The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวทางการพัฒนางาน เรื่อง การจัดทำรายงานการประเมินตนเอง (SAR) ระดับหลักสูตร ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แนวทางการพัฒนางาน เรื่อง การจัดทำรายงานการประเมินตนเอง (SAR) ระดับหลักสูตร ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น

แนวทางการพัฒนางาน เรื่อง การจัดทำรายงานการประเมินตนเอง (SAR) ระดับหลักสูตร ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น

Keywords: แนวทางการพัฒนางาน เรื่อง การจัดทำรายงานการประเมินตนเอง (SAR) ระดับหลักสูตร ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น

แนวทางการจัดทารายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลกั สตู ร ๑๔๐

3. สแกนเอกสารรายงานการประเมินตนเอง ระดับหลักสูตร กาหนดช่ือเอกสารให้
ตรงกบั การกาหนดรหสั ในเล่ม

๔. จดั เอกสารเป็นโฟลเดอร์ตามองค์ประกอบและตวั บ่งช้ี
ข้ันตอนท่ี ๒ ตรวจสอบความถูกต้อง ระหว่างรายงานการประเมินตนเอง ระดับหลักสูตร
ฉบับเอกสาร กับไฟล์ข้อมลู รายงานการประเมินตนเอง ระดับหลักสตู ร
ขนั้ ตอนที่ 3 หากพบข้อผดิ พลาด ให้แกไ้ ขและปรบั ปรงุ
ขั้นตอนที่ 4 Admin หลักสูตร ขอ username และ password จาก admin ส่วนงาน
ต้นสังกดั เพ่อื ใช้ในการกรอกขอ้ มูลในระบบรายงานผลการประเมินออนไลน์ MCU e-SAR

๑. เข้าไปทีเ่ ว็บไซต์ http://qa.mcu.ac.th/

แผนภาพที่ 4.๑๓ หน้าเว๊ปไซตส์ านักประกันคณุ ภาพการศกึ ษา แหลง่ ที่มา http://qa.mcu.ac.th/
๒. เขา้ ไปทร่ี ายงานประเมนิ ตนเองออนไลน์

แผนภาพที่ 4.๑๔ ไอคอนรายงานประเมนิ ตนเองออนไลน์ แหลง่ ทีม่ า http://qa.mcu.ac.th/
ข้ันตอนที่ 5 กรอกข้อมูลเบื้องต้นของหลักสูตร กรอก Common Data Set ของหลักสูตร
เช่น จานวนบัณฑิตท้ังหมด, จานวนบัณฑิตท่ีได้รับการประเมิน คะแนนการประเมิน ซ่ึงเป็นข้อมูลท่ี
เป็นตวั เลข และมีข้อควรจา ดังน้ี

แนวทางการจดั ทารายงานการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสตู ร ๑๔๑

๑. มีรปู แบบการประเมิน ๓ ประเภท คอื
๑) ประเมินการกากับมาตรฐาน ใช้ประเมินองค์ประกอบท่ี ๑ มี ๑ ตัวบ่งชี้

แต่มีเกณฑ์มาตรฐานแตกต่างกัน คือ หลักสูตรปริญญาตรีมี ๔ เกณฑ์มาตรฐาน หลักสูตรปริญญาโท
และเอก มี ๑๒ เกณฑ์

2) ตัวบ่งช้ีเชิงปริมาณหรือสถิติ ตัวบ่งชี้เชิงปริมาณหรือสถิติ ได้แก่ ตัวบ่งช้ี
จานวนร้อยละในการประเมิน จะตอ้ งมีตัวเลขท่ีเปน็ ตวั ต้ังกับตัวหาร ในการหาค่าของตวั เลขดงั กล่าว
มี ๒ รูปแบบ คอื

ก. ตัวเลขไมม่ ีการคานวณเพิม่ เติม
ข. ตัวเลขท่มี กี ารคานวณเพิม่ เติม
ใชป้ ระเมนิ องค์ประกอบที่ 2, 4
3) ตัวบ่งช้ีแบ่งคะแนนตามระดับการทางาน ตัวบ่งช้ีแบ่งคะแนนตามระดับการ
ทางาน ให้เลือกว่าหลักสูตรมีการดาเนินการถึงระดับไหน โดยคะแนนแบ่งตามระดับขั้นท่ีมีการ
ดาเนินการ โดยแบ่งการดาเนินงานออกเป็น ๕ ระดับ หากไม่มีการดาเนินการเลย ได้คะแนน 0
คะแนน ใชป้ ระเมนิ องคป์ ระกอบที่ 3, 5, 6
การคดิ คะแนนการประเมินหลักสตู ร ดังน้ี
องค์ประกอบที่ ๑ จะมีผลวา่ “ผ่าน-ไม่ผา่ น” เท่าน้นั
หากองค์ประกอบที่ ๑ ไมผ่ ่าน ผลการประเมนิ หลักสูตรจะเปน็ 0
หากองคป์ ระกอบท่ี ๑ ผา่ น คะแนนประเมินหลกั สตู ร คือ ผลเฉลยี่ คะแนนของ
องค์ประกอบท่ี ๒ – ๖
ในการประเมนิ ตัวบ่งชที้ ี่ ๔.๒ คณุ ภาพของอาจารย์ ใหป้ ระเมินตัวบง่ ชยี้ ่อยก่อน
๑. อาจารย์ประจาหลกั สูตรท่ีมีคุณวุฒปิ ริญญาเอก
๒. อาจารยป์ ระจาหลักสตู รท่ีดารงตาแหนง่ ทางวชิ าการ
๓. ผลงานวิชาการของอาจารยป์ ระจาหลกั สตู ร
๔. จานวนบทความของอาจารยป์ ระจาหลักสูตรปรญิ ญาเอกท่ีได้รบั การอ้างองิ
จากนน้ั จึงประเมินข้อ ๔.๒ ภายหลัง
ข้นั ตอนที่ 6 กรอกขอ้ มูลทั่วไปของหลักสตู ร ไดแ้ ก่
1. ชอื่ หลักสตู ร ช่อื ปรญิ ญาและสาขาวชิ า (ใชข้ อ้ มูลจาก มคอ. 2)
2. คณะต้นสงั กดั และสถานท่เี ปดิ สอน (ใช้ข้อมูลจาก มคอ. 2)
3. ปรชั ญา ความสาคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสตู ร (ใช้ข้อมลู จาก มคอ. 2)
4. อาจารย์ประจาหลักสูตรอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร (เฉพาะปริญญาโทและ
ปรญิ ญาเอก) จานวนนสิ ติ ปัจจุบนั จานวนบัณฑิตสาเร็จการศึกษา
5. สรปุ รายวชิ าที่เปิดสอนทกุ ชน้ั ปีและทกุ ภาคการศึกษา
6. การวเิ คราะหร์ ายวิชาท่มี ผี ลการเรยี นไม่ปกติ
7. รายวชิ าที่สอนเนอื้ หาไม่ครบ
8. คณุ ภาพการสอน

แนวทางการจดั ทารายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ๑๔๒

ขน้ั ตอนท่ี 7 กรอกผลดาเนนิ งานตามองค์ประกอบคุณภาพ 1 - 6 ได้แก่
องค์ประกอบที่ 1 การกากับมาตรฐาน : ประเมนิ การกากบั มาตรฐาน
องคป์ ระกอบท่ี 2 บณั ฑิต : ตัวบง่ ชีเ้ ชิงปริมาณหรือสถิติ (ในกรณที ี่หลกั สูตรยังไม่มี

นสิ ติ จบการศกึ ษาใหต้ ัดองคป์ ระกอบที่ 2 ออก ตวั หารจะลด)
องค์ประกอบท่ี 3 นสิ ิต : ตวั บ่งชแี้ บง่ คะแนนตามระดบั การทางาน
องคป์ ระกอบท่ี 4 อาจารย์ : ตัวบ่งช้เี ชิงปริมาณหรือสถติ ิ
องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอนการประเมินผู้เรียน : ตัวบ่งช้ีแบ่ง

คะแนนตามระดบั การทางาน
องค์ประกอบที่ 6 ส่งิ สนับสนนุ การเรียนรู้ : ตัวบง่ ชแ้ี บง่ คะแนนตามระดับการทางาน

ข้ันตอนที่ 8 ตรวจสอบ เม่ือกรอกข้อมูลรายงานการประเมินตนเอง ระดับหลักสูตร ครบ
ทุกตัวบ่งชี้แล้ว นักวิชาการประจากลุ่มงานวิจัยและคุณภาพการศึกษา อาจารย์ประจาหลักสูตร
ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลท่ีกรอกลงไป และตรวจสอบการกรอกข้อมูลรายละเอียดทุก
ขั้นตอน ตรวจสอบผลการประเมนิ ท่ไี ด้รับจากระบบรายงานผลการประเมนิ ออนไลน์ MCU e-SAR

แผนภาพท่ี 4.๑๕ ไอคอนการรายงานผล แหล่งท่ีมา http://qa.mcu.ac.th/

โดยมี ๒ รูปแบบ คอื
๑. แบบตาราง ส. ๑
๒. แบบตาราง ส. ๒

แนวทางการจัดทารายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสตู ร ๑๔๓
แบบตาราง ส. ๑

แผนภาพท่ี 4.๑6 ตาราง ส.1 แหลง่ ทีม่ า http://qa.mcu.ac.th/

โดยตารางจะแบ่งออกเปน็ 3 สว่ น
ส่วนท่ี ๑ ผลการประเมนิ ตัวบ่งช้ที ี่ ๑ มีผล คอื ผ่าน - ไมผ่ า่ น
ส่วนท่ี ๒ คะแนนเฉลี่ยผลการประเมินต้งั แตอ่ งคป์ ระกอบที่ ๒ - ๖

หากสว่ นท่ี ๑ ผ่าน สว่ นท่ี ๒ ถงึ จะมีคะแนน แตถ่ ้าหากสว่ นที่ ๑ ไม่ผ่าน ส่วนท่ี ๒ คะแนนจะเปน็ 0
ส่วนท่ี ๓ ส่งผลการประเมินหลักสูตร เพ่ือให้ส่งผลคะแนนไปสู่การประเมินตัวบ่งช้ี

ระดบั วทิ ยาเขต ขอ้ ทวี่ ่าดว้ ยการจดั การหลักสตู รได้
ขน้ั ตอนท่ี 9 การส่งผลคะแนนการประเมิน กดส่งคะแนนในส่วนท่ี ๓ เพ่ือรับการประเมิน

จากคณะกรรมการตรวจประเมนิ คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลกั สูตร
การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร (SAR) ได้เป็นกระจกที่สะท้อน

คุณภาพ ประสิทธิภาพการทางานของหลักสูตร ว่ามีหลักสูตรมีคุณภาพ ได้ประสบความสาเร็จและ
บรรลุเป้าหมายตามตัวชี้วัดท่ีกาหนดไว้หรือไม่ หัวใจสาคัญที่ทาให้รายงานการประกันคุณภาพ

แนวทางการจดั ทารายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลักสตู ร ๑๔๔

การศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ได้สะท้อนผลการดาเนินงาน จากการเขยี นผลการดาเนินงานตามตัว
บ่งชี้องคป์ ระกอบทงั้ ๖ และหลักฐานประกอบรายงานผลท่สี อดคล้องกับผลการดาเนนิ งานอีกด้วย

๔.๓ กจิ กรรมการปฏบิ ตั งิ าน

กิจกรรมการปฏิบัติงานในกลุ่มงานวิจัยและคุณภาพการศึกษา สานักวิชาการ
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น ได้เป็นภารกิจท่ีสาคัญสาหรับ
ผู้ปฏิบัติการงานประกันคุณภาพการศึกษา เพ่ือประโยชน์ต่อการศึกษา เรียนรู้ และส่งเสริมให้มีการ
ปฏิบตั งิ านทดี่ ีขึ้น ดงั นี้

๑. ได้เข้าประชุมตามโอกาสต่างๆ ทาให้ผู้เขียนมีโอกาสได้รับทราบและเรียนรู้ถึงวิธีการ
ขั้นตอนการทางานให้มีความชัดเจนย่ิงขึ้น และใช้เป็นฐานข้อมูลในการนาเสนอต่อคณะอนุกรรมการ
ประกันคณุ ภาพการศกึ ษาของวทิ ยาเขตขอนแก่น

๒. ได้เข้าอบรมสัมมนาในโอกาสต่างๆ ที่มหาวิทยาลัยจัดข้ึน ทาให้ผู้เขียนได้มีโอกาส
นาเสนอองค์ความรู้และประสบการณ์ในการปฏิบัติงานของตนเอง ทาให้ผู้เขียนได้นามาใช้เป็น
แนวทางในการปรบั ปรุงพฒั นางานประจาได้เป็นอย่างดี

๓. ได้ศึกษาและผลักดันให้เกิดการปฏิบัติตามมาตรฐาน ตัวบ่งช้ี เกณฑ์การประเมิน
พร้อมทั้งจัดเตรียมเอกสารหลักฐานสาหรับอ้างอิงข้อมูลที่ต้องการในการปฏิบัติงาน ให้เป็นไปตาม
หลักเกณฑก์ ารประกันคณุ ภาพการศึกษา

๔. ได้เตรียมความพร้อมสาหรับรับการประเมินการประกันคุณภาพการศึกษา เพ่ือให้
สามารถนาแนวทางจากหลักเกณฑ์น้ีไปใช้ในการประเมินตนเอง เป็นกลไกในการพัฒนางานเกิด
ผลสมั ฤทธแ์ิ ละมปี ระสทิ ธิผลความคมุ้ คา่

๕. ได้เรียนรู้ผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ (E – Learning) คือการฝึกอบรมโดยใช้
เทคโนโลยี เครอื ข่ายการเรยี นรู้โดยอาศัยอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต และเว็บไซด์ เพ่ือนาความรู้ทไี่ ดร้ ับ
จากการอบรมไปใช้ประโยชนใ์ นการปฏบิ ัตงิ าน

๖. ได้เรียนรู้จากการปฏิบัติ คือการรวมกลุ่มบุคคลเป็นกลุ่มเล็ก ๆ เพ่ือร่วมกันค้นหา
วิธีการแก้ปัญหาบางอย่างที่เกิดขึ้น โดยร่วมกันคิด แลกเปล่ียนประสบการณ์ จากข้อคิดเห็นและ
มุมมองระหวา่ งกัน ไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิจริง เพือ่ แก้ไขปัญหาหรอื พัฒนางานของมหาวิทยาลยั ใหก้ า้ วหนา้

กล่าวโดยสรุป ภาพรวมในบทท่ี ๔ ได้อธิบายถึงกระบวนการและข้ันตอนการปฏิบัติงาน
ซึ่งประกอบด้วยแผนผังการปฏิบัติงาน (Work Flow) รายละเอียดของกระบวนการและข้ันตอนการ
ปฏิบตั ิงานจัดทารายงานการประกันคุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดับหลักสูตร และการกรอกข้อมลู เข้า
สู่ระบบรายงานผลการประเมินออนไลน์ MCU e-SAR ซ่ึงเป็นลาดับการทางานว่าต้องทาอะไร
ทาที่ไหน ทาเม่ือใด และทาอย่างไร จึงจะประสบความสาเร็จ ด้วยการอธิบายข้ันตอนการปฏิบัติงาน
อย่างละเอียด เพ่ือช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานท่ีเกี่ยวข้องกับงานประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับ
หลักสตู ร ใชเ้ ป็นคมู่ ือในการปฏิบัตงิ านและเห็นภาพขนั้ ตอนการทางานอย่างเป็นระบบและมีกลไกตาม
จุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสดุ ของการทางาน เพ่ือให้งานได้ดาเนนิ ไปด้วยความเรียบร้อย มีประสทิ ธิภาพและ
บรรลุวตั ถปุ ระสงคต์ ามเกณฑก์ ารประกนั คุณภาพการศึกษาตอ่ ไป

บทท่ี ๕
ปญั หา อุปสรรค แนวทางการแก้ไขและข้อเสนอแนะเพ่ือพฒั นา

จากการจัดทาแนวทางการพัฒนางาน เร่ือง การจัดทารายงานการประเมินตนเอง ระดับ
หลักสูตร (SAR) ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น ซ่ึงได้ปฏิบัติการ
จริงตามระบบและกลไกการทางาน ได้พบปัญหาอุปสรรคต่างๆ จึงได้แนวทางการแก้ไขและ
ขอ้ เสนอแนะเพ่ือพัฒนางานดา้ นน้ี ดังน้ี

๕.๑ ปญั หาและอปุ สรรค

จากผลการดาเนินงานตามเกณฑก์ ารประกันคุณภาพการศึกษา ไดพ้ บปัญหาและอุปสรรค
ในทางปฏบิ ัติ จึงไดน้ าเสนอในประเดน็ ตา่ งๆ มาสรุปเปน็ ขอ้ ๆ ดงั น้ี

๑. การถ่ายทอดตัวชีว้ ดั ตามเกณฑก์ ารประเมินกบั กรอบระยะเวลาการประเมินแบบปีตอ่ ปี
อาจทาให้หลกั สตู รต่างๆ ไมไ่ ด้นาตัวชี้วดั มาใชป้ ระกอบการวางแผนพัฒนางานให้สอดคลอ้ งกบั ตวั ชว้ี ัด

๒. คณะกรรมการผู้ตรวจประเมินบางหลักสูตร ไม่มีความรู้ในบริบทของหลักสูตรอาจจะ
ทาให้ผลการตรวจประเมนิ คลาดเคลือ่ น

๓. การประกันคุณภาพการศึกษายังไม่มีระบบที่เอ้ือให้นิสิตเห็นความสาคัญของการ
ประกันคุณภาพการศึกษา ทั้งระดับหลักสูตร ระดับคณะ และมหาวิทยาลัย ท้ังที่ระบบการประกัน
คณุ ภาพการศกึ ษาคือระบบทีต่ ้องผลติ บัณฑติ ให้มีคุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์

๔. การเปล่ียนแปลงเจ้าหน้าท่ี/บุคลากรผู้รับผิดชอบอยู่ตลอด ทาให้ขาดการติดตามผล
ความกา้ วหน้าในการพฒั นาระบบ การรายงานผลการดาเนินงานขาดความตอ่ เน่ือง ทาใหง้ านล่าชา้

๕. บางข้อมูลท่ีรายงานยังเกิดข้อผิดพลาด ยังไม่เป็นปัจจุบัน เนื่องจากถ้านาไปใช้ในการ
ตดั สนิ ใจ อาจทาให้การตดั สินใจครั้งน้ันผิดพลาดได้

๖. ผู้บริหารขาดความรู้ความเข้าใจงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษา ส่งผลให้ระดับ
ปฏิบตั กิ ารขาดความกระตือรือร้นที่จะพัฒนาตนเองให้ครอบคลมุ ทุกหน้าท่ี

๗. การปรับเปล่ียนเกณฑ์ท่ีใช้ในการประเมินบ่อยคร้ัง ทาให้เป็นอุปสรรคต่อการ
เตรียมการและการปรับเปลย่ี นวิธีการจัดหาขอ้ มูลใหท้ ันตามกาหนด

๘. วิธีการทางานขาดกระบวนการทบทวนงานท่ีได้ดาเนินการและขาดการพัฒนาอย่าง
ต่อเนอ่ื ง ทาให้งานเกิดความผิดพลาดหรอื เกิดปญั หาซา้ เดมิ

๙. ขาดกระบวนการทางานเป็นทีมที่มุ่งไปในทิศทางเดียวกัน เพ่ือร่วมกันตระหนักถึง
ความสาคัญดา้ นการประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับ

๕.๒ แนวทางการแก้ไขปัญหา อุปสรรค และการพฒั นางาน

จากการพบปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบตั ิงานดังกลา่ วขา้ งตน้ ในฐานะผปู้ ฏิบัติงานดา้ น
การประกันคุณภาพการศึกษา จึงเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาและอุปสรรคงานการประกันคุณภาพ
การศกึ ษาภายใน ระดบั หลกั สูตร ดงั นี้

ปญั หา อปุ สรรค แนวทางการแก้ไขและข้อเสนอแนะเพ่ือพัฒนางาน ๑๔๖

1. ผู้บริหารและบุคลากรทุกคนต้องตระหนัก และให้ความสาคัญของระบบการประกัน
คุณภาพ โดยเชิญวิทยากรมาให้การอบรมหรือจัดให้มีการสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ แก่บุคลากรเพื่อ
เน้นให้เห็นถึงความสาคัญของการปฏิบัติงานตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษา และกาหนด
เปน็ TOR ในการมสี ว่ นรว่ ม

2. ผู้บริหารควรสร้างแรงจูงใจ เช่น ให้รางวัลกับหลักสูตรหรือบุคลากรที่มีผลการ
ปฏิบัตงิ านเป็นไปตามเป้าหมายของมหาวทิ ยาลยั

3. บุคลากรทุกคนต้องตระหนักและให้ความสาคัญในการสร้างระบบการประกันคุณภาพ
การศกึ ษาเพ่ิมมากขน้ึ

4. กาหนดให้มีชื่อผู้รับผิดชอบท่ีชัดเจนในทุกกิจกรรม/โครงการ และจัดเก็บข้อมูลให้เป็น
ระบบระเบยี บ

5. ควรกาหนดใหท้ กุ โครงการ/กจิ กรรมของหลกั สูตรปฏิบตั งิ านให้ครบตามขัน้ ตอน PDCA
ให้มีการติดตาม ตรวจสอบทุกไตรมาส หากพบข้อบกพร่องเกี่ยวกับการปฏิบัติงานไม่เป็นไปตาม
วัตถุประสงค์ให้ปรับปรุงให้ครบถ้วนตามขน้ั ตอนกระบวนการ เพื่อทาให้เกิดผลลพั ธ์การดาเนินการทด่ี ี

6. บุคลากรทุกภาคส่วนของมหาวิทยาลัยควรมุ่งเน้นการปฏิบัติงานการประกันคุณภาพ
การศกึ ษาใหท้ ุกคนมีสว่ นร่วมโดยผู้บริหาร บุคลากรทกุ ระดับมีสว่ นรว่ มในการปฏิบัตงิ าน

7. ต้องพัฒนาระบบการบริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศ (MIS) ที่มีคุณภาพและสามารถ
นามาใชใ่ นระบบการประกันคุณภาพการศึกษาอย่างสมบูรณ์

๘. ควรส่งเสริมกิจกรรมสร้างความรู้ความเข้าใจในการใช้ระบบสารสนเทศ เพ่ือจัดเก็บ
ข้อมูลด้านการประกันคุณภาพ เช่น การแก้ไขปัญหาจากการใช้ระบบเบื้องต้น เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพ
สงู สดุ ในการใช้งานระบบสารสนเทศดา้ นการประกันคุณภาพการศึกษา

๙. ระบบการบริหารจัดการข้อมูล เน้นให้ข้อมูลที่มีความถูกต้อง สมบูรณ์ เป็นปัจจุบัน
และรองรับการต่อยอดในอนาคต มีกระบวนการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล และให้โอกาสผู้
ใช้ได้ทบทวนตรวจสอบ สามารถเรียกใช้งานผ่านระบบได้ง่ายและครอบคลุมทั่วถึงแก่ผู้ใช้งาน
ตลอดจนเพ่ิมสารสนเทศใหม้ คี วามหลากหลาย สามารถใช้ประโยชนไ์ ด้อยา่ งกวา้ งขวางมากข้นึ

๑๐. ควรจัดให้มีการทบทวนความรู้เร่ืองการกรอกรายงานผลการประเมินออนไลน์
(MCU e - SAR) และการกรอก CHE QA 3D ทกุ ระดบั ทกุ ปี

รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน เป็นรายงานการประเมินตนเองของส่วน
งานที่เสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด เป็นรายงานที่ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มีการเก็บรวบรวม
ข้อมูลอย่างเป็นระบบ เป็นขั้นตอน (Scientific Report) มีการคิดวิเคราะห์เชิงเหตุเชิงผล และใช้
กระบวนการวิจัยในการวิเคราะห์ตนเอง เพื่อสรุปผลจากข้อมูลทั้งหมด มีหลักฐานที่แสดงถึงผลการ
ดาเนินงานอย่างชัดเจน เพ่ือให้การดาเนินงานมีประสิทธิภาพและมีผลสัมฤทธ์ิต่อการเรียนรู้ของนิสิต
ต้องมแี ผนการปรับปรงุ การดาเนนิ งานตามตวั บง่ ชี้ประกันคณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดบั หลักสตู ร

ปญั หา อปุ สรรค แนวทางการแกไ้ ขและข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนางาน ๑๔๗

๕.๓ ข้อเสนอแนะในการปฏบิ ตั งิ าน

ผู้บริหารมีบทบาทสาคัญอย่างยิ่งต่อการจัดทารายงานการประเมินตนเอง ให้ประสบ
ผลสาเร็จตามแนวทางการประกันคณุ ภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร เพ่ือให้ผลการปฏิบัติงานมี
ประสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ลยิ่งขึ้น ดังข้อเสนอแนะตอ่ ไปน้ี

๕.๓.๑ ด้านการปฏบิ ัตงิ าน

1. ส่งเสริมให้บุคลากรปฏิบัติงานแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ หรือมุ่งเน้นผลการปฏิบัติงานใช้
กลไกการบริหารผลการปฏิบัติงาน ได้แก่ การจดบันทึกผลงานและเสนอผู้บังคับบัญชาอย่างเป็น
รูปธรรมเพ่ือเป็นหลักฐานแสดงให้เห็นศักยภาพในการปฏิบัติงานที่ชัดเจน ซึ่งจะช่วยส่งเส ริม
ประสทิ ธิภาพในการปฏิบัติงานตามบทบาทและหน้าท่ีของบคุ ลากรใหม้ ศี ักยภาพมากขน้ึ

2. จัดให้มีการอบรม ศึกษาดูงาน เปรียบเทียบผลการดาเนินงานกับองค์กรที่มีชื่อเสียง
เปน็ ประจาทกุ ปี อันจะนาไปสกู่ ารปรบั ปรงุ การประกันคณุ ภาพการดาเนนิ การขององค์กร

3. เปิดโอกาสให้บุคลากรและนิสิต มีส่วนร่วมโดยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการประกัน
คณุ ภาพการศึกษาของมหาวทิ ยาลัยอยา่ งตอ่ เนื่อง

4. ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาสามารถสะท้อนถึงปัญหาและอุปสรรคท่ีเป็น
ประโยชน์ตอ่ การนาไปปรบั ปรุง แกไ้ ข และพัฒนางานได้เป็นอย่างดี

๕. การค้นหาวิธีการให้ความรู้ความเข้าใจแก่บุคลากรทุกระดับอย่างต่อเน่ือง เพื่อให้
บุคลากรใหค้ วามตระหนกั ถงึ ความสาคัญของคณุ ภาพผลการปฏิบตั ิงานที่มีมาตรฐานและนา่ เช่ือถอื

๕.๓.๒ ดา้ นการพฒั นาหรอื ปรับปรุงงาน

1. ผู้บริหารได้ทราบปัญหาและอุปสรรคในการจัดทารายงานการประเมินตนเองระดับ
หลกั สตู ร ซ่ึงสามารถนาไปตอ่ ยอดเพ่อื ปรับปรงุ การดาเนนิ งานได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพมากยิง่ ข้นึ

2. ในบางหลักสูตรอาจพบปัญหาและอุปสรรคในหลายๆ ด้าน เช่น ด้านการมีส่วนร่วม
ผู้ บ ริห าร อ า จ ด า เนิ น ก า ร รว ม กั บ ค ณ ะท างา น ด้ า น ก าร ป ร ะกั น คุ ณ ภ า พ ก า รศึ ก ษ า ข อ งห ลั ก สู ต ร
เพอ่ื จัดลาดับปัญหาที่จาเป็นต้องได้รบั การแกไ้ ข ซึง่ อาจทาได้โดยการพิจารณาถงึ ต้นทุนการดาเนนิ งาน
เวลาที่ใช้ในการแก้ไขผลกระทบท่ีจะเกิดขึ้น และความยากง่ายในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว อาจทาได้
โดยการหารอื รวมกับหลักสูตร เพื่อหาแนวทางการดาเนินงานให้ทกุ หลักสูตรเป็นไปในทางเดยี วกนั

๓. การปฏิบัติงานการประกันคุณภาพการศึกษาได้กาหนดให้แต่ละงานดาเนินกิจกรรม
ตา่ ง ๆ ตามวงจร PDCA ทาให้บรรลุเป้าหมายตามแนวทางที่วางไว้ ส่ิงที่เป็นตัวช้ีวัดผลการปฏิบัติงาน
การประกันคุณภาพการศึกษา คือแผนงาน/โครงการ มีการปฏิบัติงานตามวงจร PDCA ครบทุก
ขนั้ ตอน แตจ่ ากผลการดาเนินงานที่ผา่ นมาพบวา่ ขน้ั ตอน กระบวนการในการปฏิบัติงานตามแผนงาน/
โครงการ ยงั ไมค่ รอบคลุมครบถว้ นทกุ โครงการ

ปญั หา อุปสรรค แนวทางการแกไ้ ขและข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนางาน ๑๔๘

๕.๓.๓ ด้านการนาคูม่ ือการปฏิบัตงิ านไปใช้

1. ผู้บริหารได้ทราบปัญหาและอุปสรรคในการจัดทารายงานการประเมินตนเองระดับ
หลักสูตร ซ่งึ สามารถนาไปต่อยอดเพื่อปรับปรุงการดาเนินงานได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพมากย่ิงข้นึ

2. ในบางหลักสูตรอาจพบปัญหาและอุปสรรคในหลายๆ ด้าน เช่น ด้านการมีส่วนร่วม
ผู้ บ ริห าร อ า จ ด า เนิ น ก า ร รว ม กั บ ค ณ ะท างา น ด้ า น ก าร ป ร ะกั น คุ ณ ภ า พ ก า รศึ ก ษ า ข อ งห ลั ก สู ต ร
เพ่ือจัดลาดับปัญหาที่จาเป็นต้องได้ รับการแก้ไข ซึ่งอาจทาได้ โดยการพิจารณาถึงต้นทุนการ
ดาเนินงานเวลาท่ีใช้ในการแก้ไขผลกระทบที่จะเกิดข้ึน และความยากง่ายในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว
อาจทาได้ โดยการหารือรวมกับหลักสูตร เพื่อหาแนวทางการดาเนินงานให้ทุกหลักสูตรเป็นไปในทาง
เดียวกัน

การจัดทาคู่มือการปฏิบัติงานในครั้งน้ี เป็นเพียงการสารวจ ปัญหา และอุปสรรค ในการ

จัดทารายงานการประเมินตนเองระดับหลักสูตร ในเบ้ืองต้นเท่าน้ัน คร้ังต่อไปควรศึกษาถึงรากของ
เหตุ (Root Cause) ในการเกิดปัญหาทุกๆ ปัญหา รวมท้ังแนวทางในการแก้ไขปัญหาให้เป็นรูปธรรม
โดยอาจกาหนดวธิ ีการเพ่อื แกไ้ ขปัญหาดังกล่าวไว้อย่างชัดเจน

บรรณานกุ รม

ภาษาไทย

คณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษา คณะอนุกรรมการพัฒนาการประกันคุณภาพ
การศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา. (๒๕๕๘). คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
ระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2557 , กรุงเทพมหานคร : สานักงานคณ ะกรรมการ
อุดมศึกษา.

ธวัชชัย ศุภดิษฐ์. (๒๕๕๗). การพัฒนาแนวปฏิบัติเพ่ือให้เกิดผลสัมฤทธิ์ในการประกันคุณภาพ
การศึกษา สถาบนั บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. รายงานวจิ ยั . กรงุ เทพมหานคร : สถาบัน
บัณฑติ พัฒนบริหารศาสตร.์

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (๒๕๕๕). คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
ระดับอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (ฉบับปรับปรุง),
พระนครศรีอยุธยา : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย,
. (๒๕๕๕). คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา มหาวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (ฉบับปรับปรุง), พระนครศรีอยุธยา : มหาวิทยาลัยมหา
จุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั .
. (๒๕๖๐). คู่มือกรรมการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน พ.ศ. ๒๕๖๐.
สานักงานประกันคุณภาพ สานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วทิ ยาลยั . (อัดสาเนา)

มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตขอนแก่น. (๒๕๖๑). รายงานการประเมินตนเอง
ระดับวิทยาเขต ปีการศึกษา ๒๕๖๐. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วทิ ยาลัย วิทยาเขตขอนแกน่ . (อดั สาเนา)

มหาวิทยาลัยมหิดล. (๒๕๖๐). คู่มือเตรียมรับการตรวจประเมินตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อ
การดาเนนิ การท่ีเป็นเลิศ (EdPEx). นครปฐม : กองพัฒนาคุณภาพ สานักงานอธิการบดี
มหาวิทยาลัยมหดิ ล.

ลักขณา จาตกานนท์, ดวงรัตน์ แช่ต้ัง, เนนิสา ไชยปุระ และธนพรรณ บุณยรัตกลิน. (๒554). การ
พัฒนาการบริหารงานประกันคุณภาพการศึกษาคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร. รายงานการวิจัยเสนอต่อคณะเทคโนโลยี
คหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (๒๕๔๒) กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. 2552. กรุงเทพมหานคร : สานักงานคณะกรรมการการอุดมศกึ ษา.
. (2558). คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา พ.ศ.๒๕๕๗.
กรุงเทพฯ : หจก. ภาพพิมพ.์

บรรณานกุ รม ๑๕๐

. (๒๕๕ ๗ ). คู่มือการประกันคุณ ภ าพ การศึกษ าภ ายใน ระดับอุดมศึกษา.
กรงุ เทพมหานคร : สานักงานคณะกรรมการอดุ มศกึ ษา.
. (2550). กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับท่ี 2 (พ.ศ. 2551 – 2565).
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย
สุบรรณ เอ่ียมวิจารณ.์ (๒๕๖๑). การบรหิ ารหลักสูตรของสถาบนั อุดมศึกษาในศตวรรษที่ ๒๑ : การ
ประยุกต์ใช้แนวคิดการจัดการสมัยใหม่เพ่ือม่งุ สู่ความเป็นเลศิ . มหาสารคาม : ตักกสิลา
การพิมพ์.
สิริลักษณ์ ไชยวงศ์. (2555). การวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคในการจัดทารายงานการประเมิน
ตนเองของคณ ะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. รายงานการวิจัย คณะ
วทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่.
อดิศร โค้วเน่ืองศร. (๒๕๕๘). ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารงานการประกันคุณภาพภายในของ
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

ภาษาองั กฤษ

Kanji G.K., Abdul Malek B.A. and Wallance T. & W., “ A Comparative Study of Quality
Practices in Higher Education Institutions in the US and Malaysia” , Total
Quality Management 10 (3 1999): 357-372.

Newton, J., “An Evaluation of the Impact of Extern Quality Monitoring on a Higher
Education College (1993-1998)” , Assessment & Evaluation in Higher
Education. 24 (1999) : 215 - 235.

๑๕๑

ประวตั ิผเู้ ขียน

ชือ่ : นางฤดี แสงเดือนฉาย
วนั เดอื น ปเี กิด : ๗ มกราคม ๒๕๑๖
สถานท่เี กดิ : จงั หวัดยโสธร
การศกึ ษา : ปริญญาครศุ าสตรบัณฑิต (ค.บ.)

ตาแหน่งปจั จุบนั สาขาวชิ าจิตวทิ ยาและการแนะแนว-ภาษาไทย
: ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม.)
ประสบการณ์พิเศษ
สาขาวชิ าหลกั สูตรและการสอน
บทความวชิ าการ : นกั วชิ าการศึกษา ชานาญการ เลขท่ี ๑๒๑๒๐๑๑

กล่มุ งานวจิ ัยและคุณภาพการศึกษา
สานกั วชิ าการ วทิ ยาเขตขอนแก่น
มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั
: ผ้ปู ระเมินอภิมานภายนอกระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
สานกั งานรบั รองมาตรฐานและการประเมินคุณภาพ
การศึกษา (สมศ)
: - แนวทางพัฒนาการบริหารจัดการโครงการ

ห มู่ บ้ าน ช าว พุ ท ธ ต้ น แ บ บ อ ย่ างย่ั งยื น ใน
Proceedings : ประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ ๒
“ฟื้นชวี ิตคืนจิตวิญญาณทวารวดี มหาวิทยาลัยมหา
จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์พุทธปัญญา
ศรที วารวดี วดั ไรข่ งิ นครปฐม ๑ กันยายน ๒๕๖๒
- มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย
วิ ท ย า เข ต ข อ น แ ก่ น กั บ ก า ร บ ริ ก า ร วิ ช า ก า รแ ก่
สังคม ใน Proceedings iii -HUNIC 2019 : การ
ประชุมวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 2 “ศาสตร์
พระราชา สร้างนวัตกรรม นาการพัฒนา ท้องถ่ิน
อย่างยั่งยืน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลยั ราชภัฏสรุ นิ ทร์ 22 สิงหาคม 2562

ที่อยปู่ ัจจบุ ัน ๑๕๒
ที่ทางาน
- การวิเคราะห์ผลการทานุบารงุ ศลิ ปวัฒนธรรมตาม
เกณฑป์ ระกันคุณภาพการศกึ ษามหาวทิ ยาลัยมหา
จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น ใน
วารสารวิชาการธรรมทรรศน์ (TCI2) มหาวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น
ปีที่ ๒๐ ฉบับท่ี ๑ มกราคม – มีนาคม ๒๕๖๓

- การบริการวิชาการแก่สงั คมกับการสร้างเครือขา่ ย
ความรว่ มมือตามเกณฑ์ประกันคุณภาพการศึกษา
ใน วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น (TCI2)
มหาวิทยาลัยมห าจุฬ าลงกรณ ราชวิทยาลัย
วิทยาเขตขอนแก่น

: ๒๑/๒ ซอยเทศบาลอาชา ๖ ถนนเทศบาลอาชา
ตาบลตลาด อาเภอเมอื ง จงั หวัดมหาสารคาม ๔๔๐๐๐

: อาคารบัณฑติ ศกึ ษา สานกั วิชาการ มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลง
กรณราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตขอนแก่น บา้ นโคกสี ตาบลโคกสี
อาเภอเมืองขอนแกน่ จังหวัดขอนแก่น ๔๐๐๐๐


Click to View FlipBook Version