง ๆ
4. ประกาศมหาวิทยาลัย ว่าด้วยเรื่องการเปิดรับนิสิตประจาปี
การศึกษา และรายละเอียดเก่ียวกับคุณสมบัตินิสิตท่ีเปิดรับ
สมัครในแตล่ ะหลกั สตู ร
5. โครงการประชาสัมพันธ์แนะแนวการศึกษาของหลักสูตร.....
บัณฑติ สาขาวิชา.....
6. ประกาศมหาวทิ ยาลัย เรื่อง การรบั สมคั รนิสติ ปีการศึกษา ..
7. รายงานการประชุมหลักสูตร เรื่อง คุณสมบัตินิสิตที่รับเข้า
และผลการเรียนของนิสติ ในปที ่ีผา่ นมา
แนวทางการจดั ทารายงานการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสตู ร ๑๒๔
ตวั บ่งช้ี เกณฑก์ ารประเมิน หลกั ฐาน
8. คาส่ังแต่งต้ังกรรมการสอบและพิจารณาข้อสอบคัดเลือก
นิสติ หลกั สตู ร........สาขาวิชา......
9. แผน การเตรียมความพ ร้อมให้กับ นิสิตในหลักสูตร
เช่น โครงการเตรียมความพร้อมนิสิตชั้นปีที่ 1 (การทดสอบ
ความรดู้ ้านภาษาองั กฤษ)
10. รายงานการประชุมคณะกรรมการประจาหลักสูตร (ซ่ึงมี
การสรปุ ผลการประเมินระบบและกลไก PDCA)
ตัวบ่งช้ี 3.2 การส่งเสริม 1. ระบบและกลไก 1. แผนการจัดกจิ กรรมสง่ เสริมและพฒั นานิสติ
แ ล ะ พั ฒ น า นิ สิ ต 2. คาส่ังแต่งต้ังกรรมการพัฒ นาศักยภาพนิสิตและการ
- การควบคุมการดูแลการ เสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ หลักสูตร.....
ให้คาปรึกษาวิชาการและ สาขาวิชา.....
แนะแนวแก่นิสิตปริญญา 3. คาส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการควบคุมดูแลการให้คาปรึกษา
ตรี วิชาการและแนะแนวแก่นสิ ิต
- การควบคุมและดูแลการ 4. รายงานความพึงพอใจของนิสิตที่มีต่ออาจารย์ท่ีปรึกษา
ให้คาปรึกษาวิทยานิพนธ์ (หลกั สตู รวเิ คราะหข์ ้อมูล)
แ ก่ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า 5. รายงานความพึงพอใจของอาจารย์ที่ปรึกษาท่ีมีต่อระบบ
- การพัฒนาศักยภาพนิสิต อาจารย์ที่ปรึกษา (หลกั สูตรวิเคราะห์ข้อมูล)
และการเสริมสร้างทักษะ 6. แบบบนั ทกึ ผลการให้คาปรกึ ษา
ก า ร เรี ย น รู้ ใน ศ ต ว ร ร ษ ท่ี 7. รายงานความพึงพอใจของนิสิตท่ีมีต่อกิจกรรมพัฒนานิสิต
21 (หลักสตู รวเิ คราะหข์ ้อมูล)
8. โครงการปฐมนเิ ทศนิสิต
9. กจิ กรรมพฒั นานิสิต
10. ตวั อย่างผลงาน/ช้ินงานนิสิตท่ไี ด้รบั รางวลั
11. ผลผลิต/ผลงาน นิสิตที่ได้รับรางวัลระดับชาติหรือ
นานาชาตใิ นปกี ารศึกษานัน้
12. รายงานการประเมินผล/สรุปผลการดาเนินโครงการ/
กิจกรรมหลักสูตร..... สาขาวชิ า.....
13. รายงานการประชุมคณะกรรมการประจาหลักสูตร
(มีสรุปผลการประเมินระบบและกลไก PDCA)
14. รูปเล่มสรุปกิจกรรม/โครงการที่ส่งเสริมและพัฒนานิสิตที่
ประกอบด้วย (การประเมินโครงการ/กิจกรรมซ่ึง
ดาเนินการตามวงจร PDCA หรือการจัดการความรู้ใน
กระบวนการ)
15. ผลการประเมินกิจกรรมบาเพ็ญสาธารณะประโยชน์ต่อ
สังคมท่ีนามาปรับปรุงโดยการให้นิสิตบรรพชิตและคฤหัสถ์
หลกั สตู ร ..... บณั ฑติ สาขาวชิ า...
แนวทางการจดั ทารายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลักสูตร ๑๒๕
ตวั บง่ ช้ี เกณฑ์การประเมนิ หลักฐาน
16. รายงานความพึงพอใจของอาจารย์ที่ปรึกษาที่มีต่อระบบ
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ สาหรับบัณฑิตศึกษา
(หลักสตู รวิเคราะหข์ ้อมลู )
ตวั บ่งชี้ 3.3 1. แ น ว โน้ ม 3 ปี 1. รายงานการจัดการข้อร้อนเรียนของนิสิตที่มีต่อหลักสูตร
ผลท่เี กดิ กบั นิสิต ย้อนหลัง (หลกั สูตรวิเคราะหข์ ้อมูล)
- ก า ร ค ง อ ยู่ 2. รายงานความพึงพอใจของนิสิตที่มีต่อการบริหารหลักสูตร
- การสาเร็จการศึกษ า (หลักสูตรวิเคราะห์ข้อมูล)
- ความพึงพอใจและผล 3. จานวนสถิตินสิ ติ ประจาหลักสูตรในแต่ละช้นั ปี
ก า ร จั ด ก า ร ข้ อ ร้ อ ง เรี ย น 4. รายงานผลการประเมินความพึงพอใจของนสิ ิตต่อคณุ ภาพส่ิง
ของนิสติ สนบั สนนุ การเรียนรแู้ ละการบรกิ าร
๕. รายงานผลการประเมินความพึงพอใจของนิสิตปีสุดท้ายต่อ
คณุ ภาพหลกั สตู ร..... สาขาวชิ า....
๖. รายงานสรุปผลความพึงพอใจของนิสิตต่อเรียนรู้และการ
บริการ
๗. รายงานผลความพงึ พอใจตอ่ การบริหารหลกั สตู ร
๘. รายงานการประชมุ เร่อื งการคงอยู่และสาเร็จการศึกษา
ตัวบ่งช้ี 4.1 การบริหาร 1. ระบบและกลไก 1. ระบบและกลไกการรบั และแตง่ ตงั้ อาจารยป์ ระจาหลกั สตู ร
แ ล ะ พั ฒ น า อ า จ า ร ย์ 2. แผนพฒั นาอาจารย์วิทยาลยั สงฆข์ อนแกน่
- ระบบการรับและแต่งตั้ง 3. รายงานการประชุมวทิ ยาลัยสงฆ์ขอนแก่น เร่ือง แผนพัฒนา
อาจารย์ประจาหลักสูตร อาจารย์วิทยาลยั สงฆข์ อนแกน่
- ร ะ บ บ ก า ร บ ริ ห า ร 4. คาสัง่ แตง่ ตง้ั คณะกรรมการบริหารหลักสตู ร
อาจารย์ 5. รายงานความพึงพอใจของอาจารย์ประจาหลักสูตรท่ีมีต่อ
- ระบบการส่งเสริมและ การบริหารจัดการ การส่งเสริม และการพัฒนาศักยภาพ
พัฒนาอาจารย์ คุณภาพของบคุ ลากร (หลักสตู รวิเคราะหข์ ้อมลู )
6. ประกาศมหาวิทยาลยั วา่ ด้วยเรื่องการเปิดรบั อาจารย์ผู้สอน
ประจาหลักสูตร
7. โครงสร้างการบริหารงานภายในหลักสูตร
8. แผนการพฒั นาศักยภาพของอาจารยใ์ นหลักสตู รประจาปี
9. ผลผลิต/ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ที่ได้รับรางวัล
ระดับชาติหรือนานาชาตใิ นปกี ารศกึ ษานั้น
10. โล่/เกียรติบัตร/ใบประกาศเกียรติคุณระดับชาติหรือ
นานาชาติของอาจารย์ประจาหลักสูตรท่ีได้รับจากการ
สร้างหรือผลิตผลงาน
11. รายงานการประชุมทบทวน/ประเมินกระบวนการบริหาร
และพัฒนาอาจารย์ประจาหลักสูตรตามวงจร PDCA หรือ
การจดั การความรใู้ นกระบวนการรว่ มกัน
แนวทางการจัดทารายงานการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลกั สูตร ๑๒๖
ตัวบง่ ชี้ เกณฑก์ ารประเมนิ หลักฐาน
ตั วบ่ งช้ี 4.2 คุณ ภ าพ 1. - ร้ อ ย ล ะ ข อ ง 1. บทความทีไ่ ดร้ ับการตีพมิ พข์ องอาจารย์ประจาหลกั สูตร
อาจารย์ อ า จ า ร ย์ ป ร ะ จ า 2. ผลงานทางวชิ าการของอาจารยป์ ระจาหลักสตู ร
หลักสูตรที่มีคุณวุฒิ 3. สรุปหลักฐานซ่ึงเป็นคุณวุฒิทางการศึกษาของอาจารย์
ปริญญาเอก ประจาหลักสตู ร
- ร้อยละของอาจารย์ 4. สรุป ผลการดารงตาแหน่งทางวิชาการของอาจารย์
ประจาหลักสูตรที่ ประจาหลักสูตร
ดารงตาแหน่งทาง 5. รายชื่อบทความของอาจารย์ประจาหลักสูตรท่ีได้รับการ
วิชาการ อา้ งองิ ในฐานข้อมลู TCI และ Scopus
- ผลงานทางวิชาการ
ของอาจารย์ประจา
หลักสูตร
- จานวนบทความ
ของอาจารย์ประจา
หลักสูตรปริญญาเอก
ที่ได้รับการอ้างอิงใน
ฐานข้อมูล TCI และ
Scopus ต่อจานวน
อ า จ า ร ย์ ป ร ะ จ า
หลักสตู ร
ตัวบ่งช้ี 4.3 ผลท่ีเกิดกับ 1. แ น ว โน้ ม 3 ปี 1. อัตรากาลงั ของคณาจารย์
อาจารย์ ย้อนหลัง 2. การคงอยขู่ องคณาจารย์
- การคงอยู่ของอาจารย์ 3. จานวนอาจารยป์ ระจาหลกั สตู รในปัจจุบัน
- ค ว า ม พึ ง พ อ ใจ ข อ ง 4. รายงานความพึงพอใจของอาจารย์ประจาหลักสูตรท่ีมีต่อ
อาจารย์ การบริหารหลกั สูตร (หลักสูตรวเิ คราะห์ขอ้ มูล)
5. รายงานความพึงพอใจของอาจารยป์ ระจาหลกั สูตร
ตัวบ่งช้ี 5.1 สาระของ 1. ระบบและกลไก ๑. ระบบและกลไกการจดั ทาในการพฒั นาหลกั สตู ร
ร า ย วิ ช า ใน ห ลั ก สู ต ร ๒. ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ืองเกณฑม์ าตรฐานหลักสูตร
- การออกแบบหลักสูตร ระดบั ปริญญา.... พ.ศ. ....
แ ล ะ ส า ร ะ ร า ย วิ ช า ใน ๓. คาส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร.....
หลกั สูตร สาขาวิชา.....
- การปรับปรุงหลักสูตรให้ ๔. หนังสือสภาวิชาการการพิจารณาเห็นชอบและสภามหา
ทนั สมยั ตามความก้าวหน้า มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ได้พิจารณา
ในศาสตรส์ าขาวชิ าน้ันๆ อนุมัติ ในคราวประชุมคร้ังท่ี .../... วันที่..... เดือน ..... พ.ศ.
..... และจะปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลา ๕ ปี ในปี
การศึกษา .....
แนวทางการจดั ทารายงานการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ๑๒๗
ตวั บง่ ชี้ เกณฑ์การประเมนิ หลกั ฐาน
๕. หนังสือรับทราบหลักสูตร..... สาขาวิชา..... จากสานักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษา
๖. มคอ.๒ หลกั สตู ร... บัณฑิต สาขาวิชา.....ปกี ารศกึ ษา .....
๗. รายงานการประเมินกรอบแนวคิดในการพัฒนาหลักสูตร.....
สาขาวิชา.....
๘. รายงานการจดั ทาแผนพฒั นาหลกั สูตร..... สาขาวิชา.....
๙. รายงานแผนการจัดการศึกษาตามรายละเอียดของหลักสูตร
.... สาขาวชิ า.... ตามแบบ มคอ. ๒ ปีการศกึ ษา ......
๑๐. รายงาน แผนปฏบิ ตั กิ ารบรหิ ารหลักสูตร.... สาขาวชิ า....
๑๑ . รายงาน การพิ จารณ าแผนการจัดการศึกษ าตาม
รายละเอียดหลักสูตร.... สาขาวิชา.... ตามแบบ มคอ. ๒
ปกี ารศกึ ษา .....
1๒. มคอ.5/มคอ.6 ในรายวชิ าท่ีบันทึกการเปลี่ยนแปลงเน้อื หา
สาระในรายวชิ า
๑๓. รายงานการประชุมหลักสูตร เร่ือง การพิจารณาระบบ
กลไกการออกแบบหลักสูตร หรือการปรับปรุงสาระ
รายวิชาในหลักสตู ร
๑๔. รายงานการวิจัย/รายงานผลการประเมินและการสารวจ
แนวทางการพฒั นาหลักสตู ร
๑๕. สรปุ ผลการวิพากษ์ของผูท้ รงคณุ วฒุ ิทป่ี ระเมินหลกั สูตร
๑๖. รายงานการประเมินจุดแข็ง/จุดอ่อนเพ่ือการปรับปรุง
หลกั สูตร.... สาขาวิชา.... ภาคเรยี นท่ี .../....
๑๗. หลักฐานอื่นๆ ในกรณที ่ีหลกั สตู รไดด้ าเนินการแลว้
ตั ว บ่ งชี้ 5.2 ก า รว า ง 1. ก า ร ว า งร ะ บ บ 1. รายงานการประชุมหลักสูตร เรื่อง การพิจารณากาหนด
ระบบผู้สอน กระบวนการ ผูส้ อน ผู้สอน การกากับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทา มคอ.3
จัดการเรียนการสอนการ และ มคอ.4 (การกากบั กระบวนการเรียนการสอน การจัดการ
กาหนดผสู้ อน เรียนการสอนท่ีมีการฝึกปฏิบัติในระดับปริญญาตรี การบูรณา
- การกากับ ติดตาม และ การพนั ธกจิ ต่างๆ กับการเรียนการสอนในระดับปรญิ ญาตรี)
ต ร ว จ ส อ บ ก า ร จั ด ท า 2. รายงานการประชุม เรื่อง การพิจารณาผู้สอนในแต่ละ
แผนการเรียนรู้ (มคอ.3)
รายวชิ า
การจดั การเรยี นการสอน 3. แนวการสอนแต่ละรายวิชาท่ีแสดงถึงการจัดการเรียนการ
- การจัดการเรยี นการสอน สอนท่ีมีการฝึกปฏิบัติ (ปริญญาตรี)
ใน ร ะ ดั บ ป ริ ญ ญ า ต รี ที่ มี 4. ผลงานที่เกิดจากการการบูรณาการพันธกิจต่างๆ กับการ
การบูรณาการกับการวิจัย เรียนการสอน
การบริการวิชาการ และ 5. การแต่งตั้งอาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้า
ท า นุ บ า รุ งศิ ล ป ะ แ ล ะ อิสระในระดบั บัณฑติ ศึกษา
วฒั นธรรม
แนวทางการจัดทารายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลกั สูตร ๑๒๘
ตวั บ่งช้ี เกณฑ์การประเมิน หลกั ฐาน
7. การชว่ ยเหลอื กากับ ติดตาม ในการทาวิทยานพิ นธ์และการ
ค้นควา้ อสิ ระและการตีพมิ พผ์ ลงานในระดับบณั ฑติ ศึกษา
- ก า ร ค ว บ คุ ม หั ว ข้ อ
วิท ย านิ พ น ธ์ แ ล ะก าร
ค้ น ค ว้าอิ ส ระใน ระดั บ ๘. รายงานผลการสอดแทรกศิลปะและวัฒนธรรม ภูมิปัญญา
บัณฑติ ศึกษา ท้องถิ่น ในกระบวนการเรียนการสอนและส่งผลต่อการ
- การแต่งต้ังอาจารย์ที่ เรยี นรขู้ องนิสิตหลักสูตร..... สาขาวิชา.....
ปรกึ ษาวิทยานิพนธ์ ๙. รายงานผลการควบคุมกากับกระบวนการจัดการเรียนการ
- การช่วยเหลือ กากับ สอนและการประเมนิ นิสิตหลักสตู ร..... สาขาวิชา.....
ติ ด ต า ม ใ น ก า ร ท า ๑๐. รายงานผลการกาหนดรายวิชาที่เปิดสอนและกาหนด
วิ ท ย า นิ พ น ธ์ ใน ร ะ ดั บ ผู้สอนหลกั สูตร..... สาขาวชิ า.....
บณั ฑิตศกึ ษา ๑๑. คาสั่งแต่งตั้งกรรมการกากับ ติดตาม และตรวจสอบการ
จั ด ท า ม ค อ .๓ ร า ย วิ ช า พ้ื น ฐ า น ท่ั ว ไ ป / แ ก น
พระพทุ ธศาสนา/วิชาเอก/วิชาเลอื กเสรี หลกั สูตร..... สาขา
วชิ า.....
๑๒. คาสั่งแต่งต้ังกรรมการกากับกระบวนการเรียนการสอน
หลักสูตร..... สาขาวิชา.....
๑๓. คาส่ังแต่งต้ังกรรมการบูรณาการพันธกิจต่าง ๆ กับการ
เรียนการสอนหลักสตู ร..... สาขาวิชา.....
๑๔. รายงานการนากระบวนการบริการทางวิชาการเข้ามามี
ส่วนร่วมในการจัดการเรียนการสอนและส่งผลต่อการ
เรยี นร้ขู องนสิ ิตหลักสตู ร..... สาขาวชิ า...
๑๕. รายงานการนากระบวนการวิจัยมาใช้ในการเรียนการสอน
และสง่ ผลตอ่ การเรยี นรขู้ องนิสติ หลักสูตร..... สาขาวชิ า.....
ตัวบ่งชี้ 5.3 การประเมิน 1. ก า ร ป ร ะ เมิ น 1. การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
ผู้เรียน ผูเ้ รียน ระดบั อดุ มศึกษาแหง่ ชาติ
- ก ารป ระ เมิ น ผ ล ก า ร 2. รายงานการประชุม เร่ือง การตรวจสอบการประเมินผล
เรียนรตู้ ามกรอบมาตรฐาน การเรียนรูข้ องนิสิต
คุ ณ วุ ฒิ ร ะ ดั บ อุ ด ม ศึ ก ษ า 3. การกากบั การประเมนิ การจัดการเรยี นการสอนและประเมิน
แห่งชาติ หลักสตู ร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7)
- การตรวจสอบการ 4. แนวการสอนของแตล่ ะรายวชิ าในหลักสูตร
ประเมินผลการเรียนรู้ของ 5. รายงานการประเมินผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนิสิตใน
นสิ ติ แตล่ ะรายวิชาทไี่ ด้รับการอนมุ ตั ิ
- การกากับการประเมิน 6. การประเมินวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับ
การจัดการเรียนการสอน บัณฑิตศึกษา
และการประเมินหลักสูตร
(มคอ.5 มคอ.6 และ
แนวทางการจัดทารายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสตู ร ๑๒๙
ตวั บง่ ช้ี เกณฑก์ ารประเมนิ หลักฐาน
มคอ.7) ๗. คาสั่งแต่งต้ังกรรมการกากับ ติดตาม และตรวจสอบการ
- การประเมินวิทยานิพนธ์ จดั ทา มคอ.๓ รายวิชาพื้นฐานท่ัวไป/แกนพระพุทธศาสนา/
และการศึกษ าค้น คว้า วิชาเอก/วิชาเลือกเสรี
อิ ส ร ะ ใ น ร ะ ดั บ ๘. คาสั่งแต่งตั้งกรรมการประเมินผลการเรียนในรายวิชา
บัณฑติ ศึกษา หลักสูตร .... บัณฑิต สาขาวิชา.... ตามกรอบมาตรฐาน
คุณวฒุ ิแห่งชาติ ท่ีมีหลายกลุม่ เรียนให้ไดม้ าตรฐานเดยี วกัน
๙. คาสั่งแต่งต้ังคณะกรรมการวิเคราะห์/ตรวจสอบคุณภาพ/
ปรับปรุงพัฒนาเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินคุณภาพนิสิต...
บัณฑิต สาขาวชิ า... ปีการศกึ ษา
๑๐. คาสั่งแต่งตั้งกรรมการกากับการประเมินการจัดการเรียน
การสอนและประเมินหลักสตู ร..... สาขาวชิ า.... มคอ. ๗
๑๑. รายงานผลการประเมินการจัดการเรียนการสอนหลักสูตร
..... สาขาวชิ า..... ตามรายละเอียดใน มคอ. ๕
๑๒. รายงานผลการกากับการประเมินการจดั การเรียนการสอน
และประเมินหลักสูตร.... สาขาวิชา.... ตามแบบ มคอ.๕
๑๓. รายงานผลการประเมินการจัดการเรียนการสอนหลักสูตร
..... สาขาวชิ า..... ตามรายละเอยี ดใน มคอ.๗
๑๔. รายงานผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลักสูตร
..... สาขาวิชา..... ในแต่ละรายวชิ า
๑๕. รายงานการประชุมของหลักสูตรที่ได้มีรายละเอียด
มคอ. 5, มคอ.6
ตั ว บ่ ง ช้ี 5.4 ผ ล ก า ร 1. ผลลัพธ์ 1. ประกาศมหาวิทยาลยั เรอื่ ง การทวนสอบของมหาวิทยาลัยท่ี
ดาเนินงานหลักสูตรตาม เป็นระบบและกลไกการทวนสอบผลสมั ฤทธข์ิ องนสิ ิต
ก ร อ บ ม า ต รฐ าน คุ ณ วุ ฒิ 2. รายชือ่ วิชาที่มีการทวนสอบและกระบวนการทวนสอบตามที่
ระดบั อุดมศึกษาแหง่ ชาติ กาหนดใน มคอ.3, มคอ.4
๓. มติที่ประชุมอาจารย์ประจาหลักสูตรท่ีเห็นชอบการนาผล
การรายงานใน มคอ.7 ปรบั ปรงุ การจดั ทา มคอ.3, มคอ.4
๔. รายงานผลการพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน
กลยทุ ธก์ ารสอน หรอื การประเมนิ ผลการเรียนรู้หลักสตู ร.....
สาขาวิชา.....
๕. รายงานผลการประเมินความพึงพอใจแบบสอบถามความ
พึงพอใจของผู้ใช้บัณฑติ ตอ่ การปฏิบัติงานและอัตลักษณ์ของ
นสิ ติ หลักสตู ร..... สาขาวชิ า..... ทส่ี าเรจ็ การศึกษา
๖ . รายงาน การจัด ท าแ ผน พั ฒ น าระดั บ ห ลั กสู ต ร.....
สาขาวิชา..... ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔
๗. รายงานการพิจาณารับรองมาตรฐานรายงานผลรายวิชา
มคอ. ๕ หลักสูตร....สาขาวิชา.... ภาคเรียนท่ี .../.. จานวน
แนวทางการจดั ทารายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลกั สูตร ๑๓๐
ตวั บง่ ช้ี เกณฑ์การประเมิน หลักฐาน
..... รายวชิ า
๘. รายงานการประเมินความพึงพอใจของนิสิตปีสุดท้ายต่อ
คุณภาพหลักสตู ร..... สาขาวชิ า.....
๙. รายงานการประเมินความพึงพอใจของบัณฑิตต่อคุณภาพ
หลกั สตู ร.... บัณฑิต สาขาวิชา......
๑๐. รายงานการทวนสอบผลสัมฤทธ์ิของนิสิตตามมาตรฐานผล
การเรียนรู้หลักสูตร..... สาขาวิชา.....ท่ีกาหนดใน มคอ.๓
อย่างน้อยร้อยละ ๒๕ ของรายวิชาท่ีเปิดสอนในแต่ละปี
การศกึ ษา ....
๑๑. รายงานการประชุมการพิจารณาการประเมินตนเองระดับ
หลักสตู ร..... สาขาวชิ า.....ปกี ารศึกษา ..... (SAR)
ตวั บ่งชี้ 6.1 สง่ิ สนับสนุน 1. ระบบและกลไก 1. การสรุปผลประเมินความพึงพอใจของนิสิตและอาจารย์
การเรยี นรู้ ประจาหลักสูตรที่มีต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ (หลักสูตร
วิเคราะหข์ อ้ มลู )
2. รายงานการประชุวิทยาลัยสงฆ์ ขอนแก่นเร่ือง แผน
งบประมาณประจาปีท่ีสะท้อนให้เห็นถึงการใช้งบประมาณ
เพ่ือได้มาซ่ึงสิง่ สนับสนนุ การเรยี นรูท้ ่พี รอ้ มใชง้ าน
3. ภาพถ่ายสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ เช่น ห้องเรียน ห้องสมุด
ห้องปฏิบัติการ ห้องเรยี น ฐานข้อมูลเพื่อการสืบค้น หนังสือ
ตารา สงิ่ พมิ พ์ วารสาร ห้องน้า ลานกิจกรรม เปน็ ต้น
4. บัญชีรายชื่อและจานวนของสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ประจา
หลักสตู ร (มคอ.2)
5. รายงานการประชุมคณะกรรมการหลักสูตรท่ีพิจารณา
รว่ มกันเกยี่ วกบั การจดั หา และพัฒนาส่งิ สนับสนุนการเรียนรู้
ให้มคี วามพร้อมและเพียงพอตอ่ จานวนผู้ใช้
6. สรุปผลการทวนสอบผลสัมฤทธ์ินิสิตปีการศึกษา ... ที่มีต่อ
ด้านสิ่งสนบั สนนุ การเรยี นรู้
ขั้นตอนที่ 10 ให้หลักสูตรแก้ไขปรับปรุงตามข้อเสนอแนะ ร่างรายงานการประเมิน
ตนเอง ระดับหลักสูตร (SAR) ตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการตรวจประเมนิ ระหวา่ งหลกั สูตร
ข้ันตอนที่ 11 หลักสูตรจัดทารายงานการประเมินตนเอง ระดับหลักสูตร (SAR) ฉบับ
สมบรู ณ์ท่ีกลุ่มงานวิจัยและคุณภาพการศึกษา เพื่อใหค้ ณะอนุกรรมการประเมินคุณภาพการศกึ ษาของ
วิทยาเขตขอนแก่นรับรองรายงานการประเมินตนเอง ระดับหลักสูตร แล้วเสนอให้คณะกรรมการ
ประจาวทิ ยาเขตขอนแก่น รบั ทราบผลการดาเนินงาน
แนวทางการจดั ทารายงานการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลักสตู ร ๑๓๑
แนวทางการจดั ทารายงานการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลักสตู ร ๑๓๒
แนวทางการจดั ทารายงานการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลกั สตู ร ๑๓๓
แผนภาพท่ี ๔.๗ ตัวอย่างปก บทสรุปผู้บริหาร สารบัญ รายงานผลการประเมินคุณภาพ
การศกึ ษาภายในระดับหลกั สูตร
ทีม่ า : กลมุ่ งานวจิ ัยและคุณภาพการศกึ ษา สานักวิชาการวทิ ยาเขตขอนแก่น 256๑
แนวทางการจดั ทารายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลกั สตู ร ๑๓๔
ขั้นตอนที่ 12 หลักสูตรต่างๆ ร่วมกับกลุ่มงานวิจัยและคุณภาพการศึกษา สานักวิชาการ
วิทยาเขตขอนแก่น กรอกผลดาเนินงานในระบบรายงานผลการประเมินออนไลน์ MCU e-SAR ของ
มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัยแลว้ ถือว่าส้ินสุดการดาเนนิ งานการรายงานผล
แผนภาพท่ี ๔.๘ การรายงานผลการประเมนิ ออนไลน์(MCU e-SAR) ระดับหลักสตู ร
ท่ีมา : กลมุ่ งานวิจยั และคณุ ภาพการศึกษา สานกั วิชาการวทิ ยาเขตขอนแกน่ 256๑
ผู้เขียนได้นาเสนอข้ันตอนจัดทารายงานการประเมินตนเอง ระดับหลักสูตร (SAR) ตาม
ขั้นตอนการปฏิบัติงานของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยวิทยาเขตขอนแก่น เพ่ือให้
ผู้บริหาร บุคลากร นิสิต และผู้เก่ียวข้องใช้เป็นแนวทางในการทางาน หรือในกรณีมีการเปลี่ยน
เจา้ หน้าทห่ี รือผปู้ ฏบิ ัตงิ านใหม่ กส็ ามารถศึกษาเอกสารประกอบการทางานฉบบั นี้ได้ทนั ที
แนวทางการจัดทารายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสตู ร ๑๓๕
ในกระบวนการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร มีการปฏิบัติงาน
การก่อนการตรวจประเมิน ระหว่างการตรวจประเมิน และการรับการตรวจประเมินคุณภาพ
การศกึ ษาภายใน ระดบั หลกั สูตร แบง่ ออกเป็น ๓ ชว่ ง ดงั น้ี
กอ่ นการตรวจประเมนิ
๑. กรรมการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายศึกษาเอกสารรายงานการประเมิน
ตนเอง (SAR) ระดบั หลักสูตร ตลอดจนเอกสารทเี่ กีย่ วข้องอืน่ ๆ
๒. คณะกรรมการประชุมช้ีแจงวัตถุประสงค์ ขอบเขต วิธีการ ในการตรวจประเมิน
คุณภาพการศึกษา ภายใน พร้อมทั้งร่วมกันวิเคราะห์ SAR ของส่วนงานเพ่ือสรุปประเด็น ข้อสงสัย
และหาข้อมลู เพ่มิ เตมิ ในเบือ้ งตน้
๓. แบง่ หนา้ ทใ่ี ห้กรรมการแตล่ ะคนได้ศกึ ษาวเิ คราะหข์ ้อมลู ในรายละเอียด
๔. วางแผนตรวจประเมินร่วมกัน ตลอดจนปรึกษาหารือ อภิปราย แสดงความคิดเห็น
เพอ่ื ให้เขา้ ใจวิธีการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู หลกั ฐาน และกาหนดเกณฑ์ประเมินไปในทิศทางเดยี วกัน
๕. จัดทากาหนดการการตรวจประเมินเป็นลายลักษณ์อักษร แจ้งให้ส่วนงานที่รับการ
ตรวจประเมินทราบล่วงหน้าอย่างน้อย ๗ วัน เพื่อให้สามารถนัดหมายบุคคลที่คณะกรรมการต้องการ
สัมภาษณ์ หรือจัดเตรียมเอกสารที่คณะกรรมการต้องเพิ่มเติม หรือแจ้งส่วนงานย่อยที่คณะกรรมการ
ประสงค์จะเขา้ ตรวจประเมนิ ตลอดจนสามารถเตรยี มการด้านอื่น ๆ ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ
5. นัดหมายคณะกรรมการเพอ่ื ลงพ้ืนที่ในสว่ นงานท่ีรับการตรวจประเมิน ประสานงานกับ
ส่วนงานทร่ี ับการตรวจประเมนิ เพ่ือขอการอานวยความสะดวกในดา้ นต่างๆ
คณ ะกรรมการตรวจประเมิน ประธานกรรมการประชุม แ บ่ ง ห น้ า ท่ี ใ ห้ กั บ
คุณภาพการศึกษาภายในแต่ละ ชี้ แ จ ง วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ คณะกรรมการตรวจ
คนศกึ ษาเอกสารลว่ งหนา้ ขอบเขต ของการประเมนิ ป ร ะ เมิ น คุ ณ ภ า พ
การศึกษาภายใน
แ จ้ ง ต า ร า ง ก า ร ต ร ว จ ป ร ะ เมิ น จั ด ท า ต า ร า ง ก า ร ต ร ว จ วางแผนการตรวจ
ใหส้ ว่ นงาน ประเมิน ประเมิน
นั ด ห ม า ย ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ต ร ว จ
ประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
เพ่อื เตรียมการลงพ้ืนที่
แผนภาพที่ ๔.๙ สรุปขัน้ ตอนการเตรียมการก่อนการตรวจประเมนิ
ท่ีมา : สานักงานประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สานักงานอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ
ราชวทิ ยาลยั , ๒๕๖๐ : ๑๒.
แนวทางการจัดทารายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสตู ร ๑๓๖
ระหวา่ งการตรวจประเมิน
๑. ประชุมช้ีแจงทาความเข้าใจกบั ส่วนงานเพื่อทราบวัตถุประสงคข์ องการตรวจประเมนิ
๒. พบผู้บริหารเพ่ือสัมภาษณ์ข้ันต้นเกี่ยวกับปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผน
ดาเนินงานของผ้บู รหิ ารและอ่ืนๆ เพื่อเปน็ ขอ้ มลู สาหรับการประเมินการบรหิ ารจัดการของผู้บรหิ าร
๓. ตรวจสอบเอกสารอ้างอิงในแต่ละตัวบ่งชี้เพิ่มเติมจากการศึกษาขั้นต้น หากเอกสารใน
ส่วนใดท่ีคณะกรรมการผู้ตรวจประเมินพบว่า มีบางประเด็นท่ีมีข้อสงสัย หรือต้องการหาข้อมูล
เพม่ิ เติม สามารถตรวจสอบจากเอกสารขอ้ มูล ทางสถติ ิ หรอื ข้อมูลอน่ื ๆ ท่ีหน่วยงานจดั เตรียมไว้
๔. ตรวจเย่ียมตามส่วนงานในพ้ืนที่ตามท่ีได้รับมอบหมาย โดยสัมภาษณ์ผู้บริหาร
คณาจารย์ นิสิต ศิษย์เก่า เจ้าหน้าท่ี หรือบุคคลอ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวข้อง รวมท้ังตรวจสอบห้องปฏิบัติการ
หอ้ งสมุด และส่ิงแวดล้อม เพื่อให้ไดข้ อ้ มูลเพมิ่ เติม
๕. สรุปผลการตรวจประเมินในแต่ละวัน เพื่อทราบความคืบหน้าของการตรวจประเมิน
ร่วมปรึกษาหารือในประเด็นที่ไม่แน่ใจ เพ่ือทาให้สรุปผลการรายงาน มีความชัดเจนย่ิงขึ้น แล้วนา
ขอ้ มลู นัน้ มาสังเคราะห์รวมกัน โดยการทบทวนและอภปิ รายจนได้ขอ้ สรุปรว่ มกัน
๖. พบผ้บู รหิ ารเพ่ือขอความคิดเห็นหรอื ยืนยันขอ้ มลู บางประเด็น เพ่ือใหค้ ณะกรรมการมี
ความม่นั ใจในขอ้ มลู ทไ่ี ดร้ ับเพ่ือนามาสรุปผลการจดั เกบ็ ข้อมลู
ประธานคณะกรรมการตรวจ ผ้บู ริหารส่วนงานบรรยาย สัมภาษณผ์ บู้ ริหาร
ป ร ะ เมิ น แ น ะ น า ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร สรุปสถานภาพปัจจุบัน
และแจ้งวัตถุประสงค์การตรวจ และแนวทางพฒั นา
ประเมิน
สมั ภาษณ์ ตรวจเยี่ยมส่วนงานย่อย ตรวจสอบเอกสาร
ทมี บริหาร ต่ า ง ๆ ต า ม ที่ ไ ด้ รั บ เพ่มิ เตมิ
คณาจารย์ มอบหมาย
นสิ ิตและศิษยเ์ ก่า
เจา้ หนา้ ท่อี น่ื ๆ
ตรวจสอบ พบผู้บริหารและสรุปผล รายงานผลการ
เอกสารพื้นท่ี การเก็บข้อมูล/วิเคราะห์ ประเมินขั้นตอนด้วย
โครงการสอนและสอื่ ข้อมลู และประเมินผล วาจา
ห้องปฏิบตั กิ าร
ส่ิงแวดล้อมอนื่ ๆ
แผนภาพที่ ๔.๑๐ สรปุ ขนั้ ตอนการดาเนนิ การระหว่างการตรวจประเมนิ
ที่มา : สานักงานประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สานักงานอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ
ราชวทิ ยาลัย, ๒๕๖๐ : ๑๔.
แนวทางการจดั ทารายงานการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลักสตู ร ๑๓๗
ภายหลงั การตรวจประเมิน
๑. วิเคราะหแ์ ละสรปุ ผลการตรวจประเมนิ เพื่อเขยี นรายงาน
๑.๑ วิเคราะห์ว่าแนวทางการปฏิบัติของส่วนงานสอดคล้องกับปรัชญา ปณิธาน
เป้าประสงคแ์ ละแผนงานตามที่กาหนดไว้
๑.๒ วิเคราะห์ว่าส่วนงานมีระบบและกลไกการดาเนินงานตามพันธกิจและจุดเน้น
(๓) วิเคราะห์วา่ ผลการดาเนนิ งานตามตวั บ่งชี้เปน็ ไปตามเกณฑ์และไดม้ าตรฐาน
๑.๓ วิเคราะห์จุดแขง็ วิธีปฏิบัติที่ดีหรือนวัตกรรม จดุ ที่ควรปรับปรุง ตลอดจนเสนอ
แนวทางในการเสริมจุดแข็ง และพัฒนาจุดท่ีควรปรับปรุง เพื่อให้ส่วนงานสามารถนาข้อเสนอแนะไป
ปรบั ปรุงพฒั นาตนเองอยา่ งต่อเนอื่ งต่อไป
๒. เขียนรายงานผลการตรวจประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน โดยยดึ หลกั เกณฑ์ดังนี้
๒.๑ การเขียนรายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายในจะต้อง
สอดคล้องตามวัตถุประสงค์ของการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน โดยมีการตรวจสอบความ
ถูกต้องของข้อมูลและค้นหาหลักฐานประกอบ พร้อมท้ังมีการวิเคราะห์ข้อมูลตามตัวบ่งชี้อย่าง
ครบถ้วน
๒.๒ การเขยี นรายงานจะตอ้ งเปน็ การเขยี นตามสภาพข้อเท็จจริงประมาณ ๑๕ - ๒๐
หน้า โดยสรุปประเดน็ ส้ันๆ ไดใ้ จความชัดเจนพร้อมทง้ั อ้างอิง
๒.๓ รายงานผลการตรวจประเมนิ คุณภาพการศึกษาภายในตามแบบฟอรม์ ที่กาหนด
๒.๔ ส่งรายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในของส่วนงานให้กับ
ผูเ้ ก่ียวข้องภายในระยะเวลาทกี่ าหนด
คณ ะกรรมการตรวจประเมิน วิ เค ร า ะ ห์ จุ ด แ ข็ ง วิ ธี จัดทารายงานผลการ
วิเคราะห์และสรุปผลการตรวจ ปฏิบัติท่ีดี หรือนวัตกรรม ประเมินฉบับสมบูรณ์
ป ระเมิ น โด ย พิ จารณ าแต่ ล ะ จุดที่ควรปรับปรุงและให้ แ ล ะ ส่ งให้ ส่ ว น งา น
องคป์ ระกอบและมาตรฐาน ขอ้ เสนอแนะ รบั ทราบ
ส่วนนาผลการประเมิน
ไป ป รั บ ป รุงพั ฒ น า
อย่างต่อเนอ่ื ง
แผนภาพท่ี ๔.๑๑ สรุปขั้นตอนการดาเนนิ การหลังการตรวจประเมนิ
ที่มา : สานักงานประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สานักงานอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ
ราชวิทยาลยั , ๒๕๖๐ : ๑๕.
แนวทางการจดั ทารายงานการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลกั สตู ร ๑๓๘
รายงานการตรวจประเมินท่ีหลักสูตรฉบับน้ี เป็นผลมาจากข้อสังเกตและแนวคิดโดยรวม
ของคณะกรรมการตรวจประเมิน โดยกระบวนการกล่ันกรอง 3 ขั้นตอน (Individual Review,
Consensus Review และ Site Visit Review) สามารถนามาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาหลักสูตร
ท้ังในส่วนที่เป็นจุดเด่นหรอื แนวปฏิบัติที่ดี และโอกาสเพ่ือการพัฒนา ท้ังในส่วนของกระบวนการและ
ผลลัพธ์ ในรายงานท่ีหลักสูตรได้รับจะไม่นาเสนอประเด็นท่ีพึงกระทา และหรือวิธีการที่พึงกระทา
และอาจไม่ครอบคลุมในทุกประเด็นของหลักสูตร อย่างไรก็ตาม หลักสูตรและผู้บริหารสามารถ
เลือกใช้ข้อมูลจากการสังเกตและวิเคราะห์ของคณะกรรมการตรวจประเมินน้ี เป็นแนวทางในการ
วางแผนและดาเนินการในระยะตอ่ ไปได้ หลังจากรบั การตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาแล้ว ควรได้มี
การนาผลการประเมินและข้อเสนอแนะของคณะกรรมการมาจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
(Improvements Plan) โดยจะนาผลการประเมินจากปที ่ีผ่านมาประกอบการพิจารณาวางแผนของปี
ปัจจุบัน และนาเสนอต่อคณะกรรมการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา (Improvements Plan)
ประจาส่วนงาน เพื่อวางแผนการดาเนินงานในปีการศึกษาต่อไป ซึ่งเก่ียวข้องกับการจัดเตรียมข้อมูล
เอกสารหรือหลักฐาน อ้างอิงในแต่ละองค์ประกอบคุณภาพ เทคนิคและกระบวนการทางานในปี
การศึกษาต่อไป หลักสูตรควรเลือกประเด็นที่จาเป็น สาคัญสอดคล้องกับพันธกิจและมีผลกระทบสูง
มาวิเคราะห์เปน็ ลาดับแรก ๆ
หลักสตู รตอ้ งทบทวนกระบวนการทางานของตนเองมากกว่าคณะกรรมการตรวจประเมิน
บทวิเคราะห์ของคณะกรรมการตรวจประเมินบางส่วน อาจมีความคลาดเคลื่อน จึงควรใช้ส่วนที่เป็น
ประโยชน์อย่างแท้จริงต่อหลักสูตร และพิจารณาในหัวข้อโอกาสท่ีพึงพัฒนาลาเป็นดับแรก โดยการ
นามาจัดลาดับความสาคัญ เพ่ือการพัฒนาและปรับปรุงและสุดท้าย หลักสูตรสามารถใช้รายงานการ
ตรวจประเมนิ ท่ไี ด้รบั เปน็ ข้อมลู ประกอบการวางแผนกลยุทธแ์ ละแผนปฏบิ ตั ิการในรอบเวลาตอ่ ไป
๔.๒ การกรอกขอ้ มลู เขา้ สู่ระบบรายงานผลการประเมนิ ออนไลน์ MCU e-SAR
เมื่อจัดทารายงานการประเมินตนเอง ระดับหลักสูตร (SAR) เรียบร้อยแล้ว หลักสูตร/
ผู้รับผิดชอบร่วมกับกลุ่มงานวิจัยและคุณภาพการศึกษา ต้องส่งข้อมูลรายงานเข้าสู่ระบบรายงานผล
การประเมินออนไลน์ MCU e-SAR ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เพื่อให้
คณะกรรมการได้ตรวจประเมินผ่านระบบ เปน็ ตามประกาศมหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
เรอื่ ง แนวปฏิบตั ิการตรวจประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน
จงึ ได้จัดทาผังการไหลของการรายงานการประเมินตนเองระดบั หลักสตู ร ในระบบรายงาน
ผลการประเมินออนไลน์ MCU e-SAR ดังผังการไหลข้ันตอนการกรอกข้อมูลระบบรายงานผลการ
ประเมนิ ออนไลน์ MCU e-SAR ในแผนภาพที่ 4.2
แนวทางการจดั ทารายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลกั สูตร ๑๓๙
แผนภาพที่ 4.๑2 ผงั การไหลขน้ั ตอนการกรอกขอ้ มลู ระบบรายงานผลการประเมินออนไลน์ MCU e-SAR
จากภาพที่ 4.2 ผู้เขียนขออธิบายรายละเอียดของข้ันตอนการกรอกระบบรายงานผลการ
ประเมินออนไลน์ MCU e-SAR เพ่ือให้ผูอ้ ่านเขา้ ใจมากข้ึน แบง่ ออกเป็น ๕ ข้นั ตอน ดงั นี้
ขัน้ ตอนที่ 1 จัดเตรยี มข้อมูล
๑. จดั เตรียมไฟล์ขอ้ มูลรายละเอียด รายงานการประเมนิ ตนเอง ระดบั หลักสตู ร
2. รวบรวมรายงานการประเมินตนเอง ระดับหลักสูตร จัดเป็นหมวดตาม
องค์ประกอบทัง้ ๖